The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library Ban Phaeo, 2020-03-23 08:30:39

แผนปฏิบัติการงานห้องสมุดฯ ไตรมาส 1-2/2563

แผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี งบประมาณ 2563
หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอบา้ นแพว้

ผรู้ บั ผิดชอบ
นางสาววีรญาพร ทองสขุ บรรณารกั ษ์

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นแพว้
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

จงั หวดั สมทุ รสาคร

แผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี งบประมาณ 2563
หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอบา้ นแพว้

ผรู้ บั ผิดชอบ
นางสาววีรญาพร ทองสขุ บรรณารกั ษ์

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นแพว้
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

จงั หวดั สมทุ รสาคร

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563
หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบา้ นแพว้

****************************
เพื่อใหก้ ารส่งเสรมิ การจดั การศึกษาตามอัธยาศัยบรรลุเป้าประสงค์ตามนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน
ของสํานักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบานแพ้วห้องสมุด
ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้ว จึงได้จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ซ่งึ ประกอบด้วย ข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน ข้อมูลพ้ืนฐานห้องสมุดประชาชน ทิศทางการดําเนินงาน นโยบาย
และจดุ เนน้ การดําเนินงานของสํานักงาน กศน.ประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ทศิ ทางการดําเนินงานของสํานักงาน
กศน.จังหวดั สมทุ รสาคร และของ กศน.อําเภอบ้านแพ้ว Roadmap การขับเคล่ือนนโยบายการส่งเสริมการอ่านของ
สํานกั งาน กศน. รายละเอยี ดแผนงานปฏบิ ตั กิ ารประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
และโครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัยอําเภอบ้านแพ้ว ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ของหอ้ งสมุดประชาชนประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้วและให้นําแผนปฏิบัติการประจําปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าว ใช้เป็นกรอบในการดําเนินงานของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
อาํ เภอบา้ นแพว้ ต่อไป
ทง้ั นี้ ตงั้ แต่ ตลุ าคม พ.ศ. 2562

ลงชื่อ………………………………………………….ผเู้ สนอ
( นางสาววีรญาพร ทองสขุ )
ตําแหน่ง บรรณารกั ษ์

ลงชอ่ื …………………………………………….......ผเู้ หน็ ชอบ
( นายสยาม ชกู ร )
ตําแหน่งครู คศ.2

ลงชอ่ื …………………….…………………………………ผอู้ นมุ ตั ิ
( นางวรภร ประสมศรี )

รองผู้อํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดสมทุ รสาคร รักษาการในตาํ แหนง่
ผอู้ าํ นวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอบา้ นแพ้ว

คานา

แผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ห้องสมุด ประชาชนประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
ขน้ึ เพ่ือเป็นแนวทางในการจดั การศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดแนวทางตามนโยบาย
และจุดเน้นการดําเนินงานสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ทศิ ทางการดาํ เนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั สมุทรสาคร และทิศทางการ
พฒั นาการจัดการศกึ ษาศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอบ้านแพ้ว ตลอดจนบริบท ความ
ต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่เพื่อกําหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดําเนินงาน ห้องสมุดประชาชน
ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ใหเ้ ป็นไปตามเปา้ หมายท่ตี ั้งไวอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ห้องสมุดประชาชนประชาชน

“เฉลิมราชกุมารี” ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มน้ี สําเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย

และผเู้ กี่ยวขอ้ งรว่ มกันระดมความคดิ เห็น โดยนาํ สภาพปญั หาและผลการดาํ เนนิ งานมาปรับปรุงเพ่อื เพ่มิ ประสิทธภิ าพ

การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ของหอ้ งสมุดประชาชนประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพ่ือสนองตอบความต้องการของ
ประชาชนในพนื้ ทอี่ ย่างแท้จรงิ

ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ห้องสมุดประชาชน

ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดําเนินงานของบุคลากรและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้การจัด

การศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตามเป้าหมาย ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วน

เกี่ยวข้อง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติต่อไป
วีรญาพร ทองสุข บรรณารกั ษ์

ห้องสมดุ ประชาชนประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาํ เภอบา้ นแพ้ว

ตุลาคม 2562

สารบญั

หนา้

แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ........................................................................ ก

คาํ นํา …………………………………………………………………………………………………………………………… ข

สารบญั …………………………………………………………………………………………………………………………. ค-ง

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานเพือ่ การวางแผน ………….………………….……………………………………... 1

ขอ้ มูลพื้นฐานอาํ เภอบ้านแพ้ว .…….……….………………………………………………………… 1

ข้อมูลด้านประชากร………………………………….………………………………………………….. 2

ข้อมลู ดา้ นสงั คม………………………………………….……………………………………………….. 3

ขอ้ มลู ดา้ นเศรษฐกจิ …………………………………….……………………………………………….. 3

ขอ้ มูลพน้ื ฐานหอ้ งสมดุ ................................................................................................. 10

ความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกับห้องสมดุ ..................................................................................... 11

ความหมายของห้องสมุดประชาชน……………………………………………………………………. 12

ความสาํ คญั ของห้องสมุดประชาชน…………………………………………………………………… 12

วตั ถุประสงค์ของหอ้ งสมุดประชาชน…………………………………………………………………… 12

ระเบยี บการใชห้ อ้ งสมุดประชาชน……………………………………………………………………… 13

บรกิ ารห้องสมดุ ประชาชน………………………………………………………………………………… 13

มารยาทและข้อควรปฏิบัติเม่ือเข้ามาใชห้ อ้ งสมุด…………………………………………………. 14

ขอบเขตการให้บริการของหอ้ งสมดุ ประชาชน……………………………………………………… 15

ทรพั ยากรในหอ้ งสมดุ ประชาชน………………………………………………………………………… 16

การจัดหมวดหมหู่ นังสอื ในหอ้ งสมดุ ประชาชน…………………………………………………….. 16

การสบื คน้ ข้อมูลในห้องสมุดประชาชน………………………………………………………………. 17

การสืบคน้ และวธิ ีสืบคน้ ขอ้ มลู จากเครือข่ายคอมพวิ เตอร์............................................. 19

ส่วนท่ี 2 ทิศทางการดาเนนิ งาน……………….…………………………..……………………………………… 21

นโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งานสํานกั งาน กศน.ประจําปีงบประมาณ 2563......... 21

ทศิ ทางการดําเนนิ งานของสาํ นักงาน กศน.จังหวดั สมทุ รสาคร.................................... 21

ทิศทางการดําเนนิ งานของหอ้ งสมุดฯ......................................................................... 23

Roadmap การขบั เคลือ่ นนโยบายการส่งเสริมการอา่ นของสาํ นักงาน กศน…….… 26

สารบญั (ต่อ) หน้า
28
ส่วนที่ 3 รายละเอยี ดแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .........……………………………. 28
บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม.............................................................................. 34
ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 35
แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามแผนปฏิบตั กิ ารประจําปงี บประมาณ พ.ศ. ............... 36
37-46
ส่วนที่ 4 รายละเอยี ดโครงการตามแผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ........…………. 47
โครงการ ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. ............................................

คณะผู้จัดทา…………………………………………………………………………………………………………………..

ส่วนท่ี 1

ขอ้ มลู พ้นื ฐานเพอื่ การวางแผน
ขอ้ มลู พ้ืนฐานของอาเภอบ้านแพว้

ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์
อาํ เภอบ้านแพ้ว เปน็ อาํ เภอหน่ึงในสามของจังหวัดสมุทรสาคร ต้ังอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีราบริมฝ่ังคลองดําเนิน
สะดวกทเ่ี ช่ือมต่อระหวา่ งแมน่ ้าํ ทา่ จีนกับแม่น้ําแม่กลอง ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่อําเภอบ้านแพ้วมีหลายกลุ่มชน
ซ่งึ กล่มุ ใหญ่ ๆ ได้แก่ เชอ้ื ชาตไิ ทย เชอ้ื ชาตริ ามญั เชื้อชาตจิ นี และเช้ือชาตลิ าว ส่วนใหญ่จะนับถือพุทธศาสนา ซึ่งเป็น
พ้ืนฐานของจารีตประเพณีและวัฒนธรรมในลักษณะผสมผสาน ท้ังหมดดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขด้วยการ
ประกอบอาชพี ทาํ นาขา้ ว ทาํ สวนผลไม้ ทําสวนกลว้ ยไม้ ทําสวนพชื ผกั นาชนิด และเลี้ยงปลา (ปลาช่อนและปลาสลิด)
เลีย้ งกงุ้ ผลติ ผลทางการเกษตรทส่ี าํ คญั ของอาํ เภอ ได้แก่ มะพร้าวนํ้าหอม มะม่วง มะนาว องุ่น ฝร่ัง ชมพู่ แก้วมังกร
เปน็ ตน้

แผนทอี่ ําเภอบ้านแพว้ จังหวัดสมุทรสาคร

ขอ้ มลู ดา้ นประชากร

จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพ้ืนทอี่ าเภอบ้านแพว้

ลาดบั ชอ่ื ตาบล จานวน จานวนประชากร(คน)
ที่ ครัวเรือน
ชาย หญงิ รวม

1 ตาํ บลบ้านแพว้ 2,949 5,060 5,571 15,691

2 ตําบลหลักสาม 3,987 6,777 7,246 14,023

3 ตําบลยกกระบัตร 2,756 6,189 6,561 12,750

4 ตาํ บลโรงเข้ 2,618 5,640 5,877 11,517

5 ตาํ บลหนองสองห้อง 1,701 4,037 4,304 8,341

6 ตาํ บลหนองบวั 1,354 3,258 3,386 6,644

7 ตําบลหลักสอง 978 2,200 2,299 4,499

8 ตําบลเจด็ ริ้ว 888 1,832 1,997 3,829

9 ตําบลคลองตัน 1,237 2,270 2,357 4,627

10 ตําบลอําแพง 1,506 3,108 3,247 6,355

11 ตาํ บลสวนสม้ 1,385 2,522 2,625 5,147

12 ตาํ บลเกษตรพัฒนา 1,214 2,248 2,425 4,673

รวม 22,573 45,141 47,895 93,036

อําเภอบ้านแพ้ว มีครัวเรือนอาศัยอยู่จํานวน 22,573 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นท่ีการปกครองเทศบาลตําบล

ทั้งหมดมปี ระชากรทั้งสิ้น 93,036 คนแยก เป็นประชากรชาย จํานวน 45,141 คนคิดเป็นร้อยละ 48 และประชากร

หญงิ จํานวน 47,895 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 52

จานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ

ชว่ งอายุ (ป)ี จานวน (คน) รอ้ ยละของประชากรทง้ั หมด (คน)

0 - 5 3,118 6.36

6 - 14 5,005 10.21

15 - 39 17,001 34.69

40 - 59 14,694 29.99

60 - 69 4,688 9.56

70 - 79 2,691 5.49

80 - 89 1,259 2.56

90 ปขี ้ึนไป 244 0.49

รวม 48,995 100

จากตารางจํานวนประชากรจําแนกตามชว่ งอายุ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่มอี ายอุ ยูใ่ นช่วง 15-39 ปี คิดเป็น
รอ้ ยละ 34.69 รองลงมามีอายอุ ยใู่ นช่วง 40-59 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 29.99 และประชากรสว่ นนอ้ ยมีอายอุ ยใู่ นชว่ ง 90 ปี
ขึ้นไป คดิ เปน็ ร้อยละ 0.49 ตามลําดบั

ข้อมลู ด้านสงั คม
อําเภอบ้านแพ้ว เป็นอําเภอหนึ่งในสามของจังหวัดสมุทรสาคร ต้ังอยู่ในบริเวณพื้นที่ราบริมฝั่งคลองดําเนิน

สะดวกท่เี ชอ่ื มต่อระหว่างแมน่ ํา้ ท่าจนี กับแม่นํ้าแม่กลอง ประชากรที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่อําเภอบ้านแพ้วมีหลายกลุ่มชน
ซ่งึ กลมุ่ ใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ เชอ้ื ชาติไทย เชื้อชาตริ ามญั เชื้อชาตจิ ีน และเชื้อชาติลาว ส่วนใหญจ่ ะนับถือพุทธศาสนา ซึ่งเป็น
พื้นฐานของจารีตประเพณีและวัฒนธรรมในลักษณะผสมผสาน ทั้งหมดดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขด้วยการ
ประกอบอาชพี ทํานาข้าว ทําสวนผลไม้ ทําสวนกล้วยไม้ ทําสวนพชื ผกั นาชนิด และเลี้ยงปลา

ขอ้ มูลดา้ นเศรษฐกิจ
อาชีพของประชาชนในอําเภอบ้านแพ้วประกอบอาชีพ ทํานาข้าว ทําสวนผลไม้ ทําสวนกล้วยไม้ ทําสวน

พืชผักนาชนิด และเลี้ยงปลา (ปลาช่อนและปลาสลิด) เล้ียงกุ้ง ผลิตผลทางการเกษตรท่ีสําคัญของอําเภอ ได้แก่
มะพรา้ วนาํ้ หอม มะมว่ ง มะนาว องุน่ ฝรั่ง ชมพู่ แกว้ มังกร เป็นต้น

2.3 แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน และทนุ ด้านงบประมาณทส่ี ามารถนามาใชป้ ระโยชน์เพ่อื การจัดการศกึ ษา

ประเภทบุคคล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรพั ยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทางสงั คม

