The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-08 00:36:29

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

แบบบนั ทึกกจิ กรรม

ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

ชื่อกลมุ่ PLC
“กจิ กรรม Active Leaning ในการจดั การเรียนรู้

เพื่อพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหา”
ปกี ารศึกษา 2562

โดย นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์
ครูชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

ท่ี .......................................................... วันท่ี 7 ตุลาคม 2562

เรอื่ ง แบบรายงานผลการดำเนินงาน PLC (ส้นิ สดุ การดำเนินงาน) กล่มุ สาระฯการงานอาชีพและเทคโนโลยี

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม
ดว้ ยโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคมได้มีนโยบาย “การขบั เคล่อื นกระบวนการ PLC (ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู)้ สู่

สถานศึกษา” ขนึ้ เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา และพฒั นากระบวนการจดั การเรยี นร้ขู องครูใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ข้าพเจ้า
นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์ กรรมการกล่มุ พัฒนาการเรียนการสอน “กจิ กรรม Active Leaning ในการจัดการ
เรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หา” ได้คน้ พบปญั หานกั เรียนขาดทักษะการแก้ปัญหาซงึ่ เปน็ ทักษะสำคญั ใน
ศตวรรษที่ 21 เพ่อื การเรียนรตู้ ลอดชีวิตของผ้เู รยี น จงึ ทำการออกแบบนวัตกรรมเพอ่ื การพฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหาโดย
ใช้เทคนคิ การจัดกิจกรรมการเรียนร้แู บบ Active Learning แบบ 5 ขน้ั (5 STEPs) โดยได้ดำเนินการ ระหวา่ งวันที่ 31
พ.ค. - 22 ก.ย. 2562 รวมทั้งสิน้ 22 ช่วั โมง บดั นี้ได้ดำเนินงาน PLC สนิ้ สดุ แลว้ จงึ ขอรายงานการดำเนนิ งาน PLC ดงั
เอกสารแนบทา้ ยนี้

จึงเรยี นมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา

(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ครู ชำนาญการ

ความเหน็ ของผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ……………………..…………..
(นายจงจัด จนั ทบ)

ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

แบบบันทึก “กจิ กรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หา”
โดยใชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community)

1. คณะกรรมการ

๑. นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ ิม ประธานกรรมการ

๒. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรัพย์ รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวพรศรี เจรญิ วยั กรรมการ

๔. นางสาวสุภาพร บญุ ศริ ิ กรรมการ

๕. นางสาวจรุ ีย์พร ด้วงชอ่มุ กรรมการ

๖. นางสาวนยั นา จรู ัตน์ศกั ด์ิเจรญิ กรรมการ

๗. นายอาคม แผ่แก้วมณี กรรมการ

๘. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

๙. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

๑๐. นางสาวรุ่งทวิ า วงค์ษา กรรมการ

๑๑. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

๑๒. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

๑๓. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ กรรมการ/เลขานุการ

๑๔. นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ หวั หน้างานนเิ ทศ

ผเู้ ช่ยี วชาญ นายจงจัด จนั ทบ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

2. การระดมปญั หา/ความตอ้ งการ
2.1 นกั เรยี นขาดทกั ษะในการแกป้ ัญหา

3. แนวทางแก้ปญั หา
3.1 ปญั หาทค่ี ดั เลอื ก เร่อื ง นักเรียนขาดทักษะในการแก้ปัญหา

4. สาเหตุ
4.1 ดา้ นครู
4.1.1 ขาดการกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรอื ร้นในการเรียนรู้จนสามารถคน้ หาคำตอบ
และแกไ้ ขปัญหาได้ด้วยตนเอง

1

4.1.2 ใชก้ ระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ไี มส่ ะท้อนการจัดการเรยี นการสอนแบบ
Active Learning ท่ีแท้จรงิ

4.1.3 ขาดการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ด้านการแกป้ ัญหาอยา่ งต่อเนอื่ ง
และการกำกบั ติดตาม

4.2 ด้านนกั เรยี น
4.2.1 นักเรยี นขาดความคิดแก้ปญั หา

4.3 ด้านการบรหิ ารจดั การ
4.3.1 ขาดการนิเทศติดตามอย่างจรงิ จัง

5. วัตถุประสงค์
5.1 เพอื่ พฒั นาครใู ห้มีเทคนคิ วธิ กี ารสอนแบบ Active Learning ในการพฒั นานักเรียน
ใหเ้ กิดความคิดแก้ปัญหา
5.2 เพื่อใหน้ กั เรยี นมีความกระตอื รือรน้ ในการเรียนรู้สามารถคน้ หาคำตอบและแกไ้ ขปัญหาได้ดว้ ยตนเอง
5.3 เพ่ือพัฒนานักเรยี นใหส้ ามารถนำสงิ่ ทไ่ี ด้เรียนรมู้ าประยุกต์ใชใ้ นการแก้ปญั หาในชวี ิตประจำวนั ได้

6. แนวทางดำเนินงาน

ขน้ั ตอน กิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา
2 ชม.
1 ข้ันเตรยี มการ (Plan) 1. ประชุมปฏบิ ตั กิ าร
2. ออกคำสั่งแต่งตั้งกรรมการ 16 ชม.
1. Community สร้างทมี ครู 3. วเิ คราะหผ์ ลการเรียนของนกั เรียน
4. ประชมุ ปฏบิ ตั ิการ
2. แตง่ ตั้งคณะกรรมการ และวางแผนการดำเนนิ งาน
1. ระบปุ ัญหาท่พี บในกระบวนการ
3. วิเคราะหผ์ เู้ รียน คัดเลือกปัญหาท่ีจะพฒั นา จดั การเรยี นรู้
2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดที่
4. ศกึ ษาเทคนคิ วิธกี าร และสอื่ การสอน เกย่ี วขอ้ งกับปญั หาหรือนำไปสู่การ
แกป้ ัญหาน้ัน
2 ปฏิบตั ติ ามแผน (Do)

จดั การเรยี นรู้แบบ Active Learning ในช่ัวโมงเรยี น

ตามปกติ

2

ขั้นตอน กิจกรรม วิธีการ ระยะเวลา
3 2 ชม.
4 3. ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาโดยจัดการ 1 ชม.
5 1 ชม.
เรียนรู้แบบ Active Learning

4. วางแผนและดำเนนิ การแก้ปัญหา

5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ

แก้ไขวิธีการแก้ปญั หาหรือ

พัฒนานวัตกรรมได้

6. นำเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการ

แกป้ ัญหาหรือผลของนวัตกรรมที่พัฒนา

ได้

การวัดและประเมินผล (Check)

1. นเิ ทศแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แบบนเิ ทศการสอน

2. นิเทศการสอน 1. คัดเลือกแผนการจัดการเรยี นรทู้ ม่ี ี

ความโดดเดน่ ในกลุ่มสาระฯ

2. คดั เลือกครูทมี่ ีรปู แบบวธิ สี อนโดดเด่น

ในกลุ่มสาระฯ

3..ใช้ออนไลน์เปน็ สือ่ กลางในการติดตอ่

แลกเปลยี่ นประสบการณร์ ะหว่างครูที่

ทำงานรว่ มกนั เชน่ กลุ่ม Line หรือ

Facebook

สะท้อนผลเพอื่ ปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาต่อ (การ

ทบทวนผลการปฏิบตั ิงานReflection/After Action

Review: AAR )

1. อภิปรายผลการสังเกตการสอนและร่วมกันหาแนว แลกเปลย่ี น/อภิปราย/เสนอแนะ(AAR)

ทางแก้ไขและพฒั นาใหด้ ีย่งิ ข้ึน

2. ทบทวนเหตุการณ์การกระทำทเ่ี กดิ ขึน้ และควรเกิดข้นึ

เผยแพร่นวัตกรรม 1. Page: โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

2. Face Book:โรงเรียนสวุ รรณาราม

วิทยาคม

3

7. การวดั ผลและประเมินผล
7.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมบันทึกหลงั การสอน
7.2 ภาพการพดู คยุ ปรกึ ษากบั สมาชิกกลุ่ม PLC
7.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน
7.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
7.5 ภาพการนิเทศการสอน

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
8.1 ครูมีความรเู้ รอื่ งเทคนิค วิธกี ารสอนในจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
8.2 นักเรยี นสามารถแกป้ ัญหาได้ รอ้ ยละ 75

รวม จำนวน......22....ช่ัวโมง

ลงช่ือ...............................................................
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์)
ครผู ู้รายงาน

ขัน้ ตอนการวางแผน

ขนั้ ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู
ข้ันตอนท่ี 2 Practice จัดการเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหา หรือพัฒนา และนำสู่การปฏิบัติ โดยมีการเปิดห้องเรียน
เพ่อื การสงั เกตการณส์ อน

เครอ่ื งมอื ในการประเมิน
- แบบนเิ ทศ แบบสังเกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคิดเพอ่ื การพัฒนาการปฏบิ ตั ิ
ขัน้ ตอนที่ 4 Evaluation ประเมนิ เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครู
ขน้ั ตอนท่ี 5 Network Development สรา้ งเครือขา่ ยการพัฒนา

4

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 1

ช่ือกลมุ่ กิจกรรม ครง้ั ที่ ...1................................................................
ภาคเรียนท่.ี ...1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บคุ ลากร วันเดอื นปีท่ีจดั กิจกรรม.......31..พ.ค...62................
สถานท่ี.....หอ้ งช่างไม.้ ..................................
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กิจการนกั เรยี น  พฒั นาผเู้ รยี น

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจัดการเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาทักษะการ

แก้ปญั หา

ชือ่ กจิ กรรม
การพฒั นาทักษะการแก้ปัญหา โดยใชก้ ารจดั การเรียนร้แู บบ Active Learning

Community ผู้รว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวนงนชุ ภญิ โญทรัพย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวยั

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ 4. นางสาวจุรยี ์พร ดว้ งชอมุ่

5. นางสาวนยั นา จูรัตนศ์ กั ดิ์เจรญิ 6. นายอาคม แผแ่ ก้วมณี

7. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรุ่งทวิ า วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภูทอง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ทุ มสกลุ รตั น์

