The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-12-13 05:51:59

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์1

ทเี่ ซลลไ์ มต่ ้องการออกนอกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์มหี ลายวิธี เช่น การแพร่เปน็ การเคล่อื นท่ี
ของสารจากบริเวณทม่ี ีความเขม้ ขน้ ของสารสูงไปส่บู ริเวณที่มีความเข้มข้นของสารตำ่ ส่วนออสโมซสิ เปน็ การ

แพร่ของนำ้ ผ่านเย่ือหุม้ เซลล์ จากดา้ นท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายตำ่ ไปยงั ด้านท่ีมีความเขม้ ขน้ ของ

สารละลายสูงกว่า
3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถึงหลักสตู รทอ้ งถ่นิ ให้ใสล่ งไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายกระบวนการแพร่และการออสโมซสิ จากหลักฐานเชิงประจักษ์

2. ยกตวั อยา่ งการแพร่และการออสโมซิสท่ีพบในชวี ติ ประจำวนั

3. เหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี)้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้นี)้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอื่ สตั ย์สุจรติ

 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทนั สื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

36

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ ักเรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสงิ่ ทเี่ รียนรู้

3. หลักภมู ิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงื่อนไขคณุ ธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ่ีสดุ , มีวินัยในการ

ทำงาน

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/5 -รายงานกิจกรรมที่ 3.3 อนุภาคของ - อธิบายกระบวนการแพร่

สารมกี ารเคลอื่ นท่ีอย่างไร - อธบิ ายกระบวนการออสโมซิส

-รายงานกิจกรรมที่ 3.4 น้ำเคลื่อนที่ - ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสใน

ผ่านเยอื่ เลือกผ่านไดอ้ ยา่ งไร ชวี ิตประจำวนั

11. การวดั ประเมนิ ผล

11.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เครอื่ งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผา่ นต้ังแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือว่า ไม่ผา่ น

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรู้น)้ี

ส่งิ ทีต่ ้องการวัด วิธวี ัดผล เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ความรู้เกยี่ วกบั -การสอบถาม ซักถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้

- การนำสารเข้าสูเ่ ซลล์ คดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนน

เพื่อใช้ในกระบวนการตา่ ง ๆ -การตรวจผลงานนกั เรียน ความ 12 คะแนนขึ้นไป

ของเซลล์ และขจัดสาร คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80

บางอยา่ งที่เซลล์ไม่ตอ้ งการ - แบบประเมินการ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

ออกนอกเซลล์ ตรวจผลงานผูเ้ รยี น - นกั เรยี นได้

- การแพรเ่ ป็นการ คะแนน

37

เคลื่อนท่ีของสารจากบริเวณ ประเมินผลงาน

ทม่ี คี วามเข้มขน้ ของสารสูง 13 คะแนนข้ึนไป

ไปสูบ่ ริเวณทมี่ ีความเข้มขน้ หรอื ร้อยละ 80

ของสารต่ำ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- การออสโมซิสเปน็ การแพร่

ของน้ำผ่านเย่ือหุม้ เซลลจ์ าก

ด้านทม่ี คี วามเข้มข้นของสาร

ละลายต่ำไปยงั ด้านทีม่ ีความ

เขม้ ขน้ ของสารละลายสงู

กว่า

2.ทักษะกระบวนการคิด - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นได้คะแนน

และทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเห็นระบุทักษะ อภปิ รายแสดง 12 คะแนนขนึ้ ไป

กระบวน ความ หรอื รอ้ ยละ 80

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีได้ปฏบิ ัติ คิดเห็น ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

จากกจิ กรรม - แบบประเมนิ

- สังเกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่ ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลักษณะท่ีพงึ - สังเกตคา่ นยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรียนได้

ประสงค์ ทำงานรว่ มกับผู้อื่นและการ คุณลกั ษณะอนั พึง คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ ประเมินคุณลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลมุ่ อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ อนั พงึ ประสงค์

- นักเรยี นเห็นความสำคญั เก่ียวกบั ผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น สมรรถนะผ้เู รียน หรือร้อยละ 80

และการทำงานในระบบกลุ่ม ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซ่ึงกนั - นกั เรยี นได้

และกันมีความเสยี สละและ คะแนน

อดทน การประเมนิ

สมรรถนะ

29 คะแนนขน้ึ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงท่ี 9 (สปั ดาห์ท่ี 12)
1. ขนั้ ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู หน้ ักเรยี นดภู าพการชงน้ำกระเจ๊ียบ อ่านเนือ้ หานำบท จากนั้นอภิปรายโดยอาจใช้

คำถามนำ ดังน้ี

38

• สีแดงมาจากไหน (สารสแี ดงมาจากกลบี เลยี้ งกระเจ๊ยี บ)
• ทำไมน้ำในแก้วจงึ มีสีแดง (เพราะสารสีแดงจากกลบี เลี้ยงกระเจย๊ี บละลายออกมาผสมกับนำ้ ใน
แก้ว)
• นำ้ กระเจย๊ี บเม่ือตั้งทิ้งไวส้ ักพกั ทำไมน้ำทงั้ แกว้ จงึ มสี แี ดง (นักเรยี นสามารถตอบไดต้ ามความเข้าใจ
ของตนเอง)
1.2 ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกยี่ วกับการแพรโ่ ดยให้ทำกจิ กรรม รูอ้ ะไรบ้างกอ่ นเรยี น
นกั เรียนสามารถเขียนได้ตามความเขา้ ใจของนักเรียน ครูไม่เฉลยคำตอบแตน่ ำข้อมลู จากการตรวจสอบความ
รเู้ ดิมของนักเรียนไปใช้ในการวางแผนการจดั การเรียนรูว้ ่าควรเนน้ ย้ำ หรืออธิบายเร่อื งใดเปน็ พเิ ศษเม่ือนกั เรยี น
เรยี นจบเร่ืองนแ้ี ลว้ นักเรยี นจะมคี วามรู้ความเข้าใจครบถ้วน ตามจุดประสงค์ของบทเรียน
1.3 ครูนำเขา้ สู่กิจกรรมที่ 3.3 อนุภาคของสารมกี ารเคล่อื นท่ีอย่างไร โดยแจ้งว่านักเรยี นจะได้เรยี นรู้
เก่ยี วกับการแพรแ่ ละกระบวนการแพร่ของสารต่อไป

ชวั่ โมงที่ 10 (สปั ดาห์ที่ 13)
2. ข้นั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นักเรยี นเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.3 อนภุ าคของสารมีการเคลื่อนท่ีอยา่ งไร ตามรายละเอยี ดใน
แบบเรียน
2.2 นักเรยี นทำกจิ กรรมตามแผนทว่ี างไว้ ครสู ังเกตวิธกี ารจดั อุปกรณ์ การสงั เกตการเคลอ่ื นท่ขี องอนุภาค
ด่างทบั ทิมและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทกุ กล่มุ เพื่อให้ขอ้ แนะนำถา้ เกิดข้อผิดพลาดขณะทำ
กจิ กรรม โดยอาจจะให้นักเรียนบนั ทึกภาพหรือบันทึกวดี ิโอเพ่มิ เตมิ เพ่ือใชใ้ นการอธบิ ายและนำเสนอ รวมท้งั นำ
ขอ้ มูลท่ีควรปรับปรงุ และแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั การทำกจิ กรรม
2.3 นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นำเสนอผลการทำกิจกรรม รวบรวมขอ้ มูลนำเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมพาวเวอร์พอยด์
แสดงรูปหรอื วดี ิโอการทำกิจกรรม
2.4 ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพอ่ื ใหน้ ักเรียนสรุปได้ว่า เม่อื หยอ่ น
เกล็ดด่างทับทิมลงในนำ้ เกล็ดด่างทบั ทิมจะค่อย ๆ ละลายเห็นเป็นเสน้ สีมว่ ง และจมลงก้นบีกเกอร์ บรเิ วณก้น
บกี เกอรจ์ ะเห็นสมี ว่ งเข้มล้อมรอบเกลด็ ดา่ งทบั ทิม จากน้ันสีม่วงเข้มรอบเกล็ดดา่ งทับทมิ จะค่อย ๆ เคล่ือนท่ี
จากบรเิ วณกน้ บีกเกอรไ์ ปส่บู ริเวณอ่ืนของบีกเกอร์ จนสีม่วงกระจายท่ัวท้ังบีกเกอร์ และจะเห็นสีม่วงอ่อนจางลง
กวา่ เดิม
2.5 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภิปราย สรุปเนื้อหาทั้งหมดท่ีได้เรียนรู้จากกิจกรรมและการศึกษาเพ่ิมเตมิ
จากหนงั สือเรียน เพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุปวา่ การแพร่เกิดข้นึ เม่ือมีความแตกตา่ งของความเข้มขน้ ของสารละลาย
ระหวา่ งสองบรเิ วณ โดยมีทิศทางการเคลอื่ นท่ีของตัวละลายจากบริเวณทมี่ ีความเข้มขน้ มากไปยงั บริเวณที่มี
ความเขม้ ขน้ นอ้ ย จนความเข้มขน้ ของสารละลายโดยเฉลย่ี เทา่ กนั ทุกบริเวณ เรยี กว่าเกดิ สมดลุ ของการแพร่
การแพร่นอกจากแพร่ในตวั กลางทเี่ ปน็ ของเหลวดังกิจกรรมแล้ว การแพรส่ ามารถแพรผ่ ่านตัวกลางท่เี ปน็ แกส๊
ได้ เชน่ การแพร่ของนำ้ มันหอมระเหยหรือกล่ินดอกไม้กลน่ิ อาหารผา่ นอากาศ เปน็ ตน้ ซ่ึงเซลล์ของส่ิงมชี ีวติ ก็มี
การแพร่ของสารเข้าออกเซลล์เชน่ เดียวกนั เช่นการแพร่เข้าออกของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
บริเวณถุงลมปอด การแพรเ่ ข้าออกของแก๊สออกซิเจนและแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดบ์ ริเวณปากใบ เปน็ ต้น
2.6 ครูเช่ือมโยงไปสู่การเรียนเรื่องต่อไป โดยกล่าวว่า การแพร่มีกระบวนการดังท่ีเรียนมาแล้ว ซึ่งใช้ใน
การนำสารท่ีมีขนาดเล็กเช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าและออกจากเซลล์ ถ้าร่างกาย
ตอ้ งการนำนำ้ เขา้ และออกจากเซลลจ์ ะมีกระบวนการอยา่ งไร นกั เรียนจะได้ศกึ ษาในเรือ่ งต่อไป

39

ชว่ั โมงที่ 11 (สัปดาหท์ ี่ 13)

3. ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.4 น้ำเคลื่อนท่ีผ่านเย่ือเลือกผ่านได้อย่างไร ซึ่งอาจใช้คำถามว่า

นอกจากการแพร่ของสารเข้าออกเซลล์ เช่น การแพร่ของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว

เซลล์มีการลำเลียงสารอ่ืน ๆ เช่นน้ำ เข้าและออกจากเซลล์หรือไม่ และเซลล์จะมีวิธีการในการลำเลียงน้ำเข้า

