สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 การส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ ของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 1
1.1 ความเป็นมา 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 แนวทางการด่าเนินงาน 1
1.4 ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้รับ 1
บทที่ 2 ระบบมาตรฐาน ISO 9001 กับธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ 3
2.1 ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 3
2.2 การพัฒนาและคงไว้ซึ่งมาตรฐาน ISO 9001 3
2.3 การประยุกต์ใช้ข้อก่าหนดระบบ ISO 9001:2015 กับธุรกิจบริการโลจิสติกส์ 5
บทที่ 3 การประเมินศักยภาพกิจกรรมโลจิสติสก์ด้วยตัวชี้วัด 38
บทที่ 4 แนวโน้มและการประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับธุรกิจบริการโลจิสติกส์ในอนาคต 53
ภาคผนวก ก. ข้อก่าหนดมาตรฐาน ISO 9001:2015 63
ภาคผนวก ข. Checklist ค่าถามการประเมินเบื้องต้นมาตรฐาน ISO 9001:2015 81
บทน า
ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์เป็นธุรกิจบริการที่อยู่ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยบริการอาเซียน
(ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS) ซึ่งในสภาวการณ์ที่มีการแข่งขันภายใต้ระบบ
การค้าเสรีทวีความเข้มข้น และประเทศไทยมีการเชื่อมโยงทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้น
นอกจากนี้ยังต้องเผชิญกับการแข่งขันอย่างรุนแรงจากบริษัทข้ามชาติที่มีความได้เปรียบทั้งต้นทุนทางการเงิน
ต่่า มีความพร้อมในด้านเงินทุนและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ภาคธุรกิจจึงจ่าเป็นต้องปรับตัวเพื่อให้ธุรกิจของตน
สามารถอยู่รอดและแข่งขันกับธุรกิจต่างชาติได้
ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์เป็นรากฐานที่ส่าคัญในการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง
ของการท่าให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ เนื่องจากการให้บริการโลจิสติกส์เป็นกระบวนการที่ส่าคัญ
ในการเพิ่มประสิทธิภาพการด่าเนินงาน ครอบคลุมการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ การเก็บสินค้า การ
บริการให้กับธุรกิจการค้า การผลิต การส่งออก และการบริการทุกประเภท ดังนั้น ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์
จึงต้องมีการพัฒนาการด่าเนินงานให้มีประสิทธิภาพในด้านต่างๆ เช่น การบริหารจัดการ การค้า การลงทุน
การตลาด เทคโนโลยี บุคลากร กฎระเบียบและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อันจะส่งผลให้ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์
สามารถพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ และสามารถแข่งขันทางการค้ากับประเทศที่มีศักยภาพสูง
กว่าได้
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ได้ตระหนักถึงภารกิจที่ส่าคัญในการยกระดับศักยภาพ
ธุรกิจไทยให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันระดับสากล โดยเฉพาะธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ จึงได้มีการ
จัดท่าโครงการพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO 9001 ภายใต้โครงการเพิ่มขีดความสามารถ
ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้แข่งขันได้ในสากล ปีงบประมาณ 2562 เพื่อให้ได้มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับ
ในระดับสากล สามารถให้บริการตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ ตลอดจนมีระบบการบริหารจัดการ
ภายในที่มีประสิทธิภาพ
บทที่ 1
การพัฒนาธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO 9001
1.1 ความเป็นมา
ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์เป็นธุรกิจบริการที่อยู่ภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยบริการอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement on Services : AFAS) ซึ่งในสภาวการณ์ที่มีการแข่งขันภายใต้ระบบการค้าเสรีทวีความเข้มข้น
และประเทศไทยมีการเชื่อมโยงทางการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังต้องเผชิญกับการแข่งขันอย่าง
รุนแรงจากบริษัทข้ามชาติที่มีความได้เปรียบทั้งต้นทุนทางการเงินต่่า มีความพร้อมในด้านเงินทุนและเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ภาคธุรกิจจึงจ่าเป็นต้องปรับตัวเพื่อให้ธุรกิจของตนสามารถอยู่รอดและแข่งขันกับธุรกิจต่างชาติได้
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ได้ตระหนักถึงภารกิจที่ส่าคัญในการยกระดับศักยภาพธุรกิจไทยให้มี
ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับสากล โดยเฉพาะธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ จึงได้มีการจัดท่าโครงการพัฒนาธุรกิจ
ให้บริการโลจิสติกส์สู่มาตรฐาน ISO 9001 ภายใต้โครงการเพิ่มขีดความสามารถธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้แข่งขันได้
ในสากล ปีงบประมาณ 2562 เพื่อให้ได้มาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับในระดับสากล สามารถให้บริการตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าได้ ตลอดจนมีระบบการบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพ
1.2 วัตถุประสงค์
เพื่อให้ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ไทยมีระบบการบริหารจัดการที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001 เป็นที่
น่าเชื่อถือและได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการอย่างกว้างขวางทั้งในประเทศและต่างประเทศ และธุรกิจให้บริการ
โลจิสติกส์มีขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากล
1.3 แนวทางการด าเนินงาน
1.3.1 ประเมินวิเคราะห์ศักยภาพธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ พร้อมทั้งคัดเลือกธุรกิจที่มีศักยภาพเพื่อเข้ารับการ
พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001
1.3.2 ให้ค่าปรึกษาแนะน่าเชิงปฏิบัติการ พร้อมทั้งให้ค่าปรึกษาแนะน่าการแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการปฏิบัติงาน
จริง ณ สถานประกอบการ
1.3.3 สร้าง พัฒนา และปรับปรุงระบบการบริหารจัดการแก่ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ พร้อมทั้งจัดให้มีการตรวจ
ประเมินผลการพัฒนาธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์ผ่านการตรวจประเมินและได้รับการรับรอง
มาตรฐาน ISO 9001
1.4 ประโยชน์ที่ผู้ประกอบการได้รับ
ประโยชน์องค์กร/บริษัท
เกิดการยอมรับในคุณภาพ เนื่องจากมาตรฐาน ISO 9001 ย่อมเป็นการประกันว่าในกระบวนการ
ด่าเนินการทุกขั้นตอนมีการด่าเนินการอย่างถูกต้อง มีระบบ ขั้นตอน และแสดงว่าสินค้าหรือบริการใน
ขั้นสุดท้ายมีคุณภาพ
หน้า 1 / 88
เกิดภาพลักษณ์ที่ดี องค์กรที่ได้รับการรับรองคุณภาพจะได้รับการยอมรับว่ามีมาตรฐานสูง จึงเกิดการ
ยอมรับในสินค้าหรือบริการได้ง่าย
ต้นทุนการด่าเนินการที่มีต้นทุนต่่าลงเนื่องจากองค์กรมีประสิทธิภาพมากขึ้น ถ้ามีการด่าเนินการตาม
มาตรฐานแล้วจะช่วยลดความสูญเสีย ความผิดพลาด หรือผิดขั้นตอน หรือการตัดสินใจ เนื่องจากมี
ระบบมีเอกสารควบคุมให้ปฏิบัติตามขั้นตอน ถึงแม้ระยะแรกจะมีค่าใช้จ่ายสูงในการปรับปรุงการ
ด่าเนินการ แต่เป็นการลงทุนเพื่อให้เกิดความประหยัดในระยะยาว
กระบวนการบริหารงานมีระบบ มีประสิทธิภาพ และสามารถตรวจสอบได้
ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน
ผู้ปฏิบัติงานจะเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น เนื่องจากการท่างานมีระบบ ชัดเจน
มีคู่มือปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ทันทีอย่างมีประสิทธิภาพ หรือตรวจสอบการท่างาน
ได้ทุกขั้นตอน
ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมในการท่างานด้านคุณภาพมากขึ้น เนื่องจากจะต้องด่าเนินการตามระบบและ
ขั้นตอนที่ก่าหนดไว้
การท่างานเป็นระบบมากขึ้น เป็นผลโดยตรงตามข้อก่าหนดของ ISO 9001 ที่จะต้องปฏิบัติงานที่
เป็นระบบในทุกกระบวนการที่เข้าสู่ระบบ ลดความซ้่าซ้อนของงาน ลดระยะเวลาการท่างาน แต่
เพิ่มความถูกต้อง ถูกระเบียบ ครบถ้วน และทันเวลา รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
ผู้ปฏิบัติงานมีจิตส่านึกด้านคุณภาพที่เป็นผลจากการด่าเนินการที่เป็นระบบอย่างต่อเนื่องยาวนาน
จะท่าให้เกิดการพฤติกรรมอันน่าไปสู่การสร้างจิตส่านึกด้านคุณภาพในการท่างาน
ผู้ปฏิบัติงานจะร่วมกันท่างานเป็นทีมมากขึ้น การท่างานโดยปกติมักจะมีการด่าเนินการไปตาม
ลักษณะเฉพาะหน้าที่ แต่เมื่อผ่านการรับรองคุณภาพแล้วจะต้องด่าเนินการไปตามกระบวนการที่
ก่าหนด ท่าให้ต้องมีความสัมพันธ์กับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการของตนเอง ก่อให้เกิดการ
พัฒนาการท่างานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ต่อลูกค้าหรือผู้รับบริการ
มีความมั่นใจในสินค้าและบริการขององค์กรมากขึ้น เนื่องจากเมื่อองค์กรได้รับการรับรอง ISO
9001 แล้ว ลูกค้าหรือผู้รับบริการย่อมมั่นใจในคุณภาพของสินค้าและบริการ
สามารถอ้างอิงจากองค์กรที่รับประกันคุณภาพได้ ท่าให้เกิดการยอมรับในสินค้าและบริการมากขึ้น
ลูกค้าหรือผู้รับบริการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยไม่จ่าเป็นต้องตรวจสอบว่าสินค้าหรือบริการ
ได้รับมาตรฐานหรือไม่ เนื่องจากเมื่อได้รับการประกันคุณภาพย่อมถือได้ว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับที่
มั่นใจได้
หน้า 2 / 88
บทที่ 2
ระบบมาตรฐาน ISO 9001 กับธุรกิจให้บริการโลจิสติกส์
2.1 ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
มาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 เป็นระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพและ
สามารถท่าให้องค์กรบรรลุเป้าหมายด้านคุณภาพสามารถสนองความต้องการของลูกค้า มีการปรับคุณภาพอย่าง
ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการบริหารงานอย่างเป็นระบบที่มีโครงสร้างการบริหาร มีเป้าหมายคุณภาพที่ชัดเจนเข้าใจทั่วทั้ง
องค์กรมีการก่าหนดกระบวนการ การด่าเนินงานและใช้ทรัพยากรที่เหมาะสมเพียงพอที่จะท่าให้เกิดคุณภาพ ท่าให้
สามารถปรับปรุงสมรรถนะขององค์กรได้อย่างต่อเนื่อง
2.2 การพัฒนาและคงไว้ซึ่งมาตรฐาน ISO 9001
2.2.1 ขั้นตอนการด าเนินงานสู่ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
การที่องค์กรจะได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 ต้องด่าเนินการเป็นขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการและศึกษา
ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 เป็นระบบซึ่งทุกหน่วยงานในองค์กรจะต้องมีส่วนร่วมในการน่าเอา
ระบบไปประยุกต์ใช้ในองค์กรบุคลากรทุกคนจึงมีความส่าคัญต่อความส่าเร็จของระบบโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหาร
ระดับสูงต้องมีความมุ่งมั่นในการน่าระบบมาใช้ในองค์กร และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยกิจกรรมต่างๆ ที่ผู้บริหาร
ต้องเตรียมและด่าเนินการดังนี้
1. แต่งตั้งคณะกรรมการด่าเนินการ ISO 9001:2015
2. จัดตั้งผู้ประสานงานคุณภาพหรือตัวแทนฝ่ายบริหารด้านคุณภาพ (Quality Management
Representative: QMR)
3. จัดตั้งคณะท่างานในหน่วยงานที่รับผิดชอบ (Working Team)
4. จัดงบประมาณส่าหรับค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้น
5. จัดให้มีการศึกษา ฝึกอบรมและเรียนรู้ ทั้งความรู้ด้านมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
และความรู้ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ขั้นตอนที่ 2 การทบทวนสถานะระบบงานปัจจุบัน
องค์กรต้องตรวจสอบเพื่อประเมินสถานะปัจจุบันขององค์กร โดยเทียบกับข้อก่าหนดของมาตรฐาน
ISO 9000:2015 เพื่อจะได้ทราบว่าสภาพการด่าเนินงานปัจจุบันนั้นมีความสอดคล้องกับข้อก่าหนดอย่างไรบ้าง
มีการด่าเนินการเป็นกระบวนการหรือไม่ ถ้าไม่สอดคล้องควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับข้อก่าหนด โดยกิจกรรมต่างๆ
ที่อาจเกิดขึ้น อาจมีดังนี้
หน้า 3 / 88
1. ก่าหนดนโยบายคุณภาพ ซึ่งสามารถน่าไปปฏิบัติท่าให้ส่าเร็จและประเมินค่าได้
2. จัดท่าวัตถุประสงค์คุณภาพ
3. ก่าหนดขอบเขตของหน่วยงานหรือกระบวนการตามผังองค์กรให้ชัดเจน
4. วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อก่าหนด เพื่อตรวจสอบสิ่งที่มีอยู่กับสิ่งที่ขาดไป
5. จัดท่าแผนการด่าเนินงานที่แสดงถึงขั้นตอน กิจกรรม ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอนที่ 3 การจัดท าเอกสารระบบบริหารงานคุณภาพ
1. จัดท่าเอกสารระบบคุณภาพ ดังหัวข้อต่อไปนี้
(1) นโยบายคุณภาพ (Quality Policy) และวัตถุประสงค์คุณภาพ (Quality Objectives)
(2) ผังโครงสร้างองค์กร (Organization Chart)
(3) ก่าหนดอ่านาจหน้าที่ความรับผิดชอบ (Job Description/Job Specification)
(4) คู่มือคุณภาพ ระเบียบปฏิบัติงาน วิธีปฏิบัติงาน และเอกสารสนับสนุน
2. ตรวจสอบ ทบทวน และอนุมัติเอกสารก่อนน่าไปใช้
ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติงานตามระบบบริหารคุณภาพ
การน่าระบบบริหารงานคุณภาพไปปฏิบัตินั้นเรียกว่า “การติดตั้งระบบบริหารคุณภาพ” คือองค์กรจะต้อง
น่าเอาเอกสารระบบบริหารงานคุณภาพที่ได้จัดท่าขึ้นไปใช้จริงให้เกิดประสิทธิผล โดยมีขั้นตอนต่างๆ ดังนี้
1. สอนและฝึกอบรมพนักงาน จัดให้มีการฝึกอบรม หรือประชุม ชี้แจง ท่าความเข้าใจกับผู้ปฏิบัติงานที่
เกี่ยวข้องทุกส่วนให้ทราบรายละเอียดข้อก่าหนด ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง และเหตุผลที่ต้อง
ปฏิบัติตามเอกสารต่างๆ ในระบบคุณภาพ รวมทั้งปลุกจิตส่านึกบุคลากรให้เชื่อมั่นในระบบคุณภาพและ
ซักซ้อมความเข้าใจในการปฏิบัติงานตามระบบ
2. ประกาศใช้ระบบบริหารงานคุณภาพ ประกาศใช้เอกสารทั้งหมด หรือบางส่วนที่พร้อมเพื่อทดลองปฏิบัติ
