๑
ก
คำนำ
สำนักงาน กศน. ได้มีการกำหนดเครือ่ งมอื นิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพื่อดำเนินการติดตามผลการนิเทศภายในของสถานศึกษา และรวบรวมรายงานผล
การดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สำนกั งาน กศน. โดยสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางน้ำเปรี้ยว ได้ดำเนินการนิเทศ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามเครืองมือนิเทศ และจัดทำรายงานผลการนิเทศครึ่งปี
(กนั ยายน ๒๕๖๒ – มนี าคม ๒๕๖๓) โดยประกอบด้วยแบบนเิ ทศนโยบายเรง่ ด่วน กศน. ๖ wow และนโยบาย
ตอ่ เน่อื ง หวังว่าเอกสาร ”รายงานผลการนิเทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ
๒๕๖๓” ฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู กศน. และผ้ทู ่ีเกี่ยวขอ้ งทกุ ระดบั ในการ พัฒนา
คุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ต่อไป
กศน.อำเภอบางนำ้ เปรย้ี ว
๑๙ เมษายน ๒๕๖๓
ข
สารบญั
เรือ่ ง หน้า
คำนำ............................................................................................................................................................... ก
สารบัญ ........................................................................................................................................................... ข
รายผลการนเิ ทศกจิ กรรมภายในสถานศกึ ษา ...................................................................................................๑
ประจำไตรมาสท่ี ๑-๒ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓................................................................................................๑
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางนำ้ เปรี้ยว.......................................................๑
ความเป็นมา..............................................................................................................................................๑
วตั ถปุ ระสงค์ .............................................................................................................................................๑
กจิ กรรมการนเิ ทศ.....................................................................................................................................๑
ระยะเวลาและปฏิทินการนเิ ทศ.................................................................................................................๑
ตารางรายงานผลการนิเทศกจิ กรรม ................................................................................................................๒
๑. แบบนเิ ทศการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (Good Teacher)......................................................๘
๒. แบบนิเทศการเรง่ ยกระดบั กศน.ตำบล ๙๒๘ แห่ง เปน็ กศน.ตำบล ๕ ดี พรีเม่ยี ม..................................๑๐
๖. แบบนิเทศการพฒั นาการจดั การศึกษาออนไลน์ กศน..............................................................................๑๘
๘. แบบนิเทศการเร่งปรบั หลักสูตรการจดั การศกึ ษาอาชพี กศน...................................................................๒๐
๙. แบบนิเทศการเสริมสร้างความรว่ มมือกับภาคีเครอื ขา่ ย...........................................................................๒๒
๑๐. แบบนเิ ทศการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาเพ่ือประโยชน์ตอ่ การจดั การศึกษาและกลมุ่ เปา้ หมาย.....๒๔
๑. แบบบันทกึ การนเิ ทศการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน...............................................................................................๒๗
เรอ่ื ง หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ .............................๒๗
๔. แบบบนั ทึกการนิเทศการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง...................................................................................................๓๒
๕. แบบบนั ทกึ การนิเทศการศึกษาตามอัธยาศัย ...........................................................................................๔๒
เรื่อง ห้องสมุดประชาชน........................................................................................................................๔๒
๖. แบบบันทึกการนิเทศการศึกษาตามอัธยาศยั ...........................................................................................๔๖
เรอ่ื ง บ้านหนงั สือชมุ ชน .........................................................................................................................๔๖
๗. แบบบนั ทึกการนเิ ทศการศกึ ษาตามอัธยาศยั ...........................................................................................๔๘
เร่อื ง ห้องสมุดเคล่อื นท่สี ำหรบั ชาวตลาด................................................................................................๔๘
๘. แบบบนั ทึกการนเิ ทศผลการดำเนินงาน...................................................................................................๕๐
เรื่อง การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา................................................................๕๐
๑๐. แบบบันทกึ การนเิ ทศผลการดำเนนิ งาน...............................................................................................๕๒
เรอ่ื ง พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรชั กาลท่ี ๑๐............................................................๕๒
คณะผ้จู ัดทำ.................................................................................................................................................๕๔
รายผลการนิเทศกจิ กรรมภายในสถานศกึ ษา
ประจำไตรมาสท่ี ๑-๒ ปงี บประมาณ ๒๕๖๓
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางนำ้ เปรีย้ ว
-------------------------------------------------
ความเป็นมา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางนำ้ เปรี้ยว สำนักงานสง่ เสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา ได้กำหนดให้มีการนิเทศภายใน ประจำไตรมาสที่ ๑ - ๒
ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ โดยใช้กระบวนการมสี ่วนร่วมผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้การดำเนินงานของ
สถานศึกษาสอดคล้องกบั นโยบาย กลยุทธจ์ ุดเน้นของ สำนักงาน กศน. และเพื่อเป็นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน
รูปแบบตา่ ง ๆ ของสถานศึกษา โดยกำหนดการดำเนินการนเิ ทศภายในปงี บประมาณละ ๒ ครงั้
วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ นิเทศกำกบั ตดิ ตามการดำเนินงานไดแ้ ก่
๑.๑ งานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
๑.๒ งานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง
๑.๓ งานการศึกษาตามอธั ยาศัย
๒. เพือ่ พฒั นาระบบนเิ ทศภายในสถานศึกษา
กิจกรรมการนเิ ทศ
กจิ กรรมการนเิ ทศทไ่ี ด้ดำเนินการทสี่ ถานศกึ ษาประกอบด้วย
๑. ผู้นเิ ทศชแ้ี จงวัตถุประสงค์เปา้ หมายและกจิ กรรมการนเิ ทศในคร้งั นี้
๓. นิเทศ/ติดตาม/ตรวจสอบการดำเนินกิจกรรม
๔. ผู้นิเทศให้คำแนะนำในการนเิ ทศ
๕. ผูน้ ิเทศบนั ทกึ ผลการนเิ ทศในแบบบนั ทึกการนิเทศ
ระยะเวลาและปฏทิ ินการนเิ ทศ
ดำเนนิ การนิเทศระหวา่ งวนั ที่ ๑ ตลุ าคม ๑๕๖๒ – ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๓
๒
ตารางรายงานผลการนิเทศกิจกรรม
วนั เดอื น ปี โครงการ เรอื่ งทน่ี เิ ทศ ผู้นิเทศ
๑๔ กิจกรรม
พฤศจกิ ายน
๒๕๖๒ -โครงการส่งเสริม นเิ ทศการจัดกจิ กรรมโดยนำนกั ศกึ ษาไปทัศนศึกษา ๑. นางอุบล ดีรัศมี
วันท่ี ๒๐ ทกั ษะการเรยี นรสู้ ร้าง สถานที่ ดงั น้ี ๒. นายสมหมาย มั่งคง่ั
ธันวาคม
๒๕๖๒ กระบวนการคดิ พฒั นา ๑.พพิ ธิ ภัณฑเ์ มืองฉะเชงิ เทรา
ทักษะชีวิต สำหรบั ๒.ศนู ย์การเรยี นรเู้ มืองฉะเชิงเทรา (KCC)
นักศึกษา กศน.อำเภอ ๓.งานนมสั การหลวงพ่อพุทธโสธรและงานประจำปี
บางนำ้ เปร้ียว ๒๕๖๒
-ณ ลานหน้าศาลา ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม จำนวน ๕๐ คน
กลางจงั หวดั ผู้รว่ มกจิ กรรมมีทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ การค้นคว้า
ฉะเชิงเทรา จังหวดั ข้อมูลและการเรยี นรู้ด้วยตนเอง สามารถนำความรไู้ ป
ฉะเชงิ เทรา ปรบั ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการดำเนนิ ชีวติ ได้อยา่ ง
เหมาะสม
-โครงการพฒั นาทกั ษะ นเิ ทศกิจกรรมบรรยาย หัวข้อ ความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกับ ๑. นายสมหมาย มั่งค่งั
ชวี ิตเพือ่ ส่งเสรมิ สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต และการออกกำลงั กายด้วย
สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต โยคะ เพื่อใหน้ ักศึกษาคนพกิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจ
กศน.อำเภอบางน้ำ เกีย่ วกบั การดแู ลตนเอง
เปรยี้ ว
-ณ กศน.อำเภอบางน้ำ
เปรย้ี ว
วันที่ ๑๒ - โครงการค่ายพฒั นา นิเทศการจดั กจิ กรรมฐานความรเู้ ก่ยี วกบั นวัตกรรม ๑. นายสมหมาย มง่ั คั่ง
มกราคม ๒. นางสาววิภารัตน์ วงศ์
๒๕๖๒ คุณภาพผู้เรียน ยคุ ใหม่ และเทคโนโลยเี บอ้ื ต้น คำเหลา
ใส่ใจเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั - ฐานบิงโกนวตั กรรม Thailand ๔.๐
วันท่ี ๑๕ ประจำปี ๒๕๖๓ - ฐานกจิ กรรมตอบคำถามเด็กยุคใหม่ ใสใ่ จเทคโนโลยี ๑. นายสมหมาย มั่งคั่ง
ธันวาคม ๒. นางสาววภิ ารตั น์ วงศ์
๒๕๖๒ - ณ กศน.อำเภอบางน้ำ - ฐานกจิ กรรม EEC หรรษา พาเพลิน คำเหลา
เปร้ยี ว - ฐานนิทรรศการ กศน. Wow
- ฐานกจิ กรรมหนงั สอื ร่องหน ผ่าน QR-code
- กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์
-มีผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ๑๐๑ คน
- โครงการพฒั นา นิเทศ กิจกรรมการศกึ ษากระบวนการและกติกาการ
ผ้เู รยี นเสรมิ สร้างการ แข่งขันกฬี าสากล ประเภทตา่ ง ๆ
เรยี นรทู้ กั ษะทางกีฬา - มีนักศกึ ษาเขา้ รว่ มโครงการจำนวน ๒๐๘ คน
หา่ งไกลยาเสพติด - นกั ศึกษามีความสนใจและเข้าร่วมกจิ กรรมเปน็ อย่าง
ประจำปี ๒๕๖๓ ดี
- ณ สนามกฬี า
มหาวิทยาลยั ราชภัฎ
ราชนครินทร์ ศนู ย์บาง
คล้า
วนั เดอื น ปี โครงการ เรื่องทน่ี เิ ทศ ๓
วนั ที่ ๑๕ กิจกรรม ผนู้ เิ ทศ
ธนั วาคม
๒๕๖๒ - โครงการแข่งขนั กฬี า นเิ ทศ กิจกรรมการศกึ ษากระบวนการและกติกาการ ๑. นายสมหมาย มั่งคงั่
วนั ที่ ๑๙ กศน.เกมส์ ต่อตา้ นยา แข่งขนั กฬี าสากล ประเภทตา่ ง ๆ ๒. นางสาววภิ ารตั น์
มกราคม
๒๕๖๓ เสพติด ประจำปี - มนี กั ศึกษาเขา้ ร่วมโครงการจำนวน ๙๒ คน วงศค์ ำเหลา
วนั ท่ี ๒๘ ๒๕๖๓ - นกั ศึกษามีความสนใจและเข้าร่วมกจิ กรรมเปน็ อยา่ ง
มกราคม
พ.ศ. ๒๕๖ภ - ณ สนามกีฬา ดี
วันที่ ๓๐ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎ
มกราคม
พ.ศ. ๒๕๖๓ ราชนครนิ ทร์ ศนู ย์บาง
คล้า
- โครงการพฒั นา นิเทศ กจิ กรรมการศกึ ษากระบวนการและกตกิ าการ ๑. นายสมหมาย ม่ังค่งั
ผเู้ รยี นเสรมิ สรา้ งการ แข่งขนั กีฬาสากล ประเภทตา่ ง ๆ ๒. นางสาววิภารัตน์
เรียนรู้ทักษะทางกีฬา - มีนกั ศึกษาเขา้ รว่ มโครงการจำนวน ๕๐ คน วงศ์คำเหลา
หา่ งไกลยาเสพตดิ - นกั ศกึ ษามีความสนใจและเขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ อยา่ ง
ประจำปี ๒๕๖๓ ดี
- ณ มหาวทิ ยาลัยการ
กีฬาแหง่ ชาติ วทิ ยาเขต
กรงุ เทพ คลอง ๑๓
- โครงการจัด นิเทศกิจกรรมการบรรยาย หัวขอ้ หลกั ปรัชญาของ นางสาววาสนา เอยี่ ม
กระบวนการเรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวทางของในหลวงรชั กาลที่ ๙ รดิ
เศรษฐกจิ พอเพยี งสวน และเพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นร้เู รื่องเกษตรผสมผสาน โดย
ศรยี า ณ ศูนย์เรยี นรู้ มีผ้เู ขา้ อบรมประกอบด้วย ตำบลหมอนทอง ตำบล
เศรษฐกจิ พอเพียงสวน ศาลาแดง ตำบลบึงนำ้ รกั ษ์ ตำบลสิงโตทอง ตำบลดอน
ศรยี า ตำบลหนิ ตง้ั ฉิมพลี ตำบลบางน้ำเปรยี้ ว ตำบลโพรงอากาศ และ
อำเภอเมอื ง จงั หวัด ตำบลโยธะกา จำนวน ๖๔ คน
นครนายก
- โครงการพฒั นาสงั คม นิเทศการจัดกจิ กรรมการบรรยายใหค้ วามรเู้ กยี่ วการ นายสมหมาย ม่ังค่งั
และชุมชน กศน.อำเภอ จดั การขยะมูลฝอย และมกี ารจัดฐานการเรียนรู้
บางนำ้ เปรีย้ ว ลด ออกเป็น ๓ ฐาน ได้แก่ การเรยี นรเู้ รอ่ื งขยะมลู ฝอย
พลาสตกิ ลดโลกรอ้ น การวางแผนจัดการขยะมูลฝอย และการทำกระเป๋าลด
ณ ห้องโสตทัศนศกึ ษา โลกร้อน ซงึ่ ได้รบั ความสนใจจากผเู้ ข้าร่วมอบรมเป็น
โรงเรยี นบางน้ำเปรี้ยว อย่างดี
วิทยา
วัน เดือน ปี โครงการ เร่อื งท่นี ิเทศ ๔
วนั ท่ี ๖ กิจกรรม ผนู้ เิ ทศ
กุมภาพนั ธ์ - กิจกรรมสง่ เสรมิ การ
พ.ศ.๒๕๖๓ อา่ นและการเรียนรู้ นเิ ทศกิจกรรมดงั นี้ นางสาวนันทนติ ย์
เคล่ือนท่ี (สัญจร) อง่ึ แดง
วันที่ ๑๘ - ประจำปี ๒๕๖๓ ณ - กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นบนรถโมบาย
๒๑ ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ - ระบายสที ำหมวกรปู สัตว์
กุมภาพนั ธ์ อบต.ตำบลศาลาแดง - กจิ กรรมโยนบอลมหาสนกุ
๒๕๖๓ อำเภอบางน้ำเปรยี้ ว
- โครงการพฒั นา - กิจกรรมจบั คูภ่ าพปรศิ นา
วันที่ ๑๒ บุคลากร เสรมิ สรา้ ง โดยมีนกั เรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรมจำนวน ๑๑๐ คน
มกราคม การเรียนรทู้ ักษะทาง
๒๕๖๓ กีฬา กศน.เกมส์ ปี นิเทศ กจิ กรรมการศกึ ษากระบวนการและกตกิ าการ ๑. นายสมหมาย มั่งค่งั
การศกึ ษา ๒๕๖๓ แข่งขันกฬี าสากล ประเภทต่าง ๆ ๒. นางสาววิภารตั น์
วันท่ี ๒๓ และ กศน.อำเภอบางนำ้ - มคี รูและบคุ ลากร กศน.อำเภอบางน้ำเปรี้ยวเข้า วงศ์คำเหลา
๒๖ เปรี้ยว
กมุ ภาพันธ์ - ณ สนามโรงเรยี น รว่ ม ๑๓ คน
๒๕๖๓ กีฬาจงั หวัด - การประเมนิ ความพงึ พอใจ
อุบลราชธานี
- โครงการจดั งานวัน นเิ ทศ กจิ กรรมตามโครงการกิจกรรม ดังนี้ ๑. นายสมหมาย มงั่ คั่ง
เดก็ แหง่ ชาติ ประจำปี
๒๕๖๓ - ฐานกจิ กรรมสาธิตอาชพี ๒. นางสาววภิ ารตั น์
- ณ กศน.อำเภอบาง
นำ้ เปรี้ยว - ฐานกิจกรรมหนงั สอื รอ่ งหน วงศ์คำเหลา
- โครงการคา่ ยบรู ณา - ฐานกจิ กรรม Ar - Ebook อา่ นทะลมุ ิติ
การสะเต็มศึกษาเพือ่
พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน - ฐานกิจกรรมตอบคำถามเดก็ ยุคใหม่ใสใ่ จเทคโนโลยี
- ณ โรงเรียนบางน้ำ
เปร้ียววิทยา และศนู ย์ - ฐานกจิ กรรมบงิ โกนวัตกรรม Thailand ๔.๐
วิทยาศาสตร์เพอ่ื
การศึกษาสระแกว้ - ฐานกจิ กรรมแตง่ แตม้ สสี นั ด้วยมอื เรา
- ฐานกิจกรรมเหยยี บลูกโป่งพาเพลนิ
- ฐานโยนบอลมหาสนุก
- ฐานวงล้อมมหศั จรรย์
- กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์
- มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ ๒๕๐ คน
- มกี ารประมินผลความพงึ พอใจ
วันที่ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ นิเทศกิจกรรม ดงั น้ี ๑. นายสมหมาย มง่ั ค่ัง
- ฐานกิจกรรมเคร่อื งยงิ จรวด ๒. นางสาววิภารัตน์
- ฐานหอคอยตั้งไข่ วงศ์คำเหลา
- ฐานสรปุ กระบวนการความคิด
วนั ที่ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓ นเิ ทศกจิ กรรม ดังนี้
ฐานลำบากแคไ่ หน กลไกช่วยได้
๒. ฐานเรอื พลงั งานไฟฟา้
๓. ฐานเครือ่ งร่อนดี ร่อนไกล
๕
โดยมีกลมุ่ เปา้ หมายในการเขา้ ร่วมโครงการจำนวน
๗๐ คน
วันที่ ๒๑ - โครงการเสรมิ สรา้ ง นิเทศกจิ กรรมการบรรยายใหค้ วามรเู้ ร่ือง การปฏบิ ตั ิ นางสาววาสนา
กมุ ภาพันธ์ คณุ ธรรมจริยธรรม
๒๕๖๓ นกั ศกึ ษา กศน.ตำบล ตนของชาวมุสลมิ ในสงั คมปจั จบุ ัน ความกตัญญตู ่อผู้ เอ่ียมริด
สิงโตทอง
วนั ท่ี ๒๒ - ณ กศน.ตำบลสงิ โต มีพระคณุ ตามหลกั ศาสนา การนำหลกั ธรรมมาใชใ้ น
กมุ ภาพันธ์ ทอง หมู่ ๖ ต.สงิ โต
๒๕๖๓ ทอง ชีวติ ประจำวัน และคุณธรรมจรยิ ธรรมกบั ชีวติชาว
วันท่ี ๒๒ - โครงการศนู ย์ฝกึ มุสลมิ
กมุ ภาพนั ธ์ อาชีพชุมชน กศน.