วัฒนธรรมและตน้ ทนุ งบประมาณ

1. แหล่งเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล ได้แก่

ภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ความรู้ความสามารถ ที่อยู่

นางสมศรี เกตแุ ก้ว นาํ้ สมนุ ไพร หมู่ ๔ ต.เกษตรพัฒนา

นางสาวร่งุ นภา โพธทิ์ อง สานตะกร้าทางมะพรา้ วสด หมู่ 3 ต.เกษตรพฒั นา

นายจาํ เรญิ สวยบํารุง สานไมก้ วาดทางมะพรา้ ว หมู่ ๔ ต.คลองตนั

นายเมธา รอดคลองตัน สุรากลนั่ หมู่ 3 ต.คลองตัน

นางสาวตรง ฟักกลาง ผลิตภณั ฑ์การสานเสอ่ื กก หมู่ 1 ต.เจด็ รวิ้
การทาํ หมอนใบเตย

นายโนรา รอ้ ยอําแพง การทําสบสู่ มนุ ไพร หมู่ 2 ต.เจด็ รว้ิ

นางสาวน้ําผง้ึ วงษส์ มุทร การทําอาหารคาวหวาน หมู่ 3 ต.เจ็ดร้วิ

นายนธิ พิ งษ์ ซอกรมั การทาํ ปุ๋ยชวี ภาพ หมู่ 4 ต.เจ็ดรว้ิ

นางสาวกรรญา สมตน การทํานํา้ พรกิ หมู่ 4 ต.เจ็ดร้ิว

นางสําเนา พุกผาสกุ ศลิ ปวัฒนธรรมไทยรามญั หมู่ 4 ต.เจด็ รว้ิ

นายบญุ สม รอ้ ยอําแพง การปลกู ผักคะนา้ หมู่ 4 ต.เจด็ ริ้ว

ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ความรู้ความสามารถ ทอ่ี ยู่
นางสาวสมาธิ ทองมกุ ดา หมู่ 5 ต.เจด็ ร้ิว
นางมะลิ กวนิ ยวง การปักผา้ สไบมอญ หมู่ 6 ต.บา้ นแพ้ว
นางกรรณิกา กลุ ขา ลูกประคบสมุนไพร หมู่ 9 ต.บา้ นแพว้
แกะสลกั มะพร้าว/เรอื นไทยจาํ ลอง/
นายชงิ ชัย หทยั ทัศน์ ตโู้ ชว์จ๋วิ หมู่ 7 ต.บ้านแพว้
นางเพมิ่ แกว้ อยู่ การปลูกแคตตสั หมู่ 4 ต.ยกกระบตั ร
นางสาวณัฐวดี ฉมิ พาลี อาหาร/การทํานา้ํ ดมื่ นํา้ สลดั หมู่ 10 ต.ยกกระบัตร
นายจาํ ลอง กุย้ บาํ รงุ เกษตรผสมผสาน หมู่ 4 ต.ยกกระบตั ร
นายประดิษฐ์ จนั ทอง เตาประหยัดพลงั งาน หมู่ 7 ต.โรงเข้
ประวัติ ขอ้ มูล หมู่บ้าน/ชุมชน
นางปราณี คาํ สุข พืชสมนุ ไพร หมู่ 7 ต.โรงเข้
นางกลบี อเู่ วยี งคอย ขนมไทย หมู่ 3 ต.โรงเข้
นายฐาปนพงศ์ จติ รสาคร ขนมไทย ศิลปะประดษิ ฐ์ หมู่ 4 ต.โรงเข้
นายสมศกั ดิ์ จิตรสาคร ปรับปรุงบํารงุ ดิน (คลงั ปัญญา) หมู่ 4 ต.โรงเข้
นายเอก ฮะคอ่ ม กวาดยาเดก็ หมู่ 4 ต.โรงเข้
นายธงชยั ทบั ต่อม วฒั นธรรมไทยทรงดํา หมู่ 1 ต.โรงเข้
นางสกุ ัญญา คงวจิ ติ ร พิธกี รทางศาสนา หมู่ 3 ต.สวนสม้
นางพะนอ ไสนยิ ม ศลิ ปะประดิษฐ์ หมู่ 5 ต.สวนสม้
คุณจําเนียร กุณาศล นํ้าพรกิ แกง หมู่ 5 ต.สวนสม้
นายสมศักด์ิ บุญเรือง ดนตรไี ทย หมู่ 1 ต.หนองบัว
นายประยุทธ องิ พงษ์พนั ธ์ ธนาคารต้นไม้ หมู่ 6 ต.หนองบวั
นายพศิ ณุ ลมิ่ กองลาภ การปลกู สม้ เขยี วหวาน หมู่ 7 ต.หนองบวั
นายสําราญ ลายไม้ การปลูกมะนาว/มะพรา้ ว หมู่ 7 ต.หนองสองหอ้ ง
นายณรงค์ นิม่ เขยี ว ดนตรี หมู่ 8 ต.หนองสองห้อง
นายวริ งั โก ดวงจินดา ดนตรี หมู่ 1 ต.หลักสอง
เกษตรผสมผสาน/
นางสดุ าทิพย์ มแี สงเงนิ ขยายพนั ธไ์ ม้ หมู่ 1 ต.หลกั สอง
แปรรปู วา่ นหางจระเข้/
นายสาธิต สะอาดเงิน ว่านหางจระเขก้ วน 3 รส หมู่ 5 ต.หลกั สอง
ผลิตภัณฑ์กะลามะพรา้ ว
นายขวัญชยั เกตุแกว้ การเล้ยี งแพะ หมู่ 1 ต.หลักสอง
นายมะลิ มาลพี นั ธ์ การปลูกกล้วยไม้ หมู่ 1 ต.หลกั สอง
-การสร้างบา้ นทรงไทย
นายสมัคร ลิ้มไพบลู ย์ -ผลติ ภัณฑก์ ระถางกล้วยไม้จากเปลอื กมะพรา้ ว หมู่ 3 ต.หลกั สอง
การทําเรอื ดดู เลน การตอ่ เรอื

ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่
นายสงัด พลอยขาว หมู่ 5 ต.หลักสอง
นายเสนาะ ชน่ื ใจฉ่ํา การทําปุย๋ หมักชวี ภาพ หมู่ 5 ต.หลกั สอง
-การทาํ ปุย๋ หมกั ชีวภาพ
นายเสนาะ สขุ ไชยศรี -เกษตรผสมผสาน หมู่ 2 ต.หลกั สอง
นายสนนั่ หนนุ ภักดี -แกะโฟม เขยี นปา้ ย หมู่ 5 ต.หลกั สอง
นายสนทิ เลี้ยงอยู่ -การจัดดอกไม้ หมู่ 5 ต.หลักสอง
นางอมุ้ พร อฉู่ าย สมุนไพรไทยพื้นบ้าน หมู่ 7 ต.หลกั สาม
นายอรุณนนท์ เกาะไพศา สมนุ ไพรไทยพน้ื บ้าน หมู่ 4 ต.หลกั สาม
ลสมบตั ิ การถักเปลญวน
นายสทุ ศน์ เชื้อใหญ่ ยาสมนุ ไพร หมู่ 2 ต.อาํ แพง
นางลัดดา พดั เยน็ การทาํ เกษตร/แปรรูปน้าํ ตาลสด หมู่ 1 ต.อําแพง
นายบญุ เรือง มิลาวรรณ หมู่ 3 ต.อําแพง
นางสาวปณัดดา คงมาลยั ปยุ๋ อินทรียช์ ีวภาพ หมู่ 3 ต.อาํ แพง
นางวรรณา แฃล่ ้อ ขนมไทย หมู่ 2 ต.อําแพง
นางจนั ทรฉ์ าย วรรณชนะ ทาํ ว่าวจฬุ า / การแทงหยวก หมู่ 2 ต.อาํ แพง
นางกาญจนา ดา่ นสกลุ เยบ็ ปักเสอ้ื ผ้า หมู่ 2 ต.อําแพง
นางสาวฉวี สกลุ บ้านบน ศลิ ปะประดษิ ฐ์ หมู่ 2 ต.อําแพง
นายบญุ สม จบั ชุน เสรมิ สวย หมู่ 5 ต.อาํ แพง
นางทอง ทรัพยป์ ระเสริฐ นวดแผนไทย หมู่ 2 ต.อําแพง
นางสมพร กนั จนิ ดา นวดแผนไทย หมู่ 3 ต.อําแพง
นางมานะ รอดบญุ เกดิ พธิ ีกรทางศาสนา หมู่ 3 ต.อาํ แพง
นางสมพร สนเป่ยี ม นวดแผนไทย หมู่ 3 ต.อําแพง
นางจนิ ตนา สขุ เยน็ นวดแผนไทย หมู่ 2 ต.อําแพง
นางสาวอารรี ัตน์ ทองนุ่ม นวดแผนไทย หมู่ 3 ต.อําแพง
นางจาํ ปา อ่วมประทมุ นวดแผนไทย หมู่ 3 ต.อําแพง
นางสงวน ดีเจรญิ ขนมหวาน หมู่ 3 ต.อาํ แพง
นางมณฑา นพคุณ ศิลปะประดษิ ฐ(์ การรอ้ ยลูกปัด) หมู่ 3 ต.อาํ แพง
นายสมภพ เสพสมทุ ร จกั สานทางมะพรา้ ว หมู่ 3 ต.อําแพง
นายประชา กณุ าศล การประดิษฐ์ดอกไมจ้ นั ทน์ หมู่ 2 ต.อาํ แพง
นางประภา ขนุ เณร ศิลปะประดษิ ฐ(์ การรอ้ ยลกู ปัด) หมู่ 2 ต.อําแพง
นางลกั ขณา ศรีสุระ การเล้ยี งปลาสวยงาม หมู่ 3 ต.อําแพง
การเลย้ี งกุ้งมังกร
จานวน เสรมิ สวย
การสานตะกรา้ จากเสน้ พสาสตกิ

66 แหง่

2. แหล่งเรยี นร้ปู ระเภทสถานท/่ี ชุมชน/กลมุ่ ทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่

ช่ือแหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ท่ตี ั้ง ผู้รบั ผดิ ชอบ
นางสาววมิ าภรณ์ วุฒิพงษ์
กศน.ตาํ บลเกษตรพัฒนา กศน.ตาํ บล หมู่ 1 ตําบลเกษตร
พัฒนา นางสาวบบี ฮี วา สะมทั
กศน.ตาํ บลเจ็ดรวิ้ กศน.ตาํ บล หมู่ 4 เจ็ดร้ิว นางสาวศริ พิ ร หาญภักดี
กศน.ตาํ บลคลองตัน กศน.ตาํ บล หมู่ 4 ตําบลคลองตัน นางสาวสกุลรัตน์ เฮง้ เจริญสุข
กศน.ตําบลบา้ นแพว้ กศน.ตาํ บล หมู่ 1 ตําบลบ้านแพ้ว นางสาวอารยี ์ ฉิมบญุ อยู่
กศน.ตําบลยกกระบัตร กศน.ตําบล หมู่ 6 ตาํ บลยกกระบตั ร นางสาวพันธชา ยังมาก
กศน.ตําบลโรงเข้ กศน.ตาํ บล หมู่ 1 ตาํ บลโรงเข้ นายชาครติ จันทร์ตรี
กศน.ตาํ บลสวนส้ม กศน.ตําบล หมู่ 2 ตาํ บลสวนส้ม นางสาวอนิ อร บัวผนั
กศน.ตําบลหนองบัว กศน.ตาํ บล หมู่ 1 ตาํ บลหนองบัว นางสาวออ้ มใจ จันทรเ์ นียม
กศน.ตาํ บลหนองสองหอ้ ง กศน.ตาํ บล หมู่ 8 ตําบลหนองสอง
หอ้ ง นางสาวสุรินธร นาคคมุ้
กศน.ตาํ บลหลักสอง กศน.ตําบล หมู่ 7 ตําบลหลักสอง นางสาวภัทรวดี กญั จา
นางมยรุ ี รอดบุญเกดิ
กศน.ตาํ บลหลกั สาม กศน.ตําบล หมู่ 7 ตาํ บลหลักสาม นางสาวอไุ รวรรณ ปานเนือง
กศน.ตําบลอาํ แพง กศน.ตาํ บล หมู่ 2 ตําบลอําแพง นางสาวศริ าณีย์ ศรเี จรญิ
ศูนย์การเรียนรตู้ าํ บลบ้านแพ้ว ศูนยก์ ารเรยี นรูช้ ุมชน หมู่ 1 ตําบลบ้านแพว้ นางสาววรี ญาพร ทองสขุ
ศนู ยก์ ารเรยี นรูต้ ําบลบา้ นแพว้ ศนู ยก์ ารเรยี นรูช้ ุมชน หมู่ 1 ตาํ บลบ้านแพ้ว

ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ห้องสมุด หมู่ 1 ตําบลบ้านแพ้ว
ราชกุมาร”ี อําเภอบา้ นแพ้ว
วัดโรงเข้วนาราม พทุ ธศาสนาและ หมู่ 3 ต.โรงเข้

วดั ศรีเพรชพฒั นา ศิลปวัฒนธรรม

วัดธรรมโชติ พุทธศาสนาและ หมู่ 3 ต.โรงเข้

วัดฟุ้งประชาธรรมมาราม ศลิ ปวัฒนธรรม

อาคารจลุ ินทรีย์ E-M พุทธศาสนาและ หมู่ 6 ต.โรงเข้
พิพธิ ภัณฑเ์ ทิดทนู พระคณุ พอ่
แม่ ศลิ ปวัฒนธรรม
ชมรมไทยทรงดํา
วดั ดอนโฆสติ าราม พุทธศาสนาและ หมู่ 7 ต.โรงเข้

ศลิ ปวฒั นธรรม

ปุ๋ยชวี ภาพ หมู่ 4 ต.โรงเข้

วัตถุโบราณ พชื สมนุ ไพร หมู่ 7 ต.โรงเข้

วฒั ธรรมไทยทรงดํา หมู่ 4 ต.โรงเข้
พทุ ธศาสนาและ หมู่ 5 ต.หนองบัว
ศลิ ปวฒั นธรรม

ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ที่ตัง้ ผรู้ ับผดิ ชอบ
วดั รางตันนิลประดษิ ฐ์ หมู่ 5 ต.หนองบวั
พทุ ธศาสนาและ
วดั หนองบัว ศลิ ปวัฒนธรรม หมู่ 9 ต.หนองบวั
พุทธศาสนาและ
วัดหนองสองหอ้ ง ศิลปวัฒนธรรม หมู่ 8 ต.หนองสองหอ้ ง
พทุ ธศาสนาและ
วดั ปทุมทองรัตนาราม ศลิ ปวฒั นธรรม หมู่ 2 ต.หนองสองห้อง
พทุ ธศาสนาและ
ศนู ย์วฒั นธรรมไทยทรงดาํ ศิลปวฒั นธรรม หมู่ 8 ต.หนองสองหอ้ ง
กลุม่ พัฒนาสตรี ศิลปวัฒนธรรม หมู่ 1 ต.หลกั สอง
กลุม่ ออมทรพั ฺย์เพื่อการผลิต วสิ าหกิจชุมชน หมู่ 1 ต.หลักสอง
บ้านคลองเจด็ ร้วิ เก่า วสิ าหกิจชุมชน

กล่มุ กะลาเอกบ้านกระโจมทอง วสิ าหกิจชุมชน หมู่ 5 ต.หลกั สอง
วัดกระโจมทอง พทุ ธศาสนาและ หมู่ 5 ต.หลกั สอง
ศลิ ปวฒั นธรรม หมู่ 2 ต.หลกั สอง
วัดหลักสองราษฎรบ์ ํารงุ พุทธศาสนาและ หมู่ 7 ต.หลกั สอง
ศิลปวฒั นธรรม หมู่ 1 ต.หลกั สาม
ศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยี เกษตร / ปศุสตั ว์ หมู่ 3 ต.เกษตรพฒั นา
เกษตร หมู่ 5 ต.เกษตรพัฒนา
วัดธรรมจริยาภริ มย์ พุทธศาสนาและ
ศิลปวัฒนธรรม หมู่ 1 ต.เกษตรพัฒนา
วัดคลองตันราษฎร์บาํ รงุ ศาสนา ศิลปะ ประเพณี หมู่ 4 ต.คลองตัน
และวัฒนธรรม หมู่ 4 ต.คลองตนั
สถานีวทิ ยุชุมชนปฐมสาคร ข้อมูลขา่ วสารด้านตา่ งๆ
เวทีแบง่ ปัน แลกเปลีย่ น
ศนู ย์การเรียนรู้ชมุ ชนตําบล
เกษตรพัฒนา เรยี นรู้
ศนู ยถ์ ่ายทอด คอมพิวเตอร์ ICT
เทคโนโลยีการเกษตร เศรษฐกิจพอเพยี ง
แหล่งเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการเกษตร

