The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

“กิจกรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจัดกิจกรรมชุมนุม” เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-08 00:44:10

“กิจกรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจัดกิจกรรมชุมนุม” เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์”

“กิจกรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจัดกิจกรรมชุมนุม” เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์”

แบบบนั ทึกกจิ กรรม

ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

ชอ่ื กลุ่ม PLC
“กิจกรรม พฒั นาความคดิ สร้างสรรคเ์ พอื่ สง่ เสรมิ การ
สรา้ งนวตั กรรมทางภูมปิ ญั ญาไทยโดยการจัดกิจกรรม

ชุมนมุ ” เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสรา้ งสรรค์”
ปีการศึกษา 2562

โดย นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์
ครูชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

ท่ี .......................................................... วนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2563

เรอื่ ง แบบรายงานผลการดำเนินงาน PLC (สิน้ สดุ การดำเนนิ งาน) กล่มุ “กจิ กรรม พัฒนาความคดิ สรา้ งสรรค์เพ่อื

สง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ” ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562

เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม
ด้วยโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมได้มีนโยบาย “การขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการ

เรียนรู้) สู่สถานศึกษา” ข้ึน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้มี
ประสิทธิภาพ ข้าพเจ้านางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ กรรมการกลุ่ม “กจิ กรรม พัฒนาความคดิ สร้างสรรคเ์ พอ่ื สง่ เสริม
การสร้างนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจัดกิจกรรมชุมนุม” ได้ค้นพบปัญหานักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาด
ความคิดสร้างสรรค์ ไม่สามารถสร้างนวัตกรรมท่ีเกิดประโยชน์ให้กับตนเองและสังคม และสามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน
เพ่ือผลประโยชนใ์ นเชิงพาณชิ ย์ได้ จงึ ทำการออกแบบนวตั กรรมเพอ่ื การพัฒนาทักษะการแกป้ ญั หาโดยใชเ้ ทคนคิ การจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยการจัดกจิ กรรมชมุ นุมทม่ี กี ารบูรณาการแบบข้ามสาขาวชิ า จะส่งเสรมิ การสร้างนวตั กรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้ โดยได้ดำเนินการ ระหว่างวนั ที่ 22 พ.ย. 62 - 7 ก.พ. 63 รวมท้ังส้ิน 28 ช่ัวโมง บัดนี้
ไดด้ ำเนินงาน PLC สนิ้ สดุ แลว้ จึงขอรายงานการดำเนนิ งาน PLC ดังเอกสารแนบทา้ ยนี้

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา

(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ )

ครู ชำนาญการพเิ ศษ

ความเห็นของผ้บู ริหารโรงเรียน
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ……………………..…………..
(นายจงจัด จันทบ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

แบบบันทกึ การพัฒนาการเรยี นการสอน

“กิจกรรม พัฒนาความคดิ สร้างสรรคเ์ พ่ือสง่ เสรมิ

การสรา้ งนวัตกรรมทางภูมปิ ญั ญาไทยโดยการจัดกจิ กรรมชมุ นุม”

โดยใชก้ ระบวนการ PLC (Professional Learning Community)

1. คณะกรรมการ

1.1 นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม ประธานกรรมการ

1.2 นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ รองประธานกรรมการ

1.3 นางสาวพรศรี เจริญวัย กรรมการ

1.4 นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ กรรมการ

1.5 นางสาวนงนชุ ภญิ โญทรพั ย์ กรรมการ

1.6 นางสาวสุภาพร บุญศิริ กรรมการ

1.7 นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

1.8 นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

1.9 นางสาวรุง่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

1.10 นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

1.11 นายธงวฒุ ิ จนั ทร์เพชร กรรมการ/เลขานุการ

ผ้เู ช่ยี วชาญ นายจงจดั จนั ทบ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

2. การระดมปัญหา/ความตอ้ งการ

2.1 สง่ เสริมทักษะความคิดสรา้ งสรรค์เพื่อสร้างนวัตกรรมทางภูมปิ ัญญาไทย

2.2 สรา้ งค่านิยมให้นกั เรยี นเห็นคุณค่า หวงแหน รกั ษาภมู ปิ ญั ญาไทย

2.3 นกั เรียนขาดนำภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ มาสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมชว่ ยในการเพม่ิ รายไดแ้ ละพฒั นาเศรษฐกจิ และ

สงั คมไดอ้ ย่างย่งั ยนื อีกทั้งมีค่าควรแกก่ ารอนุรกั ษแ์ ละเผยแพรใ่ หก้ ับบุคคลอ่ืนไดร้ ับรู้

3. แนวทางแก้ปญั หา

3.1 ปญั หาที่คดั เลือก เรื่อง นักเรยี นขาดความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างนวตั กรรมด้านภูมปิ ญั ญาไทย

4. สาเหตุ

4.1 ดา้ นครู

4.1.1 ขาดการส่งเสริมการเรยี นรู้ด้านภูมปิ ัญญาไทยใหก้ บั ผเู้ รียน

4.1.2 ขาดแหล่งเรียนรู้ทท่ี นั สมยั ไมด่ งึ ดดู ความสนใจ

4.1.3 ขาดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ดา้ นภูมปิ ญั ญาไทยท่ีตอ่ เนือ่ งและ การ

กำกับตดิ ตาม

1

4.2 ดา้ นนกั เรยี น
4.2.1 ความร้พู น้ื ฐานเกยี่ วกบั ภมู ิปญั ญาไทยดา้ นต่างๆไมเ่ พยี งพอ
4.2.2 นกั เรยี นขาดความคิดสร้างสรรค์ในการสรา้ งนวตั กรรม

4.3 ดา้ นการบริหารจัดการ
4.3.1 ขาดแคลนงบประมาณดำเนนิ กจิ กรรม

5. วัตถปุ ระสงค์
5.1 เพื่อพัฒนาครใู หม้ เี ทคนคิ วิธีการสอนในการพัฒนานักเรยี นให้เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์
5.2 เพื่อพัฒนานักเรยี นให้สามารถอนรุ ักษแ์ ละเผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทยของชุมชนในดา้ นตา่ งๆ ได้ รอ้ ยละ 75
5.3 เพือ่ พัฒนานักเรยี นให้นำภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ด้านสมนุ ไพรไทยมาสร้างสรรค์นวตั กรรมช่วยในการเพิ่มรายได้
และ พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมได้อย่างยั่งยนื อีกทัง้ มคี ่าควรแกก่ ารอนรุ กั ษแ์ ละเผยแพร่ให้กับบุคคลอืน่
ได้รับรู้

6. แนวทางดำเนนิ งาน

ข้ันตอน กิจกรรม วิธกี าร ระยะเวลา
3 ชม.
1 ข้ันเตรียมการ (Plan) 1. ประชุมปฏิบัตกิ าร
1. ออกคำสง่ั แต่งตง้ั กรรมการ 21 ชม.
1. ประชมุ ช้ีแจงประเดน็ และเป้าหมายของการดำเนนิ งาน 1. วิเคราะห์นักเรยี นตามกลมุ่ กิจกรรม
1. ประชมุ ปฏบิ ัติการ
2. แต่งตงั้ คณะกรรมการ และวางแผนการดำเนนิ งาน
1. ระบุปญั หาในชวี ติ จริงที่พบหรือ
3. วิเคราะห์ผเู้ รียน คัดเลือกปญั หาท่ีจะพัฒนา นวัตกรรมทต่ี ้องการพฒั นา
2. รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ี
4. ศึกษาเทคนิคและคัดเลอื กสือ่ การสอน เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาหรือนำไปสู่การ
พัฒนานวตั กรรมนนั้
2 ปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) 3. ออกแบบวิธกี ารแกป้ ัญหาโดย
เชอ่ื มโยงความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์
จดั การเรยี นรู้บูรณาการ STEM Education โดยใชเ้ วลา เทคโนโลยี กระบวนการทางวศิ วกรรม
และคณติ ศาสตร์
ในชว่ั โมงกิจกรรมชมุ นุม 4. วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหา

ตัวอย่างสถานการณ์

❖ โรงเรยี นของเราตอ้ งการพัฒนานวัตกรรมเชิง

ผลิตภัณฑ์ ภายใต้ กรอบแนวคิด

“ผลติ ภัณฑ์สมุนไพร วถิ ใี หมส่ สู่ ากล” สะอาด

ประหยดั ปลอดภยั สร้างรายได้

2

หรือพฒั นานวัตกรรม

5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุง

แกไ้ ขวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื

พฒั นานวตั กรรมได้

6. นำเสนอวธิ ีการแก้ปัญหา ผลการ

แก้ปญั หาหรอื ผลของนวตั กรรมท่ี

พัฒนาได้

3 การวดั และประเมินผล (Check) 2 ชม.

1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบสังเกต

2. มอบรางวัลนกั เรยี นทส่ี ามารถคดิ และสรา้ งนวัตกรรม 1. คดั เลอื กนวตั กรรมที่ดี ลำดบั 1-3

เกย่ี วกับสมุนไพรไทยได้ 2. จัดป้ายนิเทศแสดงผลงานนักเรียน

4 สะทอ้ นผลเพอื่ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาต่อ (การ 1 ชม.

ทบทวนผลการปฏบิ ตั งิ านReflection/After Action

Review: AAR )

1. อภปิ รายผลการสงั เกตการสอนและรว่ มกันหาแนว แลกเปล่ียน/อภิปราย/เสนอแนะ(AAR)

ทางแก้ไขและพฒั นาใหด้ ียงิ่ ขนึ้

2. ทบทวนเหตกุ ารณ์การกระทำที่เกิดขึ้นและควรเกดิ ขึน้

5 เผยแพร่นวัตกรรม 1. Page: โรงเรียนสวุ รรณาราม 1 ชม.

วทิ ยาคม

2. Face Book:โรงเรยี นสวุ รรณาราม

วิทยาคม

7. การวัดผลและประเมนิ ผล
7.1 การสังเกตพฤตกิ รรม
7.2 การตรวจให้คะแนนผลงานนักเรยี น

8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
8.1 ครูมีความรู้เร่อื งเทคนิค วิธกี ารสอนในการพัฒนานกั เรียนให้เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์เห็นคุณค่า หวงแหน

รักษาภูมปิ ัญญาไทยได้
8.2 นักเรียนสามารถสรา้ งนวตั กรรมด้านภูมิปัญญาไทยได้ ร้อยละ 75

3

8.3 นกั เรียนนำภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่นมาชว่ ยในการเพิ่มรายได้
รวม จำนวน......28....ชั่วโมง

ลงช่อื ...............................................................
( นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์ )
ครูผูร้ ายงาน

4

ขั้นตอนการวางแผน

5

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 1

ชื่อกลมุ่ กิจกรรม ครงั้ ท่ี ...1................................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดอื นปที จี่ ัดกิจกรรม.......22..พ.ย...62................
สถานท.่ี ....ห้องช่างยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ การนกั เรียน  พัฒนาผู้เรยี น

 ……กจิ กรรม พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์เพอ่ื

สง่ เสริมการสรา้ งนวตั กรรมทางภมู ปิ ัญญาไทยโดย

การจดั กจิ กรรมชมุ นุม…………

ช่ือกิจกรรม
กิจกรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรคเ์ พื่อส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมทางภูมปิ ญั ญาไทยโดยการจดั กิจกรรมชุมนุม

1.Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผพู้ บปญั หา ............นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม............................

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย กรรมการ

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศิริ กรรมการ

4. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรพั ย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรุ่งทิวา วงคษ์ า กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวุฒิ จันทรเ์ พชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย .........ผอ.จงจัด จนั ทบ........................

Recording ผบู้ ันทกึ ขอ้ มูล .........นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์..............................