๒๕๖๓ อำเภอบางน้ำเปรี้ยว - สังเกตการณ์เข้าร่วมกจิ กรรม
- หลกั สูตรการทำ
กระเปา๋ ผ้ามดั ยอ้ มลง - การประเมินความพึงพอใจ
ลายทอง ณ ทท่ี ำการ
ผู้ใหญบ่ า้ น หมู่ ๑๐ ต. - มีนกั ศกึ ษาเขา้ รว่ ม ๔๐ คน
หมอนทอง
- โครงการศูนยฝ์ กึ - นิเทศกจิ กรรม จดั การเรียนรู้ ดงั นี้ นางนิดา งามอภชิ าต
อาชพี ชมุ ชน กศน.
อำเภอบางนำ้ เปรย้ี ว - บรรยายใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การกระเปา๋ ผ้ามดั ยอ้ มลง
- หลักสูตรการทำ
กระเปา๋ เป้ผ้า ณ ทท่ี ำ ลายทอง
การผู้ใหญบ่ า้ น หมู่ ๙
ต.บึงนำ้ รกั ษ์ วสั ดุที่ใช้/วธิ ีการตัดผ้า
- ฝึกปฏบิ ตั ิ
- การตกแต่งกระเปา๋
- การประเมินความพงึ พอใจ
- นิเทศกิจกรรม จดั การเรยี นรู้ ดงั นี้ นางนนั ทกา และอม่ิ
- บรรยายให้ความรเู้ กี่ยวกบั การกระเปา๋ เปผ้ ้า
วสั ดุทใี่ ช/้ วิธีการตดั ผ้า
- ฝกึ ปฏิบตั ิ
- การตกแต่งกระเป๋า
- การประเมนิ ความพึงพอใจ
ว ั น ท ี ่ ๒ ๔ - โครงการพฒั นาอาชีพ - นเิ ทศกจิ กรรม จัดการเรียนรู้ ดังนี้ นายสมหมาย มัง่ ค่งั
ก ุ ม ภา พ ั น ธ์ ระยะสั้น กศน.ตำบล - บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรช่างซ่อม
๒๕๖๓ โพรงอากาศ เคร่อื งใช้ไฟฟา้ และหลักสูตรชา่ งตดั ผม
- หลักสูตรช่างซ่อม วัสดทุ ใ่ี ช/้ วธิ ีการตดั ผา้
เครื่องใช้ไฟฟ้าและ - ฝึกปฏิบัติ
หลักสูตรช่างตัดผม ณ - การตกแตง่ กระเป๋า
ที่ทำการผูใ้ หญ่บ้าน หมู่ - การประเมนิ ความพงึ พอใจ
๙ ต.บงึ น้ำรักษ์
วันที่ ๗ -โครงการพัฒนา - จดั กิจกรรมบรรยายใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง กฎหมายดจิ ิทลั นางสาววภิ ารตั น์ วงศ์
มีนาคม เศรษฐกจิ ดจิ ิทลั หลกั สตู ร Digital Literacy คำเหลา
๒๕๖๓ หลกั สตู ร Digital - การฝกึ ปฏิบัติ
Literacy - การจดั ทำแบบทดสอบ
ณ กศน.ตำบลบาง - การประเมินความพึงพอใจ
ขนาก
๖
- ข้อเสนอแนะ-ระดบั ความพงึ พอใจของผู้เขา้ รบั การ
อบรมจากโครงการ อยใู่ นระดบั ดมี าก
- กล่มุ เป้าหมายจำนวน ๑๖ คน
- ประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการฝกึ อบรม เพื่อเปน็ การ
พัฒนาระบบชอ่ งทางแหลง่ เรียนรอู้ อนไลน์ และ
ส่งเสริมใหป้ ระชาชนนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสอ่ื สารมาประยกุ ต์ใชใ้ นการเรยี นร้/ู กจิ กรรมตา่ ง
ๆ เพ่ือเพ่มิ โอกาสการเรียนรู้ และการพฒั นาอาชพี
สภาพปญั หา
วนั ท่ี ๘ - โครงการสอนเสรมิ นิเทศกิจกรรม การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน นางสาววภิ ารัตน์ วงศ์
มนี าคม เตมิ ความรวู้ ิชา วชิ าคณิตศาสตร์ วิชาการเรยี นรูส้ ภู้ ัยธรรมชาติ ๓ คำเหลา
๒๕๖๓ คณิตศาสตร์ วิชาการ และวชิ ากฎหมายท่ใี ช้ในชีวติ ประจำวนั
เรยี นร้สู ้ภู ัยธรรมชาติ ๓ - นักศกึ ษามีส่วนร่วม
และวิชากฎหมายทใ่ี ช้ - วิทยากรมีความรู้ความชำนาญ
ในชีวิตประจำวัน
ณ กศน.ตำบลดอน
ฉมิ พลี
นโยบายเรง่ ด่วน
กศน. ๖ WOW
๘
๑. แบบนิเทศการพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (Good Teacher)
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศจากส่วนกลาง นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา
ที่ดำเนินการจัดกิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจรงิ หรือวิธีการอื่น ๆ
แล้วบันทึกสภาพที่พบ พร้อมใหข้ ้อนิเทศ เพื่อแก้ไขพัฒนาตลอดจนยกตัวอย่างผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศลงใน
แบบนิเทศ
สำนักงาน กศน.จงั หวดั .........ฉะเชิงเทรา........................กศน.อำเภอ..................บางน้ำเปรี้ยว........................
ประเด็นการนิเทศ สภาพทีพ่ บ ขอ้ นิเทศ
๑. ขั้นเตรียมการ
๑) มีแผนงาน/โครงการพฒั นาครู โดย การจัดสอนออนไลน์รปู แบบ ครคู วรจัดการเรียนการสอนที่
เนน้ ทักษะการจดั การเรียนการสอน Google Classroom หลากหลายดงั น้ี
ออนไลน์ ทกั ษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะ - มกี ารอบรมใหค้ วามรูก้ ับ - การจัดการเรยี นการสอน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ฯลฯ ครสู ง่ เสรมิ ให้มกี ารพฒั นา ออนไลน์
๒) มกี ารสำรวจ ข้อมลู ความต้องการ อย่างต่อเนือ่ ง - Google Classroom
พฒั นาของครผู สู้ อน - ครมู กี ารจดั ทำแผนการ - การจดั การเรยี นการสอนแบบ
๓) มกี ารสง่ เสริม สนบั สนนุ และประสาน สอนเป็นรายภาคเรียน ช้ันเรียน
ใหค้ รผู สู้ อนเข้ารับการพฒั นาอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง
๔) ครผู สู้ อน จดั ทำแผนพัฒนาตนเองราย
ปี
๕) มสี ่อื คู่มือ เอกสาร ที่หลากหลาย
ทันสมัย สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของครู
๖) มกี ารส่งเสรมิ ใหเ้ กิดชมุ ชนแหง่ การ - สง่ เสริมให้ ข้าราชการครู
เรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) ในสถานศึกษา เขา้ รับการอบรม PLC
๒. ขัน้ ดำเนนิ การ
๑) ครเู ข้ารบั การอบรมพฒั นาตาม - ครู เข้ารับการอบรม
แผนงาน/โครงการกำหนด พฒั นาบุคลากรอย่าง
๒) ครูมีการพัฒนาตนเองตามแผนอยา่ ง ต่อเน่อื ง เชน่ การจัดทำ
ตอ่ เนื่อง แผนการเรยี นรู้ การเรยี นรู้
๓) ครูไดศ้ ึกษาคน้ คว้าข้อมูลนวัตกรรม ผา่ นสอ่ื ออนไลน์ Google
เพื่อความก้าวหนา้ ทางวิชาการอย่าง classroom
ตอ่ เนอ่ื ง
๔) ครูเข้าร่วมกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การ
เรียนร/ู้ มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ับเพอ่ื น
ครอู ยา่ งสม่ำเสมอ
๕) ครูได้รบั การพฒั นา สรา้ งความรู้ความ
เขา้ ใจเก่ียวกับการดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รียนและ
การแนะแนวทางการศกึ ษาและอาชีพ
๖) ครูได้รบั การพัฒนาจรรยาบรรณทาง
วิชาชีพ
๙
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ
๗) ครไู ด้ปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓. ข้ันผลการดำเนินงาน - ครูมกี ารจดั เกบ็ รวบรวม
๑) ครูมีความพงึ พอใจในการเข้ารว่ ม ขอ้ มูล บนั ทกึ รายงานในการ
กิจกรรมต่าง ๆ เข้าร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ มี
๒) ครมู ผี ลงานหรอื แฟ้มสะสมงานอย่าง ผลงานและแฟม้ สะสมงาน
เปน็ ระบบ
๓) ครูเกบ็ รวบรวมข้อมลู บนั ทกึ รายงาน
ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๔) ครูมผี ลการพฒั นา ส่อื นวตั กรรม ที่
สอดคล้องกบั บริบทและสภาพการจัด
การศึกษาในพนื้ ที่
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้าม)ี
ไมม่ ี
ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
- ครูยงั ไมไ่ ด้จดั การเรียนการสอนออนไลน์ ไดไ้ มค่ รบตามจำนวนนกั ศกึ ษาที่รบั ผดิ ชอบ
- ใหใ้ ช้การเรยี นการสอนออนไลนใ์ หม้ ากขึน้ เพราะเป็นการนำเทคโนโลยมี าใช้และวางแผนการติดตามผู้เรียนท่ี
มีปัญหาในการใช้การสอนแบบออนไลน์
- ครตู ้องอบรมใหผ้ เู้ รียนมีความรูเ้ กยี่ วกับการเรียนระบบออนไลน์ สรา้ งความเข้าใจและจะตอ้ งมคี วามชดั เจน
ลงชอื่ ...............................................ผู้นเิ ทศ
(นางสาววภิ ารัตน์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๑๐
๒. แบบนเิ ทศการเร่งยกระดบั กศน.ตำบล ๙๒๘ แห่ง เปน็ กศน.ตำบล ๕ ดี พรเี มี่ยม
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศ นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ดำเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจริง หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วบันทึก
สภาพทพ่ี บ พรอ้ มให้ข้อนิเทศ เพื่อแกไ้ ขพฒั นาตลอดจนยกตวั อยา่ งผลการปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศลงในแบบนเิ ทศ
สำนกั งาน กศน.จังหวดั ........ฉะเชิงเทรา. ...กศน.อำเภอ.......บางน้ำเปรีย้ ว....กศน.ตำบล.....ดอนฉิมพล.ี .......
