The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-12-13 05:51:59

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจดั การเรยี นรู้

รหสั วชิ า ว 21101

รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ 1

จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ 3 คาบ/สัปดาห์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1

ปกี ารศึกษา 2563

จัดทำโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพิเศษ

กล่มุ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาการมธั ยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสตู รรายวิชา

(Course Development)

รหัสวิชา.... ว 21101...รายวิชา....วทิ ยาศาสตร์..1.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกิต ....3..... คาบ/ สัปดาห์
ภาคเรยี นท่ี ...1... ปีการศกึ ษา …2563…..

จัดทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........

ตำแหน่ง ....ครูชำนาญการพเิ ศษ...........

กลมุ่ สาระการเรียนรู้.....วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี......

โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม แขวงศริ ิราช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร
สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาการมธั ยมศึกษา เขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับน้ีจัดทำข้ึนเพื่อเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ว 21101 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน
กำหนดทกั ษะกระบวนการในการเรยี นการสอนตลอดจนการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผู้เรยี นโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาการมัธยมศึกษา เขต 1 ตอ่ ไป

นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์
ช่ือผ้จู ดั ทำ

สารบัญ หนา้

คำนำ 1
1. หลักการและจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 1
1
หลักการ 2
จุดหมาย 2
2. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 3
3. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 3
4. วสิ ยั ทัศน์ของโรงเรยี น 3
พนั ธกจิ 4
เปา้ ประสงค์ 4
5. การกำหนดโครงการสอน 4
คำอธิบายรายวิชา (ดูรายละเอียดจากหลักสตู ร) 5
สาระ/มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั (แกนกลาง) 5
มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร) 5
ตวั ช้วี ัด หรือผลการเรียนรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สูตร) 6
6. ตารางโครงสรา้ งรายวิชา 7
7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรยี น 7
8. แผนการวัดผลและภาระงาน 7
แนวการวดั ผล 8
แผนการวดั ผล
การกำหนดภาระงานนักเรียน

1. หลักการและจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 1

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน มุ่งพัฒนาผ้เู รียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลงั ของชาติให้เป็นมนุษย์ทม่ี ีความ

สมดุลทั้งดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดม่ันในการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มคี วามรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ

การศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวติ โดยม่งุ เน้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญบนพ้นื ฐานความเช่ือว่า

ทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

หลักการ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มีหลกั การทส่ี ำคัญ ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย
ควบคกู่ ับความเป็นสากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของท้องถน่ิ

4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรียนรู้

5. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญ า มีความสุข

มศี ักยภาพในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกดิ กบั ผู้เรยี น เมอื่ จบการศกึ ษาข้ัน
พ้ืนฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที ักษะชวี ติ
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะทมี่ ุ่งทำประโยชน์และสร้างสง่ิ ที่ดงี ามในสงั คม และอย่รู ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ

2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 2

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ

ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้

วธิ กี ารสื่อสาร ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง

สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปส่กู ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ

การตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชญิ ได้อยา่ ง

ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ

เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

และมีการตดั สนิ ใจทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้นึ ต่อตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ

สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตัวให้

ทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบ

ต่อตนเองและผอู้ ื่น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี

ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ

แกป้ ญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ม่งุ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ
อยรู่ ่วมกบั ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
3. มวี นิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย
8. มีจติ สาธารณะ

3

4. วสิ ัยทศั น์ของโรงเรยี น

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม เปน็ โรงเรยี นส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้
คคู่ ณุ ธรรม บนพื้นฐานความเป็นไทยและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

พันธกจิ
1) จดั การเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น
2) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
3) การบริหารจัดการสถานศึกษา
4) พัฒนาชุมชน สังคม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์

เปา้ ประสงค์
1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทน

บุญคุณบิดามารดา มาโรงเรียนเช้า เข้าห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพื่อนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกสิ่ง
ชว่ั ประพฤติตัวดี มนี ำ้ ใจ ให้เกยี รตกิ นั และมีคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตร

2) ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการสืบสาน อนุรกั ษ์ ประเพณี และวฒั นธรรมไทย
3) ผเู้ รยี นนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สร้างสรรค์ และรว่ มกนั รบั ผิดชอบสังคม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศกั ยภาพ
7) ครแู ละบุคลากรมีความรู้และจริยธรรม มศี ักยภาพในหน้าทีข่ องตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดลอ้ มและการบริการทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้
9) สถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หน่วยงานอ่นื ๆทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เน้นการมีส่วนรว่ มของผเู้ กี่ยวขอ้ งทกุ ฝา่ ยในการพัฒนาโรงเรยี น

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธบิ ายรายวิชา 4

โครงการสอนรายวิชา
รหสั วชิ า.... ว 21101 ...รายวิชา....วิทยาศาสตร.์ .1.......
จำนวน....1.5.... หนว่ ยกิต ....3..... คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรียนที่ ...1... ปกี ารศกึ ษา …2563…..

สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วดั (แกนกลาง)
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มชี ีวิตหน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชีวิตการลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบตา่ งๆของสตั วแ์ ละมนษุ ย์ท่ีทำงานสัมพันธ์กันความสมั พนั ธ์ของ
โครงสร้างและหนา้ ที่ของอวัยวะต่างๆของพชื ทที่ างานสมั พันธ์กัน รวมท้งั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสารองคป์ ระกอบของสสารความสมั พันธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของสสารกับโครงสร้าง
และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลายและ
การเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชวี ิตในสังคมที่มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน
อย่างมีความคิดสรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนงึ ถึง
ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวิตจรงิ อย่างเป็น
ขนั้ ตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนร้กู ารทางานและการแกป้ ญั หาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพรเู้ ทา่ ทันและมีจรยิ ธรรม
คำอธบิ ายรายวชิ า (ดรู ายละเอียดจากหลักสูตร)

การศึกษาวิเคราะหก์ ารเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมบตั ขิ องสารบรสิ ทุ ธ์ิ การจำแนกและองคป์ ระกอบของ
สารบริสทุ ธิ์ เซลล์ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ การลำเลยี งสารเขา้ ออกจากเซลล์ การสบื พันธุ์และขยายพนั ธพ์ุ ืชดอก
การสงั เคราะหด์ ้วยแสง กรลำเลียงนำ้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื ท้งั นี้โดยใช้ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้
การสำรวจตรวจสอบ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย และวิเคราะห์สาเหตหุ รือปัจจยั ที่ส่งผลต่อ ปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม วเิ คราะห์ข้อมูล
และแนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้อง กบั ปัญหา ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมูลท่ี
จำเปน็ นำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาใหผ้ อู้ ื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา ทดสอบ ประเมนิ ผล และ
ระบขุ ้อบกพร่อง ทีเ่ กดิ ขน้ึ พร้อมทั้งหำแนวทางการปรับปรงุ แก้ไข เพ่ือแก้ปญั หา และใช้เทคโนโลยีไดอ้ ย่างถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย

เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่งิ ท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ
การแกป้ ัญหา การนาความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวัน มจี ิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคำ่ นิยมทเี่ หมาะสม

5

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลกั สูตร)

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสงิ่ มีชีวิต หน่วยพนื้ ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลำเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ที ำงานสัมพันธก์ ัน ความสัมพันธข์ อง

โครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กนั รวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัติของสสารกับ โครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย

และการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี

ตัวช้วี ดั หรือผลการเรยี นรู้ (ดูรายละเอยี ดจากหลักสตู ร)

ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11, ม.1/12,

ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18

ว 2.1 ม.1/1,1/2,1/3,1/4, 1/5,1/6,1/7,1/8,1/9,1/10

ว 4.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4

รวมตัวชีว้ ัด 33 ตวั ชี้วดั

6. ตารางโครงสร้างรายวิชา

ลำดบั ชื่อหน่วยการ ตวั ชี้วดั หรอื วธิ กี ารประเมนิ เวลา นำ้ หนกั

ท่ี เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

1 เราจะเรยี นรู้ ว 4.1 ม.1/2,1/3,1/4 1. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 9 10

วิทยาศาสตร์ ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4 2. สบื คน้ ขอ้ มูล/อภปิ รายกลุม่

อยา่ งไร

2 สมบตั ขิ องสาร ว2.1ม.1/1,1/2,1/3 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 18 20

บริสุทธ์ิ 1/4, 1/5,1/6,1/7 2. สบื คน้ ข้อมลู /อภปิ ราย

1/8, 1/9,1/10 กลุ่ม

สอบกลางภาค

3 หนว่ ยพ้นื ฐาน ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม. 1. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 12 20

ของสง่ิ มชี ีวติ 1/4,ม.1/5 2. สบื คน้ ขอ้ มูล/อภิปราย

กลมุ่

4 การดำรงชีวติ ว 1.2 ม.1/6, ม.1/7, 1. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 21 10

ของพืช ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, 2. สืบคน้ ข้อมลู /อภิปราย

ม.1/11, ม.1/12, กลุ่ม

ม.1/13, ม.1/14, ม.

1/15, ม.1/16, ม.1/17,

ม.1/18

สอบปลายภาค --
จติ พิสยั
รวม

อัตราส่วนคะแนน 6
คะแนนเกบ็ ระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …..
รวม 100 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คณุ ลักษณะ / จติ พสิ ัย = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น

สปั ดาห์/ หนว่ ยการเรียนร้/ู ตัวชวี้ ดั / กิจกรรม / เวลา
แผนการ เน้อื หา ผลการเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง)
เรยี นรทู้ ี่

1-3 เราจะเรียนรู้ ว 4.1 ม.1/2,1/3,1/4 รูปแบบการเรียนรแู้ บบโยนิโส 9

วทิ ยาศาสตรอ์ ย่างไร ว 4.2 ม.1/3,1/4 มนสิการตามขนั้ ตอนดังน้ี

1. ขน้ั พัฒนาปญั ญา

2. ขน้ั นำปัญญาพัฒนาความคิด

3. ขน้ั นำปัญญาพัฒนาตนเอง

4-9 สมบัตขิ องสารและการ ว2.1 ม.1/1,1/2,1/3 รูปแบบการเรียนรแู้ บบโยนิโส 18

จำแนกสาร 1/4, 1/5,1/6,1/7 มนสกิ ารตามข้นั ตอนดงั นี้

1/8,1/9,1/10 1. ขน้ั พัฒนาปญั ญา

2. ขนั้ นำปญั ญาพฒั นาความคิด

3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง

10-13 หน่วยพ้ืนฐานของ ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 รปู แบบการเรียนรู้แบบโยนิโส 12

ส่ิงมีชวี ติ มนสิการตามข้ันตอนดงั นี้

1. ขน้ั พฒั นาปัญญา

2. ขนั้ นำปัญญาพัฒนาความคิด

3. ขน้ั นำปญั ญาพฒั นาตนเอง

14-20 การดำรงชวี ติ ของพชื ว1.2 ม. 1/6, 1/7 รปู แบบการเรียนรู้แบบโยนโิ ส 21

1/8,1/9,1/10, 1/11 มนสกิ ารตามขัน้ ตอนดังน้ี

1/12, 1/13, 1. ขน้ั พัฒนาปัญญา

1/14, 1/15, 1/16, 2. ขน้ั นำปญั ญาพฒั นาความคิด

1/17, 1/18 3. ขัน้ นำปัญญาพัฒนาตนเอง

8. แผนการวัดผลและภาระงาน

แนวการวดั ผล อัตราส่วน คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20.....

อัตราส่วน คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............

แผนการวดั ผล

7

การประเมนิ คะแนน วิธีวดั ชนิดของเครอื่ งมือ ตัวชี้วัด/ผลการ เวลาท่ีใช้
เรยี นร้ขู อ้ ที่ (นาท/ี คร้งั )

กอ่ นกลางภาค 30 1.สืบค้นข้อมลู ชุดกิจกรรม ว 4.1 ม.1/2,1/3 50 นาที/ครั้ง

2.อภปิ รายกล่มุ วทิ ยาศาสตร์ 1/4

ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4

ว 2.1, ม.1/1,1/2

1/3,1/4, /5,1/6,1/7

1/8,1/9,1/10

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิ ว 4.1 ม.1/2,1/3 60 นาที/ครง้ั

1/4

ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4

ว 2.1, ม.1/1,1/2

1/3,1/4, /5,1/6,1/7

1/8,1/9,1/10

หลังกลางภาค 30 1.สบื คน้ ข้อมลู ชุดกจิ กรรม ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 50 นาที/ครง้ั

2.อภิปรายกลุ่ม วิทยาศาสตร์ 1/5,1/6,1/7,1/8,1/9

1/10,1/11, 1/12,

1/13,1/14, 1/15,

1/16,1/17, 1/18

คณุ ลกั ษณะ / - - - - ตลอด

จติ พสิ ัย ภาคเรยี น

ปลายภาค 20 สอบ แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 60 นาท/ี ครั้ง

1/5,1/6,1/7,1/8,1/9

1/10,1/11, 1/12,

1/13,1/14, 1/15,

1/16,1/17, 1/18

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรียน

ในการเรียนรายวิชา..วทิ ยาศาสตร์..1..ไดก้ ำหนดใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรม/ ปฏบิ ตั งิ าน(ชนิ้ งาน)….22....ชิน้

ดังนี้

ที่ ช่ืองาน ตัวช้วี ดั /ผลการ ประเภทงาน กำหนดส่ง
เรยี นร้ขู อ้ ที่ กลมุ่ เด่ียว วนั /เดอื น/ปี

1 รายงานการทดลอง 1 นำ้ สเี คลอื่ นท่ี ว 4.1 ม.1/2,1/3  ก.ค. 63

อยา่ งไร 1/4

2 จรวดกระดาษ ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4  ก.ค. 63

3 รายงานการทดลอง 2 จุดเดือดของสาร ว 2.1, ม.1/1,1/2  ก.ค. 63

1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

4 รายงานการทดลอง 3 จดุ หลอมเหลว ว 2.1, ม.1/1,1/2  ก.ค. 63

ของสาร 1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10 8
ส.ค. 63
5 รายงานการทดลอง 4 ความหนาแน่น ว2.1 ม.1/1,1/2  ส.ค. 63
 ก.ย. 63
1/3,1/4, 1/5,1/6 ก.ย. 63
 ก.ย. 63
1/7,1/8,1/9,1/10 ก.ย. 63
 ก.ย. 63
6 รายงานการทดลอง 5 องค์ประกอบ ว2.1 ม.1/1,1/2  ต.ค. 63
 ต.ค. 63
สารบรสิ ทุ ธ์ 1/3,1/4, 1/5,1/6 
 ต.ค. 63
1/7,1/8,1/9,1/10
 ต.ค. 63
7 รายงานการทดลอง 6 โครงสร้าง ว2.1 ม.1/1,1/2
 ต.ค. 63
อะตอม 1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

