กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
ประมาณร้อยละ…………………
7 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory management)
สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย (Ratio of Inventory Carrying Cost Per
Sale)
สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย = ต้นทุนการถือครองสินค้าต่อมูลค่ายอดขาย
ต่อปี
7.1 ต้นทุน
ต้นทุนค่าเสียโอกาสในการถือครองสินค้า ณ ช่วงเวลาที่บริษัทได้ท่าการจัดเก็บสินค้าไว้ใน
คลังสินค้าของบริษัท รวมทั้งต้นทุนในการถือครองสินค้าอื่นๆ เช่น ค่าประกันภัยสินค้า
ค่าเสื่อมราคาของสินค้า ณ ช่วงเวลาที่จัดเก็บสินค้า เป็นต้น
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บสินค้าส่าเร็จรูปอย่างเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า
(Average Inventory Day)
ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บสินค้าส่าเร็จรูปไว้อย่างเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยที่บริษัทท่าการส่ารองหรือจัดเก็บสินค้าส่าเร็จรูปมีปริมาณเพียงพอ
7.2 เวลา
ต่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ระยะเวลาเฉลี่ยที่บริษัทท่าการส่ารองหรือจัดเก็บสินค้าส่าเร็จรูปมีปริมาณเพียงพอต่อการ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ประมาณ…………………..วัน
อัตราจ่านวนสินค้าส่าเร็จรูปขาดมือ (Inventory Out of Stock Rate)
Inventory Out of Stock Rate = จ่านวนครั้งของการขาดสินค้าส่าเร็จรูปในคลัง ในการส่ง
7.3 ความ มอบให้แก่ลูกค้า x 100% จ่านวนค่าสั่งซื้อทั้งหมด
น่าเชื่อ ถือ ความถี่หรือจ่านวนครั้งที่บริษัทไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าได้อันเนื่องมาจากสินค้า
ส่าเร็จรูปมีไม่เพียงพอ ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการบริหารสินค้าส่าเร็จรูปของบริษัท
ประมาณร้อยละ…………………..ของจ่านวนค่าสั่งซื้อ (Order)
8 การจัดการเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ และการบรรจุหีบห่อ (Material handling and packaging)
สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่เสียหายต่อยอดขาย (Ratio of Value Damaged Per Sale)
สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่เสียหายต่อยอดขาย = มูลค่าสินค้าที่เสียหายนับตั้งแต่ผลิตเสร็จ
จนกระทั่งก่อนการจัดส่งต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
8.1ต้นทุน
มูลค่าของสินค้าที่เกิดการเสียหายนับตั้งแต่กระบวนการผลิตเสร็จสิ้นการจัดเก็บ จนกระทั่ง
ก่อนการจัดส่งสินค้า
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการถือครองและการบรรจุภัณฑ์สินค้า (Average Material Handling and
8.2 เวลา
Packaging)
หน้า 48 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด
ระยะเวลาเฉลี่ยการถือครองสินค้าและการเตรียมส่งสินค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยการถือครอง
สินค้าและการเตรียมส่งสินค้าโดยเริ่มนับเวลาตั้งแต่เสร็จสิ้นกระบวนการผลิตการจัดเก็บ
จนถึงการจัดเตรียมสินค้าเพื่อส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า
ระยะเวลาเฉลี่ยการถือครองสินค้าและการเตรียมส่งสินค้าโดยเริ่มนับเวลาตั้งแต่เสร็จสิ้น
กระบวนการผลิต การจัดเก็บ ตลอดจนการจัดเตรียมสินค้าเพื่อส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้า
ประมาณ…………………..เดือน…………………………วัน …………………..ชั่วโมง
อัตราความเสียหายของสินค้า (Damage Rate)
Damage Rate = จ่านวนค่าสั่งซื้อที่พบว่าเกิดความเสียหายต่อสินค้า x 100% จ่านวนค่าสั่ง
8.3 ความ ซื้อทั้งหมด
น่าเชื่อ ถือ อัตราความเสียหายที่เกิดกับสินค้านับตั้งแต่ผลิตเสร็จ จัดเก็บจนกระทั่งการจัดเตรียมสินค้า
เพื่อจัดส่ง โดยคิดตามจ่านวนครั้งที่เกิดความเสียหาย
ประมาณร้อยละ………………...ต่อจ่านวนค่าสั่งซื้อ
9 โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse logistics)
สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่ถูกตีกลับต่อยอดขาย (Ratio of Returned Goods Value Per Sale)
สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่เสียหายต่อยอดขาย = มูลค่าสินค้าที่ถูกตีกลับต่อมูลค่ายอดขายต่อปี
9.1ต้นทุน
มูลค่าของสินค้าที่ถูกตีกลับมาจากลูกค้า อันเนื่องมาจากความเสียหายของสินค้า หรือสินค้า
ผลิตไม่ได้ตามมาตรฐานที่ก่าหนด
ประมาณร้อยละ………………...ต่อมูลค่ายอดขาย/ต่อปี
ระยะเวลาเฉลี่ยการรับสินค้าคืนจากลูกค้า (Average Cycle Time for Customer Return)
ระยะเวลาเฉลี่ยการรับสินค้าคืนจากลูกค้า = ระยะเวลาเฉลี่ยที่บริษัทท่าการรับคืนสินค้าจาก
ลูกค้าโดยเริ่มนับระยะเวลาตั้งแต่ลูกค้าแจ้งให้บริษัทท่าการรับสินค้าคืน จนกระทั่งบริษัทท่า
9.2 เวลา การรับสินค้าคืนหรือได้รับสินค้าคืนกลับมายังบริษัท
ระยะเวลาเฉลี่ยในการรับคืนสินค้าจากลูกค้าโดยเริ่มนับระยะเวลาตั้งแต่ลูกค้าแจ้งให้บริษัท
ท่าการรับสินค้าคืน จนกระทั่งบริษัทท่าการรับสินค้าคืนหรือได้รับสินค้าคืนกลับมายังบริษัท
ประมาณ…………………………วัน …………………..ชั่วโมง
อัตราการถูกตีกลับของสินค้า (Rate of Returned Goods)
9.3 ความ Rate of Returned Goods = จ่านวนครั้งของการถูกตีกลับของสินค้า x 100% จ่านวนครั้ง
น่าเชื่อ ถือ ของการจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้า
สัดส่วนการถูกตีกลับของสินค้าจากลูกค้า หลังจากได้ท่าการจัดส่งสินค้าเรียบร้อยแล้ว
ประมาณร้อยละ………………...ต่อจ่านวนการส่งสินค้า
หน้า 49 / 88
ที่มา : ปรับปรุงจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ ส่านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
(2550). คู่มือวินิจฉัยความสามารถทางด้านโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการธุรกิจ โครงการภายใต้กรอบความร่วมมือ
ระหว่างภาครัฐและเอกชน (ส.อ.ท.) SMEs Projects
ตัวอย่างการใช้แบบฟอร์มประเมินตัวชี้วัดโลจิสติกส์
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด หน่วย การประเมินผล
1 การให้บริการแก่ลูกค้าและกิจกรรมสนับสนุน (Customer service
and support service)
1.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการให้บริการลูกค้าต่อมูลค่า %ต้นทุนบริการ/
ยอดขาย (Ratio of Customer Service Cost ยอดขาย
Per Sale) ประมาณ
1.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการตอบสนองค่าสั่งซื้อจาก วัน
ลูกค้า (Average Order Cycle Time)
1.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความสามารถการจัดส่งสินค้า (DIFOT %
CS and Support Rate) = ร้อยละของการ
จัดส่งครบตามจ่านวน x ร้อยละของการจัดส่ง
ตรงตามเวลา
2 การจัดซื้อจัดหา (Sourcing)
2.1 ต้นทุน สัดส่วนการซื้อจัดหาต่อมูลค่ายอดขาย (Ratio % ต้นทุนจัดหา/
of Procurement Cost Per Sale) ยอดขาย
2.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดซื้อ (Average วัน
Procurement Cycle Time)
2.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความสามารถในการจัดส่งสินค้าของ %
ผู้ผลิต (Supplier In Full and On-Time
Rate) = ร้อยละของการจัดส่งเต็มจ่านวนจาก
ผู้ผลิต x ร้อยละของการจัดส่งตรงตามเวลา
ของผู้ผลิต
3 การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และกระบวนการสั่งซื้อ (Logistics
communication and order processing)
3.1 ต้นทุน สัดส่วนมูลค่าการลงทุนเกี่ยวกับการติดตั้ง %การลงทุน
ระบบการสื่อสารภายในองค์กรต่อมูลค่า สื่อสาร/ยอดขาย
ยอดขาย (Ratio of Information Processing
Cost Per Sale)
3.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการส่งค่าสั่งซื้อภายในองค์กร วัน
(Average Order Processing Cycle Time)
3.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความแม่นย่าของใบสั่งงาน (Order %
Accuracy Rate) = 1 – จ่านวนใบสั่งงานที่
ผิดพลาดจ่านวนใบสั่งงานทั้งหมด
หน้า 50 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด หน่วย การประเมินผล
4 การขนส่ง (Transportation)
4.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการขนส่งต่อมูลค่ายอดขาย % ต้นทุนการ
(Ratio of Transportation Cost Per Sale) ขนส่ง/ยอดขาย
4.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการจัดส่งสินค้า (Average วัน
Delivery Cycle Time)
4.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความสามารถในการจัดส่งสินค้าของ
แผนกขนส่ง (DIFOT Rate (Transportation)
5 การเลือกสถานที่ตั้งของโรงงานและคลังสินค้า (Facilities site
selection, warehousing, and storage)
5.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการบริหารคลังสินค้าต่อ % ต้นทุนบริหาร
ยอดขาย (Ratio of Warehousing Cost Per คลัง/ยอดขาย
Sale)
5.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยสินค้าส่าเร็จรูปในคลังสินค้า วัน
(Average Inventory Cycle Time)
5.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความแม่นย่าของสินค้าคงคลัง %
(Inventory Accuracy Rate)
6 การวางแผนหรือการคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า (Demand
forecasting and planning)
6.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการพยากรณ์ความต้องการของ %ต้นทุนพยากรณ์
ลูกค้าต่อยอดขาย (Ratio of Forecasting ต่อยอดขาย
Cost Per Sale)
6.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการพยากรณ์ความต้องการ วัน
ของลูกค้า (Average Forecast Period)
6.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความแม่นย่าการพยากรณ์ความต้องการ %
ของลูกค้า (Forecast Accuracy Rate)
7 การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory management)
7.1 ต้นทุน สัดส่วนต้นทุนการถือครองสินค้าต่อยอดขาย %ต้นทุนการถือ
(Ratio of Inventory Carrying Cost Per ครองต่อยอดขาย
Sale)
7.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการเก็บสินค้าส่าเร็จรูปอย่าง วัน
เพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้า (Average Inventory Day)
7.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราจ่านวนสินค้าส่าเร็จรูปขาดมือ %
(Inventory Out of Stock Rate)
8 การจัดการเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ และการบรรจุหีบห่อ (Material
handling and packaging)
8.1 ต้นทุน สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่เสียหายต่อยอดขาย %สินค้าเสียหาย/
(Ratio of Value Damaged Per Sale) ยอดขาย
หน้า 51 / 88
กิจกรรม รายละเอียดตัวชี้วัด หน่วย การประเมินผล
8.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการถือครองและการบรรจุ วัน
ภัณฑ์สินค้า (Average Material Handling
and Packaging)
8.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราความเสียหายของสินค้า (Damage %ค่าสั่งซื้อ
Rate) เสียหาย/ยอดขาย
9 โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse logistics)
9.1 ต้นทุน สัดส่วนมูลค่าสินค้าที่ถูกตีกลับต่อยอดขาย %สินค้าตีกลับ/
(Ratio of Returned Goods Value Per ยอดขาย
Sale)
9.2 เวลา ระยะเวลาเฉลี่ยการรับสินค้าคืนจากลูกค้า วัน
(Average Cycle Time for Customer
Return)
9.3 ความน่าเชื่อถือ อัตราการถูกตีกลับของสินค้า (Rate of %ถูกตีกลับ
Returned Goods)
หน้า 52 / 88
บทที่ 4
แนวโน้มและการประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับธุรกิจบริการ
โลจิสติกส์ในอนาคต
แนวโน้มเทคโนโลยีโลจิสติกส์ที่น่าจับตามองในปี 2019 คงปฏิเสธไม่ได้ว่าในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีส่วน
ร่วมกับธุรกิจทุกประเภท ทุกอุตสาหกรรม รวมถึงห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ตั้งแต่มีการปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่
เพื่อให้เข้ากับยุคดิจิตัล โลจิสติกส์ (Logistics) ซึ่งก็คือระบบการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการให้ไปถึงมือผู้บริโภคก็มี
การเปลี่ยนแปลงไปมากเช่นกัน เพราะโลจิสติกส์เปรียบเสมือนเป็นพื้นฐานและฟันเฟืองขับเคลื่อนของทุก
อุตสาหกรรม โดยเหตุผลหลักที่ต้องน่า Information Technology (IT) เข้ามาใช้ในธุรกิจบริการโลจิสติกส์ คือ
1. โลจิสติกส์ต้องการความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นย่า
2. ระบบโลจิสติกส์ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันตลอดเวลา
3. สารสนเทศที่ถูกต้องและทันเวลาจะช่วยกิจการลดระดับสินค้าคงคลังได้
4. IT จะช่วยเรื่องการปรับเส้นทางและตารางเวลาขนส่งให้เหมาะสม
5. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการแก่ลูกค้า
6. สามารถช่วยลดค่าแรงงานในการบริหารโลจิสติกส์ได้
7. ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์จากปริมาตรในคลังสินค้าได้
8. โลจิสติกส์ต้องการความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้องแม่นย่า
9. ระบบโลจิสติกส์ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันตลอดเวลา
10. สารสนเทศที่ถูกต้องและทันเวลาจะช่วยกิจการลดระดับสินค้าคงคลังได้
11. IT จะช่วยเรื่องการปรับเส้นทางและตารางเวลาขนส่งให้เหมาะสม
12. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการแก่ลูกค้า
13. สามารถช่วยลดค่าแรงงานในการบริหารโลจิสติกส์ได้
14. ช่วยเพิ่มอัตราการใช้ประโยชน์จากปริมาตรในคลังสินค้าได้
แนวโน้มเทคโนโลยีโลจิสติกส์ในอนาคต มีรายละเอียดดังนี้
1. INTERNET OF THINGS (IoT) อินเทอร์เน็ตของทุกสิ่ง
2. BIG DATA ANALYTICS การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่พื่อการตัดสินใจ
3. ARTIFICIAL INTELLIGENCE (AI) ปัญญาประดิษฐ์
4. ROBOTICS หุ่นยนต์
5. AUTONOMOUS VEHICLES ยานพาหนะไร้คนขับ
6. DRONE อากาศยานไร้คนขับ
7. 5G NETWORK เครือข่ายการเชื่อมต่ออัจฉริยะ
8. BLOCKCHAIN ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์
9. GREY LOGISTICS โลจิสติกส์เพื่อสังคมสูงวัย
หน้า 53 / 88
1. อินเทอร์เน็ตของทุกสิ่ง (INTERNET OF THINGS: IoT)
IoT เชื่อมต่ออุปกรณ์และเครื่องมือเข้ากับอินเทอร์เน็ตและอาศัยการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันในการ