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ
๑. ครมู สี มรรถนะในการจดั การเรียนการสอนที่ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
บันทึกข้อมลู ในระบบฐานขอ้ มลู
มีคุณภาพในระดบั ตา่ ง ๆ (Good Teacher) เพ่อื การบริหารจัดการ (DMIS)
ครบถ้วน
๑.๑ ดา้ นวิชาการ
๑.๑.๑ มขี ้อมลู ในระบบฐานข้อมลู เพ่อื การ มีการบนั ทกึ ขอ้ มูลในระบบ
บรหิ ารจัดการ (DMIS) ครบถ้วน ฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจดั การ
(DMIS) ครบถว้ น
๑.๑.๒ มกี ารจดั ทำแผนปฏิบัติการ โดย มแี ผนปฏิบัตกิ ารประจำปี ควรเพม่ิ เตมิ การวิเคราะห์ข้อมลู
งบประมาณ ๒๕๖๓ จากสภาพปญั หาและความ
วิเคราะห์ข้อมลู จากสภาพปญั หาและความ
ต้องการจำเปน็ และสอดคล้องกบั นโยบาย ต้องการจำเป็น และสอดคล้อง
และจุดเน้น กบั นโยบายและจดุ เนน้ แยกเปน็
ชุมชน/หมู่บ้าน เพื่อจัดกจิ กรรม
ได้สอดคล้องความต้องการ
๑.๑.๓ มีการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรรู้ าย มแี ผนการจดั การเรยี นรรู้ าย กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
สัปดาห์ แผนการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์ สปั ดาห์ แผนการจัดการเรยี นรู้
บนั ทกึ การเรยี นรู้ มรี ะบบการช่วยเหลือ ออนไลน์ บนั ทกึ การเรียนรู้ มี จัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้
ผู้เรียน ระบบการช่วยเหลอื ผเู้ รียน รายภาครายสัปดาห์ ระดบั
ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย
๑.๑.๔ ร้อยละของผจู้ บหลักสตู รการศึกษา ผู้ลงทะเบียน ๔ ภาคเรียน
พื้นฐาน (ผลู้ งทะเบยี น ๔ ภาคเรียนย้อนหลงั ) ประถม ๐ คน จบ ๐ คน ควรแยกแผนเพอื่ การศึกษาตอ่
และแผนเพือ่ เข้าสอู่ าชีพ มี
ม.ตน้ ๑ คน จบ ๐ คน ระบบการตดิ ตามช่วยเหลอื
ม.ปลาย ๑๓ คน จบ ๑๐ คน
๑.๑.๕ ผู้เข้าสอบปลายภาคไม่น้อยกว่า ผู้เรียนออนไลน์ ผา่ นทาง ไลน์
รอ้ ยละ ๗๐ กลุม่ เฟสบุครายบุคคล
รอ้ ยละของผู้จบหลกั สูตร
การศึกษาพื้นฐาน
ม.ปลาย รอ้ ยละ ๗๖.๙๒
และมผี ู้จบหลกั สูตรในภาค
เรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒
เกินกวา่ ๔ ภาคเรยี น จึงไม่
นำมาคดิ คำนวณ
ผู้เข้าสอบปลายภาค
ประถม รอ้ ยละ ๑๐๐
๑๑
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทีพ่ บ ขอ้ นิเทศ
๑.๑.๖ รอ้ ยละของจำนวนผเู้ รียนทม่ี ี ผลู้ งทะเบียนภาคเรียนท่ี ๒ ปี ม.ตน้ ร้อยละ ๘๕.๐๐
ผลสัมฤทธใ์ิ นวิชาบงั คบั ไมต่ ่ำกวา่ ๒.๐๐
การศึกษา ๒๕๖๒ จำนวน ๙๕ คน ม.ปลาย ร้อยละ ๘๖.๔๙
๑.๑.๗ จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการศกึ ษา
ต่อเน่ือง เม่ือเทยี บกบั เป้าหมาย ประถม ๑ คน เข้าสอบ ๑ คน เฉลี่ยรอ้ ยละ ๘๖.๓๑
๑.๑.๘ ร้อยละของผจู้ บหลักสตู รการศึกษา ม.ต้น ๒๐ คน เขา้ สอบ ๑๗ คน
ต่อเนอื่ งที่นำความร้ไู ปใชต้ ามวัตถปุ ระสงค์
ของการจัดแต่ละกจิ กรรม เม่ือเทียบกบั ม.ปลาย ๗๔ คน เขา้ สอบ ๖๔ คน ประถม รอ้ ยละ ๑๐๐
เป้าหมาย
ม.ต้น รอ้ ยละ ๕๙.๐๙
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มจี ำนวน ม.ปลาย รอ้ ยละ ๖๕.๔๒
รอ้ ยละของจำนวนผูเ้ รยี นท่มี ี
ผลสมั ฤทธ์ิในวชิ าบงั คับไม่ต่ำกว่า เฉลี่ยรอ้ ยละ ๗๔.๘๓
๒.๐๐ ของนกั ศกึ ษาทลี่ งทะเบยี น
ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ผรู้ ่วมกจิ กรรมเกินเปา้ หมาย
จำนวน ๙๔ คน ผรู้ ว่ มกจิ กรรมเกินเป้าหมาย
๑.ทกั ษะชวี ติ เปา้ ๒๒ ผล ๒๘คน ผู้ร่วมกจิ กรรมเกินเป้าหมาย
๒.พฒั นาสังคม เปา้ ๑๕ ผล ๒๐คน
๓.เศรษฐกจิ พอเพียง เป้า๖ผล๘คน ผู้ร่วมกจิ กรรมตามเปา้ หมาย
๔.ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน
(๓๑ ชม.ขึน้ ไป) เป้า๑๔ ผล ๑๔คน ผู้ร่วมกจิ กรรมเกินเป้าหมาย
๕.ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน
( ไม่เกนิ ๓๐ ชม.)เปา้ ๓๑ผล๖๐คน
๖.โครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ิทลั ผู้รว่ มกจิ กรรมตามเป้าหมาย
ชุมชนระดับตำบล
เปา้ หมาย ๑๕ คน ผล ๑๕ คน รอ้ ยละ ๑๐๐
รอ้ ยละ ๑๐๐
๑.ทักษะชวี ิต นำไปใช้ ๒๘คน ร้อยละ ๑๐๐
๒.พฒั นาสงั คม นำไปใช้ ๒๐คน ผจู้ บหลักสตู รการศึกษา
๓.เศรษฐกจิ พอเพยี งนำไปใช้ ๘คน ต่อเนือ่ งที่นำความรไู้ ปใชต้ าม
๔.ศนู ยฝ์ กึ ฯ(๓๑ ชม.ข้นึ ไป) วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั
ผู้จบหลกั สตู ร ๑๔ คน กจิ กรรมจำนวน ๕ คน
-ต่อยอดอาชีพเดิม ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๕.๗๑
-สร้างรายไดเ้ สรมิ ๒ คน
-ประกอบอาชพี ใหม่ ๑ คน
เพ่มิ โอกาสในการเรียนรู้ ๒ คน
พฒั นาตนเองและครอบครัว ๗ คน ผู้จบหลักสูตรการศกึ ษา
ต่อเนอื่ งทนี่ ำความรู้ไปใช้ตาม
๕.ศนู ย์ฝึกฯ( ไม่เกนิ ๓๐ ชม.) วัตถุประสงค์ของการจดั
ผู้จบหลกั สตู ร ๖๐คน กิจกรรมจำนวน ๑๕ คน
-ต่อยอดอาชพี เดมิ ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๕.๐๐
-สร้างรายไดเ้ สรมิ ๑๒ คน
-ประกอบอาชีพใหม่ ๓ คน
๑๒
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นิเทศ
เพิม่ โอกาสในการเรียนรู้ ๓๕ คน
พฒั นาตนเอง/ครอบครวั ๑๐คน รอ้ ยละ ๑๐๐
๖.โครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ิทลั ฯ
๑.๑.๙ จำนวนผรู้ บั บริการส่งเสรมิ การอ่าน ใน นำไปใช้ ๑๕ คน ครู กศน. ควรมกี ารพจิ ารณา
แตล่ ะกจิ กรรม เมือ่ เทยี บกบั เป้าหมาย เช่น ๑)
บ้านหนงั สอื ชุมชน ๒) กศน.ตำบล/แขวง พน้ื ที่การจดั กจิ กรรมการศึกษา
๓) ส่งเสรมิ การอ่านเคลอื่ นที่ ๔) จำนวน
ผรู้ บั บริการจากอาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน จำนวนผรู้ บั บรกิ ารสง่ เสรมิ การอา่ น ตอ่ เน่อื งที่สอดคลอ้ งกบั ความ
๑.๑.๑๐ มกี ารจัดกจิ กรรมในแหลง่ เรยี นร/ู้ บา้ น บา้ นหนงั สอื ชุมชน - คน ต้องการของชมุ ชนและ
หนังสอื ชมุ ชนเมือ่ เทยี บกับเปา้ หมาย และ
มกี ารรายงานผลการจดั กจิ กรรม กศน.ตำบล/แขวง - คน วัตถุประสงคข์ องการจัด
ส่งเสริมการอา่ นเคล่อื นท่ี - คน โครงการแตล่ ะกจิ กรรม
อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น ๖๓ คน
ครู กศน.จัดทำแผนการจดั
กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นใน
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มีการจดั บา้ นหนงั สอื ชุมชน จัดไตรมาส ๓
กจิ กรรมในแหลง่ เรียนร/ู้ บ้านหนังสอื กศน.ตำบล จัดไตรมาส ๔
ชุมชน และรายงานผลการจดั สง่ เสรมิ การอา่ นเคลอื่ นท่ี
กิจกรรม จดั ไตรมาส ๔
๑.๑.๑๑ มีการดำเนินการรว่ มกบั ภาคี หากกระจายการจัดกจิ กรรมใน
เครอื ข่าย และได้รบั การสนบั สนนุ ทรพั ยากร
จากภาคเี ครือขา่ ย ทุกไตรมาสจะทำให้การ
๑.๑.๑๒ มกี ารดำเนนิ งานตามนโยบาย กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร ขบั เคล่อื นการจัดกจิ กรรม
เรง่ ด่วนหรอื งานอื่น ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย
ดำเนนิ การร่วมกับภาคเี ครือขา่ ยใน การศกึ ษาตามอัธยาศยั ไดอ้ ยา่ ง
การพฒั นาพนื้ ที่ กศน.ตำบลดอน ตอ่ เนอื่ งมากข้นึ
ฉมิ พลอี ย่างต่อเนอ่ื ง เชน่ องค์การ
บรหิ ารสว่ นตำบลดอนฉมิ พลี วัด
สุวรรณเตมีย์ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ได้รบั
การสนบั สนุนวสั ดอุ ปุ กรณ์ใน
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร การพฒั นาพ้นื ที่ กศน.ตำบล
ดำเนนิ งานตามนโยบายเรง่ ดว่ น จาก วดั สุวรรณเตมยี ์ เชน่ น้ำ
หรอื งานอ่ืน ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย บาดาล สำหรบั รดนำ้ ตน้ ไม้
เชน่ การสอนทำหนา้ กากอนามยั ในช่วงท่นี ้ำในลำคลอง
การทำเจลลา้ งมือแอลกอฮอล์ ธรรมชาติแหง้ แลง้
การประชาสมั พนั ธง์ านตา่ ง ๆ ใน
ภารกิจ กศน.ตำบล ภายใต้ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
นโยบายการลดระยะหา่ งทาง ดำเนนิ งานตามนโยบายเรง่ ด่วน
สงั คม หรืองานอนื่ ๆ ท่ีไดร้ ับ
มอบหมาย
๑๓
ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นิเทศ
๑.๑.๑๓ มกี ารจัดทำรายงานผลการ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มี
ปฏิบัติงานท่ดี ี (Best Practice)
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี จดั ทำ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ี
รายงานผลการปฏิบัตงิ านที่ดี (Best Practice) เรอ่ื ง การ
(Best Practice) เร่ือง การพฒั นา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของ
ทักษะการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นจาก ผูเ้ รยี นจากบันทึกการพฒั นา
บันทกึ การพฒั นาความรู้รายบคุ คล ความร้รู ายบคุ คล ควรปรบั ปรุง
เอกสารใหเ้ ปน็ มคี วามเปน็
วิชาการเพ่ิมขึน้
๑.๒ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม มกี ารปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี มีการปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งท่ี
มีการปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ีดี มีวินยั มี มวี ินัย มีการดำรงชีวติ อยา่ ง ดี มีวินยั มีการดำรงชวี ติ อย่าง
การดำรงชีวติ อย่างเหมาะสมในวชิ าชีพ เหมาะสมในวิชาชีพ หรอื ไม่
เหมาะสมในวชิ าชีพ หรือไม่
หรือไม่ อย่างไร อยา่ งไร อยา่ งไร
๑.๓ ดา้ นความคิดสรา้ งสรรคแ์ ละความรู้ ครู กศน. มีทกั ษะ เทคนคิ การ ครู กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มี
ความสามารถ จดั การเรยี นการสอนทค่ี รอบคลุม
๑.๓.๑ มีทักษะ เทคนคิ การจัดการเรยี นการ และเข้าถึงความต้องการของผ้เู รียน ความยืดหยนุ่ และจัดการ
สอนทค่ี รอบคลุม และเข้าถึงความต้องการของ อยา่ งเป็นระบบและชดั เจน ศกึ ษาไดส้ อดคล้องกับบรบิ ท
ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบและชดั เจน ของผ้เู รยี น หลากหลาย
ครู กศน.ตำบลดอนฉิมพลี มกี าร
๑.๓.๒ มกี ารจดั ทำแผนการจดั การเรียนรแู้ ละ จดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ ช่องทาง เชน่ หอ้ งเรยี น
เครือ่ งมือในการสร้างสรรค์ ส่อื การเรยี น การสอนใหม้ ีความ ออนไลน์ บทเรียนออนไลน์
ส่ือการเรยี น การสอนให้มีความน่าสนใจ นา่ สนใจ ตามแผนการจดั การเรียนรู้ และ
เลอื กใช้สอื่ มลั ติมเี ดีย ที่มคี วาม
น่าสนใจในการจัดกระบวนการ
เรยี นรู้
๑.๓.๓ มีการกระตุ้นการเรียนรู้ และพฒั นา ครู กศน.ตำบล มีการกระตุ้นการ ครู กศน.ตำบลดอนฉิมพลี มี
ตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง ทักษะในการใชส้ อ่ื โซเชียลมเี ดีย
เรยี นรู้ และพฒั นาตนเองอย่าง
๑.๓.๔ มีเทคนคิ การประชาสัมพนั ธ์ ตอ่ เน่อื ง ในการสร้างสังคมออนไลน์กบั
มเี ทคนคิ การประชาสัมพนั ธ์ ผู้เรยี นหลายชอ่ งทาง เช่น ไลน์
กลุ่ม เฟสกลุม่ และเพจหลกั
ของ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ใน
การกระตุน้ การเรยี นรขู้ อง
ผเู้ รยี น การสร้างสมั พนั ธท์ ีด่ ี
ระหว่างครแู ละผเู้ รียน
ตลอดจนใช้เปน็ สอ่ื ประสา
สมั พนั ธ์ การใหบ้ ริการต่างๆ
๑๔
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ข้อนเิ ทศ
ของกศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ได้
๒. สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ของ กศน. กศน.ตำบลดอนฉมิ พลมี ีสภาพ อยา่ งต่อเนือ่ ง
ตำบล ดงึ ดดู ความสนใจและเออื้ ตอ่ การ อาคารอยใู่ นสถานทม่ี ่นั คง
เรยี นรู้ (Good Place - Best Check In) มีความเป็นสดั ส่วนและปลอดภัย กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ได้เข้าใช้
๒.๑ สภาพอาคารอยูใ่ นสถานท่มี นั่ คง อาคารของโรงเรียนวดั สวุ รรณ
มคี วามเป็นสัดสว่ นและปลอดภยั กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มีการจัด เตมยี ท์ ย่ี บุ ควบรวมเปน็ ท่ีตงั้
สภาพแวดล้อม โดยยึดหลกั ๕ ส สถานทีม่ น่ั คง มคี วามเป็น
๒.๒ มีการจดั สภาพแวดล้อม โดยยึดหลกั ๕ ส (สะสาง สะดวก สะอาด สขุ ลักษณะ สดั สว่ นและปลอดภัย
(สะสาง สะดวก สะอาด สขุ ลกั ษณะ สร้างนสิ ยั ) และสะดุดตา กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี ารจดั
สรา้ งนสิ ยั ) และสะดดุ ตา สภาพแวดลอ้ มหอ้ งเรียน โดยยึด
หลกั ๕ ส แต่เนื่องจาก กศน.