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย ผอ.จงจัด จันทบ

Recording ผู้บนั ทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์

5

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาท่พี บ
ผู้ค้นพบปญั หาเหน็ ว่า ในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคของขอ้ มูลข่าวสารและการเปลยี่ นแปลง ด้วยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุก ที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวตั นน์ ี้ส่งผลใหผ้ ู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรไู้ ด้ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าที่จะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซึ่งการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปล่ียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนที่มีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ต์ใชท้ กั ษะตา่ งๆ สร้างความเข้าใจดว้ ยตนเองจนเกดิ เป็นการเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมาย

การเรียนรู้ท่เี น้นบทบาทและการมสี ่วนร่วมของผู้เรียน “เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ่ีใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รียนร้อู ยา่ ง
มคี วามหมายโดยการรว่ มมือระหวา่ งผเู้ รียนด้วยกัน ในการน้ี ครตู ้องลดบทบาทในการสอนและการให้ขอ้ ความรู้แก่
ผ้เู รียนโดยตรง แตไ่ ปเพม่ิ กระบวนการและกจิ กรรมทจ่ี ะทำใหผ้ ู้เรียนเกิดความกระตอื รือรน้ ในการจะทำกจิ กรรม
ต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การ
อภปิ รายกบั เพอื่ นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้รว่ มอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แกป้ ญั หา

สาเหตุของปญั หา

6

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ขอ้ ความรูแ้ ก่ผเู้ รยี นโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใชช้ ีวิต การทำงาน ดำรงชีพอยู่ได้กับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปจั จบุ นั ได้ในระยะยาว

ความรูแ้ ละหลักการท่ีนำมาใช้

การปฏริ ูปการเรยี นรูใ้ นศตวรรตท่ี 21 หวังท่ีจะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเ้ ปน็ ผ้เู รียนรู้ตลอดชีวติ อยา่ งมี
คณุ ภาพ ดงั นั้นการจัดการเรียนรู้ของครู จึงตอ้ งมีการวเิ คราะห์หลกั สตู ร และการจดั การเรยี นรูท้ ี่เน้นเดก็ เปน็
ศูนย์กลาง ซงึ่ เปน็ ทม่ี าของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน หรือ 5 STEPs”

ข้นั ตอนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้นั (5 STEPs) มี 5 ขนั้ ตอน ได้แก่
1. ขั้นการเรยี นรตู้ ัง้ คำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรยี นรแู้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขน้ั การเรยี นรูเ้ พือ่ สร้างองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ขั้นการเรียนรเู้ พื่อการสอื่ สาร (Learning to Communicate)
5. ขน้ั การเรยี นรู้เพื่อตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนในการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ข้ัน (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขัน้ (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรแู้ บบด้งั เดมิ ทเ่ี นน้ การจำสงิ่ ที่ผู้สอนบรรยาย
ผู้สอนและผู้เรยี นจำเป็นต้องปรับเปลีย่ นบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังนี้
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผู้ทำ
หนา้ ที่คอยชว่ ยเหลือ เออ้ื เฟ้ือ และแบ่งปนั ประสบการณ์ จัดสถานการณเ์ ร้าให้นักเรยี นไดค้ ดิ ตง้ั คำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผ้สู อนตอ้ งจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ความรคู้ วามสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
2) บทบาทของผ้เู รียนในการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้นั (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรจู้ ากพื้นความรู้เดิม ผ้เู รยี นต้องเกิดการเรยี นรูอ้ ยา่ งมีความหมายและไม่เกดิ แนวความคิดท่ผี ิดพลาด การ
ละเลยหรอื เพิกเฉย ผู้เรียนเรียนรู้ร่วมกับผู้อน่ื อย่างกระตอื รอื ร้น แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอสิ ระ สรปุ ข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาได้ด้วยตนเอง รวมท้งั ประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรยี นรสู้ ดุ ทา้ ยผู้เรียนสามารถนำความรูท้ ่ี
ได้รับไปประยุกต์ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้ (พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสขุ .2560.สอนเขียน
แผนบรู ณาการบนฐานเด็กเป็นสำคญั . พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5.กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

7

กจิ กรรมทที่ ำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครูแลกเปล่ยี นประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นรู้ซง่ึ กันและกนั
-มสี อื่ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกนั
-พิจารณา ส่อื นวตั กรรม ทีม่ คี วามสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางท่ีดใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผู้เรียนร่วมกนั
-เลอื ก ส่อื นวัตกรรม ท่ีมีความสอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา
ไดว้ ธิ กี ารจัดการเรียนรู้ STEM 5 ขัน้ ตอน

ผลทไี่ ดร้ บั จากกจิ กรรม
1. ไดน้ วัตกรรมในการแกไ้ ขปัญหา
2. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นดขี ึ้น หรือเปน็ ไปตามเกณฑท์ ตี่ กลงกันไว้
3. พฤตกิ รรมของนักเรยี นท่มี ีปัญหาเปลยี่ นไปในทางทด่ี ีข้นึ ตามข้อตกลงท่ีตงั้ ไว้
4. นำไปส่กู ารอบรมคูปองพฒั นาครู และรวบรวมสง่ เพอ่ื เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชิกเครอื ขา่ ยไปใช้ตลอดระยะทีด่ ำเนินโครงการทุกครง้ั ท่มี ีการแลกเปล่ียนเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกลมุ่ PLC สามารถนำผลการปฏิบตั กิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมคี รูผู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจัดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
การพบปะพดู คุยระหว่างครูผูส้ อนประจำวิชาไม่ค่อยต่อเนื่องเท่าท่ีควร เนื่องด้วยคาบสอนตรงกนั และใน

บางคร้งั ครูผสู้ อนมีภาระนอกเหนืองานสอนมาก จงึ ไมส่ ะดวกในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

8

กจิ กรรม/ข้นั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ดด้ ี
ช่วยเหลือกนั แนะนำ วธิ กี ารสรา้ งนวตั กรรม

ส่ิงทตี่ ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.สร้างความมั่นใจในตนเองในการนำเสนอผลงานของตนเองกบั ผู้อน่ื
2.สรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นร้ใู นหอ้ งเรยี นโดยการสรา้ งการมปี ฏิสัมพนั ธ์ระหว่างครกู บั นักเรียนและนกั เรียน

กับนกั เรียนในการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

ผลการประเมินการแกป้ ญั หา
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนื่องจาก สมาชกิ ทุกคนมีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ ตามที่ไดร้ ับหน้าทป่ี ฏิบตั ิการสอน โดยวิธีการสอนแบบ
Active Learning แบบ 5 ขนั้ (5 STEPs)

ข้อเสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทึกกจิ กรรม
....................................................นัดหมายครงั้ ตอ่ ไป วันท่ี 7 ม.ิ ย.62..................................

ลงช่ือ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์)

ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

9

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 1

ช่อื กลุ่มกจิ กรรม ครั้งท่ี ...2................................................................
ภาคเรยี นท่ี....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดอื นปที จ่ี ดั กิจกรรม.......7..มิ.ย...62................
สถานที.่ ....หอ้ งช่างไม.้ ..................................
 งบประมาณ  บริหารท่ัวไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กิจการนักเรียน  พฒั นาผเู้ รยี น

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจดั การเรยี นรู้ เพื่อพัฒนาทกั ษะการ

แกป้ ญั หา

ชอื่ กิจกรรม
การพัฒนาทกั ษะการแก้ปัญหา โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

Community ผู้ร่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวนงนุช ภิญโญทรพั ย์ 2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย

3. นางสาวสภุ าพร บุญศริ ิ 4. นางสาวจรุ ีย์พร ดว้ งชอุม่

5. นางสาวนัยนา จรู ตั น์ศักดิเ์ จริญ 6. นายอาคม แผแ่ ก้วมณี

7. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรงุ่ ทวิ า วงค์ษา 10. นายอรรถพล ภทู อง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ทุ มสกุลรตั น์

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย ผอ.จงจัด จันทบ

Recording ผ้บู นั ทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์

10

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาท่ีพบ
ผู้ค้นพบปญั หาเห็นว่า ในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคของขอ้ มลู ข่าวสารและการเปล่ียนแปลง ด้วยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตนน์ ี้ส่งผลใหผ้ ู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาทีทำให้
เน้ือหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซึ่งการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนในช้ันเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ชี้แนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยุกต์ใช้ทกั ษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจด้วยตนเองจนเกิดเปน็ การเรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย

การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ บทบาทและการมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น “เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ใ่ี ห้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นร้อู ย่าง
มีความหมายโดยการรว่ มมอื ระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ ้อความรู้แก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แตไ่ ปเพิม่ กระบวนการและกิจกรรมท่ีจะทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตอื รอื รน้ ในการจะทำกจิ กรรม
ตา่ งๆ มากขน้ึ และอย่างหลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การ
อภปิ รายกบั เพือ่ นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาทักษะการ
แกป้ ญั หา

สาเหตขุ องปัญหา

11

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใชช้ วี ติ การทำงาน ดำรงชีพอยไู่ ด้กับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ไดใ้ นระยะยาว

ความรู้และหลักการทน่ี ำมาใช้

การปฏริ ปู การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หวงั ทจ่ี ะพัฒนาเดก็ ไทยและคนไทยให้เปน็ ผเู้ รยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจัดการเรียนรขู้ องครู จงึ ต้องมีการวิเคราะห์หลกั สูตร และการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นท่ีมาของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขัน้ (5 STEPs) มี 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้ันการเรยี นรตู้ งั้ คำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรยี นร้แู สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรียนร้เู พอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ข้นั การเรยี นร้เู พ่อื การส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรยี นรูเ้ พือ่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผ้สู อนและผู้เรียนในการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ข้นั (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขน้ั (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรู้แบบด้งั เดมิ ท่เี นน้ การจำสง่ิ ที่ผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเป็นตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังน้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลอื เอื้อเฟอ้ื และแบ่งปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นักเรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหว่างบุคคล
2) บทบาทของผู้เรยี นในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขัน้ (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพนื้ ความรเู้ ดมิ ผเู้ รยี นต้องเกดิ การเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมายและไมเ่ กิดแนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผเู้ รยี นเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นอย่างกระตือรือรน้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอสิ ระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาได้ด้วยตนเอง รวมท้ังประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรียนรู้สดุ ท้ายผู้เรยี นสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ (พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขยี น
แผนบรู ณาการบนฐานเดก็ เปน็ สำคญั . พมิ พ์ครง้ั ที่ 5.กรงุ เทพฯ:โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