ด่าเนินการ ในกระบวนการโลจิสติกส์ ผู้ให้บริการโลจิสติกส์สามารถใช้ข้อมูลจากการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่างๆ มาสร้าง
ฐานข้อมูลเชิงลึกส่าหรับการวิเคราะห์และวางแผนการด่าเนินการที่จะน่าไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการแก้ปัญหา
ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการขนส่งสินค้า
การใช้งาน IoT ในกระบวนการโลจิสติกส์ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องจากสามารถท่าให้ค่าใช้จ่าย
โดยรวมลดลง เพิ่มความปลอดภัย มีความแม่นย่า และได้มาตรฐาน ซึ่งการพัฒนาเครือข่าย IoT ระยะต่อไปจะมี
ต้นทุนค่าอุปกรณ์ที่ลดลงอย่างต่อเนื่องท่าให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์มีโอกาสน่า IoT มาปรับใช้ในการด่าเนินธุรกิจใหม่ ๆ
ได้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น
การตรวจสอบการขนส่งและสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้อง ด้วยการเก็บข้อมูลการเคลื่อนไหวของสินค้า
ระบบจะสามารถรายงานสถานการณ์จัดส่งสินค้าให้กับผู้ประกอบการในการวางแผนเส้นทางการขนส่ง
การจัดการพนักงาน ต่าแหน่งการจัดเก็บสินค้าในคลังสินค้าผ่านระบบ Radio Frequency Identification
(RFID) และ Global Positioning System (GPS)
การเพิ่มความโปร่งใสของคลังสินค้า โดยการติดแท็กข้อมูลในสินค้าแต่ละพาเลท (Pallet) และสามารถส่ง
ข้อมูลสภาพและต่าแหน่งปัจจุบัน ท่าให้มองเห็นภาพรวมวิเคราะห์ปรับปรุงวางแผนการบริหารจัดการ และ
ควบคุมดูแลสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มความสะดวกและความปลอดภัยของ
พนักงานในการปฏิบัติงาน ในคลังสินค้าได้ดียิ่งขึ้น
การขนส่งอัจฉริยะ สามารถเพิ่มความคุ้มค่าในการขนส่ง โดยรถบรรทุกอัจฉริยะที่เป็นนวัตกรรมใหม่ ที่เริ่ม
น่ามาใช้ ในรถบรรทุก อาทิระบบ Telematics ให้สามารถรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการเดินทางวางแผน
เส้นทางและเวลาขนส่ง ให้มีความยืดหยุ่น ซึ่งจะท่าให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์
เพิ่มความโปร่งใสและความน่าเชื่อถือของการขนส่ง
ประสิทธิภาพในการด่าเนินงานที่ มากขึ้นและลดต้นทุน
ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการเพิ่มความปลอดภัยในการด่าเนินงาน
ลูกค้าสามารถก่าหนดรูปแบบ วิธีการจัดส่งได้เองอย่างยืดหยุ่น
2. การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่พื่อการตัดสินใจ (Big Data Analytics)
ระบบ Big Data Analytics สามารถช่วยเพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิต เพิ่มความเข้าใจในความต้องการ ของ
ลูกค้าจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ลดความเสี่ยงและสร้างรูปแบบธุรกิจใหม่ ๆ ในการด่าเนินกระบวนการด้าน
โลจิสติกส์ที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างมหาศาล
Big Data จะเป็นศูนย์รวมหลักของข้อมูลที่จะมีบทบาทในการสร้างให้เห็นภาพรวมสถานการณ์ในปัจจุบัน ส่าหรับ
น่าไปวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับรูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูลใหม่ ๆ และแนวโน้มการด่าเนินงาน
ต่าง ๆ และใช้ประกอบในการตัดสินใจให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้น Big Data ไม่ได้เป็นเพียงข้อมูลที่มีขนาดใหญ่
หน้า 54 / 88
แต่สิ่งที่เป็นหัวใจส่าหรับการประยุกต์ใช้ Big Data นั้นคือต้องสามารถน่าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการค้นหาโอกาสทาง
ธุรกิจใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้หลากหลายกว่าการใช้ข้อมูลปกติโดยทั่วไป
การเลือกเส้นทางการขนส่งที่เหมาะสม จากข้อมูลสถานการณ์ สภาพอากาศ การจราจร และปัจจัยอื่นๆ ที่
ได้เชื่อมโยงมายังระบบฐานข้อมูลท่าให้เกิดการบริหารจัดการ การขนส่งสินค้าไปยังปลายทางในลักษณะ
แบบเวลาจริง (Real-time) ที่มีประสิทธิภาพสูง ผ่านการวิเคราะห์จากความสัมพันธ์ของข้อมูล ซึ่งท่าให้
สามารถก่าหนดระยะเวลาการขนส่งได้อย่างแม่นย่าและการบรรจุสินค้าเข้าสู่พาหนะขนส่งได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
การประมาณการที่แม่นย า กระบวนการโลจิสติกส์ที่ครอบคลุมตลอดห่วงโซ่อุปทานจ่าเป็นต้องอาศัยการ
คาดการณ์ก่าลังการผลิตและแรงงานผ่านการวิเคราะห์จากระบบข้อมูล Big data สามารถช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการวางแผนและการใช้ทรัพยากร รวมทั้งสามารถลดต้นทุนที่ไม่จ่าเป็นในห่วงโซ่อุปทานได้
การบริหารจัดการความเสี่ยงของโซ่อุปทาน โดยการประเมินสภาพปัจจุบันด้วยข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อลดความ
เสี่ยงด้วยการตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมินผลจากข้อมูลที่เชื่อมโยง ตลอดจนมีระบบแจ้งเตือนเหตุการณ์
ต่าง ๆ ระหว่างกระบวนการขนส่ง อันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด อาทิ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ความแออัด
ของปลายทางที่จะไปส่ง เช่น ท่าเรือ ด่านศุลกากร เป็นต้น
ประโยชน์
มองเห็นภาพรวมและสามารถควบคุมกระบวนการตลอดโซ่อุปทาน
โอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ ที่ให้บริการผ่านการเชื่อมต่อข้อมูล
ความพึงพอใจของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น
3. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI)
ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เป็นเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนวิธีการด่าเนินธุรกิจการให้บริการด้านโลจิสติกส์ ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า สนับสนุนระบบอัตโนมัติให้สามารถคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต โดย AI เป็น
ศาสตร์แห่งการสร้างและฝึกเครื่องจักรให้สามารถท่าสิ่งต่าง ๆ ที่เกินขีดความสามารถของมนุษย์ สามารถเรียนรู้ ได้
ด้วยตัวเองด้วยเทคนิค Machine Learning และ Deep Learning ท่าให้สามารถวางแผนคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ด้วย
เหตุและผลจนสามารถตอบโต้การสนทนาได้เป็นอย่างดีดังที่เห็นในโปรแกรม ChatBot ที่ใช้อย่างแพร่หลายในการ
ติดต่อกับลูกค้า และ AlphaGo ระบบปัญญาประดิษฐ์ที่พัฒนาโดย Google DeepMind ที่สามารถเอาชนะมนุษย์
มือโปรในการแข่งขันหมากล้อมเป็นครั้งแรกของโลก ซึ่งนับเป็นก้าวส่าคัญในการปรับใช้ AI กับกระบวนการที่ซับซ้อน
มากขึ้น โดยในอนาคตระบบ AI จะมีความสามารถและความเชี่ยวชาญในลักษณะเดียวกับมนุษย์ ตลอดจนจะช่วยให้
ผู้ประกอบการปรับการด่าเนินธุรกิจเชิงรุกและสามารถคาดการณ์ความเปลี่ยนแปลงในห่วงโซ่อุปทานได้ โดยที่ IoT
จะเป็นสิ่งส่าคัญที่จะส่งต่อข้อมูลให้ระบบ AI ซึ่งในปัจจุบันมีประสิทธิภาพ การเข้าถึงและค่าใช้จ่ายมีทิศทางที่เอื้อต่อ
การใช้ระบบ AI มากขึ้นด้วยประสิทธิภาพที่สูงขึ้นของระบบข้อมูลขนาดใหญ่และระบบอัลกอริทึม การเชื่อมต่อบน
Cloud ที่แพร่หลาย และพลังการประมวลผลที่สูงขึ้น มีตัวอย่างการใช้งาน ดังนี้
หน้า 55 / 88
ยกระดับการให้บริการลูกค้า ข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานของผู้บริโภคจะช่วยให้ระบบ AI สามารถเรียนรู้
ความชอบของลูกค้าแต่ละรายได้ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยสร้างความพอใจและเพิ่มยอดขายให้บริษัท โดยมีการ
น่ามาปรับใช้อย่างแพร่หลายในแพลตฟอร์ม E-Commerce และการโฆษณาสินค้าออนไลน์
การเพิ่มประสิทธิภาพการท างานของส านักงาน การน่าระบบ AI มาใช้เป็นโอกาสที่ส่าคัญในการปรับปรุง
การท่างานภายใน อาทิ การบัญชี การเงินทรัพยากรบุคคลและระบบไอที โดยที่ระบบ AI จะช่วยงานที่ส่าคัญ
ของส่านักงานได้ เช่น การสร้างที่อยู่ของลูกค้าโดยอัตโนมัติจากข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงล่าสุด เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการจัดส่งสินค้า
ปรับกระบวนการท างานด้วยหุ่นยนต์ ระบบ AI มีความสามารถจดจ่าการเห็นภาพบริบท การพูด การคิด
ในกระบวนการท่างานและน่ามาวิเคราะห์ และสั่งการได้อย่างรวดเร็วด้วยขีดความสามารถของระบบ จึง
สามารถลดกระบวนการท่างานที่ใช้แรงงานสูงได้ เช่น การจัดเรียงวัสดุ การจัดการและการตรวจสอบสินค้า
ประโยชน์
สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันผ่านการตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลและสามารถคาดการณ์ได้จากระบบ AI
ลดต้นทุนด้วยกระบวนการที่มีประสิทธิภาพสูง
เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าผ่านการปรับการให้บริการโดยใช้ระบบ AI
4. หุ่นยนต์ (ROBOTICS)
การพัฒนาระบบอัตโนมัติโดยการน่าหุ่นยนต์เข้ามาช่วยด่าเนินงานในกระบวนการโลจิสติกส์ได้รับการยอมรับ ใน
วงกว้างมากขึ้น เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่รวดเร็วประกอบกับการยินยอมที่จะจ่ายในราคาที่สูงขึ้นเพื่อ
ยกระดับการบริการ ท่าให้การใช้หุ่นยนต์ในกระบวนการท่างานจึงมีความส่าคัญที่จะเป็นช่องทางท่าให้ธุรกิจเติบโตขึ้น
ในอนาคตอันใกล้
Robotics คือระบบจักรกลที่มีรูปแบบการท่างานทั้งในลักษณะที่ถูกควบคุมโดยมนุษย์และการใช้ระบบ AI ใน
การควบคุมและสั่งการ หรืออาจจะใช้ทั้งสองระบบควบคู่กัน Robotics เหล่านี้ มีความสามารถในการด่าเนินการใน
หลายระดับตั้งแต่กระบวนการพื้นฐานที่ท่าประจ่าทดแทนแรงงานมนุษย์ จนกระทั่งงานที่มีความซับซ้อนหลาย
ขั้นตอน สามารถปรับตัวได้ตามสภาพแวดล้อมและวิเคราะห์และการตัดสินใจได้โดยไม่ต้องมีการควบคุมจากมนุษย์
เช่น การใช้หุ่นยนต์ในคลังสินค้า รถยนต์ที่เป็นอิสระหรือรถยนต์ที่ไร้คนขับ มีรายละเอียดดังนี้
รองรับการเปลี่ยนแปลงของตลาด การเติบโตของตลาด E-Commerce ท่าให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ต้องมี
การด่าเนินธุรกิจที่เร็วขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น เริ่มตั้งแต่การประมวลผลค่าสั่งซื้อของแต่ละบุคคลจนถึง
การน่าส่งสินค้าถึงมือลูกค้า ดังนั้น การท่างานด้วยการน่าหุ่นยนต์เข้ามาช่วยจะท่าให้เกิดความรวดเร็วและมี
ความยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคลังเก็บสินค้าระบบอัตโนมัติที่
ต้องการความถูกต้องแม่นย่าจึงจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของธุรกิจได้มากขึ้นอย่างชัดเจน
การพัฒนาสู่คลังสินค้าอัตโนมัติ การใช้หุ่นยนต์ (Warehouse robot) จัดการกิจกรรมต่าง ๆ ของคลังสินค้า
เช่น การจัดเรียงสินค้าบนพาเลท (Pallet) การเคลื่อนย้ายสินค้าขึ้น/ลงจากรถบรรทุก การบรรจุหีบห่อ และ
การควบคุมระบบต่าง ๆ จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากร ให้เหมาะสมกับอุปสงค์
ของลูกค้าในขณะนั้น สามารถเคลื่อนย้ายหุ่นยนต์ให้ไปช่วยในโรงงานที่มีความต้องการสูงกว่าได้ ซึ่ง
หน้า 56 / 88
อุตสาหกรรมยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในการปรับใช้คลังสินค้าอัตโนมัติในการเก็บชิ้นส่วน
ยานยนต์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงการบริหารจัดการเบิกอุปกรณ์ส่งไปประกอบรถยนต์และการขนส่ง
รถยนต์ที่ประกอบเสร็จแล้วสู่ลูกค้า โดยจะเป็นอุตสาหกรรมที่น่าระบบหุ่นยนต์เต็มรูปแบบเข้ามาใช้มากขึ้น
ในอนาคต
ประโยชน์
เพิ่มความรวดเร็วและความยืดหยุ่นในการตอบสนองความต้องการของตลาด
ท่าให้แรงงานมีสุขภาพและความปลอดภัยที่ดีขึ้น
เปิดโอกาสให้แรงงานทักษะเฉพาะได้พัฒนาทักษะอย่างเต็มศักยภาพ
5. ยานพาหนะไร้คนขับ (Autonomous Vehicles)
การพัฒนายานพาหนะไร้คนขับมีแนวโน้มใกล้จะส่าเร็จจากการพัฒนาของเทคโนโลยี AI และระบบเซ็นเซอร์
ซึ่งมีบทบาทส่าคัญในการพลิกโฉมรูปแบบการขนส่งตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน เพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงาน แก้ปัญหา
การขาดแคลนแรงงาน ตลอดจนยกระดับความปลอดภัยในการขนส่งสินค้า
Autonomous Vehicles หรือยานพาหนะไร้คนขับเป็นเทคโนโลยีหุ่นยนต์ขั้นสูง (Advance Robotics)
ปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ส่วนใหญ่จะถูกใช้งานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บ ยกขน และคัดแยกในคลังสินค้าเป็น
หลักในรูปแบบของ Automated Guided Vehicle (AGV) ซึ่งแนวโน้มการพัฒนาในขั้นต่อไปคือ การปรับใช้
ยานพาหนะไร้คนขับในการขนส่งสินค้า แต่ยังคงติดอุปสรรคในเชิงกฎหมายและการยอมรับของสังคมในด้านความ
ปลอดภัย มีตัวอย่างดังนี้
Self-Driving Truck เป็นนวัตกรรมทางโลจิสติกส์ที่จะกลายเป็นสิ่งจ่าเป็นส่าหรับการขนส่งสินค้าและ
ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในอนาคต ซึ่งบริษัทยักษ์ใหญ่ ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ได้แก่ Scania Daimler Volvo
บริษัทยานยนต์เกิดใหม่อย่าง Tesla และบริษัทเทคโนโลยีที่เร่งพัฒนาเทคโนโลยีรถบรรทุกไร้คนขับให้
สามารถใช้งานได้จริง
Platooning ส่าหรับในยุโรปได้มีการทดลองใช้ขบวนรถบรรทุกไร้คนขับที่มีคนขับรถน่าขบวนวิ่งข้าม
ประเทศรูปแบบคล้ายกับการเดินแถวของทหาร โดยเชื่อมต่อกันผ่านเทคโนโลยี 5G โดยรถน่าสามารถออก
ค่าสั่งไปยังรถในขบวนให้ปฏิบัติตามหากพบสิ่งผิดปกติ นอกจากนี้ยังมีระบบ Senor Fusion ที่เป็นเรดาร์
และกล้องติดตั้งกับตัวรถเพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมระหว่างการขนส่งได้มากกว่าสายตาและการรับรู้ของ
มนุษย์ พร้อมระบบ AI ในรถที่สามารถพัฒนาให้ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นผ่าน การเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม
เทคโนโลยีขบวนรถบรรทุกไร้คนขับนี้เหมาะกับการวิ่งบนทางเฉพาะส่าหรับรถบรรทุกหรือถนนหลวงที่
การจราจรไม่พลุกพล่านมากกว่าการวิ่งในเมือง
ประโยชน์
ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนที่มีสาเหตุจากความผิดพลาดของมนุษย์
แก้ปัญหาการขาดแคลนพนักงานขับรถบรรทุกได้
ลดต้นทุนด้านพลังงานและแรงงาน พร้อมทั้งเพิ่มความน่าเชื่อถือในการบริการตลอด 24 ชั่วโมง
หน้า 57 / 88
6. อากาศยานไร้คนขับ (Drone)
Drone จะเข้ามาช่วยในการจัดส่งแบบถึงมือผู้รับ (Last Mile Delivery) พร้อมทั้งสามารถใช้ในการ
ตรวจสอบคลังสินค้า ได้อย่างรวดเร็ว ลดข้อจ่ากัดด้านพื้นที่การจัดส่งสินค้าและต้นทุนการขนส่งในระยะยาวเมื่อ