6

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปัญหาท่ีพบ

ผคู้ ้นพบปัญหาไดร้ บั มอบหมายให้รับผิดชอบในการจดั การเรยี นการสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์ และ

วทิ ยาศาสตร์ พบว่าในปีการศึกษาที่ผ่านมา นักเรียนมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ไม่สามารถสรา้ ง

นวตั กรรมท่เี กดิ ประโยชน์ใหก้ บั ตนเองและสังคม และสามารถสร้างสรรค์ชน้ิ งานเพ่ือผลประโยชนใ์ นเชิงพาณิชยไ์ ด้

ผู้ค้นพบปญั หาไดค้ ดิ หาแนวทางแก้ปญั หาดงั กล่าว จงึ ได้ศกึ ษาหานวัตกรรมทงั้ เกา่ และใหม่นำมาแก้ปญั หา
จงึ พบว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเชอ่ื มโยงความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วศิ วกรรม และคณติ ศาสตรแ์ ละแนวคิดทางภมู ิปัญญาไทยจะทำใหส้ ามารถแก้ปญั หาดงั กล่าวได้ ผคู้ ้นพบปญั หาจึง
ไดศ้ ึกษาแนวคดิ ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวขอ้ งดว้ ย

สาเหตขุ องปญั หา
นกั เรียนมีปัญหาทางด้านการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ เม่อื นกั เรยี นขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ย่อมส่งผลใหไ้ ม่

สามารถสร้างนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาด้วย ความคิดสร้างสรรค์ เป็นจุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวัตกรรม
ดีๆหลายช้นิ กอ่ กำเนดิ มาจากความคิดสร้างสร้างสรรค์ นวัตกรรมจงึ เป็นการนำความคิดสรา้ งสรรค์
Creativity มาตอ่ ยอดออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรมใหจ้ บั ต้องได้ สรา้ งประโยชนใ์ ห้กบั ผ้คู น และสามารถสร้าง
ผลประโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์ได้ อกี ทง้ั การจดั การเรยี นการสอนในชัว่ โมงเรยี นปกติไม่เพียงพอในการสรา้ งสรรค์
ช้ินงานทางภมู ปิ ัญญาไทยได้เทา่ ที่ควรเพราะมคี วามจำกดั ในเรอ่ื งเวลา และความสนใจเฉพาะบคุ คล

ความรู้และหลกั การที่นำมาใช้
การบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา

เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะท่ีเรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์ กับชวี ติ จริง โดยใหน้ กั เรยี นประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทกั ษะเหล่านั้นในการแกป้ ญั หาที่
เกดิ ขนึ้ จรงิ ในชมุ ชนหรือสังคม และสร้างประสบการณก์ ารเรยี นร้ขู องตนเอง ครผู ้สู อนจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครูกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ทั้งน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษานั้น ครูต้อง

7

คำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตวั ช้วี ดั ในวิชาตา่ งๆทเ่ี กยี่ วข้อง 3) ความรูเ้ ดมิ ของนักเรยี น (ศนู ยส์ ะเตม็ ศึกษาแหง่ ชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎีการเรยี นรทู้ ่ีสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา ได้แก่
1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวสิ ต์ (Constructivist) ซง่ึ เปน็ ทฤษฎีทีใ่ ห้ความสำคัญกบั ตวั ผูเ้ รยี น เชื่อว่าผ้เู รียน
สามารถสรา้ งความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรยี นรู้แบบมีสว่ นร่วม การไดร้ ับประสบการณท์ ี่สมั พนั ธก์ บั ชีวติ จรงิ ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจัดการความรู้ การแสดงอกก การสรา้ งความรู้ใหม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรยี นรู้ของบรเู นอร์ (Bruner) บรูเนอร์ เช่อื ว่ามนษุ ยเ์ ลอื กจะรับรู้สิ่งท่ตี นเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง
4. ทฤษฎีการเรียนรู้อยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เน้นความสำคัญของการเรียนรู้อย่างมี
ความเข้าใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคชันนสิ ซมึ (Constructionism) เป็นการเรยี นรทู้ ี่เกิดจากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผู้เรยี น
กิจกรรมชุมนุม
กจิ กรรมชมุ นุม หมายถงึ การจดั กจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาความถนดั ความสนใจ ตามความต้องการของผู้เรยี น
เปน็ กิจกรรมท่ีม่งุ เนน้ การเติมเตม็ ความรู้ ความชำนาญและประสบการณข์ องผเู้ รียนให้กว้างขวางยิ่งข้ึน เพ่ือการ
ค้นพบความถนัดความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทักษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชุมนุมท่มี ีการบูรณาการแบบข้ามสาขาวชิ า ของการทำประโยชน์เพ่อื สงั คม
การจัดกิจกรรมชุมนุม มีหลักการท่ีสำคญั คือ

1. เปน็ กิจกรรมที่เกดิ จากความสมัครใจของผูเ้ รยี น โดยมีครูเป็นท่ีปรกึ ษา
2. เปน็ กจิ กรรมที่ผเู้ รียนช่วยกนั คดิ ชว่ ยกนั ทำ และช่วยกันแก้ปัญหา
3. เป็นกิจกรรมทพี่ ัฒนาผเู้ รยี นตามสาระทก่ี ำหนดนอกเหนือจากการเรียนการสอน
4. เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียน
5. เป็นกจิ กรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรือท้องถ่นิ
ดังน้นั การจดั กิจกรรมชุมนมุ ท่มี กี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวชิ า จะส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมทางภมู ิ
ปญั ญาไทยอย่างเปน็ รปู ธรรมได้

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏบิ ัติ
1. กิจกรรม Share ครูแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจัดการเรียนร้ซู งึ่ กนั และกนั

8

- เมอื่ สมาชิกทราบถึงปัญหา จงึ เห็นพอ้ งกนั ในเร่อื ง การจดั กิจกรรมชมุ นมุ ที่มีการบูรณาการแบบ
ขา้ มสาขาวิชา เน้นการนำภูมปิ ญั ญาไทยเป็นหวั ข้อหลักในการจัดกิจกรรมเพ่ือปลกู ฝังค่านิยมให้
เกดิ ความภาคภมู ิใจในภูมปิ ญั ญาไทย สร้างสถานการณใ์ ห้เกดิ กระบวนการคดิ อยา่ สรา้ งสรรค์

2. กิจกรรม Learn ครูเรียนรปู้ ระสบการณ์ในการจดั การเรียนรูร้ ่วมกนั
- พจิ ารณา สือ่ นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกบั การแก้ปัญหา

3. กจิ กรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางท่ีดใี นการแกป้ ัญหาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกนั
- เลือก สอื่ นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคล้องกบั การแก้ปัญหา

ผลทไ่ี ด้รับจากกจิ กรรม
ได้นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ STEM 6 ข้ันตอน…ท่มี ีขน้ั ตอน ดงั นี้
ขน้ั ตอนท่ี 1 ระบปุ ัญหาในชวี ติ จรงิ ที่พบหรอื นวัตกรรมทต่ี อ้ งการพฒั นา
ขนั้ ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หาหรอื นำไปสกู่ ารพฒั นานวตั กรรมน้ัน
ขั้นตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยเช่ือมโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวิศวกรรม และคณติ ศาสตร์
ขน้ั ตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หาหรือพัฒนานวัตกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ญั หาหรอื พัฒนานวัตกรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวัตกรรมที่พฒั นาได้

การนำผลทไ่ี ดไ้ ปใช้
นำไปจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ หม้ ีคณุ ภาพใน 6 ขน้ั ตอน และเตรยี มองค์ประกอบพืน้ ฐาน 3 องคป์ ระกอบ

คอื สอ่ื ข้ันตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดส่ิงแวดลอ้ ม ใหพ้ ร้อมทุกขนั้ ตอน ดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปญั หาในชีวติ จริงทพ่ี บหรอื นวัตกรรมท่ีตอ้ งการพัฒนา
ขั้นตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับปัญหาหรอื นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมนน้ั
ขน้ั ตอนที่ 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยเชอ่ื มโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวิศวกรรม และคณิตศาสตร์
ขน้ั ตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธีการแกป้ ัญหาหรือพฒั นานวัตกรรมได้
ขน้ั ตอนท่ี 6 นำเสนอวธิ กี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรือผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

อื่นๆ…ส่อื ทใ่ี ช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใช้ส่อื ธรรมชาติ ท่ีจัดหามาไดจ้ ากทรัพยากรในทอ้ งถ่นิ …...

9

ปญั หา/อปุ สรรคท่ีพบ
สมาชกิ มีปัญหา ในการออกแบบสถานการณ์ เพื่อใหน้ ักเรยี น พบนวัตกรรมทีต่ อ้ งการพฒั นา

กจิ กรรม/ขั้นตอน/งานทป่ี ฏบิ ัติไดด้ ี
ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรือกระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา ดังน้ี
1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา เสนอว่ามีนักเรียนในชุมนุมเหรียญโปรยทานจากริบบิ้น จำนวน 20 คน
เพ่ือให้นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้ระหว่างเรียน และเพื่อให้นักเรียนมี
ความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนารปู แบบพวงมาลยั แขวนหน้ารถใหม้ คี วามสวยงามมากยงิ่ ขน้ึ
2) นายอรรถพล ภูทอง เสนอว่ามนี ักเรยี นในชมุ นุมคนหลังเลนส์ (ม.ปลาย) จำนวน 10 คน วัตถุประสงค์
เพ่ือให้นักเรียนได้ตระหนักเห็นคุณค่าและความสำคัญของสมุนไพรไทยพื้นบ้าน โดยเผยแพร่ข้อมูล
ความรสู้ มนุ ไพรพ้นื บ้านภายในชุมชนทางสือ่ โซเชยี ลมีเดียตา่ ง ๆ เช่น ยทู ปู เฟสบุค รว่ มกันพัฒนาคอน
เทนต์ท่ีสร้างสรรค์เพ่ือนำเสนอคุณประโยชน์ของสมันไพร สามารถนำความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้
ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันและพฒั นาต่อยอดเปน็ อาชพี ได้
3) นางสาวกาญจนา คงทน เสนอวา่ มีนักเรียนในชมุ นุมเด็กโสตฯ&กราฟกิ จำนวน 10 คน วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อใหน้ กั เรยี นเกดิ ทักษะในการบันทึกภาพและการบนั ทึกวิดโี อ เพ่ือให้นักเรยี นเกิดทกั ษะในการสรา้ ง
งานกราฟกิ เบือ้ งต้น เพอื่ ให้นักเรียนเกดิ ทกั ษะในการตดั ต่อวิดีโอเบอื้ งต้น เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถตัด
ตอ่ วดิ โี อในหัวข้อสมนุ ไพรไทยสู่สากล และ เพ่ือให้นกั เรียนได้ตระหนักเหน็ คุณค่าและ
ความสำคญั ของสมนุ ไพรไทยพนื้ บา้ น
4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ เสนอว่ามีนักเรียนในชุมนุม DIY สร้างสรรค์ นักเรียนระดับช้ัน ม.ต้น
จำนวน 20 คน วัตถุประสงค์ เพ่ือให้นกั เรยี นตระหนกั และเห็นคุณค่าของทรพั ยากรในชมุ ชนหรอื สงิ่ ของ
ทไี่ ม่ใช้แล้วนำกลบั มาใช้ใหม่โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินหรอื ความรู้อ่ืนๆ สร้างสรรค์ผลงาน/ช้ินงาน ให้เกิด
ความสวยงาม สามารถนำมาใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั ได้
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอวา่ มีนกั เรยี นในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ต้น) จำนวน
19 คน วตั ถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนได้ทราบถงึ ความหมายและสรรพคุณของสมุนไพรไทยและมีวิธใี ช้
อย่างไร เพ่ือให้นักเรียนได้ตระหนักเห็นคุณค่าและความสำคัญของสมุนไพรไทยพื้นบ้าน เพ่ือนำ
สมนุ ไพรภายในชมุ ชนมาแปรรปู ใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันเพื่อการพึ่งพาตนเอง และ เพือ่ พฒั นา
นวัตกรรมภมู ิปัญญาทางดา้ นสมนุ ไพร เพ่อื อาชพี
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เสนอว่ามีนักเรียนในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย)
จำนวน 19 คน วัตถุประสงค์ เพ่ือให้นักเรียนได้ทราบถึงความหมายของสมุนไพรไทยและสรรพคุณ
ทางยาของดอกไม้ไทย เพ่ือใหน้ ักเรยี นไดต้ ระหนักเห็นคณุ คา่ และความสำคัญของสมุนไพรไทยพื้นบา้ น

10

เพ่ือนำสมุนไพรภายในชุมชนมาแปรรูป ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพ่ือการพึ่งพาและเพ่ือพัฒนา
นวัตกรรมภูมิปญั ญาทางดา้ นเครอื่ งหอมสมุนไพร เพ่ืออาชพี
7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง เสนอว่ามีนักเรียนในชุมนุมสนุกกับ
คอมพิวเตอรจ์ ำนวน 10 คน วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้นักเรียนเกิดทกั ษะในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศใน
ชวี ิตประจำวัน เพื่อนักเรยี นมคี วามรู้ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ นำมาใช้ในการสบื ค้นหัวขอ้ สมุนไพรไทยสู่
สากล เพ่ือให้นกั เรียนมเี จตคติทดี่ ีตอ่ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรียนรู้ เพ่ือให้นักเรียนสร้าง
ผลงานตามตอ้ งการไดแ้ ละประยกุ ต์ใชเ้ คร่ืองมือต่าง ๆ สรา้ งผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ออกแบบโปสเตอร์
และฉลากสินค้าสมุนไพรไทยได้ และนักเรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทพ่ี ึงประสงค์
8) นายธงวฒุ ิ จันทร์เพชร เสนอว่ามนี ักเรียนในชุมนมุ ชุมสังขวิทยา (โลกของหอย)(ม.ปลาย) จำนวน 18
คน วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้กายวิภาคศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตในไฟลัม มอลลัสกา เพ่ือ
ศึกษาและสำรวจชนิดพันธ์ุของหอยท่ีนำมาเป็นอาหารในท้องถ่ิน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาบทบาท
หนา้ ท่ี และความสำคัญของส่งิ มีชีวิตกลุ่มมอลลสั กา ในระบบนเิ วศ เพื่อให้นกั เรียนได้เรยี นรใู้ นการเก็บ
ตัวอยา่ งจากการทำแบบจำลองของหอยโดยใช้ปนู แลาสเตอร์ เพื่อใหน้ ักเรียนไดศ้ ึกษาและค้นคว้าการ
ใช้สิ่งมชี ีวติ ในกลุ่มมอลลสั กากับสมุนไพรไทยในการดำรงชวี ติ ประจำวนั

ส่ิงทีต่ ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.ในปีการศึกษาต่อไปควรใหน้ กั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการจดั ตงั้ ชมุ นมุ เพ่อื สนองความตอ้ งการของผู้เรียน

อยา่ งแทจ้ ริง
2.สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรใู้ นห้องเรยี นโดยการสรา้ งการมปี ฏิสมั พันธร์ ะหว่างครูกับนกั เรยี นและนกั เรยี น

กบั นักเรยี นในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้

ผลการประเมินการแกป้ ญั หา

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเรจ็

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

เน่อื งจาก สมาชิกทกุ คนพรอ้ มหาวิธกี ารบูรณาการรายวชิ าท่ีไดร้ บั หนา้ ที่สอนตามหลกั การจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณา
การสะเตม็ ศึกษา

ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทึกกจิ กรรม

11

....................................................นดั หมายครงั้ ตอ่ ไป วันที่ 6 ธ.ค.62..................................
ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ )
ครูผู้รายงาน

ความคิดเห็น / ขอ้ เสนอแนะ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผู้รบั รองกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงชอื่ ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

12

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ช่อื กล่มุ กิจกรรม ครัง้ ท่ี ...2................................................................
ภาคเรียนท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดอื นปีทจ่ี ัดกจิ กรรม....... 6 ธ.ค.62.................
สถานที่.....ห้องช่างยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารทั่วไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจการนักเรียน  พัฒนาผเู้ รียน

 ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภูมปิ ัญญาไทย

โดยการจดั กจิ กรรมชมุ นุม…………

ชอื่ กจิ กรรม
กจิ กรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรคเ์ พอ่ื ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภมู ิปญั ญาไทยโดยการจดั กจิ กรรมชมุ นมุ

1.Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผพู้ บปญั หา ............นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ ิม............................