12

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรู้ซึง่ กนั และกนั
-มีสือ่ นวัตกรรม (เทคนคิ การสอน/วิธีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรูป้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรียนรรู้ ่วมกนั
-พจิ ารณา ส่อื นวัตกรรม ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางท่ีดีในการแกป้ ัญหาคุณภาพผ้เู รียนรว่ มกัน
-เลอื ก สอ่ื นวัตกรรม ท่มี คี วามสอดคล้องกับการแกป้ ญั หา
ไดว้ ธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ขนั้ ตอน

ผลท่ไี ดร้ ับจากกิจกรรม
1. ไดน้ วตั กรรมในการแกไ้ ขปัญหา
2. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรียนดีขน้ึ หรอื เปน็ ไปตามเกณฑท์ ่ีตกลงกนั ไว้
3. พฤติกรรมของนักเรยี นทมี่ ีปญั หาเปลี่ยนไปในทางที่ดขี ึ้นตามขอ้ ตกลงทต่ี ้งั ไว้
4. นำไปสูก่ ารอบรมคูปองพฒั นาครู และรวบรวมสง่ เพอ่ื เก็บเปน็ หลกั ฐานในการรายงานตอ่ ไป

การนำผลทไ่ี ด้ไปใช้
1. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะที่ดำเนินโครงการทกุ ครงั้ ที่มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกล่มุ PLC สามารถนำผลการปฏิบตั กิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเรจ็ จุดเด่นและจดุ ที่ต้องพัฒนาใน
การจัดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อปุ สรรคท่ีพบ
ปัญหานักเรยี นเรียนรู้ไดอ้ ย่างไม่พรอ้ มกัน ทำใหม้ ีความลา่ ช้าในการจดั การเรียนการสอน

กจิ กรรม/ขั้นตอน/งานทปี่ ฏิบตั ิได้ดี
รว่ มศกึ ษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรือกระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดงั น้ี

13

1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา เสนอแนะแนวทางในการสอนทบทวนให้กับกลุ่มนักเรียนท่ีมีปัญหา และการปรับ
สภาพแวดล้อมห้องเรียน กรณีท่ีนักเรียนกลุ่มดังกล่าวเรียนรู้ได้ช้ามากก็จะให้ทำการย้ายที่น่ังให้ใกล้ชิด
ครผู สู้ อนมากทส่ี ดุ

2) นายอรรถพล ภูทอง นำเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี ในการสร้างบทเรยี นออนไลน์ ทำให้
ผเู้ รียนสามารถเรียนรู้นอกเวลาหรอื นอกห้องเรียนได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังเป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้วา่ ขณะน้ีมีเทคโนโลยี มคี วามก้าวหน้าก้าวไกลไปในลกั ษณะรูปแบบไดบ้างท้งั ทางดา้ นวัสดุ อุปกรณ์ และ
วธิ ีใหม่ ๆ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้เทคโนโลยี มาเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ของ
ตนเอง

3) นางสาวกาญจนา คงทน เสนอแนะเพิ่มเติมจาก นายอรรถพล ภูทอง โดยให้ครูผู้สอนจัดทำสื่อการเรียนการ
สอนท่ีทันสมัย และนำสื่อดังกล่าวไปไว้บนระบบเครือข่าย เป็นการเปิดโลกทัศน์ทั้งครูผู้สอน และผู้เรียนให้
กว้างข้ึน ไม่จำกัดเฉพาะด้าน เฉพาะทาง ช่วยให้การเรียนรู้น่าสนใจ น่าต่ืนเต้น ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการ
เรียนรู้ มคี วามคิด และมมุ มองทกี่ วา้ งขึ้น

4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ เสนอแนะแนวทางการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ในการใช้
วิธีการเรียนการสอนรูปแบบกลุ่ม โดยให้นักเรียนที่เรียนรู้ได้เร็วกว่าช่วยเพ่ือนกลุ่มท่ีเรียนรู้ได้ช้า
เป็นการจัดการเรียนการสอนท่ีแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกันมีการ
แลกเปล่ียนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและ
สว่ นรวม มีเป้าหมายรว่ มกัน การติดต่อสัมพันธก์ นั แลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั

5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ เสนอแนะแนวทางการแกป้ ัญหา โดยวิธีการนัดหมายนกั เรียนกลุ่มที่มีปัญหาใน
การสอนเสริมนอกเวลา เป็นกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ท่ีมุ่งเสริมเน้ือหาสาระที่เกี่ยวข้องให้กับผู้เรียน เพื่อเพิ่มพูน
ความร้คู วามเข้าใจ และประสบการณ์ใหแ้ น่นแฟ้นมากยงิ่ ข้นึ

6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแหล่งการเรียนรู้
ทางดา้ นส่ือและนวตั กรรมสำหรบั ครูผู้สอน เชน่ โครงการโทรทัศน์ครู, TEACHERS as LEARNERS, คลังสมอง
ของครูไทย, DLIT, ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ TKC, Education World, ทรู ปลูกปัญญา, TK park และ
NECTEC

7) นายสมชาย กราบทอง ได้ร่วมยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการสร้างส่ือการศึกษาผ่านช่องทาง TPLC เช่น
Prezi, Twinkl, Have Fun Teaching, Puzzle Maker, การสร้าง mind map ด้วยเว็บไซต์ Popplet หรือ
Spider scribe และเวบ็ ไซตใ์ หบ้ รกิ ารการจัดการเรยี นการสอน เชน่ Stormboard, kahoot และ Ping Pong

8) 8) นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ เสนอแนะแนวทางการเรยี นรแู้ บบโครงงานเพอ่ื เป็นการกระตุ้นเพื่อนำความ
สนใจทเ่ี กิดจากตวั นักเรยี นมาใช้ในการทำกจิ กรรมค้นคว้าหาความรู้ดว้ ยตัวนกั เรียนเอง นำไปสู่การเพมิ่ ความรู้
ท่ีได้จากการลงมอื ปฏบิ ัติ การฟังและการสงั เกตจากผู้เช่ยี วชาญ โดยนักเรียนมกี ารเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการ

14

ทำงานเปน็ กล่มุ ท่ีจะนำมาสู่การสรุปความรู้ใหม่ มีการเขยี นกระบวนการจดั ทำโครงงานและได้ผลการจัด
กจิ กรรมเป็นผลงานแบบรปู ธรรม

สิ่งท่ีตอ้ งพัฒนาตอ่ ไป
1.สรา้ งความมัน่ ใจในตนเองในการนำเสนอผลงานของตนเองกับผูอ้ ืน่
2.สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ในห้องเรียนโดยการสรา้ งการมีปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งครกู บั นักเรยี นและนกั เรยี น

กับนกั เรยี นในการแลกเปล่ียนเรียนรู้
ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไม่ประสบความสำเร็จ
เนื่องจาก จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ครั้งน้ี สามารถนำมาเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการจัดทำวิจัยในช้ันเรียน
เพ่ือให้ได้ข้อค้นพบหรือคำตอบที่หนักแน่น น่าเช่ือถือ สามารถแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น และนำไปใช้ในการพัฒนางาน
ของตนได้จรงิ
ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบันทกึ กจิ กรรม

....................................................นดั หมายครั้งต่อไป วันท่ี 14 มิ.ย.62..................................

ลงชือ่ ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์)

ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผู้รบั รองกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

15

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ชื่อกล่มุ กิจกรรม ครั้งที่ ...3................................................................
ภาคเรียนท่ี....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บคุ ลากร วันเดอื นปีท่จี ดั กิจกรรม.......14..มิ.ย...62................
สถานที.่ ....ห้องช่างไม้...................................
 งบประมาณ  บริหารทัว่ ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กิจการนกั เรยี น  พัฒนาผเู้ รียน

 กิจกรรม Active Leaning

ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพฒั นาทักษะการ

แกป้ ญั หา

ชอ่ื กจิ กรรม
การพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning

Community ผู้ร่วมอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้รว่ มอภิปราย

1. นางสาวนงนุช ภญิ โญทรพั ย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวยั

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ 4. นางสาวจุรยี ์พร ด้วงชอมุ่

5. นางสาวนยั นา จรู ัตน์ศักดิ์เจรญิ 6. นายอาคม แผ่แกว้ มณี

7. นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรุ่งทิวา วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภทู อง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ุทมสกุลรตั น์

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย ผอ.จงจัด จนั ทบ

Recording ผู้บันทึกขอ้ มลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

16

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ
ผู้ค้นพบปัญหาเห็นวา่ ในศตวรรษท่ี 21 เปน็ ยคุ ของข้อมูลขา่ วสารและการเปล่ียนแปลง ด้วยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การส่ือสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกท่ีทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์นี้ส่งผลให้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมากมายทุกวินาทีทำให้
เน้ือหาวิชามีมากเกินกว่าที่จะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนที่มีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยุกตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สร้างความเข้าใจดว้ ยตนเองจนเกดิ เป็นการเรียนรู้อย่างมคี วามหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมีส่วนรว่ มของผูเ้ รยี น “เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้อู ยา่ ง
มีความหมายโดยการร่วมมือระหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั ในการน้ี ครตู อ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ ้อความรูแ้ ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพิม่ กระบวนการและกิจกรรมที่จะทำให้ผเู้ รียนเกิดความกระตอื รือร้น ในการจะทำกจิ กรรม
ตา่ งๆ มากขนึ้ และอยา่ งหลากหลาย ไมว่ ่าจะเปน็ การแลกเปลยี่ นประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การ
อภปิ รายกับเพือ่ นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แกป้ ญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

17

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใช้ชวี ติ การทำงาน ดำรงชีพอยไู่ ด้กับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ได้ในระยะยาว