จะได้ทราบถึงปัญหาและข้อขัดข้องต่างๆ ส่าหรับน่าไปปรับปรุงต่อไป
3. บันทึกผลการปฏิบัติงาน หลังจากที่ได้ปฏิบัติตามที่เขียนเอกสารไว้ ผู้ปฏิบัติจะต้องแจ้งหัวหน้าหน่วยงาน
ถึงผลการด่าเนินงานตามเอกสารทั้งในแง่ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการ
ปรับปรุงแก้ไขเอกสาร
4. ปรับปรุงแก้ไขถ้าจ่าเป็น หากจ่าเป็นอาจต้องมีการปรับปรุงแก้ไขเอกสารให้สามารถน่าไปปฏิบัติได้จริง
และมีประสิทธิผล
ขั้นตอนที่ 5 การตรวจติดตามคุณภาพภายใน
มีการคัดเลือกพนักงานเป็นทีมตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal Quality Auditor) โดยคัดเลือกจาก
หลายหน่วยงานในองค์กร เพราะการตรวจติดตามคุณภาพภายในต้องตรวจทุกหน่วยงานบุคคลที่เป็นผู้ตรวจต้องมี
ความเป็นอิสระจากหน่วยงานที่ตนไปตรวจ คือไม่ตรวจหน่วยงานที่ตนสังกัดอยู่หลักสูตรที่อบรมอาจอบรมโดย QMR
หรือที่ปรึกษาผู้มีประสบการณ์อย่างดีแล้ว หรืออาจส่งทีมตรวจติดตามคุณภาพภายในไปอบรมหลักสูตรการเป็น
ผู้ตรวจติดตามคุณภาพภายในจากหน่วยงานภายนอกก็ได้จะต้องมีการตรวจติดตามคุณภาพภายในตามแผนที่วางไว้
เพื่อให้ทราบว่าระบบบริหารคุณภาพเป็นไปตามกระบวนการการจัดท่าผลิตภัณฑ์ที่วางแผนไว้ และสอดคล้องกับ
หน้า 4 / 88
ข้อก่าหนดของมาตรฐานสากลฉบับนี้ และกับข้อก่าหนดระบบบริหารคุณภาพที่องค์กรจัดท่าขึ้น และระบบบริหาร
คุณภาพด่าเนินอย่างมีประสิทธิผลหรือไม่ ถ้าท่าการตรวจติดตามคุณภาพภายในแล้วพบว่ามีข้อบกพร่อง ทีมตรวจ
ติดตามคุณภาพภายในจะต้องรีบแจ้งต่อผู้รับผิดชอบโดยเร็ว โดยออกใบขอให้มีการปฏิบัติการแก้ไข (Corrective
Action Request : CAR) ผู้รับผิดชอบต้องประเมินลักษณะของข้อบกพร่อง และด่าเนินมาตรการป้องกันและแก้ไข
ปรับปรุงทันที
ขั้นตอนที่ 6 การตรวจประเมินและให้การรับรองโดยสถาบันให้การรับรอง
เมื่อองค์กรด่าเนินการจัดระบบคุณภาพ และพัฒนาจนได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว เพื่อแสดงขีดความสามารถของ
องค์กร ตลอดจนบ่งบอกถึงความส่าเร็จอย่างแท้จริงของการน่าระบบการบริหารงานคุณภาพไปใช้ โดยการขอรับการ
รับรองจากหน่วยรับรอง (Certification Body)
2.3 การประยุกต์ใช้ข้อก าหนดระบบ ISO9001:2015 กับธุรกิจบริการโลจิสติกส์
ธุรกิจบริการโลจิสติกส์ที่มีความประสงค์จะขอรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ต้องศึกษาเนื้อหา
ข้อก่าหนดของระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 ฉบับล่าสุดตามที่ International Organization for
Standardization ประกาศใช้เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2558 น่ามาพัฒนางานและปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ
ข้อก่าหนด 10 ข้อ ซึ่งข้อที่ 1 ถึงข้อที่ 3 เป็นค่าอธิบายขอบเขต เอกสารอ้างอิง และบทนิยาม และข้อที่ 4 ถึงข้อที่ 10
เป็นข้อก่าหนดที่หน่วยงานที่จะขอรับรองหรือได้รับการรับรองแล้ว ต้องยึดถือเป็นหลักในการด่าเนินงาน ดังนี้
ตัวอย่างการก าหนดขอบข่ายรับรองระบบ ISO9001:2015
ชื่อ : บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
ขอบข่ายขอรับรองระบบ : ให้บริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
ที่ตั้ง : เลขที่ 99 ถนนบางนาตราด ต่าบลบางพลีใหญ่ อ่าเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
1. ขอบเขต (scope)
มาตรฐานสากลฉบับนี้ระบุข้อก่าหนดส่าหรับระบบบริหารคุณภาพ
ก) ต้องแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการผลิตสินค้าหรือการบริการที่สอดคล้องกับข้อก่าหนดของลูกค้า
หรือผู้รับบริการ กฎระเบียบ และข้อก่าหนดของมาตรฐานสากลฉบับนี้ที่ประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข) มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าหรือผู้รับบริการจากการประยุกต์ใช้ระบบบริหารคุณภาพที่มี
ประสิทธิผล ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง รวมทั้งรับรองความสอดคล้องระหว่าง
ข้อก่าหนดของลูกค้าหรือผู้รับบริการ กฎระเบียบ และข้อก่าหนดของมาตรฐานสากลฉบับนี้
ข้อก่าหนดทั้งหมดของมาตรฐานสากลฉบับนี้เป็นข้อก่าหนดทั่วไป และมีเจตนาเพื่อประยุกต์ใช้ได้ส่าหรับ
องค์กรใดๆ โดยไม่ค่านึงถึงประเภท ขนาด ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ
หมายเหตุ 1 มาตรฐานสากลฉบับนี้ ค่าว่า “ผลิตภัณฑ์ (product)” หรือ “บริการ (service)” ใช้ส่าหรับสินค้าหรือ
บริการส่าหรับลูกค้าหรือผู้รับบริการทั่วไป
หมายเหตุ 2 ข้อก่าหนดขององค์กรและกฎระเบียบทางราชการ ถือว่าเป็นข้อก่าหนดตามกฎหมาย
หน้า 5 / 88
2. เอกสารอ้างอิง (normative references)
เอกสารทั้งหมดหรือบางส่วนซึ่งอ้างอิงถึงในมาตรฐานสากลฉบับนี้และเป็นสิ่งจ่าเป็นในการประยุกต์ใช้ ให้
ระบุเฉพาะฉบับที่พิมพ์ กรณีที่ไม่ได้ระบุวัน เดือน และปีที่พิมพ์ ถือว่าเป็นเอกสารอ้างอิงฉบับล่าสุด รวมถึงกรณีมีการ
เปลี่ยนแปลง
3. ค าศัพท์และค าจ ากัดความ (terms and definitions)
ส่าหรับวัตถุประสงค์ของมาตรฐานสากลฉบับนี้ให้น่าค่าศัพท์และค่าจ่ากัดความที่ก่าหนดไว้ใน ISO 9001:2015
มาประยุกต์ใช้
4 บริบทองค์กร
4.1 ความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดพิจารณาก่าหนดประเด็นทั้งภายในและภายนอก ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ และการส่งผลกระทบต่อความสามารถในการบรรลุผล ตามเจตนาของระบบบริหารคุณภาพ
บริษัท ได้ติดตามและทบทวนข้อมูลจากประเด็นภายในและภายนอก อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งหรือ ทุกครั้งที่มีการ
เปลี่ยนแปลง
หมายเหตุ 1 ประเด็นหมายรวมถึงปัจจัยด้านบวกและด้านลบหรือเงื่อนไขส่าหรับพิจารณา
หมายเหตุ 2 บริบทของประเด็นภายนอกอาจรวมถึง ประเด็นที่มาจากกฎหมาย เทคโนโลยี แข่งขัน, การตลาด,
วัฒนธรรม, สังคม และสภาพเศรษฐกิจ, ไม่ว่าจะในระดับนานาชาติ, ระดับประเทศ, ระดับภูมิภาค หรือระดับท้องถิ่น
หมายเหตุ 3 บริบทประเด็นภายในอาจรวมถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับค่านิยม, วัฒนธรรม, ความรู้ และสมรรถนะ ของ
องค์กร
ตัวอย่างการจัดท าบริบทองค์กร ประเด็นภายใน/ภายนอก และผลกระทบทางบวกและลบ
จุดประสงค์ขององค์กร (วิสัยทัศน์) เป็นผู้น่าให้บริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมีที่มีระบบ
มาตรฐานสากล และความปลอดภัยในการขนส่งแทงค์เคมี ในพื้นที่ภาคนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกอันดับที่หนึ่ง
กลยุทธ์ขององค์กร (วิธีการที่ท่าให้บรรลุวัตถุประสงค์ หรือเรียกอีกอย่างว่า ภารกิจ) ได้แก่
1. จัดหารถขนส่งแทงค์เคมีให้เพียงพอต่อความต้องการ
2. พัฒนาพนักงานขับรถแทงค์เคมี ให้มีความรู้ความสามารถในการขนส่งสินค้าที่ปลอดภัย
3. มีระบบติดตาม GPS ในการติดตามเส้นทางการขนส่งสินค้า และติดตามพฤติกรรมของพนักงานขับรถให้ขับรถได้
อย่างปลอดภัย
4. มีการบ่ารุงรักษารถขนส่งแทงค์เคมี และลานตู้ให้อยู่ในสภาพปกติใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง
5. ควบคุมความปลอดภัยในการขนส่งสินค้าแทงค์เคมี และลานตู้
ผลลัพธ์ตามที่คาดหวังไว้ขององค์กร (เป้าประสงค์ขององค์กร) ได้แก่
1. ส่งสินค้าได้ตรงเวลาตามก่าหนด
2. สินค้าที่ส่งไม่เสียหาย
3. สินค้าได้รับการดูแลรักษาตามข้อก่าหนดของลูกค้า
4. ไม่มีอุบัติเหตุจากการขนส่งสินค้า
หน้า 6 / 88
ปัจจัยภายใน (สิ่งที่อยู่ภายใต้การควบคุมขององค์กร) จุดแข็ง
ที่เกี่ยวข้องกับจุดประสงค์ และกลยุทธ์ ขององค์กร เฉพาะที่ 1. พนักงานมีทักษะที่ดีในการขนส่งแทงค์เคมี
ส่งผลกระทบต่อความสามารถขององค์กร ในการบรรลุผลลัพธ์ 2. องค์กรมีการความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า
ตามที่คาดหวังไว้ ได้แก่ จุดอ่อน
1) คน เช่น ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่เกี่ยวกับการท่างาน 1. พนักงานใหม่ขาดทักษะในการท่างานที่ดี
อัตราก่าลังคน 2. การซ่อมบ่ารุงรักษายังไม่เป็นไปตามแผนการ
2) รถขนส่ง เช่น จ่านวนเพียงพอ สภาพปลอดภัยพร้อมใช้งาน บ่ารุงรักษา
3) เครื่องมือ อุปกรณ์ (GPS รถโฟคลิฟท์ ตู้คอนเทนเนอร์) เช่น
จ่านวนเพียงพอ สภาพปลอดภัยพร้อมใช้งาน 3. เวลาการขนส่งสินค้าไม่เป็นไปตามแผนท่าให้
4 ) ระบบงาน (ขั้นตอนการท่างาน วิธีการท่างา น สูญเสียเวลาการขนส่งสินค้า
โปรแกรมควบคุมการขนส่ง) เช่น ง่าย สะดวก ต่อการใช้งาน และ
สามารถท่างานได้อย่างถูกต้อง
5) ท่าเล ที่ตั้ง ส่านักงาน เช่น สะดวกต่อการเดินทาง
ปัจจัยภายนอก (สิ่งที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมขององค์กร) ที่ โอกาส
เกี่ยวข้องกับจุดประสงค์ และกลยุทธ์ขององค์กร เฉพาะที่ส่งผล 1. มีโอกาสในการขยายธุรกิจการขนส่งให้กับบริษัท
กระทบต่อความสามารถขององค์กร ในการบรรลุผลลัพธ์ตามที่ กลุ่มเคมีในมาบตาพุด
คาดหวังไว้ ได้แก่ อุปสรรค
1) สภาพเศรษฐกิจ 1. คู่แข่งในธุรกิจเดียวกันเพิ่มขึ้น
2) กฎหมาย กฎระเบียบ 2. เศรษฐกิจมีภาวะชะลอตัว ท่าให้ลูกค้าลดลง
3) เทคโนโลยี เช่น ระบบ GPS 3. กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง ในการต่อพ่วง ใน
4) สภาพการแข่งขัน เช่น การเปิด AEC การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม ท่าให้ต้นทุนเพิ่ม และการ
5) ต้นทุนเชื้อเพลิง ต่อใบขับขี่ประเภท4 การขนส่งสารเคมีอันตราย
4. ไฟดับท่าให้ไม่สามารถท่างานได้
4.2 ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เนื่องด้วยผลกระทบหรือแนวโน้มผลกระทบต่อความสามารถของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ในการที่
จะรักษาความสามารถในการท่าให้การบริการ เป็นไปตามข้อก่าหนดของลูกค้า และข้อก่าหนดทางกฎหมาย บริษัท
ได้พิจารณา
a) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
b) ข้อก่าหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
หน้า 7 / 88
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ติดตามและทบทวนข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและข้อก่าหนดที่
เกี่ยวข้องเหล่านั้นอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งหรือ ทุกครั้งที่มีการเลี่ยนแปลง
ตัวอย่างการประเมินความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ความต้องการ(ข้อก าหนด) ความคาดหวัง
ผู้บริหาร 1. สามารถปฏิบัติงานตามข้อตกลง 1. ความพึงพอใจของลูกค้าและความเชื่อมั่น
จากลูกค้าและผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีกับบริษัท
2. คาดหวังในการบริหารทรัพยากรในการ
ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
พนักงาน 1. รายได้ที่มั่นคง 1. ความมั่นคงในอาชีพ
2. การท่างานที่ราบรื่นไม่มีอุปสรรค 2. การเพิ่มทักษะและการเติบโตในหน้าที่การ
งาน
ลูกค้า 1. ส่งสินค้าได้ตรงเวลาตามก่าหนด 1. การด่าเนินการตามที่ลูกค้าร้องขอได้อย่าง
2. สินค้าที่ส่งไม่เสียหาย สม่่าเสมอ และมีการปรับปรุงตามที่ร้องขอ
3. สินค้าได้รับการดูแลรักษาตาม อย่างต่อเนื่อง
ข้อก่าหนดของลูกค้า
4. ไม่มีอุบัติเหตุจากการขนส่งสินค้า
ผู้ให้บริการจากภายนอก 1. ต้องการให้บริการจากทางบริษัท 1. การสร้างความสัมพันธ์และการใช้บริการใน
ระยะยาว
ผู้ขายสินค้า/ผู้ให้บริการ 1. การสื่อสารที่ครบถ้วน ถูกต้อง 1. การให้ข้อมูลเชิงวิเคราะห์และการให้
2. ระบบงานที่มีประสิทธิภาพ ค่าแนะน่าต่างๆที่เกี่ยวกับการให้บริการ
3. สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
4.3 การพิจารณาขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ก่าหนดขอบเขตและการประยุกต์ใช้ของระบบการบริหารคุณภาพเพื่อระบุ
ขอบเขตของการใช้งานเมื่อพิจารณาขอบเขตการประยุกต์ใช้ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาถึง
a) ประเด็นภายในและภายนอก อ้างอิงในข้อก่าหนด 4.1
b) ข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยอ้างอิงในข้อก่าหนด 4.2
c) การบริการขององค์กร
กรณีที่ขอบเขตการด่าเนินการครอบคลุมตามข้อก่าหนดสากลฉบับนี้บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
ได้น่ามาเป็นส่วนหนึ่งในการประยุกต์ใช้ด้วย
ขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้มีการระบุไว้และอยู่ในรูปเอกสาร
ข้อมูล ขอบเขตได้ระบุถึงลักษณะของการบริการ และระบุข้อละเว้นข้อก่าหนดที่ไม่ประยุกต์ใช้ในระบบบริหาร
คุณภาพ
หน้า 8 / 88
ความสอดคล้องของข้อก่าหนดฉบับนี้จะถูกประยุกต์ใช้ทั้งหมด เว้นแต่กรณีที่ข้อก่าหนดที่ไม่ถูกประยุกต์ใช้
เหล่านั้นไม่ส่งผลต่อความสามารถและความรับผิดชอบของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ที่มีต่อความสอดคล้อง
ต่อข้อก่าหนดของการบริการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ
4.4 ระบบบริหารคุณภาพขององค์กร
4.4.1 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้จัดท่า น่าไปปฏิบัติ คงรักษา และปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในระบบ
บริหารคุณภาพ รวมถึงกระบวนการที่จ่าเป็น และการปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลฉบับนี้
บริษัทได้พิจารณากระบวนการที่จ่าเป็นต่อการด่าเนินการของระบบบริหารคุณภาพและการประยุกต์ใช้ทั่วทั้งองค์กร
โดย
a) พิจารณาปัจจัยน่าเข้าและปัจจัยน่าออกที่คาดหวังของแต่ละกระบวนการ
b) พิจารณาล่าดับและการปฏิสัมพันธ์ต่อกันของกระบวนการเหล่านี้
c) พิจารณาและประยุกต์ใช้เกณฑ์ วิธีการ (รวมทั้งการตรวจติดตาม ตรวจวัด และตัวชี้วัดสมรรถนะของ
กระบวนการ) ที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าการควบคุมกระบวนการเกิดประสิทธิผล
d) พิจารณาทรัพยากรที่จ่าเป็นต่อกระบวนการให้พอเพียง
e) ระบุความรับผิดชอบและอ่านาจในแต่ละกระบวนการ
f) ระบุปัจจัยความเสี่ยงและโอกาสตามข้อก่าหนด 6.1
g) ประเมินกระบวนการ และด่าเนินการเปลี่ยนตามความจ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการบรรลุผลลัพธ์ที่
คาดหวัง
h) ปรับปรุงกระบวนการและระบบบริหารคุณภาพ
4.4.2 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้
a) คงรักษาไว้ซึ่งเอกสารข้อมูลที่สนับสนุนกระบวนการด่าเนินงาน