8 รายงานการทดลอง 7 จำแนกธาตุ ว2.1 ม.1/1,1/2

1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

9 รายงานการทดลอง 8 โลกใต้กล้อง ว1.2 ม.1/1,1/2

จลุ ทรรศน์ 1/4

10 รายงานการทดลอง 9 เซลล์พืชเซลล์ ว1.2 ม.1/1,1/2

สตั ว์ 1/4

11 รายงานการทดลอง 10 อนุภาคของสาร ว1.2 ม.1/1,1/2

มกี ารเคล่ือนที่อยา่ งไร 1/4

12 รายงานการทดลอง 11 น้ำเคลือ่ นที่ ว1.2 ม.1/1,1/2

ผ่านเยื่อเลอื กผ่านอย่างไร 1/4

13 รายงานการทดลอง 12 การถ่ายละออง ว1.2 ม. 1/5,1/6

เรณเู กิดไดอ้ ยา่ งไร 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

14 รายงานการทดลอง 13 เมล็ดงอกได้ ว1.2 ม. 1/5,1/6

อยา่ งไร 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

15 รายงานการทดลอง 14 การขยายพันธ์ ว1.2 ม. 1/5,1/6

พืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

16 รายงานการทดลอง 15 ปจั จัยสรา้ ง ว1.2 ม. 1/5,1/6

อาหารของพชื 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

9

1/17, 1/18

17 รายงานการทดลอง 16 การสังเคราะห์ ว1.2 ม. 1/5,1/6  ต.ค. 63

ด้วยแสง 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

18 รายงานการทดลอง 17 ปัจจยั การสรา้ ง ว1.2 ม. 1/5,1/6  ต.ค. 63

อาหารของพืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

19 รายงานการทดลอง 18 ผลผลิตจากการ ว1.2 ม. 1/5,1/6  ต.ค. 63

สรา้ งอาหารของพืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

20 รายงานการทดลอง 19 ธาตุอาหารของ ว1.2 ม. 1/5,1/6  ต.ค. 63

พืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

21 รายงานการทดลอง 20 การลำเลียง ว1.2 ม. 1/5,1/6  พ.ย. 63

อาหารของพชื 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

22 ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์  พ.ย. 63

หากนกั เรียนขาดส่งงาน...-...ชนิ้ หรอื ขาดสง่ ช้ินงานที่ ...22.. จะไดร้ ับผลการเรยี น “ร” ในรายวชิ าน้ี

ลงช่อื ........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์..) (นายสรุ จักร์ิ แกว้ ม่วง.)

ลงช่ือ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(..............................................) (..นายศิวาวุฒิ รตั นะ..)

หวั หนา้ งานนิเทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุม่ บริหารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

คำนำ

แผนการจดั การเรียนรูเ้ ลม่ น้ี จัดทำข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ ารายวชิ า
พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2563 ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายสอดคล้องกับสาระ
และมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซงึ่ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 4 หน่วย คือ หน่วยท่ี 1 เรา
จะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร หน่วยท่ี 2 สารบริสุทธิ์ หน่วยที่ 3 หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต และหน่วยที่ 4
การดำรงชวี ิตของพชื แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เล่มน้ีส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรม
การเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรยี นเชือ่ มโยงความรทู้ ้ังในและตา่ งกลุม่ สาระการเรียนรู้ในเชงิ บูรณาการดว้ ย
วิธีการท่ีหลากหลาย สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าที่ในการเอื้ออ
านวยความสะดวกให้แก่นักเรยี น เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวดั รวมทั้ง
พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีหลักสูตรกำหนด เพื่อให้นักเรียน
สามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ของ
ผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพ และสถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาอย่าง
แท้จรงิ

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม. 1 เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการนำไป
ประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรยี นต่อไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารบัญ หนา้
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 1 1 - 10
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เราจะเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรอ์ ย่างไร
 แผนการเรียนรู้ที่ 2 เราจะเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์อย่างไร 1
 แผนการเรียนรูท้ ี่ 3 สมบัตขิ องสารบรสิ ทุ ธ์ิ 11- 29
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 สมบัตขิ องสารบริสุทธ์ิ
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี 4 การจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธิ์ 11
 แผนการเรยี นรู้ท่ี 5 หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมชี ีวติ 20
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เซลล์ 30 - 48
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 6 การลำเลียงสารเขา้ ออกเซลล์ 30
 แผนการเรียนรู้ที่ 7 การดำรงชวี ิตของพืช 41
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 8 การสืบพันธ์แุ ละการขยายพันธ์พุ ชื ดอก 49 - 77
การสังเคราะหด์ ้วยแสง 49
การลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพชื 60
70

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี…………...1..............เรอื่ ง.......................เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งไร............................
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที .ี่ ...1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรยี นที่..1...เวลา...9...ชวั่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีท้ังมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวติ ในสังคมที่มกี ารเปล่ียน

แปลงอยา่ งรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่อื แก้ปัญหา
หรือพัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอยา่ ง
เหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวชว้ี ดั
ว 4.1 ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความตอ้ งการในชวี ติ ประจำวัน รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและ
แนวคิดที่เก่ยี วข้องกบั ปญั หา
ว 4.1 ม.1/3 ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทียบ และตดั สนิ ใจเลือกขอ้ มลู ที่
จำเปน็ นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาให้ผูอ้ ื่นเข้าใจ วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา
ว 4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดข้นึ พรอ้ มท้ังหาแนวทางการ
ปรบั ปรุงแก้ไขและนำเสนอผลการแกป้ ัญหา
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชวี ติ จริงอยา่ งเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรกู้ ารทางานและการแก้ปัญหาได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพรู้เท่าทนั และมีจริยธรรม
ตัวช้วี ัด ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4
ว 4.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศ
ตามวัตถปุ ระสงคโ์ ดยใชซ้ อฟต์แวร์ หรือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็ ทห่ี ลากหลาย
ว 4.2 ม.1/4 ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ใชส้ ื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกำหนดและ
ข้อตกลง

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ดั ทีใ่ ช้ในหน่วยการเรียนร้นู ีเ้ ขยี นเป็นแบบความเรียง)
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองนับแต่อดีตยุคโบราณ จนกระทั่งปัจจุบัน

วิทยาศาสตร์เป็นความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติซ่ึงสามารถอธิบายได้ด้วยหลักฐานและความเป็นเหตุเป็นผลทาง
วิทยาศาสตร์ ความเชื่อ หรือเร่ืองราวท่ีเล่าต่อๆ กันมา โดยไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการและเหตุผลทาง
วิทยาศาสตร์ไม่จัดเป็นวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นจุดเริ่มต้นของเทคโนโลยีที่อำนวยความสะดวกและ
ตอบสนองความต้องการในดา้ นต่าง ๆ ของมนษุ ย์ วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องและส่งผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ิตของ

1

ทุกคนจึงจำเป็นต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์แม้มิได้ประกอบอาชีพเป็นนักวิทยาศาสตร์ก็ตาม เพื่อให้สามารถ
ดำรงชีวิตได้อยา่ งมคี ณุ ภาพและมสี ่วนรว่ มในสงั คมปัจจุบนั ได้อยา่ งภาคภมู ิ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการท่ีกระทำเพ่ือให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็น
กระบวนการท่ีประกอบด้วย การสังเกตและระบุปัญหา การต้ังสมมุติฐาน การวางแผน การสำรวจ หรือการ
ทดลอง รวมท้ังการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคำอธิบาย การสรุปผลและการส่ือสาร โดยขั้นตอน
ต่าง ๆ ดังกล่าวสามารถเพิ่มเติม ลดทอนสลับลำดับ ตามความเหมาะสม ในการทำงานเพ่ือให้ได้มาซึ่งองค์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง แม่นยำ และครอบคลุมต้องอาศัยทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วย 14 ทักษะ ได้แก่ การสังเกตการวัด การจำแนกประเภท การหา
ความสัมพันธร์ ะหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา การใช้จำนวน การจัดกระทำ และ สื่อความหมายข้อมูล
การลงความเห็นจากข้อมลู การพยากรณ์ การตง้ั สมมตุ ิฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัตกิ าร การกำหนด
และควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตีความหมายของข้อมูลและลงข้อสรุป และการสร้างแบบจำลอง
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรูเ้ พ่มิ เติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• การแกป้ ัญหาจำเปน็ ต้องสบื คน้ รวบรวมข้อมลู ความรู้จากศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้อง เพ่ือนำไปสู่

การออกแบบแนวทางการแก้ปญั หา
• การวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ และตัดสินใจเลือกข้อมูลทีจ่ ำเปน็ โดยคำนึงถึงเง่ือนไข และทรัพยากรที่มี

อยู่ ช่วยให้ไดแ้ นวทางการแก้ปญั หาทเี่ หมาะสม
• การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หาทำไดห้ ลากหลายวิธี เชน่ การร่างภาพ การเขยี นแผนภาพ การ

เขยี นผังงาน
• การกำหนดขัน้ ตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแกป้ ัญหาจะชว่ ยให้ทำงานสำเรจ็ ได้

ตามเปา้ หมายและลดข้อผิดพลาดของการทำงานท่ีอาจเกิดขึน้
• การทดสอบ และประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบชน้ิ งานหรือวธิ ีการวา่ สามารถแกป้ ัญหาได้ตาม

วตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพือ่ หาข้อบกพร่อง และดำเนินการปรับปรุง โดยอาจทดสอบซำ้ เพ่อื ให้
สามารถแก้ปัญหาได้

• การนำเสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคดิ เพ่ือให้ผอู้ น่ื เข้าใจเกย่ี วกับกระบวนการทำงานและ
ช้ินงานหรือวธิ ีการทไ่ี ด้ ซ่ึงสามารถทำได้หลายวิธี เชน่ การเขียนรายงาน การทำแผน่ นำเสนอผลงาน การจัด
นิทรรศการ การนำเสนอผ่านสือ่ ออนไลน์

• การรวบรวมขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลอื ก ประเมนิ ผล จะทำให้ได้
สารสนเทศเพ่ือใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตัดสินใจได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

• การประมวลผลเปน็ กำรกระทำกบั ข้อมูล เพ่ือใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ที่มคี วามหมายและมีประโยชน์ตอ่ การ
นำไปใชง้ าน สามารถทำได้หลายวิธี เชน่ คำนวณอัตราสว่ น คำนวณคา่ เฉล่ยี

• การใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือบรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ทีห่ ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้าง
ทางเลอื ก ประเมินผล นำเสนอ จะชว่ ยใหแ้ กป้ ัญหาได้อย่างรวดเรว็ ถกู ต้อง และแม่นยำ

• ตวั อยา่ งปญั หา เนน้ การบูรณาการกับวิชาอน่ื เช่น ตม้ ไข่ใหต้ รงกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภค ค่าดัชนีมวล
กายของคนในทอ้ งถ่นิ การสร้างกราฟผลกำรทดลองและวเิ คราะห์แนวโนม้

• ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ การปกป้องความเปน็ สว่ นตัวและอตั ลกั ษณ์
• การจัดการอตั ลักษณ์ เช่น การตัง้ รหสั ผ่าน การปกป้องข้อมูลสว่ นตวั

2

• การพิจารณาความเหมาะสมของเน้อื หา เชน่ ละเมิดความเปน็ สว่ นตวั ผู้อน่ื อนาจาร วิจารณ์ผู้อื่น

อย่างหยาบคาย

• ขอ้ ตกลง ข้อกำหนดในการใช้ส่ือหรือแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ เชน่ Creative commons

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถึงหลักสตู รทอ้ งถิ่นใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. บอกความความสำคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์ได้

2. อธิบายเหตุผลท่คี วามรู้ทางวิทยาศาสตร์เปล่ยี นแปลงได้เม่ือมขี ้อมลู หรือหลักฐานได้

3. ตงั้ คำถามจากสง่ิ ท่ีพบเห็นในชวี ิตประจำวันได้

4. สบื ค้นเรอื่ งทีส่ นใจจากแหล่งเรียนรู้ต่างกนั ได้

5. เหน็ คุณคา่ ของการนำความรทู้ างวิทยาศาสตร์มาใชเ้ พ่ืออำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรยี นรูน้ ี)้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซอ่ื สัตย์สุจรติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรยี นคอื

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรยี นเกดิ ความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสง่ิ ท่เี รียนรู้

3. หลักภมู คิ มุ้ กัน : ใหน้ กั เรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบคุ คล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวัง

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมคี วามขยันทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ีส่ ดุ , มีวนิ ัยในการ

ทำงาน

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 4.1 ม.1/2 - แบบบันทึกการค้นหาเรื่องราว - ก ารอ ภิ ป ราย ค วาม เช่ื อ เก่ี ย ว กั บ

เกี่ยวกับ “ จันทรุปราคา ความเช่ือ จันทรุปราคา เป็นข้อมูลท่ีไม่สามารถหา

เกย่ี วกับราหูอมจนั ทรข์ องคนสมยั หลักฐานมาพิสูจน์หรืออธิบายได้ ไม่

โบราณ” จดั เป็นวิทยาศาสตร์

ว 4.1 ม.1/3 - ชุดกิจกรรมฯร่วมกันคิด 1 เรื่องตัว - ศึกษา / อภิปรายตามรายละเอียดใน

แปร (ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ชดุ กจิ กรรม

ตัวแปรควบคมุ ) - อภปิ รายสรุปเกีย่ วกบั ทักษะกระบวน

- ชุดกิจกรรมฯร่วมกันคิด 2 เร่ืองทักษะ การทางวทิ ยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะ

ช่วยให้การสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์

เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ว 4.1 ม.1/4 - รายงาน กิจกรรม น้ำสีเคล่ือนท่ี -อภิปราย เรอ่ื ง การพัฒนาทกั ษะกระ

อยา่ งไร บวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น

นกั เรยี นคิดว่าควรทำอย่างไร

ว 4.2 ม.1/3 - ประดิษฐ์จรวดกระดาษของใครบินได้ -สืบค้นและอภิปรายว่าจรวดกระดาษ

นานทส่ี ุด ลักษณะแบบใดที่น่าจะร่อนอยู่ในอากาศ

ให้นานทีส่ ดุ

ว 4.2 ม.1/4 - รายงานกิจกรรม จรวดกระดาษของ - แข่งขนั การรอ่ นจรวด

ใครบนิ ไดน้ านท่ีสุด - จัดแสดงผลงานจรวดรวมท้ังเวลาเฉลี่ย

ทจี่ รวดแต่ละชิ้นใช้ในเวลาเคลื่อนที่

11. การวัดประเมินผล 3.การวดั ประเมินการปฏิบตั ิ
11.1การวดั และประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด 4
วธิ ีการ
1.การสังเกตการณ์
2.การใช้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งชี้
เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ า่ น

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรูข้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ี)