และออกจากเซลลอ์ ย่างไร

3.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนทีวางแผนไว้ ครูสังเกตุวิธีการจัดชุดอุปกรณ์การเทสารละลาย

น้ำตาลลงในเซลโลเฟน การมัดปากถุงเซลโลเฟน เตือนให้นักเรียนทำเคร่ืองหมายแสดงระดับของเหลวใน

หลอดแก้วก่อนท่ีจะใส่น้ำลงในบีกเกอร์ และการบันทึกผลการเปล่ียนแปลงของของเหลวในหลอดแก้ว เพ่ือ่ให้

ข้อแนะนำหากเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำกิจกรรม รวมท้ังนำข้อมูลท่ีควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้

ประกอบการอภิปรายหลังทำกิจกรรม

3.3 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า น้ำเคลื่อนท่ีผ่านเซลโลเฟนเข้าไปภายในถุงที่บรรจุ

สารละลายน้ำตาลได้ แต่สารละลายน้ำตาลไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านเซลโลเฟนออกมานอกถุงท่ีบรรจุอยู่ได้ โดย

อาจใชค้ ำถามดังตอ่ ไปนี้

• ระดับของเหลวในหลอดแกว้ มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไร (ระดบั ของเหลวในหลอดแก้วสูงข้นึ )

• เพราะเหตุใดระดับของเหลวในหลอดแก้วจึงสูงขึ้น (ระดับของเหลวในหลอดแก้วสูงข้ึนเพราะน้ำ

เคลื่อนที่เข้าไปในถุงเซลโลเฟน ผสมกับสารละลายน้ำตาล ทำให้มีปริมาณสารละลายมากข้ึน ของเหลวใน

หลอดแก้วจงึ สงู ข้นึ )

ช่วั โมงท่ี 12 (สปั ดาห์ท่ี 13)

4. ข้นั การส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือ ตอบคำถามระหว่างเรียน และร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า

ออสโมซิส เปน็ การเคล่อื นท่สี ุทธขิ องโมเลกุลนำ้ จากบรเิ วณทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายตำ่ (มีโมเลกลุ

ของน้ำมาก) ผ่านเย่ือเลอื กผ่านไปยงั บริเวณท่ีมคี วามเขม้ ขน้ ของสารละลายสูง (มีโมเลกุลของนำ้ นอ้ ย)

4.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียน

บรรยาย วาดภาพหรอื เขียนผังมโนทศั นส์ ิง่ ท่ีได้เรยี นรจู้ ากบทเรยี นเรอ่ื ง การลำเลยี งสารเขา้ ออกเซลล์

5. ข้นั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ใหน้ กั เรียนนำเสนอผลงาน โดยการอภิปรายภายในกลุ่ม อภิปรายรว่ มกนั ในชน้ั เรียน หรือติดแสดง

ผลงานบนผนงั ห้องเรียนและใหน้ กั เรียนในหอ้ งรว่ มชมผลงานและแสดงความคดิ เห็น จากน้นั ครแู ละนักเรยี น

อภปิ รายสรปุ องค์ความรทู้ ี่ได้จากบทเรยี นรว่ มกนั

5.2 เช่อื มโยงองค์ความรทู้ ี่ได้จากหน่วยการเรียนรู้น้ีไปยังหนว่ ยท่ี 4 การดำรงชวี ติ ของพชื โดยครูอาจให้

แนวคดิ ว่า สิ่งมีชีวิตทุกชนดิ มเี ซลลเ์ ปน็ หน่วยพนื้ ฐาน เซลลแ์ ต่ละชนดิ มโี ครงสรา้ งและหน้าทีแ่ ตกตา่ งกัน และ

เซลลม์ ีการลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์เพื่อการดำรงชีวิต แล้วพืชซึ่งเป็นสงิ่ มีชีวิตท่ีเกย่ี วข้องกบั การ

ดำรงชวี ิตของนักเรยี นน้ันมกี ระบวนการในการดำรงชีวติ อย่างไร

5.3 รว่ มกนั เฉลยแบบฝกึ หัดท้ายบท

12. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

40

12.2แหลง่ เรยี นรู้ 2) ห้องสมุด
1) อินเตอรเ์ น็ต
รายละเอยี ด
13. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- การนำสารเข้าสเู่ ซลล์ และขจัดสาร .....................................................................................
บางอย่างท่เี ซลลไ์ ม่ต้องการออกนอกเซลล์ .................................................................................. ...
- การแพรข่ องสาร
- การออสโมซสิ ......................................................................................
......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................
......................................................................................
3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ...............................................................................
- อยู่อยา่ งพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... . ......................................................................................
....................................................................... .....................................................................................

......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงช่ือ...........................................หัวหน้ากลุม่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจกั ริ์ แกว้ มว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอื่ ...........................................
(..............................................) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุม่ บริหารวชิ าการ

41

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6

หนว่ ยการเรยี นรทู้ …ี่ ….4……..การดำรงชีวิตของพืช..........เรอ่ื ง...การสืบพันธุแ์ ละการขยายพันธ์ุพืชดอก....
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชนั้ มัธยมศึกษาปีที.่ ...1.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรยี นที่..1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมีทงั้ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั ว 1.2 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสงิ่ มชี ีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมชี ีวิต การลำเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทขี่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงาน
สัมพนั ธ์กนั ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชท่ีทำงานสัมพันธก์ ัน รวมท้ังนำ
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชีว้ ัด
ว 1.2 ม. 1/11 อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศ และไม่อาศยั เพศของพืชดอก
ว 1.2 ม. 1/12 อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา้ งของดอกทมี่ ีสว่ นทำใหเ้ กดิ การถ่ายเรณู รวมทง้ั บรรยายการ
ปฏิสนธขิ องพืชดอก การเกิดผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็
ว 1.2 ม. 1/13 ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของสตั วท์ ่ีช่วยในการถา่ ยเรณขู องพืชดอก โดยการไม่ทำลาย
ชีวิตของสตั ว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณู
ว 1.2 ม. 1/16 เลอื กวธิ กี ารขยายพนั ธพ์ุ ชื ใหเ้ หมาะสมกับความตอ้ งการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้
เก่ียวกับการสบื พันธข์ุ องพืช
ว 1.2 ม. 1/17 อธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เย่ือพืชในการใช้ประโยชนด์ า้ น
ต่าง ๆ
ว 1.2 ม. 1/18 ตระหนกั ถงึ ประโยชน์ของการขยายพันธพุ์ ืช โดยการนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ัดทใี่ ชใ้ นหน่วยการเรยี นรูน้ ้เี ขยี นเป็นแบบความเรียง)
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ นอกจากนั้นบางชนิดยังพบการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศยั เพศด้วยการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอกเกดิ ข้ึนที่ดอก โดยท่วั ไปดอกประกอบด้วย กลีบเล้ยี ง กลีบ
ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ภายในอับเรณูของเกสรเพศผู้มีเรณูทำหน้าท่ีสรา้ งสเปิร์ม ภายในออวุลของ
เกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ ซึ่งต้องมีการถ่ายเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
นำไปสู่การปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกับโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ หลังการ
ปฏิสนธิจะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปิรม์ ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ โดยมีเอนโดสเปิร์มเป็นอาหารสะสม
สำหรับเลยี้ งเอ็มบริโอ ส่วนออวุลพฒั นาไปเป็นเมลด็ และรงั ไขพ่ ัฒนาไปเปน็ ผล ผลและเมล็ดเมอ่ื เจริญเติบโต

42

เต็มที่จะกระจายออกจากต้นโดยวิธีการต่าง ๆ เม่ือเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมจะงอกเป็นต้นใหม่
สว่ นการสืบพนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศ เปน็ การสบื พันธุ์ทพ่ี ืชตน้ ใหม่พฒั นาและเจริญเติบโตมาจากเน้ือเยือ่ สว่ น
ต่าง ๆ ของพืชต้นเดิมมนุษย์นำความรู้เรื่องการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการ
ขยายพันธพ์ุ ชื ซึง่ การเลอื กวธิ ีการขยายพันธ์พุ ืชควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ พืชและความต้องการของมนุษย์
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม (รายวิชาเพ่มิ เติม)
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• พืชดอกทุกชนิดสามารถสบื พนั ธุแ์ บบอาศยั เพศได้ และบางชนดิ สามารถสบื พนั ธุแ์ บบไม่อาศัยเพศได้
• การสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศเป็นการสบื พนั ธุ์ทม่ี ีการผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสืบพันธแ์ุ บบ

อาศยั เพศของพืชดอกเกิดขนึ้ ทีด่ อก โดยภายในอับเรณูของสว่ นเกสรเพศผูม้ เี รณู ซ่ึงทำหน้าทสี่ รา้ งสเปริ ์ม
ภายในออวลุ ของสว่ นเกสรเพศเมยี มีถงุ เอ็มบรโิ อ ทำหน้าที่สรา้ งเซลลไ์ ข่

• การสบื พันธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศ เปน็ การสืบพนั ธท์ุ ี่พชื ตน้ ใหมไ่ ม่ไดเ้ กิดจากการปฏสิ นธริ ะหวา่ งสเปิร์ม
กบั เซลลไ์ ข่ แต่เกดิ จากสว่ นตา่ ง ๆ ของพืช เชน่ ราก ลำต้น ใบ มีการเจริญเติบโตและพฒั นาข้ึนมาเปน็ ต้นใหม่
ได้

• การถา่ ยเรณู คือ การเคล่ือนยา้ ยของเรณูจากอับเรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี ซ่งึ เกย่ี วข้องกบั ลกั ษณะ
และโครงสร้างของดอก เช่น สีของกลบี ดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผูแ้ ละเกสรเพศเมยี โดยมีสง่ิ ทีช่ ่วยในการ
ถา่ ยเรณู เชน่ แมลง ลม

• การถ่ายเรณูจะนำไปสู่การปฏิสนธิ ซึ่งจะเกดิ ขนึ้ ท่ีถงุ เอ็มบริโอภายในออวลุ หลงั การปฏิสนธจิ ะไดไ้ ซ
โกต และเอนโดสเปริ ม์ ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบรโิ อ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่พัฒนาไปเป็นผล

• ผลและเมลด็ มีการกระจายออกจากตน้ เดมิ โดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมท่ี
เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมลด็ โดยเอม็ บรโิ อภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะอาศัยอาหารท่ี
สะสมภายในเมล็ด จนกระท่ังใบแท้พฒั นา จนสามารถสงั เคราะห์ด้วยแสงไดเ้ ต็มท่ี และสรา้ งอาหารได้เอง
ตามปกติ