เปรียบเทียบกับการจัดส่งด้วยรถบรรทุก
Drone เป็นพาหนะที่ท่างานอัตโนมัติหรือสามารถควบคุมการท่างานได้จากระยะไกลซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เริ่ม
ถูกน่ามาใช้อย่างแพร่หลาย การใช้งานของโดรนไม่ได้จ่ากัดอยู่ในด้านบันเทิงและสันทนาการเท่านั้น แต่ยังได้รับการ
พัฒนาให้สามารถใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น ด้านการเกษตรเพื่อหว่านเม็ดพันธุ์ ฉีดพ่นปุ๋ยและสารเคมี
อุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์นับเป็นอุตสาหกรรมกลุ่มแรกที่ได้น่าเทคโนโลยีโดรนเข้ามาเพิ่มศักยภาพและ
ประสิทธิภาพในการขนส่งสินค้า ซึ่งจะพลิกโฉมการขนส่งสินค้าให้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น มีตัวอย่างดังนี้
Last-mile Delivery การใช้โดรนจัดส่งสินค้าทางอากาศมีต้นทุนต่่ากว่าและจัดส่งสินค้าได้รวดเร็วกว่าการ
จัดส่งสินค้าทางถนน รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีโดรน จะช่วยผู้ประกอบการสามารถแก้ปัญหาขาด
แคลนแรงงานภาคขนส่ง พร้อมปรับภาคธุรกิจให้เน้นการขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมากขึ้น
บริษัท DHL เป็นบริษัทหนึ่งที่ได้ท่าการพัฒนาโดรนส่งสินค้า โดยผู้ใช้บริการวางสินค้าที่ต้องการส่งไว้ที่ DHL
Sky Port ซึ่งเป็นจุดที่โดรนจะรับและส่งสินค้าท่าการขึ้นบินและลงจอดอัตโนมัติ ทั้งนี้ได้ทดสอบการส่งสินค้า
ในพื้นที่ที่เป็นภูเขา มีสภาพหนาวเย็น และมีหิมะ โดยใช้เวลาเพียง 8 นาทีในการส่งสินค้าถึงจุดหมาย เร็ว
กว่าการจัดส่งโดยรถยนต์ในระยะ ทางเดียวกันที่ใช้เวลาถึง 30 นาที
ประเทศจีนคือผู้น า ประเทศจีนนับว่าเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอากาศยานไร้คนขับมาก
ที่สุดโดยมีบริษัทที่เกี่ยวข้องกับโดรนกว่า 2,000 บริษัท ทั้งเป็นผู้ผลิตโดรนและผลิตชิ้นส่วนและอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้อง ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดทั่วโลกกว่าร้อยละ 70 ทั้งนี้บริษัท e-Commerce ของจีนทั้ง JD
Group และ Alibaba ได้ท่าการวิจัยและพัฒนาโดรน รวมถึงเริ่มแข่งขันกันด้วยการขนส่งสินค้าด้วยโดรนใน
พื้นที่ห่างไกล
ประโยชน์
เพิ่มประสิทธิภาพและความยืดหยุ่นในการจัดส่งสินค้า
ลดความเสี่ยงจากอุบัติเหตุในพื้นที่อันตราย
ช่วยในการตรวจสอบลาดตระเวนคลังสินค้าและเส้นทางการขนส่ง
7. เครือข่ายการเชื่อมต่ออัจฉริยะ (5G Network)
เครือข่าย 5G จะเข้ามาช่วยให้อุปกรณ์ IoT เพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมต่อกันอย่างทั่วถึงผ่าน LPWAN
และดาวเทียมวงโคจรขนาดต่่า ช่วยสนับสนุนการจัดส่งสินค้าและการตรวจสอบย้อนกลับที่สมบูรณ์และเป็นรูปธรรม
มากขึ้น
5G เป็นเทคโนโลยีด้านการสื่อสารยุคใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นต่อยอดจากระบบ 4G โดยเฉพาะด้านประสิทธิภาพ
การใช้พลังงานและความเร็วในการส่งข้อมูล สามารถลดต้นทุนและเพิ่มความแม่นย่าในการติดตามและตรวจสอบ
สถานะของพัสดุการขนส่ง ซึ่งระบบ 5G จะท่าให้การเชื่อมต่อ 1 ล้านอุปกรณ์ IoT ต่อกิโลเมตรเป็นไปได้ ช่วยส่งเสริม
เทคโนโลยีที่ต้องใช้ข้อมูลแบบ Real-time มีตัวอย่างดังนี้
หน้า 58 / 88
Low-Power Wide Area Network (LPWAN) คือการสื่อสารไร้สายแบบวงกว้างที่ใช้พลังงานต่่า
ออกแบบเพื่อใช้สื่อสารระหว่างเครื่องจักร (M2M) และ IoT มีจุดเด่นในเรื่องของการประหยัดพลังงานในการ
สื่อสาร ในระยะไกลขึ้น โดยมีค่าใช้จ่ายที่ต่่ากว่าการใช้เครือข่ายมือถืออีกด้วย ปัจจุบันความต้องการใช้
LPWAN มีเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะกับ IoT ประเภทที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเป็น
ส่วนประกอบของแอพพลิเคชั่นเชิงพาณิชย์และการบริหารเมืองที่ต้องมีการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์เชื่อมต่อ
เป็นจ่านวนมาก เพิ่มความสามารถในการตรวจสอบย้อนกลับและความโปร่งใส
ดาวเทียมวงโคจรต่ า (Low Orbit Satellites) ถือเป็นโครงข่ายหลักในการสร้างความครอบคลุมของ
ระบบโครงข่าย 5G ทั่วโลก ซึ่งเป็นสิ่งส่าคัญส่าหรับการด่าเนินงานด้านโลจิสติกส์ในพื้นที่ห่างไกล ดาวเทียม
วงโคจรต่่าสามารถติดตั้งและเปิดการใช้งานเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงได้ทันที ในขณะที่การก่อสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารในปัจจุบันต้องใช้เวลานาน ทั้งนี้เจ้าของเทคโนโลยี โดยเฉพาะดาวเทียม
อาจได้รับผลกระทบด้านการแข่งขันที่สูงขึ้น อาจมีการผูกขาดและกีดกันในเชิงราคาเพื่อรักษาความได้เปรียบ
ประโยชน์
เชื่อมต่อกระบวนการโลจิสติกส์ครบวงจร (End-to-End) ทั่วโลก
แบตเตอรี่ประหยัดพลังงานส่าหรับอุปกรณ์ IoT สามารถเร่งการตรวจสอบและติดตามในการขนส่ง
การเชื่อมต่อที่ครอบคลุมทั่วถึง ช่วยเพิ่มขีดความสามารถและส่งเสริมทางธุรกิจ
8. ระบบโครงข่ายในการเก็บบัญชีธุรกรรมออนไลน์ (Blockchain)
บล็อคเชนเป็นระบบฐานข้อมูลส่าหรับการยืนยันตัวตน ที่พัฒนาต่อยอดจาก Bitcoin ในจัดการธุรกรรมและบันทึก
ความเป็นเจ้าของสินทรัพย์ ได้โดยไม่ต้องอาศัยคนกลางท่าให้ธุรกรรมมีความโปร่งใสและตรวจสอบง่ายยิ่งขึ้น
คุณสมบัติด้านความปลอดภัย ท่าให้เทคโนโลยีนี้ถูกน่ามาใช้ในการตรวจสอบธุรกรรมทางการเงินเป็นอันดับแรกและ
ถูกยกให้เป็นเทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนรูปแบบการด่าเนินธุรกิจ โดยเฉพาะในการค้าขายระดับโลกที่ห่วงโซ่อุปทานมี
ความซับซ้อน ซึ่งมีแนวโน้มในการพัฒนา ดังนี้
รูปแบบการค้าโลกที่ถูกและเร็วขึ้น ด้วยระบบฐานข้อมูลบล็อคเชน ผู้เล่นในห่วงโซ่อุปทานสามารถ
ตรวจสอบข้อมูลส่าคัญ เช่น สถานะการขนส่งสินค้าและกระบวนการศุลกากรพร้อมจ่ายเงินแบบอัตโนมัติ
ผ่านระบบ Smart Contract เมื่อสินค้าส่งมาถึง ดังเช่นตัวอย่างความร่วมมือระหว่าง Maersk และ IBM
ทั้งนี้ ปัจจัยส่าคัญคือผู้เล่น ทุกคนต้องใช้ระบบบล็อกเชนด้วย
เพิ่มความสามารถในการตรวจสอบย้อนกลับและความโปร่งใส หลายบริษัทได้เริ่มพัฒนาระบบส่าหรับ
ตรวจสอบแหล่งที่มาสินค้าและกระบวนการผลิต โดยบริษัท Everledger กาลังพัฒนาระบบตรวจสอบเพชร
แทนที่ใบรับรองของผู้ผลิต ผ่านการบันทึกข้อมูลรายละเอียดพิเศษของเพชรแต่ละเม็ดกว่า 40 จุด ในรูปแบบ
Digital ID
ภาครัฐบาลเริ่มให้ความสนใจในการปรับใช้เทคโนโลยีนี้ในการด่าเนินการภาครัฐที่ต้องบูรณาการข้อมูลจาก
หลายหน่วยงาน เช่น ระบบศุลกากรในประเทศเกาหลีใต้ ระบบการจัดการตัวตนในประเทศเอสโตเนีย โดย
ส่วนใหญ่เป็นการร่วมมือกับบริษัทเอกชนรายใหญ่ในการพัฒนา
หน้า 59 / 88
ประโยชน์
สร้างความโปร่งใสตลอดห่วงโซ่อุปทาน
เพิ่มประสิทธิภาพของการท่าธุรกรรมและกระบวนการภาครัฐ
รูปแบบธุรกิจใหม่ที่จะเกิดขึ้น เช่น บริการรับตรวจสอบสินค้า
9. โลจิสติกส์เพื่อสังคมสูงวัย (Grey Logistics)
การปรับโครงสร้างประชากรสู่สังคมสูงวัยส่งผลให้เกิดการให้บริการโลจิสติกส์รูปแบบใหม่ ๆ เพื่อรองรับสังคมสูง
วัย อาทิ การส่งยาและเวชภัณฑ์ถึงบ้าน การพัฒนาระบบโลจิสติกส์แบบครบวงจรเพื่อให้บริการสุขภาพส่าหรับ
ผู้สูงอายุ และการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเข้ามามีส่วนร่วมในการให้บริการโลจิสติกส์
ปัจจุบันประเทศไทยก่าลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัย โดยในปี 2564 จะมีประชากรสูงวัยร้อยละ 20 และมีจ่านวน
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคาดว่าในปี 2579 จะมีประชากรสูงวัย สูงถึงร้อยละ 30 ในขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัย
ท่างานลดลง ทั้งนี้ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าว ส่งผลให้ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะการให้บริการถึงที่บ้านทั้งในพื้นที่เมืองและพื้นที่ห่างไกล รวมทั้งการให้บริการพิเศษเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผู้สูงอายุ อาทิ การขนส่งยาที่ต้องควบคุมอุณหภูมิถึงบ้านมีความจ่าเป็นมากขึ้น ดังนั้นธุรกิจให้บริการ
โลจิสติกส์จ่าเป็นต้องมีการปรับรูปแบบการให้บริการที่เหมาะสมเพื่อตอบสนองต่อความต้องการดังกล่าว
การให้บริการสุขภาพตรงถึงผู้ป่วย แนวโน้มการสั่งซื้อยาและเวชภัณฑ์และบริการทางการแพทย์ออนไลน์
เติบโตสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่สามารถสั่งซื้อสินค้าและบริการส่าหรับชีวิตประจ่าวันผ่านทาง
ออนไลน์ได้ ท่าให้การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่ควบคุมความเย็น เพื่อส่งยาหรือเวชภัณฑ์ถึงผู้ป่วยหรือ
ผู้สูงอายุมีความจ่าเป็นมากขึ้น
การให้บริการขนส่งช่วงสุดท้ายแบบเพิ่มมูลค่า เป็นการเพิ่มรูปแบบการให้บริการให้ครบวงจรมากยิ่งขึ้น
นอกเหนือ จากการจัดส่งสินค้า โดยการให้บริการเสริมครอบคลุมถึงการบริการท่าความสะอาด การ
ซ่อมแซมสิ่งของหรือเครื่องใช้ไฟฟ้า การให้ความช่วยเหลือทางเทคโนโลยี รวมทั้งบริการตรวจสุขภาพ
เบื้องต้น นอกจากนี้ ในอนาคตการเติมวัตถุดิบและอาหารในตู้เย็นหรือยาในกล่องยาสามารถด่าเนินการได้
อัตโนมัติผ่านมือถือเพียงแค่ลงทะเบียนรูปแบบการจัดส่งสินค้าที่ต้องการไว้
แรงงานสูงวัย ประชากรวัยแรงงานมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมผู้สูงอายุที่ยังมีศักยภาพให้มา
ท่างานในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์จะสามารถบรรเทาปัญหาดังกล่าวได้ นอกจากนี้การน่าประสบการณ์ของ
ผู้สูงอายุมาถ่ายทอดให้กับคนรุ่นใหม่ผ่านการท่างานร่วมกันจะเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาทรัพยากร
บุคคลได้อย่างประสิทธิภาพ
หน้า 60 / 88
ประโยชน์
โอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ จากการให้บริการ โลจิสติกส์ที่เพิ่มมูลค่า
การเติบโตของการซื้อสินค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้สูงอายุจะช่วยเพิ่มปริมาณและตารางการขนส่งในเส้นทาง
เฉพาะ
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านบริการโลจิสติกส์
เทคโนโลยี Connected GPS, Logistics Cloud และ Big Data ก่าลังจะเข้ามาเปลี่ยนโฉมหน้าอุตสาหกรรม
การขนส่งทางถนนครั้งส่าคัญ โดยเทคโนโลยีเหล่านี้ไม่เพียงแต่ช่วยแก้ไขปัญหาดั้งเดิมในการขนส่ง เช่น ความ
ปลอดภัย การตรงต่อเวลา แต่ยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการ โดยการเก็บรวบรวม
ข้อมูลเพื่อน่าไปสู่การวิเคราะห์และการวางแผนการขนส่งให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในอนาคต
ผู้ประกอบการขนส่งไทยมีแนวโน้มที่จะน่าเทคโนโลยี Connected GPS, Logistics Cloud และ Big Data
analysis มาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพการขนส่ง โดยเมื่อพิจารณาถึงปัจจัยผลักดัน 3 ประการ ได้แก่ ประโยชน์ ความ
ซับซ้อนของเทคโนโลยี และการยอมรับจากผู้ใช้งาน พบว่า เทคโนโลยีทั้ง 3 ประเภท สามารถตอบโจทย์ความ
ต้องการของผู้ประกอบการไทยได้ในรูปแบบที่แตกต่างกัน อีกทั้งเทคโนโลยีเหล่านี้ยังเสริมความสามารถซึ่งกันและกัน
ในระยะเริ่มต้น Connected GPS จะมีบทบาทช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถติดตามข้อมูลการขนส่งสินค้า
ได้อย่างรวดเร็ว โดย Connected GPS เป็นนวัตกรรมที่ได้จากความเร็วในการส่งข้อมูลที่เพิ่มขึ้น ท่าให้ผู้ประกอบการ
สามารถมองเห็นรถขนส่งได้แบบ real-time ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหาที่สะสมมานานในอุตสาหกรรม เช่น การขับออกนอก
เส้นทาง การใช้ความเร็วเกินก่าหนด การเบิกค่าน้่ามันเกินอัตรา เป็นต้น
จากกรณีศึกษาของบริษัท DHL ประเทศไทย พบว่า การติดตั้ง Connected GPS ท่าให้บริษัทสามารถลด
การใช้เชื้อเพลิงได้เกือบ 40% อีกทั้งเทคโนโลยี Connected GPS นั้นมีความซับซ้อนไม่มากนัก มีเพียงอุปกรณ์ส่ง
สัญญาณและการแสดงผลเท่านั้น จึงท่าให้ผู้ประกอบการและคนขับสามารถปรับใช้เทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้
จากประโยชน์ข้างต้น กรมการขนส่งทางบกจึงได้ออกกฎข้อบังคับให้รถบรรทุกและรถโดยสารสาธารณะทุกคันต้อง
ติดตั้งระบบ Connected GPS ภายในปี 2019 ซึ่งปัจจัยสนับสนุนส่าคัญในการเร่งใช้เทคโนโลยีดังกล่าอีกด้วย
หน้า 61 / 88
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านบริการโลจิสติกส์ยุคโซเชียลคอมเมิร์ซ
ปัจจุบันระบบ E-Logistic บนแพลตฟอร์มออนไลน์ ก่าลังได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มผู้บริโภคที่
ต้องการส่งมอบสินค้าอย่างความรวดเร็ว ใช้งานได้ง่าย และสะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบบริการจองขนส่ง
ออนไลน์ ที่เป็นแอพพลิเคชั่นที่อินเตอร์เฟซ สามารถเชื่อมต่อทุกระบบขนส่งมาไว้ในระบบเดียว โดยช่วยให้การใช้
บริการขนส่ง สามารถเลือกจองขนส่งได้ตามที่ต้องการและสามารถเปรียบเทียบราคาค่าจัดส่งสินค้า, การช่าระเงิน
ออนไลน์ได้ง่ายผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิต, ออกหมายเลขพัสดุ และพิมพ์ใบปะหน้าพัสดุได้จากระบบได้ทันที
รวมถึงการติดตามสถานะพัสดุผ่านระบบด้วย ท่าให้ควบคุมค่าใช้จ่ายและวางแผนค่าขนส่งล่วงหน้าได้อย่างง่ายดาย
นอกจากนี้ยังมีบริการรับของถึงบ้าน หรือไม่ต้องรับคิวเข้าแถว ส่งผลดีในการประหยัดเวลาในการจัดส่งสินค้าได้สูงถึง
60% และประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่งได้ถึง 20%
บริษัท ชิปป๊อป จ่ากัด สตาร์ตอัพสัญชาติไทยเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของผู้ให้บริการด้านระบบโลจิสติกส์ครบ
วงจร ที่รวบรวมบริษัทขนส่งมาไว้ในระบบเดียว เพื่อให้ง่ายต่อการเชื่อมต่อและเลือกใช้บริการที่หลากหลาย ทางเลือก
ใหม่ของผู้ประกอบการในยุคโซเชียลคอมเมิร์ซ ที่ได้รับการสนับสนุนหลักจากบริษัท อีฟรา สตรักเจอร์ จ่ากัด
ประเทศไทย และ อีโลจิส จ่ากัด ประเทศญี่ปุ่น เปิดให้บริการด้านระบบโลจิสติกส์ครบวงจรบนแพลตฟอร์มออนไลน์
โดยท่าหน้าที่เป็น ชิปปิ้ง เกตเวย์ (Shipping Gateway) ที่มีเอพีไอ (Application Programming Interface: API)
สามารถเชื่อมโยงทุกระบบขนส่งมาไว้ในระบบเดียว พร้อมเชื่อมต่อกับมาร์เก็ตเพลส หรือเว็บไซต์ต่างๆได้ทันทีและ
มากที่สุดในประเทศไทย โดยมีการร่วมมือกับพันธมิตรด้านการขนส่ง อาทิ ไปรษณีย์ไทย, เอสซีจี ยามาโตะ เอ็กซ์
เพรส ,นินจาแวน, ลาลามูฟ , สกู๊ตตาร์, อัลฟ่า ฟาสส์, เคอรี่ เอ็กเพรส, ซีเจ เอ็กซ์เพรส, เซ็นด์อิท และ นิโกส์
โลจิสติคส์
หน้า 62 / 88
ภาคผนวก ก.