ส่งิ ท่ีต้องการวดั วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
1. ความรู้เกยี่ วกับ - นักเรียนได้คะแนน
-การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขน้ึ ไป
- ความสำคัญและความหมาย ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80
ยกตัวอยา่ งการใช้ คิดเหน็ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
ของวิทยาศาสตร์ ประโยชน์จาก - แบบประเมินการ - นักเรยี นได้คะแนน
- กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในชวี ิต ตรวจผลงานผูเ้ รยี น ประเมนิ ผลงาน
วิทยาศาสตร์ ประจำวัน 13 คะแนนขน้ึ ไป
- ทักษะกระบวนการทาง -การตรวจผลงาน หรอื รอ้ ยละ 80
วิทยาศาสตร์ นกั เรียน ถือว่าผ่านเกณฑ์
-นักเรียนได้คะแนน
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนข้ึนไป
หรือรอ้ ยละ 80 ถอื ว่า
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ ผ่านเกณฑ์

ทักษะกระบวน คิดเห็น - นักเรยี นได้คะแนน
ประเมนิ คุณลกั ษณะ
การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน อนั พงึ ประสงค์
26 คะแนนขึน้ ไป
ไดป้ ฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ หรอื ร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - นักเรียนได้คะแนน
การประเมินสมรรถนะ
ทำงานกลุม่ 29 คะแนนข้ึนไป
หรอื รอ้ ยละ 80
3. คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ คุณลักษณะอนั พงึ

- มีวินัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมิน

ของการทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกีย่ วกบั ผลการ

- ยอมรบั ความคิดเห็นซึ่งกนั ทดลอง

และกนั มีความเสียสละและ

อดทน

5

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชัว่ โมงที่ 1-2 (สัปดาห์ท่ี 1)
1. ข้ันตั้งประเด็นปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 นำเขา้ ส่หู นว่ ยท่ี 1 เรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรอ์ ย่างไร โดยใหน้ ักเรยี นศึกษาภาพนำหน่วยในหนงั สือเรียน

หรือนำข้อมูลเกย่ี วกับความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตรใ์ หน้ ักเรียนศึกษา พรอ้ มใหน้ กั เรยี นรว่ มกับยกตัวอย่าง
ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่นักเรยี นรูจ้ ัก

1.2 ครใู ชค้ ำถามนำหน่วยกระต้นุ ความสนใจของนกั เรยี นว่าวิทยาศาสตรค์ ืออะไร เราสามารถเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ได้อยา่ งไร โดยให้นักเรียนแสดงความคดิ เห็นต่อคำถามดงั กลา่ วเพ่ือสร้างความสนใจและมีส่วนรว่ ม
ต่อสง่ิ ทน่ี ักเรยี นกำลังจะได้เรียนรู้ ครไู มเ่ ฉลยคำตอบโดยชแ้ี จงว่านักเรยี นจะไดเ้ รยี นรู้จากหนว่ ยการเรยี น
ท่ี 1 เรียนร้วู ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งไร

1.3 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันคน้ ควา้ เกย่ี วกบั ความเช่ือของคนสมัยก่อนในเร่ืองสรุ ิยปุ ราคาหรือ ราหอู มดวง
อาทิตย์ และใหน้ ักเรียนตอบคำถามระหว่างเรยี น

1.4 ครูนำสนทนา ซักถาม เกี่ยวกบั การทน่ี ักเรยี นได้ค้นคว้าเกี่ยวกบั การเกิดสุรยิ ปุ ราคามาแลว้ ให้
นักเรยี นลองเขยี นแผนภาพการเกดิ สุริยปุ ราคาโดยแสดงตำแหนง่ ของ ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์และโลกดงั นี้

1.5 ครตู ั้งประเด็นคำถามเพือ่ กระตุ้นความสนใจให้นักเรียนคดิ ว่าวทิ ยาศาสตร์คืออะไร นักเรียนสามารถ
แสดงความคดิ เห็นไดโ้ ดยอิสระ

1.6 นักเรียนอา่ นเนื้อหาในหนังสือเรยี น/ชุดกจิ กรรมเกี่ยวกบั ความสำคัญและความหมายของ
วทิ ยาศาสตร์ และตอบคำถามระหวา่ งเรยี น

- ยกตวั อย่างส่งิ ทเ่ี ปน็ วทิ ยาศาสตร์มา 2 ตัวอยา่ ง
แนวคำตอบ ตอบได้หลากหลายคำตอบ เช่น การมองเหน็ ส่งิ ตา่ ง ๆ (เรามองเห็นได้เพราะแสงจาก
วตั ถสุ ะท้อนเข้าตาเรา) รถยนต์เคลือ่ นที่ได้เพราะอาศยั เครื่องยนต์ และน้ำมนั ในการขบั เคล่ือน การรับประทาน
อาหาร (มนุษย์ต้องการสารอาหารเพื่อการดำรงชีวติ เราจงึ ต้องรับประทานอาหาร)
- ยกตวั อยา่ งการใชป้ ระโยชนจ์ ากวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั มา 2 ตวั อยา่ ง
แนวคำตอบ ตอบได้หลากหลายคำตอบเช่น การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะกบั เพศและวัย
และได้รบั สารอาหารครบถ้วน อาศยั ความรู้ทางด้านสารอาหารท่จี ำเปน็ การใช้โทรศัพทเ์ พอ่ื การสือ่ สารอาศัย
เทคโนโลยีทางการสือ่ สารช่วย

1.7 นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายคำตอบของคำถามระหวา่ งเรียน เพอื่ ให้นกั เรยี นเขา้ ใจความหมายของ
วิทยาศาสตรแ์ ละความสำคญั ของวิทยาศาสตร์

6

เพ่ือให้ได้ข้อสรปุ ว่า วิทยาศาสตร์เปน็ ความรเู้ กี่ยวกบั ธรรมชาติซ่งึ สามารถอธิบายไดด้ ้วยหลกั ฐานและ
ความเป็นเหตเุ ป็นผลทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรม์ ิใช่ความรูเ้ กี่ยวกับความจรงิ ของธรรมชาติเพียงอย่างเดียว
แตย่ ังครอบคลมุ ไปถึงการเรยี นรู้และทำความเข้าใจความรู้นั้นอยา่ งเป็นระบบและเปน็ เหตเุ ป็นผล วิทยาศาสตร์
มปี ระโยชน์และเก่ียวขอ้ งกับการดำรงชวี ิตของมนุษย์

1.8 ครูถามคำถามเพื่อสรา้ งความสนใจวา่ การสรา้ งความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ทำได้อย่างไร หรอื นัก
วิทยาศาสตร์ทำงานอยา่ งไร

ชั่วโมงท่ี 3 (สัปดาห์ท่ี 1)
2. ขน้ั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้

• กจิ กรรมนเ้ี กยี่ วกบั เรอ่ื งอะไร (กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์)
• การทำกิจกรรมมขี ัน้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านข้อมลู การทำงานของนักวิทยาศาสตร์ และวาด
แผนผงั กระบวนการทำงานของนกั วทิ ยาศาสตร์)
2.2 ให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรมจากน้นั ให้ตวั แทน 3-4 คนนำเสนอแผนผังกระบวนการทำงาน
ของนักวิทยาศาสตร์
2.3 ให้นักเรียนอา่ นเนอื้ หาในหนงั สอื เรยี นเกยี่ วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากน้ันตอบคำถาม
ระหวา่ งเรยี น
2.4 นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายสรุปเกีย่ วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปวา่ กระบวน
การท่ีใช้เพ่ือให้ไดม้ าซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรยี กวา่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสงั เกตและระบุ
ปัญหา การตัง้ สมมตฐิ านการวางแผน การสำรวจ หรอื การทดลอง รวมทัง้ การเก็บขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมลู
และสร้างคำอธบิ าย การสรปุ ผลและการสือ่ สาร โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตรส์ ามารถเพมิ่ เติม ลดทอน
สลับลำดับได้ ตามความเหมาะสม
ช่วั โมงที่ 4-5 (สปั ดาห์ท่ี 2)
3. ขน้ั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นำเขา้ สู่การเรียนร้ใู นหวั ข้อต่อไปนีว้ ่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์จำเป็นต้องอาศัยทักษะกระ
บวนการทางวิทยาศาสตรเ์ พื่อชว่ ยใหก้ ารทำงานเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
3.2 นกั เรยี นระดมสมองทำกจิ กรรมการเคลื่อนทข่ี องน้ำสี และวิเคราะห์การใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์)
3.3 นกั เรียนร่วมกันทำกจิ กรรมมีข้ันตอนโดยสรปุ ดังน้ี (สังเกตการเคล่อื นท่ีของนำ้ สีเม่ือนำแกว้ น้ำร้อน
ประกบลงบนแกว้ นำ้ เย็น
จากนนั้ พยากรณ์วา่ เมื่อนำแก้วนำ้ เยน็ ประกบลงบนแกว้ น้ำร้อนจะเกดิ อะไรขึ้น จากนั้นนำแก้วนำ้ เยน็ ประกบลง
บนแก้วนำ้ รอ้ น)
ช่วั โมงที่ 6-7 (สปั ดาห์ท่ี 6-7)
4. ขนั้ การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทำกิจกรรมจรวดกระดาษของใครบนิ ได้นานท่สี ุด ตามรูปแบบ วธิ ีการและขน้ั ตอน
ท่กี ำหนดในชุดกิจกรรม
4.2 นกั เรยี นตรวจสอบความเรยี บร้อยของจรวดกระดาษและนำเสนอผลงาน แข่งขันการร่อนจรวด โดย
ร่วมกันตกลงกตกิ าการแข่งขนั และวธิ ีการสังเกตว่าจรวดใดอย่ใู นอากาศไดน้ านท่ีสดุ จากนัน้ แข่งขนั ร่อนจรวด

7

3 ครั้ง บันทึกเวลาที่จรวดอยใู่ นอากาศทง้ั 3 ครง้ั และหาคา่ เฉลย่ี ข้อตกลงรว่ มกนั ในการสังเกตวา่ จรวดใดอย่ใู น

อากาศไดน้ านที่สดุ

4.3 ร่วมกนั อภปิ รายและลงข้อสรปุ เกี่ยวกับลกั ษณะร่วมกันของจรวดกระดาษทีส่ ามารถรอ่ นอยใู่ น

อากาศไดน้ านทสี่ ดุ

- จรวดรูปรา่ งค่อนข้างแบนจะร่อนอยู่ในอากาศในนานกวา่ จรวดรูปร่างอน่ื ๆ

5. ข้ันการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

นักเรยี นรว่ มกันเม่ือศึกษาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นหนังสือเรียนแล้ว จากกิจกรรม

นักเรยี นได้ฝึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรใ์ ดบ้างในขน้ั ตอนใด

- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไดแ้ ก่ การสงั เกต การวดั การจำแนก ประเภท การหา

ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมติ ิกับมิติและมิติกบั เวลาการคำนวณ การจดั กระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มูล การลง

ความเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การต้ังสมมตฐิ าน การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ัติการ การกำหนดและ

ควบคมุ ตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายของขอ้ มูลและลงข้อสรุปและการสรา้ งแบบจำลอง

13. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สือ่ การเรยี นรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์เร่ืองเรยี นรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งไร

2) หนังสอื แบบเรยี น 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ................................................................................. .....

- ความหมายและความสำคัญของ ......................................................................................
วทิ ยาศาสตร์ ......................................................................................
- กระบวนการทำงานของนกั วทิ ยาศาสตร์ ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ................................................................................
- ตระหนกั ถงึ คุณค่าของความรทู้ าง ......................................................................................
วิทยาศาสตรใ์ นการดำรงชวี ิตทำความเข้าใจ ......................................................................................
กระบวนการและทักษะทใี่ ช้ในการสร้างองค์ .....................................................................................

ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

8

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
.......................................................................
......................................................................................
5. วิธแี ก้ปญั หา ......................................................................................
.......................................................................
.......................................................................

ลงช่อื ........................................ครผู ้สู อน ลงช่อื ...........................................หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์..) (นายสรุ จกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..............................................) (..นายศิวาวุฒิ รตั นะ..)

หวั หนา้ งานนิเทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2

หน่วยการเรยี นรู้ที่…………...2..............เรือ่ ง................................สมบัตขิ องสารบรสิ ุทธ์ิ………….........................
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศกึ ษาปที .่ี ...1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรยี นท.ี่ .1...เวลา...9...ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั
รายวิชาเพมิ่ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบัติ

ของสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลย่ี นแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี

ตวั ช้วี ัด
ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทยี บจุดเดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม โดยการวัด
อณุ หภูมิ เขียนกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรียบเทยี บความหนาแน่นของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสม

9

ว 2.1 ม.1/6 ใช้เคร่ืองมือเพื่อวดั มวลและปรมิ าตรของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ดั ทใ่ี ช้ในหนว่ ยการเรียนรู้นีเ้ ขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนิดขน้ึ ไป สาร
บริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการท่ีเป็นค่าเฉพาะตัว มีค่าคงท่ี เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความ
หนาแน่น แต่สารผสมมีจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นไม่คงท่ี ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนของสาร
ทีผ่ สมอยู่ดว้ ยกนั
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พ่ิมเติม (รายวชิ าเพิ่มเติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• สารบรสิ ทุ ธป์ิ ระกอบดว้ ยสารเพยี งชนิดเดียวสว่ นสารผสมประกอบดว้ ยสารตัง้ แต่ 2 ชนิดข้ึนไป สาร

บรสิ ุทธแิ์ ต่ละชนดิ มีสมบตั บิ างประการที่เป็นค่าเฉพาะตวั เชน่ จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แตส่ ารผสมมจี ุด
เดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งที่ ขน้ึ อยู่กบั ชนิดและสดั สว่ นของสารท่ผี สมอยดู่ ว้ ยกนั

• สารบรสิ ุทธแิ์ ต่ละชนดิ มีความหนาแนน่ หรือมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่ เปน็ คา่ เฉพาะของสาร
นนั้ ณ สถานะและอุณหภูมหิ นึง่ แตส่ ารผสมมคี วามหนาแน่นไม่คงท่ีขน้ึ อย่กู ับชนิดและสัดส่วนของสารทีผ่ สมอยู่
ด้วยกนั

3.2 สาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลักสตู รท้องถ่นิ ใหใ้ สล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายและเปรียบเทยี บ จุดเดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิ และสารผสม

2. คำนวณ อธบิ ายและเปรียบเทียบ ความหนาแนน่ ของสารบรสิ ทุ ธ์ิ และสารผสม

3. ใชเ้ คร่อื งมือเพ่ือวดั มวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

4. เห็นคณุ ค่าของการนำความรทู้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้เพ่ืออำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวัน

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้นี)้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซื่อสัตย์สุจริต

 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง  6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

10

 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทักษะด้านความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เท่าทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรียนเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและส่ิงทเี่ รยี นรู้

3. หลักภมู ิคมุ้ กัน : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาได้ดที ่ีสดุ , มวี นิ ัยในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/4 - รายงานกิจกรรม จุดเดือดของสาร - อภิปรายคำตอบเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าอุณหภูมิ

บริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร ขณะเดอื ดของน้ำกล่ันและสารละลายโซเดยี มคลอ

- รายงานกิจกรรม จุดหลอมเหลว ไรด์เปน็ อยา่ งไร

ของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็น - อภิปรายเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว

อยา่ งไร และจุดหลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสม

- อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับประโยชน์จากการนำ

ความรู้เร่ืองจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั

ว 2.1 ม.1/5 - รายงานกิจกรรม ความหนาแน่น - แบบฝึกหดั คำนวณความหนาแนน่

ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็น - แบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน

อยา่ งไร

- ผังมโนทัศน์ การสรุปองค์ความรู้ใน

บทเรียนสมบตั ขิ องสารบริสทุ ธ์ิ

11. การวดั ประเมินผล

11

11.1การวดั และประเมินผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผา่ น 1

รายการถือวา่ ไมผ่ า่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

สิ่งท่ีต้องการวัด วธิ วี ดั ผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู ก่ียวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

- สมบตั ิบางประการของ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

บริสุทธ์แิ ละสารผสม ยกตัวอยา่ งการนำ คดิ เห็น หรือร้อยละ 80

- กระบวนการทาง ความรู้เรอ่ื งจดุ เดอื ด ถือว่าผ่านเกณฑ์

วิทยาศาสตร์ และจุดหลอมเหลวมา - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- ทักษะกระบวนการทาง ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตรวจผลงานผ้เู รยี น ประเมนิ ผลงาน

วทิ ยาศาสตร์ -การตรวจผลงาน 13 คะแนนขนึ้ ไป

นักเรียน หรือร้อยละ 80

ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นได้คะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ ระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื ว่า

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏิบตั จิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประเมินคุณลกั ษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุ่ม 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนและ อภปิ ราย แสดงความ หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เก่ยี วกบั ผลการ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซง่ึ กัน ทดลอง - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน

และกันมีความเสียสละและ สมรรถนะผ้เู รยี น การประเมนิ สมรรถนะ

12

อดทน 29 คะแนนขึ้นไป
หรือรอ้ ยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงที่ 1-2 (สปั ดาหท์ ี่ 4)
1. ขน้ั ตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ช้คำถามเชือ่ มโยงเขา้ สสู่ มบตั ขิ องสารบริสุทธิ์ว่า นักเรยี นมีความรู้เก่ยี วกับสารบริสทุ ธห์ิ รอื ไม่ สาร

บรสิ ทุ ธแ์ิ ตกตา่ งจากสารผสมอย่างไร และสารบรสิ ุทธิ์มสี มบัตอิ ยา่ งไร
1.2 ครใู หน้ กั เรยี นดูภาพในหนังสือเรียน หรือสือ่ อื่น ๆ ที่เก่ยี วกบั ทองคำแทง่ และทองรปู พรรณ โดยครูใช้

คำถามใหน้ กั เรียนอภิปรายว่า ทองคำแทง่ และทองรปู พรรณเหมอื นหรือต่างกนั อย่างไร จากนนั้ ใหน้ กั เรียน
ตรวจสอบคำตอบของตนเอง โดยอา่ นเน้ือหานำบทและนำอภปิ รายโดยอาจใชค้ ำถามต่อไปน้ี

- เพราะเหตใุ ด ทองคำแทง่ จงึ เปน็ สารบริสทุ ธ์แิ ละทองรปู พรรณจึงเป็นสารผสม (ทองคำแทง่ เปน็ สาร
บรสิ ุทธ์ิ เนอื่ งจากเปน็ ทองคำ 100% ไม่มสี ่วนผสมของโลหะชนิดอน่ื ๆ แต่ทองรูปพรรณมีโลหะชนิดอืน่ ผสมอยู่
เช่น เงิน ทองแดง)

- ทองคำแทง่ และทองรูปพรรณมสี มบตั ิต่างกนั อยา่ งไร (ทองคำแท่ง มีความเหนยี วสามารถยืดขยาย
ตีหรือรีดแผไ่ ปไดท้ ุกทิศทางมีความอ่อนตัวมากกวา่ โลหะชนดิ อื่น ๆ ทำให้ไมส่ ามารถประดิษฐ์เป็นรูปทรงต่าง ๆ
ตามทต่ี ้องการได้ สว่ นทองรปู พรรณมสี ว่ นผสมของโลหะอืน่ ทำใหม้ ีสมบตั ิแข็งและคงรปู ดีข้ึนสามารถประดษิ ฐ์
เป็นเครอ่ื งประดบั ได้ง่ายข้ึน)

1.3 ครทู บทวนความรู้เก่ียวกับองคป์ ระกอบของสารผสมและสารบรสิ ทุ ธิ์ โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้
- สารผสมและสารบรสิ ทุ ธม์ิ ีองคป์ ระกอบแตกต่างกันอย่างไร (สารผสมเปน็ สารที่มีองคป์ ระกอบ

ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไป เช่น ทองรปู พรรณ เป็นสารผสมระหว่างทองคำและโลหะอ่ืน น้ำเกลือ เป็นสารผสม
ระหว่างนำ้ และเกลือ ส่วนสารบริสทุ ธิ์เป็นสารท่มี ีองคป์ ระกอบเพียงชนิดเดียว เชน่ ทองคำแทง่ นำ้ กลน่ั
กลูโคส)

1.4 ครูนำเข้าสู่กิจกรรมท่ี 2.1 จุดเดอื ดของสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสมเปน็ อย่างไร โดยชแ้ี จงว่านกั เรียนจะ
ได้เรยี นสมบตั เิ กยี่ วกับจุดเดือดของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม ต่อไป

ช่ัวโมงท่ี 3-5 (สัปดาห์ที่ 4-5)
2. ข้นั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นักเรยี นอา่ นวิธีการดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียนครูอธบิ ายเพม่ิ เติมในประเด็นทีน่ ักเรียนยัง
ตอบไมค่ รบถว้ น
2.2 นกั เรยี นทำกจิ กรรมตามแผนทว่ี างไว้ ครูสงั เกตวธิ ีการจัดอุปกรณ์ การวดั อณุ หภูมิ และการบันทกึ ผล
การสงั เกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่อื ใหค้ ำแนะนำหากเกดิ ข้อผดิ พลาดในขณะทำกิจกรรม รวมทัง้ นำข้อมูลทีค่ วร
จะปรับปรงุ และแก้ไขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลังทำกิจกรรม
2.3 นักเรียนนำขอ้ มูลเก่ียวกับการเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิของน้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์มา
เขยี นกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอุณหภมู ิกับเวลา ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น เขียนลงในกระดาษกราฟ
2.4 นักเรยี นอา่ นเนือ้ หาในหนังสือ รว่ มกนั อภิปรายเพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ เกย่ี วกับจดุ เดือดของสารบรสิ ุทธ์ิและ
สารผสม ตามประเดน็ ดังน้ี

• สารบริสุทธ์ิและสารผสมท่ีใช้ในกจิ กรรมนค้ี อื สารใด (นำ้ กลนั่ และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์)

13

• จดุ เดือดของนำ้ กลั่นและสารละลายโซเดยี มคลอไรด์แตกตา่ งกนั เพราะเหตใุ ด
• สารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสมจะมจี ุดเดอื ดเช่นเดียวกบั นำ้ กลนั่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์หรอื ไม่
ครูเชื่อมโยงความรู้เก่ียวกับจุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารผสมเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าสารบริสุทธิ์มีจุด
เดือดคงท่ีและสารผสมมีจุดเดือดไม่คงท่ี เช่น น้ำกลั่นเป็นสารบริสุทธิ์ มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จุดเดือด
คงที่ สารบริสุทธิ์อ่ืน ๆ ก็มีจุดเดือดคงที่เช่นเดียวกับน้ำกล่ัน เช่น ปรอทมีจุดเดือด 356.7 °C กลีเซอรอลมีจุด
เดือด 290 °C ส่วนสารละลายโซเดียมคลอไรด์เป็นสารผสม ประกอบด้วยน้ำกล่ันกับโซเดียมคลอไรด์ มี
องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ขณะเดือดอัตราส่วนผสมระหว่างน้ำกลั่นกับโซเดียมคลอไรด์จะเปล่ียนแปลงไป
ไม่คงท่ี จดุ เดอื ดจงึ ไม่คงท่ี สารผสมอ่ืน ๆ กม็ จี ดุ เดือดไมค่ งทเ่ี ช่นกนั เชน่ นำ้ เช่ือม สารละลายเอทานอล
2.5 ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเก่ียวกับสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่ ในขณะท่ีสารผสมมีจุดเดือดไม่คงท่ี
ครูอาจใช้คำถามนำต่อไปว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและสารผสมจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด เพื่อ
เชื่อมโยงเขา้ สู่กิจกรรมที่ 2.2 จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธแิ์ ละสารผสมเป็นอยา่ งไร
2.6 ครูให้นักเรียนชมวีดิทัศน์หรือชมการสาธิตของครู และอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การหาจุด
หลอมเหลวของของแข็งทำโดยบดของแข็งให้ละเอียด บรรจุในหลอดแคปปิลลารีปริมาณเล็กน้อยผูกกับ
เทอร์โมมิเตอร์แล้วให้ความร้อนผ่านน้ำ เมื่อหาจุดหลอมเหลวของแนฟทาลีนและสารผสมของกรดเบนโซอิก
ในแนฟทาลนี ท่ีมอี ัตราส่วนผสมตา่ ง ๆ จะไดผ้ ลตามทแ่ี สดงในหนงั สอื เรยี น
2.7 นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากน้ันครู
และนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบร่วมกันเพ่ือให้นักเรยี นสรุปได้วา่ จุดหลอมเหลวของแนฟทาลนี ทงั้ 3 ครง้ั มี
ค่าใกล้เคียงกัน แนฟทาลีนซ่ึงเป็นสารบริสุทธ์ิไม่ได้หลอมเหลวจนหมดท่ีอุณหภูมิเดียวกัน และมีช่วงอุณหภูมิที่
หลอมเหลวค่อนข้างแคบ ส่วนกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนมีช่วงอุณหภูมิท่ีหลอมเหลวค่อนข้างกว้าง และจุด
หลอมเหลวไมค่ งที่ขึน้ อยกู่ ับอัตราส่วนของสารผสมนน้ั ๆ
ชัว่ โมงที่ 6-8 (สัปดาห์ท่ี 5-6)
3. ขนั้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายสรุปเก่ียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ว่า กระบวน
การท่ีใช้เพ่ือให้ไดม้ าซง่ึ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรยี กว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกตและระบุ
ปัญหา การต้ังสมมติฐานการวางแผน การสำรวจ หรือการทดลอง รวมทั้งการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
และสร้างคำอธิบาย การสรุปผลและการสอื่ สาร

3.2 นักเรยี นอภิปรายร่วมกัน โดยใหพ้ ิจารณาตาราง 2.1 จดุ เดือดของนำ้ ทค่ี วามดนั ต่าง ๆ ซึ่งจะเหน็ ไดว้ ่า
จุดเดือดของสารขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ โดยความดันบรรยากาศ คือ น้ำหนักของอากาศท่ีกดลงบนพื้น
โลกในแนวตั้งฉากต่อหน่งึ หน่วยพ้ืนท่ี

3.3 นกั เรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับประโยชนจ์ ากการนำความรู้เรอ่ื งจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใชใ้ น
ชีวติ ประจำวนั ครถู ามคำถามเพ่ิมเตมิ ว่า จุดเดอื ดและจดุ หลอมเหลวเป็นสมบัตซิ งึ่ สามารถใช้จำแนกสารบรสิ ุทธิ์
และสารผสมแลว้ สารทั้งสองประเภทน้ียังมีสมบัติอ่นื อีกหรือไม่ทีส่ ามารถนำมาจำแนกสารบริสุทธิแ์ ละสารผสม
นักเรียนจะได้ศึกษาในรายละเอียดเรือ่ งถดั ไป

3.4 กระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับเรอื่ งความหนาแน่นของสารโดยให้ดูวีดทิ ัศน์เกี่ยวกับการนำของเหลวชนิด
ตา่ ง ๆทไ่ี ม่ผสมเปน็ เน้อื เดียวกนั แลว้ มาเทรวมกัน

3.5 นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายโดยใชค้ ำถาม ดังนี้

14

• นักเรียนคิดว่าความหนาแน่นคืออะไร (นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของนักเรียนเอง
โดยครูยังไม่ต้องเฉลยวา่ ความหนาแนน่ คืออะไร)

• ความหนาแนน่ มีความเก่ยี วข้องกับเรอื ดำน้ำอยา่ งไร(การทเี่ รอื ดำน้ำสามารถดำลงสู่ทะเลลกึ ได้นนั้
ต้องทำให้เรือดำน้ำทั้งลำมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ และหากต้องการให้เรือลอยขึ้นสู่ผิวน้ำต้องทำให้เรือมี
ความหนาแน่นน้อยกว่านำ้ )

• ความหนาแนน่ ของวตั ถหุ าไดอ้ ย่างไร (นักเรียนสามารถตอบไดต้ ามความเข้าใจของนักเรียนเอง
โดยครยู งั ไมต่ อ้ งเฉลยวา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถหุ าได้อยา่ งไร)

3.6 นักเรียนอ่านทำความเข้าใจเก่ียวกับเร่ือง ทะเลสาปเดดซี (Dead Sea) และร่วมกันอภิปรายถึง
ความหมายของความหนาแน่นหน่วยความหนาแน่น วิธีการคำนวณความหนาแน่นของสาร จากเรื่องดังกล่าว
ครใู หน้ ักเรยี นอภปิ รายตวั อย่างโจทย์เกีย่ วกับการคำนวณความหนาแนน่ ของสารและตอบคำถามชวนคดิ

3.7 ครูอธิบายว่าในกิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ทดลองชั่งมวล และหาปริมาตรของวัตถุ เพ่ือนำมา
คำนวณหาความหนาแนน่ ของสาร และทบทวนวิธีการใช้เครอื่ งชัง่ มวล

3.8 นักเรียนอ่านเกร็ดน่ารู้เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการหาปริมาตรของสารโดยใช้ถ้วยยูรีกา ครูสุ่ม
ให้ตวั แทนนักเรียนแตล่ ะกลมุ่ อธิบายถึงวธิ กี ารใช้ถ้วยยูรีกา เพอ่ื ประเมนิ ความเขา้ ใจการใช้ถว้ ยยูรีกา

3.9 ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการทดลองกิจกรรมท่ี 2.3 ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์
เป็นอย่างไร และคำนวณความหนาแน่นของสารแตล่ ะชนิดตามที่หนังสือเรียนกำหนด รวมทั้งออกแบบตาราง
บนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมและวธิ ีการคำนวณ

3.10 นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ และสังเกตความถูกต้องในการใช้เครื่องมือ ได้แก่ การใช้
เคร่ืองช่ัง ถว้ ยยูรีกาและกระบอกตวง พรอ้ มท้งั ให้คำแนะนำเพ่ิมเตมิ เม่ือพบวา่ นกั เรียนปฏบิ ตั ิไม่ถูกต้อง