• มนษุ ยส์ ามารถนำความรเู้ รอ่ื งการสบื พันธุแ์ บบอาศัยเพศและไม่อาศยั เพศ มาใช้ในการขยายพนั ธ์ุเพ่ือ
เพ่มิ จำนวนพืช เช่น การใชเ้ มลด็ ที่ได้จากการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศมาเพาะเลี้ยง วิธีการน้ีจะได้พืชในปริมาณ
มาก แต่อาจมีลกั ษณะที่แตกต่างไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนก่ิง การปักชำการต่อกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การ
เพาะเลีย้ งเน้อื เยื่อ เป็นการนำความร้เู รื่องการสืบพนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศของพชื มาใชใ้ นการขยายพันธุเ์ พื่อให้ได้
พชื ที่มลี กั ษณะเหมือนต้นเดมิ ซ่งึ การขยายพันธุแ์ ต่ละวิธี มีขัน้ ตอนแตกตา่ งกนั จึงควรเลือกให้เหมาะสมกบั
ความต้องการของมนษุ ย์ โดยตอ้ งคำนึงถึงชนดิ ของพชื และลักษณะการสบื พนั ธข์ุ องพชื

• เทคโนโลยีการเพาะเลย้ี งเน้ือเย่อื พืช เป็นการนำความร้เู กี่ยวกบั ปัจจยั ที่จำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โต
ของพืชมาใชใ้ นการเพิ่มจำนวนพชื และทำให้พืชสามารถเจรญิ เตบิ โตไดใ้ นหลอดทดลอง ซึ่งจะไดพ้ ืชจำนวนมาก
ในระยะเวลาสัน้ และสามารถนำเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือมาประยุกตเ์ พ่ือการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื
ปรับปรงุ พนั ธุ์พชื ที่มคี วามสำคัญทางเศรษฐกิจ การผลติ ยาและสารสำคญั ในพชื และอน่ื ๆ

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลักสูตรท้องถน่ิ ใหใ้ สล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายการสบื พนั ธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศของพืชดอก

43

2. อธบิ ายลกั ษณะโครงสร้างของดอกท่ีมีสว่ นทำใหเ้ กิดการถ่ายเรณู รวมทง้ั บรรยายการปฏิสนธิของพืช

ดอกการเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด

3. ตระหนักถงึ ความสำคัญของสัตว์ทีช่ ว่ ยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดยการไม่ท ำลายชวี ิตของสตั วท์ ี่

ชว่ ยในการถา่ ยเรณู

4. เลือกวธิ กี ารขยายพนั ธ์พุ ืชให้เหมาะสมกับชนิดของพชื และความต้องการของมนุษย์ และเสนอแนว

ทางการนำความรู้เรือ่ งการขยายพันธ์พุ ืชไปใช้ในชวี ิตประจำวนั

5. อธบิ ายความสำคัญของการใชเ้ ทคโนโลยเี พาะเลี้ยงเน้ือเยอ่ื พืชในการขยายพันธ์พุ ชื เพื่อใชป้ ระโยชนด์ ้าน

ตา่ ง ๆ

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกดิ ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น)ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ
7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสตู รมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในหอ้ งเรยี นคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ใหน้ ักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ัติ , นกั เรียนเกดิ ความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิง่ ทเ่ี รยี นรู้

44

3. หลักภูมิค้มุ กนั : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุม่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทีจ่ ะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวัง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดีท่ีสดุ , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/11 -รายงานกิจกรรมที่ 4.1การถ่าย - อธิบายการสบื พันธ์แุ บบอาศยั เพศและไมอ่ าศัย

ว 1.2 ม.1/12 เรณเู กิดข้นึ ได้อย่างไร เพศของพืชดอก

ว 1.2 ม.1/13 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.2 เมล็ดงอก - อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกทม่ี สี ว่ นทำให้

ไดอ้ ย่างไร เกิดการถ่ายเรณู รวมทงั้ บรรยายการปฏิสนธิ

ของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การ กระจาย

เมลด็ และการงอกของเมล็ด

ว 1.2 ม.1/16 กิ จ ก ร รม ที่ 4 .3 เลื อ ก วิ ธี ก า ร - บอกความสำคัญของการขยายพนั ธุ์พชื
ว 1.2 ม. 1/17 ขยายพันธพ์ุ ืชอย่างไรให้เหมาะสม - อธิบ ายความ ส ำคัญ ขอ งเท คโน โลยีการ
ว 1.2 ม. 1/18
เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อพืชในการใชป้ ระโยชน์ดา้ น
ต่าง ๆ

11. การวดั ประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบัติ
11.1 การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ
วธิ ีการ
1.การสงั เกตการณ์
2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้
เครอ่ื งมอื
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ )ี้

สงิ่ ที่ต้องการวดั วธิ ีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้

- การสืบพนั ธุ์แบบอาศัย คิดเหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

เพศและไมอ่ าศัยเพศของพืช -การตรวจผลงานนักเรยี น ความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

45

ดอก คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80

- ลักษณะโครงสรา้ งของ - แบบประเมินการ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

ดอกที่มสี ่วนทำให้เกดิ การ ตรวจผลงานผูเ้ รียน - นกั เรยี นได้

ถ่ายเรณู รวมทงั้ บรรยายการ คะแนน

ปฏสิ นธิของพชื ดอกการ ประเมนิ ผลงาน

เกิดผลและเมลด็ การ 13 คะแนนขึ้นไป

กระจายเมล็ด และการงอก หรอื รอ้ ยละ 80

ของเมลด็ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- วิธีการขยายพนั ธ์ุพืชให้

เหมาะสมกับชนดิ ของพืช

และความต้องการของ

มนษุ ย์

-การใชเ้ ทคโนโลยเี พาะเล้ยี ง

เน้ือเยื่อพืชในการขยายพันธุ์

พชื

2.ทกั ษะกระบวนการคิด - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรยี นได้คะแนน

และทักษะกระบวนการกลุม่ ความคดิ เหน็ ระบุทักษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขนึ้ ไป

กระบวน ความ หรอื ร้อยละ 80

การทางวิทยาศาสตรท์ ี่ได้ปฏบิ ัติ คดิ เห็น ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมิน

- สงั เกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่ ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะที่พึง - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรียนได้

ประสงค์ ทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนและการ คุณลักษณะอันพึง คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานในระบบกลมุ่ ประสงค์ ประเมินคุณลักษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลุม่ อภิปราย แสดงความคิดเห็น อันพึงประสงค์

- นักเรยี นเหน็ ความสำคญั เก่ียวกับผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนข้ึนไป

ของการทำงานรว่ มกับผ้อู ื่น สมรรถนะผ้เู รียน หรือรอ้ ยละ 80

และการทำงานในระบบกลุ่ม ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซ่ึงกนั - นักเรียนได้

และกันมีความเสียสละและ คะแนน

อดทน การประเมนิ

สมรรถนะ

29 คะแนนขน้ึ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

46

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี 1 (สปั ดาหท์ ี่ 14)
1. ขั้นตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ห้นักเรยี นสังเกตเห็นอะไรบ้างจากภาพในหนังสือเรยี น(สังเกตเหน็ อุโมงคท์ ี่มืด มีหลอดไฟให้แสง

สว่าง มีชั้นวางและมีพชื อยู่บนช้นั )
1.2 ครตู งั้ คำถามในประเด็นต่อไปน้ี
• นักเรยี นคดิ ว่า การปลกู พืชในอุโมงค์ดังภาพ พชื จะเจรญิ เติบโตไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด (นกั เรยี น

ตอบตามความเข้าใจ เชน่ พชื เจริญเติบโตไม่ไดเ้ พราะไม่มีดิน ไม่มแี สงอาทิตย์ หรือพืชเจริญเตบิ โตได้ เพราะ
สามารถปลกู พชื แบบไมใ่ ช้ดนิ ได้และสามารถใชแ้ สงไฟฟ้าแทนแสงอาทติ ย์ได)้

• นักเรยี นคดิ วา่ ตอ้ งทำอย่างไรบ้าง ใหอ้ ุโมงค์ใต้ดนิ มสี ภาพแวดลอ้ มที่สามารถปลกู พืชได้ (ต้องศึกษา
ความต้องการของพชื ปรับพ้ืนที่ วางระบบน้ำ ระบบไฟ และระบบระบายอากาศให้เหมาะสมต่อการเจริญ
เตบิ โตของพชื )

1.3 ครูนำเข้าสู่บทเรยี นโดยใชค้ ำถามว่านักเรียนมีความร้เู ก่ยี วกับการสบื พันธ์ุของพชื ดอกหรือไม่
1.4 ครใู ห้นกั เรียนดวู ดี ิทัศน์ ทเ่ี ก่ยี วกับปญั หาการเพ่มิ จำนวนของผกั ตบชวาในแหลง่ นำ้ ของประเทศไทย
และรว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกบั การเพ่ิมจำนวนของผกั ตบชวา โดยอาจใชค้ ำถามดังนี้

• นักเรยี นคิดว่าผกั ตบชวาที่แพรพ่ นั ธุ์เต็มผนื น้ำสง่ ผลกระทบต่อส่ิงใดบ้าง อย่างไร (นักเรียนตอบ
ตามความเข้าใจ เชน่ กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาการจราจรทางน้ำ ทำให้นำ้ เน่าเสียซึง่ สง่ ผลต่อการดำรงชีวติ ของสตั วน์ ้ำ)

• ผกั ตบชวาเพ่มิ จำนวนได้อยา่ งไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ เชน่ เพิ่มโดยการสืบพนั ธแ์ุ บบ
อาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศ)

• พชื ชนิดใดบ้าง ทสี่ ามารถเพ่ิมจำนวนได้แบบเดียวกับผกั ตบชวา และเพ่ิมจำนวนอย่างไร (นกั เรยี น
ตอบตามความเข้าใจ เชน่ บัวสาย)

1.5 นกั เรยี นทำกิจกรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรยี น
ชวั่ โมงท่ี 2-3 (สัปดาหท์ ่ี 14)
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นักเรยี นทบทวนความรู้เกี่ยวกับส่วนประกอบของดอก และหน้าทขี่ องแตล่ ะส่วนประกอบ โดย
อาจนำดอกพชื มาใหด้ แู ละสงั เกตส่วนประกอบแต่ละส่วน เพ่อื ใหเ้ หน็ อย่างชดั เจนว่าเรณูกบั ถงุ เอ็มบรโิ ออย่คู น
ละสว่ นกนั ครูใชค้ ำถามเพ่อื ใหน้ ักเรียนคิดวเิ คราะห์ ดังนี้

• สว่ นใดของดอกท่เี กี่ยวข้องโดยตรงกบั การสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศของพชื ดอก เพราะเหตุใด (ส่วน
เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี เพราะวา่ เกสรเพศผ้เู ปน็ ส่วนที่สรา้ งเซลล์สบื พนั ธเ์ุ พศผู้ และเกสรเพศเมยี เป็นสว่ น
ทส่ี รา้ งเซลลส์ ืบพนั ธเ์ุ พศเมยี )

• การสืบพันธุแ์ บบอาศยั เพศของพืชมีข้นั ตอนอย่างไร (การถ่ายเรณู และการผสมกนั ของเซลล์
สบื พนั ธ์เุ พศผู้และเซลล์สบื พนั ธ์ุเพศเมยี )

