The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-08 00:36:29

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

“กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ช่ือกลุ่มกจิ กรรม คร้งั ท่ี ...9................................................................
ภาคเรยี นท่ี....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บุคลากร วันเดือนปีทีจ่ ดั กิจกรรม.......30..ส.ค...62................
สถานที.่ ....ห้องชา่ งไม.้ ..................................
 งบประมาณ  บริหารท่วั ไป เวลา.......15.10-17.40.น...............................
จำนวน.................2.30.............................ชั่วโมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผเู้ รียน

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาทักษะการ

แก้ปัญหา

ชอ่ื กจิ กรรม
การพฒั นาทักษะการแกป้ ญั หา โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

Community ผรู้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผูร้ ่วมอภปิ ราย

1. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรพั ย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวยั

3. นางสาวสุภาพร บุญศริ ิ 4. นางสาวจรุ ีย์พร ด้วงชอุม่

5. นางสาวนัยนา จูรัตนศ์ กั ดเิ์ จรญิ 6. นายอาคม แผแ่ กว้ มณี

7. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา 10. นายอรรถพล ภูทอง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อุททุ มสกุลรตั น์

Mentor Coaching ผ้นู ำอภปิ ราย ผอ.จงจัด จันทบ

Recording ผู้บนั ทกึ ข้อมูล นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

49

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพ่ี บ
ผู้คน้ พบปญั หาเห็นวา่ ในศตวรรษท่ี 21 เป็นยุคของขอ้ มลู ข่าวสารและการเปลีย่ นแปลง ด้วยความกา้ วหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การสื่อสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกท่ีทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์น้ีส่งผลให้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องมีความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดขึ้นมากมายทุกวินาทีทำให้
เน้ือหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซึ่งการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในชั้นเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังนั้นจึงจำเป็นต้องปรับเปล่ียน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ต์ใชท้ กั ษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจด้วยตนเองจนเกิดเปน็ การเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมสี ว่ นรว่ มของผเู้ รียน “เป็นกระบวนการเรียนร้ทู ใ่ี หผ้ เู้ รยี นได้เรยี นรู้อย่าง
มคี วามหมายโดยการรว่ มมือระหวา่ งผเู้ รียนดว้ ยกัน ในการน้ี ครูตอ้ งลดบทบาทในการสอนและการให้ขอ้ ความรแู้ ก่
ผูเ้ รียนโดยตรง แต่ไปเพม่ิ กระบวนการและกจิ กรรมท่จี ะทำให้ผูเ้ รียนเกิดความกระตอื รอื รน้ ในการจะทำกิจกรรม
ต่างๆ มากข้ึน และอยา่ งหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การ
อภปิ รายกับเพ่อื นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์สิ่งต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาทักษะการ
แก้ปัญหา

สาเหตขุ องปญั หา

50

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใชช้ ีวิต การทำงาน ดำรงชพี อยู่ไดก้ ับภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ไดใ้ นระยะยาว

ความรู้และหลักการท่นี ำมาใช้

การปฏริ ูปการเรียนรใู้ นศตวรรตที่ 21 หวังที่จะพฒั นาเดก็ ไทยและคนไทยใหเ้ ปน็ ผ้เู รยี นรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจดั การเรยี นรขู้ องครู จึงตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์หลักสตู ร และการจัดการเรียนรูท้ ่เี น้นเด็กเป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นท่ีมาของคำว่า “กระบวนการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ขน้ั (5 STEPs) มี 5 ขนั้ ตอน ได้แก่
1. ข้ันการเรยี นรตู้ ั้งคำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรยี นรู้เพ่อื สร้างองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ข้นั การเรยี นรเู้ พื่อการส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรียนรูเ้ พือ่ ตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผสู้ อนและผู้เรียนในการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการเรยี นร้แู บบ 5 ขั้น (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้ัน (5 STEPs) แตกต่างจากการเรียนร้แู บบด้ังเดิมท่เี นน้ การจำสิง่ ที่ผสู้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเปน็ ต้องปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรยี นรูด้ งั น้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรียนรูแ้ บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลือ เออื้ เฟ้ือ และแบ่งปันประสบการณ์ จัดสถานการณ์เร้าให้นักเรยี นไดค้ ดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถบนพ้นื ฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหว่างบุคคล
2) บทบาทของผ้เู รียนในการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขั้น (5 STEPs) ต้องมีบทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพนื้ ความรูเ้ ดมิ ผเู้ รยี นต้องเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและไมเ่ กดิ แนวความคดิ ทผ่ี ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผ้เู รียนเรียนรู้ร่วมกับผ้อู ืน่ อย่างกระตือรือร้น แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง รวมท้งั ประเมินและสะทอ้ นผลการเรยี นรู้สุดท้ายผู้เรียนสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขียน
แผนบรู ณาการบนฐานเด็กเปน็ สำคญั . พมิ พค์ รง้ั ท่ี 5.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.)