เศรษฐกิจพอเพียง

ศนู ย์ปราชญ์ชาวบา้ น เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 2 ต.คลองตนั

ชื่อแหลง่ เรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ท่ตี ั้ง ผ้รู ับผิดชอบ
ศนู ย์การเรียนรกู้ ารดูแล
สุขภาพแบบองคร์ วมและ เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมู่ 1 ต.คลองตัน
พ่ึงพาตวั เองแบบยงั่ ยนื
ศูนยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 1 ต.เจ็ดรว้ิ
วดั เจ็ดร้ิว พุทธศาสนาและ หมู่ 3 ต.เจด็ รว้ิ
ศลิ ปวัฒนธรรมและสอน
วัดอทุ ยาราม
ภาษามอญ
พุทธศาสนาและ หมู่ 4 ต.เจ็ดริ้ว
ศลิ ปวฒั นธรรม

กลุ่มเกษตรดรทําสวนบ้าน เกษตรกรรม หมู่ 4 ต.เจ็ดร้วิ
เจด็ ร้ิว
วัดใหมร่ าษฎร์นุกลู ศาสนา ศิลปะ ประเพณี หมู่ 1 ต.บ้านแพว้
และวัฒนธรรม
วัดธรรมเจดีย์ศรีพพิ ฒั น์ หมู่ 4 ต.บ้านแพว้
ศาสนา ศิลปะ ประเพณี
ห้องสมดุ ประชาชน”เฉลิมราช และวฒั นธรรม หมู่ 1 ต.บ้านแพว้
กมุ าร”ี อาํ เภอบา้ นแพว้
วดั ยกกระบัตร การศึกษาตามอัธยาศัย หมู่ 6 ต.ยกกระบัตร

กลมุ่ การแปรรปู ปลาสลิด พุทธศาสนาและ หมู่ 6 ต.ยกกระบตั ร
วัดหลกั สี่ราษฎรส์ โมสร ศิลปวัฒนธรรม หมู่ 2 ต.ยกกระบตั ร
การแปรรปู อาหาร
วัดโรงเข้ พทุ ธศาสนาและ หมู่ 1 ต.โรงเข้
ศิลปวฒั นธรรม
วัดราษฎร์ศรทั ธากะยาราม พุทธศาสนาและ หมู่ 2 ต.หลักสาม
ศลิ ปวฒั นธรรม
วดั บ้านวังจระเข้ พุทธศาสนาและ หมู่ 5 ต.หลกั สาม
ศิลปวฒั นธรรม
ห้องสมุดชุนชม โครงการ พทุ ธศาสนาและ โรงเรียนทปี ังกรวิทยา
สายใยรัก ศิลปวัฒนธรรม พัฒน์
หอ้ งสมุดประชาชน (วัดสุนทรสถติ )ในพระ
ราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระ
บรมโอรสาธิราชฯ สยาม
มกฎุ ราชกุมาร

ชือ่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ที่ตงั้ ผู้รบั ผดิ ชอบ

ศนู ย์ 3 วัย วัยสานสายใยรัก ศนู ยโ์ ครงการ หมู่ 2 ต.อําแพง

ครอบครวั อําแพง พระราชดาํ ริ

ศนู ย์เรยี นร้เู กษตรบา้ นสวนอํา ศูนยเ์ ศษฐกิจพอเพยี ง หมู่ 2 ต.อําแพง

แพง

วดั สุนทรสถิต พุทธศาสนาและ หมู่ 2 ต.อําแพง

ศิลปวฒั นธรรม

พุทธมณฑลจังหวัดสมุทรสาคร พทุ ธศาสนาและ หมู่ 2 ต.อําแพง

ศิลปวัฒนธรรม

จานวน 62 แห่ง

3. แหลง่ สนับสนนุ ทนุ /งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่

ท่ี ภาคีเครอื ขา่ ย ทีอ่ ยู่/ที่ตงั้

1. โรงเรยี นอนบุ าลบา้ นแพ้ว ตําบลหลักสาม อาํ เภอบ้านแพว้
2. โรงเรียนวดั ธรรมจรยิ าภิรมย์ ตาํ บลหลกั สาม อาํ เภอบ้านแพ้ว
3. เทศบาลตําบลบา้ นแพว้ ตําบลหลักสาม อาํ เภอบ้านแพว้
4. เทศบาลตําบลเกษตรพัฒนา ตาํ บลเกษตรพฒั นา อําเภอบ้านแพ้ว
5. เทศบาลตําบลหลกั หา้ ตาํ บลยกกระบัตร อําเภอบา้ นแพ้ว
6. องคก์ ารบริหารส่วนตําบลบ้านแพ้ว ตําบลบ้านแพว้ อาํ เภอบ้านแพว้
7. องค์การบริหารสว่ นตําบลหลักสาม ตาํ บลหลักสาม อาํ เภอบา้ นแพว้
8. องค์การบริหารส่วนตําบลสวนสม้ ตําบลสวนส้ม อาํ เภอบ้านแพว้
9. องค์การบริหารส่วนตําบลอําแพง ตําบลอาํ แพง อาํ เภอบา้ นแพ้ว
10. องค์การบริหารสว่ นตาํ บลคลองตัน ตําบลคลองตัน อาํ เภอบา้ นแพว้
11. องค์การบรหิ ารส่วนตาํ บลเจด็ ริว้ ตําบลเจ็ดร้วิ อาํ เภอบ้านแพ้ว
12. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบลหลักสอง ตําบลหลกั สอง อําเภอบ้านแพ้ว
13. โรงพยาบาลบา้ นแพว้ ตาํ บลบ้านแพว้ อําเภอบ้านแพ้ว
14. สํานักงานสาธารณสุขอาํ เภอบ้านแพว้ ตาํ บลบ้านแพ้ว อาํ เภอบา้ นแพว้
15. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตําบลทุกแหง่ ทุกตาํ บลในเขตอาํ เภอบา้ นแพว้
16. สถานตี าํ รวจภูธรอาํ เภอบา้ นแพ้ว ตาํ บลบ้านแพว้ อาํ เภอบา้ นแพ้ว
17. สํานกั งานวัฒนธรรมอาํ เภอบ้านแพว้ ตําบลบา้ นแพ้ว อาํ เภอบา้ นแพ้ว
18. สํานักงานเกษตรอําเภอบา้ นแพ้ว ตําบลบ้านแพว้ อําเภอบา้ นแพ้ว
19. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอบ้านแพว้ ตําบลบ้านแพว้ อําเภอบา้ นแพ้ว
20. วัด ทุกตําบลในเขตอําเภอบ้านแพว้
21. วทิ ยาลยั การอาชพี บา้ นแพว้ ตําบลเจ็ดร้วิ อําเภอบา้ นแพว้
22. โรงเรยี นประถมศึกษาในเขตอําเภอบ้านแพว้ ทกุ ตําบลในเขตอาํ เภอบ้านแพ้ว

ท่ี ภาคเี ครือขา่ ย ท่อี ย/ู่ ทีต่ ้งั

23. โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาในเขตอําเภอบา้ นแพว้ ทุกตําบลในเขตอําเภอบ้านแพ้ว
24. ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ในเขตอําเภอบ้านแพ้ว ทุกตําบลในเขตอาํ เภอบ้านแพว้
25. สถานวี ิทยุชมุ ชนปฐมสาคร ตําบลเกษตรพัฒนา อําเภอบ้านแพ้ว
26. สถานวทิ ยุชุมชนท้องถ่นิ ตําบลยกกระบัตร อาํ เภอบา้ นแพ้ว
27. สถานวี ทิ ยเุ พื่อการส่อื สารทางสังคม 100.25 Mhz ตาํ บลบ้านแพ้ว อําเภอบ้านแพ้ว

ข้อมลู พ้ืนฐานหอ้ งสมดุ
ประวัตคิ วามเป็นมา

ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้ว เป็นห้องสมุดท่ีกระทรวงศึกษาธิการโดยกรมการ
ศึกษานอกโรงเรียนได้รับพระราชทานอนุญาตให้จัดตั้งขึ้นตามโครงการจัดตั้งห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”
เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสทรงมีพระชนมายุ 3 รอบ
พระนักษัตรในปี พุทธศักราช 2534 อันเป็นการสนองพระราชปณิธาน ท่ีทรงต้องการให้มีห้องสมุดที่ดีมีหนังสือทุก
ประเภทครบถว้ น สาํ หรับบริการประชาชน นักเรียน นักศึกษา และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า
“เฉลมิ ราชกุมารี”

การก่อสร้าง
กรมการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดสมุทรสาคร อําเภอบ้านแพ้ว และชาวจังหวัดสมุทรสาคร ร่วมกันสนอง
พระราชปณิธานดังกลา่ วโดยไดจ้ ดั สร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ขึ้น ณ หมู่ที่ 1 ตําบล บ้านแพ้ว อําเภอ
บา้ นแพว้ จงั หวดั สมุทรสาคร โดยจังหวัดสมุทรสาครได้ออกประกาศจงั หวดั จัดตั้ง เมื่อวนั ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2534
ใช้ช่อื วา่ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้ว ในช้ันแรกได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์ให้สร้างใน
ทด่ี นิ ราชพัสดุ เนอื้ ที่ 265 ตารางวา ภายหลังได้รบั พระราชทานแผน่ ศลิ าฤกษ์อาคารหอ้ งสมุดแล้ว ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ ให้พลอากาศเอกสมบญุ ระหงส์ ในครง้ั ยงั ดํารงตําแหน่งผู้ว่าการท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เป็นประธาน
ในพิธวี างศลิ าฤกษ์เม่ือวนั ท่ี 22 มถิ ุนายน พ.ศ. 2534 และดําเนินการก่อสร้าง โดยห้างหุ้นส่วนจํากัดนัฐพงษ์ก่อสร้าง
เม่ือวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ. 2534 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ใช้งบประมาณและเงินบริจาคในการ
กอ่ สร้างรวมวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ เป็นจํานวน 3,005,590 บาท ภายหลังการกอ่ สร้างแล้วเสร็จคณะกรรมการการดําเนินงาน
เห็นพ้องต้องกันว่าเพื่อให้ห้องสมุดแห่งน้ีมีที่ตั้งงามสง่าสมเกียรติ ควรจะขอใช้ที่ดินบริเวณด้านหน้าอาคารห้องสมุด
เพ่มิ เติม จังหวัดสมทุ รสาครจงึ ประสานงานกบั กรมการศึกษานอกโรงเรียนเพ่ือขอใช้ท่ดี นิ ราชพสั ดุ จากกรมธนารักษอ์ ีก
จํานวน 265 ตารางวา ซึ่งกรมธนารักษ์ได้ตอบหนังสืออนุญาตให้ใช้ท่ีดินตามคําขอ เม่ือวันที่ 19 มกราคม
พ.ศ. 2538 ทาํ ให้หอ้ งสมดุ แหง่ น้ีมีเนือ้ ท่กี ว้างเป็นสถานทรี่ าชการทสี่ วยงามแห่งหน่ึง ของอําเภอบ้านแพ้ว เหมาะท่ีจะ
เป็นสถานที่พักผอ่ นหยอ่ นใจของประชาชน นอกเหนอื จากการค้นควา้ ทางวิชาการ และการจัดกิจกรรมการศึกษานอก
โรงเรียนรปู แบบอ่ืนๆ

งบประมาณ
สําหรับงบประมาณและเงนิ บรจิ าคทีใ่ ช้ในการก่อสร้าง รวมท้ังอปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ต่างๆ น้ัน รวมเปน็ เงนิ จาํ นวน
ทง้ั สนิ้ 3,005,590 บาท ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาํ เภอบ้านแพ้ว
พธิ ีเปิดหอ้ งสมุด
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ลน้ เกลา้ ฯ เสด็จพระราชดําเนิน
ทรงเป็นองค์ประธานประกอบพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
เมือ่ วนั จนั ทร์ แรม 6 คํ่า เดือน 8 ปีกุล ฉอศก จุลศักราช 1357 ตรงกับวันจันทร์ท่ี 17 กรกฎาคม พุทธศักราช 2538
นบั เปน็ สวัสด์มิ งคลสงู สดุ และนําความปลาบปลม้ื ยนิ ดหี าท่ีสุดมิได้ มาสู่ชาวจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดใกล้เคียงท่ัว
ทุกคน

ทีต่ ั้ง
ห้องสมดุ ประชาชน "เฉลมิ ราชกุมารี" อาํ เภอบ้านแพว้
ทอี่ ยู่ 31/8 หมู่ท่ี 1 ตําบลบ้านแพว้ อาํ เภอบา้ นแพว้ จงั หวดั สมุทรสาคร 74120
หมายเลขโทรศัพท์ 034 844 567
Facebook ห้องสมดุ ประชาชน "เฉลิมราชกมุ าร"ี อาํ เภอบา้ นแพว้

จานวนสมาชิกห้องสมดุ ในรอบ 3 ปงี บประมาณท่ีผ่านมา

ที่ ปีงบประมาณ จานวนสมาชิก เพ่ิมข้นึ /ลดลง
ชาย หญงิ
เพิ่มขน้ึ
1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 325 589 เพ่ิมขึน้
เพิม่ ข้ึน
2 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 438 707 เพิ่มขึ้น

3 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 619 877

รวม 1,382 2,173

ความรูท้ ัว่ ไปเกี่ยวกับหอ้ งสมุด
หัองสมุด ถือเป็นหัวใจของการเรียนรู้ท่ีสําคัญในสังคมแห่งภูมิปัญญาและสังคมแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนใน

สถานศกึ ษาจะต้องศกึ ษาคน้ คว้าแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง หอ้ งสมุดจงึ เปน็ แหล่งเรียนรทู้ ่ีมีส่วนสําคัญใน
การจัดประสบการณ์ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นตามหลกั สตู ร เปรยี บเสมือนคลงั ความรู้ที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ ด้านให้เป็นผู้รัก
การเรยี นและสนใจเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาคนและสงั คมใหส้ มบรู ณแ์ บบ

ความหมายของห้องสมุดประชาชน
หอ้ งสมดุ (Library) คือแหล่งสะสม และใหบ้ รกิ ารทรัพยากรสารสนเทศ ในรูปสง่ิ ตีพิมพ์ ส่ิงไม่ตีพิมพ์ และส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดหมวดหมู่ของทรัพยากรสารสนเทศ อย่างเป็นระบบ เพ่ือให้มีการเข้าถึงการใช้และบริการ
อย่างสะดวกรวดเร็ว โดยมีบรรณารักษ์และเจ้าหน้าท่ีห้องสมุด ผู้มีความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์เป็นผู้รับผิดชอบใน
การดาํ เนินการตา่ ง ๆ