• การถ่ายเรณเู กิดขน้ึ ได้อย่างไร มีสิ่งใดบา้ งที่ชว่ ยในการถ่ายเรณู (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)
2.2 ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ไดข้ ้อสรุปว่า การสบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศของพืชจะเกิดขึน้ ท่ีดอก ส่วนของ
ดอกทที่ ำหน้าทสี่ ร้างเซลลส์ ืบพันธ์ุเพศผู้ คือ เรณู ซ่ึงอยใู่ นอับเรณูของเกสรเพศผู้ และส่วนท่สี รา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ
เพศเมีย คือ ถุงเอ็มบริโอ ซ่งึ อยูใ่ นออวุลของเกสรเพศเมยี การสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศต้องมีการผสมกันของ
เซลล์สืบพันธ์เุ พศผู้และเซลลส์ ืบพนั ธุเ์ พศเมยี จึงต้องมีการเคลื่อนย้ายเรณูจากอับเรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี
เรณูจากอับเรณูจะไปตกบนยอดเกสรเพศเมียได้อย่างไรนนั้ จะได้ทราบจากการทำกจิ กรรมท่ี 4.1

47

2.3 นักเรยี นในกลมุ่ สงั เกตดอกพืชทลี ะชนดิ ไปพรอ้ มกันทง้ั กลุม่ เพ่ือให้มีการลงความเห็นกันในกล่มุ และ
บันทึกผล ครูสงั เกตการบันทึกผลของนักเรียน ใหข้ ้อแนะนำถา้ เกิดขอ้ ผิดพลาดหรือบันทึกผลไม่ครบถว้ น เพื่อ
นำข้อมลู ทคี่ วรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั ทำกิจกรรม

2.4 นักเรียนรวบรวมข้อมลู เร่ืองการถ่ายเรณขู องพชื ดอก เช่น การชมวีดิทัศน์ และบันทึกข้อมูล เช่น
ความจำเพาะของลักษณะดอกของพืช และส่ิงทช่ี ว่ ยในถ่ายเรณู สิง่ ท่พี ชื ใชใ้ นการดึงดูดสัตว์มาถา่ ยเรณู และสิง่
ที่สัตว์ได้รบั จากการถา่ ยเรณู

2.5 นักเรียนนำข้อมูลวิธกี ารถ่ายเรณูของพืชดอกแตล่ ะชนิด มานำเสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น การเขยี น
แผนภาพ หรือการทำภาพเคลือ่ นไหวโดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู หรอื แอปพลเิ คชัน สำหรบั จัดทำงานนำเสนอ

2.6 รว่ มกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรยี นสรุปได้ว่าวธิ ีการถา่ ยเรณขู องพชื ดอกแต่ละชนดิ เกีย่ วข้องกับ
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของดอกพชื ท้ังรปู รา่ ง ขนาด สี กลนิ่ ตำแหนง่ ของเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมีย ซง่ึ จะสัมพนั ธ์
กบั สิ่งทีช่ ่วยในการถ่ายเรณู เช่น สัตว์ ลม น้ำ

ชั่วโมงที่ 4 (สัปดาห์ท่ี 15)
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครเู ชื่อมโยงความรขู้ องนักเรยี นท่ีไดจ้ ากเรื่องวิธกี ารถา่ ยเรณูของพืชดอก และตรวจสอบความรู้เดิมใน
เร่อื งการปฏิสนธิของพืชดอก โดยอาจใช้คำถามดังน้ี

• การถ่ายเรณู เรณจู ะไปตกทสี่ ่วนใดของเกสรเพศเมีย (ยอดเกสรเพศเมีย)
• หลังจากถ่ายเรณูแล้ว เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่ในเรณูจะเข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียได้
อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ)
3.2 ครูให้นักเรียนให้นักเรียนอ่านจับใจความและสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียนเกี่ยวกับการปฏิสนธิของ
พชื ดอก จากนนั้ ซกั ถาม โดยอาจใช้คำถามดังตอ่ ไปน้ี
• ไซโกตเกิดข้ึนได้อยา่ งไร (ไซโกต เกดิ จากการปฏิสนธิของสเปิร์มกบั เซลล์ไข)่
• ไซโกตมีความสำคัญอย่างไร (ไซโกตเป็นเซลล์ที่จะพัฒนาไปเป็นเอ็มบริโอ ซึ่งเป็นส่วนที่มีลักษณะ
คล้ายต้นออ่ นอยู่ในเมล็ด)
• เอนโดสเปิร์มเกิดขึ้นได้อย่างไร และสำคัญอย่างไร (เอนโดสเปิร์มเกิดจากการปฏิสนธิของสเปิร์มกับ
โพลาร์นิวคลไี อมีความสำคญั เพราะเปน็ แหล่งสะสมอาหารในเมลด็ )
• ผล และเมลด็ พัฒนามาจากสว่ นใด (ผลพฒั นามาจากรงั ไข่ เมล็ดพฒั นามาจากออวุล)
3.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหาทั้งหมดที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเพิ่มเติม
โดยอาจให้นักเรียนวาดภาพขั้นตอนตั้งแต่การถ่ายเรณูจนถึงการปฏิสนธิของพืชดอก เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การ
สบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศของพชื ดอกเกดิ ขึ้นทดี่ อก มกี ารถา่ ยเรณูจากอับเรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมียโดยมีสง่ิ
ตา่ ง ๆ ช่วยในการถ่ายเรณูจากนั้นสเปิร์มในเรณูจะเข้าไปปฏิสนธิกับเซลล์ไข่และโพลาร์นวิ คลีไอในถุงเอ็มบริโอ
ได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะพัฒนาและเจริญเติบโตไปเป็นเมล็ด รังไข่จะพัฒนาและเจริญเติบโต
เป็นผล
3.4 ครูและนักเรียนร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับการถ่ายเรณูของพืชซ่ึงเป็นกระบวนการท่ีนำไปสู่การ
ปฏิสนธิของพืชดอก ทำให้เกิดไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะเจริญเติบโตเป็นเมล็ด และรังไข่จะ
เจริญเติบโตเปน็ ผลห่อห้มุ เมลด็ ครูอาจใชค้ ำถามตอ่ ไปว่าเมลด็ พืชมสี ่วนประกอบใดบ้าง เมล็ดพืชงอกได้อย่างไร
เมลด็ มคี วามสำคัญตอ่ พืชอย่างไรเพอื่ เช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 4.2 เมล็ดงอกไดอ้ ยา่ งไร
ชัว่ โมงที่ 5-6 (สปั ดาห์ที่ 15)

48

4. ข้ันการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนทำกิจกรรมตามขน้ั ตอน โดยครเู น้นย้ำในเรื่องการใช้ใบมีดโกนผา่ เมล็ดดว้ ยความระมัดระวัง

สังเกตการร่วมมือกันภายในกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลเรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ

เมล็ดจากแหล่งท่ีน่าเชื่อถือ และเน้นให้นักเรียนบันทึกผลการสังเกตโดยการวาดภาพส่วนประกอบของเมล็ด

4.2 นักเรียนนำเสนอข้อมูลส่วนประกอบและหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ด โดยวิธีการต่าง ๆ

เช่น นำแผนภาพไปติดที่ผนังห้องเรียน และให้เพ่ือนร่วมชั้นเรียนศึกษาข้อมูล จากน้ันร่วมกันอภิปราย

เปรียบเทียบข้อมูลทีไ่ ด้จากการทำกิจกรรมของแต่ละกลุม่ ถา้ มีขอ้ มูลใดคลาดเคล่ือน ควรอภิปรายเพื่อแก้ไขให้

ถกู ตอ้ ง

ช่วั โมงที่ 7-8 (สัปดาหท์ ี่ 16)

5. ขน้ั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกนั อภิปรายคำตอบเพ่ือใหน้ กั เรยี นสรปุ ได้วา่ เมลด็ ถว่ั แดง

และเมล็ดข้าวโพดมสี ว่ นประกอบแตกต่างกนั สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเมล็ดทำหน้าทแี่ ตกต่างกัน

5.2 นกั เรยี นอา่ นเน้ือหาในหนังสอื รว่ มกนั อภปิ รายเพื่อให้ไดข้ อ้ สรปุ เก่ียวกบั สว่ นประกอบ และหนา้ ท่ีของ

แตล่ ะส่วนประกอบของเมลด็ เพื่อลงขอ้ สรปุ ว่าเมล็ดพชื แต่ละชนิดมีลกั ษณะและส่วนประกอบบางอยา่ ง

แตกต่างกนั บางอยา่ งเหมือนกนั ซึ่งโดยทว่ั ไปเมลด็ พืชประกอบดว้ ย เปลอื กหมุ้ เมลด็ ท่เี ป็นสว่ นห่อห้มุ

ส่วนประกอบอื่น ๆ ของเมลด็ เอ็มบริโอทเี่ ป็นต้นอ่อนภายในเมลด็ และเอนโดสเปิรม์ เป็นอาหารสะสมภายใน

เมลด็

5.3 ครูอาจใชค้ ำถามต่อไปว่า ทำอย่างไรเมล็ดจงึ จะงอก และเม่ือเมล็ดงอกจะมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร

เพอื่ เชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมที่ 4.2 เมลด็ งอกได้อย่างไร ตอนที่ 2

5.4 นักเรียนวางแผนการเพาะเมล็ดเพื่อสังเกตการงอกร่วมกัน ออกแบบตารางบันทึกผลการเปล่ียนแปลง

ของเมลด็ ขณะงอกใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นทำกจิ กรรม ครูตรวจสอบการออกแบบวิธีการเพาะเมล็ดของนักเรยี นว่ามี

ปัจจัยใดบ้างทเ่ี กยี่ วกบั การงอกของเมล็ด ตรวจสอบตารางบนั ทึกผลของนกั เรียน และให้คำแนะนำปรับแก้ตาม

ความเหมาะสม

5.5 นักเรยี นตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพ่ือใหน้ กั เรียนสรุปได้ว่าเมลด็ จะงอก

ได้ต้องอยู่ในสภาพทม่ี ีน้ำหรือความช้นื มแี กส๊ ออกซิเจน และมีอุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสม ในขณะงอกเมลด็ พชื ทีม่ ี

สว่ นประกอบแตกตา่ งกัน จะมกี ารเปลย่ี นแปลงขณะงอกท่ีแตกตา่ งกนั

13. สอื่ การเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมดุ

14. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ :

- การสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศ ......................................................................................

ของพชื ดอก ......................................................................................

- ลกั ษณะโครงสร้างของดอกทมี่ ีส่วนทำให้เกิด ......................................................................................

การถา่ ยเรณู รวมท้งั บรรยายการปฏิสนธขิ องพืช ......................................................................................

49

ดอกการเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมลด็ และ .....................................................................................

การงอกของเมล็ด ......................................................................................

- วธิ ีการขยายพนั ธพุ์ ชื ใหเ้ หมาะสมกับชนดิ ของ .....................................................................................

พืชและความต้องการของมนุษย์ .....................................................................................