ข้อก าหนดระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001:2015
(Quality Management System – Requirements)
1. ขอบเขต
ข้อก่าหนดเฉพาะนี้ใช้กับระบบบริหารคุณภาพขององค์กร
a) ต้องการแสดงถึงความสามารถอย่างสม่่าเสมอที่จะเตรียมผลิตภัณฑ์และบริการให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของลูกค้าข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้องและข้อกฎหมาย
b) มุ่งมั่นที่จะยกระดับความพึงพอใจลูกค้า
2. มาตรฐานอ้างอิง
ทั้งหมดหรือบางส่วนของมาตรฐานฉบับนี้ให้อ้างอิงจาก ISO 9000:2015: หลักการและค่าศัพท์
3. ค าศัพท์และค านิยาม
ความมุ่งหมายของเอกสารฉบับนี้ ค่าศัพท์และค่านิยามจะระบุอยู่ใน ISO 9000:2015
4 บริบทองค์กร
4.1 ความเข้าใจองค์กรและบริบทขององค์กร
องค์กรต้องพิจารณาก่าหนดประเด็นทั้งภายในและภายนอก ที่มีความเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ และการ
ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการบรรลุผล ตามเจตนาของระบบบริหารคุณภาพ องค์กรจะต้องติดตามและ
ทบทวนข้อมูลจากประเด็นภายในและภายนอก
หมายเหตุ 1 ประเด็นหมายรวมถึงปัจจัยด้านบวกและด้านลบหรือเงื่อนไขส่าหรับพิจารณา
หมายเหตุ 2 บริบทของประเด็นภายนอกอาจรวมถึง ประเด็นที่มาจากกฎหมาย เทคโนโลยี แข่งขัน, การตลาด,
วัฒนธรรม,สังคม และสภาพเศรษฐกิจ, ไม่ว่าจะในระดับนานาชาติ, ระดับประเทศ, ระดับภูมิภาค หรือระดับท้องถิ่น
หมายเหตุ 3 บริบทประเด็นภายในอาจรวมถึง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับค่านิยม, วัฒนธรรม, ความรู้ และสมรรถนะ
ขององค์กร
4.2 ความเข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
เนื่องด้วยผลกระทบหรือแนวโน้มผลกระทบต่อความสามารถขององค์กรในการที่จะรักษาความสามารถในการท่าให้
ผลิตภัณฑ์และบริการให้เป็นไปตามข้อก่าหนดลูกค้าและข้อก่าหนดทางกฎหมาย องค์กรจะต้องพิจารณา
a) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
b) ข้อก่าหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
องค์กรจะต้องติดตามและทบทวนข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้องเหล่านั้น
หน้า 63 / 88
4.3 การพิจารณาขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพ
องค์กรต้องก่าหนดขอบเขตและการประยุกต์ใช้ของระบบการบริหารคุณภาพเพื่อระบุขอบเขตของการใช้งาน
เมื่อพิจารณาขอบเขตการประยุกต์ใช้ องค์กรต้องพิจารณาถึง
a) ประเด็นภายในและภายนอก อ้างอิงในข้อก่าหนด 4.1
b) ข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยอ้างอิงในข้อก่าหนด 4.2
c) สินค้าและบริการขององค์กร
กรณีที่ขอบเขตการด่าเนินการครอบคลุมตามข้อก่าหนดสากลฉบับนี้องค์กรจะต้องน่ามาเป็นส่วนหนึ่งในการ
ประยุกต์ใช้ด้วยขอบเขตของระบบบริหารคุณภาพขององค์กรต้องมีการระบุไว้และอยู่ในรูปเอกสารข้อมูล ขอบเขต
จะต้องระบุถึงลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ และระบุข้อละเว้นข้อก่าหนดที่ไม่ประยุกต์ใช้ในระบบบริหาร
คุณภาพความสอดคล้องของข้อก่าหนดฉบับนี้จะถูกประยุกต์ใช้ทั้งหมด เว้นแต่กรณีที่ข้อก่าหนดที่ไม่ถูกประยุกต์ใช้
เหล่านั้นไม่ส่งผลต่อความสามารถและความรับผิดชอบขององค์กร ที่มีความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์
และบริการและความพึงพอใจของลูกค้า
4.4 ระบบบริหารคุณภาพขององค์กร
4.4.1 องค์กรต้องจัดท่า น่าไปปฏิบัติ คงรักษา และปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในระบบบริหารคุณภาพ รวมถึง
กระบวนการที่จ่าเป็น และการปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลฉบับนี้ องค์กรต้องพิจารณา
กระบวนการที่จ่าเป็นต่อการด่าเนินการของระบบบริหารคุณภาพและการประยุกต์ใช้ทั่วทั้งองค์กรโดยองค์กรจะต้อง
a) พิจารณาปัจจัยน่าเข้าและปัจจัยน่าออกที่คาดหวังของแต่ละกระบวนการ
b) พิจารณาล่าดับและการปฏิสัมพันธ์ต่อกันของกระบวนการเหล่านี้
c) พิจารณาและประยุกต์ใช้เกณฑ์ วิธีการ (รวมทั้งการตรวจติดตาม ตรวจวัด และตัวชี้วัดสมรรถนะของ
กระบวนการ) ที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าการควบคุมกระบวนการเกิดประสิทธิผล
d) พิจารณาทรัพยากรที่จ่าเป็นต่อกระบวนการให้พอเพียง
e) ระบุความรับผิดชอบและอ่านาจในแต่ละกระบวนการ
f) ระบุปัจจัยความเสี่ยงและโอกาสตามข้อก่าหนด 6.1
g) ประเมินกระบวนการ และด่าเนินการเปลี่ยนตามความจ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการบรรลุผลลัพธ์ที่
คาดหวัง
h) ปรับปรุงกระบวนการและระบบบริหารคุณภาพ
4.4.2 ส่าหรับขอบเขตที่จ่าเป็น องค์กรจะต้อง
a) คงรักษาไว้ซึ่งเอกสารข้อมูลที่สนับสนุนกระบวนการด่าเนินงาน
b) จัดเก็บเอกสารข้อมูลเพื่อให้เชื่อมั่นว่ากระบวนการเป็นไปตามแผนงานที่ก่าหนดไว้
5 การเป็นผู้น า
5.1 การเป็นผู้น าและความมุ่งมั่น
5.1.1 ข้อก าหนดทั่วไป
ผู้บริหารระดับสูงต้องแสดงให้เห็นภาวะผู้น่าและความมุ่งมั่นต่อระบบบริหารคุณภาพโดย
a) รับผิดชอบในประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ
หน้า 64 / 88
b) มั่นใจว่ามีการจัดท่านโยบายคุณภาพและวัตถุประสงค์คุณภาพ ส่าหรับระบบบริหารคุณภาพ และ
สอดคล้องกับบริบทและทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร
c) มั่นใจว่าได้มีการน่าข้อก่าหนดระบบบริหารคุณภาพประยุกต์ใช้ในกระบวนการขององค์กร
d) ส่งเสริมการมุ่งเน้นกระบวนการและการคิดบนพื้นฐานความเสี่ยง
e) จัดให้มีทรัพยากรที่จ่าเป็นส่าหรับระบบการจัดการคุณภาพเพียงพอ
f) สื่อสารความส่าคัญของการบริหารคุณภาพที่มีประสิทธิผล และความสอดคล้องกับข้อก่าหนดของระบบ
บริหารคุณภาพ
g) มั่นใจว่า ระบบการจัดการคุณภาพบรรลุได้ตามความตั้งใจ
h) สร้างการมีส่วนร่วม, ก่าหนดแนวทาง และสนับสนุนพนักงานด่าเนินกิจกรรมในระบบบริหารคุณภาพ
อย่างมีประสิทธิผล
i) ส่งเสริมการปรับปรุง
j) สนับสนุนบทบาทอื่น ๆ ในการบริหาร เพื่อแสดงให้เห็นถึงภาวะผู้น่าในส่วนงานที่รับผิดชอบ
หมายเหตุ ค่าว่า "ธุรกิจ" ตามมาตรฐานสากลฉบับนี้อาจหมายความได้อย่างกว้างว่าเป็นกิจกรรมที่องค์กรด่าเนินการ
ตามวัตถุประสงค์ ไม่ว่าองค์กรจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หวังก่าไร หรือไม่หวังผลก่าไร
5.1.2 การมุ่งเน้นลูกค้า
ผู้บริหารระดับสูงต้องแสดงภาวะผู้น่าและความมุ่งมั่นในการมุ่งเน้นลูกค้า โดยท่าให้มั่นใจว่า
a) ข้อก่าหนดลูกค้า, กฎหมายและข้อก่าหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้รับการพิจารณา, ท่าความเข้าใจ และมี
ความครบถ้วน
b) ความเสี่ยงและโอกาสที่ส่งผลต่อความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการ และความสามารถที่ท่าให้
ลูกค้าพึงพอใจได้รับการพิจารณาและระบุไว้
c) มุ่งเน้นการเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าอย่างสม่่าเสมอ
5.2 นโยบาย
5.2.1 การจัดท านโยบายคุณภาพ
ผู้บริหารระดับสูงต้องจัดท่า, น่าไปปฏิบัติ และคงรักษาไว้ซึ่งนโยบายคุณภาพ
a) เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และบริบทขององค์กรและสนับสนุนทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร
b) เป็นกรอบในการก่าหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ
c) แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบรรลุตามข้อก่าหนดที่องค์กรเกี่ยวข้อง
d) แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของระบบบริหารคุณภาพ
5.2.2 การสื่อสารนโยบายคุณภาพ
นโยบายคุณภาพต้อง
a) จัดท่าและอยู่ในรูปแบบเอกสารข้อมูล
b) สื่อสารภาย ให้เข้าใจ และน่าไปปฏิบัติได้ภายในองค์กร
c) มีความสอดคล้องกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ตามความเหมาะสม
หน้า 65 / 88
5.3 บทบาท ความรับผิดชอบ และอ านาจหน้าที่ ในองค์กร
ผู้บริหารสูงสุดต้องมั่นใจว่า มีการก่าหนด, สื่อสารให้เข้าใจถึงความรับผิดชอบและอ่านาจหน้าที่ของหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องภายในองค์กร
ผู้บริหารสูงสุดต้องก่าหนดความรับผิดชอบและอ่านาจเพื่อ
a) มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพสอดคล้องกับข้อก่าหนดของมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
b) มั่นใจว่ากระบวนการสามารถส่งมอบปัจจัยน่าออกได้ตามความคาดหวัง
c) มีการรายงานสมรรถนะ, โอกาสในการปรับปรุง และข้อเสนอแนะในการปรับปรุง (ดูข้อ 10.1) ระบบบริหาร
คุณภาพให้ผู้บริหารสูงสุด
d) มั่นใจว่ามีการส่งเสริมการมุ่งเน้นลูกค้าทั่วทั้งองค์กร
e) มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพได้รับการคงรักษาไว้ได้ครบถ้วน กรณีที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบบริหาร
คุณภาพที่ได้มีการวางแผนและด่าเนินการ
6 การวางแผน
6.1 การด าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1 เมื่อมีการวางแผนส่าหรับระบบการจัดการคุณภาพ, องค์กรต้องพิจารณาประเด็นที่ระบุในข้อ 4.1 และ
ข้อก่าหนดต่างๆ ที่อ้างอิงจากข้อ 4.2 และการพิจารณาความเสี่ยงและโอกาสที่จ่าเป็นที่จะต้องระบุเพื่อ
a) ให้มั่นใจว่าระบบบริหารคุณภาพจะสามารถบรรลุตามผลลัพธ์ขององค์กรได้
b) เพิ่มผลกระทบที่ต้องการ
c) ป้องกัน, หรือ ลด, ผลกระทบที่ไม่ต้องการ
d) บรรลุผลการปรับปรุง
6.1.2 องค์กรต้องวางแผนส่าหรับ:
a) การด่าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาสเหล่านี้,
b) วิธีการที่จะ
1) ควบรวมและประยุกต์ใช้กิจกรรมในกระบวนการของระบบบริหารคุณภาพ (ดูข้อ 4.4)
2) ประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมเหล่านี้
กิจกรรมที่ใช้ระบุความเสี่ยงและโอกาส ควรอยู่บนความสมเหตุสมผลต่อแนวโน้มของผลกระทบต่อความสอดคล้อง
ของผลิตภัณฑ์และบริการ
หมายเหตุ 1 ทางเลือกในการระบุการความเสี่ยงและโอกาส อาจรวมถึง การหลีกเลี่ยง, น่าความเสี่ยงไปแสวงหา
โอกาส, การก่าจัดแหล่งก่าเนิด, การปรับเปลี่ยนโอกาสที่เกิดหรือผลที่ตามมา, การแลกเปลี่ยนข้อมูลความเสี่ยง, หรือ
การคงสภาพความเสี่ยง โดยการชี้แจงผลการตัดสินใจ
หมายเหตุ 2 โอกาสสามารถน่าไปสู่การปรับใช้วิธีการใหม่, การสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่, มีกลุ่มตลาดใหม่, มีลูกค้ารายใหม่
การสร้างคู่ค้า, มีการใช้เทคโนโลยีใหม่ และความต้องการและความเป็นไปได้ในปฏิบัติที่ระบุโดยองค์กร หรือความ
ต้องการของลูกค้า
หน้า 66 / 88
6.2 วัตถุประสงค์คุณภาพ และการวางแผนเพื่อให้บรรลุ
6.2.1 องค์กรต้องจัดท่าวัตถุประสงค์คุณภาพ ขยายผลลงไปในทุกส่วนงานทุกระดับ และกระบวนการที่จ่าเป็น
ในระบบบริหารคุณภาพ
วัตถุประสงค์คุณภาพจะต้อง
a) มีสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ
b) สามารถวัดได้
c) มีความเกี่ยวข้องกับข้อก่าหนดที่ประยุกต์ใช้
d) มีความเกี่ยวข้องกับความสอดคล้องข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ และเพื่อเพิ่มระดับความ
พึงพอใจลูกค้า
e) มีการติดตาม
f) มีการสื่อสาร
g) มีการปรับปรุงตามความเหมาะสม องค์กรต้องคงรักษาเอกสารข้อมูลของวัตถุประสงค์คุณภาพ
6.2.2 เมื่อมีการวางแผนเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์คุณภาพองค์กรต้องพิจารณา
a) สิ่งที่ต้องด่าเนินการ
b) ทรัพยากรที่จ่าเป็น
c) ผู้รับผิดชอบ
d) กรอบเวลาแล้วเสร็จ
e) วิธีการประเมินผล
6.3 การวางแผนเปลี่ยนแปลง
เมื่อองค์กรต้องพิจารณาถึงความจ่าเป็นในการเปลี่ยนแปลงระบบบริหารคุณภาพ, การเปลี่ยนแปลงจะต้องด่าเนินการ
ภายในแผนงานอย่างสม่่าเสมอ (ดูข้อ 4.4)
องค์กรจะต้องพิจารณา
a) วัตถุประสงค์ของการเปลี่ยนแปลงและผลที่อาจตามมา
b) ความครบถ้วนของระบบบริหารคุณภาพ
c) ความเพียงพอของทรัพยากร
d) การก่าหนดและหมุนเวียนของความรับผิดชอบและอ่านาจ
7 การสนับสนุน
7.1 ทรัพยากร
7.1.1 ข้อก าหนดทั่วไป