b) จัดเก็บเอกสารข้อมูลเพื่อให้เชื่อมั่นว่ากระบวนการเป็นไปตามแผนงานที่ก่าหนดไว้
หน้า 9 / 88
ตัวอย่างผังกระบวนการธุรกิจ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ ากัด
5 การเป็นผู้น า
5.1 การเป็นผู้น าและความมุ่งมั่น
5.1.1 ข้อก าหนดทั่วไป
ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้แสดงให้เห็นภาวะผู้น่าและความมุ่งมั่นต่อระบบบริหาร
คุณภาพโดย
a) รับผิดชอบในประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ
b) มั่นใจว่ามีการจัดท่านโยบายคุณภาพและวัตถุประสงค์คุณภาพ ส่าหรับระบบบริหารคุณภาพ และ
สอดคล้องกับบริบทและทิศทางกลยุทธ์ของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
c) มีการน่าข้อก่าหนดระบบบริหารคุณภาพประยุกต์ใช้ในกระบวนการของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
d) ส่งเสริมการมุ่งเน้นกระบวนการและการคิดบนพื้นฐานความเสี่ยง
e) มีทรัพยากรที่จ่าเป็นส่าหรับระบบการจัดการคุณภาพเพียงพอ
f) สื่อสารความส่าคัญของการบริหารคุณภาพที่มีประสิทธิผล และความสอดคล้องกับข้อก่าหนดของระบบ
บริหารคุณภาพ
g) ระบบการจัดการคุณภาพบรรลุได้ตามความตั้งใจ
h) สร้างการมีส่วนร่วม, ก่าหนดแนวทาง และสนับสนุนพนักงานด่าเนินกิจกรรมในระบบบริหารคุณภาพ
อย่างมีประสิทธิผล
i) ส่งเสริมการปรับปรุง
j) สนับสนุนบทบาทอื่น ๆ ในการบริหาร เพื่อแสดงให้เห็นถึงภาวะผู้น่าในส่วนงานที่รับผิดชอบ
หน้า 10 / 88
ตัวอย่างการประกาศแต่งตั้งคณะท างาน
ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างาน
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารระบบ ISO 9001:2015
เพื่อให้การด่าเนินงาน ตามระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด เป็น
ไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงขอแต่งตั้งคณะจัดท่าระบบ ISO 9001:2015 ดังนี้
1. นายxxx xxxx ต่าแหน่งกรรมการผู้จัดการ
2. นางสาวxxx xxxx ต่าแหน่งผู้จัดการทั่วไป
3. นายxxxx xxxx ต่าแหน่งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/ QMR
4. นางสาวxx xxxx ต่าแหน่งเจ้าหน้าที่ Admin/DC
5. นางสาวxxx xxxx ต่าแหน่งผู้จัดการฝ่ายบัญชีและจัดซื้อ
6. นางสาวxxx xxxx ต่าแหน่งผู้จัดการฝ่ายบุคคล
7. นายxxx xxxx ต่าแหน่งหัวหน้าแผนกขนส่ง
8. นายxxx xxxx ต่าแหน่งหัวหน้าแผนกTOP LIFT
ให้คณะจัดท่าระบบบริหารคุณภาพ ดังกล่าว มีหน้าที่และอ่านาจดังต่อไปนี้
1. ศึกษามาตรฐานระบบ ISO 9001:2015 รวมถึง กฎระเบียบ ที่เกี่ยวข้องข้อก่าหนดต่างๆ
2. ทบทวนสถานะปัจจุบันและจัดท่าแผนการด่าเนินงานมาตรฐานระบบ ISO9001:2015
3. ออกแบบและจัดท่าเอกสาร ที่ต้องใช้ในการด่าเนินงานตามระบบบริหารงานคุณภาพ
4. ด่าเนินงานตามแผนงานและบริหารผลงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์คุณภาพ
5. รายงานสมรรถนะและโอกาสในการปรับปรุงของระบบต่อฝ่ายบริหาร
6. ส่งเสริมความตระหนักของพนักงานในการท่างานภายใต้ระบบบริหารคุณภาพ
7. ร่วมวางแผนรองรับการเปลี่ยนแปลงหากมีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อระบบบริหารคุณภาพ
ทั้งนี้มีผลตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม 2562 เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ 15 มีนาคม 2562 เป็นต้นไป
………………………………………
(นายxxxx xxxx)
กรรมการผู้จัดการ
5.1.2 การมุ่งเน้นลูกค้า
ผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้แสดงภาวะผู้น่าและความมุ่งมั่นในการมุ่งเน้น
ลูกค้าโดยท่าให้มั่นใจว่า
a) ข้อก่าหนดลูกค้า, กฎหมายและข้อก่าหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้รับการพิจารณา, ท่าความเข้าใจ และมี
ความครบถ้วน
หน้า 11 / 88
b) ความเสี่ยงและโอกาสที่ส่งผลต่อความสอดคล้องของการบริการและความสามารถที่ท่าให้ลูกค้าพึงพอใจ
ได้รับการพิจารณาและระบุไว้
c) มุ่งเน้นการเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าอย่างสม่่าเสมอ
5.2 นโยบาย
5.2.1 การจัดท านโยบายคุณภาพ
ผู้บริหารระดับสูงของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้จัดท่าน่าไปปฏิบัติ และคงรักษาไว้ นโยบายคุณภาพซึ่ง
a) เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และบริบทขององค์กรและสนับสนุนทิศทางกลยุทธ์ของบริษัท
b) เป็นกรอบในการก่าหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ
c) แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบรรลุตามข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง
d) แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของระบบบริหารคุณภาพ
นโยบายคุณภาพอ้างอิงตามข้อที่ 3 นโยบายคุณภาพ ในคู่มือคุณภาพ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มีความมุ่งมั่นในการประยุกต์การด่าเนินงานในขอบเขตการให้บริการเช่า
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี ให้สอดคล้องกับระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 และมีการพัฒนา
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง จึงได้มีการก่าหนดกลยุทธ์ทิศทางในการบริหาร
ระบบคุณภาพดังต่อไปนี้
“มุ่งมั่นให้บริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี ที่มีมาตรฐานสากล รวดเร็ว ปลอดภัย เพื่อ
ความพึงพอใจลูกค้า”
บริษัทมุ่งมั่นน่าระบบบริหารคุณภาพISO 9001 มาประยุกต์ใช้ในองค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ
บริหารงานและเกิดความเชื่อมั่นจากผู้ใช้บริการ
บริษัทมุ่งมั่นสร้างผลงานด้านความพึงพอใจของผู้รับบริการเพื่อให้ผู้ว่าจ้างเชื่อมั่นในการท่างานของบริษัท
บริษัทมุ่งมั่นพัฒนาพนักงานอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมแรงจูงใจในการท่างานเพื่อเพิ่มทักษะการท่างานและ
สร้างความมั่นคงในอาชีพ
บริษัทมุ่งมั่นดูแลรักษาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคต่างๆให้มีความพร้อมในการท่างานเพื่อให้การ
ท่างานมีประสิทธิภาพ
บริษัทมุ่งมั่นบริหารกระบวนการท่างานให้มีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองลูกค้าได้รวดเร็ว
ทั้งนี้ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด จะพิจารณากรอบวัตถุประสงค์คุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบาย
คุณภาพดังกล่าว พร้อมทั้ง วางแผนรองรับเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพและวางแผนรองรับการเปลี่ยนแปลง
หากมีการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกับระบบบริหารคุณภาพ โดยมีการสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจ และน่าไปปฏิบัติได้ภายใน
บริษัท และมีการสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทรับทราบต่อไป
ประกาศวันที่ 25 มีนาคม 2562
………………………………………
(นายxxx xxx)
กรรมการผู้จัดการ
หน้า 12 / 88
5.2.2 การสื่อสารนโยบายคุณภาพ
นโยบายคุณภาพได้
a) จัดท่าและอยู่ในรูปแบบเอกสารข้อมูล
b) สื่อสารภายในองค์กรให้เข้าใจ และน่าไปปฏิบัติได้ภายในบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
c) มีความสอดคล้องกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
5.3 บทบาท ความรับผิดชอบ และอ านาจหน้าที่
ผู้บริหารสูงสุดของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดมั่นใจว่า มีการก่าหนดสื่อสารให้เข้าใจถึงความ
รับผิดชอบและอ่านาจหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายใน บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
ผู้บริหารสูงสุดได้ก่าหนดความรับผิดชอบและอ่านาจเพื่อ
a) มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพสอดคล้องกับข้อก่าหนดของมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
b) มั่นใจว่ากระบวนการสามารถส่งมอบปัจจัยน่าออกได้ตามความคาดหวัง
c) มีการรายงานสมรรถนะโอกาสในการปรับปรุง และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง (ดูข้อ 10.1)
ระบบบริหารคุณภาพให้ผู้บริหารสูงสุด
d) มั่นใจว่ามีการส่งเสริมการมุ่งเน้นลูกค้าทั่วทั้งบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
e) มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพได้รับการคงรักษาไว้ได้ครบถ้วน กรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบบริหาร
คุณภาพที่ได้มีการวางแผนและด่าเนินการ
6 การวางแผน
6.1 การด าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1 เมื่อมีการวางแผนส่าหรับระบบการจัดการคุณภาพ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาประเด็น
ที่ระบุในข้อ 4.1 และ ข้อก่าหนดต่างๆ ที่อ้างอิงจากข้อ 4.2 และการพิจารณาความเสี่ยงและโอกาสที่จ่าเป็นที่จะต้อง
ระบุเพื่อ
a) ให้มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพจะสามารถบรรลุตามผลลัพธ์ของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้
b) เพิ่มผลกระทบที่ต้องการ
c) ป้องกันหรือ ลดผลกระทบที่ไม่ต้องการ
d) บรรลุผลการปรับปรุง
6.1.2 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด วางแผนส่าหรับ
a) การด่าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาสเหล่านี้
b) วิธีการที่จะ
1) ควบรวมและประยุกต์ใช้กิจกรรมในกระบวนการของระบบบริหารคุณภาพ (ดูข้อ 4.4)
2) ประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมเหล่านี้
หน้า 13 / 88
การระบุความเสี่ยงและโอกาสของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ ากัด มีการด าเนินการอย่างน้อยปีละ
1 ครั้ง โดยคณะกรรมการ ISO หรือทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามเกณฑ์การประเมินดังต่อไปนี้
หัวข้อประเมิน คะแนน
3 2 1
โอกาสเกิด L1 มีมาตรการควบคุมความเสี่ยงเป็น ไม่มีการควบคุม / มี แต่ไม่มีประสิทธิภาพ/ มีประสิทธิภาพ/มี
(Likelihood) รูปแบบเอกสาร(ระเบียบปฏิบัติ ต้องปรับปรุง ปฏิบัติไม่สม่่าเสมอ การปฏิบัติตาม
วิธีการ) เอกสาร
L2 มีการป้องกันความเสี่ยง ณ พื้นที่ ไม่มี / ต้องปรับปรุง มี แต่ไม่มีประสิทธิภาพ/ มีประสิทธิภาพ/
ท่างาน(มีเครื่องมือ อุปกรณ์ ควร ยอมรับได้
โปรแกรม หรืออุปกรณ์ทดแทน) ปรับปรุง
L3 มีความถี่ในการเกิดปัญหาในการ ทุกปี นานๆครั้ง (มากกว่า 1 ไม่เคยเกิด
ท่างาน (เช่นงานมีปัญหา การ ปี)
ร้องเรียน)
ผลกระทบ / ความ C1 การตรวจสอบและแก้ไขเมื่อ ตรวจสอบแก้ไขยาก ตรวจสอบแก้ไขปาน ตรวจสอบแก้ไขง่าย
รุนแรง ปัญหา / ใช้เวลามากหรือ มี กลาง / ใช้เวลา หรือ มี ทันที / ไม่มี
(Consequence) ค่าใช้จ่ายสูง ค่าใช้จ่ายปานกลาง ค่าใช้จ่าย
C2 ระดับความรุนแรงของปัญหาที่มี รุนแรงส่งผลถึง ปานกลางส่งผลถึง น้อย/แก้ไขได้ใน
ผลในการท่างาน หน่วยงานถัดไปท่าให้ หน่วยงานถัดไปบ้างท่า หน่วยงาน
ท่างานหยุดชะงักหรือ ให้งานล่าช้า
ส่งผลถึงลูกค้า
C3 ผลกระทบต่อลูกค้า ส่งผลกับลูกค้า อาจส่งผลบ้าง(เล็กน้อย) เฉพาะภายในบริษัท
โดยตรง
C4 ข้อก่าหนด(สัญญาการท่างาน) ผิดข้อก่าหนดเป็น ผิดข้อก่าหนดบ้าง เป็น ถูกต้องตาม
หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนใหญ่ ส่วนน้อย ข้อก่าหนด/ไม่เป็น
ข้อก่าหนด
การค านวณคะแนน
คะแนนโอกาสเกิด L = L1+L2+L3
คะแนนความรุนแรง C= C1+C2+C3+C4
ผลรวม = L x C
หน้า 14 / 88
ระดับนัยส าคัญ
ช่วงคะแนน ระดับนัยส าคัญ ตัวย่อ พิจารณาความเสี่ยง/การควบคุม
น้อยกว่า 36 คะแนน ต่่า L ยอมรับความเสี่ยง แต่ต้องติดตามอย่าง
สม่่าเสมอ (ปฏิบัติงานตามมาตรการเดิม)
37-60 ปานกลาง M ทบทวนหรือควบคุมการปฏิบัติที่มีความเสี่ยง
(ทบทวน/อบรม มาตรการเดิมที่มีอยู่ ปรับปรุง
ตามความจ่าเป็น)
61-84 สูง H วางแผนการการบริหารความเสี่ยง (ความเสี่ยงที่
เป็นโอกาสจัดท่าแผนงานบริหารคุณภาพ(ความ
เสี่ยง)เพื่อพิจารณาการป้องกัน)
มากกว่า 85 คะแนน สูงมาก VH ความเสี่ยงสูงต้องแก้ไขทันทีโดย (ความเสี่ยงที่
เป็นอุปสรรค ต้องร้องขอให้มีการแก้ไข(CAR)
เพื่อพิจารณาการแก้ไขและป้องกัน)
ตัวอย่างแบบฟอร์มการประเมินความเสี่ยงองค์กร
ผลรวม ระดับ
หน่วยงาน โอกาสที่จะเกิด ความรุนแรงที่เกิด
No. ประเด็นความเสี่ยง ผลกระทบ ทั้งหมด นัยสาคัญ
กระบวนการ L1 L2 L3 ผลรวม C1 C2 C3 C4 ผลรวม Lx C VH/H/M/L
L1->L3 C1->C4
จุดอ่อน 1. พนักงานใหม่ขาดทักษะในการท างานที่ดี
1 ฝ่ายบริหาร ประสิทธิภาพการทางาน 3 1 1 5 1 1 1 1 4 20 L
2. การซ่อมบารุงรักษายังไม่เป็นไปตามแผนการ
บ ารุงรักษา การบริการล่าช้า 1 2 2 5 2 2 2 1 7 35 L
3. เวลาการขนส่งสินค้าไม่เป็นไปตามแผนทาให้
สูญเสียเวลาการขนส่งสินค้า การบริการล่าช้า
2 ฝ่ายบริหาร อุปสรรค 1. คู่แข่งในธุรกิจเดียวกันเพิ่มขึ้น การแข่งขันจากภายนอก 1 2 2 5 3 2 1 1 7 35 L
2. เศรษฐกิจมีภาวะชะลอตัว ทาให้ลูกค้าลดลง
การบริการล่าช้า 2 2 3 7 1 1 2 1 5 35 L
3. กฎหมายเกี่ยวกับการขนส่ง ในการต่อพ่วง ใน
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม ทาให้ต้นทุนเพิ่ม และการ
ต่อใบขับขี่ประเภท4 การขนส่งสารเคมีอันตราย การบริการล่าช้า 2 2 1 5 2 2 3 1 8 40 M
4. ไฟดับทาให้ไม่สามารถทางานได้
การบริการล่าช้า 3 2 2 7 3 3 3 3 12 84 H
หน้า 15 / 88
6.2 วัตถุประสงค์คุณภาพ และการวางแผนเพื่อให้บรรลุ
6.2.1 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้จัดท่าวัตถุประสงค์คุณภาพ ขยายผลลงไปในทุกส่วนงานทุกระดับ
และกระบวนการที่จ่าเป็นในระบบบริหารคุณภาพ โดยวัตถุประสงค์คุณภาพ
a) มีสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ
b) สามารถวัดได้,
c) มีความเกี่ยวข้องกับข้อก่าหนดที่ประยุกต์ใช้
d) มีความเกี่ยวข้องกับความสอดคล้องข้อก่าหนดของการบริการและเพื่อเพิ่มระดับความพึงพอใจลูกค้า
e) มีการติดตาม
f) มีการสื่อสาร
g) มีการปรับปรุงตามความเหมาะสม
บริษัทคงรักษาเอกสารข้อมูลของวัตถุประสงค์คุณภาพ
ตัวอย่างวัตถุประสงค์คุณภาพ
นโยบาย/ ดัชนีชี้วัด KPI เป้าหมาย ระยะเวลาวัดผล หน่วยงาน Action Plan
วัตถุประสงค์/ความ ที่
เสี่ยงที่มีนัยส าคัญ รับผิดชอบ
มุ่งมั่นให้บริการเช่า จ่านวนเที่ยวต่อเดือน ไม่ต่่ากว่า 3,150 ต่อเดือน ทุกเดือน Operater/ แผนเพิ่มจ่านวน