51

กจิ กรรมทท่ี ำ/ปฏิบตั ิ
กิจกรรม Share ครูแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรซู้ ึ่งกันและกนั
-มสี ่ือ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วิธีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรปู้ ระสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกนั
-พิจารณา ส่อื นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกบั การแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางทีด่ ีในการแก้ปญั หาคุณภาพผเู้ รยี นร่วมกนั
-เลือก สือ่ นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกับการแกป้ ญั หา
ได้วิธกี ารจัดการเรียนรู้ STEM 5 ขน้ั ตอน

ผลที่ได้รับจากกิจกรรม
1) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ

สมาชิกเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่าง
เป็นรูปธรรม (สมาชิกเครือข่ายมีการนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชดั เจน)

2) มรี อ่ งรอยการรายงานผลการนำองคค์ วามรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะทดี่ ำเนินโครงการทุกครงั้ ทีม่ ีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้โดยสมาชิกทุกคน

3) ผู้สอนหลกั และสมาชิกในกลมุ่ PLC สามารถนำผลการปฏิบัตกิ ารจัดกจิ กรรมการเรียนร้มู าอภปิ ราย
เพอ่ื แลกเปลย่ี นความคิด โดยมีครผู ้สู อนหลกั เป็นผสู้ ะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเรจ็ จดุ เดน่ และจุดทต่ี อ้ งพัฒนา
ในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

การนำผลท่ีไดไ้ ปใช้
ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ

ผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมท้ังให้คำแนะนำในการพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เม่ือสิ้นสุดข้ันตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After
Action Review : AAR) จากนนั้ ปรับปรงุ แผนการจัดการเรียนรู้ และทำวิจยั ปฏบิ ตั ิการในชั้นเรียนตอ่ ไป

ปญั หา/อุปสรรคทพี่ บ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ดด้ ี

52

1) ผู้เรียนได้การเรียนรู้ตามเป้าหมาย และวตั ถุประสงค์ที่กำหนดไว้ทุกประการ และมีความชัดเจนทั้งเชิง
ปริมาณและคณุ ภาพ

2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียนดขี ้นึ และทำใหผ้ ู้เรยี นได้พัฒนาและเกิดคณุ ลักษณะอยา่ งชดั เจน
3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการจัดการ
เรยี นรู้ และผู้สอนไดร้ ับนวัตกรรมและเรมิ่ วางแผนจัดทำวิจัยปฏบิ ตั กิ ารในชน้ั เรยี น
4) ผู้สอนสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ
ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถนำวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รบั จากการทำวิจัยปฏิบัตกิ ารในชัน้ เรยี นไป
ใช้พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้

สง่ิ ท่ตี ้องพฒั นาต่อไป
การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนแบบเชิงรกุ เป็นการสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี น ความอยากรอู้ ยากเหน็ และ

ความสนใจในการเรียนเป็นไปได้โดยง่าย ทั้งยังส่งเสริมให้นักเรียนเกดิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคม
ออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในทางท่ีเหมาะสม เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ ย่ิงไปกว่านั้นการฝึกทักษะ
ดังกล่าวยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองท่ีคอยช่วยให้นักเรียนสามารถ
แยกแยะขา่ วสารหรอื ข้อมูลทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วให้รับรไู้ ด้อย่างมคี ณุ ภาพ สอดคลอ้ งกับแนวคิดหนึ่งใน
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (21st century skills)