ความสาคัญของหอ้ งสมุดประชาชน
การศกึ ษาในปจั จุบัน มงุ่ ใหผ้ ู้เรยี นมีโอกาสค้นควา้ หาความรู้จากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ มาประกอบความรู้ท่ีได้รับ

จากการเรียนในช้ัน ผ้เู รยี นจะต้องหาความรูเ้ พิ่มเติมโดยการเขา้ ใช้ห้องสมุด เพือ่ ค้นคว้าหาความรู้เพิ่มขึ้น ความสําคัญ
ของห้องสมุดอาจประมวลได้ ดังนี้

1. ห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และวิชาการต่าง ๆ ที่นักศึกษาสามารถค้นคว้าหา
ความรู้เพมิ่ เติมได้ตลอดเวลา

2. ห้องสมดุ เปน็ แหล่งท่นี กั ศึกษาสามารถเลือกหาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ไดอ้ ยา่ งหลากหลายตามความสนใจ
และความตอ้ งการของตนเอง

3. หอ้ งสมุดชว่ ยใหน้ ักศกึ ษาเปน็ ผู้ที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ เนื่องจากข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และวิชาการ
ต่าง ๆ เกิดขึน้ ใหม่ตลอดเวลา

4. ห้องสมุดช่วยให้นักศึกษาเกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เกิดนิสัยรักการอ่าน และการศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง เกดิ ความรอู้ นั เปน็ รากฐานในการคน้ ควา้ วิจยั สร้างสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ

5. ห้องสมุดชว่ ยปลกู ฝงั ให้นกั ศึกษาเป็นพลเมืองดี เป็นนักประชาธิปไตย มีจรรยาบรรณ รู้จักปฏิบัติตนตาม
กฎเกณฑข์ องสงั คม มคี วามรับผดิ ชอบ รู้เท่าทันโลก

วัตถปุ ระสงค์ของห้องสมุดประชาชน
หอ้ งสมุดทุกประเภทมีวตั ถุประสงคท์ ่วั ไป 5 ประการ คอื
1. เพอ่ื การศึกษา (Education) เป็นการพัฒนาพลเมืองให้มคี วามรู้ เฉลียวฉลาด มีความรับผิดชอบ และ

ความสามารถในการครองชีพ การศึกษาด้วยตนเองโดยการค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดทําให้มีความรอบรู้
กวา้ งขวาง ลึกซ้ึง สามารถตัดสินปญั หาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
และสังคมตอ่ ไป

2. เพ่ือความร้หู รือสารนิเทศ (Information) ห้องสมดุ เป็นแหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูล ข่าวสารที่ถูกต้อง
เหมาะสม ทนั สมัย ทันตอ่ เหตุการณ์ ซงึ่ เป็นสงิ่ ทีส่ ําคัญ และจาํ เป็นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาประสิทธิภาพใน
การปฏิบตั ิงาน ประกอบการตดั สินใจในเรอื่ งตา่ ง ๆ เชน่ การศกึ ษาการดําเนินชวี ิต การรักษาสุขภาพร่างกายและจิตใจ
เป็นต้น

3. เพ่ือการค้นคว้าวิจัย (Research) เป็นส่ิงจําเป็นสําหรับความก้าวหน้าทางวิชาการ ก่อให้เกิดความรู้
ใหม่ ๆ หรือให้ข้อเท็จจริงบางประการ ท่ีสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน หรือใช้แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของ
สังคม หอ้ งสมุดเป็นแหล่งข้อมูลสําคญั ที่เป็นพื้นฐานในการคน้ คว้าวิจยั

4. เพอื่ ความจรรโลงใจ (Inspiration) หรอื ความสขุ ทางใจ เป็นแรงบันดาลใจในทางสร้างสรรค์ ปรารถนา
ท่ีจะกระทําความดีท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม วิชาการทางด้านปรัชญา ศาสนา ศิลปะและวรรณกรรม
ประวัติศาสตร์ ชวี ประวัตขิ องบุคคล

5. เพื่อนันทนาการ (Recreation) หรือพักผ่อนหย่อนใจ ซ่ึงเป็นส่ิงจําเป็นสําหรับชีวิตมนุษย์ที่ต้องการ
พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความตงึ เครียด เกดิ ความเพลดิ เพลินใจ สบายใจ วสั ดุห้องสมุดทมี่ ีเนือ้ หาสาระ ทงั้ สารคดีและ
บันเทงิ คดี สามารถก่อให้เกิดนนั ทนาการได้

ระเบยี บการใช้หอ้ งสมดุ ประชาชน
หอ้ งสมุดแต่ละแห่งจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจํานวนมาก เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้ทรัพยากร

สารสนเทศร่วมกัน ผู้ใชบ้ ริการจงึ ควรคาํ นึงถงึ มารยาทและมีคุณธรรมดังนี้
1. แตง่ กายสภุ าพเรียบร้อย
2. ถอดรองเท้าและวางกระเป๋าไว้ทช่ี ้ันฝากกระเปา๋
3. ไม่เลน่ พดู คุยส่งเสียงดัง หรอื วงิ่ เลน่ รบกวนสมาธคิ นอื่น
4. ไม่นําอาหาร ขนม นํา้ ดื่ม เข้ามารับประทานภายในห้องสมุด
5. ไมน่ ่ังโยกเก้าอ้ี และเม่อื ลกุ จากเก้าอี้ควรสอดเก้าอ้ีไวใ้ ต้โตะ๊
6. ไมล่ ักขโมย ฉีก ตดั โยน ทาํ ลายหนังสอื และทรัพยากรสารสนเทศอนื่ ๆ เพอ่ื ยืดอายุ การใช้งานใหน้ านขน้ึ
7. เม่อื ใชห้ นังสือหรือสิ่งพมิ พใ์ ดเสรจ็ แล้ว ควรนาํ ไปเกบ็ ท่ีเดิมเช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ ส่วนหนังสือหากไม่

แน่ใจวา่ จะเกบ็ เข้าทไี่ ด้ถกู ต้อง ควรนําไปวางไว้ท่ีรถเข็นทจี่ ัดไวใ้ ห้ เจา้ หน้าทหี่ ้องสมุดจะไดน้ าํ ไปเก็บเขา้ ทีไ่ ด้ถกู ต้อง
8. ช่วยกนั ปกปอ้ ง ดูแล รกั ษาสมบตั ิของสว่ นรวม
9. ไมน่ าํ หนงั สือ หรอื สิ่งพมิ พ์ใดๆ ออกจากหอ้ งสมุดโดยมไิ ด้รับอนุญาต

บริการหอ้ งสมดุ ประชาชน
การให้บริการของห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศแต่ละแห่งอาจแตกต่างกันตามสภาพ แวดล้อม

ทรัพยากรสารนิเทศท่ีมีอยู่ วัตถุประสงค์และนโยบายของห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศน้ัน ๆ อย่างไรก็ตามเราอาจ
จาํ แนกบรกิ ารของห้องสมุดและศูนยส์ ารนิเทศแบบกว้าง ๆ ได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่

1. บรกิ ารพื้นฐาน เป็นบริการการที่ห้องสมุดทั่วไปจัดข้ึนเป็นประจําและสมํ่าเสมอเพื่อสนองความต้องการ
ของผู้ใช้ให้ผู้ใชไ้ ดร้ ับสารนิเทศหรอื ได้ใชท้ รัพยากรสารนิเทศทีต่ อ้ งการ ประกอบด้วยบรกิ ารตา่ ง ๆ ต่อไปนี้

1.1 บริการการอ่านหรือบริการทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดจะคัดเลือกแ ละจัดหา
ทรพั ยากรสารนเิ ทศ ไดแ้ ก่ สอื่ สง่ิ พิมพ์ สอื่ โสตทศั น์ และส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เตรยี มไวเ้ พือ่ ใหบ้ รกิ ารแก่ผู้ใช้ที่มาใช้บริการ
ในหอ้ งสมดุ

1.2 บริการยมื -คนื ทรพั ยากรสารนเิ ทศ หอ้ งสมุดจดั หาทรพั ยากรสารนิเทศไว้ให้บริการและอนุญาต
ให้ผูใ้ ช้ยืมไปใชน้ อกหอ้ งสมุดแล้วสง่ คนื ตามระยะเวลาท่กี าํ หนดไว้
บริการสืบค้นสารนิเทศ ทั้งการสืบค้นรายการทรัพยากรสารนิเทศของห้องสมุดจากฐานข้อมูล เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถ
ค้นหาและเข้าถึงทรัพยากรที่ห้องสมุดมีไว้ให้บริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วและตรงความต้องการ และการสืบค้น
สารนิเทศจากแหล่งสารนิเทศภายนอก เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ และสารนิเทศท่ีบริการบนระบบเครือข่ายต่าง ๆ
รวมท้ังอินเทอร์เนต็
บริการตอบคําถามและช่วยการคน้ ควา้

2. บรกิ ารพิเศษ เป็นบริการที่จัดเพ่ือให้มีการใช้ทรัพยากรของห้องสมุดมากยิ่งข้ึน จัดข้ึนตามศักยภาพและ
ความพรอ้ มของหอ้ งสมุดแตล่ ะแห่ง ได้แก่

2.1 บริการยืมระหว่างห้องสมุด เพ่ือให้ผู้ใช้ได้รับสารนิเทศท่ีต้องการแม้สารนิเทศน้ันจะอยู่ใน
สถาบนั บรกิ ารสารนเิ ทศแห่งอน่ื อาจโดยการยืมฉบับจรงิ หรอื ทําสําเนา
บรกิ ารบรรณานุกรม ทงั้ บรกิ ารบรรณานุกรมสาํ เรจ็ รูปท่ีห้องสมุดจดั หาเข้ามา และบรกิ ารรวบรวมบรรณานุกรมเฉพาะ
เรอ่ื งเพื่อสนับสนนุ การคน้ ควา้ วจิ ยั

2.2 บริการสารเผยแพร่สารนิเทศ เป็นการเผยแพร่สารนิเทศด้วยการจัดบริการต่าง ๆ เช่น บริการ
สารนิเทศทันสมัย รกิ ารนําส่งเอกสาร บรกิ ารแปล และบรกิ ารสําเนาเอกสาร เปน็ ต้น

2.3 บริการส่งเสรมิ การใช้ เป็นบรกิ ารที่จดั ขึ้นเพื่อชว่ ยเหลือ ใหค้ ําแนะนาํ แก่ผู้ใช้ เช่น การสอนการ
ใช้ห้องสมุด การปฐมนิเทศ/นําชมห้องสมุด แนะวิธีสืบค้นสารนิเทศ จัดทําคู่มือสําหรับผู้ใช้บริการ เป็นต้น บริการ
ความรสู้ ู่ชมุ ชน เป็นบรกิ ารเชิงวชิ าการเพ่อื สง่ เสริมให้คนในสงั คมได้ พัฒนาตนเองและเกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เช่น
บริการห้องสมุดเคล่ือนท่ี โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ การส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การฝึกอบรมระยะส้ัน ๆ เช่น
อบรมการสืบค้นสารนิเทศบน อนิ เทอรเ์ นต็ เป็นตน้

มารยาท และข้อควรปฏิบัติเมื่อเขา้ ใช้ห้องสมดุ
หอ้ งสมุดแต่ละแห่งจะมีผู้มาใช้บริการเป็นจํานวนมาก เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้ทรัพยากร

สารสนเทศร่วมกนั ผใู้ ช้บริการจงึ ควรคาํ นึงถงึ มารยาทและมคี ุณธรรมดังน้ี
1. แตง่ กายสภุ าพเรียบร้อย
2. ถอดรองเท้าและวางกระเป๋าไวท้ ช่ี ้ันฝากกระเป๋า
3. ไมเ่ ลน่ พูดคยุ สง่ เสียงดงั หรือว่งิ เลน่ รบกวนสมาธิคนอน่ื
4. ไม่นําอาหาร ขนม น้าํ ด่มื เข้ามารบั ประทานภายในหอ้ งสมุด
5. ไมน่ ง่ั โยกเก้าอ้ี และเม่ือลุกจากเกา้ อี้ควรสอดเกา้ อีไ้ วใ้ ต้โต๊ะ
6. ไมล่ ักขโมย ฉีก ตดั โยน ทําลายหนงั สือและทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ เพอ่ื ยดื อายุ การใช้งานใหน้ านข้นึ

7. เม่อื ใช้หนงั สือหรอื ส่ิงพมิ พ์ใดเสรจ็ แลว้ ควรนําไปเก็บที่เดิมเช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ ส่วนหนังสือหากไม่
แน่ใจว่าจะเก็บเขา้ ทีไ่ ด้ถกู ต้อง ควรนําไปวางไวท้ ี่รถเขน็ ที่จัดไวใ้ ห้ เจา้ หน้าท่หี ้องสมดุ จะได้นาํ ไปเก็บเข้าทไี่ ด้ถูกต้อง

8. ช่วยกนั ปกปอ้ ง ดแู ล รกั ษาสมบตั ิของสว่ นรวม
9.ไมน่ าํ หนงั สือ หรอื สงิ่ พิมพใ์ ดๆ ออกจากหอ้ งสมุดโดยมิไดร้ บั อนญุ าต

ขอบเขตการใหบ้ รกิ ารของห้องสมุด
การให้บริการของห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศแต่ละแห่งอาจแตกต่างกันตามสภาพ แวดล้อม

ทรัพยากรสารนิเทศท่ีมีอยู่ วัตถุประสงค์และนโยบายของห้องสมุดและศูนย์สารนิเทศน้ัน ๆ อย่างไรก็ตามเราอาจ
จําแนกบรกิ ารของหอ้ งสมุดและศูนย์สารนิเทศแบบกวา้ ง ๆ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท ได้แก่

1. บรกิ ารพ้ืนฐาน เป็นบริการการที่ห้องสมุดทั่วไปจัดข้ึนเป็นประจําและสม่ําเสมอเพ่ือสนองความต้องการ
ของผใู้ ช้ใหผ้ ูใ้ ช้ไดร้ บั สารนิเทศหรอื ได้ใช้ทรพั ยากรสารนเิ ทศท่ีต้องการ ประกอบด้วยบรกิ ารต่าง ๆ ต่อไปนี้

1.1 บริการการอ่านหรือบริการทรัพยากรสารนิเทศ ห้องสมุดจะคัดเลือกและจัดหา
ทรัพยากรสารนเิ ทศ ได้แก่ ส่อื ส่งิ พิมพ์ สอ่ื โสตทศั น์ และส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เตรียมไว้เพื่อให้บรกิ ารแก่ผใู้ ช้ที่มาใช้บริการ
ในห้องสมดุ