Buddy Teacher ผรู้ ว่ มอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจริญวยั กรรมการ

3. นางสาวสุภาพร บุญศิริ กรรมการ

4. นางสาวนงนชุ ภญิ โญทรพั ย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวฒุ ิ จันทรเ์ พชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย .........ผอ.จงจดั จันทบ........................

Recording ผูบ้ ันทกึ ขอ้ มลู .........นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์..............................

13

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาท่ีพบ

ผูค้ ้นพบปัญหาไดร้ ับมอบหมายใหร้ ับผิดชอบในการจดั การเรยี นการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ และ

วทิ ยาศาสตร์ พบวา่ ในปกี ารศึกษาที่ผา่ นมา นักเรียนมปี ญั หาทางด้านการขาดความคดิ สร้างสรรค์ ไม่สามารถสรา้ ง

นวัตกรรมที่เกิดประโยชน์ให้กบั ตนเองและสงั คม และสามารถสร้างสรรคช์ ิ้นงานเพอ่ื ผลประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ย์ได้

ผู้ค้นพบปญั หาได้คิดหาแนวทางแก้ปญั หาดงั กล่าว จงึ ไดศ้ กึ ษาหานวตั กรรมทั้งเกา่ และใหมน่ ำมาแก้ปัญหา
จึงพบว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเชอื่ มโยงความรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วศิ วกรรม และคณติ ศาสตรแ์ ละแนวคดิ ทางภูมิปัญญาไทยจะทำให้สามารถแกป้ ัญหาดงั กลา่ วได้ ผู้คน้ พบปัญหาจึง
ได้ศึกษาแนวคดิ ทฤษฏที ี่เก่ียวข้องดว้ ย

สาเหตขุ องปัญหา
นักเรียนมีปญั หาทางด้านการขาดความคิดสร้างสรรค์ เม่อื นักเรียนขาดความคิดสร้างสรรค์ ย่อมส่งผลให้ไม่

สามารถสรา้ งนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาด้วย ความคิดสรา้ งสรรค์ เปน็ จุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวัตกรรม
ดีๆหลายช้ิน ก่อกำเนดิ มาจากความคิดสร้างสรา้ งสรรค์ นวัตกรรมจึงเปน็ การนำความคดิ สร้างสรรค์
Creativity มาตอ่ ยอดออกมาใหเ้ ห็นเปน็ รูปธรรมใหจ้ บั ต้องได้ สร้างประโยชน์ให้กบั ผูค้ น และสามารถสรา้ ง
ผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณิชยไ์ ด้ อีกทง้ั การจดั การเรยี นการสอนในชวั่ โมงเรียนปกติไม่เพยี งพอในการสร้างสรรค์
ช้ินงานทางภูมิปญั ญาไทยได้เท่าที่ควรเพราะมคี วามจำกดั ในเรือ่ งเวลา และความสนใจเฉพาะบุคคล

ความรแู้ ละหลักการท่ีนำมาใช้
การบรู ณาการแบบข้ามสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ กับชวี ติ จรงิ โดยใหน้ กั เรียนประยุกตค์ วามร้แู ละทักษะเหล่านัน้ ในการแกป้ ญั หาที่
เกิดขึ้นจริงในชมุ ชนหรอื สังคม และสร้างประสบการณก์ ารเรียนรขู้ องตนเอง ครผู ูส้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ท้ังนี้ ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษาน้ัน ครูต้อง

14

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวชี้วัดในวชิ าตา่ งๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรยี น (ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทีส่ นับสนนุ การจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา ได้แก่
1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎที ีใ่ ห้ความสำคัญกบั ตัวผ้เู รียน เชื่อว่าผ้เู รียน
สามารถสร้างความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วม การได้รับประสบการณ์ท่ีสัมพนั ธก์ ับชวี ติ จรงิ ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคดิ การจดั การความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรูใ้ หม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรเู นอร์ เช่ือว่ามนุษยเ์ ลอื กจะรับรสู้ ง่ิ ท่ีตนเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เนน้ ความสำคัญของการเรียนรู้อย่างมี
ความเขา้ ใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนิสซมึ (Constructionism) เปน็ การเรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผ้เู รียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนมุ หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพอื่ พฒั นาความถนดั ความสนใจ ตามความต้องการของผ้เู รยี น
เปน็ กจิ กรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณข์ องผเู้ รียนใหก้ วา้ งขวางยิง่ ข้ึน เพื่อการ
คน้ พบความถนดั ความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นมุ ท่ีมีการบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชน์เพื่อสังคม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มหี ลกั การที่สำคัญคอื

1. เปน็ กิจกรรมท่ีเกดิ จากความสมัครใจของผูเ้ รียน โดยมคี รูเปน็ ทีป่ รึกษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ เู้ รียนช่วยกันคดิ ช่วยกนั ทำ และช่วยกนั แก้ปญั หา
3. เป็นกจิ กรรมทีพ่ ฒั นาผเู้ รยี นตามสาระที่กำหนดนอกเหนือจากการเรียนการสอน
4. เป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสริม และพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รียน
5. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรือทอ้ งถ่ิน
ดงั น้นั การจัดกิจกรรมชุมนุมทม่ี กี ารบรู ณาการแบบขา้ มสาขาวชิ า จะสง่ เสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
1. กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกนั

15

- เม่อื สมาชกิ ทราบถึงปญั หา จงึ เหน็ พอ้ งกนั ในเร่อื ง การจดั กจิ กรรมชุมนมุ ทม่ี ีการบูรณาการแบบ
ข้ามสาขาวิชา เน้นการนำภูมิปญั ญาไทยเปน็ หัวข้อหลกั ในการจัดกจิ กรรมเพื่อปลกู ฝงั ค่านยิ มให้
เกิดความภาคภูมิใจในภูมปิ ัญญาไทย สรา้ งสถานการณ์ใหเ้ กิดกระบวนการคิดอย่าสรา้ งสรรค์

2. กจิ กรรม Learn ครเู รยี นรปู้ ระสบการณ์ในการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน
- พจิ ารณา สือ่ นวตั กรรม ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งกบั การแกป้ ญั หา

3. กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางที่ดีในการแก้ปญั หาคณุ ภาพผ้เู รียนร่วมกนั
- เลือก สื่อ นวตั กรรม ทม่ี คี วามสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา

ผลทไี่ ด้รบั จากกิจกรรม
ไดน้ วตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ STEM 6 ขั้นตอน…ท่ีมีขน้ั ตอน ดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปญั หาในชวี ิตจริงทพ่ี บหรือนวตั กรรมทตี่ ้องการพฒั นา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หาหรือนำไปส่กู ารพัฒนานวตั กรรมนน้ั
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาโดยเชื่อมโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ญั หาหรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขน้ั ตอนท่ี 6 นำเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา ผลการแก้ปัญหาหรอื ผลของนวัตกรรมทพี่ ฒั นาได้

การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้
นำไปจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใ้ หม้ คี ุณภาพใน 6 ขนั้ ตอน และเตรียมองค์ประกอบพน้ื ฐาน 3 องค์ประกอบ

คอื สอ่ื ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และการจัดสง่ิ แวดล้อม ใหพ้ รอ้ มทกุ ข้นั ตอน ดงั นี้
ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปัญหาในชวี ิตจรงิ ทีพ่ บหรอื นวตั กรรมที่ต้องการพัฒนา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปัญหาหรือนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมนนั้
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หาโดยเชื่อมโยงความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขัน้ ตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหาหรือพัฒนานวตั กรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ญั หาหรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขน้ั ตอนที่ 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวัตกรรมที่พัฒนาได้

อื่นๆ…สอ่ื ทใ่ี ช้ประกอบการจดั การเรียนรู้ ใช้สื่อธรรมชาติ ที่จดั หามาไดจ้ ากทรพั ยากรในท้องถ่นิ …...

16

ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
สมาชกิ มีปญั หา ในการออกแบบสถานการณ์ เพ่ือใหน้ กั เรยี น พบนวตั กรรมทตี่ อ้ งการพฒั นา

กจิ กรรม/ข้ันตอน/งานที่ปฏบิ ตั ไิ ดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หา ดังนี้
1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา เล่าว่ามีนักเรียนในชุมนุมเหรียญโปรยทานได้เสนอเหรียญโปรยทานใน
รูปแบบต่างๆ ที่สวยงามหลากหลาย ซึ่งค้นหามาจากสื่ออินเตอร์เน็ต ทำให้นักเรียนหลายคนมีแรง
บนั ดาลใจทีจ่ ะประดษิ ฐ์เหรียญโปรยทานในรูปแบบต่างๆ เพ่ือจำหน่ายเพ่อื ใช้ในการประกอบอาชพี ใน
อนาคต ครูจึงให้นักเรียนแบง่ กลุม่ ตามความสมคั รใจทำเหรียญโปรยทานของกลุ่มเพื่อนำเสนอในครั้ง
ต่อไป
2) นายอรรถพล ภูทอง เล่าว่ากิจกรรมแรกของชุมนุมคนหลังเลนส์ (ม.ปลาย) คือเรียนรู้เทคนิคการ
ถา่ ยภาพ ในสถานการณ์ต่างๆ รวมถงึ เทคนิคในการปรับแตง่ ภาพ ชมผลงานนักถา่ ยภาพงานแตง่ งาน
ทิวทัศน์ คน โลโมกราฟี อารมณ์ สไตลล์ สิ ต์ มกี ระดานสนทนารว่ มกัน
3) นางสาวกาญจนา คงทน เล่าว่ากิจกรรมแรกของชุมนุมเด็กโสตฯ&กราฟิก คือการเข้าใจบทบาทและ
ภาระหน้าที่ของหน่วยโสตทัศนศึกษา เช่น การถ่ายภาพ งานกราฟฟิก งานสิ่งพิมพ์ งานบริการ
วชิ าการ งานทำนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม รวมทัง้ งานประชมุ สัมมนา โครงการฝกึ อบรมตา่ งๆ
4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ เล่าว่าครูและนักเรียนในชุมนุม DIY สร้างสรรค์ รู้จักคำว่า D.I.Y คำนี้
เป็นคำย่อมากจากคำเต็มๆว่า Do it yourself แปลว่า ทำด้วยตนเอง โดยการ D.I.Y เป็นการนำ
ส่งิ ของเหลือใช้ หรือ บางทีก็เป็นของใหม่ นำมาประดิษฐ์ ตบแต่ง แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ ซ่ึงก็คืองาน
ศิลปะท่ีทำข้ึนมาจากความคิดสร้างสรรค์ โดยเราสามารถใส่จินตนาการ ลงมือสร้างสรรค์ได้อย่าง
เต็มที่ ไม่มีกฎเกณฑ์หรือลักษณะตายตัว จะเป็นการนำของใหม่มาตกแต่งดัดแปลง หรือ นำเศษวัสดุ
เหลือใช้มาทำใหม่ ก็ได้ ผลงานทุกช้ินที่ทำข้ึนมาล้วนมีคุณค่าในตัวเองเพราะเกิดจากความคิด
สร้างสรรค์ บางงานมีเพียงชิ้นเดียวบนโลก และ ยังนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง นับว่าเป็นงาน
อดเิ รกอนั นา่ สนใจ ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกนั คดิ วา่ สามารถประดิษฐง์ าน D.I.Y อะไรไดบ้ า้ ง
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ร่วมสนทนากับนักเรียนในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ต้น)
เร่ืองการสกัดสุมนไพร วิธีต่างๆ ครูสร้างโจทย์การสกัดสมุนไพรเพื่อเป็นส่วนผสมในยาหม่องให้
นกั เรยี นค้นคว้าเพมิ่ นำเสนอกันในครัง้ ต่อไป
6) นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม ร่วมสนทนากบั นกั เรยี นในชุมนุมสมนุ ไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย) เรอ่ื ง
สรรพคุณทางยาของดอกไม้ไทย ครูสร้างโจทย์การทำเคร่ืองหอมของไทย ให้แต่ละกลุ่มค้นคว้าเพ่ิม
นำเสนอกันในครั้งตอ่ ไป