ผลการประเมนิ การแก้ปัญหา
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

เน่ืองจาก ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และ
คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ท่ีจะก่อให้เกิดผล
ทางบวกต่อการเรียนการสอนและคณุ ภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรยี นรู้และ
ส่งผลใหน้ ักเรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสูงข้ึน

....................................................นดั หมายคร้ังตอ่ ไป วันท่ี 22 ก.ย.62..................................
ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์)

53

ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผู้รับรองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

54

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม ครงั้ ท่ี ...10..............................................................
ภาคเรียนท่ี....1.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดอื นปที จี่ ัดกิจกรรม....... 22 ก.ย.62................
สถานที.่ ....หอ้ งชา่ งไม.้ ..................................
 งบประมาณ  บริหารท่ัวไป เวลา.......15.10-17.40.น...............................
จำนวน.................2.30.............................ช่ัวโมง
 กิจการนักเรียน  พฒั นาผ้เู รียน

 กจิ กรรม Active Leaning

ในการจดั การเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาทักษะการ

แก้ปญั หา

ชื่อกจิ กรรม
การพฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หา โดยใชก้ ารจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

Community ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผูพ้ บปญั หา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวนงนุช ภญิ โญทรพั ย์ 2. นางสาวพรศรี เจริญวยั

3. นางสาวสภุ าพร บุญศริ ิ 4. นางสาวจรุ ีย์พร ดว้ งชอมุ่

5. นางสาวนยั นา จูรัตน์ศักดเ์ิ จริญ 6. นายอาคม แผ่แกว้ มณี

7. นางสาวรศั มี กลุ สวุ รรณ 8. นางสาวกาญจนา คงทน

9. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา 10. นายอรรถพล ภูทอง

11. นายสมชาย กราบทอง 12. นางสาวอโนชา อทุ ทุ มสกลุ รัตน์

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผบู้ ันทึกขอ้ มลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์

55

แบบบันทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทพ่ี บ
ผคู้ น้ พบปญั หาเห็นวา่ ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ยุคของขอ้ มลู ข่าวสารและการเปล่ียนแปลง ดว้ ยความก้าวหน้า

ของเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้การส่ือสารไร้พรมแดน การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกท่ีทุกเวลา
ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัตน์นี้ส่งผลให้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องมคี วามสามารถเรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและ
เป็น ผู้แสวงหาความรู้อยู่ตลอดเวลา ประกอบกับปัจจุบันมีองค์ความรู้ใหม่เกิดข้ึนมากมายทุกวินาทีทำให้
เนื้อหาวิชามีมากเกินกว่าท่ีจะเรียนรู้จากในห้องเรียนได้หมด ซ่ึงการสอนแบบเดิมด้วยการ “พูด บอก เล่า” ไม่
สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้จากการเรียนในช้ันเรียนไปปฏิบัติได้ดี ดังน้ันจึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
วิธีการจัดการเรียนรู้ให้ตอบสนองความเปล่ียนแปลงของสังคมเทคโนโลยี จากผู้สอนท่ีมีบทบาทเป็นผู้ถ่ายทอด
ปรับเปล่ียนบทบาทเป็นผู้ช้ีแนะวิธีการค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้สามารถแสวงหาความรู้ และ
ประยกุ ตใ์ ชท้ กั ษะต่างๆ สรา้ งความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจนเกดิ เป็นการเรยี นรู้อย่างมคี วามหมาย