1.2 บริการยืม-คืนทรัพยากรสารนิเทศ หอ้ งสมดุ จดั หาทรพั ยากรสารนิเทศไว้ให้บริการและอนุญาต
ให้ผใู้ ช้ยืมไปใชน้ อกห้องสมดุ แล้วส่งคนื ตามระยะเวลาทก่ี าํ หนดไว้
บริการสืบค้นสารนิเทศ ท้ังการสืบค้นรายการทรัพยากรสารนิเทศของห้องสมุดจากฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ
ค้นหาและเข้าถึงทรัพยากรท่ีห้องสมุดมีไว้ให้บริการได้อย่างสะดวก รวดเร็วและตรงความต้องการ และการสืบค้น
สารนิเทศจากแหล่งสารนิเทศภายนอก เช่น ฐานข้อมูลออนไลน์ และสารนิเทศท่ีบริการบนระบบเครือข่ายต่าง ๆ
รวมท้ังอนิ เทอร์เนต็
บรกิ ารตอบคําถามและช่วยการคน้ คว้า

2. บรกิ ารพเิ ศษ เป็นบริการท่ีจัดเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรของห้องสมุดมากย่ิงข้ึน จัดข้ึนตามศักยภาพและ
ความพร้อมของห้องสมดุ แต่ละแห่ง ไดแ้ ก่

2.1 บริการยมื ระหว่างห้องสมุด เพ่ือใหผ้ ู้ใชไ้ ด้รบั สารนเิ ทศทีต่ ้องการแม้สารนเิ ทศน้ันจะอยู่ในสถาบันบริการ
สารนิเทศแหง่ อน่ื อาจโดยการยมื ฉบบั จรงิ หรือทําสําเนา
บริการบรรณานุกรม ทง้ั บรกิ ารบรรณานุกรมสาํ เร็จรปู ท่หี ้องสมุดจดั หาเขา้ มา และบริการรวบรวมบรรณานกุ รมเฉพาะ
เรื่องเพ่ือสนบั สนุนการค้นคว้าวิจยั

2.2 บริการสารเผยแพรส่ ารนเิ ทศ เปน็ การเผยแพร่สารนเิ ทศด้วยการจดั บรกิ ารตา่ ง ๆ เช่น บริการสารนิเทศ
ทันสมัย ริการนาํ สง่ เอกสาร บริการแปล และบริการสาํ เนาเอกสาร เปน็ ต้น

2.3 บริการส่งเสริมการใช้ เป็นบริการที่จัดข้ึนเพ่ือช่วยเหลือ ให้คําแนะนําแก่ผู้ใช้ เช่น การสอนการใช้
ห้องสมุด การปฐมนิเทศ/นําชมห้องสมดุ แนะวธิ ีสบื ค้นสารนเิ ทศ จดั ทาํ คู่มือสาํ หรับผู้ใช้บรกิ าร เปน็ ต้น

บรกิ ารความรู้สู่ชุมชน เป็นบริการเชิงวิชาการเพ่ือสง่ เสริมให้คนในสังคมได้ พัฒนาตนเองและเกิดการเรียนรู้
อย่างตอ่ เนอ่ื ง เชน่ บรกิ ารห้องสมุดเคลอ่ื นท่ี โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ การส่งเสริมนิสัยรักการอ่านการฝึกอบรม
ระยะสั้น ๆ เช่น อบรมการสบื ค้นสารนิเทศบน อนิ เทอรเ์ น็ต เปน็ ตน้

ทรพั ยากรในห้องสมดุ
ทรัพยากรของหอ้ งสมุดแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
- วสั ดุสงิ่ พิมพ์
- วัสดไุ ม่ตพี ิมพ์ (โสตทัศนวสั ดุ)
วสั ดสุ ง่ิ พิมพ์ วสั ดสุ ่งิ พิมพส์ ามารถแยกประเภทออกได้ดงั นี้
1. หนงั สือ สามารถแบง่ ตามลักษณะการใชง้ านได้ 4 ประเภท
1.1 หนงั สือท่วั ไป
1.2 หนังสือนวนิยาย
1.3 หนงั สอื อา้ งองิ
1.4 เรื่องส้นั
2. วารสารและนิตยสาร เป็นสงิ่ พิมพ์ที่มกี ําหนดออกท่ีแน่นอนและต่อเน่ือง เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ หรือ

รายเดอื น แตม่ ีวตั ถุประสงคใ์ นการจดั ทาํ ตา่ งกัน คือ วารสารมุ่งเสนอเรอื่ งราวท่ีมีสาระและความรู้ แต่นิตยสารมุ่งเสนอ
ความบนั เทงิ

3. หนังสือพิมพ์ เป็นส่ิงพิมพ์ที่ออกติดต่อกันทุกวันมีรูปเล่มขนาดใหญ่แต่ไม่เย็บเล่มมุ่งเสนอข่าวสารและ
เหตกุ ารณ์ท่ีตอ้ งการความรวด

4.จลุ สาร เป็นส่งิ พิมพ์ขนาดเลก็ มีความหนาไม่เกนิ 60 หน้า มุง่ เสนอเนือ้ หาสาระเร่ืองใดเรือ่ งหน่ึงโดยเฉพาะ
บง่ คร้ังเป็นการพมิ พ์เผยแพรโ่ ดยให้เปล่าเป็นลักษณะของแผน่ พบั ก็ได้

5.กฤตภาค เป็นส่ิงพมิ พ์ท่ีเกดิ จากการคดั เลอื กเรอื่ งจากสิ่งพิมพอ์ ื่น ๆ ทีไ่ ม่ต้องการเก็บท้ังเล่ม อาจตัดมาจาก
วารสาร หรือหนังสือพิมพ์แล้วมาติดไว้กับกระดาษแล้วบอกที่มา จัดเก็บไว้เป็นหมวดหมู่เพ่ือง่ายและสะดวกในการ
คน้ หา

การจัดหมวดหมหู่ นังสอื ในหอ้ งสมุด
การจัดหมวดหมู่หนังสือในห้องสมุดประชาชน จะใช้การจัดหมวดหมู่ระบบทศนิยมดิวอ้ี (Dewey Decimal

Classification) เรยี กย่อๆ ว่า D.C. หรอื D.D.C เป็นระบบการจัดหมวดหมูห่ นงั สือในหอ้ งสมุดทน่ี ิยมระบบหนึ่ง คิดค้น
ขึ้นโดยชาวอเมริกัน คือ เมลวิล ดิวอ้ี ในขณะที่เขากําลังเป็นผู้ช่วยบรรณารักษ์อยู่ที่วิทยาลัยแอมเฮอร์ส
(Amherst College)

การจัดหมวดหมหู่ นงั สือตามระบบทศนยิ มของดวิ อี้ แบ่งหนังสือออกเปน็ หมวดหมูต่ ่างๆ จากหมวดหมใู่ หญ่ไป
หาหมวดหมยู่ อ่ ยต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 10 หมวดใหญ่ ไดแ้ ก่

หมวด 000 เบ็ดเตล็ดหรอื ความรู้ท่วั ไป (Generalities)
หมวด 100 ปรัชญา (Philosophy) หมวด 200 ศาสนา (Religion)
หมวด 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences)
หมวด 400 ภาษาศาสตร์ (Language)
หมวด 500 วิทยาศาสตร์ (Science)
หมวด 600 วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ หรอื เทคโนโลยี (Technology)
หมวด 700 ศิลปกรรมและการบนั เทิง (Arts and recreation)
หมวด 800 วรรณคดี (Literature)
หมวด 900 ประวตั ศิ าสตรแ์ ละภูมิศาสตร์ (History and geography)

การสืบคน้ ข้อมลู ในหอ้ งสมุด
การสืบค้นข้อมูล ถือว่าเป็นงานที่สําคัญอย่างย่ิงสําหรับการทําโครงงานหรืองานวิจัย เนื่องจากการสืบค้น

ขอ้ มูลเปน็ จดุ เริ่มต้นของการหาขอ้ มลู เก่ยี วกับเรือ่ งท่ีสนใจ"
การสืบค้นข้อมูลเป็นจุดเริ่มต้นของการหาข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองนักเรียนสนใจ หรือสืบค้นเพ่ือศึกษาเอกสาร

การเขยี นบทนํา เอกสารที่เกย่ี วขอ้ งกบั การทาํ โครงงาน งานวิจัยเพื่อศึกษาและเป็นแนวทางในในเรื่องท่ีตนเองจะทํา
ลว้ นแตต่ อ้ งใช้ข้อมลู ท้ังนั้น ซ่ึงแหล่งสืบค้นข้อมูลในปัจจุบันมีมากมาย แหล่งสืบค้นท่ีใหญ่ที่สุดที่นักเรียนนิยมเข้าไป
สบื คน้ ข้อมูลและเป็นแหล่งสืบค้นท่ีสะดวก คือ ห้องสมุด และอินเทอร์เน็ต อย่างไรก็ตามแหล่งที่จะได้มาซ่ึงข้อมูล
นอกจากแหลง่ สบื คน้ ทีก่ ลา่ วมาแล้วยงั มหี ้องเรียน เพ่ือน ครูท่ีปรึกษาหรือแม้กระท่ัง แหล่งเรียนรู้รอบตัวของนักเรียน
น้ันเอง แต่ถึงจะมีแหล่งสืบค้นข้อมูลมากมาย แต่ถ้าไม่รู้วิธีสืบค้นหรือหลักการ เทคนิค ก็จะทําให้ไม่ได้ข้อมูลตามท่ี
ต้องการ ดงั นั้น นกั เรยี นจงึ จาํ เป็นตอ้ งทราบถงึ หลกั การและวิธีการสืบค้นข้อมูล เพื่อทําให้ประหยัดเวลา งบประมาณ
แรงงานในการสืบค้นข้อมูลดว้ ย

แหล่งสบื คน้ ข้อมูล
แหล่งสืบค้นข้อมูลที่นักเรียนปัจจุบันใช้เป็นประจําคือ ห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต ซ่ึงแต่ละแหล่งสืบค้น

จะมีแหล่งข้อมูลให้สืบค้นมากมาย และวิธีการสืบค้นท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นเพ่ือให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลท่ีต้องการอย่าง
แทจ้ รงิ นกั เรยี นต้องรู้วธิ กี ารสืบค้นเพื่อความสะดวก รวดเร็วและท่ีสําคัญตรงกับความต้องการของนักเรียน ตัวอย่าง
แหลง่ ข้อมลู ที่สําคัญทใี่ ช้เปน็ ประจาํ มีดังนี้

1. ห้องสมุด เป็นสถานที่รวบรวมสรรพวิทยาการต่าง ๆ หลายสาขา ซ่ึงได้บันทึกไว้ในรูปของหนังสือ
วารสาร ต้นฉบับตัวเขียน ส่ิงตีพิมพ์อื่น ๆ หรือโสตทัศนวัสดุ และมีการจัดระเบียบเพ่ือสะดวกแก่การค้นคว้า

และบริการ และเป็นแหล่งสืบคน้ ข้อมลู ที่ทุกมหาวิทยาลัยมีอยู่แล้ว บางมหาวิทยาลัยแยกตามคณะและห้องสมุดรวม
ซึง่ ห้องสมุดเป็นแหลง่ ขอ้ มลู ทีม่ ีความหลากหลาย ประกอบดว้ ย

1.1 หนงั สอื ตาํ ราและเอกสารทางวชิ าการ
หนังสือ หมายถึง ข้อความท่ีพิมพ์หรือเขียนแล้วรวมเป็นเล่ม เช่น หนังสือวิชาการ

หนังสือประเภทสารคดี หนังสอื บันเทงิ หนังสืออา้ งอิง วารสาร นิตยสาร จุลสาร เปน็ ต้น เปน็ แหล่งสืบคน้ ข้อมูลลําดับ
แรกทนี่ กั เรยี นไดอ้ ่านและคน้ ควา้ ตลอดเวลา ถือว่าเป็นแหล่งรวบรวมความรู้ทั้ง กฎ ทฤษฏีท่ีนักเรียน สามารถศึกษา
ค้นคว้านํามาอ้างอิงในโครงงานได้ มีหลากหลายสาขาทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือทางคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยเี ป็นต้น โดยหนงั สือถอื เป็นแหล่งอ้างอิงท่ีสําคัญในการอ้างในบทท่ี 1 และบทท่ี 2 ซ่ึงการคัดเลือกเน้ือหา
จากหนงั สอื มานั้น นักเรยี นควรมีการคัดเลอื ก สังเคราะหเ์ น้ือหาท่ีตรงกับเร่ืองท่ีจะศึกษาค้นคว้าอย่างแท้จริง รวมท้ัง
ควรเลือกเน้อื หาทีใ่ หม่ ทนั ตอ่ เหตุการณ์ปัจจุบันเพราะเน้ือหาในหนังสือบางเล่มไม่สามารถนํามาอ้างอิงในเหตุการณ์
ปัจจุบันได้ การศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ โดยท่ัวไปไม่ควรเกิน 10 ปี ย้อนหลัง ยกเว้นกรณีไม่มีในเรื่องนั้นจริง ๆ
สามารถนํามาอา้ งองิ ได้เชน่ เดียวกนั เชน่ สูตรสถิติ สูตรคณิตศาสตร์ เป็นต้น และเมือ่ นําเอาข้อความจากหนังสือเล่ม
ใด นกั เรียนอยา่ ลืมเขียนอา้ งองิ ดว้ ย เพอ่ื ให้เกียรติแก่เจ้าของข้อความหรือหนังสือเล่มนั้นด้วย ส่วนมากแล้วนักเรียน
มักจะลืมและไม่ใหค้ วามสําคญั เทา่ ท่ีควร

1.2 วารสาร
วารสาร (Journal)สิ่งพิมพ์ท่ีเผยแพร่บทความความรู้เรื่องราวต่าง ๆ ภายใต้ช่ือเดียวกัน

มีการกําหนดเป็นระยะ เช่น รายสัปดาห์ รายเดือน รายสามเดือน เป็นต้นถือว่าเป็นส่ิงพิมพ์อย่างหนึ่งท่ีรวม
แหลง่ ข้อมลู ทเี่ ป็นปัจจุบนั มากท่ีสดุ สามารถนาํ มาอ้างองิ ได้ มักจดั ทําโดยสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการ มักจะ
เผยแพรส่ ารนเิ ทศใหม่ ๆ ในรปู แบบบทความรู้ ตวั อย่างเช่น วารวทิ ยาศาสตร์ วารสารวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ วารสาร
ทางเทคโนโลยี เป็นต้น ดังนนั้ วารสารจงึ ถอื วา่ เปน็ แหลง่ ขอ้ มูลทน่ี กั เรียน ควรศึกษาคน้ คว้าเป็นประจํา เพราะมีข้อมูล
ดา้ นการวจิ ัย บทความใหม่ ๆ รวมทั้งทราบความกา้ วหน้าวา่ ปจั จบุ นั มกี ารศึกษา วจิ ยั เนน้ ไปทางดา้ นใดบา้ ง