17

7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง เลา่ วา่ นักเรียนในชุมนมุ สนกุ กับคอมพิวเตอร์
ร่วมกันสืบค้นหัวข้อสมุนไพรไทย ครูสร้างโจทย์ว่านักเรียนจะทำอย่างไรในการประชาสัมพันธ์เรื่อง
ดงั กลา่ วใหเ้ พอ่ื นในโรงเรยี น ครูกระตุ้นเพอ่ื การสร้างผลงานมาในรูปออกแบบโปสเตอร์

8) นายธงวุฒิ จันทร์เพชร ใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้กายวิภาคศาสตร์ของส่ิงมีชีวิตในไฟลมั มอลลัสกา เพ่ือ
ศึกษาและสำรวจชนิดพันธุ์ของหอยท่ีนำมาเป็นอาหารในท้องถิ่น ร่วมค้นคว้าการใช้ส่ิงมีชีวิตในกลุ่ม
มอลลสั กากบั สมนุ ไพรไทยในการดำรงชีวติ ประจำวนั

สงิ่ ท่ีตอ้ งพฒั นาตอ่ ไป
การออกแบบและการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ผู้สอนควรจะมกี ารวางแผนไวล้ ่วงหน้าว่าจะใช้คำถามเพือ่

วตั ถปุ ระสงคใ์ ด รปู แบบหรือประการใดท่ีจะสอดคลอ้ งกับเน้อื หาสาระและวตั ถุประสงค์ของบทเรียน

ผลการประเมินการแกป้ ญั หา
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไม่ประสบความสำเรจ็
เนื่องจาก สมาชิกทุกคนพร้อมหาวิธกี ารบรู ณาการรายวิชาท่ีไดร้ ับหน้าท่ีสอนตามหลักการจัดการเรียนรแู้ บบบรู ณา
การสะเต็มศกึ ษา

ขอ้ เสนอแนะผ้รู ายงานการบนั ทึกกจิ กรรม
....................................................นดั หมายครงั้ ต่อไป วนั ที่ 13 ธ.ค.62..................................

ลงชือ่ ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ครูผรู้ ายงาน

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

18

ลงชอื่ ผรู้ บั รองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

19

แบบบันทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ช่ือกลมุ่ กิจกรรม ครัง้ ท่ี ...3................................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บุคลากร วนั เดอื นปีท่จี ัดกจิ กรรม....... 13 ธ.ค.62.................
สถานที่.....หอ้ งชา่ งยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารทวั่ ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ การนกั เรียน  พัฒนาผู้เรียน

 ส่งเสริมการสร้างนวตั กรรมทางภมู ิปัญญาไทย

โดยการจดั กจิ กรรมชมุ นุม…………

ช่ือกิจกรรม
กจิ กรรม พฒั นาความคิดสร้างสรรค์เพอ่ื ส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทยโดยการจดั กิจกรรมชุมนมุ

1.Community ผรู้ ่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา ............นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ มิ ............................

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย กรรมการ

3. นางสาวสุภาพร บญุ ศริ ิ กรรมการ

4. นางสาวนงนุช ภญิ โญทรพั ย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวุฒิ จันทร์เพชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย .........ผอ.จงจดั จันทบ........................

Recording ผู้บนั ทึกข้อมูล .........นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์..............................

20

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปญั หาที่พบ

ผคู้ ้นพบปัญหาไดร้ ับมอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบในการจัดการเรยี นการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ และ

วทิ ยาศาสตร์ พบวา่ ในปกี ารศึกษาที่ผ่านมา นักเรยี นมปี ญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ไมส่ ามารถสรา้ ง

นวตั กรรมทีเ่ กิดประโยชน์ให้กับตนเองและสังคม และสามารถสรา้ งสรรค์ชนิ้ งานเพอื่ ผลประโยชนใ์ นเชิงพาณิชยไ์ ด้

ผคู้ น้ พบปัญหาไดค้ ดิ หาแนวทางแกป้ ัญหาดงั กลา่ ว จงึ ได้ศึกษาหานวัตกรรมทั้งเกา่ และใหม่นำมาแก้ปัญหา
จึงพบวา่ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเชอื่ มโยงความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรม และคณติ ศาสตร์และแนวคดิ ทางภูมิปัญญาไทยจะทำใหส้ ามารถแก้ปญั หาดังกล่าวได้ ผู้คน้ พบปัญหาจึง
ได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏที เี่ ก่ยี วข้องด้วย

สาเหตขุ องปัญหา
นกั เรียนมีปัญหาทางดา้ นการขาดความคิดสร้างสรรค์ เมือ่ นักเรียนขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ย่อมส่งผลให้ไม่

สามารถสรา้ งนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาดว้ ย ความคิดสร้างสรรค์ เปน็ จุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวัตกรรม
ดๆี หลายชิน้ ก่อกำเนดิ มาจากความคิดสร้างสรา้ งสรรค์ นวตั กรรมจงึ เป็นการนำความคิดสรา้ งสรรค์
Creativity มาต่อยอดออกมาให้เห็นเปน็ รูปธรรมให้จับตอ้ งได้ สร้างประโยชน์ให้กับผูค้ น และสามารถสรา้ ง
ผลประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้ อกี ทงั้ การจัดการเรียนการสอนในชัว่ โมงเรยี นปกตไิ ม่เพียงพอในการสร้างสรรค์
ชน้ิ งานทางภูมิปัญญาไทยไดเ้ ทา่ ท่คี วรเพราะมีความจำกัดในเรือ่ งเวลา และความสนใจเฉพาะบุคคล

ความรแู้ ละหลกั การทนี่ ำมาใช้
การบรู ณาการแบบขา้ มสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์ กับชีวติ จริง โดยใหน้ ักเรยี นประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทกั ษะเหล่านน้ั ในการแกป้ ญั หาที่
เกดิ ขนึ้ จริงในชมุ ชนหรอื สังคม และสร้างประสบการณก์ ารเรียนร้ขู องตนเอง ครูผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาที่เฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ท้ังน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษาน้ัน ครูต้อง

21

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวช้ีวดั ในวชิ าตา่ งๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรียน (ศนู ยส์ ะเต็มศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทีส่ นับสนุนการจดั การเรียนรูแ้ บบบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา ได้แก่
1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎีที่ให้ความสำคญั กับตัวผเู้ รียน เชอื่ ว่าผู้เรียน
สามารถสร้างความรู้ไดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วม การไดร้ ับประสบการณท์ ี่สมั พันธก์ บั ชีวิตจรงิ ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชีวติ ต่างๆ การแสวงหาความรู้ การคดิ การจดั การความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรูใ้ หม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรูเนอร์ เช่ือวา่ มนุษยเ์ ลือกจะรบั รสู้ ่ิงทตี่ นเองสนใจ และการ
เรียนรู้เกดิ จากกระบวนการคน้ พบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เน้นความสำคัญของการเรียนรู้อยา่ งมี
ความเขา้ ใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนสิ ซึม (Constructionism) เปน็ การเรียนรทู้ ่เี กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผ้เู รียน
กจิ กรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผ้เู รยี น
เปน็ กิจกรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ของผู้เรยี นใหก้ ว้างขวางย่งิ ขน้ึ เพื่อการ
คน้ พบความถนัดความสนใจของตนเอง และพัฒนาตนเองใหเ้ ต็มศกั ยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นมุ ท่ีมกี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชน์เพอื่ สังคม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มีหลกั การที่สำคัญคอื

1. เปน็ กิจกรรมท่ีเกดิ จากความสมคั รใจของผู้เรียน โดยมีครูเปน็ ท่ีปรึกษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ เู้ รียนช่วยกันคดิ ชว่ ยกนั ทำ และชว่ ยกันแก้ปญั หา
3. เป็นกจิ กรรมท่ีพฒั นาผเู้ รยี นตามสาระทกี่ ำหนดนอกเหนือจากการเรยี นการสอน
4. เป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสริม และพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รยี น
5. เป็นกิจกรรมทเี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรือท้องถิน่
ดงั น้นั การจัดกิจกรรมชมุ นุมทม่ี กี ารบูรณาการแบบขา้ มสาขาวิชา จะส่งเสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมทางภูมิ
ปัญญาไทยอย่างเป็นรปู ธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
1. กิจกรรม Share ครแู ลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ซึง่ กันและกนั

22

- เมอื่ สมาชกิ ทราบถงึ ปัญหา จงึ เหน็ พอ้ งกนั ในเรือ่ ง การจดั กิจกรรมชมุ นมุ ท่ีมีการบูรณาการแบบ
ขา้ มสาขาวิชา เนน้ การนำภูมปิ ัญญาไทยเปน็ หัวข้อหลักในการจดั กิจกรรมเพ่ือปลกู ฝังค่านยิ มให้
เกิดความภาคภูมิใจในภูมิปัญญาไทย สร้างสถานการณ์ให้เกิดกระบวนการคดิ อย่าสรา้ งสรรค์

2. กิจกรรม Learn ครเู รียนร้ปู ระสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน
- พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา

3. กจิ กรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทด่ี ีในการแกป้ ัญหาคณุ ภาพผเู้ รียนรว่ มกนั
- เลอื ก ส่อื นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกบั การแกป้ ญั หา

ผลทไี่ ด้รับจากกิจกรรม
ไดน้ วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ STEM 6 ขนั้ ตอน…ท่ีมขี ้นั ตอน ดงั นี้
ขัน้ ตอนที่ 1 ระบุปญั หาในชวี ติ จรงิ ที่พบหรอื นวัตกรรมท่ตี อ้ งการพัฒนา
ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ปญั หาหรือนำไปสกู่ ารพัฒนานวตั กรรมนนั้
ขัน้ ตอนที่ 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยเชอ่ื มโยงความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขน้ั ตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หาหรือพัฒนานวตั กรรม
ขนั้ ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวธิ ีการแก้ปญั หาหรอื พัฒนานวตั กรรมได้
ข้นั ตอนท่ี 6 นำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวัตกรรมท่ีพฒั นาได้

การนำผลที่ได้ไปใช้
นำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีคณุ ภาพใน 6 ข้ันตอน และเตรียมองค์ประกอบพนื้ ฐาน 3 องคป์ ระกอบ

คือ สื่อ ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และการจดั สิง่ แวดลอ้ ม ใหพ้ ร้อมทกุ ขนั้ ตอน ดังนี้
ข้นั ตอนท่ี 1 ระบุปัญหาในชวี ิตจริงท่ีพบหรอื นวัตกรรมท่ีตอ้ งการพฒั นา
ข้นั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่เี กี่ยวข้องกบั ปญั หาหรือนำไปสู่การพัฒนานวตั กรรมนั้น
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาโดยเช่ือมโยงความรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปญั หาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขน้ั ตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไขวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรือพฒั นานวัตกรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวธิ ีการแก้ปญั หา ผลการแก้ปัญหาหรือผลของนวตั กรรมทีพ่ ฒั นาได้

อื่นๆ…สื่อที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใชส้ ่อื ธรรมชาติ ที่จดั หามาได้จากทรพั ยากรในทอ้ งถิ่น…...