การเรยี นรู้ทเี่ นน้ บทบาทและการมีสว่ นรว่ มของผูเ้ รยี น “เป็นกระบวนการเรยี นรูท้ ใ่ี ห้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรอู้ ย่าง
มีความหมายโดยการรว่ มมือระหวา่ งผ้เู รียนดว้ ยกนั ในการนี้ ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการใหข้ อ้ ความร้แู ก่
ผเู้ รยี นโดยตรง แต่ไปเพม่ิ กระบวนการและกิจกรรมที่จะทำใหผ้ ้เู รียนเกิดความกระตือรอื ร้น ในการจะทำกจิ กรรม
ต่างๆ มากขึน้ และอยา่ งหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การ
อภิปรายกบั เพ่อื นๆ”

ผู้ค้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางการสร้างกระบวนการเรียนรู้ โดยเลือกวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
( Active Learning) เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์จนเกิด
ความรู้ ความเข้าใจ นำไปประยุกต์ใช้ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า หรือ สร้างสรรค์ส่ิงต่างๆ และ
พัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ได้ร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาทักษะการ
แก้ปญั หา

สาเหตขุ องปญั หา

56

นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดทักษะการแก้ปัญหาเนื่องจากครูมีบทบาทในการสอนและการให้
ข้อความรแู้ ก่ผเู้ รียนโดยตรง ทำใหน้ ักเรียนไม่สามารถใช้ชวี ติ การทำงาน ดำรงชพี อยู่ไดก้ บั ภาวะเศรษฐกจิ ในสังคม
โลกปัจจุบนั ไดใ้ นระยะยาว

ความรู้และหลักการท่นี ำมาใช้

การปฏริ ูปการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 หวงั ทจ่ี ะพัฒนาเดก็ ไทยและคนไทยให้เปน็ ผ้เู รยี นรู้ตลอดชีวิตอย่างมี
คณุ ภาพ ดงั นน้ั การจดั การเรียนรขู้ องครู จงึ ต้องมีการวิเคราะห์หลกั สูตร และการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นเดก็ เป็น
ศนู ยก์ ลาง ซึ่งเป็นท่ีมาของคำวา่ “กระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน หรอื 5 STEPs”

ข้ันตอนการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขัน้ (5 STEPs) มี 5 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. ข้ันการเรยี นรตู้ ั้งคำถาม (learning to Question)
2. ขั้นการเรียนรแู้ สวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
3. ขนั้ การเรยี นรู้เพ่ือสร้างองคค์ วามรู้ (Learning to Construct)
4. ข้นั การเรยี นรเู้ พื่อการส่อื สาร (Learning to Communicate)
5. ข้นั การเรียนรูเ้ พื่อตอบแทนสงั คม (Learning to Service)
บทบาทของผสู้ อนและผู้เรียนในการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ข้ัน (5 STEPs) โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ 5 ขน้ั (5 STEPs) แตกต่างจากการเรยี นรู้แบบดง้ั เดมิ ท่เี น้นการจำส่ิงที่ผูส้ อนบรรยาย
ผูส้ อนและผู้เรียนจำเปน็ ต้องปรับเปล่ียนบทบาทในการสอนและการเรียนรดู้ ังน้ี
1) บทบาทของผู้สอนในการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการเรยี นรแู้ บบ 5 ขั้น (5STEPs) ต้องเป็นเพียงผูท้ ำ
หนา้ ทคี่ อยช่วยเหลือ เออ้ื เฟ้ือ และแบ่งปนั ประสบการณ์ จดั สถานการณ์เร้าให้นกั เรียนได้คดิ ตั้งคำถามและลงมอื
ตรวจสอบ ผู้สอนตอ้ งจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั ความรคู้ วามสามารถบนพ้ืนฐานของความสนใจ ความ
ถนดั และความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
2) บทบาทของผ้เู รียนในการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ 5 ขัน้ (5 STEPs) ต้องมบี ทบาทในการ
สรา้ งความรู้จากพนื้ ความรูเ้ ดมิ ผเู้ รยี นต้องเกดิ การเรียนรู้อยา่ งมีความหมายและไมเ่ กิดแนวความคดิ ทผี่ ดิ พลาด การ
ละเลยหรือเพิกเฉย ผ้เู รียนเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นอย่างกระตือรือรน้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งอิสระ สรุปข้อความรู้
ขยายและสร้างปญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง รวมท้ังประเมินและสะทอ้ นผลการเรยี นรู้สดุ ทา้ ยผู้เรียนสามารถนำความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปประยุกต์ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ได้ (พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดีสุข.2560.สอนเขยี น
แผนบรู ณาการบนฐานเด็กเปน็ สำคญั . พมิ พ์ครง้ั ที่ 5.กรงุ เทพฯ:โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.)