องค์กรต้องพิจารณาก่าหนดและจัดให้มีทรัพยากรที่จ่าเป็นส่าหรับการจัดท่า, น่าไปการปฏิบัติ, คงรักษาไว้ และ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ในระบบบริหารคุณภาพองค์กรต้องพิจารณา
a) ความสามารถ และข้อจ่ากัดของทรัพยากรภายในองค์กรที่มีอยู่
b) ความจ่าเป็นในการเลือกใช้ผู้ให้บริการภายนอก
หน้า 67 / 88
7.1.2 บุคลากร
องค์กรจะต้องพิจารณาและจัดหาบุคลากรให้เพียงพอเพื่อให้เกิดประสิทธิผลของการด่าเนินงานในระบบ
บริหารคุณภาพ และส่าหรับการด่าเนินงานและควบคุมกระบวนการต่างๆในระบบบริหารคุณภาพ
7.1.3 โครงสร้างพื้นฐาน
องค์กรต้องพิจารณา จัดหา และคงรักษาไว้ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานส่าหรับการด่าเนินกระบวนการเพื่อให้บรรลุได้
ตามข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
หมายเหตุ โครงสร้างพื้นฐาน หมายรวมถึง
a) อาคาร และ ระบบสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้อง
b) อุปกรณ์, ทั้งแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และ
c) ทรัพยากรในการขนส่ง
d) เทคโนโลยีในการสื่อสารและสารสนเทศ
7.1.4 สภาพแวดล้อมในการด าเนินกระบวนการ
องค์กรต้องพิจารณา จัดหา และคงรักษา สภาพแวดล้อมที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนินกระบวนการ และเพื่อให้
บรรลุข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
หมายเหตุ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สามารถรวมถึงความหลากหลายของคน และสภาพกายภาพ ได้แก่
a) ด้านสังคม (เช่น ไม่มีการแบ่งแยก, มีความสงบสุข, ไม่มีการเผชิญหน้า)
b) ด้านจิตใจ (เช่น การลดความเครียด, การป้องกันความเมื่อยล้า, การรักษาระดับอารมณ์)
c) ด้านกายภาพ (เช่น อุณหภูมิ, ความร้อน, ความชื้น, แสงสว่าง, การถ่ายเท, สุขลักษณะ, เสียง)
ปัจจัยเหล่านี้อาจแตกต่างกันได้ตามลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ
7.1.5 ทรัพยากรในการตรวจติดตามและตรวจวัด
7.1.5.1 ทั่วไป
องค์กรต้องพิจารณาและจัดเตรียมทรัพยากรที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าผลจากการติดตามหรือตรวจวัดมีความ
ถูกต้องและน่าเชื่อถือ ในการติดตามหรือการตรวจวัดเพื่อประเมินความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และ
บริการองค์กรต้องมั่นใจว่าทรัพยากรที่จัดเตรียม
a) เหมาะสมกับวิธีการในการติดตามและการตรวจวัดที่มีการด่าเนินการอยู่
b) ได้รับการดูแลรักษาเพื่อให้มั่นใจว่าเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้งาน
องค์กรต้องเก็บเอกสารข้อมูลที่เหมาะสมเพื่อใช้เป็นหลักฐานความเหมาะสมในวัตถุประสงค์การใช้งานของ
ทรัพยากรในการติดตามและตรวจวัด
7.1.5.2 การสอบกลับของกระบวนการตรวจวัด
ในกรณีที่มีการสอบกลับของการวัด เป็นข้อก่าหนด หรือพิจารณาจากองค์กร เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นของผล
ที่ได้จากการวัดอุปกรณ์การตรวจวัดจะต้อง
- มีการสอบเทียบหรือทวนสอบ หรือทั้งสองอย่าง ตามช่วงเวลาที่ก่าหนด, หรือก่อนใช้งาน, ตามมาตรฐานที่
อ้างอิงได้ระดับสากลหรือระดับชาติในกรณีที่ไม่มีมาตรฐานอ้างอิงต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลในยืนยันการสอบ
เทียบหรือทวนสอบ
- มีการชี้บ่งเพื่อระบุสถานะของอุปกรณ์ตรวจวัด
หน้า 68 / 88
- ป้องกันจาก การปรับแต่ง, ความเสียหายหรือการเสื่อมสภาพ ซึ่งส่งผลต่อสถานะของการสอบเทียบหรือส่งผล
ต่อข้อมูลการตรวจวัดที่เกิดขึ้น
องค์กรต้องพิจารณาด่าเนินการแก้ไขตามความเหมาะสมในกรณีที่พบผลการตรวจวัดในครั้งก่อนมีผลที่ด้อยลง
จากเดิม ซึ่งอาจพบได้ในขณะใช้งานอุปกรณ์ตรวจวัดที่ไม่ตรงตามลักษณะการใช้งาน
7.1.6 ความรู้ขององค์กร
องค์กรต้องพิจารณาก่าหนด ความรู้ที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนินกระบวนการและเพื่อให้บรรลุถึงข้อก่าหนดของ
ผลิตภัณฑ์และบริการความรู้เหล่านี้ต้องได้รับการจัดเก็บและมีครบถ้วนตามขอบเขต อย่างเพียงพอ
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงความต้องการและแนวโน้ม องค์กรจะต้องทบทวนความรู้ในปัจจุบัน และพิจารณาวิธีการท่า
ให้ได้มาหรือเข้าถึงความรู้ส่วนเพิ่มเติม และให้มีความทันสมัย
หมายเหตุ 1 ความรู้ขององค์กรคือความรู้เฉพาะขององค์กร ได้มาจากประสบการณ์ เป็นข้อมูลที่น่ามาใช้และเผยแพร่
เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์
หมายเหตุ 2 ความรู้องค์กรอยู่บนพื้นฐานของ
a) แหล่งภายในองค์กร (เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา, การเรียนรู้จากประสบการณ์, การเรียนรู้จากข้อผิดพลาด
และความส่าเร็จจากโครงการ, การรวบรวมและการแลกเปลี่ยนความรู้ที่ไม่อยู่ในต่าราและประสบการณ์, ผลจากการ
พัฒนากระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และบริการ)
b) แหล่งภายนอกองค์กร (เช่น มาตรฐาน, ศูนย์การเรียนรู้, การสัมมนา, การได้มาจากลูกค้าหรือ
ผู้รับจ้างช่วง)
7.2 ความสามารถ
องค์กรต้อง
a) ก่าหนดความสามารถที่จ่าเป็นของบุคลากรที่ท่างานภายใต้การด่าเนินการที่มีผลต่อสมรรถนะด้าน
คุณภาพและประสิทธิผลในระบบบริหารคุณภาพ
b) ท่าให้มั่นใจว่าบุคลากรเหล่านี้มีความสามารถบนพื้นฐานการศึกษา การฝึกอบรม หรือ ประสบการณ์
c) ในกรณีที่ท่าได้, ต้องด่าเนินการเพื่อได้มาที่ซึ่งความสามารถที่จ่าเป็น, และการประเมินประสิทธิผลของ
การด่าเนินการดังกล่าว
d) จัดเก็บหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถเป็นเอกสารข้อมูล
หมายเหตุ การด่าเนินการที่ใด้สามารถบุคคลากร ยกตัวอย่างเช่นการจัดฝึกอบรม ,การเป็นพี่เลี้ยง, หรือ การ
มอบหมายงานให้กับพนักงานปัจจุบันหรือการว่าจ้างหรือท่าสัญญากับผู้ช่านาญงานนั้นๆ
7.3 ความตระหนัก
บุคลากรที่ท่างานภายใต้การควบคุมขององค์กร ต้องมีความตระหนักในเรื่อง
a) นโยบายคุณภาพ
b) วัตถุประสงค์คุณภาพที่เกี่ยวข้อง
c) การด่าเนินงานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของระบบการบริหารคุณภาพ, รวมถึงผลที่ได้ของการปรับปรุง
สมรรถนะ
d) ผลที่ตามมาของการด่าเนินการที่ไม่สอดคล้องกับข้อก่าหนดของระบบบริหารคุณภาพ
หน้า 69 / 88
7.4 การสื่อสาร
องค์กรต้องพิจารณาการสื่อสารภายใน และสื่อสารภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารงานคุณภาพ โดย
พิจารณา
a) จะสื่อสารอะไรบ้าง
b) จะสื่อสารเมื่อไหร่
c) จะสื่อสารให้ใครบ้าง
d) จะสื่อสารอย่างไร
e) สื่อสารโดยใคร
7.5 เอกสารข้อมูล
7.5.1 ทั่วไป
ระบบบริหารงานคุณภาพขององค์กรต้องประกอบด้วย
a) เอกสารข้อมูลที่ก่าหนดโดยมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
b) เอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นส่าหรับการด่าเนินงานให้ประสิทธิผลในระบบบริหารงานคุณภาพขององค์กร
หมายเหตุ : ขอบเขตเอกสารข้อมูลในระบบการบริหารคุณภาพอาจแตกต่างกันในแต่ละองค์กร ด้วยปัจจัยดังนี้
a) ขนาดขององค์กรและชนิดของกิจกรรม กระบวนการ ผลิตภัณฑ์และบริการ
b) ความซับซ้อน และปฏิสัมพันธ์ของกระบวนการต่อกัน
c) ความสามารถของบุคลากร
7.5.2 การจัดท าและการปรับปรุง
เมื่อมีการจัดท่าและปรับปรุงเอกสารข้อมูลขององค์กร องค์กรต้องมั่นใจว่า
a) มีการชี้บ่ง และค่าอธิบาย (เช่น ชื่อเอกสาร วันที่จัดท่า ผู้จัดท่า หรือหมายเลขเอกสาร)
b) มีการก่าหนดรูปแบบ (เช่นภาษา รุ่นซอฟท์แวร์ รูปภาพ) และสื่อที่ใช้ (เช่นกระดาษ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์)
c) มีการทบทวนและอนุมัติ อย่างเหมาะสมและเพียงพอ
7.5.3 การควบคุมเอกสารข้อมูล
7.5.3.1 เอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นในระบบบริหารจัดการคุณภาพ และมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้ ต้องได้รับ
การควบคุมเพื่อให้มั่นใจว่า
a) มีเพียงพอและเหมาะสมในการใช้งาน ตามความจ่าเป็นในแต่ละกระบวนการและขั้นตอน
b) ได้รับการป้องกันอย่างเหมาะสม (เช่น เสี่ยงต่อการถูกเปิดเผย น่าไปใช้อย่างไม่ถูกต้องหรือไม่
ครบถ้วน)
7.5.3.2 ส่าหรับการควบคุมเอกสารข้อมูล, องค์กรต้องด่าเนินกิจกรรมต่อไปนี้ ตามความเหมาะสม
a) มีการแจกจ่าย, การเข้าใช้, การค้นหา และ การน่าไปใช้
b) มีการจัดเก็บและการป้องกัน รวมถึงการดูแลรักษาให้เนื้อหาอ่านได้ง่าย
c) มีควบคุมการเปลี่ยนแปลง (เช่นการระบุฉบับที่ของการแก้ไข)
d) มีการก่าหนดเวลาจัดเก็บ และการท่าลาย
หน้า 70 / 88
เอกสารข้อมูลภายนอกที่องค์กรเห็นว่าจ่าเป็นส่าหรับการวางแผนและการปฏิบัติของระบบบริหารคุณภาพต้องได้รับ
การชี้บ่งและควบคุมตามความเหมาะสมเอกสารข้อมูลใช้เป็นหลักฐานที่แสดงถึงความสอดคล้องต้องได้รับการป้องกัน
จากการแก้ไขโดยไม่ตั้งใจ
หมายเหตุ การเข้าใช้ หมายถึง การก่าหนดสิทธิ์ในการเข้าดูเอกสาร รวมถึงสิทธิ์ในการอ่าน และแก้ไขเอกสารข้อมูล
เป็นต้น
8 การปฏิบัติงาน
8.1 การวางแผนและการควบคุม การปฏิบัติงาน
องค์กรต้องด่าเนินการวางแผน, ปฏิบัติ และควบคุม กระบวนการต่างๆ (ดูข้อ 4.4) ที่จ่าเป็นเพื่อให้บรรลุข้อ
ก่าหนดการจัดเตรียมผลิตภัณฑ์และบริการ และด่าเนินกิจกรรมที่ถูกระบุไว้ในข้อก่าหนด 6 โดย
a) พิจารณาข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
b) จัดท่าเกณฑ์ส่าหรับ
1) กระบวนการ
2) การยอมรับผลิตภัณฑ์และบริการ
c) ก่าหนดทรัพยากรที่จ่าเป็นเพื่อให้บรรลุความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
d) ด่าเนินการควบคุมกระบวนการตามเกณฑ์
e) ก่าหนด, คงไว้และจัดเก็บเอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นตามขอบเขต
1) เพื่อให้เชื่อมั่นว่ากระบวนการสามารถด่าเนินการได้ตามแผน
2) เพื่อแสดงถึงผลิตภัณฑ์และบริการมีความสอดคล้องตามข้อก่าหนด
ผลที่ได้จากการวางแผนต้องมีความเหมาะสมกับการด่าเนินการขององค์กร องค์กรต้องควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นในการวางแผน และทบทวนผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ตั้งใจ,ด่าเนินการเพื่อลดผลกระทบ
ทางลบตามความเหมาะสม องค์กรต้องมั่นใจว่ากระบวนการที่ด่าเนินการโดยผู้ให้บริการภายนอกได้รับการควบคุม
ตาม (ดูข้อ 8.4)
8.2 การพิจารณาข้อก าหนดส าหรับผลิตภัณฑ์และบริการ
8.2.1 การสื่อสารกับลูกค้า
การสื่อสารกับลูกค้ามีดังนี้
a) จัดเตรียมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ
b) ข้อมูลเพิ่มเติม, สัญญาหรือ ค่าสั่งซื้อ, รวมถึงการเปลี่ยนแปลง
c) การรับข้อมูลป้อนกลับจากลูกค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ รวมถึงข้อร้องเรียนจากลูกค้า
d) การเคลื่อนย้ายและการดูแลทรัพย์สินลูกค้า
e) ข้อก่าหนดเฉพาะกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ถ้าเกี่ยวข้อง
8.2.2 การพิจารณาข้อก าหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ
เมื่อมีการพิจารณาข้อก่าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการเพื่อน่าเสนอต่อลูกค้า
องค์กรต้องมั่นใจว่า
a) มีการระบุข้อก่าหนดของสินค้าและบริการ ประกอบด้วย
หน้า 71 / 88
1) ข้อก่าหนดของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) ข้อพิจารณาที่จ่าเป็นขององค์กร
b) การด่าเนินการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนในผลิตภัณฑ์และบริการ ที่ได้มีการเสนอแนะไว้
8.2.3 การทบทวนข้อก าหนดที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ
8.2.3.1 องค์กรต้องมั่นใจว่ามีความสามารถที่จะส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่เสนอต่อลูกค้าได้ องค์กรจะต้อง
ทบทวนก่อนที่จะยืนยันการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการต่อลูกค้า ซึ่งรวมถึง
a) ข้อก่าหนดที่ระบุโดยลูกค้า รวมถึงข้อก่าหนดในการส่งมอบและกิจกรรมหลังส่งมอบ
b) ข้อก่าหนดที่ลูกค้าไม่ได้ระบุ แต่จ่าเป็นต่อการใช้งาน, กรณีที่ทราบ