ความรู้และหลักการทน่ี ำมาใช้

การปฏริ ปู การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 หวงั ทจ่ี ะพัฒนาเดก็ ไทยและคนไทยให้เปน็ ผเู้ รยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นนั้ การจัดการเรยี นรขู้ องครู จงึ ตอ้ งมีการวิเคราะห์หลกั สูตร และการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นท่ีมาของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ข้นั ตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขัน้ (5 STEPs) มี 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้นั การเรยี นรตู้ ั้งคำถาม (learning to Question)
2. ข้นั การเรยี นร้แู สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ข้ันการเรียนร้เู พอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ขนั้ การเรยี นร้เู พ่อื การส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรยี นรูเ้ พอื่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผ้สู อนและผู้เรียนในการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ข้นั (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรู้แบบด้งั เดมิ ท่เี นน้ การจำสง่ิ ที่ผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเป็นตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังน้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยชว่ ยเหลอื เอื้อเฟ้อื และแบ่งปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นักเรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหว่างบุคคล
2) บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขัน้ (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพนื้ ความรเู้ ดิม ผเู้ รียนต้องเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีความหมายและไมเ่ กิดแนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรอื เพิกเฉย ผเู้ รยี นเรยี นรู้ร่วมกับผู้อื่นอย่างกระตือรือรน้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสรา้ งปญั หาได้ดว้ ยตนเอง รวมท้ังประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรียนรู้สดุ ท้ายผู้เรยี นสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ (พิมพนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขยี น
แผนบรู ณาการบนฐานเดก็ เปน็ สำคญั . พมิ พ์ครง้ั ที่ 5.กรงุ เทพฯ:โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

18

กิจกรรมที่ทำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรู้ซง่ึ กนั และกนั
-มีสอ่ื นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรูป้ ระสบการณ์ในการจดั การเรยี นรรู้ ่วมกนั
-พจิ ารณา ส่อื นวตั กรรม ทมี่ ีความสอดคล้องกับการแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทด่ี ีในการแกป้ ัญหาคุณภาพผูเ้ รียนร่วมกนั
-เลอื ก สือ่ นวัตกรรม ทีม่ ีความสอดคล้องกับการแก้ปญั หา
ไดว้ ธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ขัน้ ตอน

ผลทไี่ ด้รบั จากกิจกรรม
1. ไดน้ วตั กรรมในการแกไ้ ขปญั หา
2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นดขี น้ึ หรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ท่ีตกลงกนั ไว้
3. พฤตกิ รรมของนักเรยี นท่มี ีปัญหาเปล่ียนไปในทางทดี่ ีขึน้ ตามขอ้ ตกลงทตี่ ้ังไว้
4. นำไปสกู่ ารอบรมคปู องพัฒนาครู และรวบรวมสง่ เพอื่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

การนำผลท่ีได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่นี ่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครอื ข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทด่ี ำเนินโครงการทุกครงั้ ทม่ี ีการแลกเปลีย่ นเรียนร้โู ดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกลมุ่ PLC สามารถนำผลการปฏิบตั กิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเร็จ จุดเด่นและจดุ ท่ีต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
ปญั หานักเรียนเรยี นรไู้ ด้อย่างไมพ่ รอ้ มกนั ทำใหม้ คี วามล่าช้าในการจัดการเรยี นการสอน

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ดด้ ี

19

การเรียนการสอนเช่นน้ีทำให้สามารถนำการจัดการเรียนรู้ตามความแตกต่างของผู้เรียน (Differentiate
Instruction) และการเรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based learning : PBL) มาใช้ในชั้นเรียนได้ด้วยการ
เรียนการสอนแบบ "หอ้ งเรยี นกลบั ด้าน" ทำให้ครูผสู้ อนมเี วลาช้ีแนะนักเรียนและช่วยนักเรยี นสรา้ งสรรคแ์ นวคดิ ต่าง ๆ
ได้มากข้ึน นอกจากน้ียังลดจำนวนนักเรียนที่หยุดเรียนในช้ันเรียนน้ัน ๆ และช่วยเพ่ิมเน้ือหาสาระจากท่ีนักเรียนได้
เรียนรดู้ ้วย

สง่ิ ทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป
1.สร้างความม่ันใจในตนเองในการนำเสนอผลงานของตนเองกบั ผู้อน่ื
2.สร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ในห้องเรยี นโดยการสรา้ งการมปี ฏิสัมพนั ธ์ระหว่างครูกบั นักเรียนและนักเรียน

กับนักเรียนในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนอื่ งจาก นำผลการประชมุ ไปบนั ทกึ ใน Log book ของตนเอง เพอ่ื เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบนั ทึกกิจกรรม

....................................................นดั หมายครง้ั ตอ่ ไป วันที่ 21 ม.ิ ย.62..................................

ลงชอ่ื ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์)

ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผรู้ ับรองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

20

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ชือ่ กลมุ่ กจิ กรรม คร้งั ที่ ...4................................................................
ภาคเรยี นที่....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บคุ ลากร วันเดอื นปที จ่ี ัดกจิ กรรม.......21..มิ.ย...62................
สถานท.่ี ....หอ้ งช่างไม้...................................
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กจิ การนกั เรยี น  พฒั นาผู้เรียน

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นาทักษะการ

แก้ปัญหา

ชอ่ื กจิ กรรม
การพัฒนาทกั ษะการแก้ปัญหา โดยใชก้ ารจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning

Community ผ้รู ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผ้รู ว่ มอภิปราย

1. นางสาวนงนุช ภิญโญทรพั ย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวัย

3. นางสาวสภุ าพร บญุ ศิริ 4. นางสาวจรุ ียพ์ ร ด้วงชอมุ่

5. นางสาวนัยนา จูรตั น์ศักดิ์เจริญ 6. นายอาคม แผ่แกว้ มณี

7. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรงุ่ ทวิ า วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภทู อง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ุทมสกลุ รัตน์

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผบู้ ันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

21

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทพ่ี บ
ผคู้ น้ พบปญั หาเห็นว่า ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยคุ ของขอ้ มลู ข่าวสารและการเปล่ียนแปลง ด้วยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การส่ือสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตนน์ ี้ส่งผลให้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องมคี วามสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองอยา่ งต่อเน่ืองและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในช้ันเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปล่ียนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ แล ะ
ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สร้างความเข้าใจด้วยตนเองจนเกดิ เป็นการเรยี นรู้อยา่ งมคี วามหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ น้นบทบาทและการมีส่วนรว่ มของผูเ้ รยี น “เป็นกระบวนการเรียนรู้ทีใ่ หผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้อย่าง
มีความหมายโดยการรว่ มมือระหวา่ งผู้เรยี นดว้ ยกัน ในการนี้ ครตู ้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความร้แู ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพ่มิ กระบวนการและกิจกรรมทจ่ี ะทำใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ความกระตือรอื รน้ ในการจะทำกิจกรรม
ต่างๆ มากขึน้ และอยา่ งหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพดู การเขยี น การ
อภิปรายกบั เพ่อื นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แก้ปญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

22

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใชช้ วี ติ การทำงาน ดำรงชีพอยไู่ ด้กับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ไดใ้ นระยะยาว

ความรู้และหลกั การที่นำมาใช้

การปฏริ ปู การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 หวงั ทจ่ี ะพัฒนาเดก็ ไทยและคนไทยให้เปน็ ผ้เู รยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจัดการเรยี นรูข้ องครู จงึ ต้องมีการวิเคราะห์หลกั สูตร และการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นทม่ี าของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรูแ้ บบ 5 ขัน้ (5 STEPs) มี 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้ันการเรียนรตู้ ั้งคำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรยี นรูแ้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรยี นรู้เพ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ข้นั การเรียนรเู้ พอ่ื การส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรียนรเู้ พื่อตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผ้สู อนและผู้เรียนในการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ข้นั (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขัน้ (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรู้แบบด้งั เดมิ ท่เี นน้ การจำสง่ิ ที่ผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเป็นตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังนี้
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลือ เอ้อื เฟอ้ื และแบ่งปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นักเรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2) บทบาทของผเู้ รียนในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขัน้ (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพ้นื ความรู้เดมิ ผู้เรยี นต้องเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมายและไมเ่ กิดแนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผ้เู รียนเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นอย่างกระตอื รือรน้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอสิ ระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาไดด้ ้วยตนเอง รวมท้ังประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรียนรู้สดุ ท้ายผู้เรยี นสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขยี น
แผนบรู ณาการบนฐานเด็กเป็นสำคญั . พมิ พ์ครง้ั ที่ 5.กรงุ เทพฯ:โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

23

กิจกรรมที่ทำ/ปฏบิ ัติ
กจิ กรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรซู้ ึ่งกนั และกัน
-มีสื่อ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วิธกี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรูป้ ระสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้รว่ มกัน
-พิจารณา ส่อื นวตั กรรม ท่มี คี วามสอดคล้องกบั การแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางท่ีดใี นการแกป้ ัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกนั
-เลอื ก สือ่ นวัตกรรม ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกับการแกป้ ญั หา
ไดว้ ธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ขน้ั ตอน

ผลทไี่ ด้รบั จากกิจกรรม
1. ไดน้ วตั กรรมในการแกไ้ ขปญั หา
2. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นดขี น้ึ หรอื เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีตกลงกนั ไว้
3. พฤตกิ รรมของนักเรยี นท่มี ปี ัญหาเปล่ียนไปในทางทีด่ ีข้นึ ตามข้อตกลงท่ตี ง้ั ไว้
4. นำไปสกู่ ารอบรมคปู องพัฒนาครู และรวบรวมสง่ เพือ่ เก็บเป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป

การนำผลท่ีได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่นี ่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครอื ข่ายมกี ารนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทด่ี ำเนินโครงการทุกครง้ั ท่ีมีการแลกเปล่ียนเรยี นรูโ้ ดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกลมุ่ PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเรจ็ จุดเด่นและจุดที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
ปญั หานักเรียนเรยี นรไู้ ด้อย่างไมพ่ รอ้ มกัน ทำใหม้ ีความล่าช้าในการจดั การเรยี นการสอน

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ดด้ ี

24

จากการประชมุ กลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาห์ท่ีผ่านมาได้คัดเลือกนางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ เป็นครูต้นแบบ
(Model Teacher) ในการให้คำแนะนำการพฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างห้องเรียนกลับด้าน
Flipped Classroom (กระบวนการเรียนการสอนรูปแบบหน่ึงซึ่งเปลี่ยนการใช้ชว่ งเวลาของการบรรยายเน้ือหา (Lecture) ใน
หอ้ งเรียนเป็นการทำกิจกรรมต่างๆ เพื่อฝกึ แก้โจทยป์ ัญหา และประยกุ ต์ใช้จริง ส่วนการบรรยายจะอยู่ในช่องทางอ่ืนๆ เช่น
วดิ โี อ วดิ ีโอออนไลน์ podcasting หรือscreencasting ฯลฯ ซ่ึงนักเรียนเขา้ ถึงได้เม่อื อยู่ที่บ้านหรอื นอกหอ้ งเรียน) จงึ ได้มีการ
ร่วมวางแผนงาน เพื่อจัดทำและปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้รว่ มกนั ดังน้ี

1) คณะครูผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศกึ ษาข้นั ตอนวธิ ีการจากครูตน้ แบบ ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ พูดคยุ เพอ่ื
นำไปจัดทำและปรับปรงุ แผนการจดั การเรียนรู้ในรายวชิ าของตนเอง

2) คณะครูรว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ถึงวิธกี ารขัน้ ตอน เพ่ือดำเนนิ การในข้ันต่อไป
3) คณะครูแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการนำระบบห้องเรียนออนไลน์
ClassStart ไปปรับใช้ในรายวิชาของตนเอง
4) รว่ มกันกำหนดบทบาทสมาชกิ ในการสงั เกตการณ์ทดลองใชร้ ปู แบบกิจกรรม
5) คณะครูมกี ารนดั หมาย เพอ่ื ไปสังเกตการณ์การสอนของครูต้นแบบในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
โดยการนำระบบห้องเรียนออนไลน์ ClassStart ไปใชใ้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอน และนำผลท่ีไดจ้ ากการ
จัดกิจกรรมมาอภิปรายและสรปุ ผลร่วมกัน เพอ่ื หาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

สิ่งทตี่ ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.สร้างความม่นั ใจในตนเองในการนำเสนอผลงานของตนเองกบั ผู้อ่นื
2.สร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ในห้องเรยี นโดยการสร้างการมีปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างครกู ับนักเรียนและนกั เรียน

กบั นกั เรียนในการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไม่ประสบความสำเรจ็

เนื่องจาก สรุปความรู้และข้อเสนอแนะที่ได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในคร้ังน้ี คือ ระบบห้องเรียน
ออนไลน์ClassStart ซ่ึงมีคุณสมบัติในการจัดการเรียนการสอนได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องติดต้ังระบบด้วยตนเอง และ
สามารถเขา้ ถึงไดท้ ุกท่ีทุกเวลา ไร้ขอบเขตของเวลาและสถานท่ี เรียนรไู้ ด้ทั้งผ่านเว็บไซต์ หรือ Android แอปพลิเคชัน
ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกจิ กรรม

25

....................................................นัดหมายครงั้ ตอ่ ไป วนั ท่ี 28 มิ.ย.62..................................
ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์)

ความคิดเหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผรู้ ับรองกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

26

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ช่ือกลุ่มกจิ กรรม คร้งั ที่ ...5................................................................
ภาคเรียนที่....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บุคลากร วันเดอื นปที จ่ี ัดกิจกรรม.......28..มิ.ย...62................
สถานที.่ ....หอ้ งชา่ งไม.้ ..................................
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กจิ การนกั เรียน  พฒั นาผู้เรยี น

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทกั ษะการ

แกป้ ญั หา

ชอ่ื กิจกรรม
การพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหา โดยใชก้ ารจดั การเรียนร้แู บบ Active Learning

Community ผูร้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผูพ้ บปัญหา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม

Buddy Teacher ผู้รว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรัพย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวยั

3. นางสาวสภุ าพร บญุ ศริ ิ 4. นางสาวจรุ ยี ์พร ดว้ งชอมุ่

5. นางสาวนยั นา จรู ตั นศ์ ักดิเ์ จริญ 6. นายอาคม แผ่แกว้ มณี

7. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรงุ่ ทวิ า วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภูทอง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อุททุ มสกุลรัตน์

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย ผอ.จงจัด จันทบ

Recording ผบู้ นั ทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

27

แบบบันทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทพ่ี บ
ผคู้ น้ พบปญั หาเห็นวา่ ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคของข้อมลู ข่าวสารและการเปลย่ี นแปลง ดว้ ยความกา้ วหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การส่ือสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์น้ีส่งผลให้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังน้ันจึงจำเป็นต้องปรับเปล่ียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจนเกิดเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมสี ่วนรว่ มของผ้เู รียน “เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ทีใ่ หผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้อย่าง
มีความหมายโดยการรว่ มมือระหว่างผ้เู รยี นดว้ ยกัน ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ อ้ ความรแู้ ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพม่ิ กระบวนการและกจิ กรรมทจี่ ะทำใหผ้ เู้ รยี นเกิดความกระตือรือรน้ ในการจะทำกิจกรรม
ต่างๆ มากขึน้ และอยา่ งหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การ
อภิปรายกบั เพ่อื นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้รว่ มอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แก้ปญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

28

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรยี นไม่สามารถใชช้ ีวิต การทำงาน ดำรงชพี อยู่ไดก้ ับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ไดใ้ นระยะยาว

ความรู้และหลักการที่นำมาใช้

การปฏิรปู การเรยี นรใู้ นศตวรรตท่ี 21 หวังทีจ่ ะพัฒนาเด็กไทยและคนไทยใหเ้ ป็นผเู้ รยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจดั การเรยี นรูข้ องครู จึงตอ้ งมกี ารวิเคราะห์หลักสูตร และการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นเดก็ เปน็
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเปน็ ทีม่ าของคำว่า “กระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ข้ัน (5 STEPs) มี 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้ันการเรียนรู้ตัง้ คำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรียนร้แู สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรยี นรู้เพอื่ สรา้ งองค์ความรู้ (Learning to Construct)
4. ข้นั การเรยี นรูเ้ พื่อการสือ่ สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรยี นรูเ้ พอื่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผสู้ อนและผู้เรยี นในการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) แตกต่างจากการเรียนรูแ้ บบดั้งเดิมท่เี นน้ การจำส่งิ ที่ผ้สู อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเป็นต้องปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ งั น้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเปน็ เพยี งผู้ทำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลือ เอ้ือเฟอ้ื และแบง่ ปนั ประสบการณ์ จัดสถานการณเ์ ร้าให้นกั เรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับความรคู้ วามสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2) บทบาทของผ้เู รยี นในการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) ต้องมีบทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพน้ื ความรเู้ ดิม ผู้เรียนตอ้ งเกดิ การเรยี นรอู้ ย่างมคี วามหมายและไมเ่ กดิ แนวความคดิ ทผี่ ิดพลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผเู้ รียนเรยี นรู้ร่วมกบั ผ้อู ืน่ อย่างกระตอื รอื ร้น แสดงความคิดเห็นอย่างอสิ ระ สรุปขอ้ ความรู้
ขยายและสร้างปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง รวมทั้งประเมนิ และสะทอ้ นผลการเรยี นรู้สุดท้ายผูเ้ รียนสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ให้เกิดประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันได้ (พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขียน
แผนบรู ณาการบนฐานเด็กเปน็ สำคญั . พิมพ์คร้งั ท่ี 5.กรงุ เทพฯ:โรงพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.)

29

กจิ กรรมท่ีทำ/ปฏิบตั ิ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นร้ซู ง่ึ กันและกนั
-มีสื่อ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรยี นรูป้ ระสบการณใ์ นการจดั การเรยี นร้รู ว่ มกัน
-พิจารณา สอื่ นวตั กรรม ที่มีความสอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปญั หาคุณภาพผเู้ รยี นรว่ มกนั
-เลอื ก ส่ือ นวตั กรรม ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา
ไดว้ ิธีการจัดการเรียนรู้ STEM 5 ขน้ั ตอน

ผลท่ีได้รับจากกิจกรรม
ศึกษาทฤษฏที ีเ่ กย่ี วขอ้ ง สมาชกิ ในกล่มุ ร่วมกันเสนอแนะทฤษฏี/งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง ดังตอ่ ไปน้ี
1) รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านเป็นวิธีการใช้หอ้ งเรียนให้เกดิ คณุ ค่าแกเ่ ด็กโดย
ใช้การฝึกประยุกต์ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบ “รู้จริง (Mastery
Learning)” และเปน็ วิธีจัดการเรียนร้เู พือ่ ยกระดบั และคุณค่าแห่งวชิ าชพี ครูท่ีปรับเปลี่ยนวิธกี ารเรียนรู้
อีกรปู แบบหนึ่งใหเ้ กดิ ขึ้นผ่านสือ่ เทคโนโลยที ห่ี ลากหลายมาใช้
2) มกี ารนำเทคโนโลยสี มัยใหมเ่ ขา้ มาช่วย และใช้เทคโนโลยีท่ีนักเรียนสามารถเขา้ ถึง และมีอุปกรณ์ในการ
เข้าถึงไดง้ ่าย นั่นคือ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น ด้วยวิธีการถ่ายคลิปวดี ีโอการเรียน
การสอน และอัพโหลดเข้าในระบบ ผู้เรียนสามารถท่ีจะเข้าไปเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานท่ีที่มี
อนิ เตอรเ์ น็ต
3) นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา เมื่อนักเรียนไม่เข้าใจเน้ือหาส่วนใด นักเรียนสามารถดูซ้ำ
หรือหยุดวีดิทัศน์ แล้วหาความรู้เพ่ิมเติมหรือจดสิ่งที่ไม่เข้าใจมาถามครูหรือเพื่อนในช้ันเรียน
ทำให้เกิดปฏิสัมพันธร์ ะหว่างครูกับนกั เรียน และนกั เรียนด้วยกันมากข้ึน อีกทั้งการทำกิจกรรมในชั้น
เรียนท่ีเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้แสดงความคิดเห็น โดยมคี รูคอยตั้งคำถามกระตุ้น ทำให้นักเรียนไดฝ้ ึก
คิดในระดับท่ีสูงขึน้ ซง่ึ จะช่วยใหน้ ักเรียนเข้าใจเน้ือหาน้นั ได้ดีขึน้

การนำผลทีไ่ ด้ไปใช้
นำผลการประชุมไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพอื่ เก็บเปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป ทั้งนี้ได้นัด

หมายวิธีการที่จะดำเนินการต่อไปในคร้ังต่อไป คือ การจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะ
ดำเนนิ การใชน้ วัตกรรม