พื้นที่วางแทงค์เคมี ขนส่ง เที่ยวขนส่ง
และขนส่งแทงค์เคมี
จ่านวนการวางเช่าตู้ ไม่ต่่ากว่า 90% ต่อเดือน ทุกเดือน Operater/ แผนเพิ่มจ่านวน
ลานตู้ ตู้ลาน
ส่งสินค้าได้ตรงเวลา % ส่งสินค้าตรงเวลา 95% ของจ่านวนครั้งที่ ทุกเดือน Operater/ แผนจัดส่งตรง
ตามก่าหนด จัดส่งทั้งหมด ขนส่ง เวลา
สินค้าที่ส่งไม่เสียหาย จ่านวนครั้งสินค้า สินค้าเสียหายไม่เกิน ทุกเดือน Operater/ แผนลดสินค้า
เสียหาย 100,000 ต่อเดือน ขนส่ง เสียหาย
ไม่มีอุบัติเหตุจากการ จ่านวนครั้งเกิด จ่านวนอุบัติเหตุ 0 ครั้งต่อ ทุกเดือน Safety แผนลด
ท่างาน อุบัติเหตุ เดือน อุบัติเหตุ
เพิ่มความพึงพอใจ % ความพึงพอใจ ไม่ต่่ากว่า 80% ต่อเดือน ทุกเดือน Operater/ แผนเพิ่มความ
ลูกค้า ลูกค้า ลานตู้ พึงพอใจบริการ
6.2.2 การวางแผนเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์คุณภาพ, บริษัท ได้พิจารณา
a) สิ่งที่ต้องด่าเนินการ
b) ทรัพยากรที่จ่าเป็น
c) ผู้รับผิดชอบ
d) กรอบเวลาแล้วเสร็จ
e) วิธีการประเมินผล
หน้า 16 / 88
ตัวอย่างการวางแผนงานวัตถุประสงค์
แผนการบริหารงาน (ACTION PLAN)
แผนงานนโยบายคุณภาพ/วัตถุประสงค์/กระบวนการ แผนงานด าเนินการจัดการความเสี่ยงที่มีนัยสาคัญ แผนงานรองรับการเปลี่ยนแปลง
วัตถุประสงค์ : มุ่งมั่นให้บริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี หน่วยงาน Operater/ขนส่ง
ดัชนีชี้วัด จานวนเที่ยวต่อเดือน เป้าหมาย ไม่ต่ากว่า 3,150 ต่อเดือน
ดัชนีชี้วัด เป้าหมาย
ล าดับที่ วิธีการด าเนินการ ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
แผนงาน
1 ศึกษาเส้นทางการวิ่ง การปฏิบัติ
แผนงาน
2 วางแผนการดูแลรักษาเชิงป้องกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์ การปฏิบัติ
แผนงาน
3 วางแผนการจัดหา อะไหล่ ส ารอง การปฏิบัติ
แผนงาน
4 พิจารณาการใช้งานเครื่องมืออุปกรณ์อย่างถูกต้อง การปฏิบัติ
แผนงาน
5 สรุปผลการดาเนินงานเทียบกับเป้าหมาย การปฏิบัติ
แผนงาน
6 ปรับปรุงหากไม่บรรลุเป้าหมาย (ถ้าท าได้) การปฏิบัติ
รวบรวมวิเคราะห์ผลงาน/แนวโน้มและความจาเป็นในการปรับปรุง แผนงาน
7 เสนอผู้บริหาร การปฏิบัติ
แผนงาน
8 นาเสนอผู้บริหารในการทบทวนโดยฝ่ายบริหารประจาปี การปฏิบัติ
การประเมินผลงานตามเป้าหมาย
ผู้จัดทา
ผู้อนุมัติ
6.3 การวางแผนเปลี่ยนแปลง
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาถึงความจ่าเป็นในการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารคุณภาพ
การเปลี่ยนแปลงจะต้องด่าเนินการภายในแผนงาน
บริษัทได้พิจารณา
a) วัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลงและผลที่อาจตามมา
b) ความครบถ้วนของระบบบริหารคุณภาพ
c) ความเพียงพอของทรัพยากร
d) การก่าหนดและหมุนเวียนของความรับผิดชอบและอ่านาจ
ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง บริษัท ได้มีการระบุเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง จากปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอกหรืออื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อระบบคุณภาพ พร้อมคณะกรรมการ ISO มีการวางแผนการเปลี่ยนแปลง
ตามล่าดับการณ์ดังต่อไปนี้
1 ระบุเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
2 พิจารณาผลกระทบที่มีโอกาสเกิดขึ้น
3 ประชุมคณะกรรมการ ISO ก่าหนดวัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลงและผลที่อาจตามมา และระดม
สมองหาทางด่าเนินการ
4 ก่าหนดมาตรการใน แผนการรองรับการเปลี่ยนแปลง
5 น่าเสนอผู้บริหารระดับสูงเพื่อทบทวนมาตรการและอนุมัติการใช้ทรัพยากร
6 ด่าเนินการตามแผนการเปลี่ยนแปลง
7 สรุปผลการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์พร้อมทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องและจัดท่าให้ทันสมัย
หน้า 17 / 88
7 การสนับสนุน
7.1 ทรัพยากร
7.1.1 ข้อก าหนดทั่วไป
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาก่าหนดและจัดให้มีทรัพยากรที่จ่าเป็นส่าหรับการจัดท่า, น่าไปการ
ปฏิบัติคงรักษาไว้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในระบบบริหารคุณภาพ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณา
a) ความสามารถ และข้อจ่ากัดของทรัพยากรภายในองค์กรที่มีอยู่
b) ความจ่าเป็นในการเลือกใช้ผู้ให้การบริการภายนอก
7.1.2 บุคลากร
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาและจัดหาบุคลากรอย่างเพียงพอเพื่อให้เกิดประสิทธิผลของการ
ด่าเนินงานในระบบบริหารคุณภาพ และส่าหรับการด่าเนินงานและควบคุมกระบวนการต่างๆในระบบบริหารคุณภาพ
7.1.3 โครงสร้างพื้นฐาน
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้พิจารณาจัดหาและคงรักษาไว้ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานส่าหรับการด่าเนิน
กระบวนการเพื่อให้บรรลุได้ตามข้อก่าหนดการให้บริการ
หมายเหตุ โครงสร้างพื้นฐาน หมายรวมถึง
a) อาคาร และ ระบบสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง
b) อุปกรณ์, ทั้งแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และ
c) ทรัพยากรในการส่งข้อมูล
d) เทคโนโลยีในการสื่อสารและสารสนเทศ
7.1.4 สภาพแวดล้อมในการด าเนินกระบวนการ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณา จัดหา และคงรักษา สภาพแวดล้อมที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนิน
กระบวนการ และเพื่อให้บรรลุข้อก่าหนดของการบริการและการบริการ
หมายเหตุ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถรวมถึงความหลากหลายของคน และสภาพกายภาพ ได้แก่
a) ด้านสังคม (เช่น ไม่มีการแบ่งแยก, มีความสงบสุข, ไม่มีการเผชิญหน้า)
b) ด้านจิตใจ (เช่น การลดความเครียด, การป้องกันความเมื่อยล้า, การรักษาระดับอารมณ์)
c) ด้านกายภาพ (เช่น อุณหภูมิ, ความร้อน, ความชื้น. แสงสว่าง, การถ่ายเท, สุขลักษณะ, เสียง)
ปัจจัยเหล่านี้อาจแตกต่างกันได้ตามลักษณะการบริการและการบริการ
หน้า 18 / 88
ตัวอย่างอุปกรณ์ประจ ารถขนส่ง
7.1.5 ทรัพยากรในการตรวจติดตามและตรวจวัด
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มีการประยุกต์ใช้การใช้ทรัพยากรในการตรวจติดตามและตรวจวัด รวมถึง
กิจกรรมการทวนสอบและสอบเทียบ
7.1.6 ความรู้ขององค์กร
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาก่าหนด ความรู้ที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนินกระบวนการและ
เพื่อให้บรรลุถึงข้อก่าหนดการบริการและการบริการ ความรู้เหล่านี้ต้องได้รับการจัดเก็บและมีครบถ้วนตามขอบเขต
อย่างเพียงพอ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความต้องการและแนวโน้ม บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ทบทวน
ความรู้ในปัจจุบัน และพิจารณาวิธีการท่าให้ได้มาหรือเข้าถึงความรู้ส่วนเพิ่มเติม และให้มีความทันสมัย
หน้า 19 / 88
7.2 ความสามารถ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้
a) ก่าหนดความสามารถที่จ่าเป็นของบุคลากรที่ท่างานภายใต้การด่าเนินการที่มีผลต่อสมรรถนะด้าน
คุณภาพและประสิทธิผลในระบบบริหารคุณภาพ
b) มั่นใจว่าบุคลากรเหล่านี้มีความสามารถ บนพื้นฐานการศึกษา การฝึกอบรม หรือ ประสบการณ์
c) ในกรณีที่ท่าได้, ต้องด่าเนินการเพื่อได้มาที่ซึ่งความสามารถที่จ่าเป็น, และการประเมินประสิทธิผลของ
การด่าเนินการดังกล่าว
d) จัดเก็บหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถเป็นเอกสารข้อมูล
หมายเหตุ การด่าเนินการที่ใช้สามารถรวมถึง, ยกตัวอย่าง: การจัดฝึกอบรม, การเป็นพี่เลี้ยงหรือการมอบหมายงาน
ให้กับพนักงานปัจจุบันหรือการว่าจ้างหรือท่าสัญญากับผู้ช่านาญ งานนั้นๆ
7.3 ความตระหนัก
บุคลาการที่ท่างานภายใต้การควบคุมของบริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มีความตระหนักในเรื่อง
a) นโยบายคุณภาพ
b) วัตถุประสงค์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
c) การด่าเนินงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของระบบการบริหารคุณภาพรวมถึงผลที่ได้ของการปรับปรุง
สมรรถนะ
d) ผลที่ตามมาของการด่าเนินการที่ไม่สอดคล้องกับข้อก่าหนดของระบบบริหารคุณภาพ
7.4 การสื่อสาร
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาการสื่อภายใน และสื่อสารภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
บริหารงานคุณภาพ โดยพิจารณา
a) จะสื่อสารอะไรบ้าง
b) จะสื่อสารเมื่อไหร่
c) จะสื่อสารให้ใครบ้าง
d) จะสื่อสารอย่างไร
e) สื่อสารโดยใคร
หน้า 20 / 88
การวางแผนการสื่อสารของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ ากัดมีการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งโดย
คณะกรรมการ ISO หรือทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลง ตามหัวข้อดังต่อไปนี้ดังต่อไปนี้
หัวข้อสื่อสาร เวลาที่ต้อง ผู้รับสาร วิธีการ ผู้รับผิดชอบ
สื่อสาร ภายใน ภายนอก สื่อสาร
นโยบายคุณภาพ ทุกครั้งที่จัดท่า พนักงาน ผู้เกี่ยวข้อง เอกสาร คณะกรรมการISO
หรือทบทวนปีละ ทุกคน ติดประกาศ
1 ครั้ง
หน้าที่ความรับผิดชอบ ทุกครั้งที่จัดท่า พนักงาน - เอกสาร ฝ่ายบริหาร
และอ่านาจ หรือเปลี่ยนแปลง ทุกคน ติดประกาศ ทรัพยากรมนุษย์
วัตถุประสงค์คุณภาพ ทุกครั้งที่จัดท่า พนักงาน - เอกสาร คณะกรรมการISO
หรือทบทวนปีละ ทุกคน ติดประกาศ
1 ครั้ง
สถานะของเอกสาร ทุกครั้งที่มีการ พนักงานที่ - ตราประทับ เจ้าหน้าที่ควบคุม
ควบคุม จัดท่าและแก้ไข เกี่ยวข้อง เอกสาร เอกสารDCC
เอกสาร
ผลการประเมิน ทุกเดือน พนักงานที่ - เอกสารและ คณะกรรมการISO
สมรรถนะของ เกี่ยวข้อง การติด
กระบวนการ (KPIs ประกาศ
Result)
แผนการท่าInter Audit/ ตามแผนตรวจ พนักงาน - เอกสาร เจ้าหน้าที่ควบคุม
ก่าหนดการAudit ประจ่าปี ทุกส่วน เอกสาร
7.5 เอกสารข้อมูล
7.5.1 ทั่วไป
ระบบบริหารงานคุณภาพของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดประกอบด้วย
a) เอกสารข้อมูลที่ก่าหนดโดยมาตรฐานนานาชาติ ISO9001:2015,
b) เอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนินงานให้ประสิทธิผลในระบบบริหารงานคุณภาพของบริษัท
หน้า 21 / 88
7.5.2 การจัดท าและการปรับปรุง
เมื่อมีการจัดท่าและปรับปรุงเอกสารข้อมูลของบริษัท, บริษัทได้
a) มีการชี้บ่ง และค่าอธิบาย (เช่น ชื่อเอกสาร วันที่จัดท่า ผู้จัดท่า หรือหมายเลขเอกสาร)
b) มีการก่าหนดรูปแบบ (เช่นภาษา รุ่นซอฟท์แวร์ รูปภาพ) และสื่อที่ใช้ (เช่นกระดาษ ข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์)
c) มีการทบทวนและอนุมัติ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ
7.5.3 การควบคุมเอกสารข้อมูล
7.5.3.1 เอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นในระบบบริหารจัดการคุณภาพ และมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้ ได้รับการ
ควบคุมเพื่อให้มั่นใจว่า
a) มีเพียงพอและเหมาะสมในการใช้งาน ตามความจ่าเป็นในแต่ละกระบวนการและขั้นตอน
b) ได้รับการป้องกันอย่างเหมาะสม (เช่น เสี่ยงต่อการถูกเปิดเผย, น่าไปใช้อย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน)
7.5.3.2 ส่าหรับการควบคุมเอกสารข้อมูล, บริษัท ได้ด่าเนินกิจกรรมต่อไปนี้
a) มีการแจกจ่าย, การเข้าใช้, การค้นหา และ การน่าไปใช้
b) มีการจัดเก็บและการป้องกัน รวมถึงการดูแลรักษาให้เนื้อหาอ่านได้ง่าย
c) มีควบคุมการเปลี่ยนแปลง (เช่นการระบุฉบับที่ของการแก้ไข)
d) มีการก่าหนดเวลาจัดเก็บ และการท่าลาย
เอกสารข้อมูลภายนอกที่จ่าเป็นส่าหรับการวางแผนและการปฏิบัติของระบบบริหารคุณภาพได้รับการชี้บ่งและ
ควบคุมตามความเหมาะสม เอกสารข้อมูลใช้เป็นหลักฐานที่แสดงถึงความสอดคล้องต้องได้รับการป้องกันจากการ
แก้ไขโดยไม่ตั้งใจ
ตัวอย่างโครงสร้างเอกสารและการก าหนดรหัสเอกสาร ISO9001:2015
1. โครงสร้างของเอกสาร
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบคุณภาพที่จะต้องท่าการควบคุม แบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1 เอกสารระดับที่ 1
2 เอกสารระดับที่ 2
3 เอกสารระดับที่ 3
4 เอกสารระดับที่ 4
เอกสารระดับที่ 1 ได้แก่ คู่มือ (Manual)
เอกสารระดับที่ 2 ได้แก่ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure Manual)
เอกสารระดับที่ 3 ได้แก่ วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction)
เอกสารระดับที่ 4 ได้แก่ แบบฟอร์ม (Form) เอกสารสนับสนุน (Support Document)
หน้า 22 / 88
2. รูปแบบเอกสาร
2.1 คู่มือ (Manual)
เอกสารคู่มือจะเป็นเอกสารที่เขียนถึงนโยบาย โครงสร้างขององค์กร หน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อระบบ
เพื่อให้เป็นไปตามระบบมาตรฐานสากล โดยจะอ้างอิงถึงระเบียบปฏิบัติงานในการจัดท่าคู่มือซึ่งจะท่าการเรียงหัวข้อ
ตามข้อก่าหนดมาตรฐาน
2.2 ระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure Manual)
เอกสารระเบียบปฏิบัติงานจะเป็นเอกสารที่บอกถึงกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบภายในบริษัทท่าให้ทราบว่า
ใครท่าอะไร เมื่อไร ท่าที่ใด เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายที่ก่าหนดไว้ในคู่มือรูปแบบของระเบียบปฏิบัติงานจะเป็น
ดังต่อไปนี้
วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE)
ขอบเขต (SCOPE)
หน้าที่ความรับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES)
เอกสารอ้างอิง (REFERENCE DOCUMENTS)
ค่าจ่ากัดความ (DEFINITIONS)
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (PROCEDURE)
การเก็บบันทึก (CONTROL OF RECORD)
โดยเอกสารดังกล่าวจะมีหน้าปกตามมาตรฐานของบริษัท
2.3 วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction)
เอกสารวิธีปฏิบัติงานเป็นเอกสารที่อธิบายรายละเอียดของงานนั้น ๆ ว่าท่าอย่างไร ซึ่งอาจจะเป็นการ
อธิบายเพิ่มเติมจากระเบียบปฏิบัติงาน รูปแบบของวิธีปฏิบัติงานจะไม่ตายตัวขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้