-การใช้เทคโนโลยเี พาะเลยี้ งเนอื้ เยือ่ พืชในการ .....................................................................................

ขยายพนั ธุพ์ ชื

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วิธีแก้ปญั หา
....................................................................... . ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
.....................................................................................
......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงชื่อ........................................... ลงช่ือ...........................................
(..............................................) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หวั หน้างานนเิ ทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

50

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่…….4……..การดำรงชวี ติ ของพืช..........เรอ่ื ง...การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง....
รายวิชา……......วิทยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี....1.....
กล่มุ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรยี นที.่ .1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีท้งั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชี้วดั
รายวิชาเพ่ิมเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่งิ มีชีวิต หน่วยพ้นื ฐานของสิง่ มชี ีวติ การลำเลยี งสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าทขี่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนษุ ย์ท่ที ำงาน
สัมพนั ธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพนั ธ์กนั รวมท้ังนำ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชว้ี ดั
ว 1.2 ม. 1/6 ระบปุ ัจจยั ท่จี ำเป็นในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงและผลผลติ ทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการสังเคราะห์
ดว้ ยแสง โดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์
ว 1.2 ม. 1/7 อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อส่งิ มชี วี ิตและสง่ิ แวดล้อม
ว 1.2 ม. 1/8 ตระหนกั ในคุณค่าของพชื ทม่ี ตี ่อสง่ิ มชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม โดยการร่วมกันปลูกและดแู ล
รักษาตน้ ไมใ้ นโรงเรยี นและชุมชน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ัดท่ีใชใ้ นหน่วยการเรียนรู้นเ้ี ขยี นเป็นแบบความเรียง)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดข้ึนในคลอโรพลาสต์ เป็นกระบวนการท่ีนำพลังงานแสง
มาเปล่ียนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำให้เป็นน้ำตาล พืชจะเปล่ียนน้ำตาลเป็นสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ
และ เก็บสะสมในโครงสร้างต่าง ๆ ของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานที่สำคัญของส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น
นอกจากน้ีการสังเคราะหด์ ้วยแสงยังเป็นกระบวนการผลติ แก๊สออกซิเจนออกสบู่ รรยากาศ เพ่อื ใหส้ ่ิงมชี ีวติ ชนิด
อ่ืนนำไปใช้ในกระบวนการหายใจ

51

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พ่ิมเติม (รายวชิ าเพมิ่ เติม)

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

• กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ทเ่ี กิดข้นึ ในคลอโรพลาสต์ จำเป็นตอ้ งใช้แสง แก๊สคาร์

บอนได-ออกไซด์ คลอโรฟลิ ล์ และน้ำ ผลผลิตท่ีได้จาก การสังเคราะห์ดว้ ยแสง ได้แก่ น้ำตาลและแก๊ส

ออกซิเจน

• การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง เป็นกระบวนการทส่ี ำคัญต่อสงิ่ มชี ีวิต เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่สามารถ

นำพลังงานแสงมาเปล่ียนเป็นพลังงานในรปู สารประกอบอินทรียแ์ ละเก็บสะสมในรูปแบบต่าง ๆ ในโครงสรา้ ง

ของพชื พืชจงึ เป็นแหลง่ อาหารและพลงั งานทส่ี ำคญั ของส่ิงมชี วี ิตอ่ืน นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะหด์ ้วย

แสงยังเป็นกระบวนการหลักในการสรา้ งแกส๊ ออกซเิ จนให้กับบรรยากาศเพื่อใหส้ ่งิ มีชีวิตอ่ืน ใช้ในกระบวนการ

หายใจ

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสตู รทอ้ งถนิ่ ให้ใสล่ งไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายปัจจยั ท่จี ำเปน็ ในการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืชและผลผลิตทไี่ ดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง

2. อธบิ ายความสำคญั ของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชต่อสง่ิ มีชีวิตและส่งิ แวดล้อม

3. ตระหนักในคุณค่าของพชื ท่ีมตี อ่ สง่ิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกันปลกู และดูแลรักษาตน้ ไมใ้ น

โรงเรียนและชมุ ชน

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อทเี่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรูน้ ี)้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สตั ยส์ ุจริต

 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคุณลักษณะของผ้เู รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะด้านความเขา้ ใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

52

 ทกั ษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ใหน้ ักเรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสง่ิ ท่ีเรียนรู้

3. หลกั ภมู ิค้มุ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกล่มุ และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวัง

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที ี่สุด , มีวนิ ัยในการ

ทำงาน

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้ีวดั ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/6 -รายงานกิจกรรมที่ 4.4 ปัจจัยใน - อธบิ ายวา่ แสงคลอโรฟลิ ล์ แก๊สคาร์บอน

ม.1/7, ม. 1/8 การสรา้ งอาหารของพืชมอี ะไรบ้าง ไดออกไซดเ์ ปน็ ปจั จยั ที่จำเป็นในการสังเคราะห์

-รายงานกิจกรรมที่ กิจกรรมที่ 4.5 ดว้ ยแสงของพชื

การสงั เคราะห์ด้วยแสงไดผ้ ลผลติ - อธบิ ายวา่ น้ำตาลและแกส๊ ออกซเิ จน เป็น

ใดอกี บ้าง ผลผลติ ท่ีเกดิ ขึ้นจากการสังเคราะหด์ ้วยแสง

- อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์

ดว้ ยแสงของพชื ตอ่ สิ่งมีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม

- รว่ มปลูกและดแู ลรักษาต้นไม้ในโรงเรียนและ

ชมุ ชน

11. การวดั ประเมนิ ผล 3.การวัดประเมินการปฏบิ ัติ
11.1การวดั และประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบตั ิ
วิธีการ
1.การสงั เกตการณ์
2.การใชช้ ุดกจิ กรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้
เครื่องมือ
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

เกณฑ์
1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

53

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรยี นรู้น)ี้

สิง่ ทีต่ ้องการวดั วิธวี ดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ กีย่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้

- ปัจจัยทีส่ ำคัญในการ คดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนน

สงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช -การตรวจผลงานนกั เรียน ความ 12 คะแนนข้นึ ไป

และผลผลิตทีไ่ ด้จากการ คดิ เหน็ หรอื ร้อยละ 80

สังเคราะห์ด้วยแสง - แบบประเมินการ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ความสำคัญของ ตรวจผลงานผ้เู รยี น - นกั เรียนได้

การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง คะแนน

ของพชื ต่อสิง่ มีชวี ิตและ ประเมินผลงาน

ส่ิงแวดลอ้ ม 13 คะแนนขน้ึ ไป

-ตระหนกั ในคุณค่าของพืชที่ หรอื ร้อยละ 80

มตี ่อสิง่ มชี ีวิตและส่ิงแวด ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ลอ้ มโดยการรว่ มกันปลกู

และดแู ลรักษาต้นไมใ้ น

โรงเรียนและชุมชน

2.ทักษะกระบวนการคิด - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นได้คะแนน

และทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็นระบทุ ักษะ อภปิ รายแสดง 12 คะแนนข้นึ ไป

กระบวน ความ หรอื ร้อยละ 80

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีได้ปฏบิ ัติ คิดเหน็ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมนิ

- สังเกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ - สงั เกตคา่ นิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรียนได้

ประสงค์ ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื และการ คณุ ลักษณะอนั พึง คะแนน

และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ ประเมินคุณลักษณะ

- มีวินยั ในการทำงานกลุ่ม อภิปราย แสดงความคิดเหน็ อันพงึ ประสงค์

- นักเรยี นเห็นความสำคัญ เกย่ี วกบั ผลการทดลอง - แบบประเมิน 26 คะแนนข้ึนไป

ของการทำงานรว่ มกบั ผูอ้ ่ืน สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

และการทำงานในระบบกลุ่ม ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซงึ่ กนั - นักเรยี นได้

และกันมีความเสยี สละและ คะแนน

อดทน การประเมิน

สมรรถนะ

29 คะแนนขึ้นไป

54

หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ชวั่ โมงท่ี 9 (สัปดาหท์ ่ี 16)
1. ขั้นต้ังประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ช้คำถามว่าหลงั จากงอกออกจากเมลด็ แลว้ พชื ใช้อาหารจากแหล่งใดในการเจรญิ เติบโต
1.2 ครใู หน้ ักเรยี นสังเกต วดี ิทัศน์ หรือส่ืออื่น ๆ ท่เี กี่ยวกับการงอกของเมล็ดพืชตง้ั แต่เร่มิ งอก จนใบแท้

เจริญเตม็ ที่ จากนั้นตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเกยี่ วกบั อาหารของพชื โดยใหอ้ า่ นเน้ือหานำบท และ
รว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั อาหารของพชื โดยอาจใชค้ ำถามดังน้ี

• ส่วนใดของเมล็ดทเี่ ป็นอาหารสำหรบั ใช้ในการงอกของเมล็ด (เอนโดสเปริ ม์ หรอื ใบเล้ยี ง)
• ถา้ อาหารในเอนโดสเปิรม์ หรอื ใบเลย้ี งหมดไป พชื จะนำอาหารจากทีใ่ ดมาใช้ในการเจริญเติบโต
(นักเรยี นตอบตามความเข้าใจเช่น สร้างอาหารข้ึนมาใหม่ได้เอง)
1.3 นกั เรียนทำกจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี น
1.4 ครทู บทวนความรเู้ กยี่ วกับปัจจัยในการเจรญิ เตบิ โตของพืช และความสำคัญของโครงสร้างในเซลล์พืช
โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้
• ปจั จัยในการเจริญเติบโตและการดำรงชวี ติ ของพชื มีอะไรบา้ ง
• โครงสร้างใดในเซลล์ของพืชมหี นา้ ท่ใี นการสรา้ งอาหารของพชื เพราะเหตใุ ด
ช่วั โมงที่ 10-11 (สปั ดาหท์ ี่ 17)
2. ขั้นสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครรู ว่ มกันอภิปรายเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรุปว่าพืชเปน็ ส่ิงมชี ีวิตท่ตี ้องการ นำ้ แสง และอากาศในการ
เจริญเติบโตและการดำรงชวี ิต พืชมคี ลอโรพลาสต์ซ่ึงเปน็ โครงสรา้ งในเซลล์ทมี่ หี น้าท่ีสรา้ งอาหาร ส่วนพืชจะ
สร้างอาหารได้อย่างไรและใช้ปจั จัยใดบ้างในการสร้างอาหารนัน้ จะได้ทราบจากการทำกิจกรรมที่ 4.4
2.2 นกั เรยี นอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 1 ในหนังสือเรียน และรว่ มกันอภิปรายในประเด็น
ดังตอ่ ไปนี้
• กิจกรรมนีเ้ ก่ยี วกับเรอ่ื งอะไร (ปัจจัยในการสรา้ งอาหารของพืช)
• กจิ กรรมนมี้ ีจุดประสงค์อะไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธกี ารดำเนนิ กิจกรรมโดยสรุปเป็นอยา่ งไร (นำตน้ ผกั บุ้งไปวางในทม่ี ืดเป็นเวลา 2 วัน หมุ้ ใบผักบุ้ง
1 ใบ ด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ นำไปวางกลางแดด จากนน้ั เดด็ ใบผกั บุ้งใบทห่ี ้มุ ดว้ ยกระดาษทบึ แสงกบั ใบท่ี
ไม่ได้หุ้มมาสกดั คลอโรฟิลลอ์ อก แลว้ ทดสอบแปง้ ด้วยสารละลายไอโอดนี )
• สงั เกตได้อย่างไรว่าใบผกั บุ้งมกี ารสรา้ งอาหาร (สงั เกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุง้ ที่
เปลย่ี นจากสีน้ำตาลเป็นสีนำ้ เงนิ เข้มถึงดำ)
2.3 นำอภิปรายโดยการใช้คำถามเพื่อพฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียน ดงั นี้
• สมมตฐิ านของการทดลองนี้ คอื อะไร (ถ้าแสงเป็นปัจจัยท่ีจำเปน็ ต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช
ดังนั้นเม่อื นำใบผักบุ้งทไี่ ดร้ บั แสงไปทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดีน สขี องสารละลายไอโอดีนจะเปล่ียนจากสี
นำ้ ตาลเป็นสนี ้ำเงิน)