c) ข้อก่าหนดที่ระบุโดยองค์กร
d) ข้อก่าหนดด้านกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และบริการ
e) ข้อก่าหนดในสัญญาจ้างหรือค่าสั่งซื้อซึ่งแตกต่างที่ระบุไว้ก่อนหน้า
องค์กรต้องมั่นใจว่าข้อก่าหนดที่เปลี่ยนแปลงในสัญญาจ้างหรือค่าสั่งซื้อได้รับการด่าเนินการแก้ไข
ในกรณีที่ลูกค้าไม่มีเอกสารระบุข้อก่าหนดผลิตภัณฑ์และบริการ องค์กรจะต้องยืนยันข้อก่าหนดเหล่านี้ก่อนการตกลง
กับลูกค้า
หมายเหตุ ในบางสถานการณ์, เช่นการขายผ่านอินเตอร์เน็ต, การทบทวนแต่ละค่าสั่งซื้อไม่สามารถด่าเนินการเป็น
รูปแบบปกติได้ ซึ่งสามารถด่าเนินการทบทวนข้อมูลผลิตภัณฑ์โดยวิธีการอื่นแทนได้ เช่น บัญชีรายชื่อผลิตภัณฑ์
(แค็ตตาล็อก)
8.2.3.2 องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลเหล่านี้ ตามความเหมาะสม
a) ผลของการทบทวน
b) ข้อมูลใหม่ของผลิตภัณฑ์และบริการ
8.2.4 การเปลี่ยนแปลงข้อก าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
ต้องมีการจัดท่าเอกสารข้อมูลผลการทบทวนข้อก่าหนดสินค้าและบริการเหล่านี้ไม่ว่าจะข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่
เปลี่ยนแปลงเมื่อข้อมูลสินค้าและบริการมีการเปลี่ยนแปลง องค์กรต้องมั่นใจว่าเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้รับการ
แก้ไขและพนักงานที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงข้อมูลดังกล่าว
8.3 การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
8.3.1 ทั่วไป
องค์กรต้องจัดท่า, น่าไปปฏิบัติ และคงรักษาไว้ซึ่งกระบวนการออกแบบและพัฒนา เพื่อให้มั่นใจถึงการเป็นส่วน
หนึ่งในการเตรียมความพร้อมของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างเหมาะสม
8.3.2 การวางแผนการออกแบบและพัฒนา
ในการพิจารณาขั้นตอนและการควบคุมของการออกแบบและพัฒนา องค์กรจะต้องพิจารณา
a) สภาพการท่างาน, ระยะเวลา และความซับซ้อนของกิจกรรมการออกแบบและพัฒนา
b) ข้อก่าหนดในแต่ละขั้นตอน รวมถึงการทบทวนการออกแบบและพัฒนาที่เกี่ยวข้อง
c) กิจกรรมที่ใช้ส่าหรับการทวนสอบและรับรองการออกแบบและพัฒนา
d) ความรับผิดชอบและอ่านาจในกระบวนการออกแบบและพัฒนา
e) ทรัพยากรภายในและภายนอกส่าหรับการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
หน้า 72 / 88
f) ความจ่าเป็นในการควบคุมการประชุมระหว่างในหน่วยงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการออกแบบ
และพัฒนา
g) ความจ่าเป็นในการมีส่วนร่วมของลูกค้าและผู้ใช้ในกระบวนการออกแบบและพัฒนา
h) ข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้องในการจัดเตรียมผลิตภัณฑ์และบริการ
i) ระดับการควบคุมตามความคาดหวังของลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ ในการออกแบบและพัฒนา
j) เอกสารข้อมูลที่จ่าเป็นส่าหรับแสดงความสอดคล้องกับข้อก่าหนดในการออกแบบและพัฒนา
8.3.3 ปัจจัยน าเข้าในการออกแบบและพัฒนา
องค์กรต้องพิจารณาข้อก่าหนดที่จ่าเป็นส่าหรับรูปแบบเฉพาะในการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
โดยต้องพิจารณาดังนี้
a) ข้อก่าหนดด้านการใช้งานและสมรรถนะ
b) ข้อมูลที่ได้จากกิจกรรมการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการในครั้งก่อน
c) กฎหมายและข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง
d) มาตรฐานและข้อบังคับที่องค์กรตกลงไว้ในการด่าเนินการ
e) ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากธรรมชาติของสินค้าและบริการ
ปัจจัยน่าเข้าจะต้องมีความเพียงพอ, ครบถ้วน และ โปร่งใส ตามวัตถุประสงค์ของการออกแบบและพัฒนา
ข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นควรได้รับการแก้ไของค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลปัจจัยน่าเข้าในการออกแบบและพัฒนา
8.3.4 การควบคุมการออกแบบและพัฒนา
องค์กรจะต้องการควบคุมในกระบวนการออกแบบและพัฒนาเพื่อให้มั่นใจว่า
a) ผลที่ได้บรรลุตามข้อก่าหนดได้ถูกระบุไว้
b) มีการทบทวนเพื่อประเมินผลการออกแบบและพัฒนาถึงความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
c) มีการทวนสอบเพื่อให้มั่นใจว่าปัจจัยน่าออกสอดคล้องกับปัจจัยน่าเข้าในการออกแบบและพัฒนา
d) มีการรับรองเพื่อให้มั่นใจว่าสินค้าและบริการไปเป็นตามการใช้ที่ระบุไว้หรือข้อก่าหนดการใช้งาน
e) มีการด่าเนินการที่จ่าเป็นใดๆ เมื่อพบปัญหาที่เกิดขึ้นในกิจกรรมการทบทวน, หรือการทวนสอบ และการ
รับรอง
f) มีการจัดเก็บเอกสารข้อมูลของกิจกรรมเหล่านี้
หมายเหตุ การทบทวน, การทวนสอบ และการรับรองการออกแบบและพัฒนามีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน สามารถ
ด่าเนินการร่วมกัน หรือแยกกันตามความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์และบริการขององค์กร
8.3.5 ปัจจัยน าออกในการออกแบบและพัฒนา
องค์กรต้องมั่นใจว่าปัจจัยน่าออกที่ได้จากการออกแบบและพัฒนา
a) สอดคล้องกับข้อก่าหนดปัจจัยน่าเข้า
b) มีความพอเพียงส่าหรับกระบวนที่เกี่ยวข้องในการเตรียมผลิตภัณฑ์และบริการ
c) ระบุหรืออ้างอิง ข้อก่าหนดในการติดตามและตรวจวัดตามความเหมาะสม และเกณฑ์การยอมรับ
d) ระบุคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการที่จ่าเป็นต่อการใช้งาน และการมีเตรียมอย่างครอบคลุมและ
ครบถ้วนองค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลของผลที่ได้จากการออกแบบและพัฒนา
หน้า 73 / 88
8.3.6 การเปลี่ยนแปลงการออกแบบและพัฒนา
องค์กรต้องมีการชี้บ่ง, ทบทวน และควบคุมการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยน่าเข้าและปัจจัยน่าออกในขณะการ
ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ หรือกระบวนการที่เกี่ยวเนื่อง, ตามขอบเขตที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าไม่
เกิดผลกระทบต่อความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดองค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูล
a) การเปลี่ยนแปลงการออกแบบและพัฒนา
b) ผลการทบทวน
c) ผู้มีอ่านาจส่าหรับการเปลี่ยนแปลง
d) การด่าเนินการเพื่อป้องกันผลกระทบในทางลบ
8.4 การควบคุมผู้ให้บริการภายนอกด้านกระบวนการผลิตภัณฑ์และการบริการ
8.4.1 ทั่วไป
องค์กรต้องมั่นใจว่าสินค้าและบริการที่ได้รับจากผู้ให้บริการภายนอก ในกระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และการบริการ
มีความสอดคล้องกับข้อก่าหนดองค์กรต้องระบุการควบคุมกับผู้ให้บริการภายนอก ในกระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และ
การบริการ ในกรณีดังนี้
a) ผลิตภัณฑ์และบริการจากผู้ให้บริการภายนอกที่เป็นส่วนหนึ่งของผลิตภัณฑ์และบริการที่องค์กรด่าเนินงาน
b) ผลิตภัณฑ์และบริการมีการส่งมอบให้ลูกค้าโดยผู้บริการภายนอกซึ่งกระท่าในนามองค์กร
c) ทั้งหมดหรือบางส่วนของกระบวนการด่าเนินการภายผู้ให้บริการภายนอกที่องค์กรได้ตัดสินใจ
องค์กรต้องจัดท่าและประยุกต์ใช้เกณฑ์ในการประเมิน, คัดเลือก, เฝ้าติดตามสมรรถนะและประเมินซ้่าของผู้
ให้บริการภายนอก โดยอยู่บนพื้นฐานความสามารถของการส่งมอบกระบวนการหรือ ผลิตภัณฑ์และบริการตาม
ข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง
องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลของกิจกรรมเหล่านี้และการด่าเนินการที่จ่าเป็นจากผลการประเมินที่พบ
8.4.2 ชนิดและขอบเขตของการควบคุม
องค์กรต้องมั่นใจได้ว่าผู้ให้บริการภายนอกด้านกระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และการบริการ จะไม่ส่งผลต่อ
ความสามารถในการส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการให้กับลูกค้า
องค์กรจะต้อง
a) มั่นใจว่ากระบวนการของผู้ให้บริการภายนอกอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบบริหารคุณภาพ
b) ระบุทั้งการควบคุมที่ใช้กับผู้ให้บริการภายนอกและใช้กับผลจากการด่าเนินการ
c) พิจารณาถึง
1) แนวโน้มผลกระทบที่อาจจากกระบวนการให้บริการภายนอกต่อความสามารถที่จะให้กระบวนการ
ผลิตภัณฑ์และบริการ สอดคล้องกับข้อก่าหนดลูกค้าและข้อก่าหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) ประสิทธิผลของการควบคุมที่ด่าเนินการโดยผู้ให้บริการภายนอก
d) พิจารณาการทวนสอบ, หรือกิจกรรมอื่นๆ ที่จ่าเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ให้บริการภายนอกส่งมอบกระบวนการ,
ผลิตภัณฑ์และบริการสอดคล้องกับข้อก่าหนด
หน้า 74 / 88
8.4.3 ข้อมูลส าหรับผู้ให้บริการภายนอก
องค์กรต้องมั่นใจว่าข้อก่าหนดก่อนหน้านี้ได้มีการสื่อสารให้ส่าหรับผู้ให้บริการภายนอกเพียงพอ
องค์กรต้องสื่อสารข้อก่าหนดให้กับผู้ให้บริการภายนอกส่าหรับ
a) กระบวนการ, ผลิตภัณฑ์และบริการที่จะด่าเนินการให้
b) การอนุมัติส่าหรับ
1) ผลิตภัณฑ์และบริการ
2) วิธีการ, กระบวนการ และอุปกรณ์
3) การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ
c) ความสามารถ รวมทั้งคุณสมบัติที่จ่าเป็น ของบุคลากร
d) การปฏิสัมพันธ์กับการด่าเนินการขององค์กรของผู้ให้บริการภายนอก
e) การควบคุมและการเฝ้าติดตามสมรรถนะของผู้ให้บริการภายนอกโดยองค์กร
f) กิจกรรมการทวนสอบหรือรับรอง ที่องค์กร หรือลูกค้า, ตั้งใจจะด่าเนินการยังสถานที่ของผู้ให้บริการ
ภายนอก
8.5 การผลิตและการบริการ
8.5.1 ควบคุมการผลิตและการบริการ
องค์กรจะต้องด่าเนินการควบคุมการผลิตและบริการ ให้อยู่ในเงื่อนไขที่ควบคุม ที่เหมาะสม จะรวมถึง
a) ความเพียงพอของเอกสารข้อมูลที่ระบุถึง
1) คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่จะผลิต, บริการที่ส่งมอบ หรือกิจกรรมที่ด่าเนินการ
2) ผลที่จะบรรลุ
b) ความเพียงพอและเหมาะสมของทรัพยากรส่าหรับตรวจติดตามและตรวจวัด
c) ด่าเนินกิจกรรมการตรวจวัดและติดตามในขั้นตอนที่เหมาะสม เพื่อทวนสอบว่าข้อมูลการด่าเนินกิจกรรม
เป็นไปตามเกณฑ์การควบคุมการผลิต และเกณฑ์การยอมรับผลิตภัณฑ์และบริการ
d) การใช้โครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการด่าเนินกระบวนการ
e) ระบุความสามารถและคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องของบุคลากร
f) ด่าเนินกิจกรรมการรับรอง และการรับรองซ้่าตามช่วงเวลา เพื่อพิจารณาการบรรลุผลตามแผนการผลิตและ
บริการ เมื่อผลการตรวจสอบไม่สามารถทวนสอบได้ในขั้นตอนย่อยของการผลิตหรือบริการได้
g) ด่าเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันข้อผิดพลาดจากบุคลากร
h) มีการด่าเนินกิจกรรมการตรวจปล่อย, การจัดส่งและกิจกรรมหลังการส่งมอบ
8.5.2 การชี้บ่งและการสอบกลับ
องค์กรต้องเลือกใช้เกณฑ์ที่เหมาะสมในการระบุผลลัพธ์จากกระบวนการ, เมื่อองค์กรต้องการความมั่นใจว่า
ผลิตภัณฑ์และบริการเป็นไปตามข้อก่าหนด
องค์กรต้องระบุสถานะของผลลัพธ์ ภายใต้ข้อก่าหนดการตรวจวัดและตรวจติดตามของการผลิตและการบริการ
กรณีที่การตรวจสอบย้อนกลับเป็นข้อก่าหนดในการด่าเนินการ, องค์กรใช้วิธีการชี้บ่งแบบเฉพาะเจาะจงที่ผลลัพธ์
และมีการจัดท่าเป็นเอกสารข้อมูลส่าหรับการสอบกลับได้
หน้า 75 / 88
8.5.3 ทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้บริการภายนอก
องค์กรต้องดูแลทรัพย์สินที่เป็นของลูกค้าหรือผู้ให้บริการภายนอกในขณะที่อยู่ภายใต้การจัดเก็บในองค์กรหรือ
มีการใช้งาน องค์กรต้องระบุ ทวนสอบ ป้องกัน และดูแลรักษาทรัพย์สินของลูกค้าหรือผู้ส่งมอบภายนอกเพื่อใช้ใน
การผลิตผลิตภัณฑ์และการบริการถ้าทรัพย์สินใดๆ ของลูกค้าหรือผู้ส่งมอบภายนอกเกิดการสูญหาย, เสียหาย หรือ
พบว่าไม่เหมาะสมในการใช้งานองค์กรต้องด่าเนินการแจ้งลูกค้าหรือผู้ให้บริการภายนอกให้ทราบ และจัดท่าเป็น
เอกสารข้อมูลไว้
หมายเหตุ ทรัพย์สินของลูกค้าหรือของผู้ให้บริการภายนอก อาจรวมถึงวัตถุดิบ, ชิ้นส่วนย่อย, เครื่องมือและอุปกรณ์,