อาจจะเป็นเอกสารรูปภาพหรือภาพเคลื่อนไหวก็ได้ แต่จะต้องบ่งบอกถึงชื่อ ,รหัสเอกสาร ,วันที่มีผลบังคับใช้ ,
สถานะ การแก้ไข และผู้ทบทวนอนุมัติ เป็นอย่างน้อย
2.4 เอกสารสนับสนุน (Support Document)
แบ่งออกได้ 3 ประเภท ดังนี้
2.4.1 มาตรฐาน/ข้อก่าหนด เป็นมาตรฐานที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุมคุณภาพหรือการปฏิบัติงาน
2.4.2 เอกสารจากภายนอกเป็นเอกสารที่รับมาจากหน่วยงานเกี่ยวข้องหรือแหล่งอื่นๆ ที่จะเข้ามามีส่วน
เกี่ยวข้องกับระบบ เช่น มาตรฐาน ISO กฎหมาย ข้อก่าหนดลูกค้าโดยที่รูปแบบของเอกสารดังกล่าวจะไม่แน่นอน
ตายตัวขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้งานแต่ละประเภท แต่จะต้องชี้บ่งอย่างชัดเจนและมีการควบคุมตามความ
เหมาะสม
2.4.3 แบบฟอร์ม (Form)
แบบฟอร์มเป็นเอกสารที่ใช้ในการบันทึก , เก็บข้อมูล หรือใช้ในการปฏิบัติงานอื่นๆ โดยที่รูปแบบของ
แบบฟอร์มจะไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการใช้งานแต่ละประเภท แต่จะต้องบ่งบอกถึงชื่อของ
แบบฟอร์มนั้น , รหัสเอกสาร , สถานะ การแก้ไข เป็นอย่างน้อย
หน้า 23 / 88
3. การก่าหนดรหัสเอกสาร
เมื่อมีการจัดท่าเอกสารใหม่ พนักงานควบคุมเอกสารจะท่าการก่าหนดรหัสเอกสาร ดังต่อไปนี้
รหัส AA - BB –CC- DD
AA หมายถึง ประเภทของเอกสาร โดยที่จะมีรหัสต่าง ๆ ดังนี้
QM = คู่มือคุณภาพ (Quality Manual)
PM = ระเบียบการปฏิบัติงาน (Procedure Manual)
WI = วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction)
SD = เอกสารสนับสนุน (Supports Document)
FM = แบบฟอร์ม (Form)
BB หมายถึง ชื่อเอกสารแต่ละหน่วยงาน โดยที่จะมีรหัสต่าง ๆ ดังนี้
MR = เอกสารที่ใช้ทั่วไปรับผิดชอบโดยฝ่ายบริหาร (Management)
DC = การควบคุมเอกสาร (Document Control)
OP = ฝ่ายปฏิบัติการ (Operation)
HR = งานบุคคล
MA = งานซ่อมบ่ารุง
PC = งานจัดซื้อ/จัดจ้าง
MK = งานประสนงานขาย
SA = งานความปลอดภัย
CC หมายถึง ล่าดับที่ของเอกสารแต่ละประเภทในแต่ละหน่วยงาน
หมายเหตุ การก่าหนดเอกสารระดับ WI SD FM จะใช้รหัส AA-BBCC-DD
AA หมายถึง ประเภทของเอกสาร
BB หมายถึง ชื่อเอกสารแต่ละหน่วยงาน
CC หมายถึง ล่าดับที่ของเอกสารแต่ละประเภทในแต่ละหน่วยงาน
DD หมายถึง ล่าดับของ WI SD FM ที่เกี่ยวข้อง
เช่น ทะเบียนรายชื่อเอกสาร (FM-DC01-02) เป็นแบบฟอร์มที่อ้างอิงมาจากระเบียบ
ปฏิบัติการควบคุมเอกสารและข้อมูลฉบับที่ 1 เป็นแบบฟอร์มล่าดับที่ 2
การแสดงสถานะของเอกสาร ท่าได้ 2 วิธีดังนี้
1. ระบุไว้ในช่องของการแก้ไขครั้งที่ ในบันทึกการแก้ไขเอกสาร
2. ระบุต่อจากรหัสเอกสาร ดังนี้
Rev XX
Rev = สถานะ การแก้ไขเอกสาร (Revision Number)
XX = ล่าดับครั้งที่มีการแก้ไขเอกสาร โดยเริ่มจาก 00 เมื่อใช้ครั้งแรก
หน้า 24 / 88
8 การปฏิบัติงาน
8.1 การวางแผนและการควบคุม การปฏิบัติงาน
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ด่าเนินการวางแผน, ปฏิบัติ และควบคุม กระบวนการต่างๆ (ดูข้อ 4.4)
ที่จ่าเป็นเพื่อให้บรรลุข้อก่าหนดการจัดเตรียมการบริการ และด่าเนินกิจกรรมที่ถูกระบุไว้ในข้อก่าหนด 6 โดย
a) พิจารณาข้อก่าหนดของการผลิตและการบริการ
b) จัดท่าเกณฑ์ส่าหรับ
1) กระบวนการ
2) การยอมรับการผลิตและการบริการ
c) ก่าหนดทรัพยากรที่จ่าเป็นเพื่อให้บรรลุความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดของการบริการและการบริการ
d) ด่าเนินการควบคุมกระบวนการตามเกณฑ์
e) ก่าหนด, คงไว้และจัดเก็บเอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นตามขอบเขต
1) เชื่อมั่นว่ากระบวนการสามารถด่าเนินการได้ตามแผน
2) แสดงถึงการบริการและการบริการมีความสอดคล้องตามข้อก่าหนด
ผลที่ได้จากการวางแผนมีความเหมาะสมกับการด่าเนินการของ บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ ควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในการวางแผน และทบทวนผลกระทบที่
เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ตั้งใจ, ด่าเนินการเพื่อลดผลกระทบทางลบตามความเหมาะสม
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มั่นใจว่ากระบวนการที่ด่าเนินการโดยผู้ให้การบริการภายนอกได้รับการ
ควบคุมตามระบบบริหารคุณภาพ
8.2 การพิจารณาข้อก าหนดส าหรับการบริการ
8.2.1 การสื่อสารกับลูกค้า
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มีการสื่อสารกับลูกค้ามีดังนี้
a) จัดเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
b) ข้อมูลเพิ่มเติม, สัญญาหรือ ค่าสั่งซื้อ, รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
c) การรับข้อมูลป้อนกลับจากลูกค้า. ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ รวมถึงข้อร้องเรียนจาก ลูกค้า
d) การดูแลทรัพย์สินลูกค้า
e) ข้อก่าหนดเฉพาะกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน, ถ้าเกี่ยวข้อง
8.2.2 การพิจารณาข้อก าหนดที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
เมื่อมีการพิจารณาข้อก่าหนดของการบริการเพื่อน่าเสนอต่อ ลูกค้า บริษัท มั่นใจว่า
a) มีการระบุข้อก่าหนดของการบริการ ประกอบด้วย
1) ข้อก่าหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) ข้อพิจารณาที่จ่าเป็นของบริษัท
b) การด่าเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนในการบริการ ที่ได้มีการเสนอแนะไว้
หน้า 25 / 88
8.2.3 การทบทวนข้อก าหนดที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
8.2.3.1 บริษัท มั่นใจว่ามีความสามารถที่จะส่งมอบการบริการที่เสนอต่อลูกค้าได้ บริษัทได้ทบทวนก่อนที่จะ
ยืนยันการส่งมอบต่อลูกค้าซึ่งรวมถึง
a) ข้อก่าหนดที่ระบุโดย ลูกค้ารวมถึงข้อก่าหนดในการส่งมอบและกิจกรรมหลังส่งมอบ
b) ข้อก่าหนดที่ลูกค้าไม่ได้ระบุ แต่จ่าเป็นต่อการใช้งาน, กรณีที่ทราบ
c) ข้อก่าหนดที่ระบุโดย บริษัท
d) ข้อก่าหนดด้านกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริการ
e) ข้อก่าหนดในสัญญาจ้างหรือค่าสั่งซื้อซึ่งแตกต่างที่ระบุไว้ก่อนหน้า
บริษัทมั่นใจว่าข้อก่าหนดที่เปลี่ยนแปลงในสัญญาจ้างหรือค่าสั่งซื้อได้รับการด่าเนินการแก้ไข
8.2.3.2 บริษัทได้จัดเก็บเอกสารข้อมูลเหล่านี้
a) ผลของการทบทวน
b) ข้อมูลใหม่ของการบริการ
8.2.4 การเปลี่ยนแปลงข้อก าหนดของการบริการ
มีการจัดท่าเอกสารข้อมูลผลการทบทวนข้อก่าหนดการบริการและเหล่านี้ไม่ว่าจะข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่
เปลี่ยนแปลง
เมื่อข้อมูลการบริการมีการเปลี่ยนแปลง บริษัทมั่นใจว่าเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้รับการแก้ไขและพนักงาน
ที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงข้อมูลดังกล่าว
8.3 การออกแบบและการพัฒนาบริการ
ไม่ได้มีการประยุกต์ใช้ เนื่องจาก การให้การให้บริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมีเป็นธุรกิจ
การด่าเนินงานตามสัญญาว่าจ้างที่ลูกค้าเป็นเป็นผู้ก่าหนด จึงไม่มีกิจกรรมการออกแบบและการพัฒนาการให้บริการ
8.4 การควบคุมผู้ให้การบริการภายนอก
8.4.1 ทั่วไป
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มั่นใจว่าสินค้าและการบริการที่ได้รับจากผู้ให้การบริการภายนอก ในกระบวนการ,
ผลิตภัณฑ์และการบริการ มีความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
บริษัท ระบุการควบคุมกับผู้ให้บริการภายนอก ในกระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และการบริการ ในกรณีดังนี้
a) ผลิตภัณฑ์และการบริการ จากผู้ให้การบริการภายนอกที่เป็นส่วนหนึ่งของการบริการ ที่บริษัท ด่าเนินงาน
(อุปกรณ์ / สัญญาณอินเตอร์เนต)
b) ทั้งหมดหรือบางส่วนของกระบวนการด่าเนินการผู้ให้การบริการภายนอกที่บริษัท ได้ตัดสินใจ (ผู้รับเหมา)
ถ้ามี
c) กระบวนการส่งมอบ ข้อมูล โดยผู้ส่งมอบภายนอก (สัญญาณโทรศัพท์)
บริษัท จัดท่าและประยุกต์ใช้เกณฑ์ในการประเมิน, คัดเลือก, เฝ้าติดตามสมรรถนะและประเมินซ้่าของผู้ให้การ
บริการภายนอก โดยอยู่บนพื้นฐานความสามารถของการส่งมอบกระบวนการหรือ ผลิตภัณฑ์และการบริการตาม
หน้า 26 / 88
ข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง บริษัท จัดเก็บเอกสารข้อมูลของกิจกรรมเหล่านี้และการด่าเนินการที่จ่าเป็นจากผลการ
ประเมินที่พบ
8.4.2 ชนิดและขอบเขตของการควบคุม
บริษัท มั่นใจได้ว่าผู้ให้บริการภายนอก จะไม่ส่งผลต่อความสามารถในการส่งมอบให้กับลูกค้า
บริษัทได้
a) มั่นใจว่ากระบวนการของผู้ให้บริการภายนอกอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบบริหารคุณภาพ
b) ระบุทั้งการควบคุมที่ใช้กับผู้ให้บริการภายนอกและใช้กับผลจากการด่าเนินการ
c) พิจารณาถึง
1) แนวโน้มผลกระทบที่อาจจากกระบวนการให้บริการภายนอกต่อความสามารถที่จะกระทบต่อความ
สอดคล้องกับข้อก่าหนดลูกค้าและข้อก่าหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) ประสิทธิผลของการควบคุมที่ด่าเนินการโดยผู้ให้บริการภายนอก
d) พิจารณาการทวนสอบ, หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ให้บริการภายนอกส่งมอบสอดคล้อง
กับข้อก่าหนด
8.4.3 ข้อมูลส าหรับผู้ให้บริการภายนอก
บริษัท มั่นใจว่าข้อก่าหนดก่อนหน้านี้ได้มีการสื่อสารให้ส่าหรับผู้ให้บริการภายนอกเพียงพอ
บริษัท ได้สื่อสารข้อก่าหนดให้กับผู้ให้บริการภายนอกส่าหรับ
a) กระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และการบริการที่จะด่าเนินการให้
b) การอนุมัติส่าหรับ
1) การบริการ
2) วิธีการ, กระบวนการ และอุปกรณ์
3) การตรวจปล่อยการบริการ
c) ความสามารถ รวมทั้งคุณสมบัติที่จ่าเป็น ของบุคลากร
d) การปฏิสัมพันธ์กับการด่าเนินการขององค์กรของผู้ให้การบริการภายนอก
e) การควบคุมและการเฝ้าติดตามสมรรถนะของผู้ให้การบริการภายนอกโดยบริษัท
8.5 การบริการ
8.5.1 ควบคุมการบริการ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้ ด่าเนินการควบคุมการบริการ ให้อยู่ในเงื่อนไขที่ควบคุม
a) ความเพียงพอของเอกสารข้อมูลที่ระบุถึง
1) คุณลักษณะของบริการที่ส่งมอบ หรือกิจกรรมที่ด่าเนินการ
2) ผลที่จะบรรลุ
b) ความเพียงพอและเหมาะสมของทรัพยากร
c) ด่าเนินกิจกรรมการตรวจติดตามในขั้นตอนที่เหมาะสม เพื่อทวนสอบว่าข้อมูลการด่าเนินกิจกรรมเป็นไปตาม
เกณฑ์การควบคุมการบริการ และเกณฑ์การยอมรับการบริการ
หน้า 27 / 88
d) การใช้โครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการด่าเนินกระบวนการ
e) ระบุความสามารถและคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องของบุคลากร
f) ด่าเนินกิจกรรมการรับรอง และการรับรองซ้่าตามช่วงเวลา เพื่อพิจารณาการบรรลุผลตามแผนการบริการ
เมื่อผลการตรวจสอบไม่สามารถทวนสอบได้ในขั้นตอนย่อยของการบริการ
g) ด่าเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดจากบุคลากร (ถ้ามี)
h) มีการด่าเนินกิจกรรมการตรวจติดตาม
ตัวอย่างเอกสารวิธีการคลุมผ้าใบ
หน้า 28 / 88
8.5.2 การชี้บ่งและการสอบกลับ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้เลือกใช้เกณฑ์ที่เหมาะสมในการระบุผลลัพธ์จากกระบวนการ, เมื่อบริษัท
ต้องการความมั่นใจว่าการให้บริการเป็นไปตามข้อก่าหนด
บริษัท ได้ ระบุสถานะของผลลัพธ์ ภายใต้ข้อก่าหนดการตรวจติดตาม
8.5.3 ทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้การบริการภายนอก
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ดูแลทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าในขณะที่อยู่ภายใต้การจัดเก็บในบริษัทหรือ
มีการใช้งาน บริษัทระบุ ทวนสอบ ป้องกัน และดูแลรักษาทรัพย์สินของลูกค้าเพื่อใช้ในการบริการ ถ้าทรัพย์สินใดๆ
ของลูกค้าเกิดการสูญหาย, เสียหาย หรือพบว่าไม่เหมาะสมในการใช้งาน, บริษัทจะด่าเนินการแจ้งลูกค้าให้ทราบ
และจัดท่าเป็นเอกสารข้อมูลไว้
หมายเหตุ ทรัพย์สินของลูกค้าอาจรวมถึงชิ้นส่วนย่อย, เครื่องมือและอุปกรณ์, สถานที่, ทรัพย์สินทางปัญญาและ
ข้อมูลส่วนบุคคล
8.5.4 การดูแลรักษา
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้ ดูแลรักษา ผลจากกระบวนการในขณะด่าเนินการ บริการ ตามขอบเขตที่
จ่าเป็น เพื่อให้มั่นใจว่ายังมีความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
หมายเหตุ การดูแลรักษารวมถึง การชี้บ่ง, การขนย้าย, การบรรจุ, การจัดเก็บ, การส่งผ่าน และการป้องกัน
8.5.5 กิจกรรมหลังการให้บริการ
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ปฏิบัติให้สอดคล้องกับข้อก่าหนดส่าหรับกิจกรรมหลังการให้บริการ ซึ่ง
สัมพันธ์กับการบริการ
ในการพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมหลังการบริการที่เป็นข้อก่าหนดไว้ บริษัท ได้ พิจารณา
a) กฎหมายและข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง
b) แนวโน้มผลกระทบที่เกิดขึ้นซึ่งสัมพันธ์กับการบริการ
c) ข้อก่าหนดของลูกค้า
d) ข้อมูลย้อนกลับจากลูกค้า
หน้า 29 / 88
8.5.6 ควบคุมของการเปลี่ยนแปลง
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ทบทวนและควบคุมการเปลี่ยนแปลงส่าหรับการบริการ ตามขอบเขตที่
จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่ายังมีความสอดคล้องกับข้อก่าหนดอย่างต่อเนื่อง บริษัทได้จัดท่าเอกสารข้อมูลที่อธิบายถึงผล
การทบทวนการเปลี่ยนแปลงบุคคลที่มีอ่านาจหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงและกิจกรรมที่ด่าเนินการที่จ่าเป็นจากผลการ
ทบทวนเหล่านั้น
8.6 การตรวจติดตามการบริการขนส่งรถบรรทุก
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ด่าเนินตามแผนงานที่ก่าหนดไว้ทวนสอบการบริการมีความสอดคล้องกับ
ข้อก่าหนด
บริษัท ได้ ด่าเนินการจัดท่าเอกสารข้อมูลการตรวจปล่อยการบริการเอกสารข้อมูลประกอบด้วย
a) หลักฐานแสดงความสอดคล้องเทียบกับเกณฑ์การยอมรับ
b) การสืบกลับไปยังผู้มีอ่านาจในการตรวจปล่อย
หน้า 30 / 88
หน้า 31 / 88
8.7 การควบคุมผลลัพธ์ ที่ไม่ไปเป็นตามข้อก าหนด
8.7.1 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด มั่นใจว่าผลลัพธ์ที่ไม่สอดคล้องกับข้อก่าหนดได้รับการชี้บ่งและป้องกัน