1.3 หนังสอื พิมพ์
เปน็ ส่ือสิ่งพิมพอ์ กี แบบหน่ึงท่เี รียนสามารถค้นคว้าไดเ้ ชน่ เดยี วกนั มงุ่ เสนอข่าวสารความรู้

ทท่ี ันสมยั มีการกําหนดการออกหนังสือพิมพอ์ ยา่ งต่อเนือ่ ง เสนอขา่ วสารท้ังภายในและต่างประเทศ และเปน็ เรื่องราว
ท่ีน่าสนใจในด้านเต่าง ๆ หนังสือพิมพ์มักจะประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เนื้อข่าว บทความรู้ คอลัมน์ประจํา
เปน็ ข้อมูลที่นักเรยี น อา้ งอิงได้ ซ่ึงเมื่อนําข้อมูลมาใช้แล้วส่ิงหนึ่งที่พึงควรระวัง คือ การอ้างอิงท่ีมาของข้อมูลนั้นเอง
ดังน้นั เม่อื เรานาํ เนอ้ื หาจากส่วนใด ควรมีการอ้างอิงใหถ้ กู ต้อง

1.4 งานวจิ ยั และวทิ ยานิพนธ์
เป็นสิ่งพิมพ์ที่เป็นผลงานที่มีหลากหลายสาขา ซึ่งห้องสมุดจัดแยกต่างหากจากหนังสือ

ทั่วไปเพอื่ ความสะดวกในการคน้ ควา้ ถอื ว่าเปน็ หนังสืออา้ งองิ ท่นี ักเรยี นสามารถสบื ค้นและศึกษาเพอ่ื เปน็ แนวทางการ
ทําโครงงานของตนเองได้อยา่ งถูกตอ้ ง แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามในการเลือกงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์มาเป็นแนวทางหรือเป็น
ตัวอย่างในการทําโครงงานของตนเองนั้น ควรมีการเลือกหลาย ๆ เรื่อง เพราะคุณภาพของงานวิจัยและวิทยานิพนธ์

แตกต่างกัน เพื่อมีการเทียบเคียงความถูกต้อง แล้วเลือกมาเป็นตัวอย่าง ถ้าเราเลือกเล่มที่ทําไม่ถูกต้องนํามาเป็น
แนวทางกจ็ ะทาํ ใหน้ สิ ิต นักศกึ ษาดาํ เนนิ การผิดดว้ ยเชน่ กนั

1.5 CD ROM
เป็นฐานข้อมูลโสตทัศนวัสดุ ในปัจจุบันมีจํานวนมากในห้องสมุด เป็นการเก็บรวบรวม

ขอ้ มลู บนั ทกึ ลง CD จดั เก็บเปน็ หมวดหมู่ เชน่ วีดิทศั น์ เสยี ง ภาพ ในแตล่ ะหมวดหมู่จะแบ่งย่อย วิชาการ (หนังสือ
งานวิชาการ วารสาร) บันเทิง สารคดี เป็นต้น ซ่ึง นักเรียนสามารถยืมมาสืบค้นและคัดเน้ือหาที่ต้องการได้
สามารถเลือกสืบค้นได้จากเมนูหน้าจอ โดยเมนูหน้าจอจะให้ผู้ค้นเลือกสืบค้นได้ตามรายการ ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง
(Authors) ช่ือเรอ่ื ง (Title) หวั เรอื่ ง (Subject) คําสําคญั (Key Word) เปน็ ต้น

1.6 ฐานขอ้ มูลออนไลน์
เป็นแหล่งข้อมูลอีกชนิดหนึ่ง ณ ปัจจุบันได้รับความนิยมในการสืบค้นข้อมูล มีท้ัง

ฐานข้อมูลของไทยและต่างประเทศ ซึ่งข้อมูลนั้นสามารถแยกได้ 2 ประเภท จําแนกตามการสืบค้น คือ ฐานข้อมูล
ออนไลนท์ ่ีสามารถสบื ค้นได้เฉพาะภายในมหาวิทยาลัยเท่าน้ัน เป็นฐานข้อมูลท่ีทางมหาวิทยาลัยได้จัดซ้ือลิขสิทธ์ิมา
และฐานข้อมูลท่ัวไปสามารถสืบค้นที่ใดก็ได้ ซ่ึงฐานข้อมูลจะเป็นแหล่งรวบรวมวารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์
บทคัดยอ่ ผูเ้ ขียนขอยกตวั อยา่ งฐานขอ้ มลู

การสบื คน้ และวิธสี ืบคน้ ขอ้ มลู บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การค้นหาข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอยู่เบ็นจํานวนมาก ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้อง

เสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การท่ีเราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่า งรวดเร็วจะต้องใช้
เว็บไซต์สําหรับการค้นหาข้อมูลท่ีเรียกว่า Search Engine Site ซ่ึงจะทําหน้าที่รวบรวมรายช่ือเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้
โดยจดั แยกเป็นหมวดหมู่ ผูใ้ ช้งานเพยี งแต่ทราบหัวข้อที่ตอ้ งการค้นหาแลว้ ป้อน คําหรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไป
ในช่องทก่ี ําหนด คลกิ ปุม่ คน้ หา (หรือกดปุ่ม Enter) เท่าน้ัน รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
จะปรากฏให้เราเข้าไปศกึ ษาเพิ่มเติมได้ทันที

Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลท่ีแตกต่างกันไปตามประเภทของ Search
Engine ท่แี ตล่ ะเวบ็ ไซต์นาํ มาใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดังน้ันการที่คณุ จะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search
น้นั อยา่ งน้อยจะต้องทราบว่า เวบ็ ไซตท์ เ่ี ข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไรเน่ืองจาก
แต่ละประเภทมคี วามละเอยี ดในการจดั เกบ็ ข้อมูลต่างกนั ไป

1) Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพจที่ได้ผ่านการสํารวจมาแล้ว
จะอ่านข้อความ ขอ้ มลู อยา่ งนอ้ ยๆ กป็ ระมาณ 200-300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพจน้ันๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวม
ไปถงึ อ่านขอ้ ความท่ีอยู่ในโครงสร้างภาษา HTML ซ่ึงอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในคําสั่ง alt ซึ่งเป็นคําส่ังภายใน
TAG คาํ สงั ของรปู ภาพ แตจ่ ะไม่นําคําสงั่ ของ TAG อืน่ ๆ ในภาษา HTML และคาํ ส่ังในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา
วิธกี ารคน้ หาของ Search Engine ประเภทน้ีจะให้ความสําคัญกับการเรียงลําดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการ

นําเสนอขอ้ มลู น้นั การค้นหาข้อมูล โดยวธิ ีการเช่นนีจ้ ะมคี วามรวดเรว็ มาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่
ของข้อมลู คอ่ นข้างน้อย เนือ่ งจากไมไ่ ด้คํานึงถึงรายละเอียดของเน้ือหาเท่าท่ีควร แต่หากว่าคุณต้องการแนวทางด้าน
กวา้ งของข้อมูล และความรวดเรว็ ในการคน้ หา วธิ ีการนีก้ ็ใช้ไดผ้ ลดี

2) Subject Directories การจําแนกหมวดหมขู่ ้อมลู Search Engine ประเภทน้ี จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์
เน้ือหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามีเน้ือหาเก่ียวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการ
พจิ ารณาเว็บเพจ ซ่ึงทําใหก้ ารจดั หมวดหมขู่ น้ึ อยูก่ ับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลน้ันๆ
อยู่ในเครือข่ายข้อมูลอะไร ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเน้ือหาก่อน แล้วจึง
นาํ มาเปน็ ฐานข้อมลู ในการคน้ หาตอ่ ไป การคน้ หาคอ่ นข้างจะตรงกบั ความต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการ
ค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหาข้อมูลเก่ียวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพจท่ีนําเสนอข้อมูลเก่ียวกับคอมพิวเตอร์
Search Engine กจ็ ะประมวลผลรายช่อื เวบ็ ไซต์ หรือเวบ็ เพจท่ีเกี่ยวกับคอมพวิ เตอรล์ ้วนๆ มาให้คุณ

3) Metasearch Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการน้ี คือ สามารถเช่ือมโยงไปยัง Search Engine
ประเภทอ่นื ๆ และยงั มีความหลากหลายของข้อมูล แต่การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสําคัญ
กบั ขนาดเลก็ ใหญ่ของตัวอักษร และมักจะผ่านเลยคําประเภท Natural Language (ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณจะใช้
Search Engine แบบนีล้ ะก็ ขอให้ตระหนกั ถงึ ข้อบกพรอ่ งเหลา่ น้ดี ว้ ย

ส่วนท่ี 2

ทิศทางการดาเนนิ งาน
นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ภารกจิ ตอ่ เนื่อง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั
1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตําบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัดกิจกรรม
เพ่ือเผยแพรอ่ งค์ความรู้ในชมุ ชนไดอ้ ยา่ งทัว่ ถงึ
2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่าน
และศกั ยภาพการเรยี นรูข้ องประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมาย
3) ส่งเสรมิ ให้มกี ารสรา้ งบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนุน
การพฒั นาแหลง่ การเรียนร้ใู หเ้ กิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชน ทุกแห่งให้เป็นแหล่ง
เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของชมุ ชน สง่ เสริมและสนับสนนุ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน การสรา้ งเครอื ข่าย สง่ เสรมิ การอา่ น จัด
หน่วยบริการเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ให้บริการกับ
ประชาชนในพน้ื ท่ตี ่างๆ อย่างท่ัวถึงสมาํ่ เสมอ รวมทงั้ เสรมิ สรา้ งความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนการอ่าน
และการจดั กิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย

ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสานกั งาน กศน.จังหวดั สมทุ รสาคร
จากผลการประเมนิ สถานการณ์ของสํานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด

สมุทรสาคร โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของหน่วยงานดังกล่าวข้างต้น
สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสมุทรสาคร สามารถนํามากําหนดทิศ
ทางการดาํ เนนิ งานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสําเรจ็ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี
ปรัชญา

“คิดเป็น นอ้ มนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง”
วิสัยทัศน์

สถานศกึ ษาคุณภาพ สรา้ งการพฒั นาทีย่ ่ังยนื บนพนื้ ฐานความพอเพยี ง
พันธกิจ

สร้างคนดี มีอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพ่ือสร้างจิตสํานึกความเป็นพลเมืองดี
มอี าชพี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม

1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา
พัฒนาทกั ษะ การเรยี นรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเปา้ หมาย ให้เหมาะสมทกุ ชว่ งวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททาง
สงั คม และสร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้

2. สง่ เสรมิ สนับสนนุ และประสานภาคเี ครอื ข่าย ในการมสี ่วนรว่ มจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทังการดําเนินกจิ กรรมของศูนยก์ ารเรียนและแหล่งเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ

3. ส่งเสริมและพฒั นาการนาํ เทคโนโลยี ทางการศึกษาและเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใช้ใหเ้ กิดประสิทธิภาพในการ
จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ ับประชาชนอยา่ งทว่ั ถงึ

4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม การวัดประเมินผลในทุกรูปแบบให้
สอดคล้อง กับบริบทในปัจจุบัน

5. พัฒนาบคุ ลากรและระบบการบรหิ ารจดั การ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพเพื่อมงุ่ จดั การศึกษาและเรียนรู้ท่ีมคี ณุ ภาพ
โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล

เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ช้ีวดั ตามความสาเรจ็

เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็

1.ประชาชนในอาํ เภอบ้านแพว้ ได้รับการศกึ ษานอกระบบ ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมายได้รบั การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี คี ุณภาพ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีมคี ุณภาพ
2.บุคลากรได้รับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทั้งดา้ น บคุ ลากรทกุ คนได้รับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
การบริหารจดั การและการจดั กจิ กรรมเรียนการสอน ทงั้ ด้านการบริหารจัดการและการจดั กจิ กรรมการเรยี น
ทม่ี คี ณุ ภาพ การสอนที่มคี ณุ ภาพ
3.สถานศกึ ษามีระบริหารงานทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 3.1 มรี ะบบบรหิ ารท่มี ปี ระสิทธภิ าพ
และมกี ารดําเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มีการดาํ เนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA
3.3 บริหารงานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.ภาคเี ครอื ข่ายเข้ามามสี ่วนรว่ มหรอื ให้การสนับสนนุ ใน และหลักธรรมาภบิ าล
การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3.4 มีระบบสารสนเทศท่ดี ี
รอ้ ยละ 80 ของภาคสว่ น ต่าง ๆ ในอาํ เภอ
กลยทุ ธ์ บา้ นแพ้วเข้ามาร่วมหรอื ให้การสนับสนนุ ในการจดั
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

กลยทุ ธท์ ี่ 1 การพัฒนาคณุ ภาพบคุ ลากร

กลยทุ ธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การ

กลยุทธ์ท่ี 3 สง่ เสริมและสนับสนนุ ระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา

กลยทุ ธท์ ี่ 4 สง่ เสริม และพฒั นาระบบนิเทศติดตามและประเมนิ ผล

ทศิ ทางการดาเนนิ งานของ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอบ้านแพ้ว
การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อาเภอบ้านแพ้ว (SWOT Analysis)
1. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน

1.1 จดุ แข็งของ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาํ เภอบ้านแพว้ (Strengths - S)
ด้านบุคลากร (บรรณารักษ์ ครู กศน.อําเภอ คณะกรรมการ กศน.อําเภอ) ด้านงบประมาณด้าน

อาคารสถานท่ี สื่อ วสั ดุอุปกรณ์ และดา้ นโครงสรา้ งองคก์ ร/การบริหารจดั การ ค่านยิ มองค์กร
1. มีการจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการประจําปี
2. บรรณารกั ษม์ ีทกั ษะในการจัดกจิ กรรมที่ดี
3. มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ีหลากหลาย เขา้ ถึงประชาชนได้ทกุ เพศ ทุกวัย
4. มกี ารวางแผนและบริหารจัดการได้เปน็ อย่างดี
5. มกี ารทาํ งานร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ยไดเปน็ อย่างดี
6. มกี ารจัดกจิ กรรมได้ตรงกบั ความตอ้ งการของประชาชน
7. มีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
8. มคี วามพรอ้ มในการใหบ้ ริการ

1.2 จดุ อ่อนของ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาํ เภอบา้ นแพว้ (Weaknesses - W)
ด้านบุคลากร (บรรณารักษ์ ครู กศน.อําเภอ คณะกรรมการ กศน.อําเภอ) ด้านงบประมาณด้าน

อาคารสถานท่ี ส่อื วสั ดอุ ุปกรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจัดการ คา่ นยิ มองค์กร
1. ได้รับการจัดสรรงบประมาณนอ้ ย ทําให้ไมเ่ พยี งพอต่อการจัดกิจกรรม
2. อาคารและสถานทม่ี คี วามทรุดโทรม เนื่องจากปลูกสรา้ งและให้บรกิ ารมามากกวา่ 20 ปี
3. สอ่ื และวัสดอุ ุปกรณ์ ในการจัดกจิ กรรม ไม่เพยี งพอตอ่ การใหบ้ ริการ เน่ืองจากขอ้ จํากัด