ตำบลไดร้ บั พื้นทสี่ นามกีฬาและ
อาคารประกอบ กว้างขวาง ทำ
ใหบ้ างจดุ เชน่ โรงอาหาร ไม่ได้
เปดิ เป็นพื้นทใ่ี ห้บรหิ าร
๒.๓ เปน็ จุดที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยใี น กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี เป็นจุดทีใ่ ช้ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
การเรยี นร้แู ละจุดเชค็ อิน (Check in) ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยีในการ ใหบ้ รกิ ารอนิ เตอร์เน็ต ใน
สำหรับผูใ้ ชบ้ รกิ าร
เรยี นรแู้ ละจุดเชค็ อนิ (Check in) โครงการอนิ เตอรเ์ นต็ สาธารณะ
สำหรับผ้ใู ชบ้ รกิ าร สู่ชุมชน ในวันและเวลาราชการ
๒.๔ มีสงิ่ อำนวยความสะดวกทห่ี ลากหลายทเี่ อื้อ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มสี ง่ิ อำนวย กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มสี ิ่ง
ตอ่ การเรียนรู้ ความสะดวกท่หี ลากหลายที่เอื้อตอ่ อำนวยความสะดวกท่หี ลากหลาย
การเรียนรู้ ที่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้
เชน่ อนิ เตอรเ์ น็ตสาธารณะ
คอมพิวเตอร์ ซง่ึ ไดร้ ับบรจิ าค
จากคอมพิวเตอรม์ อื สองจาก
ภาคีเครอื ขา่ ยจำนวน ๑ เครอ่ื ง
๒.๕ มีการจดั ทำรหัสควิ อาร์ (QR Code) กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี ารจดั ทำ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
เพอ่ื ใช้ในการศกึ ษาเรยี นรู้ข้อมลู ต่าง ๆ รหสั คิวอาร์ (QR Code) เพ่อื ใช้ใน จัดทำรหสั ควิ อาร์ (QR Code)
การศกึ ษาเรียนรู้ข้อมลู ตา่ ง ๆ เพื่อใชใ้ นการศึกษาเรยี นรขู้ อ้ มลู
ต่าง ๆ เชน่ หนังสือเรียน
ออนไลน์ ห้องเรยี นออนไลน์
ขอ้ สอบออนไลน์ ใหบ้ รกิ ารกบั
ผู้เรยี น
๑๕
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ
๒.๖ มีเอกลกั ษณ์/อตั ลกั ษณข์ องตนเองตาม กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี ารจัด กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
บรบิ ทของพืน้ ท่ี การศึกษาที่มเี อกลกั ษณ์/อตั จัดการศกึ ษาทม่ี ีเอกลกั ษณ/์ อตั
ลกั ษณข์ องตนเองตามบรบิ ทของ ลักษณ์ของตนเองตามบรบิ ท
พืน้ ท่ี ของพ้ืนท่ที มี่ วี ิถขี องไทยพทุ ธ
ไทยมสุ ลิม อยรู่ ่วมกนั การ
จดั การศกึ ษาของ กศน.ตำบล
ดอนฉิมพลี จงึ กำหนดด
แผนการจัดการศกึ ษาท่ี
สอดคลอ้ งกบั เอกลกั ษณ์/
อัตลักษณ์ของตนเองตามบรบิ ท
ของพ้ืนท่สี องศาสนา สองวถิ ี
ชมุ ชน
๓. กจิ กรรมการเรยี นรู้ มคี วามทนั สมัย
มีประสิทธิภาพในการให้บรกิ าร (Good กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
Activities) จัดกจิ กรรมการศึกษาขน้ั
๓.๑ มกี ารจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี ารจดั พนื้ ฐาน และการศึกษาตาม
การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง และการศึกษาตาม กิจกรรมการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน อธั ยาศัย มีผลเชงิ ประจกั ษ์ โดด
อัธยาศัย อย่างตอ่ เนอ่ื ง มผี ลเชงิ ประจกั ษ์ การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และการศกึ ษา เดน่ และมกี ารปฏิบตั ทิ ี่ดี รวมทง้ั
โดดเด่นและมีการปฏิบตั ิท่ดี ี รวมท้ังมกี ารจัด ตามอัธยาศัย อยา่ งต่อเนอ่ื ง มผี ล มกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่
กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ใี ชร้ ะบบออนไลน์ เชงิ ประจกั ษ์ โดดเดน่ และมกี าร ใช้ระบบออนไลน์ แต่ควรเพิ่ม
ปฏิบตั ิทด่ี ี รวมทงั้ มีการจดั กจิ กรรม การใช้ระบบออนไลน์ในการจัด
การเรยี นรทู้ ใี่ ช้ระบบออนไลน์ การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งด้านอาชีพ
๓.๒ มีการบูรณาการ นำหลกั ปรชั ญาของ เพ่มิ เตมิ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในการจดั กจิ กรรมการ มกี ารบูรณาการ นำหลกั ปรัชญา มกี ารบูรณาการ นำหลกั
เรยี นการสอน ของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัด ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ
สอน และควรบูรณาการหลัก
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในทกุ
กจิ กรรม
๓.๓ มกี ารออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การ
จัดการเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลมี กี าร ครู กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี
ปญั หาของชมุ ชนและความตอ้ งการของ ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ การ มีการออกแบบการจดั
กล่มุ เปา้ หมายอยา่ งครอบคลุมและ จดั การเรียนการสอนทส่ี อดคลอ้ ง กระบวนการเรียนรทู้ ี่สอดคล้อง
เปน็ ระบบ กบั สภาพปญั หาของชมุ ชนและ กบั ผเู้ รยี น เช่น กลุ่มแม่วัยใส
ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย กล่มุ เรยี นศาสนา ท่ียดื หยนุ่ ทำ
ให้ความหลากหลายของผู้เรียน
๓.๔ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมในการจดั ตำบลดอนฉิมพลี สามารถเรยี น
กระบวนการเรยี นรอู้ ย่างหลากหลาย ไดโ้ ดยไดร้ บั การอำนวยความ
สะดวกในการจดั การเรียนรจู้ าก
๑๖
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพที่พบ ขอ้ นเิ ทศ
๔. มีภาคีเครือข่ายท่ีสามารถสง่ เสรมิ ครู ผา่ นการใช้เทคโนโลยเี ขา้ มา
สนับสนุนการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งมี มสี ว่ นร่วมในการเปน็ สอื่ และ
คุณภาพ (Good Partnerships) ช่องทางการสอ่ื สารทเ่ี หมาะสม
ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้
อย่างหลากหลาย
๔.๑ มีภาคเี ครือขา่ ยในระดบั พืน้ ทใี่ นการรว่ ม ภาคเี ครือข่ายในระดับพืน้ ทใ่ี นการ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ไดร้ บั
จัด สง่ เสริม และสนบั สนนุ การจัดการเรยี นรู้ ร่วมจดั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการ การสนบั สนนุ จาก ประชาชน
ตลอดชวี ติ ของ กศน.ตำบล อย่างตอ่ เนื่องและ จัดการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของ กศน. ผปู้ กครองของผเู้ รยี น ภาคี
เข้มแขง็ ตำบล อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เครือขา่ ย วดั มัสยิด และ
อาสาสมัคร กศน.ตำบล
อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน
ทสี่ ามารถสง่ เสริมสนบั สนุน
แรงงาน ความช่วยเหลอื และ
๔.๒ มอี าสาสมคั ร กศน.ตำบล อาสาสมคั ร มอี าสาสมคั ร กศน.ตำบล อาสาสมคั ร สิ่งของต่างๆ ใน การจัดการ
สง่ เสรมิ การอา่ นและอ่นื ๆ เพื่อสง่ เสริมและ ส่งเสรมิ การอ่านและอ่นื ๆ เพื่อ เรียนการสอนได้อย่างมคี ุณภาพ
สนบั สนนุ การจดั การเรยี นร้ขู อง กศน. ตำบล ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการจดั การ
ไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ และมคี ณุ ภาพ เรยี นรขู้ อง กศน. ตำบลไดอ้ ย่าง
ท่วั ถึง
๔.๓ มสี ่วนรว่ มในการทำ MOU ของ กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี สว่ นรว่ มใน ครู กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี
สถานศึกษาร่วมกับหนว่ ยงานภาครัฐและ การทำ MOU ของสถานศึกษา ไดร้ บั การมอบหมาย จาก นาย
เอกชน ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ รว่ มกบั หน่วยงานภาครัฐและ สมหมาย มั่งคั่ง ผ้อู ำนวยหาร
เอกชน ในการจัดกิจกรรมการ กศน.อำเภอบางน้ำเปรี้ยวใน
๕. มนี วตั กรรมที่เปน็ ประโยชน์ และสามารถ เรยี นรู้ การมสี ว่ นร่วมในการทำ MOU
นำไปใช้ได้จริง (Good Innovation) ของสถานศกึ ษารว่ มกบั
๕.๑ มกี ารนำเทคโนโลยี หรอื นวตั กรรมมา กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี ารนำ หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน
ประยุกตใ์ ช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการ เทคโนโลยี หรอื นวัตกรรมมา ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
กจิ กรรมสง่ เสริมการอี า่ น และ
กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั
รว่ มกับ องคก์ ารบรหิ ารสว่ น
ตำบลดอนฉิมพลี
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มกี าร
นำเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมมา
๑๗
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ
สอน เพื่อใหช้ ุมชนเกดิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการ ประยุกตใ์ ชใ้ นการจดั กจิ กรรม
ได้อย่างทว่ั ถงึ และมีคุณภาพ เรยี นการสอน การเรียนการสอน ใหก้ บั
๕.๒ มีการพฒั นาเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ใช้ มกี ารพฒั นาเทคโนโลยี หรอื นักศึกษา กศน.ตำบลดอน
นวัตกรรมท่ีใช้ในการจดั การเรยี นรูท้ ี่
ในการจดั การเรียนร้ทู ่ีสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ สอดคล้องกบั บรบิ ทของผเู้ รียน ฉิมพลี
ชมุ ชน อีกทง้ั ประชาชนสามารถพฒั นาตนเอง และนำเทคโนโลยหี รอื นวตั กรรมท่ี ตลอดจนมกี ารพัฒนาเทคโนโลยี
ได้ และพัฒนาชมุ ชนได้อย่างยง่ั ยืน การใชห้ อ้ งเรียนออนไลน์ คลังสื่อ
เกิดจากการพฒั นามาใช้หรอื
๕.๓ มกี ารนำเทคโนโลยีหรอื นวัตกรรมท่ีเกดิ เผยแพรผ่ า่ นชอ่ งทางต่าง ๆ ออนไลน์ มาใช้ในการจัดการ
จากการพัฒนามาใชห้ รอื เผยแพรผ่ า่ น เรยี นรทู้ ่ีสอดคล้องกบั บรบิ ท
ช่องทางต่าง ๆ ของผูเ้ รยี น
และนำเทคโนโลยี เชน่ เวป็ ไซต์
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี เพจ
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี มาใช้
เผยแพร่ บรกิ ารต่างๆ ของ
กศน.ตำบล การประชาสมั พนั ธ์
ขอ้ มลู ขา่ วสารไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้ามี)
ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความสำเรจ็ ของ กศน.ตำบลดอนฉิมพลี คือชมุ ชนท่เี ขม้ แขง็ บนพนื้ ฐานของความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งภาครัฐ โดยผู้นำชุมชน ประชาชน และองค์กรทางศาสนา ที่มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาคณุ ภาพของ กศน.ตำบลดอนฉิมพลี ตลอดจนแนวทางการดำเนนิ งานในภารกิจ กศน.ตำบลของ ครูดา
ริกา เดวิเลาะ ที่ให้ความสำคญั ของการมสี ่วนร่วมในชุมชน ทำให้การดแู ลและพัฒนา กศน.ตำบลดอนฉิมพลี
มภี าคีเครือขา่ ยเข้ามามสี ่วนรว่ ม แบ่งเบาและสง่ เสรมิ สนับสนนุ ทรัพยากรตา่ ง ๆ ให้เกิดการพฒั นาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
กศน.ตำบลดอนฉมิ พลี ไดเ้ ข้าใชอ้ าคารเดมิ ของโรงเรยี นวดั สวุ รรณเตมยี ์ ซ่ึงถกู ยบุ ควบรวม มีความ
พร้อมในด้านของความเปน็ เอกเทศ มนั่ คงและปลอดภัย แต่เนื่องจาก กศน.ตำบล ไมม่ ีงบประมาณในการบำรงุ
ปรับภูมิทัศน์ เนื่องจากมีบริเวณโดยรอบกว้างขวาง เกินขีดความสามารถของครู กศน.ตำบล ตลอดจนการ
ซ่อมแซม อาคารสถานที่ ให้มีบรรยากาศที่น่าเข้าใช้บริการ เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และจัดหาอุปกรณ์ที่
ทนั สมัย ในการเพิ่มขดี ความสามารถในการใหบ้ ริการประชาชนไดม้ ากขนึ้
ลงชอื่ .......................... .....................ผูน้ ิเทศ
(นางสาววภิ ารตั น์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ มนี าคม ๒๕๖๓
๑๘
๖. แบบนิเทศการพัฒนาการจัดการศกึ ษาออนไลน์ กศน.
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศ นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ดำเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจริง หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วบันทึก
สภาพทีพ่ บ พรอ้ มให้ขอ้ นเิ ทศ เพ่ือแก้ไขพัฒนาตลอดจนยกตวั อยา่ งผลการปฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลิศลงในแบบนิเทศ
สำนกั งาน กศน.จงั หวัด.......ฉะเชิงเทรา..................กศน.อำเภอ...........บางน้ำเปรีย้ ว..................................
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ข้อนเิ ทศ
๑. ขน้ั เตรียมการ
๑.๑ สำรวจและเตรียมความพรอ้ มของครแู ละ ครูมคี วามพรอ้ มในการ
ผูเ้ รยี นในการศกึ ษาผ่านออนไลน์ จดั การเรียนรู้ผ่านส่ือ
๑.๒ มอบหมายใหค้ รูผสู้ อนทำแผนการจัด ออนไลน์ Google
กระบวนการเรียนรู้ ทงั้ ภาคเรียนตามระดบั classroom และ
การศึกษา และจัดทำใบความรู/้ แบบทดสอบ/ Application เพอื่ การศกึ ษา
แบบฝกึ หดั ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ตา่ ง ๆ
๑.๓ พฒั นาบคุ ลากรผสู้ อน ในเรอื่ ง Google เช่น line facebook QR
Classroom และ Application เพือ่ การศึกษา Code เป็นตน้ และ
ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เช่น line facebook สถานศึกษามีการจดั ประชุม
QR Code เป็นต้น บคุ ลากรในการจัดทำ
Google classroom
ร่วมกนั
๒. ขั้นดำเนินการ
๒.๑ ผเู้ รยี นได้สมัคร gmail เพื่อขอ username - ครูดำเนนิ การขอ E-mail - ควรแบง่ กลุ่มผ้เู รยี น
/password นามสกลุ Dei เพอ่ื ใชใ้ นการ ออกเป็น สองกลมุ่ คอื กลมุ่
๒.๒ ครชู ี้แจงกระบวนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง จดั ทำ Google classroom ที่มีความพร้อม และกลุ่มท่ี
Google classroom และ Application เพือ่ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเข้าห้องเรียนที่ ไม่มคี วามพร้อมในด้าน
การศึกษา ผ่านชอ่ งทางออนไลนต์ า่ ง ๆ เช่น line ครจู ดั ทำไว้ อปุ กรณ์ และใหจ้ ดั
facebook QR Code เปน็ ต้น - ผเู้ รยี นมีการเรียนรผู้ ่านสือ่ แผนการสอนใหเ้ หมาะสม
๒.๓ ครูสรา้ งห้องเรียน Google classroom ออนไลนต์ ามข้ันตอนการ กับบริบทผเู้ รียน
จำแนกตามระดบั การศึกษา เรยี นรูแ้ ตย่ งั ไม่ครบทง้ั หมด
๒.๔ พัฒนาเนือ้ หาความรู้ ส่อื การเรยี นรผู้ ่าน เนอ่ื งจากมปี ญั หาดา้ น
ส่อื ออนไลน์ อปุ กรณม์ ือถอื
๒.๕ จดั กระบวนการเรยี นรูผ้ า่ น Google - ครมู กี ารจดั ทำสือ่ การ
classroom และ Application เพื่อการศกึ ษา ผา่ น เรียนรตู้ า่ ง ๆ และQR-CODE
ช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น line facebook QR ในการใหค้ วามรกู้ บั นักศึกษา
Code เป็นต้น
๓. ขน้ั ผลการดำเนินงาน
๓.๑ ความพึงพอใจของผเู้ รียนต่อการจดั นกั ศึกษาไดเ้ รยี นรผู้ า่ นสอ่ื ควรมกี ารมอบใบประกาศ
การศึกษาผา่ น Google Classroom ออนไลน์ Google ใหก้ ับผเู้ รียนออนไลนด์ ีเด่น
๓.๒ ผลการเรยี นรทู้ เ่ี กิดกบั ผเู้ รียน
๑๙
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ
Classroom โดยมีครเู ป็น
ผ้ดู ำเนนิ การจดั การเรียนรู้
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้ามี)
ไม่มี
ขอ้ เสนอเพ่อื การพัฒนา
ควรใช้การจัดการเรยี นการสอนออนไลนอ์ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ นกั ศึกษาเกิดการเรียนรแู้ ละทันต่อเหตกุ ารณ์
ลงชอื่ ..............................................ผ้นู เิ ทศ
(นางสาววิภารตั น์ วงศค์ ำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๒๐
๘. แบบนิเทศการเร่งปรบั หลกั สตู รการจดั การศึกษาอาชีพ กศน.
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศ นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ดำเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจริง หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วบันทึก
สภาพท่พี บ พร้อมใหข้ อ้ นิเทศ เพ่ือแกไ้ ขพฒั นาตลอดจนยกตัวอยา่ งผลการปฏบิ ตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศลงในแบบนเิ ทศ
สำนกั งาน กศน.จงั หวัด.....ฉะเชงิ เทรา........................กศน.อำเภอ..........บางน้ำเปรีย้ ว.......................
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ขอ้ นเิ ทศ
๑. การพฒั นาหลกั สูตร
๑.๑ สำรวจความตอ้ งการของประชาชน ของ มกี ารสำรวจความต้องการ
หลกั สูตรอาชีพ อาชพี ของประชาชน และ
๑.๒ จดั ทำข้อมลู สารสนเทศของประชาชนต่อ ประเมนิ ปรับปรงุ และพฒั นา
ความต้องการพฒั นาอาชพี หลกั สตู รทต่ี รงตอ่ ความ
๑.๓เตรยี มเนอื้ หาของกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร ตอ้ งการของประชาชน
อาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของชมุ ชน
๑.๔ ประเมนิ ความพรอ้ มในการพัฒนาและจัด
หลักสูตรอาชีพ เชน่ ปรบั ปรงุ /พฒั นาหลกั สตู ร
อาชีพใหต้ รงกับความตอ้ งการของประชาชนใน
ชมุ ชน
๑.๕ มีเครอื ข่ายในการร่วมจดั หลกั สูตรอาชีพ
๒. การนำหลกั สูตรไปใช้
๒.๑ จดั ทำแผนการเรยี นรู้ หลักสูตรอาชีพ มกี ารจดั ทำแผนการเรียนรู้
ท่ีปรบั ปรงุ และออกแบบการจดั การ
๒.๒ ออกแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ให้ เรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ท
สอดคล้องกบั บรบิ ทของชมุ ชน ของผูเ้ รยี น และตรงกบั
๒.๓ จัดกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะอาชีพทเี่ หมาะสมกบั หลกั สูตรท่ไี ดจ้ ดั ทำขึน้
สือ่ และวสั ดุอปุ กรณ์ในชมุ ชน
๒.๔ มีเครอื ขา่ ยเขา้ มามีส่วนรว่ ม
๒.๕ มกี ารออกแบบการวดั และประเมนิ ผลตาม
สภาพจรงิ
๓. การตดิ ตามและประเมินผล
๓.๑ มกี ารประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี น มีการประเมินความพงึ พอใจ
ที่เข้ารว่ มกจิ กรรม ของผ้เู รียนทกุ โครงการ และมี
๓.๒ มีหลกั สูตร เอกสารในการปรบั ปรงุ การจดั ทำสรปุ ผลรายงานผล
หลักสูตร การจัดกจิ กรรม และนำ
๓.๓ การนำความรู้ไปใช้ ความรู้ไปใชจ้ รงิ
๓.๔มกี ารสรปุ และรายงานผลการจัดกจิ กรรมตาม
หลกั สูตร
๒๑
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้าม)ี
ไมม่ ี
ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
ควรจัดกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรและความตอ้ งการของประชาชนให้เป็นไปอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ลงช่อื ...............................................ผ้นู เิ ทศ
(นางสาววภิ ารัตน์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๒๒
๙. แบบนเิ ทศการเสรมิ สร้างความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ข่าย
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศ นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ดำเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจริง หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วบันทึก
สภาพทีพ่ บ พรอ้ มใหข้ อ้ นิเทศ เพ่อื แก้ไขพฒั นาตลอดจนยกตวั อยา่ งผลการปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลศิ ลงในแบบนเิ ทศ
สำนกั งาน กศน.จังหวัด..........ฉะเชิงเทรา..................กศน.อำเภอ...........บางน้ำเปรีย้ ว......................