สถานที่, ทรัพย์สินทางปัญญาและข้อมูลส่วนบุคคล
8.5.4 การดูแลรักษา
องค์กรต้องดูแลรักษา ผลจากกระบวนการในขณะด่าเนินการผลิต/ให้บริการ ตามขอบเขตที่จ่าเป็น เพื่อให้
มั่นใจว่ายังมีความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
หมายเหตุ การดูแลรักษารวมถึง การชี้บ่ง, การขนย้าย, การควบคุมการปนเปื้อน, การบรรจุ, การจัดเก็บ, การส่งผ่าน
หรือการขนส่ง และการป้องกัน
8.5.5 กิจกรรมหลังการส่งมอบ
องค์กรต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับข้อก่าหนดส่าหรับกิจกรรมหลังการส่งมอบ ซึ่งสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์และ
บริการในการพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมหลังการส่งมอบที่เป็นข้อก่าหนดไว้ องค์กรต้องพิจารณา
a) กฎหมายและข้อก่าหนดที่เกี่ยวข้อง
b) แนวโน้มผลกระทบที่เกิดขึ้นซึ่งสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์และบริการ
c) ธรรมชาติ, การใช้และอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์และบริการ
d) ข้อก่าหนดของลูกค้า
e) ข้อมูลป้อนกลับจากลูกค้า
หมายเหตุ กิจกรรมหลังการส่งมอบ สามารถหมายถึง เช่น การด่าเนินการภายใต้การรับประกัน, ข้อผูกพันตามสัญญา
เช่นการบ่ารุงรักษา และบริการเพิ่มเติมเช่นการน่ากลับมาใช้ใหม่ หรือการก่าจัด
8.5.6 ควบคุมของการเปลี่ยนแปลง
องค์กรจะต้องทบทวนและควบคุมการเปลี่ยนแปลงส่าหรับการผลิตและการให้บริการ ตามขอบเขตที่จ่าเป็น
เพื่อให้มั่นใจว่ายังมีความสอดคล้องกับข้อก่าหนดอย่างต่อเนื่อง
องค์กรต้องจัดท่าเอกสารข้อมูลที่อธิบายถึงผลการทบทวนการเปลี่ยนแปลง, บุคคลที่มีอ่านาจหน้าที่ในการ
เปลี่ยนแปลงและกิจกรรมที่ด่าเนินการที่จ่าเป็นจากผลการทบทวนเหล่านั้น
8.6 การตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ
องค์กรต้องด่าเนินตามแผนงานที่ก่าหนดไว้ ในขั้นตอนที่เหมาะสมเพื่อทวนสอบผลิตภัณฑ์และบริการมีความ
สอดคล้องกับข้อก่าหนดไม่ท่าการปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการให้กับลูกค้าจนกว่าจะได้มีการตรวจตามแผนที่วางไว้
ยกเว้นกรณีได้รับการอนุมัติโดยผู้มีอ่านาจที่เกี่ยวข้องและ, ถ้าท่าได้, โดยลูกค้า องค์กรต้องด่าเนินการจัดท่าเอกสาร
ข้อมูลการตรวจปล่อยผลิตภัณฑ์และบริการ เอกสารข้อมูลประกอบด้วย
a) หลักฐานแสดงความสอดคล้องเทียบกับเกณฑ์การยอมรับ
b) การสืบกลับไปยังผู้มีอ่านาจในการตรวจปล่อย
หน้า 76 / 88
8.7 การควบคุมผลลัพธ์ ที่ไม่ไปเป็นตามข้อก าหนด
8.7.1 องค์กรต้องมั่นใจว่าผลลัพธ์ที่ไม่สอดคล้องกับข้อก่าหนดได้รับการชี้บ่งและป้องกันไม่ให้น่าไปใช้หรือส่งมอบ
โดยไม่ได้ตั้งใจองค์กรจะต้องด่าเนินการแก้ไขที่เหมาะสมกับลักษณะของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดและผลกระทบ
ของผลิตภัณฑ์และบริการ ทั้งนี้ให้รวมถึงผลิตภัณฑ์และบริการที่ถูกตรวจพบหลังจากที่ได้จัดส่งผลิตภัณฑ์ไปแล้ว ใน
ระหว่างหรือหลังจากให้บริการ
องค์กรต้องด่าเนินการกับผลจากกระบวนการที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด สินค้าและบริการด้วยวิธีการอย่างใด
อย่างหนึ่งหรือมากกว่าดังนี้
a) การแก้ไข
b) การคัดแยก, จัดเก็บในพื้นที่, ส่งคืน หรือ การหยุดใช้ชั่วคราว ของผลิตภัณฑ์และบริการ
c) แจ้งให้ลูกค้าทราบ
d) ได้รับการอนุมัติผ่อนผันการใช้งาน
เมื่อมีการแก้ไขผลการด่าเนินการ ต้องมีการทวนสอบความสอดคล้องกับข้อก่าหนด
8.7.2 องค์กรต้องมีการจัดเก็บเอกสารข้อมูลดังนี้
a) รายละเอียดความไม่สอดคล้อง
b) รายละเอียดการด่าเนินการ
c) รายละเอียดการขอผ่อนผันที่ได้ด่าเนินการ
d) การระบุผู้รับผิดชอบในการตัดสินใจด่าเนินการกับความไม่สอดคล้อง
9 การประเมินสมรรถนะ
9.1 การติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์ และประเมิน
9.1.1 ทั่วไป
องค์กรต้องพิจารณา
a) อะไรที่ส่าคัญในการตรวจติดตามและตรวจวัด
b) วิธีการในการตรวจติดตาม ตรวจวัด วิเคราะห์และประเมินที่จ่าเป็น เพื่อให้มั่นใจถึงผลที่ถูกต้อง;
c) จะท่าการติดตามและตรวจวัด เมื่อใด
d) จะท่าการวิเคราะห์และประเมินผลการติดตามและตรวจวัด เมื่อใด
องค์กรต้องท่าการประเมินสมรรถนะคุณภาพและประสิทธิผลของระบบบริหารคุณภาพ
องค์กรต้องเก็บรักษาเอกสารข้อมูลที่จ่าเป็น ในฐานะหลักฐานของผลจากการด่าเนินการ
9.1.2 ความพึงพอใจลูกค้า
องค์กรจะต้องเฝ้าติดตาม ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระดับการรับรู้ของลูกค้า ที่ลูกค้าต้องการ และ ความคาดหวัง
ของลูกค้าได้รับการเติมเต็ม องค์กรจะต้องก่าหนดวิธีการเพื่อที่จะให้ได้ข้อมูลเหล่านี้มาติดตามและทบทวน
หมายเหตุ ยกตัวอย่างการเฝ้าติดตามความพึงพอใจของลูกค้า เช่น การส่ารวจ, การตอบกลับของลูกค้าหลังการส่ง
มอบสินค้า และ บริการ, การประชุมกับลูกค้า,การวิเคราะห์ส่วนแบ่งทางการตลาด, ของสัมมนาคุณ, คืนสินค้า
ในช่วงการรับประกัน และ รายงานจากผู้จ่าหน่าย
หน้า 77 / 88
9.1.3 การวิเคราะห์และประเมินผล
องค์กรต้องด่าเนินการวิเคราะห์และประเมินผล ข้อมูลและผลที่ได้จากการตรวจติดตามและตรวจวัด ผลที่ได้
จากการวิเคราะห์จะน่าไปใช้ประเมิน
a) ความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการ
b) ระดับความพึงพอใจลูกค้า
c) สมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบบริหารคุณภาพ
d) ประสิทธิผลของแผนงาน
e) ประสิทธิผลของการด่าเนินการระบุความเสี่ยงและโอกาส
f) สมรรถนะของผู้ให้บริการภายนอก
g) ความจ่าเป็นในการปรับปรุงระบบบริหารคุณภาพ
หมายเหตุ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงการใช้วิธีทางสถิติ
9.2 การตรวจติดตามภายใน
9.2.1 องค์กรต้องด่าเนินการตรวจติดตามภายใน ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มีข้อมูลของระบบบริหาร
คุณภาพ
a) มีความสอดคล้องต่อ
1) ข้อก่าหนดองค์กรส่าหรับระบบบริหารคุณภาพ
2) ข้อก่าหนดมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
b) การปฏิบัติและคงรักษาไว้อย่างมีประสิทธิผล
9.2.2 องค์กรต้อง
a) วางแผน, จัดท่า, น่าไปปฏิบัติ และคงรักษาไว้ ตารางการตรวจติดตาม รวมถึงความถี่ วิธีการ
ผู้รับผิดชอบ ข้อก่าหนดในการวางแผน และการรายงาน. ซึ่งจะพิจารณาจากวัตถุประสงค์คุณภาพ, ความส่าคัญของ
กระบวนการที่เกี่ยวข้อง, การเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อองค์กร และผลการตรวจติดตามครั้งที่ผ่านมา
b) ก่าหนดเกณฑ์การตรวจติดตามและขอบเขตในแต่ละการตรวจติดตาม
c) การเลือกผู้ตรวจติดตามและการตรวจติดตาม ต้องให้มั่นใจว่าตรงตามวัตถุประสงค์และมีความเป็น
กลางในขณะตรวจติดตาม
d) ท่าให้มั่นใจว่าผลการตรวจติดตามได้ถูกรายงานไปยังผู้บริหารหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
e) ด่าเนินการแก้ไขและปฏิบัติการแก้ไขโดยมิให้ล่าช้า
f) จัดเก็บเอกสารข้อมูลการตรวจติดตามไว้เป็นหลักฐาน เพื่อแสดงการด่าเนินการตรวจติดตามและ แสดง
ถึงผลการตรวจติดตาม
หมายเหตุ ให้ดูแนวทางใน ISO 19011
9.3 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
9.3.1 ทั่วไป
ผู้บริหารสูงสุดต้องท่าการทบทวนระบบบริหารคุณภาพขององค์กร ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มั่นใจว่ามี
ความเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง, มีความพอเพียง, มีประสิทธิผล, และมีความสอดคล้องกับทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร
หน้า 78 / 88
9.3.2 ปัจจัยน าเข้าการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ต้องได้รับการวางแผนและด่าเนินการ โดยค่านึงถึง
a) สถานะของการด่าเนินการจากการทบทวนในครั้งที่ผ่านมา
b) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับระบบบริหารคุณภาพ
c) ข้อมูลสมรรถนะและประสิทธิผลระบบบริหารคุณภาพ รวมถึงแนวโน้มข้อมูลจาก
1) ความพึงพอใจของลูกค้า และ ข้อมูลตอบกลับจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง
2) ขอบเขตที่ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ด้านคุณภาพ
3) สมรรถนะของกระบวนการ และ ความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์และบริการ
4) ความไม่สอดคล้องตามข้อก่าหนด และ การปฏิบัติการแก้ไข
5) ผลจากการเฝ้าติดตามและตรวจวัด
6) ผลการตรวจติดตาม
7) สมรรถนะของของผู้ให้บริการภายนอก
d) ความเพียงพอของทรัพยากร
e) ประสิทธิผลการด่าเนินการเพื่อระบุความเสี่ยงและโอกาส (ดูข้อ 6.1)
f) ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
9.3.3 ปัจจัยน าออกการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ผลจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหารต้องรวมถึงการตัดสินใจและการด่าเนินการเกี่ยวกับ
a) โอกาสในการปรับปรุง
b) ความจ่าเป็นในการปรับเปลี่ยนระบบบริหารคุณภาพ
c) ทรัพยากรที่จ่าเป็น
องค์กรต้องคงไว้ซึ่งเอกสารข้อมูลที่แสดงถึงหลักฐานของผลลัพธ์จากการทบทวนฝ่ายบริหาร
10 การปรับปรุง
10.1 ทั่วไป
องค์กรต้องพิจารณาและเลือกโอกาสในการปรับปรุง และด่าเนินกิจกรรมที่จ่าเป็นเพื่อให้เป็นไปตาม
ข้อก่าหนดลูกค้าและยกระดับความพึงพอใจลูกค้า ซึ่งประกอบด้วย
a) การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และการบริการ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและ
ความคาดหวัง
b) การแก้ไข ป้องกัน หรือ ลด ผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์
c) การปรับปรุงสมรรถนะและประสิทธิผล ของระบบบริหารคุณภาพ
หมายเหตุ การปรับปรุงอาจรวมถึง การแก้ไข, การปฏิบัติการแก้ไข, การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง, การเปลี่ยนแปลง,
นวัตกรรมและ การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่
10.2 สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก าหนดและการปฏิบัติการแก้ไข
10.2.1 เมื่อพบสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด รวมถึงที่เกิดจากข้อร้องเรียน องค์กรจะต้อง:
a) ตอบสนองต่อสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด ตามความเหมาะสมดังนี้
หน้า 79 / 88
1) ท่าการควบคุมและแก้ไข,
2) ด่าเนินการจัดการกับผลที่ตามมา
b) ประเมินความจ่าเป็นในการปฏิบัติการส่าหรับก่าจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นซ้่าหรือ เกิดขึ้นในบริเวณอื่นๆ โดย
1) ทบทวนและวิเคราะห์สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
2) พิจารณาสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
3) พิจารณาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่ใกล้เคียงกัน, หรือมีโอกาสเกิดขึ้น
c) ด่าเนินการปฏิบัติการตามความจ่าเป็น
d) ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไข
e) ปรับปรุงรายการความเสี่ยงและโอกาสในช่วงการวางแผน ตามความเหมาะสม
f) ปรับเปลี่ยนระบบบริหารคุณภาพ ตามความเหมาะสม การปฏิบัติการแก้ไขจะต้องเหมาะกับ
ผลกระทบของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดที่พบ
10.2.2 องค์กรต้องจัดท่าเอกสารข้อมูลเพื่อแสดงหลักฐานของ
a) สภาพของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนดและการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง
b) ผลการปฏิบัติการแก้ไขใดๆ
10.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
องค์กรต้องด่าเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอย่างเหมาะสม, เพียงพอ, และมีประสิทธิผลต่อระบบบริหาร
คุณภาพองค์กรจะต้องพิจารณาผลลัพธ์จากการวิเคราะห์และการประเมิน, และผลจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร,
เพื่อพิจารณาความจ่าเป็นหรือโอกาส ที่ใช้ระบุเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หน้า 80 / 88
ภาคผนวก ข.