55

• ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรท่ีต้องควบคุมของการทดลองน้ีคืออะไร (ตัวแปรต้น คือ การไดร้ ับ
แสงของใบผกั บงุ้ ตวั แปรตาม คือ การเปล่ยี นแปลงสขี องสารละลายไอโอดนี เม่ือทดสอบกับใบผกั บงุ้ ตัวแปรท่ี
ตอ้ งควบคุม คือ ขนาดและอายุ ของใบผักบุ้ง บริเวณทว่ี างกระถางผักบุง้ )

• นยิ ามเชิงปฏิบัตกิ ารของการทดลองนีค้ ืออะไร (การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของใบผักบุ้งตรวจสอบได้
จากแปง้ ท่เี กดิ ขึ้นท่ีใบ)

2.4 ร่วมกนั อภปิ รายเปรียบเทียบข้อมลู ที่ไดจ้ ากการทำกิจกรรม สาเหตุท่ที ำใหผ้ ลการทำกิจกรรม
คลาดเคล่อื น เช่น สกดั คลอโรฟลิ ลอ์ อกไม่หมด ไม่ได้นำกระถางผักบุง้ ไปไว้ในทม่ี ดื หรือในวนั ท่ีทำการทดลอง
ไม่มีแสง หรือได้รับแสงนอ้ ยไป

2.5 รว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปไดว้ ่าแสงเป็นส่ิงท่ีจำเปน็ ตอ่ การสร้างอาหารของพืช
2.6 ร่วมสนทนากับนกั เรียนเกี่ยวกบั เรื่องแสงเปน็ ปัจจัยในการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื และครูอาจใช้
คำถามต่อไปว่านอกจากแสงแล้วมีสิ่งใดอีกที่จำเปน็ ต่อการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช เพื่อเช่ือมโยงกบั กจิ กรรม
ตอนท่ี 2
ชวั่ โมงที่ 12-14 (สปั ดาหท์ ่ี 17-18)
3. ข้ันสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 2 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดงั ต่อไปนี้

• กิจกรรมนเ้ี กย่ี วกบั เรื่องอะไร (ปจั จัยสำหรับการสร้างอาหารของพชื )
• กจิ กรรมนม้ี ีจุดประสงคอ์ ะไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรมโดยสรุปเปน็ อยา่ งไร
• ใบชบาด่างส่วนทมี่ สี เี ขียว แสดงวา่ ส่วนนีม้ สี ิ่งใดอยใู่ นเซลล์ (มคี ลอโรพลาสต์ทมี่ ีคลอโรฟลิ ล์)
• สังเกตได้อย่างไรว่าใบชบาด่างมีการสร้างอาหาร (สังเกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบชบาด่างจะ
เปลีย่ นจากสีนำ้ ตาลเปน็ สีน้ำเงินเขม้ ถงึ ดำ)
3.2 นักเรียนทำกิจกรรมตามข้ันตอน โดยครูสังเกตการบันทึกลักษณะของใบชบาด่างก่อนนำไปต้ม การ
จัดและใช้อุปกรณ์สำหรับการสกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบ การทดสอบแป้ง ด้วยสารละลายไอโอดีนการสังเกต
และการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้ข้อแนะนำถ้าเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำ รวมทั้งนำ
ข้อมูลที่ควรจะปรับปรงุ และแก้ไขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังการทำกจิ กรรม
3.3 นำเสนอข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของสีของสารละลายไอโอดีนหลังจากทดสอบกับใบชบาด่างใน
รปู แบบท่ีนา่ สนใจ เชน่ วาดภาพและระบายสีโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู ต่าง ๆ
3.4 นักเรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และร่วมกนั อภิปรายคำตอบเพื่อใหน้ ักเรยี นสรุปได้ว่าส่วนที่มสี ีเขยี ว
ของพืชเป็นส่วนท่ีมีการสร้างอาหาร และสีเขียวที่พบในพืช เรียกว่า คลอโรฟิลล์ ซึ่งเป็นสารสีเขียวที่อยู่ในคลอ
โรพลาสต์
3.5 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองแสงและคลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยสำคัญในการสังเคาะห์ด้วยแสง
ของพืช ครูอาจใช้คำถามต่อไปว่า นอกจากแสงและคลอโรฟิลล์แล้วยังมีส่ิงใดอีกท่ีจำเป็นต้องใช้ในการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช เพอื่ เชอ่ื มโยงไปสู่กิจกรรมตอนที่ 3
3.6 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 3 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดังตอ่ ไปนี้
• กิจกรรมนี้เกย่ี วกับเรื่องอะไร (ปจั จยั ในการสร้างอาหารของพชื )
• กจิ กรรมนม้ี ีจุดประสงค์อะไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)

56

• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (อ่านวิธีการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลองจาก
วิธีการทดลองหาปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่กำหนดให้ และลงข้อสรุปว่าในการทดลองนี้มีส่ิงใดเป็น
ปัจจยั ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช)

3.7 นักเรียนทำกจิ กรรมตามข้ันตอน โดยสังเกตการร่วมกันวิเคราะห์วธิ ีการทดลอง การตั้งสมมติฐานการ
ทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม และการวิเคราะห์ผลการทดลองเพื่อลง
ขอ้ สรุปรว่ มกนั

3.8 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรุปได้ว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการ
สรา้ งอาหารของพชื

ชัว่ โมงท่ี 15 (สปั ดาหท์ ี่ 18)
4. ขั้นการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 รว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ ว่าปจั จัยท่ีจำเป็นใน
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่ แสง สารสีเขียวหรือคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ สิ่งที่
สามารถระบุได้ว่ามีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้น คือ เม่ือทดสอบใบของพืชด้วยสารละลายไอโอดีน พบว่าสี
ของสารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้ม แสดงว่ามีแป้งเกิดข้ึนในใบพืชโดยแป้งเป็นสารที่เปล่ียนมา
จากน้ำตาลซึ่งเป็นผลผลิตชนิดแรกของการสังเคราะห์ด้วยแสง และครูควรเน้นย้ำกับนักเรียนในการอภิปราย
หลงั จากอ่านเนื้อเร่ืองว่าผลผลิตชนิดแรกที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง คือ นำ้ ตาล
4.2 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชว่าประกอบด้ วยแสง
คลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ และการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ผลผลิต คือ น้ำตาล และครูอาจใช้
คำถามต่อไปว่านอกจากน้ำตาลแล้ว ผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสงยังมีอะไรอีกบ้าง เพ่ือเช่ือมโยงเข้าสู่
กจิ กรรมที่ 4.5 การสังเคราะห์ดว้ ยแสงไดผ้ ลผลติ ใดอีกบา้ ง
4.3 นกั เรียนอ่านวธิ ีการดำเนินกิจกรรมในหนงั สอื เรยี น และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี

• กจิ กรรมน้เี กีย่ วกับเรื่องอะไร (ผลผลิตจากการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช)
• กจิ กรรมนม้ี ีจุดประสงคอ์ ะไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (นำสาหร่ายหางกระรอกบรรจุในกรวยแก้วแล้วนำไป
คว่ำใส่ในบกี เกอร์ที่มีนำ้ ครอบก้านกรวยแก้วด้วยหลอดทดลองท่ีมีน้ำเต็ม ทำ 2 ชดุ ชดุ หน่ึงนำไปวางกลางแดด
และอีกชุดนำไปวางในกล่องทึบ สังเกตส่ิงท่ีเกิดขึ้นในหลอดทดลองท้ัง 2 ชุด เม่ือครบ 90 นาที(ครูจัดชุด
อุปกรณ์ไว้ล่วงหน้า) ยกหลอดทดลองข้ึนโดยใช้นิ้วปิดปากหลอดไว้และแหย่ธูปที่ติดไฟแต่ไม่มเี ปลวไฟเข้าไปใน
หลอดทดลอง)
5. ขนั้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรยี นนำผลการสงั เกตทีบ่ นั ทกึ ไวม้ านำเสนอ ร่วมกันอภปิ รายเปรยี บเทียบข้อมูลท่ไี ด้ สาเหตุท่ที ำ
ใหผ้ ลการทำกจิ กรรมคลาดเคล่ือน เชน่ ไม่สามารถสงั เกตเห็นการเปลยี่ นแปลงของปลายธูปเมอื่ ทดสอบแก๊ส
ออกซเิ จนหรือเหน็ ผลการทดสอบไม่ชัดเจน ครูอาจถามคำถามเพ่ิมเตมิ หรืออาจเปรียบเทียบผลจากกล่มุ อื่น
หรืออาจเปดิ วดี ิทศั น์การทดลองท่ีคลา้ ยคลึงกันใหน้ กั เรยี นชม
5.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือใหน้ กั เรียนสรุปได้วา่ ชุดการทดลองที่วางกลางแดดมฟี องแกส๊
เกดิ ขน้ึ ในหลอดทดลอง เม่ือทดสอบสรุปไดว้ ่าแกส๊ ทีเ่ กดิ ขึน้ คือแก๊สออกซเิ จน ดังนัน้ ผลผลิตของการสงั เคราะห์
ดว้ ยแสงของพชื คอื นำ้ ตาลและแกส๊ ออกซเิ จน

57

5.3 รว่ มกันอภิปรายเกย่ี วกับการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชเพ่อื ให้ได้ข้อสรุปวา่ กระบวนการสงั เคราะห์

ด้วยแสงมีความสำคัญตอ่ การดำรงชีวติ ของพชื และสง่ิ มชี วี ติ ชนิดอื่นรวมทง้ั ต่อสิ่งแวดล้อมเพราะเป็น

กระบวนการเดยี วทีน่ ำพลังงานแสงมาเปลีย่ นให้เปน็ พลงั งานเคมเี กบ็ ไว้ในรปู ของสารประกอบอินทรยี ์

ทเี่ ปน็ อาหารให้กับส่งิ มชี วี ิตทุกชนดิ บนโลก และเป็นกระบวนการท่ีมีการผลิตแก๊สออกซเิ จนสำหรับใหพ้ ืชเอง

และส่งิ มีชีวติ ชนดิ อน่ื ๆ ใชใ้ นการหายใจ รวมทงั้ ยงั มสี ่วนช่วยรักษาสมดลุ ของปริมาณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์

และแกส๊ ออกซิเจนในอากาศ ทำให้สง่ิ มชี ีวิตชนดิ ตา่ งๆ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้

13. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

13.1ส่อื การเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมดุ

14. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ :

- ปจั จยั ทีส่ ำคัญในการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของ ......................................................................................