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนิเทศ
๑. ขนั้ เตรียมการ
๑.๑ ครูมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู และจัดทำสารสนเทศ ครูจัดทำข้อมลู สารสนเทศ
ชุดขอ้ มูลคลังปญั ญา – ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น และ คลังปญั ญา - ภูมิปญั ญา
หน่วยงานภาคีเครือข่าย ท้องถน่ิ และระบบการเรียนรู้
๑.๒ พัฒนาบุคลากรในการบนั ทกึ ขอ้ มลู ออนไลน์ ผา่ นเวบ็ กศน.ตำบล
ระบบคลงั ปญั ญา หน่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ย
และระบบแหลง่ เรยี นรอู้ อนไลน์
๒. ขนั้ ดำเนินการ
๒.๑ พฒั นาภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นใหม้ ีความรู้ - ครูมกี ารสรา้ งการรบั รู้
ความเข้าใจในกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ร่วมกับภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินให้
และการวดั ผลประเมินผลทีห่ ลากหลาย เพ่ือ เขา้ ใจกระบวนการเรียนรู้ การ
เป็นวิทยากรจดั การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา วัดผล ประเมนิ ผล และพฒั นา
๒.๒ สรา้ งการรบั รู้ และทำบันทกึ ข้อตกลง ใหเ้ ป็นวทิ ยากรในการจดั การ
เร่อื งการจัดการศึกษา กศน. ให้หน่วยงานภาคี เรยี นรู้ในการจัดการศึกษา
เครือขา่ ยทราบ กศน.
๒.๓ พัฒนาพืน้ ท่ีของภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่นมา
เป็นแหล่งเรียนรูข้ องชุมชน
๒.๔ จัดกิจกรรมยกย่อง เชิดชู แหล่งเรียนร้ใู น
การเปน็ ตวั อยา่ งและตน้ แบบของชมุ ชน และ
หน่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ย
๒.๕ ดำเนินการบันทกึ ขอ้ มลู แหลง่ เรยี นรู้
ในระบบแหลง่ เรียนร้ขู อง สวทช. เพอ่ื
เผยแพรส่ สู่ าธารณะ
๓. ขน้ั ผลการดำเนินงาน
๓.๑ มีการจัดทำรายงานการบนั ทึกข้อมลู และ เครือข่ายมสี ่วนรว่ มในการจดั
สรปุ ขอ้ มลู ภมู ิปัญญา และหนว่ ยงานภาคี กจิ กรรมเป็นอย่างดี
เครือข่ายในระบบคลงั ปญั ญาของ สวทช.
๓.๒ ผลการมสี ่วนรว่ มของภมู ปิ ญั ญา
ในการรว่ มจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยของสถานศกึ ษา
๒๓
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นิเทศ
๓.๓ ผลการมสี ่วนรว่ มของหนว่ ยงานภาคี
เครอื ขา่ ย ในการรว่ มจดั การศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสถานศึกษา
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเรจ็ (ถ้าม)ี
- กศน.อำเภอบางนำ้ เปรี้ยว มีภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภาคีเครือข่าย ร่วมจัดกิจกรรมการศึกษา กศน.
เช่น นางพาฝนั เอมขวัญยืน
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ไม่มี
ลงชือ่ ...............................................ผนู้ เิ ทศ
(นางสาววภิ ารัตน์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๒๔
๑๐. แบบนเิ ทศการพฒั นานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่อื ประโยชนต์ ่อการจดั การศกึ ษาและกลุ่มเปา้ หมาย
คำชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้ทำหน้าที่นิเทศ นิเทศ ติดตาม หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ดำเนินการจัด
กิจกรรม/โครงการ โดยใช้วิธีการสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตตามสภาพจริง หรือวิธีการอื่น ๆ แล้วบันทึก
สภาพทพ่ี บ พรอ้ มใหข้ ้อนเิ ทศ เพ่อื แก้ไขพฒั นาตลอดจนยกตวั อยา่ งผลการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศลงในแบบนิเทศ
สำนักงาน กศน.จังหวัด........ฉะเชิงเทรา...................กศน.อำเภอ............บางน้ำเปรีย้ ว....................
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่พี บ ขอ้ นิเทศ
๑. ขน้ั เตรยี มการ
๑.๑ การสร้างการรบั รใู้ หก้ บั บคุ ลากรดา้ นการ - มกี ารอบรมบคุ ลากรด้าน ควรพัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง
พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา การพฒั นานวตั กรรมทาง
๑.๒ การแต่งต้ังคณะทำงาน (มีบคุ ลากร/ การศึกษา และ
เครือขา่ ยเป็นคณะกรรมการหรือไม)่ ประชาสมั พันธ์ผ่านชอ่ งทาง
๑.๓ การประชาสมั พันธ์ผา่ นช่องทางท่ี ออนไลนท์ หี่ ลากหลาย
หลากหลาย
๒. ขนั้ ดำเนินการ
๒.๑ การจัดตง้ั ศูนยต์ ามแนวทางทสี่ ำนักงาน - มกี ารสง่ เสริมการใช้ - ควรจดั ทำ Brand กศน.
กศน. กำหนด เทคโนโลยกี ารจดั การเรยี นรู้ และนำออกมาใชก้ บั
๒.๒ สภาพการดำเนนิ งานของศูนยเ์ ป็นไปตาม ผ่านเว็ปไซต์ กศน.อำเภอบาง ผลติ ภัณฑใ์ หเ้ ป็นท่ี
แนวทางการดำเนนิ งานของศนู ย์ น้ำเปรย้ี ว และสือ่ ออนไลน์ ประจกั ษ์
๑) การพฒั นาและสง่ เสรมิ การยกระดบั ตา่ ง ๆ
ผลติ ภณั ฑท์ ่ไี ดจ้ ากการพฒั นาตอ่ ยอดการเรยี นรู้ - มกี ารจดั ทำ Brand กศน.
๒) สรา้ งความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับศูนย์ “Advice แตย่ งั ไมไ่ ด้นำไปใช้
InnovativeLearning Center” - มีการเพ่ิมช่องทางการ
๓) การจัดประกวด Brand กศน. จำหน่ายผลิตภณั ฑ์ของ
๔) เพิม่ ช่องทางการจำหน่ายผลิตภณั ฑข์ อง ประชาชน ผ่านกลุ่ม OOCC
ประชาชน กศน.อำเภอบางน้ำเปรีย้ ว
๕) ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการ และ OOCC กศน.ตำบล
เรียนรู้ผ่านเว็บไซต์ รวมถึงสอื่ ออนไลน์ตา่ ง ๆ
๒.๓ สถานศึกษามกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจ เชน่ Facebook fanpage
ของผรู้ ับบรกิ าร กลมุ่ Line เปน็ ตน้
๓. ขน้ั ผลการดำเนินงาน
๓.๑ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ าร ๑. มีการประเมนิ ผลความพงึ
ตงั้ แตร่ ะดับมากขน้ึ ไป พอใจออนไลน์ แต่ยังไมม่ ี
๓.๒ รายงานสรปุ ผลการพฒั นาศูนย์ “Advice สรปุ ผลการพฒั นาศนู ย์
InnovativeLearning Center” ๒. มีนวตั กรรมและBrand
๓.๓ มีนวัตกรรมและ Brand ของผลิตภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑ์
๒๕
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถา้ ม)ี
ไมม่ ี
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
ควรมีการพัฒนา นวัตกรรมทางการศึกษาอยู่ตลอดเวลา อบรมแล้วควรทำ ทำแล้วนำไปใช้ นำไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์
ลงชอื่ ...............................................ผนู้ เิ ทศ
(นางสาววิภารัตน์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
นโยบายต่อเน่อื ง
๒๗
๑. แบบบนั ทึกการนเิ ทศการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
เรือ่ ง หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
คำชี้แจง ให้ศึกษานเิ ทศกห์ รือผูร้ ับผดิ ชอบการนิเทศ สอบถาม สมั ภาษณ์ผู้รับผดิ ชอบการดำเนินงาน ครูผ้สู อน
และหรือผเู้ รียน/ผเู้ ก่ียวขอ้ ง สังเกตสภาพจริง สถานที่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร
ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทกึ สภาพทพี่ บ (จดุ เดน่ – จุดทค่ี วรพฒั นา) และขอ้ นิเทศ พรอ้ มทง้ั ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
ลงในแบบบันทึกการนเิ ทศ
สำนกั งาน กศน.จังหวัด............ฉะเชงิ เทรา.................กศน.อำเภอ................บางน้ำเปรยี้ ว................................
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทีพ่ บ ขอ้ นเิ ทศ
๑. การพัฒนาหลกั สูตร มหี ลกั สตู รรายวชิ าเลือก แหลง่ ควรพัฒนาหลักสูตรทอ้ งถ่นิ เพ่ิมเตมิ
๑.๑ หลักสูตรสถานศึกษาสะทอ้ นเอกลกั ษณ์ของ ท่องเที่ยวในอำเภอบางนำ้ เปรย้ี ว ท่ี เพอื่ เปน็ ตัวเลือกใหก้ ับผเู้ รยี นในการ
สถานศกึ ษา และผ่านความเห็นชอบของ สอดคลอ้ งกบั สภาพ บรบิ ท ของ เรยี นรู้
คณะกรรมการสถานศึกษา ชมุ ชน เม่อื ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้ กจ็ ะ
ทราบเกี่ยวกับสถานทท่ี อ่ งเที่ยวที่
๑.๒ มีการจดั ทำหรอื พฒั นาหลักสูตรรายวิชา สำคัญของอำเภอบางน้ำเปรี้ยว
เลอื กทีส่ อดคล้องกบั สภาพ บรบิ ท รวมไปถงึ ประวตั คิ วามเปน็ มาต่าง ๆ
ความตอ้ งการ ปัญหา ฯลฯ ของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ แต่เนอ่ื งจากปจั จบุ นั รายวิชาเลือก
(ระบ)ุ บังคับมเี ข้ามามาก ทำให้การลง
เรยี นรายวชิ าดังกลา่ ว มีจำนวน
๑.๓ กระบวนการพฒั นาหลกั สตู รรายวิชาเลือก นอ้ ยลง
- ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี มสี ่วนรว่ มในการพฒั นา
หลกั สตู ร (มผี เู้ ชี่ยวชาญด้านหลกั สูตร /ดา้ น
เนือ้ หา ฯลฯ)
- เนอื้ หาของหลักสูตรสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
สภาพความตอ้ งการ ความจำเป็นของชมุ ชน
และยทุ ธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั /ทอ้ งถ่ิน
- เน้ือหาหลกั สูตรมคี วามทนั สมัยกับ
สถานการณ์ปจั จบุ นั
- องค์ประกอบของหลกั สตู รครบถว้ น ถกู ต้อง
- กระบวนการพฒั นาหลักสตู รเป็นไปตาม
ขน้ั ตอนของการพฒั นาหลกั สูตร มีความ
นา่ เชอื่ ถือ มกี ารศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มลู /ร่าง
หลักสตู ร/ตรวจสอบคุณภาพและการนำ
หลักสูตรไปใช)้
๑.๔ มีการจัดหาหรือจัดทำสือ่ ประกอบ
หลกั สูตรที่พฒั นาอย่างมีคณุ ภาพและ
สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร
๒๘
ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ
๑.๕ กระบวนการนำหลักสตู รไปใชม้ กี ารสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจแกผ่ ูเ้ กีย่ วข้อง (มีการ
ประชุมช้แี จง/อบรมคร/ู จัดทำคมู่ อื การใช้
หลกั สตู ร)
๑.๖ การประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา
- มกี ารประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา
- ผลการประเมินหลักสตู รสถานศึกษา
เปน็ อยา่ งไร และนำไปใชใ้ นการพัฒนาหลกั สูตร
อยา่ งตอ่ เน่อื ง
๒. การจดั กระบวนการเรียนรู้ ๑.ครูมกี ารจัดทำแผนการเรยี นรู้ ควรพัฒนาการจัดทำแผนการ
เรยี นรู้ใหห้ ลากหลายมากยิง่ ข้นึ
๒.๑ การจัดทำแผนการเรยี นรู้ ให้กบั ผู้เรียนครบทุกรายวิชา โดย
- มกี ารจดั ทำข้อมูลสารสนเทศผ้เู รยี นรายบคุ คล ยึดหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ
(สภาพ ความสามารถ ความตอ้ งการ เปา้ หมาย ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน เปน็
การเรียน การประกอบอาชีพ จดุ เด่น จดุ ดอ้ ย หลกั เพอ่ื ใชใ้ นการจัดการเรียนการ
ฯลฯ) สอน
- มีการนำขอ้ มูลสารสนเทศของผู้เรียนไปใช้ใน ๒. มีการจัดการเรยี นร้อู อนไลน์
การจัดทำแผนการเรียน ให้กบั ผเู้ รียน ผ่านระบบ Google
- มกี ารจดั ทำแฟม้ ข้อมูลรายบคุ คล Classroom facebook QR
ใหผ้ เู้ รียนทราบสถานะ/ความก้าวหนา้ ใน CODE LINE
การเรยี น (ผลการเรียน /กพช./การประเมิน
คณุ ธรรม /N-Net ฯลฯ)
- มกี ารวิเคราะหห์ ลักสูตร และนำไปสู่การ
จดั ทำแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้
- มีการจัดทำแผนการเรยี นรูร้ ายภาคเรียน
และแผนรายสปั ดาห์
- มกี ารออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้
สอดคลอ้ งตามสภาพธรรมชาตวิ ิชาและสภาพ
ผเู้ รยี น มีการใช้ Stem และ E-learning
- มกี ารจัดกระบวนการเรียนรผู้ ่าน Google
classroom และ Application เพอื่
การศึกษา ผา่ นช่องทางออนไลนต์ า่ ง ๆ เช่น
line facebook QR Code เป็นตน้
- มีกิจกรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสรมิ การอ่าน การเขยี น
ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ทกั ษะ
การสือ่ สาร การประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน
การแกป้ ัญหาและพฒั นาคุณภาพชวี ติ อยา่ ง
สร้างสรรค์
๒๙
ประเด็นการนิเทศ สภาพทีพ่ บ ข้อนเิ ทศ
๒.๒ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ๑. มกี ารจดั การเรียนรตู้ ามแผนการ ๑. ครคู วรสอดแทรกกจิ กรรมตา่ งๆ
- ครูจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามแผน จัดการเรียนรู้ท่ไี ดท้ ำไว้ ลงในแผนการจัดการเรียนรใู้ หม้ าก
- มีการใช้สะเต็มศกึ ษา /E-learning/ทกั ษะการคดิ ๒. มีการสอดแทรกคุณธรรมการ ข้นึ เพ่อื ให้ผเู้ รียนไมร่ สู้ ึกเบอ่ื ในการ
วิเคราะห์ และเทคนิคการเรยี นรอู้ ่ืนๆ ในการจัด จัดการเรียนรู้ เรียนรู้ เช่น กจิ กรรมนนั ทนาการ
กระบวนการเรยี นรู้ ๓. มบี นั ทกึ หลงั การจดั กาเรยี นรู้ ระหวา่ งเรยี น โดยสอดแทรกความรู้
- มีการใช้ Google classroom และ ๔. จัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพ ตา่ งๆ เข้าไปในกิจกรรม
Application เพอ่ื การศกึ ษา ผู้เรียนให้กบั ผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง
- ครูมกี ารดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น ๕. มกี ารใช้ Google Classroom
อย่างเป็นระบบ และมีผลการดำเนินงานเปน็ ในการจัดการเรยี นรู้
อยา่ งไร
- มีการบนั ทึกหลงั สอนทเี่ นน้ ปญั หาจากการ
จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และมีการนำผลไป