CheckList ค าถามการประเมินเบื้องต้นมาตรฐาน ISO 9001:2015
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
4. บริบทขององค์กร (ทุกหน่วยงาน)
4.1 ความเข้าใจองค์กร และบริบทขององค์กร
องค์กรมีการพิจารณาเรื่องภายใน และภายนอกองค์กร ที่
เกี่ยวข้องกับเป้าหมายและทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร ที่มีผล
ต่อการบรรลุเป้าหมายของระบบการจัดการคุณภาพไว้
อย่างไร
4.2 ความเข้าใจความต้องการ และความคาดหวังของผู้มี
ส่วนร่วม
ผู้มีส่วนร่วมขององค์กร และมีผลกระทบต่อการบริการ มี
หน่วยงานใดบ้าง และมีส่วนร่วมในด้านใดบ้าง
4.3 การพิจารณาขอบเขตของระบบการจัดการคุณภาพ
องค์กรมีการพิจารณาขอบเขตของระบบการจัดการคุณภาพ
อย่างไร
4.4 ระบบการจัดการคุณภาพและกระบวนการ
องค์กรได้พิจารณาองค์ประกอบใดบ้าง ในการจัดท่าระบบ
การจัดการคุณภาพและกระบวนการ
5. ความเป็นผู้น า (ผู้บริหาร)
5.1 ความเป็นผู้น าและความมุ่งมั่น
5.1.2 การให้ความส าคัญกับลูกค้า
ผู้บริหารระดับสูงให้ความส่าคัญกับลูกค้าในด้านใดบ้าง
5.2 นโยบาย
5.2.1 การก าหนดนโยบายคุณภาพ
ผู้บริหารระดับสูงมีการก่าหนดนโยบายคุณภาพไว้อย่างไร
5.2.2 การสื่อสารนโยบายคุณภาพ
ผู้บริหารระดับสูงได้สื่อสารนโยบายคุณภาพให้พนักงานและผู้
มีส่วนร่วมผ่านช่องทางใดบ้าง
5.3 บทบาท หน้าที่ และอ านาจ
หน้า 81 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
ผู้บริหารระดับสูงได้มอบหมายหน้าที่ และอ่านาจให้ผู้ใด
รับผิดชอบในระบบการจัดการคุณภาพ
6. การวางแผน (ทุกหน่วยงาน)
6.1 การระบุความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1 การวางแผนระบบการจัดการคุณภาพ
แผนกมีการวางแผนในระบบการจัดการคุณภาพ โดย
พิจารณาถึงความเสี่ยงของแผนกในด้านใดบ้าง
6.1.2 องค์กรต้องวางแผนระบุความเสี่ยงและโอกาส
แผนกมีการระบุความเสี่ยงและโอกาสในเรื่องใดบ้าง และมี
แนวทางแก้ไขเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนั้นอย่างไร
6.2 วัตถุประสงค์คุณภาพและแผนบรรลุวัตถุประสงค์
6.2.1 องค์กรต้องก าหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ
แผนกมีการก่าหนดวัตถุประสงค์คุณภาพไว้อย่างไร
6.2.2 การวางแผนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพ
แผนกมีการวางแผนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์คุณภาพไว้อย่างไร
ขอดูแผนการท่างาน (Working Plan)
6.3 การวางแผนในการเปลี่ยนแปลง
เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง แผนกมีการวางแผนการ
เปลี่ยนแปลงนั้นอย่างไร
7. การสนับสนุน (HR, BSC, Crewing)
7.1 ทรัพยากร
7.1.2 บุคลากร
แผนกมีการพิจารณาด้านการจัดสรรบุคลากร เพื่อให้เกิด
ประสิทธิผลอย่างไร
7.1.3 โครงสร้างพื้นฐาน (MIS, ฝ่ายอาคาร)
แผนกมีการพิจารณา จัดสรรและบ่ารุงรักษาโครงสร้าง
พื้นฐานที่จ่าเป็นต่อการด่าเนินการในกระบวนการท่างาน
อย่างไร เช่น คอมพิวเตอร์, อาคารส่านักงานเป็นต้น
7.1.4 สภาพแวดล้อมส าหรับด าเนินการในกระบวนการ
แผนกมีการพิจารณาจัดสรรและรักษาสภาพแวดล้อมที่จ่าเป็น
ต่อการด่าเนินการในกระบวนการท่างานอย่างไร
7.1.5 ทรัพยากรในการเฝ้าตรวจและการวัด (Technical)
หน้า 82 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
7.1.5.2 การสอบกลับเชิงการวัด
แผนกมีการตรวจวัดที่ใช้เป็นหลักฐานต่อการให้บริการอย่างไร
เช่น ตรวจ Certificate ของอุปกรณ์ทางเรือ เป็นต้น
7.1.6 องค์ความรู้ขององค์กร (HR, BSC, Crewing)
แผนกมีการพิจารณาองค์ความรู้ ที่จ่าเป็นต่อการด่าเนินการ
ในกระบวนการอย่างไร เช่น Training Need เป็นต้น
7.2 ความสามารถ (HR, BSC, Crewing)
แผนกมีการพิจารณาความสามารถที่จ่าเป็นของบุคลากรใน
งานที่องค์กรควบคุม และมีผลต่อความสามารถและ
ประสิทธิผลของระบบการจัดการคุณภาพอย่างไร เช่น การ
สอนงาน การให้การอบรม เป็นต้น
7.3 ความตระหนัก (ทุกหน่วยงาน)
พนักงานภายในแผนกมีความตระหนักถึงนโยบายคุณภาพ,
วัตถุประสงค์คุณภาพ, การมีส่วนร่วมให้เกิดประสิทธิผลต่อ
ระบบการจัดการคุณภาพ และผลจากความไม่สอดคล้องต่อ
ข้อก่าหนดระบบการจัดการคุณภาพอย่างไร
7.4 การสื่อสาร (ทุกหน่วยงาน)
แผนกมีการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกเกี่ยวกับระบบการ
จัดการคุณภาพอย่างไร เช่น ใครสื่อสาร เวลาในการสื่อสาร
เป็นต้น
7.5 เอกสารข้อมูล (ทุกหน่วยงาน)
7.5.2 การจัดท าและปรับให้ทันสมัย
แผนกมีวิธีการจัดท่าและปรับเอกสารข้อมูลให้ทันสมัยอย่างไร
7.5.3 การควบคุมเอกสารข้อมูล
7.5.3.1 เอกสารข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบ
เอกสารข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบการจัดการคุณภาพ ต้อง
ได้รับการควบคุมอย่างไร
7.5.3.2 การควบคุมเอกสารข้อมูล
แผนกมีวิธีการควบคุมเอกสารต่าง ๆ อย่างไร
8. การด าเนินงาน (ทุกหน่วยงาน)
8.1 การวางแผนการด าเนินงานและการควบคุม
หน้า 83 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
แผนกมีการวางแผนกระบวนการ น่าไปปฏิบัติและควบคุม
กระบวนการที่จ่าเป็น อย่างไร
8.2 ข้อก าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ (Commercial)
8.2.1 การสื่อสารกับลูกค้า
แผนกมีวิธีการสื่อสารกับลูกค้า ในด้านการให้บริการอย่างไร
เช่น สัญญา ข้อก่าหนดของลูกค้า เป็นต้น
8.2.2 การพิจารณาข้อก าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
(HSSEQ)
แผนกมีการพิจารณาข้อก่าหนดของการให้บริการเพื่อเสนอ
ลูกค้า อย่างไร เช่น กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการของ
องค์กร เป็นต้น
8.2.3 การทบทวนข้อก าหนดของผลิตภัณฑ์และบริการ
(ทุกหน่วยงาน)
8.2.3.1 องค์กรต้องมั่นใจว่าสามารถบรรลุข้อก าหนดของ
การที่ส่งมอบลูกค้า
แผนกมีการทบทวนข้อก่าหนดของลูกค้า ด้านการให้บริการ
อย่างไร เช่น ระยะเวลาในการทบทวนข้อก่าหนดในสัญญา
เป็นต้น
8.2.3.2 องค์กรต้องเก็บหลักฐานที่แสดงของบริการ
เมื่อท่าการทบทวนข้อก่าหนดของการให้บริการลูกค้า แผนกมี
หลักฐานแสดงผลการทบทวนแสดงไว้ในส่วนใด เช่น รายงาน
ผลการตรวจเรือเป็นต้น
8.2.4 การเปลี่ยนแปลงข้อก าหนดของผลิตภัณฑ์และ
บริการ
หน้า 84 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
แผนกมีความมั่นใจได้อย่างไรว่า ข้อมูลที่เกี่ยวข้องได้รับการ
แก้ไข และผู้เกี่ยวข้องรับทราบ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ข้อก่าหนดของการให้บริการ
8.4 การควบคุมและกระบวนการ ผลิตภัณฑ์และบริการ
จากภายนอก (Procurement)
8.4.2 รูปแบบและระดับในการควบคุมจากภายนอก
แผนกมีความมั่นใจได้อย่างไรว่า การจัดหากระบวนการ
ผลิตภัณฑ์และบริการจากภายนอกไม่กระทบต่อ
ความสามารถในการให้บริการที่เป็นไปตามข้อก่าหนดของ
ลูกค้า
8.4.3 ข้อมูลส าหรับผู้จัดหาภายนอก
แผนกมีการจัดการกับข้อมูลส่าหรับผู้จัดหาภายนอก
(External provider) อย่างไร เช่น การสื่อสารด้านผลิตภัณฑ์
การให้บริการ, วิธีการ, ความสามารถของผู้จัดการภายนอก
เป็นต้น
8.5 การผลิตและการบริการ (ทุกหน่วยงาน)
8.5.1 การควบคุมการผลิตและบริการ
แผนกมีวิธีการควบคุมการให้บริการอย่างไร เช่น ตรวจวัดใน
ขั้นตอนที่เหมาะสม เพื่อทวนสอบว่ากระบวนการและผลของ
กระบวนการเป็นไปตามเกณฑ์ที่ยอมรับ เป็นต้น
8.5.2 การชี้บ่งและสอบกลับ
แผนกมีการควบคุมการบ่งชี้ผลของกระบวนการให้บริการ
อย่างไร
8.5.3 ทรัพย์สินของลูกค้าและผู้จัดหาภายนอก
แผนกมีวิธีการดูแลทรัพย์สินของลูกค้าและผู้จัดหาภายนอก
อย่างไร
8.5.4 การรักษาสภาพ
แผนกมีความมั่นใจได้อย่างไรว่าผลของกระบวนการได้รับการ
รักษาสภาพระหว่างการให้บริการเพื่อให้เป็นไปตาม
ข้อก่าหนด เช่น การควบคุมการปนปื้อนของสินค้า , การ
ขนส่งสินค้า เป็นต้น
8.5.5 กิจกรรมหลังการส่งมอบ
หน้า 85 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
แผนกมีการพิจารณาข้อก่าหนด หรือความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ
การให้บริการในกิจกรรมหลังส่งมอบอย่างไร เช่น สัญญาการ
ให้บริการ เป็นต้น
8.5.6 การควบคุมการปลี่ยนแปลง
แผนกมีการทบทวนและควบคุมการเปลี่ยนแปลงจากการ
ให้บริการ เพื่อให้มั่นใจว่ายังคงเป็นไปตามข้อก่าหนดอย่างไร
8.6 การยอมรับผลิตภัณฑ์ละบริการ
แผนกมีวิธีการในการยอมรับผลิตภัณฑ์และการบริการอย่างไร
เช่น ทวนสอบเอกสารการตรวจวัดอุปกรณ์ต่าง ๆ ของเรือ
ตาม Certificate ว่าเป็นไปตามข้อก่าหนด เป็นต้น
8.7 การควบคุมผลที่ไม่ได้เป็นไปตามข้อก าหนด
8.7.1 องค์กรต้องมั่นใจว่าสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับข้อก าหนด
ได้รับการชี้บ่ง และควบคุมเพื่อป้องกันไม่ให้ถูกใช้หรือส่ง
มอบโดยไม่ตั้งใจ
แผนกมีการควบคุมผลหรือลักษณะของความไม่สอดคล้องกับ
ข้อก่าหนดอย่างไร เช่น การแก้ไข, คัดแยก. ส่งคืน หรือชะลอ
การส่งมอบสินค้า หรือการให้บริการเป็นต้น
8.7.2 องค์กรต้องเก็บเอกสารข้อมูล
หลังการแก้ไขความไม่สอดคล้องกับข้อก่าหนด แผนกมีวิธีการ
เก็บเอกสารข้อมูลหรือหลักฐานอย่างไร เช่น แยกลักษณะ
ความไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด , ด่าเนินการกับผลที่ไม่เป็นไป
ตามข้อก่าหนด , การยอมรับอย่างมีเงื่อนไข เป็นต้น
9.การประเมินความสามารถ (ทุกหน่วยงาน)
9.1 การเฝ้าตรวจ , การวัด , วิเคราะห์ และประเมินผล
แผนกมีการประเมินความสามารถทางคุณภาพและ
ประสิทธิผลของระบบการจัดการคุณภาพอย่างไร เช่น ตรวจ
ติดตาม วิเคราะห์ และประเมินตามความเหมาะสมเพื่อให้
มั่นใจกับผลที่ได้ เป็นต้น
9.1.2 ความพึงพอใจลูกค้า (Commercial)
แผนกมีการส่ารวจความพึงพอใจอย่างไร เช่น การส่ารวจ
ความเห็น, การเข้าพบลูกค้า, การสมนาคุณลูกค้า เป็นต้น
9.1.3 การวิเคราะห์และประเมินผล
หน้า 86 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
เมื่อท่าการส่ารวจความพึงพอใจของลูกค้า แผนกมีการ
วิเคราะห์และประเมินผลความพึงพอใจของลูกค้าอย่างไร เช่น
ประเมินตามความสอดคล้องต่อข้อก่าหนดของการบริการ,
ระดับความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น
9.2 การตรวจประเมินภายใน (ทุกหน่วยงาน)
9.2.1 ตรวจประเมินภายในก าหนดเวลา
แผนกมีก่าหนดเวลาการตรวจประเมินภายใน (Internal
Audit) ไว้อย่างไร
9.2.2 วางแผนการตรวจประเมิน
แผนกมีการวางแผนการตรวจประเมินภายใน (Internal
Audit) อย่างไร
9.3 การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร (HSSEQ))
9.3.2 ข้อมูลส าหรับการทบทวน (HSSEQ)
การทบทวนโดยฝ่ายบริหารมีการก่าหนดแผนและการ
ด่าเนินการอย่างไร ขอดูวาระการประชุม
9.3.3 ผลของการทบทวน (HSSEQ)
จากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ผลของการทบทวนเป็น
อย่างไร
10. การปรับปรุง (ทุกหน่วยงาน)
10.2 ความไม่เป็นไปตามข้อก าหนดและการแก้ไข
10.2.1 เมื่อพบความไม่เป็นไปตามข้อก าหนด
เมื่อพบความไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด รวมถึงพบข้อร้องเรียน
แผนกมีการแก้ไขอย่างไร เช่น ควบคุมและแก้ไขเบื้องต้น,
พิจารณาสาเหตุของความไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด เป็นต้น
10.2.2 องค์กรต้องเก็บหลักฐานการแก้ไข
เมื่อท่าการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว มีการจัดเก็บหลักฐานการ
แก้ไขอย่างไร
10.3 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
หน้า 87 / 88
ISO 9001: 2015 Clause C NC OBS สิ่งที่พบ / หลักฐาน
จากการแก้ไขในส่วนของความไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด แผนก
มีแนวทางอย่างไรในการปรับปรุงที่เหมาะสม เพื่อให้เกิด
ประสิทธิผลต่อระบบการจัดการคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เช่น
ท่าการพิจารณาผลของการวิเคราะห์ และประเมินผล รวมทั้ง
ผลของการทบทวนโดยฝ่ายบริการ เพื่อพิจารณาความจ่าเป็น
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
หมายเหตุ : C (Conformity) : เป็นไปตามข้อก่าหนด
NC (Nonconformity) : ไม่เป็นไปตามข้อก่าหนด
OBS (Observation) : ข้อสังเกตที่พบ แต่ไม่ได้ผิดตามข้อก่าหนด
หน้า 88 / 88