3.11 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยนำผลการทำกิจกรรมมาเขียนในตารางบันทึก
ผลการทำกิจกรรมท่ีติดหนา้ ห้องเรียนเพือ่ เปรียบเทียบข้อมลู ของแต่ละกลุ่ม

3.12 นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกิจกรรมตอนที่ 1
เพ่อื ให้นักเรียนสรุปได้ว่า คา่ ความหนาแนน่ เฉลี่ยของเหล็กก้อนที่ 1 และ 2 ทีม่ ีขนาดแตกต่างกัน ของทกุ กลุ่มมี
คา่ เท่ากันหรือใกล้เคียงกันส่วนค่าความหนาแน่นเฉลยี่ ของทองแดงก้อนท่ี 1 และ 2 ท่ีมีขนาดแตกต่างกัน ของ
ทุกกลุ่มก็มีค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกันเช่นกัน เนื่องจากก้อนเหล็กและก้อนทองแดงเป็นสารบริสุทธ์ิที่มีความ
หนาแนน่ เป็นคา่ เฉพาะตัวของสารนน้ั ณ สถานะอุณหภมู ิ และความดนั หนึ่ง

ช่วั โมงที่ 9 (สปั ดาห์ท่ี 6)
4. ขั้นการส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครเู ช่อื มโยงความรู้ของนกั เรียนท่ีได้จากการอภปิ รายกจิ กรรมท้ัง 3 กจิ กรรม
4.2 นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปวา่ โดยส่วนใหญ่แล้วสารชนิดเดยี วกัน เมอื่ มีสถานะต่างกัน
ท่ีอุณหภูมิและความดันเดียวกัน ของแข็งจะมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวและแก๊ส เนื่องจากสารใน
สถานะของแข็งอนุภาคจะเรยี งชิดติดกันมากกว่าของเหลวและแก๊ส แตใ่ นบางกรณีน้ำแข็งกับน้ำ พบว่า น้ำแข็ง
ซ่ึงเป็นของแข็งจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำซ่ึงเป็นของเหลวสารต่างชนิดกัน สารในสถานะของแข็งไม่
จำเปน็ ตอ้ งมากกว่าของเหลว แต่อย่างไรก็ตามสารในสถานะของแข็งและของเหลวจะมีความหนาแนน่ มากกว่า
แก๊ส
5. ขั้นการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรยี นร่วมกนั เขียนผังมโนทศั น์ การสรุปองค์ความรู้ในบทเรียนสมบัติของสารบรสิ ุทธิ์
5.2 วิเคราะห์และอธบิ ายแผนผงั การจำแนกประเภทพลาสติกโดยใชส้ มบตั ิเก่ียวกบั จดุ เดือดจดุ หลอม

15

เหลว ความหนาแน่น และสมบตั อิ น่ื ๆ เปน็ เกณฑ์

13. ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1สอื่ การเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- บอกความแตกตา่ งของสารบรสิ ุทธิ์และสาร ......................................................................................
......................................................................................
ผสม ได้
......................................................................................
- อธบิ ายและเปรียบเทียบ จดุ เดอื ด จดุ
................................................................................
หลอมเหลวของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสม ......................................................................................
- คำนวณ อธิบายและเปรยี บเทียบ ความหนา ......................................................................................
แนน่ ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม .....................................................................................

- การใชเ้ ครอื่ งมือเพ่ือวดั มวลและปรมิ าตร

ของสารบรสิ ุทธแิ์ ละสารผสม ......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ...............................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย
......................................................................................
4. ปัญหาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วิธีแกป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

16

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...........................................หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น์..) (นายสุรจกั ริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(..............................................) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนิเทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่…………...2..............เรอ่ื ง.............การจำแนกและองค์ประกอบของสารบรสิ ุทธ์ิ..............
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรียนท.่ี .1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั ว2.1ม.1/1,1/2,1/3,1/7 1/8,1/9,1/10
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัติ

ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

ตัวช้วี ัด
ว 2.1 ม.1/1 อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ โดยใช้
หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ท่ีไดจ้ ากการสงั เกตและการทดสอบ และใชส้ ารสนเทศที่ไดจ้ ากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ รวมทง้ั
จัดกลมุ่ ธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ
ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมนั ตรงั สี ทม่ี ีตอ่
สิ่งมีชีวติ สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้
ว 2.1 ม.1/3 ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตกุ ัมมนั ตรังสี โดยเสนอ
แนวทางการใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภยั คมุ้ ค่า
ว 2.1 ม.1/7 อธบิ ายเก่ยี วกบั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้
แบบจำลองและสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมทปี่ ระกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้
แบบจำลอง
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชีว้ ดั ทใ่ี ช้ในหน่วยการเรยี นรู้นีเ้ ขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

17

สารบริสุทธ์ิสามารถแบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียวและไม่
สามารถแยกสลายเป็นสารอ่ืนได้ด้วยวิธีทางเคมี ส่วนสารประกอบธาตุองค์ประกอบตงั้ แต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมตัว
กันทางเคมีในอัตราส่วนคงท่ีมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เป็นองค์ประกอบ สามารถแยกองค์ประกอบของ
สารประกอบออกจากกันได้ด้วยวิธีทางเคมีโดยธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กท่ีสุดเรียกว่าอะตอม
อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนซึ่งโปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม
เรยี กวา่ นวิ เคลียส ส่วนอิเล็กตรอนเคล่อื นทรี่ อบนิวเคลียส อะตอมของแตล่ ะธาตุแตกต่างกนั ทีจ่ ำนวนโปรตอน
ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติทางกายภาพของธาตุเพ่ือจำแนกธาตุเป็นโลหะ
อโลหะและก่ึงโลหะ ธาตุบางชนิดเป็นธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีใช้
ประโยชน์ไดแ้ ตกตา่ งกันการนำธาตมุ าใช้อาจมผี ลกระทบต่อสิง่ มชี ีวติ สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคม
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม (รายวชิ าเพิ่มเติม)
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• ธาตแุ ตล่ ะชนิดมสี มบัตเิ ฉพาะตัวและมีสมบัตทิ างกายภาพบางประการเหมอื นกนั และบางประการ

ต่างกัน ซง่ึ สามารถนำมาจดั กลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จดุ หลอมเหลวสูง มี
ผวิ มันวาว นำความรอ้ นนำไฟฟา้ ดงึ เป็นเสน้ หรือตเี ปน็ แผ่นบาง ๆ ได้ และมีความหนาแน่นทัง้ สูงและตำ่ ธาตุ
อโลหะมจี ุดเดือด จุดหลอมเหลวตำ่ มีผิวไม่มันวาวไม่นำความรอ้ น ไม่นำไฟฟ้า เปราะ แตกหกั งา่ ย และมีความ
หนาแน่นต่ำ ธาตุกง่ึ โลหะมสี มบัติบางประการเหมือนโลหะ และสมบตั บิ างประการเหมือนอโลหะ

• ธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ทสี่ ามารถแผ่รงั สีได้ จัดเป็นธาตุกัมมนั ตรังสี
• ธาตุมที ้งั ประโยชน์และโทษ การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตุกัมมนั ตรงั สี ควรคำนึงถึง
ผลกระทบต่อส่งิ มชี วี ติ สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม
• สารบริสุทธแ์ิ บ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ ธาตุประกอบดว้ ยอนภุ าคท่ีเล็กท่ีสุดท่ียงั แสดงสมบตั ิ
ของธาตนุ นั้ เรียกวา่ อะตอม ธาตุแตล่ ะชนิดประกอบด้วยอะตอมเพยี งชนิดเดียวและไม่สามารถแยกสลายเป็น
สารอ่ืนได้ดว้ ยวิธที างเคมี ธาตุเขยี นแทนดว้ ยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ ๒ ชนดิ
ขน้ึ ไปรวมตวั กันทางเคมีในอัตราส่วนคงที่ มีสมบัตแิ ตกตา่ งจากธาตุท่เี ป็นองคป์ ระกอบ สามารถแยกเปน็ ธาตไุ ด้
ด้วยวิธที างเคมี ธาตแุ ละสารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสตู รเคมี
• อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอน โปรตอนมีประจไุ ฟฟ้าบวก ธาตชุ นดิ เดยี ว
กนั มีจำนวนโปรตอนเทา่ กนั และเปน็ คา่ เฉพาะของธาตุน้นั นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟา้ ส่วนอิเล็กตรอนมีประจุ
ไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากบั จำนวนอเิ ลก็ ตรอนจะเปน็ กลางทางไฟฟา้ โปรตอนและนิวตรอน
รวมกนั ตรงกลางอะตอมเรยี กว่า นิวเคลียสส่วนอเิ ลก็ ตรอนเคล่ือนท่ีอยู่ในท่ีว่างรอบนิวเคลียส

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรท้องถนิ่ ให้ใสล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตแุ ละสารประกอบ
2. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมท่ีประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอน
3. อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ รวมทั้งจดั กลุ่มธาตเุ ปน็
โลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ
4. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ และธาตุกัมมันตรังสี

18

5. นำเสนอแนวทางการใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภยั คมุ้ คา่

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหน่วยการเรียนรูน้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอื่ สัตยส์ จุ ริต

 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุง่ มัน่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสง่ิ ท่เี รียนรู้

3. หลกั ภูมิค้มุ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยนั ทีจ่ ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ่ีสดุ , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

19

ตวั ชว้ี ดั ช้ินงาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/7, - รายงานกิจกรรม สารบริสทุ ธ์ิมี - อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างอะตอม ธาตุ

ม.1/8 องค์ประกอบอะไรบ้าง และสารประกอบ โดยใชแ้ ผนภาพหรือสารสนเทศ

- รายงานกจิ กรรม โครงสร้างอะตอม - อธิบายโครงสรา้ งอะตอมโดยใช้แบบจำลอง

เปน็ อย่างไร

ว 2.1 ม.1/1 - รายงานกจิ กรรม เราจำแนกธาตุได้ - อธิบายสมบตั ิทางกายภาพบางประการ

ม.1/2 ม.1/3 อยา่ งไร ของธาตุโลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ โดยใช้

หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ทไ่ี ดจ้ ากการ สงั เกต ทดสอบ

และใช้สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ

- จดั กลมุ่ ธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ

- วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ

อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตกุ มั มนั ตรังสี

- อภปิ รายนำเสนอแนวทางการใช้ธาตอุ ย่าง

ปลอดภยั

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครอ่ื งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นต้ังแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนร้ขู อง

หน่วยการเรียนรนู้ ี้)

ส่ิงท่ีต้องการวดั วธิ ีวดั ผล เคร่อื งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรู้เก่ียวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรียนไดค้ ะแนน 12

- ประเภทของสารบริสทุ ธ์ิ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนนขึ้นไป หรือรอ้ ยละ

- องค์ประกอบของสาร ยกตัวอย่างการนำ ความ 80 ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

บริสุทธ์ิ ความรเู้ รือ่ งการจำแนก คิดเหน็ - นักเรียนได้คะแนน

- โครงสร้างอะตอม ธาตุมาใช้ประโยชน์ใน ประเมนิ ผลงาน

- การจำแนกธาตุและการใช้ ชวี ิตประจำวัน - แบบประเมินการ 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อย

ประโยชน์ -การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผูเ้ รียน ละ 80 ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

นักเรยี น

20

2.ทกั ษะกระบวนการคิด - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นได้คะแนน 12

และทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ ระบุ อภปิ รายแสดง คะแนนขน้ึ ไป หรือร้อยละ

ทักษะกระบวนการทาง ความคิดเห็น 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์

วทิ ยาศาสตรท์ ี่ได้ - แบบประเมนิ

ปฏบิ ตั ิจากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกล่มุ

3. คณุ ลักษณะทพ่ี ึง - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

ประสงค์ ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนและ คุณลักษณะอนั พึง ประเมินคุณลักษณะ

และสมรรถนะผูเ้ รียน การทำงานในระบบ ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- มีวินัยในการทำงานกลุ่ม กลมุ่ 26 คะแนนข้ึนไป

- นักเรียนเห็นความสำคัญ อภปิ ราย แสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80

ของการทำงานรว่ มกับผูอ้ ืน่ คดิ เห็นเกีย่ วกับผลการ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

และการทำงานในระบบกลุ่ม ทดลอง - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- ยอมรบั ความคิดเห็นซง่ึ กนั สมรรถนะผเู้ รียน การประเมินสมรรถนะ

และกันมีความเสยี สละและ 29 คะแนนข้นึ ไป

อดทน หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 10 (สปั ดาหท์ ่ี 7)
1. ขนั้ ตง้ั ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ห้นักเรียนดภู าพเพชรกบั แกรไฟต์ ในหนังสือเรยี น อภปิ รายโดยอาจใช้คำถามต่อไปนี้
• เพชรกบั แกรไฟต์มีลกั ษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (เพชรและแกรไฟตเ์ ปน็ ของแข็ง

เหมือนกัน เพชรและแกรไฟต์มีลกั ษณะแตกต่างกนั คือ เพชรโปร่งใสและมีความแข็ง แต่แกรไฟต์
ทบึ แสงและเปราะ)

• อนภุ าคทีเ่ ล็กทสี่ ุดของเพชรและแกรไฟต์เหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (อนภุ าคทเ่ี ลก็ ที่สุดของ
เพชรและแกรไฟต์เหมือนกนั แตม่ กี ารจดั เรียงตวั ของอนุภาคแตกต่างกัน)

• สารบรสิ ทุ ธิอ์ ่ืน ๆ ยังมอี กี หรือไม่ และจะจำแนกสารบรสิ ทุ ธ์ิเหลา่ นั้นได้อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตาม
ความเข้าใจ เชน่ นำ้ ตาล นำ้ เกลือแกง)

1.2 ครใู หน้ ักเรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรยี น
1.3 ครทู บทวนความรเู้ กี่ยวกับสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม โดยนำตวั อยา่ งสารผสมจากกิจกรรมทบทวน
ความรู้ก่อนเรียน เชน่ พริกกบั เกลือ น้ำปลา นำ้ เกลือ ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาว่าจะแยกสารผสมออกจากกนั ได้
อยา่ งไร (การร่อน การระเหยแห้งการตกผลึก) และให้นกั เรียนพิจารณาวา่ สารบรสิ ทุ ธ์ เช่น เกลอื แกง น้ำ
น้ำตาล จะแยกต่อไปได้อีกหรือไม่ อย่างไร (สารบริสทุ ธแ์ิ ยกตอ่ ไปดว้ ยวิธีการท่ีใชก้ บั สารผสมไม่ได้)
1.4 ครนู ำเข้าสูก่ ิจกรรมท่ี 2.4 สารบรสิ ทุ ธิ์มีองค์ประกอบอะไรบา้ ง โดยร่วมกันอภิปรายในประเดน็
ดังต่อไปน้ี