ปรับปรงุ แกไ้ ข
- การวจิ ยั ในชนั้ เรยี นมีความสอดคล้องกบั สภาพ
ปัญหาเชือ่ มโยงกับบนั ทกึ หลงั สอน และชว่ ย
พัฒนาคณุ ภาพการเรยี นการสอน
- การจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น สง่ เสรมิ การ
พฒั นาทักษะการเรียนรขู้ อง
๓. ส่ือการเรียนรู้ ๑. ครูผูส้ อนใช้แตห่ นังสือเรยี น กบั ๑. ครูผสู้ อนควรจัดทำสอ่ื การ
๓.๑ สอ่ื ทีใ่ ชม้ ีความหลากหลาย เหมาะสม ใบงาน ใบความรู้ในการจดั การ เรียนรู้ให้หลากหลายมากยง่ิ ข้นึ เช่น
กบั เนือ้ หา ทันสมัย กระตนุ้ ความสนใจผ้เู รยี น เรียนการสอน สอื่ Infrographic
๒. ใช้ LINE QR CODE CLIP
๓.๒ ส่ือทใ่ี ช้ (Google classroom / ส่ือ google Classroom ในการจัดการ
ออนไลน์ /Clip /สอ่ื แบบเรยี น/ผูร้ ู้ ฯลฯ) เรียนรู้
เหมาะสมกับกจิ กรรมการเรยี นร/ู้ กลุ่มผ้เู รียน
ทีห่ ลากหลาย
๔. การวัดผลและประเมนิ ผล
๔.๑ สถานศกึ ษามกี ารประกาศหลกั เกณฑ์การ ๑. ครมู กี ารจดั แบทดสอบกอ่ นเรยี น ๑. ควรมกี ารทดสอบและ
วดั ผล ประเมินผลตามหลกั สตู รสถานศึกษา หลงั เรยี น ประเมินผลระหวา่ งภาคเรียน
๒. มีการประกาศการสอบปลาย เพม่ิ เตมิ
๔.๒ มีการออกแบบวิธกี ารวัดผล ประเมินผลด้วย ภาคเรยี น ทกุ การเปดิ ภาคเรียน ๒. ตดิ ตามผู้เรียน ในการสอบปลาย
วธิ กี ารที่หลากหลาย ตามธรรมชาติวิชา ตรง ภาคเรียนอยา่ งตอ่ เน่ือง
ตามจุดประสงค์การเรยี นร้ทู กี่ ำหนด ๓. จำนวนผู้เขา้ สอบเฉลย่ี ๓. ควรนำผมสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
๘๘.๐๔% ของผู้เรียนมาวิเคราะหแ์ ละทำวจิ ยั
๔.๓ จำนวนผู้เรียนเขา้ สอบปลายภาค ในการพฒั นาผูเ้ รยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธิ์
คดิ เปน็ ร้อยละเท่าใดเทียบกบั จำนวน ๔. ร้อยละ ๖๐ ทางการเรยี นให้เพิ่มยงิ่ ขน้ึ
ผู้ลงทะเบียนของครแู ต่ละคน
๓๐
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพที่พบ ขอ้ นิเทศ
๔.๔ จำนวนผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ๕. จำนวนผูเ้ ขา้ สอบ N-NET
เฉลยี่ ๒.๐๐ ในรายวชิ าบังคบั ตอ่ ภาคเรยี น ๙๑.๒๑%
คิดเปน็ ร้อยละเทา่ ใดเทยี บกบั จำนวน ๖. ไม่มี
ผู้ลงทะเบยี น
๔.๕ ผเู้ รยี นเข้าสอบ N-Net/ E-Exam คิดเป็นรอ้ ย ๗. มีหลกั ฐานการประเมนิ โดยใช้
ละเท่าใดเทยี บกับจำนวนผูม้ สี ทิ ธส์ิ อบ แบบการประเมนิ คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม
๔.๖ ครูนำผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รยี น
มาวเิ คราะหแ์ ละวางแผนแก้ปญั หา และ ๘. มเี อกสารและหลกั ฐานครบถ้วน
พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง โดยเน้น
กระบวนการวิจัย
๔.๗ ครมู กี ระบวนการและหลกั ฐานการ
ประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะ
อันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
๔.๘ ครูจดั ทำเอกสารและหลกั ฐานการศึกษา ครูมีการจัดทำสรปุ ผลการจัดการ ๑. ควรมีการจัดกจิ กรรมพฒั นา
ครบถว้ นถกู ต้องทกุ ภาคเรียน เรียนการสอน โดยนำบันทึกหลงั ผู้เรียนอย่างต่อเนอ่ื ง เชน่ การตวิ
๕. สถานศกึ ษามีการสรปุ รายงานผลการ การสอนมาวเิ คราะหแ์ ละหาวิธี สอนเสรมิ โดยสอดแทรกเข้าไปใน
ดำเนินงานเมือ่ สิ้นสดุ ภาคเรยี น และนำสรุป แก้ปัญหาดว้ ยการจัดกิจกรรม การจัดการเรียนการสอน
รายงานผลของครูมาศึกษา วเิ คราะหแ์ ละ พัฒนาผเู้ รยี นเพ่ิมเติมใหก้ บั ผู้เรียน ๒. สรุปผลการจดั การเรียนการสอน
กำหนดแนวทางการแก้ไข ปรบั ปรงุ พัฒนา
หรือไม่ อยา่ งไร ในแตล่ ะภาคเรยี น
๖. การยกระดับประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ิงาน ๑. ครูมีการอบรมการใช้ เทคโนโลยี ๑. ใหผ้ ู้เรียนจบั คหู่ รอื เรยี นรู้ดว้ ย
ของครูเพอื่ การยกระดบั คณุ ภาพการจดั ทางการศึกษา Google classroom กระบวนการกลุม่ เพอ่ื แกป้ ญั หาใน
การศึกษา ๒. มีการจดั ทำสรุปผลการนเิ ทศและ การเรียนรอู้ อนไลน์ โดยใหเ้ พือ่ นที่
๖.๑ มกี ารอบรมดจิ ิทลั พ้ืนฐานให้ครแู ละ นำไปปรับปรุงพัฒนาการจดั เกง่ สอนเพอ่ื นทไี่ ม่เกง่
บคุ ลากร กศน. เพ่อื ใช้ในการจดั การเรยี นรู้ การศกึ ษา
และการสรา้ งกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ๓. มีการนเิ ทศติดตามการจดั การ
(DIY) เรยี นการสอนอย่างตอ่ เน่ือง
๖.๒ มีการพฒั นาครู กศน.ตน้ แบบการเรยี นรู้
ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่ือสาร
๓๑
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ
๖.๓ มกี ารพัฒนาครแู ละผู้เรียนในการใช้
เทคโนโลยีทางการศึกษา Google classroom/
E-learning MOOC
๖.๔ มกี ารนเิ ทศ ติดตามผลการดำเนินงานอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง
๖.๕ มกี ารนำผลจากการนิเทศไปปรบั ปรงุ
พัฒนา
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถา้ มี)
ไมม่ ี
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
ครูควรมีสื่อและช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพ่ือเหมาะสมกบั สภาพ บริบทของผูเ้ รียน เป็นการส่งเสรมิ ให้
ผู้เรียนสามารถเข้าถงึ การเรยี นรไู้ ด้ และเพ่มิ ผลสัมฤทธใิ์ หก้ บั ผูเ้ รียน
ลงช่ือ.......................................................ผนู้ ิเทศ
(นางสาววภิ ารัตน์ วงศค์ ำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๓๒
๔. แบบบนั ทึกการนเิ ทศการศึกษาต่อเนอ่ื ง
คำชแ้ี จง ให้ศึกษานเิ ทศกห์ รอื ผูร้ ับผิดชอบการนเิ ทศ สอบถาม สมั ภาษณผ์ รู้ ับผิดชอบการดำเนินงาน ครผู ู้สอน
และหรอื ผูเ้ รียน/ผ้เู กี่ยวขอ้ ง สงั เกตสภาพจรงิ สถานที่ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร
สื่อ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพท่ีพบ (จดุ เด่น – จดุ ท่ีควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมทง้ั ข้อเสนอแนะเพอื่ การพฒั นา
ลงในแบบบนั ทกึ การนิเทศ
สำนักงาน กศน.จังหวัด.........ฉะเชิงเทรา.....................กศน.อำเภอ........บางน้ำเปรีย้ ว.....................................
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทีพ่ บ ขอ้ นิเทศ
๑. ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ๑. มีหลกั สูตรทพ่ี ฒั นามาจากการ ควรจัดผลการดำเนนิ งานเพื่อ
๑.๑ ปัจจยั ปอ้ น (Input)
๑) หลักสูตรมอี งคป์ ระกอบครบถ้วนตาม จัดกจิ กรรมทผ่ี ่านมา นำมา เปน็ ปจั จบุ ัน ดงั น้ี
กระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร ปรับปรงุ พัฒนาและออกแบบ ๑. จัดทำทำเนียบหลักสตู รว่า
๒) หลักสตู รท่ีใชใ้ นการสอนไดพ้ ัฒนาขึน้ เองหรือ
นำมาจากแหล่งอ่นื (ระบุแหลง่ ทมี่ า) กิจกรรมใหส้ อดคล้องกับบรบิ ท กศน.อำเภอบางน้ำเปร้ยี วมี
๓) เนือ้ หาหลกั สตู รมกี ารบรู ณาการสภาพ ปญั หา และความต้องการของผเู้ รยี น หลกั สูตรอะไรบา้ ง
ความต้องการของผเู้ รียนชุมชนและแนวโนม้ การ
พฒั นา ๒. เนอื้ หาหลักสูตรมคี วามพรอ้ ม ๒. จัดทำทำเนยี บภมู ปิ ญั ญาของ
๔) หลักสตู รทดี่ ำเนินการสอดคลอ้ งตามหลกั การ ในการจดั การเรยี นการสอนและ อำเภอบางนำ้ เปรี้ยวว่ามีภมู ิ
๕) มแี ผนงาน/ โครงการ / กิจกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ
การเรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของ ตรงตอ่ ความตอ้ งการของ ปัญญาอยทู่ ี่ไหนบ้าง
ประชาชนและตลาดแรงงาน ผู้รบั บรกิ าร ๓. เนน้ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมฝกึ
๖) มีแผนการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สตู ร ใครเปน็
ผู้ดำเนินการจัดทำ ๓. มแี ผนการจัดการเรยี นรตู้ าม ปฏิบตั ใิ หม้ ากข้นึ
๗) มีการประชมุ ชแ้ี จง /อบรมเทคนคิ วธิ กี าร เนื้อหาหลกั สตู ร
ถ่ายทอดความรแู้ ก่วทิ ยากรกอ่ นดำเนินการ
๘) มีการจดั ทำฐานข้อมลู หลักสูตร ๔. มกี ารจัดทำฐานข้อมลู
ภมู ปิ ญั ญาและวิทยากร หลักสตู รภมู ิปญั ญาและวทิ ยากร
๙) วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถตามเนอื้ หา
หลกั สตู ร ๕. วิทยากรมีความรู้
๑๐) วิทยากรได้รบั การพฒั นาเทคนิคการถ่ายทอด ความสามารถตรงตามเนอ้ื หาของ
องคค์ วามรู้
๑๑) วัสดุ อุปกรณ์ มเี พยี งพอและสถานทม่ี คี วาม หลักสตู รและสามารถถ่ายทอดได้
เหมาะสม ๖. วัสดุอุปกรณม์ ีไม่เพียงพอตอ่
๑๒)มกี ารประเมินหลกั สตู รหรือไม่ ดำเนินการอย่างไร
การอบรม สว่ นใหญจ่ ะใชว้ ัสดุ
อปุ กรณจ์ ากวทิ ยากร
๗. มีการประเมินหลักสตู รดว้ ย
การใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมนำเสนอ
ผลงานท่ีตวั เองทำขึน้
๘. การสอนส่วนใหญ่วิทยากรจะ
เปน็ ผสู้ าธติ แล้ววสั ดเุ หลือใหผ้ เู้ ข้า
รับการอบรมฝึกไดน้ ้อย
๓๓
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ข้อนิเทศ
๑.๒ การจดั กระบวนการเรียนรู้ (Process) ๑. วิทยากรมีการจดั การเรียนรู้ ๑. วิทยากรมคี วามชำนาญ แต่
๑) วทิ ยากร มีความรู้ ความสามารถและ ตรงตามหลกั สตู รและสามารถ บางคนยังเขียนแผนการจดั การ
มีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสม ถ่ายทอดดว้ ยความชำนาญ มีการ เรียนรู้ไมไ่ ด้ ส่วนใหญค่ รผู ูจ้ ัดจะ
๒)วทิ ยากรจดั การเรียนรู้ตามแผนที่กำหนด ใชส้ ่อื แผ่นพบั ประกอบการเรยี นรู้ เปน็ ผูจ้ ัดทำให้
๓) มกี ารใช้สอ่ื แหลง่ เรียนรู้ /ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น ๒. มกี ารวดั และประเมนิ ผลดว้ ย ๒. ควรฝึกใหว้ ิทยากรออกแบบ
ประกอบการสอน การใหผ้ เู้ รียนทำผลงานในการ แผนการจัดการเรยี นรูเ้ อง
๔) มีการประยกุ ต์ใช้ “สะเตม็ ศึกษา”(STEM ฝกึ อบรม เพือ่ ใหก้ ารสอนได้ตรง
Education) ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ๓. มีการใช้สอื่ ออนไลนใ์ นการ วัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร
๕) มกี ารใชส้ ื่อออนไลน์ (เชน่ Google classroom ประสานงานติดตามงาน ๓. ควรทำรายงานผลการ
Application line facebook เปน็ ต้น) สอบถามผเู้ ขา้ รับการอบรมใน ปฏิบัติงานต่าง ๆ ใหเ้ ป็น
ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ระหว่างการอบรมและจบ ปจั จุบนั เพ่ือสามารถติดตามและ
๖) มีการวัดและประเมินผลการเรยี นรสู้ อดคล้อง หลกั สตู รไปแลว้ รายงานผลไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง
ตามหลกั สตู ร และมเี ครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล ๔. มกี ารอนมุ ตั ิจบหลกั สูตรและ
๗) มีการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ รยี นทกุ จดั ทำรายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน
หลักสตู ร เม่อื สนิ้ สดุ โครงการ
๘) มกี ารอนมุ ตั กิ ารจบหลกั สูตร
๙) มกี ารจดั ทำรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านเมอื่ สนิ้ สดุ
โครงการ
๑.๓ ผลผลติ (Output) ๑. ผจู้ บหลักสูตรบางคนสามารถ
๑) ผ้จู บหลักสตู รสามารถนำความรูไ้ ปประกอบ
นำไปประกอบอาชีพ ต่อยอด
อาชีพ มงี านทำ มรี ายได้ อาชีพเดิม มีรายไดเ้ พิม่ จากหลงั
๒) มีการพฒั นาศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนเขา้ สู่วิสาหกจิ จาการอบรม
ชุมชน
๒. มกี ารตอ่ ยอดอาชพี ดว้ ยการใช้
๓) มกี ารรวมกลมุ่ ในชุมชนตามเป้าหมาย “ชมุ ชน เทคโนโลยเี ปน็ ช่องทางในการ
พ่งึ ตนเอง ทำได้ ขายเปน็ ” จำหน่ายสินคา้
๔) ผจู้ บหลักสูตรใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ ชอ่ งทางการ
เผยแพร่ จำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ได้มากนอ้ ยเพยี งใด
อย่างไร
๒. โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน ๑. หลกั สตู รเปน็ หลกั สตู รกลาง ๑. ให้ผสู้ อนติดตามผลการ
๒.๑ ปจั จยั ป้อน (Input)
๑) หลกั สตู รมีองคป์ ระกอบครบถว้ นตาม จากสำนกั งาน กศน. มเี นอื้ หา เรียนร้ขู องผ้เู รยี นเปน็ รายบุคลล
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ครบถ้วนในการจดั การเรียนรู้ ทำ ว่ามกี ารนำไปต่อยอดอย่างไร
๒) หลักสตู รท่ใี ชใ้ นการสอนไดพ้ ัฒนาขน้ึ เองหรือ
นำมาจากแหล่งอื่น (ระบุแหล่งทม่ี า) ใหก้ ารจดั การเรียนร้เู ป็นไปตาม และนำไปใชง้ านอย่างไร
๓) เนอื้ หาหลกั สตู รมีการบรู ณาการสภาพ ปญั หา หลกั สูตรหลัก สามารถตอ่ ยอดอาชีพไดห้ รอื ไม่
ความต้องการของผเู้ รียน ชุมชน และแนวโนม้ การ
พฒั นา ๒. มกี ารเพมิ่ เตมิ หลกั สูตรให้
สอดคลอ้ งกบั สถานการณใ์ น
ปจั จบุ นั
๓๔
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่พี บ ขอ้ นเิ ทศ
๔) หลักสูตรที่ดำเนนิ การสอดคลอ้ งตามหลักการ ๓. มแี ผนการจดั การทำงานตาม
๕) มแี ผนงาน/ โครงการ / กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสรมิ เนอื้ หาของหลกั สูตร
การเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องกับความต้องการของ ๔. วทิ ยากรมคี วามรู้
ประชาชนและตลาดแรงงาน ความสามารถซง่ึ เป็นครทู ผ่ี ่าน
๖) มแี ผนการจัดการเรียนรู้ตามหลกั สูตร ใครเปน็ การอบรมจากสำนักงาน กศน.