พืชและผลผลิตทไ่ี ดจ้ ากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง ......................................................................................

- ความสำคญั ของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ......................................................................................

ของพชื ต่อสิง่ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม ......................................................................................

-ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีตอ่ ส่ิงมีชีวิตและ .....................................................................................

สง่ิ แวดล้อมโดยการรว่ มกันปลกู และดูแลรักษา ......................................................................................

ตน้ ไมใ้ นโรงเรยี นและชมุ ชน .....................................................................................

2. ด้านกระบวนการ :

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม

อันพึงประสงค์ :

- มวี ินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพยี ง ...............................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

58

5. วธิ ีแก้ปญั หา ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผสู้ อน ลงช่ือ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์..) (นายสุรจักริ์ แกว้ ม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงช่อื ...........................................
(..............................................) (..นายศวิ าวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่…….4……..การดำรงชีวิตของพชื ......เรอื่ ง...การลาเลยี งนา้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพืช....
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร…์ …..1.......รหัสวชิ า…......ว 21101 ..............ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที .่ี ...1.....
กล่มุ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรียนท่.ี .1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

59

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพ้นื ฐานมที งั้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชว้ี ดั
รายวิชาเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องส่ิงมีชวี ติ หน่วยพนื้ ฐานของส่งิ มชี ีวิต การลำเลยี งสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท่ี ำงาน
สัมพันธก์ นั ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทำงานสมั พันธ์กนั รวมท้งั นำ
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวดั
ว 1.2 ม. 1/9 บรรยายลักษณะและหนา้ ท่ีของไซเล็มและโฟลเอ็ม
ว 1.2 ม. 1/10 เขยี นแผนภาพทบี่ รรยายทิศทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืช
ว 1.2 ม. 1/14 อธบิ ายความสำคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเตบิ โตและการ
ดำรงชวี ิตของพืช
ว 1.2 ม. 1/15 เลอื กใชป้ ๋ยุ ท่ีมีธาตอุ าหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ที่กำหนด
2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดทีใ่ ชใ้ นหนว่ ยการเรียนร้นู เ้ี ขียนเป็นแบบความเรียง)
พืชต้องการอากาศ น้ำ แสง และธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต พืชดูดน้ำและธาตุ
อาหารจากดินเข้าสู่รากและลำเลียงผ่านทางไซเล็มไปสู่ลำต้น ใบ และส่วนอ่ืน ๆ ของพืช เพ่ือใช้ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสงรวมถึงกระบวนการอื่น ๆ และมีโฟลเอ็มลำเลียงอาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงไปสู่
สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรูเ้ พมิ่ เติม (รายวิชาเพิ่มเติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• พชื ตอ้ งการธาตุอาหารทจี่ ำเปน็ หลายชนดิ ในการเจริญเติบโตและการดำรงชวี ิต
• พชื ต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปรมิ าณมาก ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซยี ม
แมกนีเซียม และกำมะถัน ซงึ่ ในดินอาจมีไม่เพียงพอ สำหรบั การเจรญิ เติบโตของพืช จงึ ต้องมีการให้ธาตุอาหาร
ในรปู ของป๋ยุ กับพืชอยา่ งเหมาะสม
• พืชมีไซเลม็ และโฟลเอ็ม ซึง่ เป็นเนือ้ เย่อื มีลักษณะคล้ายท่อ เรยี งตัวกนั เป็นกลมุ่ เฉพาะทโ่ี ดยไซเล็มทำ
หน้าทล่ี ำเลียงน้ำและธาตุอาหารมีทศิ ทางลำเลยี งจากรากไปสู่ลำต้น ใบ และส่วนตา่ ง ๆ ของพืช เพ่อื ใชใ้ นการ
สงั เคราะห์ดว้ ยแสงรวมถงึ กระบวนการอื่น ๆ ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าท่ลี ำเลยี งอาหารทไี่ ดจ้ ากการสงั เคราะห์ดว้ ย
แสงมีทิศทางลำเลียงจากบริเวณทม่ี ีการสังเคราะหด์ ้วยแสงไปสสู่ ว่ นตา่ ง ๆ ของพืช
3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลักสูตรทอ้ งถ่นิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย
...............................................................-...........................................................................................
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความสำคญั ของธาตอุ าหารบางชนดิ ที่มผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชวี ิตของพืช
2. เลือกใชป้ ุ๋ยท่ีมีธาตุอาหารเหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ทก่ี ำหนด
3. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ที่ของไซเล็มและโฟลเอม็
4. เขยี นแผนภาพท่ีอธบิ ายทิศทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช

60

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกดิ ในหน่วยการเรยี นรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อย่อู ย่างพอเพียง  6. มุ่งม่นั ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทนั ส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วินยั คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นกั เรยี นเกดิ ความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่งิ ท่เี รยี นรู้

3. หลกั ภูมิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดที ส่ี ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

61

ว 1.2 ม. 1/9 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.6 ธาตุอาหาร - อธบิ ายความสำคัญของธาตุอาหารบาง

ม.1/10 ม.1/14 พชื สำคญั ต่อพืชอย่างไร ชนดิ ที่มผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช

ม.1/15 -รายงานกิจกรรมที่ 4.7 พืชลำเลียง และผลจากการขาดธาตุอาหารน้ัน

น้ำและธาตอุ าหารอยา่ งไร - บอกวิธกี ารแก้ไขอาการผดิ ปกติของพืชท่ีเกิด

-เขยี นแผนภาพท่ีบรรยายทิศางการ จากการขาดธาตุอาหารพชื โดยการเลือกใชป้ ๋ยุ ที่

ลำเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอม็ เหมาะสม

ของพืช

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครือ่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผา่ น 1

รายการถือวา่ ไมผ่ ่าน

11.2 การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรียนรู้น้ี)

สงิ่ ท่ีต้องการวดั วธิ ีวดั ผล เคร่อื งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรู้เก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้

- ธาตุอาหารบางชนิดท่ีมี คิดเหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

ผลต่อการเจริญเตบิ โต -การตรวจผลงานนกั เรยี น ความ 12 คะแนนขึ้นไป

และการดำรงชีวิตของ คดิ เห็น หรือร้อยละ 80

พชื - แบบประเมนิ การ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- เลือกใชป้ ุ๋ยทม่ี ธี าตุอาหาร ตรวจผลงานผูเ้ รียน - นักเรียนได้

เหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ คะแนน

ทก่ี ำหนด ประเมนิ ผลงาน

-หนา้ ท่ีของไซเล็มและ 13 คะแนนขึ้นไป

โฟลเอ็ม หรอื รอ้ ยละ 80

- ทิศทางการลำเลียงสาร ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพชื

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เห็นระบุทักษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนข้นึ ไป

กระบวน ความ หรือร้อยละ 80

62

การทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีได้ คดิ เห็น ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

ปฏบิ ตั ิจากกจิ กรรม - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้
คะแนน
- สังเกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ ประเมินคุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์
ทำงานกล่มุ ทำงานกลมุ่ 26 คะแนนขึน้ ไป
หรือร้อยละ 80
3. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
- นกั เรียนได้
และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานร่วมกับผู้อืน่ และการ คุณลักษณะอนั พึง คะแนน
การประเมนิ
- มีวินัยในการทำงานกลมุ่ ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ สมรรถนะ
29 คะแนนขน้ึ ไป
- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ อภิปราย แสดงความคิดเห็น หรอื ร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
ของการทำงานร่วมกบั ผ้อู ่ืนและ เกยี่ วกับผลการทดลอง - แบบประเมิน

การทำงานในระบบกลมุ่ สมรรถนะผู้เรยี น

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่ึงกนั

และกันมีความเสียสละและ

อดทน

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ชวั่ โมงท่ี 16 (สปั ดาห์ท่ี 19)
1. ขนั้ ตงั้ ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครเู ชื่อมโยงเน้อื หา การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช เข้าสูบ่ ทเรยี นนี้ โดยอาจใช้คำถามว่า พืชใชส้ ่ิง

ใดบ้างในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง และได้ส่ิงเหล่านั้นจากแหล่งใด (แสงจากดวงอาทิตย์ คลอโรฟิลล์ในเซลล์พชื
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศ และนำ้ จากดนิ )

1.2 ครใู หน้ ักเรียนสงั เกต วดี ทิ ัศน์ หรอื สอื่ อนื่ ๆ ท่เี กี่ยวกับเก่ยี วกับขนรากของพืช พร้อมท้งั ใหน้ กั เรยี น
อ่านเนื้อหานำบท จากน้ันร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั การลำเลียงในพืช โดยอาจใชค้ ำถามดังนี้

• พืชไดร้ ับน้ำ ธาตุอาหารและอาหารจากแหลง่ ใด(นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจ เช่น พืชจะดูดน้ำ
และธาตุอาหารจากดิน และได้รบั อาหารโดยการสรา้ งข้นึ เอง)

• พืชนำนำ้ จากดิน และอาหารท่ีสร้างขึน้ ที่ใบไปยังสว่ นต่าง ๆ ของพืช ได้อยา่ งไร (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ เชน่ ลำเลียงผ่านลำต้น)

1.3 นักเรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียน
1.4 ครูทบทวนความรู้เกีย่ วกับการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช โดยนำใบพชื ที่ปกตแิ ละใบพืชทม่ี ีอาการ
ผดิ ปกติทีเ่ กิดจากการขาดธาตุอาหารมาให้นักเรียนดูและ ใชค้ ำถามต่อไปน้ี

• ส่วนท่สี งั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ตอ้ งมสี ่งิ ใดในเซลล์
• ใบพชื ที่มอี าการซีดเหลืองจะสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ดีหรอื ไม่
• อาการซดี เหลืองของใบ เกดิ เพราะอะไร และจะแก้ปญั หาได้อยา่ งไร