23

ปญั หา/อุปสรรคที่พบ
สมาชิกมปี ัญหา ในการออกแบบสถานการณ์ เพือ่ ใหน้ ักเรยี น พบนวตั กรรมที่ตอ้ งการพฒั นา

กิจกรรม/ขนั้ ตอน/งานทปี่ ฏิบตั ไิ ดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดงั นี้
1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา เล่าว่าสมาชิกในกลุ่มนำข้อมูลที่ได้จาก มานำเสนอ ครูนัดหมายให้นักเรียน
ประดิษฐ์เหรียญโปรยทานตามรูปแบบท่ีออกแบบไว้ และออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุหีบห่อใน
สัปดาหต์ อ่ ไป
2) นายอรรถพล ภูทอง เล่าว่าสมาชิกชุมนุมคนหลังเลนส์ (ม.ปลาย) แลกเปลี่ยนเทคนิคการถ่ายภาพ
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ เรียนรู้เรือ่ งตกแต่งภาพ ใช้เวบ็ บอร์ด พดู คุย ถามตอบ ปัญหา กล้องและการ
ถ่ายภาพท่ัวไป กลอ้ งดิจิทัล และ software-technic
3) นางสาวกาญจนา คงทน ร่วมสนทนากบั นักเรียนสมาชกิ เรื่องการออกแบบว่ามีเส้นทางและประวัติท่ี
ยาวนาน หลายคนอาจจะคิดว่ามันไม่น่าจะช่วยเสริมทักษะให้เราได้แต่ทำความเข้าใจประวัติศาสตร์
ของการออกแบบวฒั นธรรมและเทคโนโลยีต่างๆทค่ี วบคูก่ บั งานออกแบบตั้งแต่เร่ิมตน้ จนถึงปัจจบุ ันก็
เปน็ อกี หนงึ่ ปจั จัยท่ีจะเสริมสรา้ งทักษะดๆี ให้นักเรยี นได้
4) นางสาวนงนชุ ภิญโญทรพั ย์ นักเรียนนำเสนอสง่ิ ประดษิ ฐ์ของใช้อย่างงา่ ยๆเช่น 1.ทำแจกันขวด
แก้วสวยๆ โดยการนำขวดแยมที่กินหมดแล้วมาใส่ดอกไม้ทำเป็นแจกันน่ารักๆ ตบแตง่ ขวดแยม ด้วย
ริบบิ้นสวยๆ หรือ ตัดสติ๊กเกอร์น่ารักๆมาแปะรอบๆขวดแยมก็ได้ 2.กล่องใส่เอกสารพลาสติก ที่ใช้
แล้วหรือมมี ากเกนิ ความจำเป็น สามารถนำมายึดติดกับพนังเพื่อใสข่ องให้เป็นระเบียบ เช่น ในครวั ใส่
เรยี งขวดเคร่อื งปรุงตา่ งๆ ชนั้ เก็บของใส่พวกแปรง ทำความสะอาดหอ้ งน้ำ นอกจากความเป็นระเบยี บ
บ้านดูสะอาดสะอ้าน ยังหยิบใช้งานได้สะดวก อีกด้วย 3.โคมไฟเก๋ๆจากขวดแก้ว ไม่ว่าจะเป็นขวด
น้ำหวาน ถ้าอยากให้ดูเป็นผู้ใหญ่ขึ้นมาหน่อยก็เป็นขวดเหล้า เพียงใส่หลอดไฟเข้าไป จากขวดแก้ว
ธรรมดาๆ กก็ ลายเป็นโคมไฟเก๋ๆเทๆ่ ได้เลย ครนู ดั หมายใหน้ กั เรียนนำวสั ดมุ าทำในคร้งั ตอ่ ไป
5) นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ นักเรียนในชุมนุมชุมนมุ สมุนไพรไทยสสู่ ากล (ม.ตน้ ) ไดข้ ้อสรุปการสกัด
สมนุ ไพรเพือ่ เป็นส่วนผสมในยาหมอ่ งโดยใช้น้ำมันไพลสกดั นักเรยี นคน้ ควา้ เพ่ิมถึงข้อจำกดั และวธิ ีการ
สกัดจากแหล่งต่างๆเพ่ิมเติม เพ่ือจะได้มาสกัดจริงในครั้งต่อไป (นักเรียนร่วมระดมทุนในการซื้อ
อปุ กรณ์บางอยา่ ง เช่นน้ำมันปาล์ม ไพลสด)
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ร่วมสนทนากับนักเรียนในชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย)ได้
ข้อสรุปวา่ น้ำปรงุ ซ่ึงเป็นนำ้ หอมของไทย เป็นนวตั กรรมโบราณท่ีนา่ สนใจต่อการอนุรกั ษ์ การใชง้ านก็
เหมือนกับน้ำหอมท่ัวไปขน้ึ กรรมวิธแี ต่งกล่ินโดยการ -ปรุง- น่ันเอง ปรงุ กล่ินจากดอกไม้หลายๆชนิด

24

ให้ไดก้ ล่ินแบบท่ีลงตัวที่สดุ แต่ละที่ แต่ละย่ีห้อ จึงต่างออกไป เช่น น้ำปรงุ ของพระเทพ , น้ำปรุงเทพ
คนธรรพ์ , น้ำปรุงของวังวรดิศ สมาชิกชุมนุมจึงอยากสร้างน้ำปรุงของกลุ่มขึ้นโดยพัฒนาสูตรของ
ตนเองให้มีความเป็นสากลมากขนึ้ (นกั เรียนร่วมระดมทุนในการซ้อื อปุ กรณ์)
7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง ให้นักเรียนในชุมนุมสนุกกับคอมพิวเตอร์
ร่วมกนั ศกึ ษาขน้ั ตอนการดำเนินการสรา้ งโปสเตอรด์ ว้ ยโปรแกรม PowerPoint
8) นายธงวฒุ ิ จนั ทร์เพชร ร่วมกนั สนทนาเร่ืองหอยกบั ประโยชน์ในตำราแพทยแ์ ผนไทย

สิ่งท่ตี ้องพัฒนาตอ่ ไป
1. ให้นกั เรียนมีโอกาส มีอิสระในการแสดงความคดิ เหน็ ในการใช้และให้เหคผุ ลของตนเองมากขนึ้
2. เพมิ่ การอภปิ รายกระทำระหวา่ งครูกับนักเรียน หรอื ระหว่างนักเรยี นดว้ ยกนั โดยมคี รเู ปน็ ผู้

ประสานงาน วิธกี ารสอนแบบอภิปรายจะชว่ ยสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นคดิ เปน็ พดู เป็น และสรา้ งความเป็นประชาธปิ ไตย

ผลการประเมนิ การแกป้ ญั หา
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เน่ืองจาก สมาชกิ ทกุ คนพร้อมหาวธิ ีการบูรณาการรายวชิ าท่ีไดร้ ับหนา้ ที่สอนตามหลกั การจดั การเรียนรู้แบบบูรณา
การสะเตม็ ศึกษา

ข้อเสนอแนะผ้รู ายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายครั้งต่อไป วันท่ี 20 ธ.ค.62..................................

ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ )
ครูผ้รู ายงาน

ความคิดเหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา

25

....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผรู้ บั รองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

26

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ช่ือกลมุ่ กิจกรรม ครัง้ ท่ี ...4................................................................
ภาคเรยี นท.่ี ...2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บุคลากร วนั เดือนปีที่จัดกิจกรรม....... 20 ธ.ค.62.................
สถานที่.....ห้องชา่ งยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผ้เู รยี น

 ส่งเสริมการสร้างนวตั กรรมทางภูมปิ ัญญาไทย

โดยการจัดกิจกรรมชมุ นุม…………

ช่ือกิจกรรม
กจิ กรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรคเ์ พ่อื สง่ เสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภมู ิปัญญาไทยโดยการจัดกจิ กรรมชมุ นุม

1.Community ผรู้ ่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา ............นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉิม............................

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย กรรมการ

3. นางสาวสภุ าพร บญุ ศิริ กรรมการ

4. นางสาวนงนุช ภญิ โญทรัพย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวุฒิ จันทรเ์ พชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย .........ผอ.จงจัด จันทบ........................

Recording ผู้บนั ทกึ ข้อมลู .........นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์..............................

27

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเด็นปญั หาทพี่ บ

ผู้ค้นพบปัญหาได้รบั มอบหมายให้รบั ผิดชอบในการจัดการเรยี นการสอนวชิ าคอมพวิ เตอร์ และ

วิทยาศาสตร์ พบวา่ ในปกี ารศึกษาท่ีผา่ นมา นักเรยี นมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ไมส่ ามารถสรา้ ง

นวตั กรรมที่เกิดประโยชน์ให้กบั ตนเองและสังคม และสามารถสร้างสรรค์ช้ินงานเพอ่ื ผลประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ได้

ผ้คู น้ พบปญั หาได้คดิ หาแนวทางแกป้ ัญหาดงั กลา่ ว จึงไดศ้ กึ ษาหานวัตกรรมท้งั เก่าและใหมน่ ำมาแก้ปัญหา
จึงพบว่าการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเช่ือมโยงความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรม และคณติ ศาสตร์และแนวคิดทางภูมิปัญญาไทยจะทำใหส้ ามารถแกป้ ญั หาดงั กลา่ วได้ ผคู้ น้ พบปญั หาจึง
ได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏที เี่ ก่ียวขอ้ งดว้ ย

สาเหตขุ องปัญหา
นกั เรยี นมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ เมอ่ื นักเรยี นขาดความคิดสร้างสรรค์ ยอ่ มสง่ ผลให้ไม่

สามารถสร้างนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาดว้ ย ความคิดสร้างสรรค์ เปน็ จุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวัตกรรม
ดๆี หลายช้นิ ก่อกำเนดิ มาจากความคิดสรา้ งสร้างสรรค์ นวตั กรรมจงึ เป็นการนำความคดิ สรา้ งสรรค์
Creativity มาต่อยอดออกมาใหเ้ ห็นเปน็ รปู ธรรมให้จับตอ้ งได้ สรา้ งประโยชน์ใหก้ ับผคู้ น และสามารถสร้าง
ผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณิชยไ์ ด้ อกี ทัง้ การจดั การเรียนการสอนในช่ัวโมงเรยี นปกติไม่เพียงพอในการสรา้ งสรรค์
ช้นิ งานทางภูมปิ ัญญาไทยได้เท่าท่คี วรเพราะมคี วามจำกดั ในเรือ่ งเวลา และความสนใจเฉพาะบุคคล

ความร้แู ละหลักการทีน่ ำมาใช้
การบูรณาการแบบขา้ มสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะท่ีเรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ กบั ชีวิตจรงิ โดยให้นกั เรยี นประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทกั ษะเหลา่ น้นั ในการแก้ปัญหาที่
เกิดข้นึ จรงิ ในชุมชนหรอื สงั คม และสร้างประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของตนเอง ครผู สู้ อนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตาม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ทั้งน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษานั้น ครูต้อง

28

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวชี้วดั ในวชิ าต่างๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรียน (ศนู ยส์ ะเต็มศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา ไดแ้ ก่
1. ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎีท่ใี ห้ความสำคัญกับตัวผเู้ รียน เช่ือว่าผู้เรียน
สามารถสร้างความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การไดร้ ับประสบการณท์ ี่สมั พันธ์กบั ชวี ติ จริง ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจดั การความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรูใ้ หม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรเู นอร์ เช่ือว่ามนุษยเ์ ลือกจะรบั รู้สงิ่ ทตี่ นเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เน้นความสำคัญของการเรียนรู้อยา่ งมี
ความเขา้ ใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนิสซมึ (Constructionism) เป็นการเรยี นรทู้ ่เี กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผเู้ รียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผ้เู รยี น
เปน็ กจิ กรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณข์ องผเู้ รยี นใหก้ ว้างขวางย่งิ ข้นึ เพื่อการ
คน้ พบความถนัดความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นุมท่ีมกี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชน์เพื่อสังคม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มีหลักการที่สำคญั คือ

1. เปน็ กจิ กรรมที่เกิดจากความสมัครใจของผูเ้ รียน โดยมีครูเปน็ ท่ีปรกึ ษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ ูเ้ รียนช่วยกันคดิ ชว่ ยกนั ทำ และชว่ ยกันแก้ปญั หา
3. เปน็ กจิ กรรมทีพ่ ัฒนาผเู้ รยี นตามสาระทกี่ ำหนดนอกเหนอื จากการเรยี นการสอน
4. เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รียน
5. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรือท้องถ่นิ
ดงั น้นั การจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ทม่ี กี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา จะส่งเสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
2. กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรซู้ ึง่ กนั และกนั

29

- เม่ือสมาชกิ ทราบถงึ ปญั หา จึงเหน็ พอ้ งกันในเร่อื ง การจัดกิจกรรมชุมนุมทีม่ ีการบรู ณาการแบบ
ข้ามสาขาวิชา เน้นการนำภมู ิปญั ญาไทยเป็นหัวขอ้ หลักในการจัดกิจกรรมเพ่ือปลกู ฝังคา่ นยิ มให้
เกิดความภาคภมู ิใจในภูมิปญั ญาไทย สร้างสถานการณ์ใหเ้ กิดกระบวนการคิดอยา่ สรา้ งสรรค์

2. กจิ กรรม Learn ครเู รยี นรู้ประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน
- พิจารณา สอื่ นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา

3. กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางท่ีดีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผู้เรยี นร่วมกนั
- เลือก สอ่ื นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคล้องกบั การแกป้ ญั หา

ผลท่ีได้รบั จากกจิ กรรม
ไดน้ วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ STEM 6 ข้ันตอน…ท่มี ขี ้นั ตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 ระบุปัญหาในชีวติ จริงท่พี บหรอื นวัตกรรมทต่ี ้องการพฒั นา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดทเี่ กี่ยวข้องกับปัญหาหรอื นำไปสกู่ ารพฒั นานวตั กรรมนนั้
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยเชอื่ มโยงความรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ข้ันตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหาหรือพัฒนานวัตกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ แก้ไขวธิ กี ารแก้ปัญหาหรอื พฒั นานวัตกรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้
นำไปจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหม้ คี ุณภาพใน 6 ขน้ั ตอน และเตรียมองคป์ ระกอบพืน้ ฐาน 3 องคป์ ระกอบ

คอื ส่อื ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และการจัดสงิ่ แวดลอ้ ม ใหพ้ รอ้ มทกุ ขนั้ ตอน ดงั น้ี
ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปญั หาในชวี ิตจรงิ ที่พบหรอื นวตั กรรมท่ตี ้องการพฒั นา
ข้นั ตอนท่ี 2 รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดทีเ่ กย่ี วข้องกบั ปัญหาหรือนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมนั้น
ขั้นตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาโดยเช่ือมโยงความรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณิตศาสตร์
ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไขวิธกี ารแกป้ ัญหาหรือพฒั นานวัตกรรมได้
ขั้นตอนท่ี 6 นำเสนอวธิ กี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

อน่ื ๆ…สื่อท่ีใช้ประกอบการจัดการเรยี นรู้ ใชส้ ื่อธรรมชาติ ที่จัดหามาได้จากทรัพยากรในท้องถ่ิน…...