ผดู้ ำเนินการจัดทำ ๕. วสั ดอุ ุปกรณ์ไมเ่ พยี งพอตอ่
๗) มีการประชมุ ชี้แจง /อบรมเทคนิควธิ ีการ การอบรม เนอื่ งจากไมส่ ามารถ
ถ่ายทอดความรแู้ กว่ ิทยากรกอ่ นดำเนินการ เบกิ ได้
๘) วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถตามเน้อื หา ๖. มีการประเมนิ หลกั สูตรในวนั
หลักสตู ร สุดทา้ ยของการอบรม โดยให้ผู้
๙) วัสดุ อุปกรณ์ มเี พยี งพอและสถานที่ เข้ารับการอบรมนำเสนอผลงาน
มคี วามเหมาะสม ทีท่ ำข้ึนเองจากการอบรม
๑๐) มีการประเมินหลกั สูตรหรอื ไม่ ดำเนินการอย่างไร
๒.๒ การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Process) ๑. วทิ ยากรมกี ารจดั การเรียนรู้ ๑. วิทยากรควรฝกึ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้
ตามหลกั สตู รท่ไี ด้อบรมมา ปฏบิ ตั มิ ากกวา่ การเรยี นรู้ดว้ ย
๑) วทิ ยากร มคี วามร้คู วามสามารถและมีเทคนิค ๒. มกี ารใชส้ ่อื ออนไลน์ในการ
การถ่ายทอดเหมาะสม การฟังเพยี งอย่างเดยี ว
๒)วทิ ยากรจดั การเรยี นรูต้ ามแผนทกี่ ำหนด จดั การอบรม เช่น Line ๒. ควรมกี ารติดตามผเู้ รียนและ
Facebook แอพลเิ คช่ันต่าง ๆ ประเมนิ ผลในแตล่ ะวันวา่ ผู้เรียน
๓) มกี ารใช้สอ่ื แหลง่ เรยี นรู้ /ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ๓. มีการวดั และประเมนิ ผลการ
ประกอบการสอน ได้เรยี นรู้อะไรบ้าง
๔) มกี ารประยกุ ต์ใช้ “สะเตม็ ศกึ ษา”(STEM เรยี นร้ดู ว้ ยการตดิ ตามการอบรม
ของผู้เรยี น
Education) ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔. มแี บบประเมินความพงึ พอใจ
๕) มกี ารใช้สอื่ ออนไลน์ (เชน่ Google classroom
Application line facebook เป็นตน้ ) ในกาเรยี นรอู้ อนไลน์
๕. มกี ารจัดทำรายงานผลการ
ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ปฏิบัตงิ านเม่ือสิน้ สดุ โครงการ
๖) มีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรสู้ อดคลอ้ ง
ตามหลกั สตู รและมเี คร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล
๗) มีการประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นทุก
หลักสูตร
๘) มีการอนมุ ตั ิการจบหลกั สตู ร
๙) มกี ารจดั ทำรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านเมอ่ื ส้นิ สดุ
โครงการ
๒.๓ ผลผลิต (Output)
๑) ประชาชนมีความร้พู นื้ ฐานดา้ นดจิ ทิ ลั
๒) ผู้เรยี นมีความรเู้ ร่อื งกฎหมายเกย่ี วกบั
คอมพิวเตอรส์ ำหรบั การใช้ประโยชน์ใน
ชีวติ ประจำวัน
๓) ประชาชนมีทักษะในการใช้วจิ ารณญาณในการ
รบั สอ่ื
๓๕
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพที่พบ ข้อนิเทศ
๓. โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การสื่อสารด้าน ๑. หลักสตู รมอี งคป์ ระกอบ ๑. ควรให้ผเู้ รียนได้ฝกึ เรียนรู้
อาชพี
๓.๑ ปัจจยั ป้อน (Input) ครบถ้วนตามกระบวนการ และมี และปฏิบัติอย่างตอ่ เนอ่ื ง และ
๑) หลกั สตู รมอี งคป์ ระกอบครบถว้ นตาม การพัฒนาขนึ้ เอง สามารถนำไปเรยี นรู้ด้วยตนเอง
กระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร
๒) หลักสตู รที่ใช้ในการสอนได้พฒั นาขึน้ เองหรอื ๒. ผู้เรยี นไมม่ คี วามรใู้ นด้าน ได้
นำมาจากแหล่งอ่นื (ระบแุ หลง่ ทมี่ า) ภาษาอังกฤษทำให้การจดั การ ๒. ควรมีการติดตามประเมินผล
๓) เน้ือหาหลกั สตู รมีการบรู ณาการสภาพ ปัญหา
ความตอ้ งการของผเู้ รยี นชุมชนและแนวโนม้ การ เรียนรู้เปน็ ไปอยา่ งช้า ๆ เพอ่ื ผเู้ รยี นอย่างตอ่ เนื่องเพื่อติดตาม
พฒั นา ผูเ้ รยี นได้เรยี นรดู้ ว้ ยความเข้าใจ การเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
๔) หลกั สตู รทด่ี ำเนินการสอดคลอ้ งตามหลกั การ
๕) มีแผนงาน/ โครงการ / กจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ ๓. มีการจัดทำสรปุ ผลการเรียนรู้ ๓. ติดการนำไปใชข้ องผเู้ รียนวา่
การเรียนรทู้ ี่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ รายตำบล มีการนำภาษาองั กฤษไปใช้
ประชาชนและตลาดแรงงาน
๖) มแี ผนการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักสูตร ใครเป็น อยา่ งไร
ผู้ดำเนนิ การจัดทำ ๔. ใหน้ กั ศกึ ษาฝกึ เปน็ ไกด์
๗) มีการประชุมช้แี จง /อบรมเทคนิควธิ ีการ
ถา่ ยทอดความรแู้ กว่ ทิ ยากรก่อนดำเนินการ นำพาเท่ียวดว้ ยภาษาองั กฤษใน
๘) วิทยากรมีความร้คู วามสามารถตามเน้อื หา แหลง่ ท่องเท่ียวต่าง ๆ เพอื่ เป็น
หลักสูตร
๙) วสั ดุ อปุ กรณ์ มเี พียงพอและสถานท่มี คี วาม การติดตามผล
เหมาะสม
๑๐)มกี ารประเมินหลกั สตู รหรอื ไม่ ดำเนนิ การอย่างไร
๓.๒ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ (Process) ๑. วิทยากรมีความรู้ ๑. ควรใหว้ ทิ ยากรแนะนำให้
๑) วทิ ยากร มีความรคู้ วามสามารถและ ความสามารถในการสอน ผู้เรยี นสามารถฝกึ การเรยี นรู้
มเี ทคนิคการถา่ ยทอดเหมาะสม
ภาษาอังกฤษ อยา่ งชำนาญ และ ภาษาองั กฤษดว้ ยตนเองได้
๒)วิทยากรจดั การเรียนรตู้ ามแผนท่ีกำหนด สอนตามเนอ้ื หาในดา้ นการ ๒. ควรฝกึ ใหผ้ เู้ รียนกลา้ แสดง
๓) มีการใชส้ อื่ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ส่อื สารเป็นหลกั ออกมายง่ิ ข้นึ และกล้าทจ่ี ะพูด
ประกอบการสอน
๒. มกี ารติดตามและประเมินผล ภาษาอังกฤษ
๔) มีการประยกุ ตใ์ ช้ “สะเตม็ ศึกษา”(STEM ในการใหผ้ เู้ รียนออกมานำเสนอ
Education) ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ ภาษาองั กฤษก่อนจบ
๕) มีการใชส้ อ่ื ออนไลน์ (เช่น Google classroom
หลกั สูตร
Application line facebook เปน็ ต้น) ในการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้
๖) มกี ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรสู้ อดคล้อง
ตามหลกั สูตรและมีเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล
๗) มกี ารประเมินความพงึ พอใจของผเู้ รียนทกุ
หลกั สตู ร
๓๖
ประเด็นการนิเทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ
๘) มกี ารอนมุ ัตกิ ารจบหลกั สูตร
๙) มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัตงิ านเมอื่ สิน้ สุด
โครงการ
๓.๓ ผลผลิต (Output)
๑) ผูเ้ รยี นมที กั ษะการใชภ้ าษาต่างประเทศในการ ผูเ้ รยี นบางคนสามารถนำความรู้ ควรมกี ารมอบรางวัลและเกยี รติ
สือ่ สารอาชพี ตามที่ตอ้ งการ ไปใช้ในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร โดยมี บตั รแกผ่ เู้ รยี นทนี่ ำความรไู้ ปใช้
๒) ครแู ละบุคลากรมีความสามารถทกั ษะการใช้ การอัดคลปิ นำเสนอแหล่ง
ภาษาต่างประเทศเพอ่ื นำไปขยายผลให้กบั ท่องเทย่ี วและมีความกล้ามากข้นึ
ประชาชนได้
๔. การจดั การศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
๔.๑ ปจั จยั ปอ้ น (Input) ๑. หลกั สตู รส่วนใหญเ่ ป็นการ ๑. ควรมกี ารตดิ ตามผ้เู รียนวา่ ได้
๑) หลักสูตรมีองคป์ ระกอบครบถว้ นตาม เรยี นรจู้ ากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ นำความร้ไู ปใชใ้ นการเรยี นรู้
กระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร ปราชญช์ าวบ้าน หมอดนิ มา มากน้อยเพยี งใด และนำไปตอ่
๒) หลักสูตรที่ใชใ้ นการสอนได้พฒั นา ถา่ ยทอดให้ความรใู้ นการปลกู ยอดหรอื ไม่
ขนึ้ เองหรือนำมาจากแหลง่ อื่น (ระบแุ หลง่ ท่ีมา) พืชผัก การเรยี นรู้ และสอนจาก
๓) เนือ้ หาหลกั สตู รมกี ารบรู ณาการสภาพ ปญั หา ประสบการณจ์ รงิ
ความต้องการของผเู้ รยี น ชมุ ชนและแนวโนม้ การ ๒. วิทยากรมคี วามรู้
พฒั นา ความสามารถในการถา่ ยทอด
๔) หลักสูตรทด่ี ำเนนิ การสอดคล้องตามหลกั การ ความรู้
๕) มีแผนงาน/ โครงการ / กิจกรรมเพ่อื สง่ เสรมิ ๓. มกี ารเรียนรู้จากสถานที่จริง
การฝกึ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของประชาชน ซึ่งเป็นแหลง่ เรยี นรูข้ องทาง
และตลาดแรงงาน วิทยากร
๖) มแี ผนการจัดการเรียนรตู้ ามหลักสตู ร ใครเป็น ๔. มกี ารจัดแปรรปู ผลติ ภัณฑ์
ผดู้ ำเนินการจัดทำ ทางเกษตร
๗) มีการประชุมชแี้ จง /อบรมเทคนิควิธีการ ๕. มกี ลมุ่ เครอื ข่าย ภูมิปญั ยา
ถ่ายทอดความร้แู กว่ ิทยากรก่อนดำเนินการ แหลง่ เรียนรูใ้ นทอ้ งถ่นิ เกีย่ วกบั
๘) วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถตามเนื้อหา หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
หลักสตู ร พอเพียง
๙) วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพยี งพอและสถานที่มี
ความเหมาะสม
๑๐) มีการประเมินหลกั สตู รหรอื ไม่ และดำเนินการอยา่ งไร
๑๑) มีการรวบรวมขอ้ มูลสารสนเทศ
ภมู ิปัญญา แหลง่ เรยี นรดู้ ้านเศรษฐกจิ พอเพียงและ
เกษตรทฤษฎใี หม่ในชมุ ชน และจดั ทำเป็นทำเนียบใน
รูปแบบเอกสาร ไฟล์ขอ้ มูล ใหน้ กั ศกึ ษา ประชาชน
สืบคน้ ได้อย่างสะดวก รวดเรว็
๓๗
ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ
๑๒) มกี ารประชาสมั พันธส์ รา้ งการรบั รู้
แก่ประชาชนอย่างสมำ่ เสมอ ทัว่ ถึง เกีย่ วกับแหลง่
เรยี นรูแ้ ละภมู ิปญั ญาด้านเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตร
ทฤษฎีใหม่ ทั้งในและนอกพืน้ ที่
๑๓) มีการประชมุ วางแผนจดั ทำโครงการ/กจิ กรรมโดย
การมสี ว่ นรว่ มของคณะกรรมการ ผู้เกยี่ วข้องทกุ ภาค
สว่ น
๑๔) มีการจดั ทำหลกั สูตรอบรมให้ความรู้
แก่ประชาชนท่หี ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั สภาพความ
ตอ้ งการ
๑๕) มกี ารรวมกล่มุ เครอื ข่าย ภูมปิ ญั ญา แหลง่ เรยี นรู้
ภายในชุมชน
๑๖) มีการสรรหาวิทยากร ผู้รทู้ มี่ คี วามรู้ ความชำนาญ
๔.๒ การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Process) ๑. วทิ ยากรจดั การเรียนร้ตู ามที่ ๑. อยากใหเ้ นน้ การฝกึ ปฏิบัติ
ไดป้ ระสานงานกบั ครู กศน. จรงิ เป็นหลักเพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนมี
๑) ดำเนนิ กิจกรรม/โครงการตามแผนทีก่ ำหนด ตำบล และสอนจาก ประสบการณใ์ นการทำงานและ
หรอื ไม่ ถ้าไมเ่ พราะเหตุใด
๒) มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ศกึ ษาดงู าน ฯลฯ ประสบการณจ์ รงิ เปน็ หลกั สามารถนำไปตอ่ ยอดไดจ้ รงิ
๒. สอนด้วยการใหผ้ เู้ รยี นได้ฝกึ ๒. อยากใหม้ ีการติดตามผเู้ รยี น
ระหว่างกลมุ่ /ศนู ยเ์ รียนรฯู้ ท้ังภายในและภายนอก ปฏิบตั ิมากกว่าน่งั ฟังเป็นหลัก อยา่ งจริงจงั ว่ามีการนำความรู้
พ้ืนท่ี
๓) มีการฝึกปฏบิ ตั ิจริงในครอบครวั /ชมุ ชน ๓. มกี ารใช้แบบสอบถามความ ไปตอ่ ยอดอย่างไรบา้ ง
พงึ พอใจออนไลน์ ๓. จัดทำ ทำเนยี บความรู้
๔) จัดวทิ ยากร/จติ อาสาประจำศูนย์เรยี นรู้ แหลง่ ๔. มกี ารวดั การประเมนิ ผลดว้ ย เกย่ี วกบั เศรษฐกจิ พอเพียงใน
เรียนรู้ในชมุ ชน ให้บริการข้อมลู แนะนำ ให้
คำปรึกษาแก่นกั ศกึ ษา และประชาชนทีม่ าศึกษา การติดตามผเู้ รียนในการนำ ดา้ นตา่ ง ๆ เพือ่ เป็นคลังความรู้
ความรไู้ ปใช้ทบ่ี ้าน ไม่ว่าจะเปน็ ดา้ นวทิ ยากร ดา้ น
เรียนรเู้ ป็นประจำ ๕. มีการจดั นทิ รรศการแสดงผล แหล่งเรียนรู้
๕) จดั กจิ กรรม นิทรรศการ แสดงผลงาน นำเสนอ
ผลงานความสำเร็จ ความกา้ วหน้าของโครงการ/ งานเวลามงี าน ประจำปี
๖. มีการจัดทำสรปุ ผลการ
กจิ กรรม ทีด่ ำเนนิ การอย่างสมำ่ เสมอ ปฏบิ ตั งิ าน
๖) มีการประยกุ ตใ์ ชส้ ะเตม็ ศกึ ษา/การจัดการ
ความรู้ดา้ นดจิ ิทลั และ ICT เพอ่ื พฒั นาอาชพี
เกษตรกรรมอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
๗) มีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรสู้ อดคล้อง
ตามหลกั สตู ร และ มเี ครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล
๘) มกี ารประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ รียนทุก
หลักสูตร
๙) มีการอนมุ ัติการจบหลกั สตู รและรายงานผ้จู บ
หลกั สตู ร
๑๐) มกี ารจัดทำรายงานผลการปฏิบตั งิ านเม่ือ
สน้ิ สดุ โครงการ
๓๘
ประเด็นการนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นิเทศ
๔.๓ ผลผลิต (Output)
๑) นักศึกษาและประชาชนนำหลกั ปรัชญาของ ๑. มผี เู้ รยี นที่นำความรู้ไปใช้กับ ๑. ควรมีการใหร้ างวลั หรือ
เศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมไ่ ปใชใ้ น ครอบครัวและสามารถนำไปต่อ เกียรตบิ ตั รแกผ่ ู้ทน่ี ำความร้ไู ป
การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตได้ ยอดประกอบอาชีพ ใช้และเกิดประโยชนจ์ รงิ ตอ่
๒) นักศึกษาและประชาชนมีความรดู้ ้านเกษตร ครอบครวั ชมุ ชน
ธรรมชาติ
๓) นักศกึ ษาและประชาชนสามารถนำความรดู้ า้ น
เกษตรธรรมชาติ ไปพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมได้
๔) ผลงานเด่นทส่ี ามารถเป็นแบบอยา่ ง (good
practice) ได้ มีอะไรบ้าง /ปจั จยั ความสำเรจ็
คอื อะไร
๕. การจดั กจิ กรรมป้องกนั ภาวะซึมเศร้าของ
ผูส้ งู อายุ
๕.๑ ปจั จยั ป้อน (Input) ๑. มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ ๑. ควรจดั การศกึ ษาใหก้ บั
๑) มกี ารวางแผนสำรวจกลมุ่ เป้าหมายเพอื่ เตรียม อ่าน ให้กับผู้สงู อายุ เวลาประชมุ ผ้สู งู อายอุ ย่างต่อเนอื่ ง เนอ่ื งจาก
ความพรอ้ มทจ่ี ะจดั กจิ กรรมป้องกนั ภาวะซมึ เศร้า ประจำเดอื น อำเภอบางน้ำเปรีย้ วมผี สู้ งู อายุ
ของผสู้ ูงอายุ ๒. จดั กจิ กรรสง่ เสรมิ สุขภาวะ เพม่ิ ขึ้นเป็นจำนวนมาก
๒) โครงการ /กิจกรรมดำเนนิ การสอดคลอ้ งตาม ใหก้ ับผู้สงู อายุในการดูแลสขุ ภาพ ๒. ควรมกี ารประเมินผลตดิ ตาม
หลักการจดั กิจกรรมป้องกันภาวะซมึ เศร้าของ ๓. จดั อาชพี ให้กบั ผสู้ งู อายเุ พอ่ื ใช้ ผู้สงู อายุ ดว้ ยการสอบถาม
ผู้สงู อายุทสี่ ำนักงาน กศน.กำหนด (Smart เวลาว่างเพอ่ื ให้เกดิ รายไดแ้ ก่ ความก้าวหน้าหลงั จากเรียนรไู้ ป
Aging/Active Aging/ การเผยแพร่ ครอบครวั แล้ววา่ เปน็ อย่างไรบา้ ง
ภูมิปัญญา) ๔. กจิ กรรมตา่ งๆ ทจ่ี ัดตรงต่อ ๓. จัดทำบันทกึ สรุปผลการ
๓) โครงการ /กิจกรรม มสี ถานท่แี ละอปุ กรณ์ มกี าร ความต้องการของผสู้ งู อายเุ ปน็ ติดตามเพือ่ ใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการ
ออกแบบให้เหมาะสม สอดคล้องกบั สภาพปัญหา หลกั พัฒนาตอ่ ไป
ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย ๕. ภาคเี ครือข่ายมีสว่ นร่วมใน
๔) โครงการ / กจิ กรรม ทม่ี รี ปู แบบการจัด การจดั กจิ กรรมใหก้ บั ผสู้ ูงอายุ
การศึกษาทหี่ ลากหลายดำเนินการใชร้ ูปแบบการให้
ความรู้ ความเข้าใจ /ชมรม /คลังสมอง /กลมุ่ สนใจ
หรือฝกึ อบรม
๕) หลักสตู ร / แผนการจดั กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การ มี
การจัดกจิ กรรมป้องกนั ภาวะซมึ เศรา้ ของผสู้ งู อายุ
ด้านใดบ้าง เหมาะสมกับสภาพกลมุ่ เปา้ หมาย
๖) มีการจดั ทำข้อมลู สารสนเทศทเ่ี กยี่ วขอ้ ง (สภาพ
ปญั หา ความตอ้ งการ ความพรอ้ ม ภูมปิ ัญญา ฯลฯ)
๗) ภาคีเครอื ขา่ ย ชุมชน เขา้ มามีส่วนร่วมในการ
วางแผน ออกแบบ โครงการ/กจิ กรรม
๓๙
ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ
๕.๒ การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Process) ๑. วทิ ยากรเปน็ ทัง้ ครู กศน. ๑. ให้ครู กศน. จดั หากจิ กรรมท่ี
๑) วทิ ยากรมคี วามรคู้ วามสามารถและเทคนิคการ ตำบล คุณหมอจากโรงพยาบาล เหมาะสมกับผ้สู งู อายุ และมี
ถ่ายทอดเหมาะสม สถานีอนามัยเฉลมิ พระเกียรติ ความหลากหลายมากยง่ิ ขน้ึ
๒) มกี ารใชส้ ื่อ เทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้ ตำบลพิกลุ ทอง และหน่วยงาน
ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นประกอบการจัดกจิ กรรม ต่าง ๆ
๓)มกี ารประเมินผลการจดั กิจกรรม ๒. มีการถ่ายทอดความรใู้ นด้าน
๔) มีการจัดทำรายงานผลการจดั โครงการ / ต่าง ๆ ตามความสามารถของ
กิจกรรม เมื่อส้ินสดุ โครงการ วิทยากร อยา่ งชำนาญ และเกิด
๕) มกี ารตดิ ตามผลการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ จากประสบการณ์จรงิ
๕.๓ ผลผลิต (Output) ๑. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสขุ ภาพ ๑. ควรมกี ารมอบเกียรตบิ ัตร
๑) ผสู้ งู อายสุ ามารถดูแลตนเอง ทง้ั สุขภาพกาย /
ตัวเองได้ ใหก้ บั ผู้สงู อายทุ ผี่ ่านการอบรม
สุขภาพจิตได้ เพิม่ รายได้ /อาชีพ /สวสั ดิการ ๒. มีอาชพี ที่สามารเพ่ิมรายได้ กบั ทางกศน.