30

ปญั หา/อุปสรรคที่พบ
-

กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบตั ไิ ด้ดี

สมาชิกในกลุ่มรว่ มกันจัดทำและปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้
จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “ปัญหานักเรียนเรียนรู้ได้อย่างไม่พร้อมกัน ทำให้มีความล่าช้าในการ
จัดการเรียนการสอน” สมาชิกในกลุ่มจงึ ร่วมกันนำเสนอองค์ประกอบของนวัตกรรม กำหนดทิศทาง และแนวทางการ
แก้ปัญหาร่วมกันโดยใช้วิธีเดียวกัน ซ่ึงสมาชิกในกลุ่มร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธกี ารแก้ปัญหา คือ การพัฒนารูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom จึงได้มีการร่วมจัดทำ
และปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้ในรายวิชาของตนเองรว่ มกนั โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
1) กำหนดชื่อหนว่ ยการเรียนให้สอดคล้องกบั ประเด็นท่จี ะแกป้ ัญหา
2) กำหนดขอบเขตของเน้ือหาใหส้ อดคลอ้ งกบั ประเดน็ ทจ่ี ะแกป้ ัญหา
3) สร้างแผนการจดั การเรียนร้เู ฉพาะหนว่ ยการเรยี นทใ่ี ช้นวตั กรรม
4) ทดลองนวตั กรรมใช้กบั นกั เรยี น และรายงานการสรา้ งสือ่ นวัตกรรม
5) สมาชกิ ในกลุ่ม PLC นดั หมายวัน และเวลาในการนำสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยใี ห้ผนู้ เิ ทศ/ผู้เชีย่ วชาญ

ทำการนเิ ทศ/ตรวจสอบ เพอื่ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ประสบการณ์ในการสร้าง
6) บนั ทึกผลการทดลองใช้สือ่ นวัตกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้
7) สะท้อนผลการใช้สอื่ นวัตกรรมในการแกป้ ญั หา
8) สรปุ ผลการเขา้ ร่วมชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ
9) จากการใช้กระบวนการ PLC แก้ปัญหา นำไปสู่รายงานการวิจยั ในช้ันเรียน

สงิ่ ทีต่ ้องพัฒนาต่อไป
1.สร้างความมัน่ ใจในตนเองในการนำเสนอผลงานของตนเองกบั ผู้อ่นื
2.สรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรใู้ นหอ้ งเรียนโดยการสร้างการมีปฏิสมั พันธร์ ะหว่างครกู ับนักเรยี นและนกั เรียน

กับนักเรียนในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

ผลการประเมินการแกป้ ัญหา

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็

31

เนื่องจาก สรุปความรู้และข้อเสนอแนะท่ีได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในครั้งนี้ คือ ระบบห้องเรียน
ออนไลน์ClassStart ซึ่งมีคุณสมบัติในการจัดการเรียนการสอนได้ง่าย ไม่จำเป็นต้องติดต้ังระบบด้วยตนเอง และ
สามารถเข้าถึงไดท้ ุกที่ทุกเวลา ไร้ขอบเขตของเวลาและสถานท่ี เรียนร้ไู ด้ท้ังผ่านเว็บไซต์ หรอื Android แอปพลิเคชัน
ขอ้ เสนอแนะผูร้ ายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายคร้ังต่อไป วันที่ 12 ก.ค.62..................................

ลงช่อื ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์)

ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผู้รับรองกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

32

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ชอ่ื กลมุ่ กิจกรรม ครัง้ ที่ ...6................................................................
ภาคเรียนท่.ี ...1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วันเดือนปที จ่ี ัดกิจกรรม.......12..ก.ค...62................
สถานท่ี.....ห้องช่างไม้...................................
 งบประมาณ  บริหารทัว่ ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชั่วโมง
 กิจการนักเรียน  พัฒนาผ้เู รยี น

 กิจกรรม Active Leaning

ในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะการ

แกป้ ญั หา

ชอ่ื กจิ กรรม
การพัฒนาทักษะการแกป้ ัญหา โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

Community ผู้รว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภปิ ราย

1. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรัพย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวัย

3. นางสาวสุภาพร บุญศิริ 4. นางสาวจรุ ียพ์ ร ด้วงชอ่มุ

5. นางสาวนัยนา จูรัตนศ์ ักด์ิเจรญิ 6. นายอาคม แผ่แกว้ มณี

7. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรงุ่ ทวิ า วงค์ษา 10. นายอรรถพล ภูทอง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ทุ มสกลุ รัตน์

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจดั จันทบ

Recording ผบู้ ันทกึ ข้อมูล นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

33

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทพ่ี บ
ผู้ค้นพบปญั หาเห็นว่า ในศตวรรษท่ี 21 เป็นยุคของขอ้ มลู ข่าวสารและการเปล่ียนแปลง ด้วยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตนน์ ี้ส่งผลใหผ้ ู้เรยี นจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมากมายทุกวินาทีทำให้
เน้ือหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซึ่งการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนในช้ันเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนที่มีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ชี้แนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยุกต์ใช้ทกั ษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจนเกิดเปน็ การเรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย

การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ บทบาทและการมสี ่วนรว่ มของผู้เรยี น “เปน็ กระบวนการเรยี นรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้อู ยา่ ง
มีความหมายโดยการรว่ มมอื ระหว่างผเู้ รียนด้วยกัน ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ ้อความรูแ้ ก่
ผู้เรยี นโดยตรง แตไ่ ปเพิม่ กระบวนการและกิจกรรมทจ่ี ะทำให้ผู้เรียนเกิดความกระตอื รือร้น ในการจะทำกจิ กรรม
ตา่ งๆ มากขน้ึ และอย่างหลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ การแลกเปลีย่ นประสบการณ์ โดยการพดู การเขียน การ
อภปิ รายกบั เพือ่ นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แกป้ ญั หา

สาเหตขุ องปัญหา

34

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใช้ชีวิต การทำงาน ดำรงชพี อยู่ไดก้ ับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ได้ในระยะยาว

ความรู้และหลักการทน่ี ำมาใช้

การปฏริ ปู การเรียนรู้ในศตวรรตที่ 21 หวังท่จี ะพฒั นาเด็กไทยและคนไทยใหเ้ ปน็ ผ้เู รยี นร้ตู ลอดชวี ิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจัดการเรียนรขู้ องครู จึงต้องมกี ารวเิ คราะห์หลกั สูตร และการจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นเดก็ เป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นท่ีมาของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการเรียนร้แู บบ 5 ข้ัน (5 STEPs) มี 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้นั การเรยี นรตู้ งั้ คำถาม (learning to Question)
2. ข้นั การเรยี นร้แู สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขน้ั การเรียนร้เู พอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ขั้นการเรยี นร้เู พ่อื การส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ขน้ั การเรยี นรูเ้ พือ่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผ้สู อนและผู้เรียนในการเรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการเรียนร้แู บบ 5 ขั้น (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขน้ั (5 STEPs) แตกต่างจากการเรียนรูแ้ บบด้งั เดิมท่เี นน้ การจำสิง่ ที่ผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเป็นตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรยี นรดู้ งั น้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลอื เอื้อเฟอ้ื และแบ่งปันประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นกั เรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับความรคู้ วามสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหว่างบุคคล
2) บทบาทของผู้เรยี นในการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพนื้ ความรเู้ ดมิ ผเู้ รยี นต้องเกิดการเรียนรู้อย่างมคี วามหมายและไม่เกิดแนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผเู้ รยี นเรียนรู้ร่วมกับผ้อู ืน่ อย่างกระตือรือร้น แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาได้ดว้ ยตนเอง รวมท้งั ประเมินและสะท้อนผลการเรยี นรู้สุดท้ายผู้เรียนสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้ (พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขียน
แผนบรู ณาการบนฐานเดก็ เปน็ สำคญั . พมิ พค์ ร้ังท่ี 5.กรุงเทพฯ:โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

35

กจิ กรรมทท่ี ำ/ปฏิบัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ียนประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ซ่งึ กนั และกนั
-มสี อื่ นวัตกรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ กี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกนั
-พิจารณา สื่อ นวตั กรรม ที่มคี วามสอดคลอ้ งกบั การแกป้ ัญหา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางทดี่ ใี นการแกป้ ญั หาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกัน
-เลือก สือ่ นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปัญหา
ได้วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ข้ันตอน

ผลที่ไดร้ บั จากกิจกรรม
ในครั้งน้ีได้มีการนัดหมายจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะดำเนินการใช้นวัตกรรม

เพื่อที่สมาชิกในกลุ่มจะได้รว่ มกันตรวจสอบ สังเคราะห์ และปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ จึงได้มีการร่วมวางแผน
งาน ดังน้ี

1. สมาชิกผู้เข้าร่วมประชุม ได้ศกึ ษาข้นั ตอนวิธกี ารจากครูผู้สอนหลัก ร่วมกันแสดงความคิดเห็น พูดคุย เพ่ือ
นำไปจัดทำและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง

2. สมาชิกในกล่มุ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถึงวธิ กี ารข้นั ตอน เพ่ือดำเนนิ การในขนั้ ตอ่ ไป
3. สมาชิกในกลุ่มแต่ละท่านได้ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการสร้างห้องเรยี นกลับด้าน
Flipped Classroom ไปปรบั ใชใ้ นรายวิชาของตนเอง
4. รว่ มกนั กำหนดบทบาทสมาชิกในการสังเกตการณท์ ดลองใช้รปู แบบกจิ กรรม
5. สมาชิกในกลุ่มมีการนัดหมาย เพอ่ื ไปสังเกตการณ์การสอนของครูผ้สู อนหลักในการพฒั นารูปแบบการจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยการสรา้ งห้องเรยี นกลับด้าน Flipped Classroom และนำผลท่ีได้จากการจัดกิจกรรม
มาอภิปรายและสรุปผลรว่ มกนั เพือ่ หาแนวทางในการปรบั ปรุงและพัฒนาต่อไป

การนำผลทไี่ ด้ไปใช้
นำผลการประชมุ ไปบันทึกใน Log book ของตนเอง เพ่ือเก็บเป็นหลักฐานในการรายงานตอ่ ไป ท้ังนไ้ี ดน้ ัด

หมายวิธีการที่จะดำเนินการต่อไปในครั้งต่อไป คือ การจัดส่งแผนการจัดการเรียนรู้เฉพาะหน่วยการเรียนที่จะ
ดำเนินการใชน้ วตั กรรม

ปัญหา/อปุ สรรคท่ีพบ
-

36

กิจกรรม/ข้ันตอน/งานทีป่ ฏบิ ัตไิ ด้ดี
จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูอรรถพล ภูทอง กราบทองในการจัดการเรียนการสอน จากการ

พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสร้างห้องเรียนกลับด้าน Flipped Classroom พบว่า
ครูผู้สอนได้มอบหมายให้นักเรียนทกุ คนเปน็ ผู้ศกึ ษาหลกั ของบทเรยี นจากส่ือการเรยี นรใู้ นเวบ็ ไซต์ ClassStart และ
ได้มอบหมายให้นักเรียนนำความรู้ท่ีได้มาแบ่งปันความรู้ร่วมกันในห้องเรียน ทุกคนในห้องเรียนก็จะได้พูดคุย
ถกเถียง อธบิ าย อภิปรายประเด็นที่สงสัย คำถามต่าง ๆ ท่ีได้จากการเรียนรู้ จากน้ันให้นักเรียนทดลองปฏิบัตดิ ้วย
ตนเอง โดยการออกแบบนามบตั ร ซึ่งครูจะทำหน้าทชี่ ้ีแนะ ร่วมหาคำตอบ อธิบายวิธกี ารปฏิบตั ิ ลงข้อสรุปรว่ มกัน
กบั นักเรยี นในชนั้ เรยี น เพม่ิ เตมิ สว่ นทข่ี าดหายไป และแนะนำประเด็นทน่ี ่าสนใจ

ครูผู้สอนมีการสง่ เสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยดี ้วยตนเอง มีการประเมินความรู้หลัง
เรียนจากช้ินงานที่นักเรียนได้สร้างสรรคข์ ึ้นมาผา่ นระบบห้องเรียนออนไลน์ และนักเรียนภายในชั้นเรียนได้ปฏิบัติ
กจิ กรรมรว่ มกันมากขนึ้ อีกท้งั กิจกรรมดังกล่าวส่งเสรมิ ให้นักเรียนไดใ้ ชค้ วามคิดสร้างสรรค์อยา่ งอิสระ
สง่ิ ทต่ี อ้ งพัฒนาต่อไป

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชงิ วิชาชีพร่วมกนั สะท้อนความคิดท้ังจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้งแนะนำ
วิธีการแก้ปัญหาโดยใช้สนุ ทรยี สนทนา ดงั น้ี

1) ครูผู้สอนควรมกี ารสนบั สนุนให้กำลงั ใจนักเรยี น เพื่อช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรยี นได้พัฒนางาน
ใหม้ คี ณุ ภาพและมปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้

2) ควรให้นักเรียนที่เข้าใจในเนื้อหาการเรียนรู้แล้วสอนช่วยสอนหรือแนะนำเพื่อนที่ยังไม่เข้าใจ ซึ่งการที่
นกั เรียนช่วยแนะนำกันจะมีแนวโนม้ ทำใหน้ กั เรียนทไ่ี มเ่ ข้าใจพฒั นาตามเพื่อนท่ีเขา้ ใจในเนอ้ื หาได้

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไม่ประสบความสำเรจ็

เนอ่ื งจาก ผู้สอนได้รบั ความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
และผสู้ อนได้รบั นวัตกรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทำวิจยั ปฏิบัติการในชนั้ เรยี น

....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วนั ที่ 19 ก.ค.62..................................
ลงชื่อ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์)

37

ความคดิ เห็น / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผรู้ ับรองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

38

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1

ช่ือกลุม่ กิจกรรม ครั้งที่ ...7................................................................
ภาคเรียนท.ี่ ...1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บุคลากร วนั เดือนปีที่จัดกิจกรรม.......19..ก.ค...62................
สถานท.ี่ ....หอ้ งช่างไม้...................................
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.40.น...............................
จำนวน.................2.30.............................ชว่ั โมง
 กจิ การนกั เรยี น  พฒั นาผ้เู รยี น

 กิจกรรม Active Leaning

ในการจัดการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาทกั ษะการ

แก้ปัญหา

ช่ือกิจกรรม
การพฒั นาทักษะการแก้ปญั หา โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning

Community ผู้ร่วมอภิปราย

Model Teacher ผูพ้ บปัญหา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย

1. นางสาวนงนชุ ภญิ โญทรัพย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวัย

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ 4. นางสาวจรุ ีย์พร ด้วงชอุม่

5. นางสาวนยั นา จูรตั น์ศักดเ์ิ จรญิ 6. นายอาคม แผแ่ ก้วมณี

7. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวร่งุ ทิวา วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภทู อง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อุทุทมสกุลรัตน์

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจดั จันทบ

Recording ผบู้ นั ทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

39

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทีพ่ บ
ผคู้ น้ พบปัญหาเห็นวา่ ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคของข้อมลู ข่าวสารและการเปล่ยี นแปลง ด้วยความกา้ วหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวตั น์น้ีส่งผลใหผ้ ู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าที่จะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซึ่งการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังน้ันจึงจำเป็นต้องปรับเปล่ียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนที่มีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สรา้ งความเข้าใจดว้ ยตนเองจนเกดิ เปน็ การเรียนรอู้ ย่างมีความหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมสี ่วนร่วมของผู้เรยี น “เปน็ กระบวนการเรียนรู้ทีใ่ หผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้อยา่ ง
มีความหมายโดยการร่วมมือระหว่างผู้เรยี นดว้ ยกนั ในการน้ี ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความร้แู ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพ่มิ กระบวนการและกจิ กรรมท่ีจะทำใหผ้ เู้ รียนเกิดความกระตอื รอื รน้ ในการจะทำกิจกรรม
ต่างๆ มากขึน้ และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การ
อภิปรายกบั เพือ่ นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพ่ือพัฒนาทักษะการ
แก้ปญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

40

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ขอ้ ความรู้แก่ผ้เู รยี นโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใชช้ ีวติ การทำงาน ดำรงชีพอยู่ได้กบั ภาวะเศรษฐกิจในสังคม
โลกปจั จบุ ันไดใ้ นระยะยาว

ความรแู้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้

การปฏิรูปการเรียนรูใ้ นศตวรรตที่ 21 หวังทีจ่ ะพัฒนาเดก็ ไทยและคนไทยให้เป็นผ้เู รยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมี
คุณภาพ ดงั น้นั การจดั การเรยี นร้ขู องครู จึงต้องมกี ารวิเคราะหห์ ลักสูตร และการจัดการเรยี นร้ทู ่ีเน้นเดก็ เปน็
ศูนย์กลาง ซ่ึงเป็นทีม่ าของคำว่า “กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) มี 5 ขั้นตอน ไดแ้ ก่
1. ขั้นการเรียนรู้ตงั้ คำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรยี นร้แู สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขั้นการเรยี นร้เู พอ่ื สร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct)
4. ขั้นการเรยี นรเู้ พื่อการสอ่ื สาร (Learning to Communicate)
5. ขั้นการเรียนรูเ้ พอื่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนในการเรียนรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนร้แู บบ 5 ขน้ั (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขั้น (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรูแ้ บบด้ังเดมิ ท่เี นน้ การจำสิ่งท่ีผสู้ อนบรรยาย
ผู้สอนและผู้เรียนจำเป็นต้องปรบั เปลย่ี นบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังน้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขัน้ (5STEPs) ตอ้ งเป็นเพียงผทู้ ำ
หน้าท่คี อยชว่ ยเหลอื เอ้อื เฟอ้ื และแบง่ ปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณเ์ ร้าให้นักเรียนไดค้ ดิ ตง้ั คำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผ้สู อนต้องจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้เหมาะสมกบั ความรู้ความสามารถบนพนื้ ฐานของความสนใจ ความ
ถนัด และความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
2) บทบาทของผเู้ รียนในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นรูแ้ บบ 5 ข้ัน (5 STEPs) ต้องมีบทบาทในการ
สร้างความรจู้ ากพื้นความรเู้ ดมิ ผ้เู รียนตอ้ งเกิดการเรยี นรอู้ ยา่ งมีความหมายและไม่เกดิ แนวความคิดท่ผี ิดพลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผู้เรียนเรียนรรู้ ่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งกระตอื รอื รน้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระ สรปุ ข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาได้ดว้ ยตนเอง รวมทง้ั ประเมินและสะทอ้ นผลการเรียนรู้สดุ ท้ายผเู้ รยี นสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยกุ ตใ์ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้ (พิมพนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยนิ ดีสขุ .2560.สอนเขียน
แผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสำคัญ. พิมพ์ครงั้ ท่ี 5.กรงุ เทพฯ:โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

41

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบตั ิ
กจิ กรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจดั การเรียนรซู้ งึ่ กนั และกนั
-มสี ื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรยี นรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรูร้ ่วมกนั
-พจิ ารณา สอ่ื นวัตกรรม ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งกบั การแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางทีด่ ีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผูเ้ รียนร่วมกนั
-เลือก สื่อ นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคลอ้ งกับการแกป้ ัญหา
ได้วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ข้ันตอน

ผลท่ไี ดร้ ับจากกิจกรรม
นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้ากลุ่ม

สาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซ่ึงแผนการ
จัดการเรียนรู้นี้มีขั้นตอนสำคัญในการจัดกิจกรรมแบบเชิงรุก โดยมีการสร้างห้องเรียนกลับด้าน (Flipped
Classroom) ซึ่งครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาหลักของบทเรียนจากส่ือการเรียนรู้จากระบบห้องเรียน
ออนไลน์ที่ครสู อนหลกั ไดส้ รา้ งขึ้น จากนน้ั นกั เรียนจะมาร่วมแบง่ ปันความรกู้ ันในหอ้ งเรียน ซ่ึงครูจะทำหน้าทช่ี ้ีแนะ
และอธิบายเพ่มิ เตมิ จากน้นั ครูและนักเรยี นจะรว่ มกันสรุปองคค์ วามรู้ท่ีได้จากการจัดกจิ กรรมภายในชนั้ เรียน

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากน้ันครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ

ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือส้ินสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After
Action Review : AAR) จากนนั้ ปรบั ปรงุ แผนการจดั การเรยี นรู้ และทำวิจัยปฏิบตั ิการในชน้ั เรยี นต่อไป

ปญั หา/อุปสรรคท่ีพบ
-

กิจกรรม/ขนั้ ตอน/งานทีป่ ฏบิ ตั ิได้ดี
สมาชิกในกลุ่ม PLC รว่ มกนั อภปิ รายพิจารณาทบทวนปญั หา อปุ สรรคและแนวทางการแก้ปญั หาดา้ นการ

เรียนร้ขู องนกั เรยี น เพ่อื ปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนร้ขู องครูผสู้ อน