57

กิจกรรมท่ที ำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นรซู้ ่งึ กนั และกนั
-มสี อื่ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรรู้ ่วมกนั
-พิจารณา สื่อ นวตั กรรม ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางทด่ี ีในการแก้ปัญหาคุณภาพผเู้ รยี นร่วมกนั
-เลือก ส่ือ นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปญั หา
ไดว้ ิธกี ารจดั การเรยี นรู้ STEM 5 ข้ันตอน

ผลทไี่ ดร้ ับจากกิจกรรม
ประเดน็ ดา้ นผ้เู รียน
- พฤติกรรมของนักเรยี นที่มีปัญหาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นตามขอ้ ตกลงท่ีต้ังไว้ นกั เรียนมีคะแนนเฉล่ีย

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน และมีส่วนร่วมในช้ันเรียนมากขึ้น ซ่ึงดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่างๆ ท่ีแสดงถึง
ด้านความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรียนต่างๆ ของนักเรียน

- ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคมออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ในทางท่ีเหมาะสม เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองท่ีคอยช่วยให้นักเรียนสามารถ
แยกแยะขา่ วสารหรอื ข้อมูลทีม่ กี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ใหร้ บั รู้ได้อย่างมคี ุณภาพ

- นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างครูกบั นักเรียน และนักเรียนกบั นักเรยี นดว้ ยกนั เองเพ่ิมมากข้ึน

- นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับฟัง
ความคดิ เห็นของผอู้ ื่นมากข้นึ

ประเด็นด้านกิจกรรม
- ลักษณะ ความเหมาะสม ประสิทธิภาพของกิจกรรม ขั้นตอนของกระบวนการเรียนการสอน วิธีการ

สอน เทคนคิ การสอนตา่ งๆ มปี ระสิทธิภาพ
- ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านส่ือเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น

ลักษณะการเรียนรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้นอกชน้ั เรยี นทที่ ำใหผ้ เู้ รียนสามารถเรยี นรู้ไดท้ กุ ทท่ี ุกเวลา
- กิจกรรมมีความเหมาะสม สอดคล้องกับจุดประสงค์ กิจกรรมการเรยี นรู้ และการวดั และประเมินผล
- การบริหารจัดการชนั้ เรียน การจัดชนั้ เรียน วิธีการคมุ ช้ันเรยี น หรือการจดั กลุ่มเพอ่ื ทำกจิ กรรม
- ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไปโดยเน้น

ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้

58

- กิจกรรมการเรียนรู้นำไปสู่การพัฒนาความสามารถของผู้เรียน โดยผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
และสามารถสอนผ้อู ่ืนหรือชว่ ยเหลือเพอื่ นได้ เปน็ การใช้ทกั ษะการเรยี นรู้ขั้นสูง ตามพีระมิดการเรยี นรู้

- การกำหนดเวลาและโครงสรา้ งเหมาะสมกับเนื้อหา บทเรียน ระดบั ความสามารถของผู้เรยี น
ประเด็นดา้ นครู