ของงบประมาณ
2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก

2.1 โอกาส (Opportunities - O)
ดา้ นนโยบาย กฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ด้านสังคม-วฒั นธรรมด้านเศรษฐกิจ

ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ติดต่อสือ่ สาร และด้านส่ิงแวดลอ้ ม
1. มกี ิจกรรมท่เี หมาะสมสาํ หรับให้บริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอก

หอ้ งสมุด
2. มีภาคีเครือข่ายในการสนับการดําเนินงานห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอ

บ้านแพ้ว ทมี่ ีคุณภาพน่าเชอ่ื ถือ
3. เปน็ แหลง่ เรียนรูข้ องคนในชุมชน เหมาะแกก่ ารค้นคว้าหาความรสู้ าํ หรับประชาชนทกุ เพศทุกวัย
4. ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาํ เภอบา้ นแพว้ ตัง้ อยูใ่ นชุมชน จึงงา่ ยตอ่ การเขา้ ถึง

2.2 อปุ สรรค/ความเสยี่ ง (Threats - T)
ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกีย่ วข้องดา้ นความปลอดภัยในพื้นที่ ดา้ นสังคม-วัฒนธรรมด้านเศรษฐกิจ

ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ต่อสื่อสาร และด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
1. เนอื่ งจากในปัจจุบันนเ้ี ทคโนโลยดี ิจัลมบี ทบาทในชีวติ ของมนุษย์ จึงทําให้อัตราการอ่านหนังสือ

ลดนอ้ ยลง เน่ืองจากสามารถเข้าถงึ การอ่านไดโ้ ดยการใชเทคโนโลยใี นยคุ ปจั จุบนั
2. สือ่ และวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรม ไม่เพียงพอต่อการใหบ้ รกิ าร

แนวทางการพัฒนา ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อาเภอบา้ นแพ้ว
1. สง่ เสรมิ ให้มกี ารพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ในระดบั ตาํ บล เพื่อการถา่ ยทอดองค์ความรู้ และจดั

กิจกรรมเพอื่ เผยแพรอ่ งค์ความรใู้ นชุมชนได้อย่างทว่ั ถึง
2. จัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและพัฒนาความสามารถในการ

อ่านและการเรียนรขู้ องประชาชนทุกกลมุ่ เปา้ หมาย
3. ส่งเสริมให้มกี ารสร้างบรรยากาศ และสง่ิ แวดล้อมทเี่ อือ้ ต่อการอ่านให้เกดิ ขึ้นในสังคมไทย

โดยสนับสนนุ การพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนาห้องสมุดประชาชนทุก
แห่งให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย
ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายออก
ใหบ้ ริการประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างท่วั ถงึ สม่าํ เสมอ รวมทั้งเสรมิ สร้างความพร้อมในดา้ นส่ืออปุ กรณ์เพอื่ สนับสนนุ
การอา่ น และการจดั กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสริมการอา่ นอยา่ งหลากหลาย
ปรชั ญา

มงุ่ บริการ ประสานเครอื ขา่ ย พฒั นาการศึกษาทห่ี ลากหลาย เพ่ือการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ
วิสัยทัศน์

ห้องสมดุ ประชาชน“เฉลิมราชกมุ ารี”อําเภอบ้านแพว้ เปน็ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตท่มี ีคุณภาพและมาตรฐาน
อัตลกั ษณ์

ยมิ้ ทักทาย ไหวเ้ ป็นมติ ร มจี ิตอาสา
พนั ธกจิ

1. ใหบ้ ริการสอื่ หนงั สอ และสอ่ื การเรยี นรทู้ ่มี คี ุณภาพ
2. ให้บรกิ ารในบรรยากาศที่ดี เออ้ื ต่อการเรยี นรู้
3. ใหบ้ ริการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ อยา่ งมคี ณุ ภาพ

เป้าประสงค์และตวั ชว้ี ดั ตามความสาเรจ็

เป้าประสงค์ ตัวช้วี ัดตามความสาเรจ็

เด็ก นักเรียน นักศึกษา ผู้สูงอายุ และประชาชน ได้ทํา 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ตระหนักถึง

กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตและ ความสําคัญของการอ่านและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ

ตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการอา่ น รวมถึงมีนิสัยรักการ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม มีความพงึ พอใจในระดับดีขนึ้ ไป

อา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจใน

ระดับดขี ึ้นไป

กลยทุ ธ์

1. การจดั แหล่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ท่ีมชี ีวติ
1.1 จัดการศึกษาตามอัธยาศัย ต่อเนอื่ ง ตลอดชีวติ
1.2 จัดบริการส่ือ ความรูท้ ี่มีความหลากหลาย ทันสมยั และเพยี งพอต่อความต้องการ
1.3 จดั ตกแตง่ ภมู ทิ ศั น์ บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม ทเี่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้
1.4 จัดกจิ กรรมความรู้ที่ส่งเสริมมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับชุมชน หน่วยงานกับชุมชน และหน่วยงานกับ

ชมุ ชน และหน่วยงานกบั หนว่ ยงานโดยใช้ห้องสมุดเป็นศนู ยก์ ลาง
1.5 จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านอย่างตอ่ เนอ่ื ง ทกุ เดอื น เดือนละอยา่ งนอ้ ย 1 กิจกรรม

2. การพฒั นาการบริหารจดั การ และคุณภาพการเรยี นรู้
2.1 นําผลการสํารวจความตอ้ งการผู้ใชบ้ ริการเปน็ ฐานขอ้ มลู ในการจัดกจิ กรรมห้องสมดุ
2.2 จัดทาํ แผนการปฏบิ ตั งิ านบริการหอ้ งสมดุ เป็นรายป/ี รายเดอื น

3. การเพิม่ ศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ี
3.1 ศกึ ษาดูงานนอกสถานที่
3.2 อบรม สมั มนา แลกเปลยี่ นประสบการณ์รว่ มกับเพื่อนรว่ มอาชีพบรรณารกั ษ์

4. การจัดทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา
4.1 จัดหาสื่อท่ีมีความทนั สมัย เป็นปจั จุบัน และพฒั นาระบบการให้บริการทมี่ ีความสะดวก รวดเรว็
4.2 ข้อมูลสารสนเทศ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ข้อมูลชุมชน มีความเป็นปัจจุบัน มีความต่อเนื่อง ทันสมัยและ

หลากหลาย

Roadmap การขับเคลอื่ นนโยบายการส่งเสรมิ การอ่านของสานกั งาน กศน.

วิสัยทศั น์

คนไทยทุกชว่ งวัยมนี สิ ยั รักการอ่านเพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ
พันธกจิ

1. ระดมสรรพกาํ ลงั ทุกภาคสว่ นร่วมกันขับเคลื่อนการดําเนินงานสง่ เสริมการอ่านโดยเน้นในระดบั ครอบครัว
อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง

2. พฒั นาคนไทยทกุ ชว่ งวัยใหม้ ีทักษะและนิสยั รกั การอา่ นและการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต ด้วยกจิ กรรมสง่ เสรมิ การ
อ่านทกุ รปู แบบ

3. จดั หาทรพั ยากรส่อื สง่ เสรมิ การอ่านที่มคี ณุ ภาพและหลากหลายเหมาะสมกับทุกช่วงวัย มุ่งเนน้ สอื่ ท่ี
ประชาชนต้องรู้ ควรรูแ้ ละน่ารู้

4. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหม้ ีแหลง่ การเรียนรใู้ หท้ นั สมัย รวมทัง้ สภาพแวดลอ้ มท่เี ออ้ื ตอ่ การอ่านทุก
กลุ่มเปา้ หมาย
เปา้ หมาย

เป้าหมาย
1. เป้าหมายเชงิ ปริมาณ

1.1 ภายในปี 2564 คนไทยทุกช่วงวัยอา่ นหนงั สือเพม่ิ ขน้ึ เฉล่ีย 200 นาที (3 เทา่ จากฐานเดิม 66
นาทีต่อวัน)

1.2 ประชาชนได้รบั บรกิ ารสือ่ ส่งเสรมิ การอา่ นท่ีมคี ณุ ภาพในชมุ ชนของตนเอง เปน็ ประจาํ ทุกวนั /ปลี ะ
2 ล้านคน (สอ่ื ทีป่ ระชาชนต้องรู้ ควรร้แู ละน่ารู้)

2. เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
2.1 มุ่งปลกู ฝงั นิสยั รักการอา่ นทกุ ชว่ งวยั มีพฤตกิ รรม “น่ังที่ไหน อา่ นทน่ี น่ั ”
2.2 คนไทยทกุ ชว่ งวยั มที ักษะการอา่ นและเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองและเช่ือมโยงความรู้

ใหม่ได้อย่างเปน็ ระบบ สามารถพฒั นาคุณภาพชีวิตและอยูใ่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ

เปา้ ประสงค์
1. มุง่ ปลกู ฝังนิสยั รกั การอ่านทุกช่วงวัย มีพฤติกรรม “นงั่ ทไ่ี หน อ่านที่นนั่ ”
2. ส่งเสริมใหเ้ ปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ มพี ฤตกิ รรมรักการอา่ น
3. สรา้ งสังคมแห่งการอา่ นและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
4. คนไทยมที ักษะในการแสวงหาความรู้จากการอา่ นผา่ นช่องทางทหี่ ลากหลาย
5. เสรมิ สรา้ งภาคีเครอื ขา่ ยการทํางานส่งเสรมิ การอา่ นทุกภาคส่วน

ประเดน็ ยุทธศาสตร์
แผนงานบรู ณาการสง่ เสริมการอา่ น

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ระดมสรรพกาลงั ทกุ ภาคสว่ นร่วมขับเคลือ่ นส่งเสรมิ การอา่ น
 ผนกึ กาํ ลังทุกภาคส่วนรว่ มรณรงคส์ ง่ เสรมิ การอ่าน
 ส่งเสริมภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน
 บรู ณาการการทํางานร่วมกบั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง
 พฒั นาคนไทยทุกช่วงวยั ให้มที ักษะความสามารถในการอ่านคดิ วิเคราะห์
(กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน)

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 สร้างบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การอ่าน
 พัฒนาแหลง่ และรปู แบบส่งเสริมนิสัยรกั การอา่ นและการเรยี นร้ใู นชมุ ชน
 พัฒนาส่ือและระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
 เพ่มิ ช่องทางการเข้าถงึ การอ่านในแหล่งเรยี นรู้ใกลต้ วั
 สรา้ งบรรยากาศและแรงจูงใจด้วยกจิ กรรมรณรงค์การอา่ น
 การรณรงค์ 365 วนั ประกวดแขง่ ขัน จดั เวทเี สวนา ทกุ ภาคสว่ น ทุกระดับ
 จดั สื่อทห่ี ลากหลาย เข้าถงึ ง่าย

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สรา้ งกลไกในการขบั เคล่อื นการส่งเสริมการอ่าน
 กาํ หนดนโยบายระดับชาติ
- สร้างกลไกในการบรหิ ารจัดการ
 สรา้ งกลไกการทาํ งานในทกุ ระดับ
- การสง่ เสริมกจิ กรรมการสร้างนิสัยรักการอ่านโดยเริ่มต้นระดบั ครอบครัว หมบู่ า้ น
ชมุ ชน อาํ เภอ จงั หวัด
 จัดหาทรัพยากรการอา่ นให้เพียงพอตอ่ การดาํ เนนิ งาน
 ประชาสัมพันธ์เพ่อื ปลกุ กระแสความสาํ คัญของการอา่ นทกุ รปู แบบ

ส่วนท่ี 3

รายละเอียดแผนงาน/โครงการ

ประกอบดว้ ย
3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
3.2 ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2563
3.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามแผนปฏิบัตกิ ารประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2563

3.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัต
ห้องสมุดประชาชน ”เฉลมิ ราชกุมารี”

แผน โครงการ/กิจกรรม กิจกรรมหลัก

แผนพัฒนาแหลง่ โครงการส่งเสริมการอา่ นและบรกิ ารหอ้ งสมุด 1. ส่งเสรมิ การอา่ น
การเรยี นรู้ (หอ้ ง 2. กจิ กรรมศิลปะประดิษฐ์
สมดุ ,แหลง่ เรยี นรู้ 3. ให้บริการหอ้ งสมดุ
4. บรกิ ารยืม-คนื
อื่นๆ) 5. บริการอ่านหนงั สอื

ตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 1-2)

” อาเภอบา้ นแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร

เป้าหมาย/กล่มุ เปา้ หมาย งบประมาณ ห้วงระยะเวลา
(บาท) ดาเนนิ งาน
(ครอบครวั /เยาวชน/ประชาชน พน้ื ทด่ี าเนนิ การ
0 ตุลาคม 2562 ถงึ
จานวน (คน/เล่ม/แห่ง มนี าคม 2563

1,000 คน ห้องสมุดประชาชน

“เฉลมิ ราชกุมาร”ี

อาํ เภอ บ้านแพ้ว

3.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบัต
ห้องสมดุ ประชาชน ”เฉลิมราชกุมารี”

แผน โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรมหลัก

แผนการจัด 1. โครงการส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรตู้ ลอด 1. กิจกรรมหอ้ งสมุดเคลื่อนท

กิจกรรมการศกึ ษา ชวี ิตส่ชู มุ ชนในยคุ ดิจิทลั - บริการอ่านเคลื่อนที่

ตามอธั ยาศยั - ศิลปะประดิษฐ์

2. กิจกรรมนงั่ ทไ่ี หน อ่านทน่ี

3. กิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ

เทคโนโลยี QR-Code

ตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 1-2)

” อาเภอบา้ นแพว้ จังหวดั สมุทรสาคร

เปา้ หมาย/กลุ่มเป้าหมาย

(ครอบครวั /เยาวชน/ พื้นทีด่ าเนนิ การ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา
ประชาชน (บาท) ดาเนนิ งาน

จานวน(คน/เล่ม/แห่ง 4,000 ตลุ าคม 2562 ถงึ
มนี าคม 2563
ท่ี 1,500 คน เขตพน้ื ทอ่ี ําเภอ

บ้านแพว้

นน่ั
ผ่าน

3.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผนปฏิบตั
ห้องสมุดประชาชน ”เฉลิมราชกมุ ารี”

แผน โครงการ/กิจกรรม กจิ กรรมหลกั

แผนการจัด 2. โครงการส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นรู้ในหอ้ งสมดุ 1. กิจกรรม ลดเวลาเรยี น เพ

กจิ กรรม ส่ยู คุ ดจิ ิทลั - ทกั ษะและบรู ณาการ การเร

การศึกษา การทาํ ใบงาน

ตามอธั ยาศัย - ศลิ ปะประดษิ ฐ์

ตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 1-2)