21

• กิจกรรมน้ีเก่ยี วกบั เรือ่ งอะไร (การแยกองค์ประกอบของสารบริสุทธิ)์
• สารบริสุทธ์ิท่ใี ช้เป็นสารตวั อยา่ งในกจิ กรรมนี้คือสารใด (สารบรสิ ุทธ์คิ อื นำ้ )
• จุดประสงคข์ องกิจกรรมนเ้ี ป็นอย่างไร (จดุ ประสงค์เพ่ือแยกนำ้ ด้วยไฟฟ้า และอธิบายผลทไี่ ด้จาก
การแยกนำ้ ด้วยไฟฟา้ )
• กิจกรรมนม้ี วี ธิ กี ารดำเนินกจิ กรรมโดยสรปุ อย่างไร (เติมน้ำและเบคกงิ้ โซดาในเคร่อื งแยกนำ้ ด้วย
ไฟฟา้ ต่อวงจรเคร่ืองแยกนำ้ ด้วยไฟฟ้ากบั แบตเตอรี่ สงั เกตการเปล่ยี นแปลงทเี่ กดิ ขึ้น ทดสอบสารทเ่ี กดิ ข้ึนจาก
การแยกน้ำด้วยไฟฟา้ จากขัว้ บวกและข้ัวลบโดยใชธ้ ูปทล่ี ุกเป็นเปลว บันทึกผล ทำซ้ำการแยกน้ำดว้ ยไฟฟา้ และ
ทดสอบสารทเี่ กดิ ข้นึ จากขัว้ บวกและขั้วลบโดยใช้ธูปท่เี ป็นถ่านแดง บันทกึ ผล)
• ข้อควรระวงั ในการทำกจิ กรรมมีหรอื ไม่อยา่ งไร (1.ควรใช้ไฟแช็กด้วยความระมดั ระวัง อยา่ ให้เปลว
ไฟเขา้ ใกลส้ ่งิ ท่ีอาจเปน็ เชอ้ื เพลิง เชน่ เส้นผม เสือ้ ผ้า กระดาษ 2.ทดสอบสารท่เี ก็บไดใ้ นหลอดทั้งสองดว้ ยความ
ระมัดระวังเนอ่ื งจากสารเหล่าน้ันอาจทำใหเ้ กิดเสยี งหรือเกดิ เปลวไฟ)

ชัว่ โมงที่ 11-12 (สัปดาห์ที่ 7)
2. ขัน้ สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู หน้ กั เรียนอา่ นวิธกี ารดำเนินกจิ กรรมในหนงั สือเรียนครูอธิบายเพม่ิ เตมิ ในประเด็นท่ีนกั เรยี นยงั
ตอบไมค่ รบถว้ น
2.2 ครใู หน้ ักเรยี นวางแผนการทำงานรว่ มกัน พร้อมท้ังออกแบบตารางบันทึกผลใหเ้ รียบร้อยกอ่ นทำ
กิจกรรม และตรวจสอบการออกแบบตารางบันทึกผลของนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ โดยอาจให้บางกลุ่มนำเสนอ แล้ว
ครูให้คำแนะนำปรับแก้ตารางตามความเหมาะสม
2.3 ครูอาจมอบหมายให้นักเรยี นบนั ทกึ ผลการทดสอบแก๊สเป็นภาพเคลื่อนไหวโดยใชโ้ ทรศัพท์มือถือ
ประกอบกบั การบนั ทึกผลในตารางที่นักเรียนออกแบบ
2.4 นกั เรียนทำกิจกรรมตามวธิ ีการในหนังสอื เรยี น โดยครสู ังเกตการเปลี่ยนแปลงเม่ือใช้เครอื่ งแยกนำ้
ด้วยไฟฟา้ การเกบ็ สารจากหลอดแกว้ และการทดสอบสารเพอ่ื ให้คำแนะนำนักเรียน รวมทั้งนำข้อมูลมาใช้
ประกอบการอภปิ รายหลังกจิ กรรมเน้นให้นกั เรียนทำการทดสอบสารและสังเกตการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ข้ึนอย่าง
ละเอยี ด และวเิ คราะห์ชนิดของสารทเ่ี ก็บได้จากข้วั บวกและขั้วลบจากสมบตั ิของสาร
2.5 นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลจากการทำกิจกรรมและเพ่ือให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ สารบรสิ ุทธิ์เมือ่ ได้รับ
พลังงานอาจแยกสลายให้องค์ประกอบยอ่ ยมากกว่า 1 ชนดิ เช่น นำ้ มอี งคป์ ระกอบย่อย 2 ชนิดคือออกซิเจน
และไฮโดรเจนรวมตัวกนั สารบรสิ ุทธ์ิท่มี ีองค์ประกอบย่อยมากกว่า 1 ชนดิ เรียกว่า สารประกอบ
(compound) สว่ นสารบริสุทธิท์ ี่มีองคป์ ระกอบย่อยเพียงชนดิ เดียว เรียกว่า ธาตุ (element)
2.6 ร่วมกันอภปิ รายเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปเก่ียวกับองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธิ์ ตามประเด็น ดงั น้ี

• สารบรสิ ทุ ธท์ิ ่มี ีองค์ประกอบมากกวา่ 1 ชนดิ ในอัตราส่วนคงท่ี เป็น สารประกอบ
• สารบรสิ ทุ ธิ์ทมี่ ีองคป์ ระกอบเพยี ง 1 ชนดิ เป็น ธาตุ
• อะตอม เป็น องคป์ ระกอบของธาตุและสารประกอบ อะตอมคืออนุภาคทเี่ ล็กท่ีสดุ ของธาตุ
2.7 ครใู ห้นักเรียนสืบคน้ จากแหล่งขอ้ มูลท่ีเชอื่ ถือได้เกย่ี วกับชอ่ื ธาตอุ ืน่ ๆ และนำเสนอชื่อธาตุ และที่มา
ของช่ือธาตุ เช่น ท่ีมาจากชอื่ นักวิทยาศาสตร์ ประเทศ ลักษณะของธาตใุ นภาษาละติน และครูอาจเสนอแนะ
การอา่ นออกเสยี งชอ่ื ธาตุทน่ี ักเรยี นสนใจทมี่ าจากภาษาอังกฤษหรือละตนิ เช่น โครเมยี ม โพแทสเซียม
กำมะถนั (Sulphur ซลั -เฟอร์) ทองแดง (copperคอป-เปอร)์ โดยใช้แหลง่ เรยี นรู้ เชน่ ราชบัณฑิตยสถาน
http://www.royin.go.th/?page_id=637 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E

22

/134/2.PDF หรือพจนานุกรมตา่ ง ๆ
2.8 ครเู ชอ่ื มโยงไปสู่การเรียนเรือ่ งต่อไปว่า อะตอมของธาตุตา่ ง ๆ มีองคป์ ระกอบท่แี ยกย่อยลงไปอกี ซ่งึ

นักเรียนจะได้เรียนรู้จากแบบจำลองโครงสรา้ งอะตอมของธาตุต่าง ๆ
ชัว่ โมงท่ี 13-15 (สปั ดาห์ท่ี 8)
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับอะตอม โดยใช้คำถาม เช่น อะตอมคืออะไร สารชนิดใดบ้างที่ประกอบไป

ด้วยอะตอม แล้วอธิบายเพิ่มเติมว่าอะตอมมีองค์ประกอบแยกย่อยลงไปอีก นักวิทยาศาสตร์สร้างแบบจำลอง
อะตอมเพือ่ ใช้ในการอธิบายโครงสร้างภายในของอะตอม

3.2 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียน ดูวีดิทัศน์ที่แสดงโครงสร้างอะตอม แล้วร่วมกันอภิปราย
เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปเกีย่ วกับโครงสรา้ งอะตอม ตามประเด็น ดังน้ี

• อะตอมของธาตุแต่ละชนดิ ประกอบด้วยอนภุ าคอะไรบ้าง
• โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน มีจำนวน การเรียงตัวและประจุไฟฟ้า เหมือนหรือแตกต่างกัน
อยา่ งไร
3.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเรื่องโครงสร้างอะตอม
โดยใชค้ ำถาม เช่น อะตอมประกอบด้วยอนุภาคอะไรบา้ ง อะตอมของแต่ละธาตุเหมอื นหรอื แตกต่างกันอย่างไร
นวิ เคลยี สประกอบด้วยอนุภาคอะไรบา้ ง ครูอาจวาดแบบจำลองอะตอมของธาตุต่าง ๆ เพื่อใหน้ ักเรยี นระบุชนิด
และจำนวนของอนภุ าคในแบบจำลอง
3.4 ครูเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเร่ืองต่อไปว่า แม้จะมีธาตุแตกต่างกันถึง 118 ชนิด แต่นักวิทยาศาสตร์
สามารถจัดธาตุเป็นหมวดหมู่ใหญ่ ๆ การจัดหมวดหมู่ธาตุยังสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากธาตุและ
สารประกอบอีกดว้ ย นักเรยี นจะได้เรียนรู้เกีย่ วกับการจำแนกธาตุและการนำธาตแุ ละสารประกอบไปใช้ในเร่ือง
ตอ่ ไป
ชั่วโมงท่ี 16-17 (สัปดาห์ที่ 9)
4. ข้ันการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรยี นเรื่องการจำแนกธาตเุ ป็น โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และเรือ่ งธาตุ
กัมมันตรังสี แลว้ รว่ มกันอภิปรายเพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ เกีย่ วกบั การจำแนกธาตุ ตามประเดน็ ดังน้ี
• ธาตุจำแนกได้อย่างไรบ้าง ใช้สมบัติใดบ้างเป็นเกณฑ์ในการจำแนก (ธาตุสามารถจำแนกได้เป็น
โลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ โดยใช้สมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์ ได้แก่ ความมันวาว การนำไฟฟา้ และนำความ
ร้อน จุดเดือดและจดุ หลอมเหลว ความเหนียว นอกจากน้ีสามารถจำแนกธาตุกัมมันตรังสี โดยใช้สมบัติการแผ่
รงั สีเปน็ เกณฑ์)
• ธาตแุ ต่ละกลุ่มมสี มบัติอย่างไร มีธาตใุ ดบ้างเปน็ ตวั แทนในแต่ละกลุ่ม (ธาตุโลหะมีพื้นผิวมันวาว นำ
ไฟฟา้ และนำความรอ้ นได้ดี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ไมเ่ ปราะ เหนียว เช่น อะลูมิเนียม ทองแดง สงั กะสี
ธาตุอโลหะมีพื้นผิวด้าน ไม่มันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ไม่ดี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต่ำ เปราะ ไม่
เหนียว เช่น โบรมีน กำมะถัน คาร์บอน ธาตุก่ึงโลหะมีสมบัตบิ างอย่างเหมอื นโลหะและสมบัติบางอย่างเหมือน
อโลหะ นำไฟฟ้าได้ดีกว่าอโลหะ อโลหะ แต่ไม่ดีเท่าโลหะ เช่น พลวง โบรอน ซิลิคอนส่วนธาตุกัมมันตรังสีแผ่
รังสีได้เชน่ เรดอน พอโลเนยี ม)
4.2 ร่วมกนั อภิปรายเพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปเกย่ี วกับการใช้ประโยชนธ์ าตุ ตามประเดน็ ดังน้ี
• ธาตโุ ลหะนำไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไรบา้ ง (ธาตโุ ลหะใช้ในเครือ่ งจักร เครอื่ งใช้ไฟฟ้า ภาชนะหงุ ตม้
• ธาตุอโลหะนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อยา่ งไรบ้าง (ธาตุอโลหะเปน็ องคป์ ระกอบของปุ๋ย)

23

• ธาตุก่ึงโลหะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตุก่ึงโลหะใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสารกึ่ง

ตวั นำ แบตเตอรี่รถยนต์ แผงเซลลแ์ สงอาทิตย์ แผน่ ซีด)ี

• ธาตุกัมมันตรังสีนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตุกัมมันตรังสีใช้ในการแพทย์ การเกษตร

อุตสาหกรรม เช่นการรกั ษาโรคมะเร็ง การฉายรงั สีอาหาร การตรวจสอบรอยรา้ วในโลหะ)

• ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตกุ ัมมันตรงั สอี าจก่ออันตรายได้อย่างไรบา้ ง (โลหะบางชนิดท่ีใช้

ในอุตสาหกรรมอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตับ หัวใจ ไต ธาตุกึ่งโลหะบางชนิดเป็นพิษต่อร่างกาย เช่น สารหนู

ซลิ ิคอน)

ชัว่ โมงท่ี 18 (สัปดาหท์ ่ี 9)

5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 สืบค้นการใชป้ ระโยชนจากธาตุโลหะ อโลหะ กึง่ โลหะและธาตกุ มั มนั ตรงั สี อยา่ งละ 1 ชนดิ

วเิ คราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตเุ ปล่าน้ันท่ีมีต่อสิ่งมชี ีวิต ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คม นำเสนอผลการวเิ คราะห์

ในรปู แบบตา่ ง ๆ ท่ีน่าสนใจ เช่น การ์ตนู อินโฟกราฟกิ ผังมโนทศั น์ บทความ

13. สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) ส่อื เพาเวอร์พอยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- บอกประเภทของสารบรสิ ุทธิ์ ......................................................................................

- บอกองคป์ ระกอบของสารบริสุทธิ์ ......................................................................................

- โครงสร้างอะตอม ......................................................................................

- การจำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์ ................................................................................
......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินัย ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพยี ง ...............................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

24

4. ปญั หาการสอน ...............................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแก้ปญั หา ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครผู ูส้ อน ลงช่ือ...........................................หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจกั ร์ิ แกว้ มว่ ง.)

ลงชือ่ ........................................... ลงชื่อ...........................................
(..............................................) (..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..)