- ครูมีการใช้คำถาม คำส่งั คำอธิบาย หรอื การใช้สอื่
- ครมู กี ารเรียงลำดบั ขนั้ ตอนการนำเสนอประเดน็ คำถาม คำส่งั หรอื คำอธบิ าย
- ครจู ะทำหน้าเป็นผู้อำนวยท่ีคอยใหค้ วามช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศกั ยภาพของผู้เรียนให้สามารถ
เรียนรไู้ ด้ดว้ ยตนเอง สร้างแรงจงู ใจและแรงบนั ดาลใจในการเรยี น
ประเดน็ สอื่ การสอน
- สอ่ื กิจกรรมและแหล่งการเรียนรู้มีความถกู ตอ้ ง เหมาะสม มปี ระสิทธิภาพ (ดา้ นคุณภาพ)
- สื่อมีความเพียงพอ เหมาะสม (ดา้ นปริมาณ)
- นักเรียนได้ใช้เคร่ืองมือท่ีตนถนัดคือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและสังคม
ออนไลน์ เมือ่ ได้ใชห้ รือทำอะไรที่ตนชอบหรือถนัด จึงทำให้ผู้เรยี นศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่างอัตโนมัติ
ผเู้ รียนเกิดการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมเป็นไปตามท่ีครตู ้องการให้เกดิ ขน้ึ ในตวั ผู้เรียน
ประเด็นด้านบรรยากาศ
- สภาพแวดล้อมของชั้นเรียน หรือสถานทีเ่ รียนมผี ลต่อประสทิ ธิภาพของการจัดการเรยี นการสอนและ
การเรียนร้ขู องผู้เรียน
- การยอมรับความคิดเห็น คำถาม และการช่วยเหลือของผู้เรยี น
- บทเรียนสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสรา้ งความคิด คำถาม ข้อคาดเดา และ/หรอื ข้อเสนอ
จดุ แขง็ จดุ ออ่ นของการสอน
- มีการนำเทคโนโลยีเขา้ มาบรู ณาการ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
- กระบวนการทำงานพัฒนาวชิ าชพี ครูแบบชุมชนแหง่ การเรียนรู้ มรี ะบบการทำงานตามรปู แบบ PDCA

การนำผลทีไ่ ด้ไปใช้
1. ไดน้ วตั กรรมในการแกไ้ ขปญั หา
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นดขี ้ึน หรอื เป็นไปตามเกณฑท์ ี่ตกลงกนั ไว้
3. พฤติกรรมของนกั เรยี นทม่ี ปี ญั หาเปลีย่ นไปในทางทด่ี ีขน้ึ ตามขอ้ ตกลงท่ตี ั้งไว้
4. นำไปส่กู ารเก็บเป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป

59

ปัญหา/อปุ สรรคทีพ่ บ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานที่ปฏิบตั ไิ ดด้ ี
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมบันทกึ หลงั การสอน
2. ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากบั สมาชิกกลุม่ PLC
3. ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน
4. แบบสงั เกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5. ภาพการนิเทศการสอน

สิ่งท่ีตอ้ งพฒั นาต่อไป
การจดั การเรยี นรแู้ บบหอ้ งเรียนแบบเชิงรุกเป็นการสร้างแรงจงู ใจในการเรยี น ความอยากรอู้ ยากเห็น และ

ความสนใจในการเรียนเป็นไปได้โดยงา่ ย ท้ังยังส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ส่ือสังคม
ออนไลน์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในทางที่เหมาะสม เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์ ย่ิงไปกว่านั้นการฝึกทักษะ
ดังกล่าวยังเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวนักเรียน เปรียบเสมือนเป็นตัวกรองที่คอยช่วยให้นักเรียนสามารถ
แยกแยะข่าวสารหรอื ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วให้รับรไู้ ด้อยา่ งมีคณุ ภาพ สอดคล้องกับแนวคิดหน่ึงใน
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 (21st century skills) ในเทอมตอ่ ไป

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

เนื่องจาก ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และ
คุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ท่ีจะก่อให้เกิดผล
ทางบวกต่อการเรยี นการสอนและคณุ ภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้และ
สง่ ผลให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงขึ้น

ลงชอ่ื ...............................................................Model Teacher
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์)

60

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผู้รับรองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

61

ภาคผนวก

ภาพบรรยากาศการเรียนการสอน
กจิ กรรม Active Leaning ในการจดั การเรยี นรู้ เพอื่ พัฒนาทักษะการแกป้ ญั หา

กจิ กรรม Active Leaning ในการจดั การเรยี นรู้ เพื่อพฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หา