” อาเภอบา้ นแพว้ จงั หวัดสมุทรสาคร

เป้าหมาย/กลมุ่ เป้าหมาย

(ครอบครัว/เยาวชน/ พืน้ ที่ดาเนนิ การ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา
ประชาชน (บาท) ดาเนนิ งาน

จานวน(คน/เลม่ /แห่ง 4,000 ตลุ าคม 2562 ถึง
มีนาคม 2563
พม่ิ เวลารู้ 1000 คน หอ้ งสมดุ ประชาชน
รียนรู้ “เฉลิมราชกมุ ารี”
อําเภอบา้ นแพว้

โครงการ/กิจกรรม 3.2 ตารางวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ตั ิก
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนการศกึ ษา นโยบา
(พ.ศ. 2561-2580) แหง่ ชาติ 20 ปี ดาเน

(พ.ศ. 2560-2579) กศ
งบป

1. โครงการส่งเสริมการอ่าน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4
และบริการห้องสมดุ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์ท่ี 4
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4
2. โครงการสง่ เสริมการอ่าน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ยทุ ธศาสตร์ที่ 4
และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต

สู่ชมุ ชนในยุคดจิ ทิ ัล
3. โครงการส่งเสริมการอ่าน
และการเรียนรู้ในหอ้ งสมดุ

สยู่ คุ ดจิ ิทลั
4. โครงการวนั เด็กแหง่ ชาติ

ประจําปี 2563

การประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 1-2)

ายและจดุ เนน้ การ พนั ธกิจของ พันธกิจของ มาตรฐานและตัวบ่งช้ี
กศน.
นินงานสานกั งาน สานกั งาน กศน. กศน.อาเภอ

ศน.ประจาปี จังหวัด สมทุ รสาคร บา้ นแพว้

ประมาณ 2563

- 3.4 มาตรฐานการศกึ ษาตาม
- 3.4 อธั ยาศัย
- 3.4
- 3.4 ตัวบง่ ช้ีที่ 2.9
มาตรฐานการศึกษาตาม

อธั ยาศยั
ตวั บ่งชท้ี ่ี 2.9
มาตรฐานการศกึ ษาตาม

อัธยาศัย
ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.9
มาตรฐานการศึกษาตาม

อัธยาศยั
ตวั บง่ ช้ที ี่ 2.9

3.3 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปงี บ

แผนงาน/ผลผลติ /งาน/ งบประมาณทั้งหมด ไตรมาส 1

โครงการ แผน รอ้ ยละ แผน รอ้ ยละ

1. โครงการส่งเสริมการ 0 100 0 100
อ่านและบรกิ ารหอ้ งสมดุ
2. โครงการส่งเสริมการ 8,000 100 2,000 100
อา่ นและการเรียนรูต้ ลอด
ชวี ิตสชู่ มุ ชนในยคุ ดิจทิ ลั 8,000 100 2,000 100
3. โครงการส่งเสริมการ
อา่ นและการเรียนรู้ใน

ห้องสมุดสู่ยคุ ดิจทิ ัล

บประมาณ พ.ศ. 2563 จาแนกตามไตรมาส

ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
แผน รอ้ ยละ
แผน ร้อยละ แผน ร้อยละ 0 100

0 100 0 100 2,000 100

2,000 100 2,000 100

2,000 100 2,000 100 2,000 100

สว่ นที่ 4

รายละเอียดโครงการตามแผนปฏบิ ัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ประกอบด้วย
4.1 โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อาเภอบ้านแพว้
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอบา้ นแพ้ว
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดสมทุ รสาคร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. ช่อื โครงการ สง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ในหอ้ งสมุดสู่ยคุ ดจิ ิทัล

2. ความสอดคล้อง
2.1 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งานสานักงาน กศน. ปี 2563
ภารกิจตอ่ เน่อื ง 1. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย
1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตําบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัดกิจกรรม

เพอื่ เผยแพร่องคค์ วามรูใ้ นชุมชนได้อยา่ งทว่ั ถงึ
2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรัก การอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่าน

และศกั ยภาพการเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกล่มุ เปา้ หมาย
3) สง่ เสรมิ ให้มกี ารสรา้ งบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนุน

การพฒั นาแหลง่ การเรียนรใู้ หเ้ กิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชน ทุกแห่งให้เป็นแหล่ง
เรียนรตู้ ลอดชีวิตของชมุ ชน สง่ เสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน การสร้างเครอื ขา่ ย สง่ เสริมการอ่าน จัด
หน่วยบริการเคลื่อนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้บริการกับ
ประชาชนในพ้นื ทีต่ ่างๆ อยา่ งทวั่ ถึงสม่ําเสมอ รวมทงั้ เสริมสร้างความพร้อมในด้านส่ืออุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการอ่าน
และการจดั กิจกรรมเพ่อื ส่งเสรมิ การอ่านอย่างหลากหลาย

2.2 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน/ผูร้ ับบรกิ าร

การศึกษาตามอัธยาศยั

1.7 ผู้รับบริการได้รับความรู้และ/หรือประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม / โครงการการศึกษาตาม

อธั ยาศัย

มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการศึกษา/การใหบ้ ริการ

การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

2.8 คณุ ภาพผู้จัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั

2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย

3. หลกั การและเหตผุ ล
ดว้ ยกระทรวงศึกษาธกิ ารกําหนดแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2560 – พ.ศ. 2579 เพ่ือเป็นการวางกรอบ

เปา้ หมายและทิศทางการจัดการศกึ ษาของประเทศในการพฒั นาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยทุกช่วงวัย
ให้เต็มตามศักยภาพ สามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยการขับเคลื่อน
ภายใตว้ สิ ัยทศั นค์ นไทยทุกคนได้รับการศกึ ษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อง
กับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

การพัฒนาของโลกท่ีเขา้ ใกลย้ คุ ศตวรรษที่ 21 ท่ีเป็นยคุ แห่งการดาํ เนนิ ชีวิตในแบบดิจิทัล ซึ่งเทคโนโลยีและ
การสือ่ สารทําให้วิถกี ารดาํ รงชวี ิตเปล่ยี นแปลงไป เกิดการแข่งขนั ทางปัญญา โดยการใช้สารสนเทศและความรู้ใหม่ ๆ
ด้วยวิธีการท่ีทันสมัยมากขึ้น บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในการแสวงหาความรู้ การปรับประยุกต์เครื่องมือในการ
แสวงหาสารสนเทศและความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ย่อมได้เปรียบในการดําเนินชีวิต โดยมีเทคโนโลยีและการสื่อสาร
เป็นเครื่องมือสําคัญท่ีช่วยเสริมประสิทธิภาพในการแสวงหาความรู้ ดังนั้นทักษะทางด้านเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล
เป็นส่ิงที่จําเป็นอย่างย่ิงสําหรับการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การท่ีบุคคลใดมีสมรรถนะและ
ความสามารถพน้ื ฐานด้านเทคโนโลยีท่ีจําเป็นสําหรับการเรียนรู้ การเข้าถึงความรู้ การรู้เท่าทัน การเลือกรับ เลือก
ปฏเิ สธ จนกระทัง่ การประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสร้างสรรค์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม จะทําให้บุคคลนั้น
สามารถค้นหาความรู้เพื่อสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กดิ ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดังน้ัน ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อําเภอบ้านแพ้ว ซ่ึงมีบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริมความรู้
และเพิ่มความเสมอภาคทางการศึกษาตามอัธยาศัย ได้เล็งเห็นความสําคัญของการอ่านและการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล
จึงได้จดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ภายใต้ โครงการ “ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในห้องสมุดสู่ยุค
ดจิ ทิ ลั ” ข้นึ มา เพอ่ื ให้ เดก็ นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนไดต้ ระหนักถงึ ความสําคัญของการอ่านและการเรียนรู้ใน
ยุคดิจิทัล สามารถนําความรู้ท่ีได้จากการอ่านและการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ไปพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ได้อย่าง
เหมาะสมและดํารงชวี ติ อยู่ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข
4.วัตถปุ ระสงค์

4.1 เพ่ือให้ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี”อาํ เภอบ้านแพ้ว เปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนรตู้ ลอดชีวิตของคน
ในชมุ ชนและเปน็ แหลง่ คน้ ควา้ แลกเปล่ียนความรู้ในยคุ ดจิ ทิ ลั

4.2 เพื่อสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย
ให้เหมาะสมทกุ ชว่ งวัย

4.3 เพอื่ ส่งเสริมการอา่ นและการเรยี นร้ใู นยคุ ดจิ ิทัลไปส่กู ลมุ่ เป้าหมายอย่างมคี ณุ ภาพ
5.เป้าหมาย

เชงิ ปรมิ าณ
เด็ก นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชน จํานวน 1,000 คน

เชิงคณุ ภาพ
เดก็ นกั เรยี น นักศึกษา และประชาชน ได้ทํากิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ในห้องสมุด

สู่ยุคดิจทิ ลั และตระหนักถงึ ความสําคญั ของการอา่ นในยุคดิจิทลั รวมถงึ มนี สิ ยั รกั การอา่ นและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
6.วิธกี ารดาเนินงาน

กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ
(คน)
ดาเนินการ (บาท)
บรรณารักษ์ 1 คน
1. วางแผนการดําเนนิ การ 1. เพ่ือวางแผนการจดั กิจกรรม หอ้ งสมดุ ประชาชน 1 - 31 -

(P) 2. เพื่อวางแผนการใชจ้ า่ ย “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ตลุ าคม

1.1 เตรียมกิจกรรมและ งบประมาณ อําเภอบ้านแพ้ว 2562

ประสานงานกบั ผู้ท่ี 3. เพอ่ื วางแผนร่วมกันกบั

เก่ยี วข้อง (P) กลุม่ เป้าหมาย

1.2 กําหนดกลุม่ เป้าหมาย 4. เพ่อื จัดกิจกรรม

1.3 นาํ เสนอโครงการ ให้บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์

เพือ่ ขออนมุ ตั ิ (P)

1.4 จดั เตรียมวสั ดุ –

อุปกรณใ์ นการจดั กิจกรรม

2. จดั กจิ กรรมตาม 1. เพ่ือให้ห้องสมุดประชาชน เด็ก นกั เรยี น 1,000 คน หอ้ งสมุดประชาชน 1 ตุลาคม คา่ วสั ดุ
“เฉลมิ ราชกมุ ารี” 2562 4,000
แผนการดําเนนิ งาน (D) “เฉลิมราชกุมารี”อําเภอบ้าน นักศึกษา และ อําเภอบ้านแพว้ ถึง บาท

2.1 กิจกรรมสง่ เสรมิ การ แพ้ว เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ประชาชน 30 มีนาคม
2563
อ่านและการเรียนร้ใู น ตลอดชีวิตของคนในชุมชนและ อําเภอบา้ นแพว้

ห้องสมุด เป็นแหล่งค้นคว้าแลกเปล่ียน

- กิจกรรมวนั ลอยกระทง ความรู้

- กจิ กรรมวันคริสตม์ าส 2. เพ่ือส่งเสริมการศึกษาตาม

- กจิ กรรมวนั ขน้ึ ปใี หม่ อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ พัฒนา

- กจิ กรรมวนั เด็ก ทักษะการเรียนรู้ของประชาชน

- กิจกรรมวันมาฆบูชา ทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสม

- กิจกรรมวนั วาเลนไทน์ ทกุ ช่วงวยั

- กิจกรรม DIY ศลิ ปะ 3. เพ่ือขยายพื้นที่การอ่านและ

ประดษิ ฐร์ ูปแบบต่างๆ ก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ไ ป สู่

- สมุดโน้ต DIY กลมุ่ เป้าหมายอยา่ งมคี ุณภาพ

- พวงกญุ แจทํามอื

- แกนกระดาษใสป่ ากกา

กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมาณ

(คน) ดาเนินการ (บาท)

- จานกระดาษ บรรณารักษ์ 1 คน ห้องสมดุ ประชาชน มนี าคม -
เอนกประสงค์ บรรณารกั ษ์ “เฉลิมราชกมุ ารี” 2562 -
- ดนิ สอฟร้งุ ฟรง้ิ / เอกสาร อาํ เภอบา้ นแพว้
ปากกาฟรุ้งฟริ้ง การรายงานผล กศน.อําเภอ มีนาคม
- พวงกญุ แจผลไม้ 2562
- DIY วัสดเุ หลอื ใช้ จํานวน บ้านแพว้
3. สรปุ ผลการจัดโครงการ 1. เพอ่ื สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม 1 เลม่
(C) ตามโครงการ

4. รายงานผล 1. เพอ่ื นาํ ปญั หาอุปสรรคทีพ่ บไป
การดาํ เนินโครงการ (A) ในการจัดกจิ กรรมไปเปน็
แนวทางในการจดั กจิ กรรมครั้ง
ต่อไป

7. สถานท่ี
7.1 ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อําเภอบา้ นแพ้ว

8. ระยะเวลาดาเนินการ
1 ตลุ าคม 2562 – 30 มนี าคม 2563

9. งบประมาณ
งบประมาณรายจ่ายประจําปี 2563 แผนงาน พ้ืนฐานการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ผลผลิตท่ี 5

ผรู้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศยั งบดําเนนิ งาน จํานวน 4,000 บาท (สี่พันบาทถว้ น)

10. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาววีรญาพร ทองสุข บรรณารักษ์

11. ภาคีเครอื ขา่ ย
11.1 โรงเรยี นอนบุ าลบ้านแพ้ว (วันครู 2500)
11.2 โรงเรยี นไทยรัฐวทิ ยา9 (วัดใหมร่ าษฎรน์ ุกูล

12. การวัดผลประเมินผล
11.1 สังเกต สมั ภาษณ์

11.2 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
13. ผลลพั ธ์

เด็ก นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ได้ทํากิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ และตระหนักถึง
ความสาํ คญั ของการอ่าน รวมถงึ มีนิสยั รกั การอา่ นและการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ
14. ดัชนชี ว้ี ดั ผลสาเรจ็ ของโครงการ

14.1) ตวั ชี้วัดผลผลิต (Outputs)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 ได้ทํากิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ และตระหนักถึง
ความสาํ คญั ของการอา่ น รวมถึงมนี สิ ัยรกั การอ่านและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ

14.2) ตัวชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes)

รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมไดต้ ระหนกั ถงึ ความสําคัญของการอา่ นและการเรียนรู้

รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รยี นมคี วามพงึ พอใจในระดับดีข้ึนไป
15. การติดตามประเมินผลโครงการ

1. ประเมินผลจากการสงั เกตพฤติกรรมและความพงึ พอใจจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมและจากแบบประเมนิ ผล
2. ประเมินผลและติดตามผล หลังจากเสร็จส้ินโครงการและนําข้อมูล ผลท่ีได้จากการติดตามผล

มาวเิ คราะหแ์ ละรายงานสรุปผลการดําเนินงานตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version