30

ปัญหา/อปุ สรรคทพี่ บ
สมาชิกมีปัญหา ในการออกแบบสถานการณ์ เพื่อใหน้ กั เรยี น พบนวตั กรรมทีต่ ้องการพฒั นา

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ตั ไิ ดด้ ี
รว่ มศกึ ษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา ดงั นี้
1) นางสาวรงุ่ ทวิ า วงค์ษา เลา่ ว่าสมาชิกในกลุม่ รว่ มประดิษฐ์เหรียญโปรยทานตามรูปแบบที่ออกแบบไว้
สว่ นใหญน่ ักเรยี นทำชิน้ งานไดต้ ามแบบ แตไ่ ด้ปริมาณไม่มาก มีลองผิดลองถูกแก้ไขชนิ้ งาน
2) นายอรรถพล ภูทอง เล่าว่า นักเรียนร่วมอภิปรายเรื่องราวจาก เว็บนิตยสารเพ่ือการถ่ายภาพและ
ท่องเที่ยว นิตยสารที่นำเสนอเก่ียวกับการถ่ายภาพ โดยมีเน้ือหาสาระทางการถ่ายภาพเชิงวิชาการ
เทคนิคการถา่ ยภาพ
3) นางสาวกาญจนา คงทน ให้นักเรียนร่วมสังเกตุการทำน้ำปรุงของนักเรียนชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล
(ม.ปลาย) พรอ้ มถ่ายภาพนงิ่ และเคลอ่ื นไหว
4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ นักเรียนร่วมทำสิ่งประดิษฐ์ตามกลุ่มที่นัดหมาย บางกลุ่มเกิดปัญหา
เรื่องการทำตามท่ีการออกแบบไม่สำเร็จต้องลองเปลีย่ นวสั ดุใหม่
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ นักเรียนในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ต้น) ร่วมกันสกัด
สมนุ ไพรโดยใชน้ ำ้ มันปาล์มมาสกดั ไพลสดได้สำเร็จตามทีว่ างแผน
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม นักเรียนในชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย) ทำน้ำปรุงของกลุ่ม
จากสตู รของตนเอง
7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง ให้นักเรียนในชุมนุมสนุกกับคอมพิวเตอร์
รว่ มกันสรา้ งโปสเตอร์ดว้ ยโปรแกรม PowerPoint ตามหัวขอ้ ท่ีนกั เรยี นกำหนดเอง
8) นายธงวุฒิ จนั ทรเ์ พชร ดูคลปิ วดี ีโอเรือ่ งหอยกับประโยชน์ในตำราแพทย์แผนไทย

ส่งิ ที่ต้องพัฒนาตอ่ ไป
1. ใหน้ กั เรยี นมีโอกาส มีอิสระในการแสดงความคิดเหน็ ในการใช้และใหเ้ หคุผลของตนเองมากขึน้
2. เพม่ิ การอภปิ รายกระทำระหว่างครูกบั นกั เรยี น หรือระหว่างนกั เรยี นด้วยกนั โดยมคี รูเปน็ ผู้

ประสานงาน วิธีการสอนแบบอภิปรายจะชว่ ยส่งเสริมให้นักเรียนคดิ เปน็ พดู เป็น และสรา้ งความเป็นประชาธปิ ไตย

ผลการประเมินการแก้ปญั หา

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็

31

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไม่ประสบความสำเร็จ
เนอื่ งจาก สมาชกิ ทกุ คนพรอ้ มหาวิธีการบรู ณาการรายวชิ าที่ไดร้ ับหน้าที่สอนตามหลกั การจัดการเรียนร้แู บบบรู ณา
การสะเตม็ ศึกษา

ข้อเสนอแนะผรู้ ายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายครงั้ ตอ่ ไป วันท่ี 3 ม.ค.63..................................

ลงชือ่ ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ )
ครูผ้รู ายงาน

ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)

ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

32

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1

ชื่อกลุ่มกิจกรรม คร้งั ที่ ...5................................................................
ภาคเรียนท่ี....2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บคุ ลากร วนั เดือนปีทจ่ี ดั กจิ กรรม....... 3 ม.ค.62.................
สถานท.ี่ ....ห้องชา่ งยนต์...................................
 งบประมาณ  บริหารท่วั ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ การนกั เรียน  พัฒนาผู้เรยี น

 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางภูมปิ ัญญาไทย

โดยการจัดกจิ กรรมชมุ นุม…………

ช่อื กจิ กรรม
กิจกรรม พัฒนาความคิดสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สง่ เสริมการสร้างนวัตกรรมทางภมู ปิ ญั ญาไทยโดยการจดั กิจกรรมชุมนมุ

1.Community ผรู้ ่วมอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา ............นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉมิ ............................

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจริญวัย กรรมการ

3. นางสาวสุภาพร บุญศิริ กรรมการ

4. นางสาวนงนชุ ภิญโญทรพั ย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวฒุ ิ จนั ทร์เพชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย .........ผอ.จงจัด จนั ทบ........................

Recording ผู้บนั ทกึ ขอ้ มลู .........นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์..............................

33

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาทีพ่ บ

ผู้ค้นพบปญั หาไดร้ บั มอบหมายให้รับผดิ ชอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ และ

วิทยาศาสตร์ พบวา่ ในปกี ารศึกษาท่ีผ่านมา นกั เรยี นมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ไมส่ ามารถสร้าง

นวัตกรรมท่เี กิดประโยชน์ใหก้ ับตนเองและสงั คม และสามารถสรา้ งสรรค์ช้ินงานเพ่อื ผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ได้

ผู้คน้ พบปญั หาได้คดิ หาแนวทางแกป้ ญั หาดังกล่าว จงึ ไดศ้ กึ ษาหานวัตกรรมทั้งเกา่ และใหมน่ ำมาแก้ปญั หา
จึงพบวา่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเช่ือมโยงความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรม และคณติ ศาสตร์และแนวคิดทางภมู ปิ ัญญาไทยจะทำให้สามารถแก้ปัญหาดงั กล่าวได้ ผู้ค้นพบปญั หาจึง
ได้ศึกษาแนวคดิ ทฤษฏีทเี่ กย่ี วขอ้ งด้วย

สาเหตขุ องปัญหา
นักเรยี นมปี ัญหาทางดา้ นการขาดความคิดสร้างสรรค์ เม่อื นักเรียนขาดความคิดสร้างสรรค์ ย่อมส่งผลให้ไม่

สามารถสรา้ งนวตั กรรมไมไ่ ดต้ ามมาด้วย ความคิดสร้างสรรค์ เปน็ จุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวตั กรรม
ดีๆหลายชนิ้ กอ่ กำเนดิ มาจากความคิดสร้างสรา้ งสรรค์ นวตั กรรมจงึ เปน็ การนำความคดิ สร้างสรรค์
Creativity มาต่อยอดออกมาให้เหน็ เป็นรปู ธรรมใหจ้ บั ตอ้ งได้ สร้างประโยชน์ให้กับผู้คน และสามารถสรา้ ง
ผลประโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์ได้ อีกท้ังการจัดการเรยี นการสอนในชว่ั โมงเรียนปกตไิ มเ่ พียงพอในการสร้างสรรค์
ช้นิ งานทางภมู ิปัญญาไทยได้เท่าที่ควรเพราะมคี วามจำกดั ในเร่อื งเวลา และความสนใจเฉพาะบคุ คล

ความรูแ้ ละหลกั การทน่ี ำมาใช้
การบูรณาการแบบข้ามสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ กับชวี ิตจริง โดยให้นกั เรียนประยกุ ต์ความรแู้ ละทักษะเหล่านน้ั ในการแก้ปญั หาที่
เกดิ ข้นึ จรงิ ในชมุ ชนหรอื สงั คม และสร้างประสบการณ์การเรียนรขู้ องตนเอง ครูผสู้ อนจดั กจิ กรรมการเรียนรูต้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ทั้งน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษาน้ัน ครูต้อง

34

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญ หาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวชี้วัดในวชิ าต่างๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรียน (ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา ไดแ้ ก่
1. ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎีทใี่ ห้ความสำคญั กับตัวผ้เู รียน เชื่อว่าผ้เู รียน
สามารถสร้างความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การไดร้ ับประสบการณ์ท่ีสัมพันธก์ บั ชีวติ จริง ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจดั การความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรูใ้ หม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรเู นอร์ เช่ือวา่ มนุษย์เลือกจะรบั รู้ส่ิงท่ีตนเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เน้นความสำคญั ของการเรียนรู้อย่างมี
ความเขา้ ใจและมีความหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนิสซมึ (Constructionism) เป็นการเรียนรทู้ เ่ี กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผเู้ รียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผู้เรยี น
เปน็ กจิ กรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ของผู้เรยี นใหก้ ว้างขวางย่งิ ข้ึน เพื่อการ
คน้ พบความถนัดความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นุมท่ีมกี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชนเ์ พอื่ สังคม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มีหลักการที่สำคญั คือ

1. เปน็ กจิ กรรมที่เกิดจากความสมัครใจของผูเ้ รียน โดยมคี รูเป็นท่ีปรึกษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ ูเ้ รียนช่วยกันคดิ ช่วยกนั ทำ และช่วยกนั แกป้ ญั หา
3. เปน็ กจิ กรรมทีพ่ ัฒนาผเู้ รยี นตามสาระทกี่ ำหนดนอกเหนอื จากการเรยี นการสอน
4. เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี น
5. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรือท้องถ่นิ
ดงั น้นั การจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ทม่ี กี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวชิ า จะส่งเสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
3. กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรซู้ ่ึงกันและกนั

35

- เม่ือสมาชิกทราบถึงปญั หา จงึ เหน็ พอ้ งกนั ในเร่อื ง การจดั กจิ กรรมชุมนุมทีม่ ีการบรู ณาการแบบ
ข้ามสาขาวิชา เนน้ การนำภูมปิ ัญญาไทยเปน็ หัวขอ้ หลกั ในการจัดกจิ กรรมเพ่ือปลกู ฝังค่านยิ มให้
เกิดความภาคภมู ิใจในภูมปิ ัญญาไทย สรา้ งสถานการณ์ใหเ้ กดิ กระบวนการคิดอยา่ สรา้ งสรรค์

2. กจิ กรรม Learn ครูเรียนร้ปู ระสบการณ์ในการจัดการเรียนร้รู ว่ มกัน
- พิจารณา สอื่ นวัตกรรม ท่มี คี วามสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

3. กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทด่ี ีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผู้เรยี นร่วมกนั
- เลือก สอ่ื นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปญั หา

ผลท่ีได้รบั จากกจิ กรรม
ไดน้ วัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ STEM 6 ข้ันตอน…ทมี่ ขี ้นั ตอน ดังนี้
ขน้ั ตอนท่ี 1 ระบปุ ญั หาในชวี ติ จรงิ ท่ีพบหรอื นวัตกรรมท่ีตอ้ งการพัฒนา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เกีย่ วขอ้ งกับปญั หาหรอื นำไปสกู่ ารพฒั นานวตั กรรมนนั้
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยเช่อื มโยงความรูด้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวิศวกรรม และคณติ ศาสตร์
ข้ันตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หาหรือพัฒนานวัตกรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไขวธิ กี ารแกป้ ญั หาหรอื พฒั นานวัตกรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวธิ ีการแก้ปญั หา ผลการแก้ปัญหาหรือผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้
นำไปจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้มคี ุณภาพใน 6 ข้ันตอน และเตรียมองค์ประกอบพืน้ ฐาน 3 องคป์ ระกอบ

คอื ส่อื ขน้ั ตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดส่ิงแวดล้อม ใหพ้ รอ้ มทกุ ขั้นตอน ดงั น้ี
ขั้นตอนท่ี 1 ระบุปัญหาในชวี ติ จริงที่พบหรือนวตั กรรมท่ีต้องการพัฒนา
ข้นั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับปัญหาหรือนำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมนั้น
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหาโดยเช่อื มโยงความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแก้ปัญหาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรงุ แก้ไขวิธีการแกป้ ญั หาหรือพฒั นานวัตกรรมได้
ขั้นตอนท่ี 6 นำเสนอวธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

อน่ื ๆ…สื่อท่ีใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใช้ส่ือธรรมชาติ ที่จัดหามาได้จากทรพั ยากรในท้องถ่ิน…...