ไม่ให้น่าไปใช้หรือส่งมอบโดยไม่ได้ตั้งใจ
บริษัท ได้ ด่าเนินการแก้ไขที่เหมาะสมกับลักษณะของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดและผลกระทบของการบริการ
บริษัท ได้ ด่าเนินการกับผลจากกระบวนการที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด สินค้าและการบริการด้วยวิธีการอย่างใดอย่าง
หนึ่งหรือมากกว่าดังนี้
a) การแก้ไข
b) การคัดแยก, จัดเก็บในพื้นที่, ส่งคืน หรือ การหยุดใช้ชั่วคราว ของผลิตภัณฑ์และการบริการ
c) แจ้งให้ลูกค้าทราบ
d) ได้รับการอนุมัติผ่อนผันการใช้งาน
หน้า 32 / 88
เมื่อมีการแก้ไขผลการด่าเนินการ ต้องมีการทวนสอบความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
8.7.2 บริษัท ได้ มีการจัดเก็บเอกสารข้อมูลดังนี้
a) รายละเอียดความไม่สอดคล้อง
b) รายละเอียดการด่าเนินการ
c) รายละเอียดการขอผ่อนผันที่ได้ด่าเนินการ
d) การระบุผู้รับผิดชอบในการตัดสินใจด่าเนินการกับความไม่สอดคล้อง
อ้างอิงเอกสารระเบียบปฏิบัติเรื่องการควบคุมบริการเช่าพื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี PM-OP-01
9 การประเมินสมรรถนะ
9.1 การติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์ และประเมิน
9.1.1 ทั่วไป
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณา
a) จุดที่ส่าคัญในการตรวจติดตามและตรวจวัด
b) วิธีการในการตรวจติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์และประเมินที่จ่าเป็น เพื่อให้มั่นใจถึงผลที่ถูกต้อง
c) ท่าการติดตามและตรวจวัด ตามช่วงเวลาที่ก่าหนด
d) จะท่าการวิเคราะห์และประเมินผลการติดตามและตรวจวัด ตามช่วงเวลาที่ก่าหนด
บริษัท ได้ท่า การประเมินสมรรถนะคุณภาพและประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ
บริษัท ได้ เก็บรักษาเอกสารข้อมูลที่จ่าเป็น ในฐานะหลักฐานของผลจากการด่าเนินการ
9.1.2 ความพึงพอใจลูกค้า
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้เฝ้าติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระดับการรับรู้ของลูกค้าที่ลูกค้าต้องการ
และ ความคาดหวังของลูกค้าได้รับการเติมเต็ม บริษัท ได้ ก่าหนดวิธีการเพื่อที่จะให้ได้ข้อมูลเหล่านี้มาติดตามและ
ทบทวน
9.1.3 การวิเคราะห์และประเมินผล
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ด่าเนินการวิเคราะห์และประเมินผล ข้อมูลและผลที่ได้จากการตรวจ
ติดตามและตรวจวัด ผลที่ได้จากการวิเคราะห์จะน่าไปใช้ประเมิน
a) ความสอดคล้องการบริการและการบริการ
b) ระดับความพึงพอใจลูกค้า
c) สมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบบริหารคุณภาพ
d) ประสิทธิผลของแผนงาน
e) ประสิทธิผลของการด่าเนินการระบุความเสี่ยงและโอกาส
f) สมรรถนะของผู้ให้การบริการภายนอก
g) ความจ่าเป็นในการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพ
หมายเหตุ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงการใช้วิธีทางสถิติ
หน้า 33 / 88
9.2 การตรวจติดตามภายใน
9.2.1 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ด่าเนินการตรวจติดตามภายใน ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มี
ข้อมูลของระบบบริหารคุณภาพ
a) มีความสอดคล้องต่อ
1) ข้อก่าหนดองค์กรส่าหรับระบบบริหารคุณภาพ
2) ข้อก่าหนดมาตรฐานนานาชาติ ISO 9001
b) การปฏิบัติและคงรักษาไว้อย่างมีประสิทธิผล
9.2.2 บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัดได้:
a) วางแผน, จัดท่า, น่าไปปฏิบัติ และคงรักษาไว้ ตารางการตรวจติดตาม รวมถึงความถี่ วิธีการ ผู้รับผิดชอบ
ข้อก่าหนดในการวางแผน และการรายงานซึ่งจะพิจารณาจากวัตถุประสงค์คุณภาพ, ความส่าคัญของกระบวนการที่
เกี่ยวข้อง, การเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อองค์กร และผลการตรวจติดตามครั้งที่ผ่านมา
b) ก่าหนดเกณฑ์การตรวจติดตามและขอบเขตในแต่ละการตรวจติดตาม
c) การเลือกผู้ตรวจติดตามและการตรวจติดตาม ต้องให้มั่นใจว่าตรงตามวัตถุประสงค์และมีความเป็นกลาง
ในขณะตรวจติดตาม
d) มั่นใจว่าผลการตรวจติดตามได้ถูกรายงานไปยังผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
e) ด่าเนินการแก้ไขและปฏิบัติการแก้ไขโดยมิให้ล่าช้า
f) จัดเก็บเอกสารข้อมูลการตรวจติดตามไว้เป็นหลักฐาน เพื่อแสดงการด่าเนินการตรวจติดตามและ แสดง
ถึงผลการตรวจติดตาม
9.3 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
9.3.1 ทั่วไป
ผู้บริหารสูงสุดท่าการทบทวนระบบบริหารคุณภาพขององค์กร ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มั่นใจว่ามี
ความเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง, มีความพอเพียง, มีประสิทธิผล, และมีความสอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ของ บริษัท
ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด
9.3.2 ปัจจัยน าเข้าการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ได้รับการวางแผนและด่าเนินการ โดยค่านึงถึง
a) สถานะของการด่าเนินการจากการทบทวนในครั้งที่ผ่านมา
b) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
c) ข้อมูลสมรรถนะและประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพ รวมถึงแนวโน้มข้อมูลจาก
1) ความพึงพอใจของลูกค้าและข้อมูลตอบกลับจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
2) ขอบเขตที่ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ
3) สมรรถนะของกระบวนการ และ ความสอดคล้องของการบริหารและการบริการ
4) ความไม่สอดคล้องตามข้อก่าหนด และ การปฏิบัติการแก้ไข
5) ผลจากการเฝ้าติดตามและตรวจวัด
หน้า 34 / 88
6) ผลการตรวจติดตาม
7) สมรรถนะของผู้ให้การบริการภายนอก
d) ความเพียงพอของทรัพยากร
e) ประสิทธิผลการด่าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาส
f) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
9.3.3 ปัจจัยน าออกจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ผลจากการทบทวนโดยฝายบริหารต้องรวมถึงการตัดสินใจและการด่าเนินการเกี่ยวกับ
a) โอกาสในการปรับปรุง
b) ความจ่าเป็นในการปรับเปลี่ยนระบบบริหารคุณภาพ
c) ทรัพยากรที่จ่าเป็น
บริษัท ได้คงไว้ซึ่งเอกสารข้อมูลที่แสดงถึงหลักฐานของผลลัพธ์จากการทบทวนฝายบริหาร
10 การปรับปรุง
10.1 ทั่วไป
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้พิจารณาและเลือกโอกาสในการปรับปรุง และด่าเนินกิจกรรมที่จ่าเป็นเพื่อให้
เป็นไปตามข้อก่าหนดลูกค้าและยกระดับความพึงพอใจลูกค้า ซึ่งประกอบด้วย
a) การปรับปรุงการบริหารและการบริการ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และ
ความคาดหวัง
b) การแก้ไข ป้องกัน หรือ ลด ผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์
c) การปรับปรุงสมรรถนะและประสิทธิผล ของระบบบริหารคุณภาพ
10.2 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก าหนดและการปฏิบัติการแก้ไข
10.2.1 เมื่อพบสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด รวมถึงที่เกิดข้อร้องเรียน บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้
a) ตอบสนองต่อสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด ตามความเหมาะสมดังนี้
1) ท่าการควบคุมและแก้ไข
2) ด่าเนินการจัดการกับผลที่ตามมา
b) ประเมินความจ่าเป็นในการปฏิบัติการส่าหรับก่าจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด เพื่อป้องกัน
ไม่ให้เกิดขึ้นซ้่าหรือ เกิดขึ้นในบริเวณอื่นๆ โดย
1) ทบทวนและวิเคราะห์สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
2) พิจารณาสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
3) พิจารณาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่ใกล้เคียงกัน หรือมีโอกาสเกิดขึ้น
c) ด่าเนินการปฏิบัติการตามความจ่าเป็น
d) ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไข
e) ปรับปรุงรายการความเสี่ยงและโอกาสในช่วงการวางแผน ตามความเหมาะสม
f) ปรับเปลี่ยนระบบบริหารคุณภาพ ตามความเหมาะสม
การปฏิบัติการแก้ไขจะต้องเหมาะกับผลกระทบของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
หน้า 35 / 88
10.2.2 บริษัท ได้จัดท่าเอกสารข้อมูลเพื่อแสดงหลักฐานของ
a) สภาพของสิ่งทีไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดและการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง
b) ผลการปฏิบัติการแก้ไขใดๆ
10.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
บริษัท ธุรกิจโลจิสติกส์ไทย จ่ากัด ได้ด่าเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างเหมาะสม, เพียงพอ, และมี
ประสิทธิผลต่อระบบบริหารคุณภาพ
บริษัท ได้พิจารณาผลลัพธ์จากการวิเคราะห์และการประเมิน, และผลจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร, เพื่อพิจารณา
ความจ่าเป็นหรือโอกาส ที่ใช้ระบุเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ตารางสรุปความสัมพันธ์ระหว่างข้อก าหนด เอกสารที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ข้อก าหนด เอกสาร หน่วยงานที่รับผิดชอบ
4.1 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
4.2 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
4.3 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
4.4 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
5.1 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
5.2 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
5.3 QM -01 คู่มือคุณภาพ/JD ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
6.1 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
6.2 PM-MR-01 ความรับผิดชอบด้านการบริหาร ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
6.3 PM-MR-01 ความรับผิดชอบด้านการบริหาร ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
7.1.1 - - ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
7.1.2 PM-HR-01 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
7.1.3 PM-MA-01 การซ่อมบ่ารุง ฝ่ายขนส่ง
7.1.4 PM-SA-01 การบริหารงานอาชีวอนามัยและความ งานความปลอดภัย
ปลอดภัย
PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
7.1.5 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
7.1.6 PM-HR-01 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
7.2 PM-HR-01 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ งานบริหารทรัพยากรมนุษย์
7.3 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า OPERATION
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
7.4 QM -01 คู่มือคุณภาพ ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
7.5 PM-DC-01 การควบคุมเอกสารและข้อมูล งานควบคุมเอกสารข้อมูล
หน้า 36 / 88
ข้อก าหนด เอกสาร หน่วยงานที่รับผิดชอบ
8.1 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า OPERATION
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.2 PM-MK-01 การประสานงานขายงานบริการ งานบริหารงานขาย
8.3 - ไม่มีการประยุกต์ใช้
8.4 PM-PC-01 การควบคุมผู้ให้บริการภายนอกและการ งานจัดซื้อ/จัดจ้าง
จัดซื้อจัดจ้าง
8.5.1 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.5.2 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.5.3 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.5.4 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.5.5 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.5.6 PM-MK-01 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า งานบริหารงานขาย
8.6 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
8.7 PM-OP-01 เรื่องการควบคุมกระบวนการให้บริการเช่า ฝ่ายขนส่ง
พื้นที่วางแทงค์เคมีและขนส่งแทงค์เคมี
9.1 PM-MK-01 กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า งานบริหารงานขาย
PM-MR-01 ความรับผิดชอบด้านการบริหาร ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
9.2 PM-MR-02 การตรวจติดตามคุณภาพภายใน ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
9.3 PM-MR-01 ความรับผิดชอบด้านการบริหาร ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
10.1 - - -
10.2 PM-MR-03 การปฏิบัติการแก้ไข ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
10.3 PM-MR-01 ความรับผิดชอบด้านการบริหาร ฝ่ายบริหาร / ทุกหน่วยงาน
หน้า 37 / 88
บทที่ 3
การประเมินศักยภาพกิจกรรมโลจิสติสก์ด้วยตัวชี้วัด
SCOR Model คือ แบบจ่าลองอ้างอิงการด่าเนินงานในโซ่อุปทาน แนวคิดนี้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงปี 1996 โดย
คณะผู้เชี่ยวชาญด้านซัพพลายเชนและโลจิสติกส์จาก Supply Chain Council (SCC) โดย SCOR Model จะเน้น
ก่าหนดกระบวนการท่างานต่างๆ ให้ดูง่าย และเป็นมาตรฐานเดียวกัน ก่าหนดให้มีโครงสร้างที่ส่าคัญในการผลิตตั้งแต่
ผู้ส่งสินค้าต้นน้่าไปจนถึงลูกค้าที่อยู่ปลายน้่า โดยแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ นอกจากนี้ในแบบจ่าลอง
อ้างอิงการด่าเนินงานยังมีการก่าหนดตัวชี้วัด (Metric) ส่าหรับวัดประสิทธิภาพในแต่ละกระบวนการเพื่อก่าหนดให้
เป็นมาตรฐานเดียวกัน และยังมีการเสนอวิธีการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best Practice) ในแต่ละกระบวนการ เพื่อที่จะ
ให้บริษัทหรือองค์กรสามารถน่าไปประยุกต์ใช้ได้ (Supply-Chain Council, 2004) ทั้งนี้แนวคิด SCOR Model
ประกอบด้วย 6 กระบวนการหลัก ดังนี้
1. Plan เกี่ยวข้องกับการวางแผนต่างๆ
2. Source เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ จัดหา และการขนส่งวัตถุดิบ
3. Make เกี่ยวข้องกับการผลิตและการจัดการคลังสินค้าส่าเร็จรูป
4. Delivery เกี่ยวข้องกับการจัดการในการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า