กิจกรรม Active Leaning ในการจดั การเรียนรู้ เพ่อื พัฒนาทกั ษะการแกป้ ญั หา
โดยใช้เว็บไซต์ท่ีให้บรกิ ารสรา้ งสื่อการศกึ ษาผ่านช่องทาง TPLC เช่น Prezi, Twinkl, Have Fun Teaching,
Puzzle Maker, การสร้าง mind map ด้วยเว็บไซต์ Popplet หรือ Spider scribe และเว็บไซต์ให้บริการการ

จัดการเรียนการสอน เช่น Stormboard, kahoot และ Ping Pong

การนิเทศการเรียนการสอน

การจดั การเรียนการสอน

กิจกรรม Active Leaning ในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาทักษะการแกป้ ญั หา
โดยใช้เวบ็ ไซต์ที่ใหบ้ รกิ ารสรา้ งสอ่ื การศกึ ษาผ่านช่องทาง TPLC เช่น Prezi, Twinkl, Have Fun Teaching,
Puzzle Maker, การสรา้ ง mind map ด้วยเว็บไซต์ Popplet หรอื Spider scribe และเว็บไซตใ์ ห้บรกิ ารการ

จดั การเรยี นการสอน เชน่ Stormboard, kahoot และ Ping Pong

กิจกรรม Active Leaning ในการจดั การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา
โดยใชก้ ารเรียนรู้แบบร่วมมอื (Cooperative Learning) ในการใช้วิธกี ารเรียนการสอนรปู แบบกล่มุ

กจิ กรรม Active Leaning ในการจดั การเรียนรู้ เพือ่ พัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หา
โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน

กจิ กรรม Active Leaning ในการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทักษะการแก้ปัญหา
รปู แบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี ในการสร้างบทเรียนออนไลน์
ทำให้ผูเ้ รียนสามารถเรยี นรู้นอกเวลาหรือนอกหอ้ งเรยี นได้ด้วยตนเอง

กจิ กรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้
เพื่อพฒั นาทกั ษะการแกป้ ญั หาใชส้ อ่ื การออกแบบและเทคโนโลยี

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้
เพ่อื พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หาใช้ส่อื การออกแบบและเทคโนโลยี สือ่ วงล้อมหาสนกุ

ส่ือจัดการเรยี นการสอน

สอื่ การออกแบบและเทคโนโลยี

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้
เพ่อื พัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาใช้สื่อการออกแบบและเทคโนโลยี ส่อื DATABASE

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรียนรู้
เพ่อื พัฒนาทกั ษะการแก้ปญั หาใช้สื่อการออกแบบและเทคโนโลยี ส่อื DATABASE

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการแก้ปัญหา
แนวทางในการสอนทบทวนให้กับกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หา และการปรบั สภาพแวดลอ้ มห้องเรียน กรณที ีน่ กั เรียน

กลมุ่ ดงั กลา่ วเรียนรไู้ ด้ช้ามากกจ็ ะใหท้ ำการย้ายที่นง่ั ใหใ้ กลช้ ิดครูผู้สอน

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หา
แนวทางในการสอนทบทวนให้กับกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หา และการปรบั สภาพแวดลอ้ มห้องเรยี น กรณีท่ีนักเรียน

กลมุ่ ดงั กลา่ วเรียนรไู้ ด้ช้ามากกจ็ ะใหท้ ำการย้ายที่นง่ั ใหใ้ กลช้ ิดครูผู้สอน

กิจกรรม Active Leaning ในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการแก้ปญั หา
แนวทางในการสอนทบทวนให้กับกลมุ่ นกั เรยี นทม่ี ปี ญั หา และการปรบั สภาพแวดลอ้ มห้องเรยี น กรณีท่ีนักเรียน

กลมุ่ ดงั กลา่ วเรียนรไู้ ด้ช้ามากกจ็ ะใหท้ ำการย้ายที่นง่ั ใหใ้ กลช้ ิดครูผู้สอน

ภาพบรรยากาศ การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้
ดว้ ยชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

รวมกลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพอ่ื พฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้

บนั ทกึ ขอ้ ความ










Click to View FlipBook Version