36

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
สมาชกิ มีปัญหา ในการออกแบบสถานการณ์ เพื่อใหน้ กั เรียน พบนวตั กรรมทต่ี ้องการพฒั นา

กจิ กรรม/ขนั้ ตอน/งานท่ีปฏิบตั ิไดด้ ี
รว่ มศึกษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรือกระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หา ดงั นี้
1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา สมาชิกในกลุ่มนำเสนอเหรียญโปรยทานตามรูปแบบท่อี อกแบบไว้ ครูพูดถึง
ชอ่ งทางการทำเหรยี ญโปรยทานเพ่ือการค้า ให้ นักเรียนลองคิดเสนอช่องทางตามท่ีนักเรียนต้องการ
ได้ข้อสรุปว่าตอ้ งพฒั นาชนิ้ งานให้สวยและประณีตกวา่ เดิมเพ่ือ ลองเปิดเพจขายชน้ิ งาน
2) นายอรรถพล ภทู อง เลา่ ว่า นักเรยี นฝึกการถา่ ยภาพ ตามเทคนคิ การถ่ายภาพ ตามความสนใจ
3) นางสาวกาญจนา คงทน ให้นักเรียนร่วมสังเกตุการทำน้ำปรุงของนักเรียนชุมนุมสมนุ ไพรไทยสู่สากล
(ม.ปลาย) พร้อมถ่ายภาพน่ิงและเคลื่อนไหว
4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรพั ย์ นักเรียนรว่ มทำส่ิงประดิษฐ์ตามกลุ่มที่นัดหมาย
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ นักเรียนในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ต้น) นำสกัดสมุนไพร
สกดั มาทำยาหม่องสมนุ ไพลได้สำเรจ็ ตามทีว่ างแผน
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม นักเรียนในชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย) ทำน้ำปรุงของกลุ่ม
จากสตู รของตนเอง ตอ่ จากครัง้ ก่อน
7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง ให้นักเรียนในชุมนุมสนุกกับคอมพิวเตอร์
รว่ มกนั สร้างโปสเตอร์ดว้ ยโปรแกรม PowerPoint ตามหัวข้อทน่ี ักเรียนกำหนดเอง ตอ่ จากคร้ังก่อน

ส่งิ ทตี่ ้องพัฒนาต่อไป
1. ให้นกั เรยี นมีโอกาส มอี ิสระในการแสดงความคิดเห็นในการใช้และใหเ้ หคผุ ลของตนเองมากขึ้น
2. เพ่ิมการอภิปรายกระทำระหวา่ งครูกบั นกั เรียน หรือระหวา่ งนักเรียนดว้ ยกัน โดยมคี รเู ป็นผู้ประ

สานงาน วิธีการสอนแบบอภปิ รายจะชว่ ยสง่ เสริมให้นกั เรียนคิดเปน็ พดู เป็น และสรา้ งความเปน็ ประชาธิปไตย

ผลการประเมินการแกป้ ัญหา

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเรจ็

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

37

เนือ่ งจาก สมาชกิ ทกุ คนพร้อมหาวธิ ีการบรู ณาการรายวชิ าท่ไี ดร้ บั หน้าที่สอนตามหลกั การจดั การเรยี นรู้แบบบรู ณา
การสะเต็มศึกษา

ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายครั้งต่อไป วันท่ี 10 ม.ค.63..................................

ลงชอ่ื ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ครูผรู้ ายงาน

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผูร้ บั รองกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community

ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

38

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ช่ือกลมุ่ กิจกรรม คร้งั ที่ ...6................................................................
ภาคเรียนที่....2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วิชาการ  บุคลากร วนั เดอื นปีทจ่ี ดั กจิ กรรม....... 10 ม.ค.62.................
สถานท่ี.....ห้องชา่ งยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารทว่ั ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจการนักเรียน  พฒั นาผ้เู รยี น

 สง่ เสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภูมปิ ัญญาไทย

โดยการจัดกจิ กรรมชมุ นมุ …………

ชือ่ กิจกรรม
กิจกรรม พัฒนาความคิดสร้างสรรคเ์ พ่อื สง่ เสริมการสร้างนวัตกรรมทางภมู ิปัญญาไทยโดยการจัดกิจกรรมชุมนมุ

1.Community ผรู้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา ............นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉิม............................

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย กรรมการ

3. นางสาวสภุ าพร บญุ ศิริ กรรมการ

4. นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ กรรมการ

5. นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวุฒิ จันทรเ์ พชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย .........ผอ.จงจดั จนั ทบ........................

Recording ผ้บู นั ทกึ ขอ้ มูล .........นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์..............................

39

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ

ผู้ค้นพบปญั หาไดร้ บั มอบหมายให้รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ และ

วิทยาศาสตร์ พบวา่ ในปกี ารศึกษาท่ีผ่านมา นกั เรยี นมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ไมส่ ามารถสร้าง

นวัตกรรมท่เี กิดประโยชน์ใหก้ บั ตนเองและสงั คม และสามารถสรา้ งสรรค์ช้ินงานเพ่ือผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ได้

ผู้คน้ พบปัญหาได้คดิ หาแนวทางแกป้ ญั หาดังกล่าว จงึ ไดศ้ กึ ษาหานวัตกรรมทั้งเกา่ และใหมน่ ำมาแก้ปญั หา
จึงพบวา่ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนโดยเช่ือมโยงความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรม และคณติ ศาสตร์และแนวคิดทางภมู ปิ ัญญาไทยจะทำให้สามารถแก้ปัญหาดงั กล่าวได้ ผู้ค้นพบปญั หาจึง
ได้ศึกษาแนวคดิ ทฤษฏีทเี่ กย่ี วขอ้ งด้วย

สาเหตขุ องปัญหา
นักเรยี นมปี ัญหาทางดา้ นการขาดความคิดสร้างสรรค์ เม่อื นักเรียนขาดความคิดสร้างสรรค์ ย่อมส่งผลให้ไม่

สามารถสรา้ งนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาด้วย ความคิดสร้างสรรค์ เป็นจุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวตั กรรม
ดีๆหลายชนิ้ กอ่ กำเนดิ มาจากความคิดสร้างสรา้ งสรรค์ นวตั กรรมจงึ เปน็ การนำความคดิ สร้างสรรค์
Creativity มาต่อยอดออกมาให้เหน็ เป็นรปู ธรรมใหจ้ บั ตอ้ งได้ สร้างประโยชน์ให้กับผู้คน และสามารถสรา้ ง
ผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณิชย์ได้ อีกท้ังการจัดการเรยี นการสอนในชว่ั โมงเรียนปกตไิ มเ่ พียงพอในการสร้างสรรค์
ช้นิ งานทางภมู ิปญั ญาไทยได้เท่าที่ควรเพราะมคี วามจำกดั ในเร่อื งเวลา และความสนใจเฉพาะบคุ คล

ความรูแ้ ละหลกั การทน่ี ำมาใช้
การบูรณาการแบบข้ามสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์ กับชวี ิตจริง โดยให้นกั เรียนประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทักษะเหล่านน้ั ในการแก้ปญั หาที่
เกดิ ข้นึ จรงิ ในชมุ ชนหรอื สงั คม และสร้างประสบการณ์การเรยี นร้ขู องตนเอง ครูผสู้ อนจดั กจิ กรรมการเรียนรูต้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ทั้งน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษาน้ัน ครูต้อง

40

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวชี้วัดในวชิ าต่างๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรียน (ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา ได้แก่
1. ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎที ใี่ ห้ความสำคญั กบั ตัวผู้เรยี น เช่อื ว่าผู้เรียน
สามารถสร้างความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การไดร้ ับประสบการณท์ ่ีสัมพนั ธ์กบั ชีวติ จริง ได้รับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจัดการความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรู้ใหม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรเู นอร์ เช่ือว่ามนษุ ย์เลอื กจะรบั รู้ส่งิ ท่ีตนเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เนน้ ความสำคญั ของการเรียนรอู้ ย่างมี
ความเขา้ ใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนิสซมึ (Constructionism) เป็นการเรยี นร้ทู ีเ่ กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผเู้ รียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความตอ้ งการของผ้เู รยี น
เปน็ กจิ กรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณข์ องผเู้ รียนให้กว้างขวางยง่ิ ขนึ้ เพื่อการ
คน้ พบความถนัดความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นุมท่ีมกี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชนเ์ พอื่ สงั คม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มีหลักการที่สำคญั คือ

1. เปน็ กจิ กรรมที่เกิดจากความสมัครใจของผูเ้ รียน โดยมีครูเปน็ ท่ีปรึกษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ ูเ้ รียนช่วยกันคดิ ช่วยกนั ทำ และชว่ ยกันแกป้ ญั หา
3. เปน็ กจิ กรรมทีพ่ ัฒนาผู้เรยี นตามสาระที่กำหนดนอกเหนอื จากการเรยี นการสอน
4. เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของผู้เรยี น
5. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรอื ท้องถ่นิ
ดงั น้นั การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ ทม่ี กี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา จะส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
4. กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรซู้ งึ่ กนั และกนั

41

- เม่ือสมาชกิ ทราบถึงปัญหา จงึ เห็นพ้องกนั ในเรอ่ื ง การจดั กิจกรรมชมุ นมุ ท่ีมีการบูรณาการแบบ
ขา้ มสาขาวชิ า เน้นการนำภูมิปัญญาไทยเป็นหัวขอ้ หลกั ในการจดั กจิ กรรมเพื่อปลกู ฝงั ค่านยิ มให้
เกิดความภาคภมู ิใจในภมู ิปญั ญาไทย สร้างสถานการณใ์ ห้เกดิ กระบวนการคดิ อยา่ สร้างสรรค์

2. กจิ กรรม Learn ครูเรียนร้ปู ระสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ร่วมกัน
- พิจารณา สอ่ื นวตั กรรม ทมี่ ีความสอดคล้องกบั การแกป้ ญั หา

3. กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางทดี่ ใี นการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรยี นรว่ มกนั
- เลือก สอื่ นวัตกรรม ที่มีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลท่ไี ด้รบั จากกิจกรรม
ได้นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ STEM 6 ข้ันตอน…ที่มขี ั้นตอน ดงั น้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 ระบปุ ัญหาในชีวติ จรงิ ท่ีพบหรอื นวัตกรรมที่ตอ้ งการพัฒนา
ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคิดท่เี กยี่ วข้องกบั ปัญหาหรอื นำไปสู่การพัฒนานวัตกรรมนน้ั
ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยเชอ่ื มโยงความรูด้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณิตศาสตร์
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปญั หาหรือพฒั นานวตั กรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือผลของนวตั กรรมทพี่ ฒั นาได้

การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้
นำไปจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ ห้มีคณุ ภาพใน 6 ขั้นตอน และเตรียมองค์ประกอบพ้ืนฐาน 3 องค์ประกอบ

คอื สอื่ ขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และการจดั ส่งิ แวดล้อม ใหพ้ รอ้ มทุกข้นั ตอน ดงั นี้
ข้ันตอนที่ 1 ระบปุ ญั หาในชวี ิตจริงท่พี บหรือนวตั กรรมท่ตี อ้ งการพัฒนา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปัญหาหรือนำไปสู่การพฒั นานวัตกรรมนนั้
ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาโดยเชอ่ื มโยงความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหาหรือพฒั นานวัตกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ แกไ้ ขวิธกี ารแกป้ ัญหาหรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขน้ั ตอนท่ี 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรอื ผลของนวตั กรรมทพ่ี ัฒนาได้

อ่นื ๆ…ส่อื ทใี่ ช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใช้สอ่ื ธรรมชาติ ที่จดั หามาไดจ้ ากทรพั ยากรในทอ้ งถนิ่ …...

42

ปญั หา/อปุ สรรคทพี่ บ
สมาชิกมปี ญั หา ในการออกแบบสถานการณ์ เพอื่ ใหน้ ักเรยี น พบนวตั กรรมท่ีต้องการพฒั นา

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ีปฏบิ ตั ิไดด้ ี
ร่วมศกึ ษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการท่จี ะใช้ในการแกไ้ ขปญั หา ดงั น้ี
1) นางสาวรุ่งทิวา วงค์ษา สมาชิกในกลุ่มลองเปิดเพจขายชน้ิ งาน สมาชกิ บางสว่ นทำเหรียญโปรยทาน
ต่อ
2) นายอรรถพล ภูทอง เลา่ วา่ นักเรยี นฝกึ การถา่ ยภาพ ตามเทคนคิ การถา่ ยภาพ ตามความสนใจ
3) นางสาวกาญจนา คงทน ให้นักเรียนร่วมสังเกตุการทำน้ำปรุงของนักเรียนชุมนุมสมนุ ไพรไทยสู่สากล
(ม.ปลาย) พรอ้ มถา่ ยภาพนิ่งและเคลอ่ื นไหว
4) นางสาวนงนุช ภิญโญทรัพย์ นักเรียนร่วมทำสิ่งประดิษฐ์ตามกลุ่มท่ีนัดหมาย เร่ิมคิดทำในรูป
โครงงานหอ้ งเรยี น
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ นกั เรียนในชุมนุมชุมนุมสมุนไพรไทยสสู่ ากล (ม.ต้น) ร่วมกนั คิดวา่ ควรมี
การสรา้ งรายได้โดยการนำยาหม่องเพือ่ จำหนา่ ยโดยเรม่ิ จากเพ่อื นนักเรยี นละครูในโรงเรียน
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม นักเรียนในชุมนุมสมุนไพรไทยสู่สากล (ม.ปลาย) นำน้ำปรุงของกลุ่ม
จากสูตรของตนเอง มาลองดมกลิน่ เปรยี บเทยี บกนั ในแตล่ ะกลุ่มบอกจุดเด่นจุดดอ้ ยของตวั เอง
7) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ และ นายสมชาย กราบทอง ให้นักเรียนในชุมนุมสนุกกับคอมพิวเตอร์
ร่วมกันสรา้ งโปสเตอรด์ ้วยโปรแกรม PowerPoint ตามหัวขอ้ ทนี่ ักเรียนกำหนดเอง ตอ่ จากครง้ั ก่อน
8) นายธงวุฒิ จันทรเ์ พชร ใหน้ กั เรยี นช่วยกันทำโมเดลหอยจากปูนปาสเตอร์ สร้างเปน็ ชนิ้ งาน

ส่ิงทต่ี ้องพฒั นาตอ่ ไป
1. ใหน้ กั เรียนมโี อกาส มีอิสระในการแสดงความคดิ เห็นในการใช้และใหเ้ หคผุ ลของตนเองมากขน้ึ
2. เพิ่มการอภิปรายกระทำระหวา่ งครกู บั นกั เรียน หรือระหวา่ งนักเรยี นด้วยกัน โดยมีครเู ป็นผู้ประ

สานงาน วิธีการสอนแบบอภิปรายจะชว่ ยส่งเสริมให้นกั เรียนคดิ เป็น พูดเป็น และสร้างความเป็นประชาธิปไตย

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

43

เน่ืองจาก สมาชกิ ทกุ คนพรอ้ มหาวิธกี ารบรู ณาการรายวิชาทไ่ี ด้รบั หนา้ ท่ีสอนตามหลกั การจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณา
การสะเตม็ ศกึ ษา

ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบนั ทกึ กิจกรรม
....................................................นัดหมายครงั้ ต่อไป วันที่ 17 ม.ค.63..................................