5. Return เกี่ยวข้องกับส่งวัตถุดิบคืนกลับผู้ขายหรือผู้ส่งมอบ และรับสินค้าคืนจากลูกค้า
6. Enable เกี่ยวข้องกับกระบวนการที่ท่าให้เกิดขึ้นหรือโครงสร้างพื้นฐาน กฏข้อบังคับ และการจัดการ
ข้อมูลสารสนเทศ
แบบจ าลองอ้างอิงการด าเนินงานในโซ่อุปทาน SCOR Model
หน้า 38 / 88
- กิจกรรมด้านโลจิสติกส์ 9 กิจกรรมหลักและค่าอธิบาย ดังตารางที่1
- การจ่าแนกประสิทธิภาพของ 9 กิจกรรมโลจิสติกส์ซึ่งมีตัวชี้วัดเป็น 3 มิติ คือ มิติด้านต้นทุน มิติด้านเวลา และมิติ
ด้านความน่าเชื่อถือ ดังตารางที่2
- การค่านวณประสิทธิภาพของ 9 กิจกรรมโลจิสติกส์ในทั้ง 3 มิติ รวมเป็นประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ 27
ตัวชี้วัด ดังตารางที่3
ทั้งนี้ ตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ 27 ตัวชี้วัด จาก 9 กิจกรรมหลักใน 3 มิตินั้นสามารถแสดงถึง
ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นจากแนวโน้ม ดังนี้
1. มิติด้านต้นทุน ตัวชี้วัดแสดงประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อการลงทุนลดลง
2. มิติด้านเวลา ตัวชี้วัดแสดงประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อระยะเวลาลดลง
3. มิติด้านความน่าเชื่อถือ ตัวชี้วัดแสดงประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อร้อยละความน่าเชื่อถือ หรือมีความแม่นย่า
เพิ่มขึ้น
ตารางที่1 กิจกรรมหลักด้านโลจิสติกส์และค่าอธิบาย
ล าดับที่ กิจกรรมโลจิสติกส์ ค าอธิบาย ผู้รับผิดชอบ
1 การให้บริการแก่ลูกค้าและ เกี่ยวข้องด้านการตลาดโดยเน้นให้ความส่าคัญกับ ฝ่ายการตลาด
กิจกรรมสนับสนุน (Customer ลูกค้าเป็นหลัก รวมถึง การจัดเก็บ การรวบรวม
service and support service) และการจัดการกิจกรรมทุกๆ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
ลูกค้า ด้วยการน่าเสนอสินค้าที่ถูกต้องให้กับลูกค้า ใน
จ่านวน และสภาพที่สมบูรณ์ สินค้าไม่เสียหาย
ภายใต้เงื่อนไขด้านเวลาและสถานที่ โดยยึดหลัก
ต้นทุนต่่าที่สุด
2 การจัดซื้อจัดหา (Sourcing) เป็นการจัดซื้อวัตถุดิบหรือบริการจากภายนอก เพื่อ ฝ่ายจัดซื้อ
น่ามาใช้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ภายในบริษัทนั้น
ตั้งแต่การผลิต การตลาด การขาย จนถึงโลจิสติกส์
ทั้งนี้ในการจัดหาแหล่งวัตถุดิบรวมหมายถึงการ
บ ริ ห า ร เ ส บี ย ง ห รื อ วั ต ถุ ดิ บ ( Supply
Management) หรือชื่ออื่นๆ ที่รวมกิจกรรมการ
เลือกผู้จ่าหน่ายวัตถุดิบ การต่อรองราคา และ
การควบคุมคุณภาพของผู้จ่าหน่ายวัตถุดิบเข้าไว้
ด้วยกัน
3 การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และ กระบวนการสั่งซื้อเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการ ผู้จัดการ
กระบวนการสั่งซื้อ (Logistics สั่งซื้อวัตถุดิบจากซัพพลายเออร์ การตรวจสอบ โรงงาน
communication and order สถานะของค่า สั่งซื้อ การสื่อสารกับซัพพลายเออร์ หรือ ฝ่าย IT
processing) รวมถึงการจัดหาวัตถุดิบเพื่อสามารถตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า
4 การขนส่ง (Transportation) เป็นกิจกรรมหลักที่มีความส่าคัญ ส่าหรับระบบ ฝ่ายขนส่ง
โลจิสติกส์ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและสินค้า หรือ ฝ่าย
จากจุดการผลิตไปถึงจุดที่เกิดการบริโภค รวมถึงจุด คลังสินค้า
หน้า 39 / 88
ล าดับที่ กิจกรรมโลจิสติกส์ ค าอธิบาย ผู้รับผิดชอบ
ที่ใช้ก่าจัดวัตถุดิบ และสินค้าด้วย โดยที่การขนส่ง
จะเป็นเรื่องของการเลือกรูปแบบของการขนส่ง ทั้ง
ทางอากาศ ทางรถไฟ ทางเรือ หรือทางถนน การ
หาเส้นทางการขนส่งและกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ
ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
5 การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและ การเลือกท่าเลที่ตั้งของโรงงานหรือคลังสินค้าเป็นการ ผู้จัดการ
การจัดการคลังสินค้า (Facilities ตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ที่จะส่งผลกระทบ ตั้งแต่ต้นทุนค่า โรงงาน
site selection, warehousing, ขนส่ง ระดับการให้บริการลูกค้าและความรวดเร็ว
and storage) ในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
6 การวางแผนหรือการคาดการณ์ การวางแผน หรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า ฝ่ายการตลาด
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ลู ก ค้ า มีความหลากหลายการคาดการณ์ด้านการตลาดที่
( Demand forecasting and อาศัยข้อมูลการส่งเสริมการขายราคา คู่แข่งและ
planning) ปัจจัยอื่นๆ ช่วยในการพยากรณ์การคาดการณ์ด้าน
การผลิตจะอาศัยข้อมูลด้านยอดขายการตลาดและ
ระดับของสินค้าคงคลัง ซึ่งด้านโลจิสติกส์ก็มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการพยากรณ์ด้วย โดยเป็นการค่านวณหา
จ่านวนวัตถุดิบที่ต้องสั่งซื้อจากผู้จ่าหน่าย จ่านวน
สินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วและต้องท่าการจัดส่ง เพื่อที่จะ
สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดได้อย่าง
เพียงพอ ซึ่งในบางองค์กรโลจิสติกส์จะรวมถึงการวาง
แผนการผลิตด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า โลจิ
สติกส์มีความเกี่ยวข้องกับ การพยากรณ์ทั้งด้านการ
ผลิตและการตลาด
7 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory เป็นงานที่เกี่ยวกับการจัดการสินค้าคงคลังด้วยการ ฝ่ายคลังสินค้า
management) รักษาระดับสินค้าไว้ให้พอเพียงกับความต้องการของ
ลูกค้า รวมถึงการจัดการต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคง
คลัง ซึ่งประกอบด้วยเงินทุนที่จมอยู่ในสินค้าคงคลัง
ต้นทุนการเก็บรักษาและต้นทุนสินค้าล้าสมัย
(Obsolete) ต้นทุนเหล่านี้จะมีสัดส่วนอยู่ระหว่าง
ร้อยละ 14–50 ของมูลค่าสินค้าคงคลังทั้งหมด
ดังนั้นการบริหารสินค้าคงคลังจึงเป็นลักษณะของ
การบริหารต้นทุนการเก็บรักษาและจ่านวนสินค้า
คงคลัง
8 การจัดการเครื่องมือขนย้ายและ เป็นงานเกี่ยวกับการคัดเลือกเครื่องจักรและ ฝ่ายคลังสินค้า
การบรรจุหีบห่อ (Material อุปกรณ์ในการท่างาน การรับสินค้าที่สั่งซื้อรวมถึง
handling and packaging) การวางนโยบายในการซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน
เครื่องจักรเก่า ส่วนการบรรจุหีบห่อจะเป็นทั้งการ
โฆษณาตามหลักการตลาดหรือการป้องกันหรือ
หน้า 40 / 88
ล าดับที่ กิจกรรมโลจิสติกส์ ค าอธิบาย ผู้รับผิดชอบ
ห่อหุ้มตัวสินค้าก็ได้ รวมถึงการเก็บรักษาสินค้าตาม
หลักการด้านโลจิสติกส์ ในส่วนของการตลาดจะเห็น
ได้ว่าการบรรจุหีบห่อนั้นสามารถน่าเสนอข้อความที่
ส่าคัญเพื่อแจ้งให้ลูกค้ารับทราบ สร้างความ
สวยงามของการบรรจุหีบห่อ และช่วยดึงดูดความ
สนใจของลูกค้าให้หันมามองสินค้าได้ ส่าหรับโลจิสติกส์
การบรรจุหีบห่อถือเป็นเครื่องปกป้องตัวสินค้าจาก
ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการขนส่ง และมี
การเปลี่ยนรูปแบบในการขนส่ง
9 โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse เป็นโลจิสติกส์ที่เกี่ยวข้องกับการก่าจัดของเสียที่เกิด ฝ่ายขนส่ง
logistics) จากกระบวนการผลิต การกระจายสินค้า หรือการ หรือฝ่าย
บรรจุหีบห่อ ซึ่งรูปแบบของกระบวนการจะเริ่มจากการ คลังสินค้า
รวบรวม จัดเก็บ และขนส่งของเสียไปยังจุดที่ท่า ลาย
ทิ้ง มีการน่ากลับมาใช้ใหม่ การน่ากลับมาผลิตใหม่
และการรับคืนสินค้าจากลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นกรณี
ของสินค้าช่ารุดเสียหาย ซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่
ที่มา : ปรับปรุงจาก
1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ ส่านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2550) คู่มือ
วินิจฉัยความสามารถทางด้านโลจิสจิกส์ของผู้ประกอบการธุรกิจ โครงการภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและเอกชน (ส.อ.ท.) SMEs Projects
2. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2553), รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการ
ศูนย์บริการข้อมูลโลจิสติกส์ (Logistics Service Information Center : LSIC)
หน้า 41 / 88
ตารางที� 2 การวัดประสิทธิภาพดานโลจิสติกส 9 กิจกรรม 27 ตัวชี�ว ัด
ตัวชี้วัด
ล าดับที่ กิจกรรมโลจิสติกส์ ตัวชี้วัดด้านต้นทุน ตัวชี้วัดด้านเวลา
ด้านความน่าเชื่อถือ
1 การให้บริการแก่ลูกค้าและ - ต้นทุนการให้บริการ - ระยะเวลาเฉลี่ยการ - อัตราความสามารถการจัดส่ง
กิจกรรมสนับสนุน ลูกค้า (Customer ตอบสนองค่าสั่งซื้อจากลูกค้า สินค้า (DIFOT CS and
(Customer service and Service Cost) (Average Order Cycle Support Rate)
support service) Time)
2 การจัดซื้อจัดหา - การซื้อจัดหา - ระยะเวลาเฉลี่ยการ - อัตราความสามารถในการ
(Sourcing) (Procurement Cost) จัดซื้อ (Average จัดส่งสินค้าของผู้ผลิต (Supplier
Procurement Cycle In Full and On-Time Rate)
Time)
3 การสื่อสารด้าน โลจิสติกส์ - มูลค่าการลงทุน - ระยะเวลาเฉลี่ยการส่ง - อัตราความแม่นย่าของใบสั่ง
และกระบวนการสั่งซื้อ เกี่ยวกับการติดตั้ง ค่าสั่งซื้อภายในองค์กร งาน (Order Accuracy Rate)
(Logistics communication ระบบการสื่อสารภายใน (Average Order
and order processing) องค์กร (Information Processing Cycle Time)
Processing Cost)
4 การขนส่ง - ต้นทุนการขนส่ง - ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดส่ง - อัตราความสามารถในการ
(Transportation) (Transportation สินค้า (Average Delivery จัดส่งสินค้าของแผนกขนส่ง
Cost) Cycle Time) (DIFOT Rate (Transportation) )
5 การเลือกสถานที่ตั้งของ - ต้นทุนการบริหาร - ระยะเวลาเฉลี่ยสินค้า - อัตราความแม่นย่าของสินค้า
โรงงานและการจัดการ คลังสินค้า ส่าเร็จรูปในคลังสินค้า คงคลัง (Inventory Accuracy
คลังสินค้า (Warehousing Cost) (Average Inventory Cycle Rate)
(Facilities site selection, Time)
warehousing, and storage)
6 การวางแผนหรือการ - ต้นทุนการพยากรณ์ - ระยะเวลาเฉลี่ยการ - อัตราความแม่นย่าการ
คาดการณ์ความต้องการ ความต้องการของ พยากรณ์ความต้องการ พยากรณ์ความต้องการของ
ของลูกค้า ลูกค้า (Forecasting ของลูกค้า (Average ลูกค้า (Forecast Accuracy
(Demand forecasting Cost) Forecast Period) Rate)
and planning)
7 การบริหารสินค้าคงคลัง - ต้นทุนการถือครอง - ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บ - อัตราจ่านวนสินค้าส่าเร็จรูป
(Inventory management) สินค้า (Inventory สินค้าส่าเร็จรูปอย่าง ขาดมือ (Inventory Out of
Carrying Cost) เพียงพอเพื่อตอบ Stock Rate)
สนองความต้องการของ
ลูกค้า (Average
Inventory Day)
8 การจัดการเครื่องมือขน - มูลค่าสินค้าที่เสียหาย - ระยะเวลาเฉลี่ยการถือ - อัตราความเสียหายของสินค้า
ย้ายและการบรรจุหีบห่อ (Damaged Value ครองและการบรรจุภัณฑ์ (Damage Rate)
(Material handling and Cost) สินค้า (Average Material
packaging) Handling and
Packaging)
9 โลจิสติกส์ย้อนกลับ มูลค่าสินค้าที่ถูกตี ระยะเวลาเฉลี่ยการรับ อัตราการถูกตีกลับของสินค้า
(Reverse logistics) กลับ (Returned สินค้าคืนจากลูกค้า (Rate of Returned Goods)
หน้า 42 / 88
ตัวชี้วัด
ล าดับที่ กิจกรรมโลจิสติกส์ ตัวชี้วัดด้านต้นทุน ตัวชี้วัดด้านเวลา
ด้านความน่าเชื่อถือ
Goods (Average Cycle Time
Value) for Customer Return)
ที่มา : ปรับปรุงจาก
1. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ ส่านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (2550) คู่มือวินิจฉัย
ความสามารถทางด้านโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการธุรกิจ โครงการภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ
เอกชน (ส.อ.ท.) SMEs Projects
2. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2553), รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการ
ศูนย์บริการข้อมูลโลจิสติกส์ (Logistics Service Information Center : LSIC)
หน้า 43 / 88
ตารางที่3 การค่านวณประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์ 27 ตัวชี้วัด จาก 9 กิจกรรมหลักใน 3 มิติ
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
1 การให้บริการแก่ลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน (Customer service and support service)
สัดส่วนต้นทุนการให้บริการลูกค้าต่อมูลค่ายอดขาย (Ratio of Customer Service Cost Per Sale)
สัดส่วนต้นทุนการให้บริการลูกค้าต่อมูลค่ายอดขาย = ต้นทุนการให้บริการลูกค้าต่อมูลค่า
ยอดขายต่อปี
1.1 ต้นทุน ค่าใช้จ่ายการให้บริการลูกค้าได้แก่ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ของแผนกการตลาด หรือแผนกขาย เช่น
เงินเดือนพนักงานฝ่ายบริการลูกค้า ค่าล่วงเวลา เป็นต้น รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการบริการ หลังการขาย
และกิจกรรมสนับสนุนต่างๆ แต่ไม่รวมค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการตอบสนองค่าสั่งซื้อจากลูกค้า (Average Order Cycle Time)
ระยะเวลาเฉลี่ยการตอบสนองค่าสั่งซื้อจากลูกค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยนับตั้งแต่บริษัทยืนยัน
รับค่าสั่งซื้อจากลูกค้า ผลิต จนกระทั่งบริษัทท่าการส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า
1.2 เวลา ระยะเวลาในการตอบสนองค่าสั่งซื้อจากลูกค้า โดยนับตั้งแต่บริษัทยืนยันรับค่าสั่งซื้อจากลูกค้า
ผลิต จนกระทั่งส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้า
ประมาณ…………………..วัน
ประมาณ …………………..ชั่วโมง
อัตราความสามารถการจัดส่งสินค้า (DIFOT CS and Support Rate)
DIFOT Rate (CS and Support) = ร้อยละของการจัดส่งครบตามจ่านวน x ร้อยละของการ
1.3 ความ
น่าเชื่อ จัดส่งตรงตามเวลา
ถือ ความสามารถในการจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าครบจ่านวนและตรงเวลาตามที่ได้ตกลงกันไว้
การจัดส่งครบตามจ่านวน คิดเป็นร้อยละ………….