63

ช่วั โมงที่ 17 (สปั ดาหท์ ่ี 19)
2. ขั้นสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 รว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปวา่ พชื ต้องการ น้ำ แสง แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และคลอโรฟลิ ลใ์ น
การสังเคราะห์ด้วยแสงแลว้ ได้ผลผลิตเป็นนำ้ ตาลซ่ึงเปน็ อาหารของพชื นอกจากนี้พืชยังต้องการธาตุอาหารเพ่อื
ใช้เป็นองค์ประกอบของน้ำตาลและสารต่าง ๆ ที่พชื สรา้ งข้ึน แล้วพืชจะใช้น้ำตาลและสารเหล่านนั้ เพือ่ ให้การ
เจริญเติบโตเปน็ ไปอย่างปกติธาตอุ าหารของพืชมีอะไรบ้าง แตล่ ะชนดิ มีความสำคัญอยา่ งไรตอ่ พชื จะได้ทราบ
จากการทำกิจกรรมที่ 4.6
2.2 นักเรยี นอ่านวิธีการดำเนินกจิ กรรม ในหนังสือเรยี น และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ดังต่อไปนี้

• กิจกรรมนีเ้ ก่ียวกับเรื่องอะไร (ธาตอุ าหารของพชื และอาการผิดปกตขิ องพชื ทเี่ กิดจากการขาดธาตุ
อาหารพชื )

• กิจกรรมน้ีมีจดุ ประสงค์อะไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรมโดยสรุปเปน็ อย่างไร (อา่ นและอภปิ รายความสำคญั ของธาตุอาหาร และ
แนวทางการแก้ปัญหาการขาดธาตอุ าหาร จากน้ันรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับธาตอุ าหารของพืชและวธิ ีแก้ปัญหา
จากการขาดธาตอุ าหารของพืช)
• นักเรยี นเลอื กใช้เทคโนโลยีใดในการนำเสนอผลงานได้บา้ ง (Microsoft powerpoint
แอปพลิเคชั่นต่าง ๆ)
2.3 นกั เรียนนำข้อมูลเกย่ี วกบั ชนิดและความสำคัญของธาตุอาหารพชื แต่ละชนดิ รวมทั้งการแก้ปญั หาการ
ขาดธาตุอาหารของพืช มานำเสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ตาราง หรือแผนภาพพร้อมคำอธิบาย
2.4 รว่ มกันอภิปรายเปรยี บเทยี บข้อมูลท่ีได้จากการทำกจิ กรรม และสาเหตุทีท่ ำใหผ้ ลการทำกิจกรรม
คลาดเคล่ือน เชน่ นักเรยี นสืบค้นข้อมลู และได้ข้อมูลว่า ธาตุอาหารทจี่ ำเป็นต่อพืชมีเพยี ง 16 ธาตุ ซ่งึ ปัจจบุ ันมี
การเพิ่มเป็น 17 ธาตุแล้ว
2.5 ร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรปุ ได้ว่าในดนิ มีธาตุอาหารที่พชื ใชใ้ นการเจริญเตบิ โตและ
ดำรงชวี ิต ธาตุอาหารทีพ่ ชื ขาดไม่ได้มี 17 ชนิด ถา้ พืชขาดธาตุอาหารพชื จะแสดงอาการผิดปกตคิ วรแก้ไขโ้ ดย
การวเิ คราะหด์ นิ เพ่ือหาชนดิ และปริมาณของธาตุอาหารที่เปน็ ประโยชนต์ ่อพืช และเพื่อหาสาเหตวุ ่าดนิ ขาดธาตุ
อาหารหรอื มีธาตุอาหารแต่อยู่ในรูปท่พี ชื ไม่สามารถนำไปใช้ได้ วิเคราะหเ์ น้ือเยื่อพชื เพ่ือประเมินระดับความ
ขาดธาตอุ าหารของพืช ซงึ่ ถ้าดนิ ขาดธาตุอาหารของพชื สามารถทำการเพ่ิมธาตุอาหารของพืชในดินโดยการใส่
ปุ๋ย
2.6 ให้นักเรียนอา่ นเน้ือหาในหนังสือและรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั ธาตอุ าหารของพืช เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่
ธาตอุ าหารในดินมีความสำคัญตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืช ถา้ พชื ขาดธาตุอาหารพชื จะแสดงอาการผดิ ปกติ จึง
จำเป็นตอ้ งให้พืชไดร้ บั ธาตุอาหารของพชื อยา่ งเพยี งพอ ถ้าในดนิ ไมม่ หี รือมธี าตุอาหารของพืชน้อยต้องเพ่ิมธาตุ
อาหารลงในดินในปริมาณทเี่ หมาะสม
ชัว่ โมงท่ี 18 (สัปดาห์ที่ 19)
3. ขน้ั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ว่าพืชดูดธาตุอาหารจากดินเพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโตให้เป็นไปอย่างปกติ และครูอาจใช้คำถามต่อไปว่า พืชนำธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์ในส่วนต่าง ๆ
ของต้นได้อยา่ งไร เพอื่ เชอ่ื มโยงกับเนือ้ หาเรอ่ื งการลำเลียงในพชื
3.2 นักเรียนอา่ นวิธีการดำเนินกจิ กรรม 4.7 ในหนังสอื เรียน และร่วมกนั อภิปรายในประเด็นต่อไปน้ี
• กจิ กรรมนเ้ี กี่ยวกับเรื่องอะไร (การลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารในพชื )

64

• กิจกรรมนี้มจี ุดประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (สังเกตลักษณะภายนอกของต้นเทียนที่ยังมีราก นำต้น
เทียนไปแช่น้ำสีสังเกตและเขียนแผนภาพทิศทางการลำเลียงน้ำสีในรากและลำต้นเทียน ตัดรากและลำต้น
เทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางหนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร สังเกตการติดสีของเนื้อเยื่อ ตัด
รากและลำต้นเทียนที่ผา่ นการแชน่ ำ้ สีตามยาวและตามขวางบาง ๆ แช่เนื้อเยื่อในสารละลายซาฟรานินทำสไลด์
สดเนื้อเยื่อ และสังเกตเน้ือเย่ือภายใต้กล้องจุลทรรศน์ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
ของพืช)
3.3 ครูสาธิตการตัดเน้ือเยื่อรากและลำต้นตามยาวและตามขวางแบบบาง เพื่อให้นักเรียนทำได้อย่าง
ถกู ต้องและปลอดภัย
3.4 นักเรียนทำกิจกรรมตามข้ันตอน โดยครูสังเกตการตัดเนื้อเย่ือพืช การเตรียมสไลด์ การใช้กล้อง
จุลทรรศน์ การสืบค้นข้อมูล การสังเกตและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้ข้อแนะนำถ้า
เกิดข้อผิดพลาดขณะทำกิจกรรมรวมท้ังนำข้อมูลท่ีควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลัง
การทำกิจกรรม
3.5 นักเรียนนำข้อมูลเก่ียวกับลักษณะเนื้อเย่ือและทิศทางการเคลื่อนที่ของน้ำและธาตุอาหารในพืชมา
นำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น นำเสนอโดยใช้โปรแกรมหรอื แอปพลเิ คชั่นท่ีทันสมยั
ช่วั โมงที่ 19 (สัปดาห์ที่ 20)
4. ข้นั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรม และอภิปรายถึงสาเหตุท่ีผลการทำ
กิจกรรมคลาดเคล่ือนเช่น ไม่เห็นการเคลื่อนที่ของน้ำสี อาจเนื่องจากต้นเทียนยังสดเกินไปจึงดูดน้ำสีได้น้อย
หรือดูดได้ช้า หรอื ไม่สามารถตัดเนื้อเยื่อบรเิ วณปลายรากไดเ้ น่ืองจากรากเกิดความเสียหาย หรือไม่เห็นการติด
สีในเนื้อเยอ่ื เนอ่ื งจากไมไ่ ดแ้ ช่เน้ือเย่ือในสารละลายซาฟรานิน
4.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าน้ำสีเคล่ือนที่
เข้าสู่รากต้นเทียนและเคล่ือนต่อเน่ืองขึ้นไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น เน่ืองจากรากและลำต้นมีกลุ่มเซลล์หรือ
เนอื้ เยอ่ื ทเี่ รยี งต่อกนั เป็นทอ่ ซงึ่ เปน็ ช่องทางสำหรบั การลำเลียงน้ำสีไปสู่สว่ นต่าง ๆ ของตน้ เทียน
4.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการลำเลียงสารในพืช เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าน้ำเข้าสู่รากพืชโดยการ
ออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่หรือการลำเลียงแบบต้องใช้พลังงาน พืชมีไซเล็มทำหน้าท่ี
ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารจากรากข้นึ ไปสทู่ กุ สว่ นของพืช และมีโฟลเอม็ ทำหนา้ ทล่ี ำเลียงอาหารทีพ่ ืชสรา้ งขึน้
ทบ่ี ริเวณทีม่ ีสเี ขยี วไปสทู่ ุกส่วนของพชื
ชั่วโมงที่ 20 (สัปดาหท์ ่ี 20)
5. ขน้ั การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรยี นทำกจิ กรรมเสริมนอกเวลาเรยี น โดยให้ออกแบบสวนแนวตัง้ ในโรงเรยี น โดยเลอื กชนิดพืช
วสั ดุปลกู ภาชนะทใ่ี ช้ปลูก การดแู ลรักษา และบอกประโยชน์ของสวนแนวตั้งของตนเอง
5.2 ครสู นทนากบั นักเรยี นเกี่ยวกบั เร่ืองในบทเรยี นการลำเลยี งนำ้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื จากนั้น
ใหน้ ักเรยี นทำกจิ กรรมตรวจสอบตนเอง เพ่ือสรปุ องค์ความรู้ทไี่ ด้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ
หรอื เขียนผังมโนทัศนส์ ่ิงท่ีไดไ้ ดเ้ รียนรจู้ ากบทเรียนน้ี ให้นักเรยี นนำเสนอผลงาน โดยอาจออกแบบให้นักเรยี น
นำเสนอและอภปิ รายภายในกลมุ่ หรอื อภิปรายร่วมกนั ในชน้ั เรียน หรอื ติดแสดงผลงานบนผนงั ห้องเรียน และ
ใหน้ กั เรยี นร่วมพจิ ารณาผลงาน จากนั้นครแู ละนักเรยี นอภิปรายสรปุ องค์ความร้ทู ี่ได้จากบทเรียนรว่ มกนั
13. ส่ือการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

65

13.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) ส่ือเพาเวอรพ์ อยต์

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมดุ

14. บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ :

1. ความรเู้ ก่ียวกับ ......................................................................................

- ธาตุอาหารบางชนิดท่มี ผี ลตอ่ การเจรญิ เติบโต ......................................................................................

และการดำรงชวี ติ ของพชื ......................................................................................

- เลือกใช้ปยุ๋ ทมี่ ธี าตุอาหารเหมาะสมกับพชื ใน ......................................................................................

สถานการณ์ทกี่ ำหนด-หนา้ ที่ของไซเล็มและ .....................................................................................

โฟลเอม็ ......................................................................................

- ทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม .....................................................................................

ของพืช

2. ด้านกระบวนการ :

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม

อนั พึงประสงค์ :

- มวี ินยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ย่างพอเพยี ง ......................................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วธิ ีแก้ปัญหา ......................................................................................
.......................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

66

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...........................................หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์..) (นายสรุ จักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(..............................................) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนิเทศ ผู้ชว่ ยผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

67


Click to View FlipBook Version