สงิ่ ทต่ี ้องพัฒนาตอ่ ไป

42

ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชงิ วิชาชีพร่วมกันสะท้อนความคิดทั้งจุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมท้ังแนะนำ
วิธกี ารแกป้ ญั หาโดยใชส้ ุนทรยี สนทนา ดงั นี้

1) ครผู ู้สอนควรมกี ารสนบั สนุนให้กำลงั ใจนักเรยี น เพ่ือช่วยสร้างแรงบนั ดาลใจให้กับนักเรียนได้พฒั นางาน
ให้มีคณุ ภาพและมีประสิทธิภาพมากขนึ้

2) ควรให้นักเรียนที่เข้าใจในเน้ือหาการเรียนรู้แล้วสอนช่วยสอนหรือแนะนำเพ่ือนที่ยังไม่เข้าใจ ซ่ึงการที่
นกั เรยี นช่วยแนะนำกันจะมแี นวโนม้ ทำใหน้ ักเรียนท่ไี ม่เข้าใจพฒั นาตามเพ่ือนที่เข้าใจในเน้อื หาได้

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเรจ็

เนื่องจาก ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเดน่ และจดุ ท่ีตอ้ งพัฒนาใน
การจดั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นนำไปสู่การอบรมคูปองพฒั นาครู และนำผลการประชุมไปบันทึกใน Log
book ของตนเอง เพอื่ เก็บเป็นหลกั ฐานในการรายงานต่อไป

....................................................นดั หมายคร้งั ตอ่ ไป วนั ที่ 16 ส.ค.62..................................
ลงช่อื ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์)

ความคิดเห็น / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผู้รบั รองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community

ลงช่อื ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

43

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1

ช่ือกลุม่ กิจกรรม ครั้งที่ ...8................................................................
ภาคเรียนท.ี่ ...1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บุคลากร วนั เดือนปที ี่จัดกิจกรรม.......16..ส.ค...62................
สถานท.ี่ ....หอ้ งช่างไม้...................................
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.40.น...............................
จำนวน.................2.30.............................ช่วั โมง
 กจิ การนกั เรยี น  พฒั นาผ้เู รยี น

 กิจกรรม Active Leaning

ในการจัดการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาทกั ษะการ

แก้ปัญหา

ช่ือกิจกรรม
การพฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หา โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบ Active Learning

Community ผู้ร่วมอภิปราย

Model Teacher ผูพ้ บปญั หา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย

1. นางสาวนงนุช ภญิ โญทรัพย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวัย

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ 4. นางสาวจรุ ีย์พร ด้วงชอุม่

5. นางสาวนยั นา จูรตั น์ศักดเ์ิ จริญ 6. นายอาคม แผแ่ ก้วมณี

7. นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรุง่ ทิวา วงคษ์ า 10. นายอรรถพล ภทู อง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อุทุทมสกุลรัตน์

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจดั จันทบ

Recording ผบู้ นั ทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

44

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทพ่ี บ
ผคู้ น้ พบปญั หาเห็นวา่ ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคของข้อมลู ข่าวสารและการเปลีย่ นแปลง ดว้ ยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การส่ือสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกท่ีทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตนน์ ้ีส่งผลใหผ้ ู้เรียนจำเป็นจะต้องมคี วามสามารถเรียนรไู้ ด้ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในช้ันเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังน้ันจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปล่ียนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สรา้ งความเข้าใจด้วยตนเองจนเกดิ เป็นการเรยี นรู้อย่างมีความหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรยี น “เป็นกระบวนการเรียนรทู้ ีใ่ หผ้ ู้เรยี นได้เรียนรอู้ ย่าง
มีความหมายโดยการร่วมมือระหวา่ งผู้เรยี นดว้ ยกนั ในการนี้ ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการใหข้ ้อความรูแ้ ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพม่ิ กระบวนการและกิจกรรมที่จะทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความกระตือรอื ร้น ในการจะทำกจิ กรรม
ต่างๆ มากขึน้ และอยา่ งหลากหลาย ไม่วา่ จะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพดู การเขยี น การ
อภิปรายกบั เพ่อื นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาทักษะการ
แก้ปญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

45

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเน่ืองจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ขอ้ ความรู้แก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรยี นไม่สามารถใชช้ ีวิต การทำงาน ดำรงชพี อยู่ไดก้ ับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปจั จุบันได้ในระยะยาว

ความรแู้ ละหลักการทีน่ ำมาใช้

การปฏิรปู การเรียนรูใ้ นศตวรรตท่ี 21 หวงั ท่ีจะพฒั นาเดก็ ไทยและคนไทยให้เปน็ ผ้เู รยี นร้ตู ลอดชวี ิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นัน้ การจดั การเรยี นรูข้ องครู จงึ ต้องมกี ารวเิ คราะหห์ ลักสตู ร และการจัดการเรียนร้ทู เี่ น้นเดก็ เป็น
ศูนย์กลาง ซึ่งเปน็ ท่ีมาของคำว่า “กระบวนการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน หรือ 5 STEPs”

ขน้ั ตอนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขน้ั (5 STEPs) มี 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้นั การเรียนรู้ตง้ั คำถาม (learning to Question)
2. ข้นั การเรยี นรแู้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรียนร้เู พ่อื สรา้ งองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ข้ันการเรียนรู้เพอื่ การสอื่ สาร (Learning to Communicate)
5. ขั้นการเรียนรู้เพื่อตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนในการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้แบบ 5 ขั้น (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) แตกต่างจากการเรียนรูแ้ บบด้งั เดิมท่เี นน้ การจำสิง่ ท่ีผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเปน็ ต้องปรับเปล่ยี นบทบาทในการสอนและการเรยี นรดู้ ังน้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรียนร้โู ดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ที่คอยชว่ ยเหลอื เออื้ เฟื้อ และแบง่ ปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณเ์ ร้าให้นกั เรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกบั ความรู้ความสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนัด และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล
2) บทบาทของผ้เู รียนในการเรียนรูโ้ ดยใช้กระบวนการเรยี นรูแ้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) ตอ้ งมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพน้ื ความรเู้ ดิม ผู้เรียนต้องเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีความหมายและไมเ่ กดิ แนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพกิ เฉย ผู้เรยี นเรียนรู้ร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างกระตือรือร้น แสดงความคดิ เห็นอย่างอิสระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสรา้ งปัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง รวมทง้ั ประเมนิ และสะท้อนผลการเรยี นรู้สุดท้ายผู้เรียนสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ ับไปประยุกตใ์ หเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันได้ (พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขียน
แผนบรู ณาการบนฐานเดก็ เป็นสำคัญ. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 5.กรุงเทพฯ:โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.)

46

กิจกรรมท่ที ำ/ปฏิบัติ
กจิ กรรม Share ครแู ลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจัดการเรียนรซู้ ง่ึ กันและกนั
-มีสอ่ื นวัตกรรม (เทคนคิ การสอน/วิธกี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรปู้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรียนรูร้ ่วมกัน
-พจิ ารณา ส่อื นวัตกรรม ที่มีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางท่ีดใี นการแก้ปัญหาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกนั
-เลอื ก ส่ือ นวัตกรรม ท่ีมีความสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา
ได้วธิ กี ารจัดการเรียนรู้ STEM 5 ข้นั ตอน

ผลทีไ่ ดร้ บั จากกจิ กรรม
จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูนงนุช ภิญโญทรัพย์ ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาการ

งานอาชีพ 1 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการพัฒนารูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน พบว่า มีการจัด
กระบวนการเรียนการสอนบรู ณาการรว่ มกบั การเรยี นแบบรว่ มมอื (Collaborative Learning) โดยการให้นักเรยี น
แบ่งกลุ่ม จำนวนสมาชิกกลุ่มละ 4-5 คน โดยครูผู้สอนได้สรา้ งแหล่งเรียนรู้ที่นักเรียนสามารถเข้าไปศึกษาได้จาก
ClassStart.org และมอบหมายให้แตล่ ะกลุ่มนำเสนองาน ตามหวั ข้อทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมายเรียบร้อยแล้ว ครูจะเปิดโอกาสให้สมาชิกในชั้นเรียน
ซกั ถามข้อสงสัย

การนำผลทีไ่ ดไ้ ปใช้
ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากน้ันครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ

ผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อส้ินสุดข้ันตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After
Action Review : AAR) จากนน้ั ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทำวจิ ัยปฏบิ ัติการในชนั้ เรยี นตอ่ ไป

ปญั หา/อปุ สรรคทพี่ บ
-

กจิ กรรม/ข้นั ตอน/งานที่ปฏบิ ตั ิได้ดี
สมาชิกในกลมุ่ PLC ร่วมกนั อภิปรายพิจารณาทบทวนปญั หา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปญั หาดา้ นการ

เรยี นรู้ของนกั เรียน เพ่ือปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ของครูผูส้ อน

47

สิง่ ท่ตี อ้ งพฒั นาตอ่ ไป
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้เชงิ วิชาชีพร่วมกนั สะท้อนความคิดทง้ั จุดเด่น จุดด้อย ปัญหา-อุปสรรค รวมทั้งแนะนำ

วธิ ีการแก้ปัญหาโดยใชส้ นุ ทรียสนทนา ดงั นี้
1) ครผู ู้สอนควรมีการสนบั สนุนให้กำลังใจนักเรียน เพื่อช่วยสร้างแรงบันดาลใจใหก้ ับนักเรยี นได้พฒั นางาน
ให้มคี ณุ ภาพและมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ
2) ควรให้นักเรียนท่ีเข้าใจในเนื้อหาการเรียนรู้แล้วสอนช่วยสอนหรือแนะนำเพื่อนท่ียังไม่เข้าใจ ซึ่งการท่ี
นักเรยี นช่วยแนะนำกนั จะมแี นวโน้มทำใหน้ กั เรียนทไ่ี มเ่ ขา้ ใจพฒั นาตามเพ่อื นท่ีเขา้ ใจในเนื้อหาได้

ผลการประเมินการแกป้ ัญหา
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไม่ประสบความสำเรจ็

เนือ่ งจาก ประสบความสำเร็จ ประเดน็ ทนี่ ำไปสูร่ ายงานการวจิ ัย

....................................................นดั หมายคร้งั ตอ่ ไป วันที่ 30 ส.ค.62..................................
ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผูร้ บั รองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงชือ่ ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

48


Click to View FlipBook Version