หวั หน้างานนเิ ทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4
หน่วยการเรียนรทู้ ี่…………...3....หนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชีวติ ..........เรื่อง.............เซลล์..............
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชน้ั มัธยมศึกษาปที .่ี ...1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรียนท่.ี .1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมีท้งั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชีว้ ัด
รายวิชาเพ่ิมเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/4

25

สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสิ่งมีชีวิต หนว่ ยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวติ การลำเลยี งสารเข้า

และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ทที่ ำงาน
สมั พันธก์ ัน ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ที่ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ีทำงานสมั พันธ์กัน รวมทั้งนำ
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ช้วี ดั
ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทยี บรปู รา่ ง ลกั ษณะ และโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ รวมทั้ง
บรรยายหน้าทข่ี องผนังเซลล์ เยื่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นวิ เคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์
ว 1.2 ม.1/2 ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 ม.1/4 อธบิ ายการจัดระบบของส่ิงมชี ีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
จนเป็นสิ่งมีชีวติ
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้วี ดั ท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ เ้ี ขียนเป็นแบบความเรียง)
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นส่วนประกอบ บางชนิดประกอบด้วยเซลล์ 1 เซลล์ บางชนิด
ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ เซลล์ของส่ิงมีชีวิตจะมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึง
ตอ้ งใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใช้แสงเปน็ เคร่อื งมือชว่ ยในการศึกษาเซลล์พชื และเซลลส์ ตั วม์ ีโครงสร้างพ้ืนฐานเหมือน
กัน คือ มีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสซึ่งโครงสร้างพื้นฐานน้ีจะทำหน้าที่แตกต่างกันไป แต่เซลล์
พืชมีโครงสร้างบางอย่างท่ีไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์เซลล์มีรูปร่างลักษณะที่
หลากหลายเพ่ือให้เหมาะสมกับหน้าท่ีของเซลล์นั้น ๆ โดยเซลล์ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดจะทำงานร่วมกัน
เป็นเนือ้ เยื่อ เนื้อเยื่อหลายชนิดรวมกันเป็นอวยั วะ อวัยวะทำงานร่วมกันจัดเป็นระบบอวัยวะ และระบบอวัยวะ
ทุกระบบทำงานร่วมกันจนเป็นส่ิงมชี วี ติ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พิม่ เติม (รายวิชาเพ่มิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• เซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพน้ื ฐานของส่งิ มชี วี ิต ส่ิงมีชวี ิตบางชนดิ มีเซลล์เพยี งเซลลเ์ ดยี ว เช่น อะมีบา
พารามเี ซียม ยสี ต์ บางชนิดมีหลายเซลล์ เชน่ พืช สัตว์
• โครงสรา้ งพืน้ ฐานทพ่ี บทัง้ ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ และสามารถสังเกตได้ด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้
แสง ไดแ้ ก่ เย่ือหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลยี ส โครงสร้างทีพ่ บในเซลล์พืชแต่ไม่พบในเซลลส์ ัตว์ ไดแ้ ก่
ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
• โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลลม์ ีหน้าทแี่ ตกต่างกัน

- ผนังเซลล์ ทำหน้าท่ใี หค้ วามแขง็ แรงแกเ่ ซลล์
- เยื่อหมุ้ เซลล์ ทำหน้าทีห่ ่อหุ้มเซลล์และควบคุมการลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
- นิวเคลยี ส ทำหนา้ ทีค่ วบคมุ การทำงานของเซลล์
- ไซโทพลาซึม มีออรแ์ กเนลล์ท่ีทำหนา้ ที่แตกต่างกนั
- แวคิวโอล ทำหนา้ ทีเ่ กบ็ นำ้ และสารต่าง ๆ
- ไมโทคอนเดรีย ทำหนา้ ทีเ่ ก่ียวกบั การสลายสารอาหารเพ่ือให้ได้พลังงานแกเ่ ซลล์
- คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ที่เกดิ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
• พืชและสตั วเ์ ป็นส่งิ มีชวี ติ หลายเซลล์มกี ารจัดระบบ โดยเรมิ่ จากเซลลไ์ ปเป็นเนือ้ เย่ือ อวัยวะ ระบบ
อวยั วะ และสง่ิ มีชวี ติ ตามลำดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเปน็ เน้อื เยอื่ เนื้อเย่ือหลายชนดิ มารวมกนั และ

26

ทำงานร่วมกันเปน็ อวัยวะ อวัยวะตา่ ง ๆ ทำงานรว่ มกนั เป็นระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทุกระบบทำงานร่วมกัน

เปน็ ส่ิงมชี วี ิต

3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถิน่ ใหใ้ สล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงศึกษาเซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์

2. เปรียบเทยี บรูปร่าง ลักษณะ และโครงสรา้ งของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ รวมท้ังบรรยายหน้าที่ของผนงั

เซลล์เย่อื หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์

3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกบั การทำหนา้ ท่ีของเซลล์

4. อธบิ ายการจัดระบบของสง่ิ มีชีวติ โดยเรมิ่ จากเซลล์ เนอ้ื เยือ่ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเปน็ สง่ิ มีชวี ิต

5. เห็นคุณคา่ ของการนำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์มาใชเ้ พื่ออำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวัน

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้นี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซื่อสตั ย์สุจรติ

 3. มวี ินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผ้เู รียนตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่อื สาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

27

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นกั เรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นกั เรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสิง่ ทเ่ี รียนรู้

3. หลักภูมคิ มุ้ กนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวัง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีที่สุด , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/1 -รายงานกจิ กรรมที่ 3.1 โลกใต้กลอ้ ง - ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสังเกตสไลด์ถาวรของ

ม.1/2 จุลทรรศน์เป็นอย่างไร เนื้อเย่ือพชื เนอ้ื เยื่อสัตว์ และสงิ่ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียว

-รายงานกิจกรรมท่ี 3.2 เซลล์พืชและ - วาดภาพเซลล์และโครงสร้างภายในเซลล์ตามท่ี

เซลล์ สงั เกตเหน็ โดยการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง

สตั วแ์ ตกต่างกนั อยา่ งไร

ว 1.2 ม.1/4 - เขยี นแผนภาพแสดงการจดั ระบบ - อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหว่างรูปรา่ งกับการทำ

ของสงิ่ มชี วี ิต โดยแสดงความสมั พนั ธ์ หนา้ ทขี่ องเซลล์ เช่นเซลลป์ ระสาท เซลลค์ มุ

ระหว่างเซลล์ เน้ือเยื่ออวัยวะ ระบบ เซลล์เม็ดเลือดแดง

อวยั วะและสิ่งมีชีวิต

11. การวดั ประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมินผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรู้น้ี)

ส่งิ ทต่ี ้องการวัด วธิ ีวัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรูเ้ กยี่ วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง ความคดิ เหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

28

สังเกตสไลด์ถาวรของเนื้อเย่ือ -การตรวจผลงาน คิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80

พืชเน้อื เย่ือสตั ว์ และส่งิ มีชวี ิต นักเรยี น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

เซลลเ์ ดยี ว - แบบประเมนิ การ - นักเรียนได้คะแนน

- เซลล์และโครงสรา้ งภายใน ตรวจผลงานผ้เู รียน ประเมินผลงาน

เซลล์ 13 คะแนนขนึ้ ไป

- ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง หรอื รอ้ ยละ 80

กับการทำหน้าที่ของเซลล์ เช่น ถือว่าผ่านเกณฑ์

เซลล์ประสาท เซลล์คุมเซลล์เม็ด

เลอื ดแดง

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกล่มุ ความคดิ เห็นระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ทักษะกระบวน คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80 ถอื วา่

การทางวทิ ยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุม่

3. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผ้อู นื่ และ อภปิ ราย แสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลมุ่ คดิ เหน็ เก่ียวกับผลการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซงึ่ กนั ทดลอง - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ สมรรถนะผเู้ รยี น การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรือร้อยละ 80

ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้

ชว่ั โมงท่ี 1 (สปั ดาหท์ ่ี 10)

1. ข้นั ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครใู ห้นกั เรียนดูภาพในหนังสือเรียน ร่วมกันอภิปรายและตอบคำถามดังต่อไปน้ี

• นักเรยี นสังเกตเหน็ สง่ิ มีชีวติ อะไรบา้ ง (เปด็ ใบบัว)

• นักเรยี นคิดว่าในน้ำมีสิ่งมีชีวติ เล็ก ๆ ทีเ่ รามองไม่เหน็ หรอื ไม่ เชน่ อะไรบ้าง (นักเรยี นสามารถตอบ

ได้ตามความเข้าใจของตนเองแตค่ รคู วรอธิบายเพิ่มเติมว่าในแหล่งนำ้ ทกุ ทจ่ี ะมีสง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ อาศัยอยู่ เช่น

พารามีเซียม สาหรา่ ยบางชนิด)

• นักเรียนคิดว่าสงิ่ ท่ีอยู่ภายในวงกลม 3 วงนค้ี อื อะไร เกี่ยวข้องกบั สงิ่ มชี ีวิตในภาพอย่างไร

29

(นักเรียนสามารถตอบไดต้ ามความเข้าใจของตนเอง แตค่ รูอธิบายเพิ่มเตมิ ว่า ภายในวงกลม 2 วง ด้านบน คอื
สว่ นประกอบย่อย ๆของพืชและสตั ว์ เรียกวา่ เซลล์ ส่วนวงกลมด้านล่างเป็นส่งิ มชี ีวิตเซลล์เดียวคอื พารามี
เซียม)

1.2 ครเู ชื่อมโยงเขา้ สู่บทเรยี น โดยใช้คำถามวา่ จากทเี่ รยี นมาแล้ววา่ ธาตุประกอบดว้ ยหนว่ ยย่อยทเ่ี ลก็
ท่สี ดุ ทแ่ี สดงสมบตั ิของธาตุเรียกวา่ อะตอม นักเรียนคิดว่า ส่งิ มีชวี ิตจะมีหนว่ ยย่อยทเ่ี ล็กที่สุดทแ่ี สดง
สมบัติของการมชี ีวิตหรอื ไม่ หน่วยย่อยท่ีเลก็ ทสี่ ุดนน้ั เรียกว่าอะไร และมีรปู ร่างลักษณะอย่างไร

1.3 ครใู หน้ กั เรยี นสังเกตภาพจากหนงั สอื เรียนซ่ึงเป็นภาพเลอื ดที่กำลงั แข็งตัวภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ทีม่ ี
กำลังขยายสงู และอ่านเน้อื หานำบท จากนั้นอภปิ รายโดยใช้คำถามต่อไปน้ี

• เลือดทกี่ ำลงั แข็งตัวประกอบดว้ ยอะไรบ้าง(เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว และ
เสน้ ใยไฟบริน)

• รูปร่างลกั ษณะของเซลลแ์ ต่ละชนดิ มคี วามเหมือนหรือตา่ งกันหรือไม่อยา่ งไร (ต่างกนั โดยเซลลเ์ มด็
เลือดแดง มีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดง เวา้ สว่ นกลาง เซลลเ์ มด็ เลือดขาวมีลกั ษณะเป็นทรงกลมสีขาว สว่ น
ไฟบรนิ เปน็ สารประกอบประเภทโปรตนี )

• เซลลแ์ ตล่ ะชนดิ มีหน้าท่ีแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (เซลล์เมด็ เลือดแดงทำหนา้ ท่ลี ำเลียงแกส๊ ไปยงั ส่วน
ตา่ ง ๆ ของร่างกาย เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวทำหนา้ ทก่ี ำจัดเช้ือโรค)

• เราสามารถสงั เกตลกั ษณะของเซลลเ์ หล่านัน้ ไดโ้ ดยวธิ ีการใด (สามารถสังเกตไดโ้ ดยใช้กล้อง
จลุ ทรรศน์ท่มี กี ำลังขยายสงู )

1.4 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยแจ้งให้นักเรยี นทราบว่า นกั เรียนจะได้ฝึกการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงสงั เกต
เซลล์ เปรียบเทยี บรปู ร่างลกั ษณะและโครงสรา้ งของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
รปู รา่ งกับหนา้ ท่ีของเซลล์ และอธิบายการจดั ระบบของส่งิ มีชีวิต

1.5 ครตู รวจสอบความรู้เดมิ ของนักเรียนเกย่ี วกบั กล้องจุลทรรศนแ์ ละเซลลโ์ ดยใหท้ ำกิจกรรมรอู้ ะไรบา้ ง
ก่อนเรียน

ชั่วโมงที่ 2-5 (สัปดาหท์ ี่ 10-11)
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู หน้ กั เรยี นเข้าส่กู ิจกรรม 3.1 โดยนำนำ้ 1-2 หยด จากแหลง่ นำ้ บริเวณรอบ ๆ โรงเรียนมาให้
นกั เรยี นสังเกตดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ซง่ึ ครคู วรตรวจสอบหยดนำ้ ก่อนนำมาใหน้ ักเรียนสังเกต จากนน้ั ใช้
คำถามเพื่อเชอ่ื มโยงเขา้ สูก่ ิจกรรม เช่น

• กอ่ นสงั เกตดว้ ยกล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง นักเรียนสงั เกตเหน็ อะไรในหยดน้ำบา้ ง (นักเรียนตอบได้
ตามทส่ี ังเกตเหน็ จรงิ เช่น ไมเ่ ห็น)

30

• หลังจากสงั เกตดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง นักเรียนสังเกตเหน็ อะไรในหยดนำ้ บ้าง (นกั เรียนตอบได้
ตามที่สังเกตเห็นจริง เช่น เห็นสิ่งมีชีวิตขนาดเลก็ )