ลงชอื่ ...............................................................Model Teacher
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ครูผู้รายงาน

ความคิดเหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผรู้ บั รองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชอื่ ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)

ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

44

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 1

ชื่อกลุ่มกิจกรรม ครงั้ ที่ ...7................................................................
ภาคเรยี นที่....2.......ปีการศึกษา.....2562........
 วชิ าการ  บุคลากร วันเดอื นปที ่จี ดั กจิ กรรม....... 17 ม.ค.62.................
สถานที.่ ....หอ้ งช่างยนต์...................................
 งบประมาณ  บรหิ ารทวั่ ไป เวลา....... 15.10 - 18.10 น. ...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจการนกั เรยี น  พัฒนาผู้เรยี น

 ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมทางภูมิปัญญาไทย

โดยการจดั กจิ กรรมชมุ นุม…………

ชอ่ื กจิ กรรม
กิจกรรม พัฒนาความคิดสรา้ งสรรคเ์ พ่อื ส่งเสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมทางภูมปิ ัญญาไทยโดยการจดั กิจกรรมชมุ นมุ

1.Community ผรู้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา ............นางสาวขวัญหล้า เกตฉุ มิ ............................

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภิปราย 1. นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ กรรมการ

2. นางสาวพรศรี เจรญิ วัย กรรมการ

3. นางสาวสภุ าพร บญุ ศริ ิ กรรมการ

4. นางสาวนงนชุ ภญิ โญทรพั ย์ กรรมการ

5. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

6. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

7. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

8. นางสาวรงุ่ ทิวา วงค์ษา กรรมการ

9. นายสมชาย กราบทอง กรรมการ

10. นายธงวุฒิ จนั ทร์เพชร กรรมการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย .........ผอ.จงจัด จนั ทบ........................

Recording ผู้บนั ทกึ ขอ้ มลู .........นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์..............................

45

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 1

ประเดน็ ปญั หาท่พี บ

ผูค้ น้ พบปญั หาได้รบั มอบหมายให้รับผดิ ชอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ และ

วิทยาศาสตร์ พบว่าในปีการศึกษาที่ผา่ นมา นักเรียนมีปัญหาทางด้านการขาดความคดิ สร้างสรรค์ ไม่สามารถสร้าง

นวัตกรรมทเ่ี กิดประโยชนใ์ ห้กับตนเองและสังคม และสามารถสรา้ งสรรคช์ ิน้ งานเพ่อื ผลประโยชน์ในเชงิ พาณิชยไ์ ด้

ผคู้ ้นพบปัญหาได้คิดหาแนวทางแกป้ ัญหาดังกล่าว จึงได้ศึกษาหานวัตกรรมทัง้ เกา่ และใหม่นำมาแก้ปัญหา
จงึ พบว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเชอ่ื มโยงความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรม และคณิตศาสตร์และแนวคดิ ทางภมู ิปัญญาไทยจะทำให้สามารถแก้ปัญหาดงั กลา่ วได้ ผู้ค้นพบปัญหาจึง
ได้ศึกษาแนวคดิ ทฤษฏที เี่ กย่ี วข้องดว้ ย

สาเหตุของปญั หา
นักเรยี นมีปญั หาทางดา้ นการขาดความคิดสร้างสรรค์ เมื่อนกั เรยี นขาดความคิดสรา้ งสรรค์ ยอ่ มส่งผลให้ไม่

สามารถสรา้ งนวัตกรรมไมไ่ ดต้ ามมาดว้ ย ความคิดสร้างสรรค์ เป็นจุดกำเนิดแรกของนวตั กรรม เพราะ นวตั กรรม
ดๆี หลายชน้ิ ก่อกำเนดิ มาจากความคิดสรา้ งสร้างสรรค์ นวัตกรรมจงึ เปน็ การนำความคดิ สร้างสรรค์
Creativity มาต่อยอดออกมาใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรมให้จับตอ้ งได้ สรา้ งประโยชน์ใหก้ บั ผู้คน และสามารถสรา้ ง
ผลประโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ยไ์ ด้ อกี ทง้ั การจัดการเรียนการสอนในชัว่ โมงเรียนปกตไิ ม่เพยี งพอในการสร้างสรรค์
ช้นิ งานทางภูมปิ ัญญาไทยไดเ้ ทา่ ทีค่ วรเพราะมีความจำกดั ในเร่ืองเวลา และความสนใจเฉพาะบคุ คล

ความร้แู ละหลักการทนี่ ำมาใช้
การบูรณาการแบบข้ามสาขาวชิ า

เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยนักเรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะที่เรียนรู้จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ กับชีวิตจรงิ โดยใหน้ กั เรียนประยกุ ต์ความร้แู ละทกั ษะเหล่านนั้ ในการแก้ปัญหาที่
เกดิ ขน้ึ จริงในชุมชนหรอื สังคม และสรา้ งประสบการณก์ ารเรยี นร้ขู องตนเอง ครผู ู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ าม
ความสนใจหรือปัญหาของนักเรียน โดยครุกำหนดกรอบหรือหัวข้อหลักของปัญหากว้างๆแล้วให้นักเรียนระบุ
ปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจงและวิธีการแก้ปัญหา ท้ังน้ี ในการกำหนดกรอบของปัญหาให้นักเรียนศึกษาน้ัน ครูต้อง

46

คำนึงถึงปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการเรียนรู้ของนักเรียน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ปัญหาหรือคำถามที่นักเรียนสนใจ 2)
ตัวชี้วดั ในวชิ าต่างๆที่เก่ยี วข้อง 3) ความรู้เดิมของนกั เรียน (ศนู ยส์ ะเตม็ ศกึ ษาแห่งชาติ,2558,น.5)

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ท่ีสนับสนนุ การจดั การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการสะเต็มศึกษา ได้แก่
1. ทฤษฎีคอนสตรคั ตวิ ิสต์ (Constructivist) ซงึ่ เปน็ ทฤษฎที ใี่ ห้ความสำคญั กบั ตัวผ้เู รียน เชื่อว่าผ้เู รียน
สามารถสร้างความรไู้ ดด้ ้วยตนเอง
2. ทฤษฎีการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การไดร้ ับประสบการณท์ ่ีสัมพนั ธก์ บั ชีวติ จรงิ ไดร้ ับการฝึกฝนทักษะ
ชวี ติ ตา่ งๆ การแสวงหาความรู้ การคิด การจดั การความรู้ การแสดงอกก การสร้างความรูใ้ หม่ และการทำงาน
3. ทฤษฎีการเรียนร้ขู องบรูเนอร์ (Bruner) บรเู นอร์ เช่ือว่ามนษุ ย์เลอื กจะรบั รู้สง่ิ ท่ีตนเองสนใจ และการ
เรยี นรู้เกดิ จากกระบวนการค้นพบดว้ ยตนเอง
4. ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย (Meaningful verbal Learning) เนน้ ความสำคญั ของการเรียนรู้อย่างมี
ความเขา้ ใจและมคี วามหมาย
5. ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ตามแนวคอนสตรคั ชันนิสซมึ (Constructionism) เป็นการเรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากการสร้างพลัง
ความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผเู้ รียน
กิจกรรมชุมนุม
กิจกรรมชุมนุม หมายถึง การจัดกจิ กรรมเพื่อพฒั นาความถนัด ความสนใจ ตามความต้องการของผ้เู รยี น
เปน็ กจิ กรรมท่มี งุ่ เน้นการเติมเต็มความรู้ ความชำนาญและประสบการณข์ องผู้เรยี นให้กว้างขวางยิ่งข้ึน เพื่อการ
คน้ พบความถนัดความสนใจของตนเอง และพฒั นาตนเองใหเ้ ต็มศักยภาพ ตลอดจนการพฒั นาทกั ษะของสังคม
และการจดั กิจกรรมชมุ นุมท่ีมกี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา ของการทำประโยชนเ์ พอ่ื สังคม
การจดั กจิ กรรมชมุ นมุ มีหลักการที่สำคญั คือ

1. เปน็ กจิ กรรมที่เกิดจากความสมัครใจของผูเ้ รียน โดยมคี รูเปน็ ท่ีปรึกษา
2. เปน็ กจิ กรรมทีผ่ ูเ้ รียนช่วยกันคดิ ช่วยกนั ทำ และชว่ ยกนั แก้ปัญหา
3. เปน็ กจิ กรรมทีพ่ ัฒนาผเู้ รยี นตามสาระที่กำหนดนอกเหนอื จากการเรยี นการสอน
4. เปน็ กจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของผู้เรยี น
5. เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา หรอื ท้องถ่นิ
ดงั น้นั การจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ทม่ี กี ารบรู ณาการแบบข้ามสาขาวิชา จะส่งเสรมิ การสรา้ งนวัตกรรมทางภูมิ
ปญั ญาไทยอย่างเป็นรูปธรรมได้

กจิ กรรมทีท่ ำ/ปฏิบัติ
5. กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรซู้ ึง่ กันและกนั

47

- เม่ือสมาชกิ ทราบถึงปัญหา จงึ เห็นพ้องกนั ในเรอ่ื ง การจดั กิจกรรมชมุ นุมท่ีมีการบูรณาการแบบ
ขา้ มสาขาวชิ า เน้นการนำภูมิปญั ญาไทยเปน็ หวั ข้อหลกั ในการจดั กิจกรรมเพ่อื ปลกู ฝังค่านยิ มให้
เกิดความภาคภูมใิ จในภมู ิปญั ญาไทย สร้างสถานการณใ์ หเ้ กดิ กระบวนการคดิ อยา่ สร้างสรรค์

2. กจิ กรรม Learn ครูเรียนร้ปู ระสบการณ์ในการจัดการเรียนร้รู ว่ มกัน
- พิจารณา สอ่ื นวตั กรรม ทมี่ คี วามสอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา

3. กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางทดี่ ใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผู้เรยี นรว่ มกัน
- เลือก สอื่ นวัตกรรม ที่มีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลท่ไี ด้รบั จากกิจกรรม
ได้นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ STEM 6 ขั้นตอน…ที่มขี ้นั ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ตอนท่ี 1 ระบปุ ัญหาในชวี ติ จรงิ ท่ีพบหรือนวัตกรรมทตี่ ้องการพัฒนา
ขน้ั ตอนท่ี 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่เี กยี่ วข้องกบั ปัญหาหรือนำไปส่กู ารพัฒนานวตั กรรมนน้ั
ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาโดยเชอ่ื มโยงความร้ดู า้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ญั หาหรือพฒั นานวตั กรรม
ขั้นตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแก้ปญั หาหรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปญั หา ผลการแก้ปัญหาหรอื ผลของนวัตกรรมทพี่ ฒั นาได้

การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้
นำไปจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ ห้มีคณุ ภาพใน 6 ขั้นตอน และเตรียมองคป์ ระกอบพ้ืนฐาน 3 องค์ประกอบ

คอื สอื่ ขนั้ ตอนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ และการจัดส่งิ แวดล้อม ใหพ้ รอ้ มทุกขน้ั ตอน ดังนี้
ข้ันตอนที่ 1 ระบปุ ญั หาในชีวิตจริงท่พี บหรือนวัตกรรมทีต่ อ้ งการพฒั นา
ขน้ั ตอนที่ 2 รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หาหรอื นำไปสู่การพฒั นานวัตกรรมนนั้
ขน้ั ตอนท่ี 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หาโดยเชอ่ื มโยงความรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กระบวน
การทางวศิ วกรรม และคณติ ศาสตร์
ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนและดำเนินการแกป้ ัญหาหรือพัฒนานวัตกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ แกไ้ ขวิธีการแก้ปัญหาหรอื พฒั นานวตั กรรมได้
ขน้ั ตอนท่ี 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรือผลของนวัตกรรมทพ่ี ัฒนาได้

อ่นื ๆ…ส่อื ทใี่ ช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ใช้สอ่ื ธรรมชาติ ที่จดั หามาไดจ้ ากทรัพยากรในทอ้ งถนิ่ …...

48


Click to View FlipBook Version