การจัดส่งตรงตามเวลา คิดเป็นร้อยละ………….
2 การจัดซื้อจัดหา (Sourcing)
สัดส่วนการซื้อจัดหาต่อมูลค่ายอดขาย (Ratio of Procurement Cost Per Sale)
สัดส่วนต้นทุนการจัดซื้อจัดหาต่อมูลค่ายอดขาย = ต้นทุนการจัดซื้อจัดหาต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
2.1 ต้นทุน ค่าใช้จ่ายการจัดซื้อจัดหา ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายของพนักงานแผนกจัดซื้อ เช่น เงินเดือน
ค่าล่วงเวลา ค่าน้่ามัน เป็นต้น (2) ค่าโสหุ้ยส่าหรับการด่าเนินการจัดซื้อ เช่น ค่าใช้จ่าย ในการ
ติดต่อสื่อสาร เป็นต้น
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดซื้อ (Average Procurement Cycle Time)
ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดซื้อ = ระยะเวลาเฉลี่ยนับตั้งแต่บริษัทได้รับการยืนยันรับค่าสั่งซื้อวัตถุดิบ
2.2 เวลา
หรือสินค้าจาก Supplier จนกระทั่ง Supplier ได้ท่าการส่งมอบวัตถุดิบหรือสินค้าที่สั่งซื้อ
ดังกล่าวให้กับบริษัท
หน้า 44 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
ระยะเวลาในการจัดซื้อวัตถุดิบหรือสินค้าโดยนับตั้งแต่บริษัทได้รับการยืนยันรับค่าสั่งซื้อจาก
Supplier จนกระทั่ง Supplier ส่งมอบวัตถุดิบหรือสินค้าให้กับบริษัท
ประมาณ…………………..เดือน…………………………วัน …………………..ชั่วโมง
อัตราความสามารถในการจัดส่งสินค้าของผู้ผลิต (Supplier In Full and On-Time Rate)
Supplier IFOT Rate = ร้อยละของการจัดส่งเต็มจ่านวนจากผู้ผลิต x ร้อยละของการจัดส่ง
2.3 ความ ตรงตามเวลาของผู้ผลิต
น่าเชื่อ ความสามารถของผู้ผลิต (Supplier)ในการตอบสนองค่าสั่งซื้อของบริษัทตามที่ได้ตกลงกันไว้
ถือ โดยมีการส่งสินค้าครบตามจ่านวนและตรงเวลา
การจัดส่งครบตามจ่านวนจาก Supplier คิดเป็นร้อยละ………….
การจัดส่งตรงตามเวลาจาก Supplier คิดเป็นร้อยละ………….
3 การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และกระบวนการสั่งซื้อ (Logistics communication and order
processing)
สัดส่วนมูลค่าการลงทุนเกี่ยวกับการติดตั้งระบบการสื่อสารภายในองค์กรต่อมูลค่ายอดขาย
(Ratio of Information Processing Cost Per Sale)
ระบบการสื่อสารภายในองค์กรต่อมูลค่ายอดขาย = มูลค่าการลงทุนเกี่ยวกับการติดตั้งระบบการ
3.1 ต้นทุน สื่อสารภายในองค์กรต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
ค่าใช้จ่ายด้านการสื่อสารภายในสถานประกอบการเช่น ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
Printer, Fax
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการส่งค่าสั่งซื้อภายในองค์กร (Average Order Processing Cycle Time)
ระยะเวลาเฉลี่ยการส่งค่าสั่งซื้อภายในองค์กร = ระยะเวลาเฉลี่ยนับตั้งแต่ฝ่ายการตลาดได้รับยืนยัน
ค่าสั่งซื้อจากลูกค้าจนกระทั่งฝ่ายการตลาดได้ส่งข้อมูลค่าสั่งซื้อไปยังแผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ภายในองค์กร
3.2 เวลา
ระยะเวลาเฉลี่ยที่ฝ่ายการตลาด ใช้ในการแจ้งแผนกต่างๆ ภายในองค์กรให้รับทราบข้อมูล
การสั่งซื้อ โดยนับตั้งแตระยะเวลาที่ฝ่ายการตลาดได้รับการสั่งซื้อจากลูกค้า
ประมาณ…………………..วัน
ประมาณ …………………..ชั่วโมง
อัตราความแม่นย่าของใบสั่งงาน (Order Accuracy Rate)
Order Accuracy Rate = 1 - จ่านวนใบสั่งงานที่ผิดพลาดจ่านวนใบสั่งงานทั้งหมด
3.3 ความ
น่าเชื่อถือ ใบสั่งงาน (Order) จากฝ่ายขาย หรือฝ่ายการตลาดที่ถูกส่งไปยังแผนกอื่นๆ แล้วเกิดความ
ผิดพลาด เช่น จ่านวนสินค้าที่สั่งซื้อ วัน/เวลาที่ต้องจัดส่งสินค้า หรืออื่นๆ
ประมาณร้อยละ…………………
4 การขนส่ง (Transportation)
4.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขาย (Ratio of Transportation Cost Per Sale)
หน้า 45 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขาย = ต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายในแผนกขนส่งของบริษัท (กรณีด่าเนินการเอง)
ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายของพนักงานแผนกขนส่ง เช่น เงินเดือน ค่าแรงงาน ค่าล่วงเวลา ค่าน้่ามัน
รถ เป็นต้น ค่าเสื่อมราคาของรถต่อปี ต้นทุนการบ่ารุงรักษารถต่อปี และต้นทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
การกับแผนกขนส่ง (2) ค่าใช้จ่ายที่บริษัทว่าจ้างผู้ให้บริการขนส่งภายนอกเป็นผู้ด่าเนินการ
ขนส่งสินค้า (Outsource) ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายในการขนส่งวัตถุดิบมายังโรงงานและ ค่าใช้จ่าย
ในการขนส่งสินค้าไปยังลูกค้า (ในกรณีส่งออก คิดเพียงท่าเรือ หรือท่าอากาศยาน)
กรณีด่าเนินการเอง ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
กรณี Outsource ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดส่งสินค้า (Average Delivery Cycle Time)
ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดส่งสินค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยนับตั้งแต่การจัดส่งสินค้าขึ้นรถ และท่า
การขนส่งสินค้าไปยังสถานที่ของลูกค้า จนกระทั่งลูกค้าได้รับสินค้า
4.2 เวลา
ระยะเวลาในการจัดส่งสินค้าให้กับลูกค้าโดยนับตั้งแต่การจัดส่งสินค้าขึ้นรถ และขนส่งสินค้า
ไปยังสถานที่ของลูกค้า จนกระทั่งลูกค้าได้รับสินค้า
ประมาณ…………………..วัน …………………..ชั่วโมง
อัตราความสามารถในการจัดส่งสินค้าของแผนกขนส่ง (DIFOT Rate (Transportation) )
DIFOT Rate (Transportation) = ร้อยละของการจัดส่งเต็มจ่านวนของแผนกขนส่ง x ร้อย
ละของการจัดส่งตรงตามเวลาของแผนกขนส่ง
4.3 ความ
น่าเชื่อถือ ความสามารถในการจัดส่งสินค้าของแผนกขนส่ง ได้ตามสภาพ ครบตามจ่านวนและตรงเวลา
ตามที่ได้มีการตกลงกันไว้
การจัดส่งครบตามจ่านวนของแผนกขนส่ง คิดเป็นร้อยละ………….
การจัดส่งตรงตามเวลาของแผนกขนส่ง คิดเป็นร้อยละ………….
5 การเลือกสถานที่ตั้งของสถานประกอบการและคลังสินค้า (Facilities site selection, warehousing,
and storage)
สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Warehousing Cost Per Sale)
สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อยอดขาย = ต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อมูลค่า
ยอดขายต่อปี
ค่าใช้จ่ายการบริหารคลังสินค้า ได้แก่ (1) ค่าใช้จ่ายของพนักงานแผนกคลังสินค้า ได้แก่ เงินเดือน
ค่าแรงงาน ค่าล่วงเวลา ค่าน้่ามัน เป็นต้น (2) ต้นทุนคงที่ในการบริหารคลังสินค้า ได้แก่ ค่า
5.1 ต้นทุน ประภัยภัยคลังสินค้าต่อปี ค่าเสื่อมราคาของคลังสินค้าต่อปี (3) ต้นทุนในการใช้บริการ
คลังสินค้าภายนอก เช่น ค่าเช่าพื้นที่ เป็นต้น
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
หน้า 46 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
ระยะเวลาเฉลี่ยสินค้าส่าเร็จรูปในคลังสินค้า (Average Inventory Cycle Time)
ระยะเวลาเฉลี่ยสินค้าส่าเร็จรูปในคลังสินค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยที่สินค้าส่าเร็จรูปอยู่ใน
คลังสินค้าโดยเริ่มนับเวลาตั้งแต่สินค้าส่าเร็จรูปถูกจัดเก็บในคลังสินค้าจนกระทั่งสินค้า
ส่าเร็จรูปดังกล่าวถูกเบิกออกจากคลังสินค้าเพื่อจัดส่งไปให้กับลูก
5.2 เวลา
ระยะเวลาเฉลี่ยที่สินค้าส่าเร็จรูปอยู่ในคลังสินค้าโดยเริ่มนับเวลาตั้งแต่สินค้าส่าเร็จรูปถูก
จัดเก็บในคลังสินค้า จนกระทั่งสินค้าส่าเร็จรูปดังกล่าวถูกเบิกออกจากคลังสินค้าเพื่อจัดส่งไป
ให้กับลูกค้า
ประมาณ…………………..เดือน…………………………วัน …………………..ชั่วโมง
อัตราความแม่นย่าของสินค้าคงคลัง (Inventory Accuracy Rate)
Inventory Accuracy Rate = 100 – [(สินค้าคงคลังที่ได้บันทึกไว้ - จ่านวนสินค้าคงคลังที่
5.3 ความ ได้จากการนับจริง) / จ่านวนสินค้าคงคลังที่ได้จากการนับจริง] X 100
น่าเชื่อถือ สัดส่วนของจ่านวนสินค้าคงคลังที่มีอยู่จริงต่อจ่านวนสินค้าในบัญชีที่บันทึกไว้
สินค้าที่มีอยู่จริงมีมากกว่าที่บันทึกไว้ ประมาณร้อยละ………………... หรือ
สินค้าที่มีอยู่จริงมีน้อยว่าที่บันทึกไว้ ประมาณร้อยละ………………...
6 การวางแผนหรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า (Demand forecasting and planning)
สัดส่วนต้นทุนการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าต่อยอดขาย (Ratio of Forecasting
Cost Per Sale)
สัดส่วนต้นทุนการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้าต่อยอดขาย = ต้นทุนการพยากรณ์ความ
ต้องการของลูกค้าต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
6.1 ต้นทุน
ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า ได้แก่ เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานที่
เกี่ยวข้องกับการพยากรณ์หรือคาดการความต้องการของลูกค้า คูณกับระยะเวลาที่พนักงานที่
เกี่ยวข้องใช้ในการพยากรณ์
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า (Average Forecast Period)
เป็นดัชนีที่ท่าให้ทราบถึงช่วงเวลาส่วนใหญ่ที่บริษัทใช้ในการพยากรณ์ความต้องการของ
ลูกค้า แต่ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับลักษณะการประกอบธุรกิจของแต่ละบริษัท
6.2เวลา
ช่วงเวลาส่วนใหญ่ที่บริษัทใช้ในการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า
ประมาณ…………………..วัน
ประมาณ …………………..ชั่วโมง
อัตราความแม่นย่าการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า (Forecast Accuracy Rate)
Forecast Accuracy Rate = สัดส่วนปริมาณสินค้าที่ลูกค้าสั่งซื้อจริง ต่อ ปริมาณสินค้าที่
6.3 ความ
น่าเชื่อถือ บริษัทได้พยากรณ์ตามความต้องการของลูกค้า
ความแม่นย่าในการพยากรณ์ความต้องการของลูกค้า โดยค่านวณจากสัดส่วนของปริมาณ
การสั่งซื้อสินค้าจริง กับปริมาณสินค้าที่ได้พยากรณ์ไว้
หน้า 47 / 88