• นักเรียนสังเกตเหน็ สิง่ ตา่ ง ๆ ในหยดน้ำได้อยา่ งไร (ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง)
• นักเรียนทราบหรอื ไมว่ ่ากล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงมีวธิ ีการใช้งานอยา่ งไร และถ้านำไปสงั เกตช้ินสว่ น
ของส่ิงมชี ีวติ จะเป็นอยา่ งไร (นกั เรียนตอบได้ตามความเขา้ ใจ โดยครอู ธบิ ายวา่ นกั เรียนจะไดเ้ รียนรู้สิ่งตา่ ง ๆ น้ี
ในกิจกรรมต่อไป)
2.2 ครอู ธิบายการใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง (นักเรยี นสังเกตสว่ นประกอบ อา่ นวิธกี ารใช้ และฝึกการ
ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใช้แสงเพื่อให้สามารถใช้ได้อยา่ งถูกต้อง จากนน้ั ทำสไลด์ตวั อกั ษร สังเกตสไลด์ตวั อักษรดว้ ย
แวน่ ขยายและกลอ้ งจลุ ทรรศน์ใช้แสงโดยเปลยี่ นกำลงั ขยายจาก 4 10 และ 40 เทา่ ตามลำดบั เลอ่ื นสไลด์ไป
ทางซ้าย ขวา บน และล่าง จากนั้นบันทึกผลการทำกิจกรรม)
2.3 นักเรยี นทำกิจกรรมกิจกรรมที่ 3.1 โลกใต้กล้องจุลทรรศนเ์ ปน็ อย่างไรตามวิธีการในหนงั สือเรียน
นักเรียนออกแบบวิธีการบนั ทึกผลกจิ กรรมตอนท่ี 1เพ่ือเปรยี บเทียบตวั อักษรท่เี ห็นจากแว่นขยายและจาก
กลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงเม่ือ มีการปรับ กำลังขยาย รวมทั้ง การเปลีย่ นตำแหน่ง ของภาพเมื่อมกี ารเล่อื นสไลด์
โดยครสู งั เกตวธิ กี ารใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสง เน้นใหน้ ักเรยี นทุกคนไดม้ โี อกาสฝกึ ใชก้ ล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงให้
ถกู ต้อง และสงั เกตการบนั ทึกผลการเปลีย่ นแปลงของภาพจากการใช้แวน่ ขยายและการเปล่ยี นแปลงของภาพ
จากการใช้กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง เมอื่ มกี ารปรับกำลังขยาย และเล่ือนแทน่ วางสไลด์ไปทางซ้ายขวา บน และ
ลา่ ง เพือ่ ให้ขอ้ แนะนำหากเกิดข้อผดิ พลาดในการทำกิจกรรม ณ ขณะน้ัน รวมทงั้ นำข้อมลู ท่ีควรจะปรับปรงุ
และแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั ทำกจิ กรรม
2.4 นักเรยี นรว่ มกันอ่านวธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรมตอนที่ 2 จากหนังสอื เรียนวางแผนการทำงานร่วมกนั
พรอ้ มทง้ั ออกแบบวิธกี ารบันทึกผลใหเ้ รยี บร้อยก่อนทำกจิ กรรมตรวจสอบการออกแบบวธิ บี นั ทกึ ผลของ
นกั เรยี นแต่ละกลุ่ม โดยอาจให้บางกลุ่มนำเสนอแล้วครใู หค้ ำแนะนำเพ่ือปรับแก้วิธีการบนั ทกึ ผลตามความ
เหมาะสม
2.5 นกั เรยี นตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และรว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพื่อให้นักเรยี นสรุปได้วา่ เนื้อเย่ือของ
พชื สตั ว์ และส่ิงมชี วี ิตเซลล์เดียว มีลักษณะทสี่ ำคญั เหมือนกันคือ ประกอบดว้ ยหนว่ ยย่อย ๆ ซ่ึงมลี กั ษณะเปน็
หอ้ ง มขี อบเขตชดั เจนเรยี กว่า เซลล์
2.6 ครใู ห้นกั เรยี นอ่านเพ่ิมเติมเพื่อให้ได้ขอ้ สรุปว่าสิ่งมชี วี ติ ทุกชนดิ ประกอบดว้ ยเซลล์ ส่ิงมีชีวติ บางชนดิ
ทีม่ กี ระบวนการต่าง ๆ ของการดำรงชวี ิตเกิดข้ึนภายในเซลล์เพียงเซลล์เดยี ว เรยี กวา่ สงิ่ มีชีวิตเซลล์เดียว เชน่
แบคทีเรีย ยสี ต์ พารามีเซียม ส่วนส่งิ มีชวี ิตทีม่ กี ระบวนการดำรงชีวติ ท่ีซบั ซอ้ น ประกอบดว้ ยเซลลห์ ลายเซลลท์ ี่
ทำงานร่วมกันเพื่อการดำรงชีวิต เรยี กว่า สง่ิ มีชีวติ หลายเซลล์ เชน่ พชื สัตว์ เห็ด
2.7 ครเู ช่ือมโยงองคค์ วามร้ทู ไี่ ด้ไปยงั เร่ืองโครงสรา้ งและหน้าที่ของเซลล์ท่ีจะเรียนในเร่อื งถัดไป โดยครู
อาจใชค้ ำถาม เช่น จากที่ทราบมาแลว้ วา่ ส่งิ มชี วี ิตทุกชนิดมีเซลล์เปน็ หนว่ ยพนื้ ฐาน นักเรยี นคดิ ว่าเซลล์พชื และ
เซลลส์ ตั วม์ ลี กั ษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และโครงสร้างภายในของเซลล์ดงั กล่าวประกอบด้วย
อะไรบ้าง
2.8 ครตู รวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องเซลล์โดยให้ทำกิจกรรม รู้
อะไรบา้ งก่อนเรียน
2.9 ครนู ำเขา้ สกู่ จิ กรรมท่ี 3.2 เซลล์พชื และเซลล์สตั วแ์ ตกต่างกันอย่างไรไร โดยการตั้งคำถามสรา้ ง
ความสนใจวา่ เซลล์สัตว์มีรปู รา่ งลกั ษณะเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ และโครงสรา้ งภายในของเซลล์
ประกอบด้วยอะไรบ้าง

31

2.10 ครใู หน้ ักเรียนทำกจิ กรรมที่ 3.2 ตามรายละเอยี ดในแบบเรียนและทำกจิ กกรรมตามแผนท่ีวางไว้ ครู
สังเกตวธิ กี ารเตรยี มสไลด์ตัวอย่าง การวางกระจกปิดสไลด์ การเลือกใบสาหร่ายหางกระรอก การย้อมสเี ย่ือ
หอมด้วยสารละลายไอโอดีน การล้างสีสารละลายไอโอดีน การซบั ของเหลวสว่ นเกิน รวมไปถึงการใชก้ ล้อง
จุลทรรศนใ์ ช้แสงอย่างถูกวิธแี ละการบันทึกผลการสังเกตของนกั เรียนทกุ กล่มุ เพือ่ ให้คำแนะนำถา้ เกดิ ข้อผิด
พลาดในขณะทำกิจกรรม รวมท้ังนำข้อมลู ท่ีควรปรบั ปรงุ และแก้ไขมาประกอบการอภิปรายภายหลัง
การทำกจิ กรรม

ช่วั โมงท่ี 6 (สัปดาหท์ ่ี 11)
3. ขั้นสรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหล่ียม เซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
โครงสร้างของเซลล์ที่พบได้ทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ส่วน
โครงสรา้ งท่ีพบเฉพาะเซลล์พชื ได้แก่ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ สำหรับเย่ือหุ้มเซลล์ของเซลลพ์ ืช อาจเหน็ ไม่
ชดั เจน เพราะเบยี ดชิดกับผนงั เซลล์ แตจ่ ะเหน็ ได้ชัดเจนเม่อื เซลล์เหีย่ ว
3.2 ร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตาม
ประเด็นตอ่ ไปนี้

• ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์จะมีโครงสร้างที่ทำหน้าที่เฉพาะ โครงสร้างเหล่านั้นคืออะไร (ออร์
แกเนลล)์

• จากการทำกิจกรรมนี้ โครงสร้างใดของเซลล์ที่ไมพ่ บ (ไมโทคอนเดรยี และแวควิ โอล)
• นอกจากโครงสร้างที่นักเรียนสังเกตเห็นจากกิจกรรมและเนื้อหาในหนังสือเรียน นักเรียนคิดว่าจะมี
โครงสร้างอื่นอีกหรือไม่ (มี ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนในระดับที่สูงขึ้น เช่น ไรโบโซม เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม ไลโซ
โซม เป็นตน้ ครอู าจมรี ปู เพ่ิมเตมิ ให้นักเรียนดู)
• เซลลส์ าหรา่ ยหางกระรอกและเซลลเ์ ยื่อหอมมโี ครงสรา้ งเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และมผี ลต่อ
หน้าท่ีของเซลล์อย่างไร (มีโครงสร้างท่ีเหมือนกันคือมีผนังเซลล์ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส แต่มี
โครงสร้างท่ีต่างกันคือพบคลอโรพลาสต์ในเซลล์สาหร่ายหางกระรอก แต่ไม่พบในเซลล์เย่ือหอม ซึ่งมีผลต่อ
หน้าที่ต่างกันคือเซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีคลอโรพลาสต์จึงทำหน้าท่ีสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ส่วนเซลล์เยื่อ
หอมไม่มคี ลอโรพลาสต์ จึงทำหนา้ ท่ีสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไม่ได้ แตท่ ำหน้าท่ีปอ้ งกันเน้อื เย่อื ที่อย่ภู ายใน)
3.3 ครสู รุปขอ้ มลู เพือ่ เชอื่ มโยงความรูเ้ ก่ียวกับรูปร่างลกั ษณะและโครงสร้างของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ว่า
ทั้งเซลล์พืช และเซลล์สัตว์มีโครงสร้างพ้ืนฐานเหมือนกัน นักเรียนจะได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
ลกั ษณะของเซลลก์ บั หนา้ ที่ของเซลล์ต่อไป
ชั่วโมงที่ 7 (สัปดาหท์ ี่ 12)
4. ขนั้ การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือ ตอบคำถามระหว่างเรียน และร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า
รูปร่างลักษณะของเซลล์มคี วามสัมพันธก์ บั หน้าท่ีของเซลลน์ ้ัน ๆ โดยอาจใช้คำถามดังนี้
• ตัวอยา่ งเซลล์สัตว์มีอะไรบา้ ง (เซลลป์ ระสาท เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง และเซลลส์ เปริ ์ม)
• เซลล์สัตว์แต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ประสาทมีรูปร่างลักษณะเป็นเส้นยาว มีก้อน
กลมอยู่บริเวณค่อนไปทางส่วนปลาย มีแขนงเป็นเส้นยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างลักษณะกลม ส่วนกลาง
เซลลท์ ้ังสองด้านเว้าเขา้ หากันทำให้แบน ส่วนเซลลส์ เปริ ม์ มรี ปู รา่ งลักษณะกลม มหี างยาวเรียว)

32

• รูปร่างลักษณะของเซลล์สัตว์แต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าที่อย่างไร (เซลล์ประสาทมีแขนงเป็นเส้น

ยาว เพื่อนำกระแสประสาทไปยังเซลล์อืน่ ทอ่ี ยู่ไกลออกไป เซลล์เม็ดเลอื ดแดงมีรูปร่างกลมแบน เพอ่ื ให้เคลือ่ นท่ี

ไปในหลอดเลือดได้ง่ายมีลักษณะเว้ากลางเซลล์ทั้งสองด้านเพ่ือช่วยเพ่ิมพื้นที่ในการลำเลียงออกซิเจน ส่วน

เซลล์สเปริ ม์ มหี างเพอื่ ช่วยในการเคลื่อนท่ีไปหาเซลลไ์ ข)่

• ตวั อยา่ งเซลล์พชื มอี ะไรบ้าง (เซลลข์ นราก เซลลใ์ นเน้อื เยอ่ื ลำเลยี งน้ำ เซลล์คุม)

• เซลล์พืชแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ขนรากมีผนังเซลล์ด้านท่ีสัมผัสกับดินยื่นยาว

ออกมาเป็นหลอดคล้ายเส้นขนเล็ก ๆ เซลล์ในเนื้อเย่ือลำเลียงน้ำมีรูปร่าง เป็นท่อกลวงยาว และเซลล์คุมมี

รูปรา่ งลักษณะคลา้ ยเมล็ดถัว่ หรอื รูปไต)

• รูปร่างลักษณะของเซลล์พืชแต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าท่ีอย่างไร (เซลล์ขนรากมีรูปร่างลักษณะ

คล้ายเส้นขนเล็กๆย่ืนยาวออกมาเพ่ือเพิ่มพ้ืนที่ผิวในการดูดน้ำและธาตุอาหาร เซลล์ในเนื้อเยื่อลำเลียงน้ำ มี

ลักษณะเป็นท่อกลวงยาวเพื่อใช้ในการลำเลียงน้ำจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และเซลล์คุมมีรูปร่างคล้าย

เมล็ดถว่ั หรอื รปู ไต มผี นงั เซลลห์ นาบางไม่เทา่ กัน ทำหน้าทีค่ วบคมุ การปิดเปดิ ปากใบ

4.2 สรุปข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงความรู้เก่ียวกับการจัดระบบภายในของส่ิงมีชีวิตว่า ส่ิงมีชีวิตประกอบด้วย

เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานบางชนิดมีเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ มีการจัดระบบของเซลล์อย่างไรจนเป็น

อวยั วะและรา่ งกายของส่งิ มีชวี ิต

ช่ัวโมงที่ 8 (สปั ดาหท์ ่ี 12)

5. ข้ันการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนอา่ นหนังสือเรยี น ตอบคำถามระหวา่ งเรียน และรว่ มกันอภปิ รายเพื่อให้ได้ข้อสรปุ ว่าสิ่งมี

ชีวติ หลายเซลล์ ทั้งพืชและสตั ว์ ประกอบดว้ ยเซลล์ที่มกี ารจัดระบบเป็นเน้ือเยอ่ื อวยั วะ ทำงานร่วมกันเป็น

ระบบอวยั วะต่าง ๆ จนเป็นส่ิงมีชวี ติ โดยครูอาจใช้คำถามดังตอ่ ไปน้ี

• การจดั ระบบภายในของส่ิงมีชีวิต เรยี งลำดบั จากหนว่ ยเลก็ ไปหาหน่วยใหญ่อยา่ งไร

เซลล์ → เนอื้ เยื่อ → อวยั วะ → ระบบอวยั วะ → ส่งิ มีชวี ิต

5.2 นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ หวั ข้อเรอ่ื งการศึกษาเซลลด์ ้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ จากนัน้ นักเรียนทำกิจกรรม

ตรวจสอบตนเองเพ่อื สรุปองค์ความรู้ทีไ่ ด้เรยี นรู้จากบทเรยี น ด้วยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผงั มโน

ทัศน์ สิ่งที่ไดเ้ รียนรจู้ ากบทเรียนเรื่องการศกึ ษาเซลลด์ ว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์

13. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) ส่อื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) ห้องสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลล์ ......................................................................................
และโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ ......................................................................................
- เปรียบเทยี บรปู ร่าง ลกั ษณะ และโครงสร้าง ......................................................................................
ของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ รวมทง้ั บรรยาย ................................................................................
......................................................................................

33

หนา้ ท่ขี องผนังเซลล์เยอ่ื หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ ......................................................................................
นวิ เคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอ ......................................................................................
......................................................................................
โรพลาสต์ ................................................................................
- อธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู ร่างกับการ ......................................................................................
ทำหนา้ ทขี่ องเซลล์ .....................................................................................

- อธบิ ายการจัดระบบของสิง่ มีชวี ิต โดยเรม่ิ

จากเซลล์ เน้ือเย่ือ อวยั วะ ระบบอวยั วะ จน

เปน็ สิ่งมชี วี ิต

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินัย ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย
......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

5. วธิ ีแก้ปัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

ลงชอื่ ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์..) (นายสรุ จักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(..............................................) (..นายศิวาวฒุ ิ รัตนะ..)

หัวหน้างานนิเทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

34

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5
หนว่ ยการเรียนรทู้ …ี่ ….3....หนว่ ยพน้ื ฐานของส่งิ มชี ีวิต..........เรื่อง.............การลำเลยี งสารเข้าออกเซลล์..............
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร…์ …..1.......รหสั วชิ า…......ว 21101 ..............ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท.่ี ...1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรยี นท.ี่ .1...เวลา...9...ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมีทงั้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ม.1/5
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสงิ่ มีชีวิต หนว่ ยพื้นฐานของส่ิงมีชีวติ การลำเลียงสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ย์ท่ีทำงาน
สัมพันธก์ ัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าที่ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธก์ นั รวมทง้ั นำ
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชว้ี ดั
ว 1.2 ม.1/5 อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซสิ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ และยกตวั อยา่ ง
การแพร่และออสโมซสิ ในชีวติ ประจำวัน
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ดั ทีใ่ ช้ในหน่วยการเรียนรู้น้เี ขยี นเป็นแบบความเรยี ง)
เซลล์มีกระบวนการต่าง ๆ ในการนำสารเข้าออกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี
เช่น การแพร่เป็นวิธีการที่สารจะเคลื่อนที่จากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารมากไปสู่บริเวณทีมี่ความเข้มข้น
ของสารน้อย ส่วนการออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้ำผ่านเย่ือหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลาย
ตำ่ ไปยงั ด้านท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายสงู กวา่
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม (รายวิชาเพม่ิ เติม)
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
เซลล์มีการนำสารเขา้ สูเ่ ซลล์ เพ่อื ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจัดสารบางอย่าง

35


Click to View FlipBook Version