๒) ผสู้ งู อายรุ จู้ ักใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ใหก้ บั ครอบครัว ๒. จดั ทำเนยี บผสู้ ูงอายทุ ี่จบ
๓) มีการรวบรวมและเผยแพรภ่ มู ิปัญญาของผสู้ งู อายุ
๓. กล้าทจี ะแสดงออกในสังคม จาก กศน. เพ่อื ประกาศให้เปน็
อย่างหลากหลาย (เอกสาร/Youtube/ facebook ฯลฯ) ๔. มีกิจกรรมร่วมกันเป็นประจำ แบบอยา่ งในสงั คม
๔)มกี จิ กรรมเตรียมความพรอ้ มแก่กลุ่มเปา้ หมายกอ่ นเขา้ ทุกสปั ดาห์ ทกุ เดอื น
สู่วัยผ้สู ูงอายุ (การออม/สขุ ภาพ/อาชีพ)
๕) ผสู้ ูงอายุมกี จิ กรรมร่วมกันอย่างสมำ่ เสมอ
๖. การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสังคมและชมุ ชน ๑. จัดกิจกรรมให้ความรู้ตาม ๑. จดั กจิ กรรมให้ดีอย่าง
สถานการณใ์ นปจั จบุ ัน ในด้านให้ ต่อเน่อื ง
๖.๑ ปจั จยั ป้อน (Input) ความรู้ การจัดการขยะในชุมชน
๑) โครงการ /กิจกรรมดำเนนิ การโดยมงุ่ ให้ความรู้
เกย่ี วกับการเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รกบั การลดใชถ้ งึ พลาสตกิ และการ
ปอ้ งกันภยั ธรรมชาติ
สิง่ แวดลอ้ ม การปอ้ งกันผลกระทบ ๒. กิจกรรมท่จี ัดมีความ
การปอ้ งกนั ภยั พบิ ัตธิ รรมชาติและสภาพภมู ิอากาศ
การลดความสญู เสียในการผลติ และใช้เทคโนโลยี เหมาะสมตรงความตอ้ งการของ
ประชาชน
ทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อมและการคำนงึ ถึงสว่ นรวม
(เช่น การบรหิ ารจัดการขยะและมลพิษในชมุ ชน/
การปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติและสภาพภมู ิอากาศ)
๒) โครงการ /กจิ กรรม ทดี่ ำเนินการ เหมาะสม
สอดคลอ้ งกบั สภาพ ความตอ้ งการของประชาชน
และชมุ ชน
๓) โครงการ / กจิ กรรม ทีด่ ำเนนิ การใช้รปู แบบกล่มุ
สนใจ ฝึกอบรม หรอื อื่น ๆ เพราะเหตุใด
๔)มกี ารจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศทเ่ี ก่ยี วข้อง (สภาพ
ภูมิอากาศ /แนวโนม้ ความเสีย่ ง/สถติ ิการเกิดภยั พิบัติ
/การคดิ ดี ทำดี)
๔๐
ประเด็นการนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ
๖.๒ การจดั กระบวนการเรียนรู้ (Process) ๑. วิทยากรมคี วามรใู้ นการให้ ๑. ครู ควรจดั การเรยี นรมู้ กี าร
๑) วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถและเทคนคิ การ
ถา่ ยทอดเหมาะสม ความรใู้ นดา้ นตา่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็น ติดตามผลการนำความร้ไู ปใช้
๒) มกี ารใช้สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ การคดั แยกขยะ การดูแลสุขภาพ ประโยชนอ์ ยา่ งไรบ้าง
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นประกอบการจัดกจิ กรรม
๓) มกี ารประเมินผลการจัดกจิ กรรม การป้องกันโรคภัยไขเ้ จ็บต่าง ๆ
๔) มกี ารจดั ทำรายงานผลการจดั โครงการ / ซงึ่ ตรงตอ่ สถานการณ์ในปจั จบุ นั
กจิ กรรม เม่อื สน้ิ สดุ โครงการ
๕) มกี ารตดิ ตามผลการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ และสอนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
เขา้ ใจง่าย
๖.๓ ผลผลติ (Output) ๑. ประชาชนมกี ารนำความรู้ ๑. ควรมีการตดิ ตามและมอบ
รางวลั ให้แกผ่ ทู้ น่ี ำความร้ไู ปใช้
๑) ประชาชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการ/กิจกรรม ไดร้ บั ไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ใน
อย่างมีประสิทธิภาพมากทส่ี ุด
มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การป้องกนั ผลกระทบ เรอ่ื งของการกำจัดขยะ มลพิษ
และปรบั ตวั ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และการปอ้ งกันโรคภยั ต่าง ๆ
และภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ รวมไปถงึ ภัยธรรมชาติในชุมชน
๒) ประชาชนท่เี ขา้ ร่วมโครงการ/กิจกรรม ได้อย่างสม่ำเสมอ
มีความตระหนกั ในการรว่ มสรา้ งสังคมสเี ขียว
ดำเนินการกำจดั ขยะและมลพษิ ในบ้าน ชุมชนไดอ้ ย่าง
ถูกตอ้ งและต่อเน่อื ง
๓) มีกจิ กรรมปอ้ งกนั กำจดั บรหิ ารจดั การขยะ มลพิษ
และกิจกรรมปอ้ งกันภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ
ในชุมชนอย่างสมำ่ เสมอ
๔๑
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้ามี)
มีภูมิปัญญาด้านเศรษฐกิจพอเพียง มีผู้สูงอายุที่ประสบความสำเร็จในการทำอาชีพเสริม สามารถหารายได้
ใหแ้ กค่ รอบครวั ได้ ชมุ ชนมคี วามเข้มแขง็
ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นา
กิจกรรมที่จัดดีอยู่แล้วขอให้พัฒนารูปแบบกิจกรรมตอ่ ยอดเพื่อประชาชนได้ความรู้และมีความสนใจในการ
เรยี นรู้อย่างต่อเนอ่ื ง มกี ารจัดทำสรปุ ผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ เพือ่ เป็นคลังความร้แู ละเปน็ ข้อมูลสารสนเทศใน
การนำไปปรบั ปรุงพฒั นาการจดั กิจกรรมได้
ลงชอ่ื .......................................................ผนู้ เิ ทศ
(นางสาววภิ ารตั น์ วงศค์ ำเหลา)
๓๐ มีนาคม ๒๕๖๓
๔๒
๕. แบบบันทกึ การนเิ ทศการศึกษาตามอัธยาศัย
เรอื่ ง ห้องสมดุ ประชาชน
คำช้ีแจง ใหศ้ ึกษานเิ ทศกห์ รือผู้รบั ผิดชอบการนเิ ทศ สอบถาม สมั ภาษณ์ผูร้ บั ผดิ ชอบการดำเนนิ งาน ครผู สู้ อน
และหรือผู้เรียน/ผเู้ กย่ี วข้อง สงั เกตสภาพจริง สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร
สอ่ื ฯลฯ แลว้ บันทกึ สภาพทีพ่ บ (จดุ เดน่ – จดุ ทีค่ วรพัฒนา) และขอ้ นิเทศ พรอ้ มท้ังขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพฒั นา
ลงในแบบบนั ทกึ การนิเทศ
สำนักงาน กศน.จงั หวัด.....ฉะเชิงเทรา..............................กศน.อำเภอ.....บางนำ้ เปรย้ี ว....................................
ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพี่ บ ขอ้ นเิ ทศ
ปัจจยั ปอ้ น (Input)
๑.หอ้ งสมุดมีการจัดทำข้อมลู สารสนเทศ ๑.ควรมีการวเิ คราะห์ความ
๑.มกี ารจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศของ
ห้องสมุดประชาชนหรอื ไม่ อย่างไร มีประวัตขิ องหอ้ งสมุดและปา้ ย ต้องการของชมุ ชนและจัดทำ
๒.มกี ารสำรวจขอ้ มลู ความต้องการของ ประชาสมั พนั ธ์ มคี วามพรอ้ มในการ แผนพัฒนาห้องสมดุ ประชาชน
กลมุ่ เปา้ หมายหรอื ไม่ อยา่ งไร
ให้บรกิ ารในด้านหนงั สอื และส่อื ต่าง ๆ ในรปู แบบเปน็ แหลง่ เรียนรู้
๓. สภาพของหอ้ งสมดุ ประชาชนมี
ความพร้อมในการบรกิ าร ดงั นี้ และสถานทท่ี ่องเท่ียว เพือ่
๑) สื่อออนไลน์ /หนังสือ /สือ่ สำหรบั เด็ก
และสอ่ื การเรียนร้อู ่ืนๆ ๒. มีการสำรวจข้อมูลความตอ้ งการของ เพมิ่ ความน่าสนใจในการ
๒) ส่ิงอำนวยความสะดวก
๓) อุปกรณ์ /คอมพวิ เตอร์ กลุ่มเป้าหมาย โดยการจดั ทำแบบสำรวจ เรียนรู้ท้งั ภายนอก และภายใน
๔) สัญญาณ Wifi
ความตอ้ งการหนงั สือ สือ่ และแบบสำรวจ หอ้ งสมดุ ให้ตรงกบั ความ
๔. มีการวิเคราะหข์ อ้ มลู (SWOT) เพ่ือ
นำมาใช้ในการวางแผนการดำเนินงาน ความพึงพอใจกจิ กรรม ต้องการของผบู้ รกิ าร และ
หรือไม่ อยา่ งไร
๒.จัดทำเวบ็ ไซต์หรอื เพจ
๕. มกี ารจดั ทำแผนงาน /โครงการ ดงั นี้
๑) แผนการจดั กจิ กรรม ๓. สภาพของหอ้ งสมุดประชาชนมีความ Facebook ,Line เพ่ือเผย
๒) แผนพัฒนาตนเอง (IDP) ของ
บรรณารกั ษ์ /เจา้ หนา้ ทห่ี ้องสมุด พร้อมในการใหบ้ รกิ าร หนงั สือออนไลน์ แพร่ขอ้ มลู ข่าวสาร
๓) แผนการพฒั นาสภาพแวดล้อม
๔) แผนการจัดหาและพฒั นา หนังสอื /สอื่ สำหรบั เด็ก เพยี งพอตอ่ ผู้ ประชาสมั พันธ์ที่เปน็ แหลง่
อาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น
๕) แผนการจัดหา / จัดทำส่อื ส่งเสรมิ การ รบั บริการ และมสี ง่ิ อำนวยความสะดวก เรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอก
อา่ น
สำหรับผพู้ ิการ มีอุปกรณ์/คอมพิวเตอร์ ทใ่ี ห้เปน็ สาธารณชนเข้าไป
ให้บรกิ าร และสญั ญาณ Wifi ถงึ ๒ สญั ญา ติดตาม
๔. มีการวิเคราะหข์ ้อมลู (SWOT) ในการ
วางแผนการดำเนนิ งานและจดั กจิ กรรมใน
ห้องสมดุ และพฒั นาหอ้ งสมุดให้เป็นไป
ตามความตอ้ งการของผรู้ ับบรกิ าร
๕. มกี ารจดั ทำแผนงาน /โครงการ
๑) มแี ผนการจัดกจิ กรรมทงั้ ภายใน
และภายนอกหอ้ งสมุด
๒) ยงั ไมม่ ีการจดั ทำแผนพัฒนา
ตนเอง (IDP) ของบรรณารกั ษ์ /เจา้ หน้าท่ี
หอ้ งสมดุ
๓) มีแผนการพฒั นาสภาพแวดลอ้ ม
ทง้ั ภายในและภายนอกห้องสมุด โดย
ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่พี บ ๔๓
ขอ้ นิเทศ
๖.มีการออกแบบกิจกรรมทหี่ ลากหลาย บรรจอุ ย่ใู นแผนงานประจำปี อาทิ เชน่
สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของ โครงการพัฒนาซ่อมแซมหอ้ งสมดุ
กลุ่มเปา้ หมาย ประชาชน เป็นตน้
๔) มีอาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่านใน
๗. มีการประสานงาน หน่วยงาน บคุ คล การให้ความรใู้ นชมุ ชน แตไ่ ม่มแี ผนการ
เพ่อื เปน็ เครอื ขา่ ย/อาสาสมคั รสง่ เสรมิ จัดหาและพัฒนาอาสาสมคั รสง่ เสริมการ
การอ่าน อา่ น
๕) มีการจัดหาส่ือ/สอ่ื สง่ เสริมการ
๘. มีการประสานงานกับทุกภาคสว่ นเพอื่ อา่ นและสอื่ ออนไลน์
สนบั สนุนทรพั ยากรในการจัดกจิ กรรม
ส่งเสริมการอ่าน ๖. มีการออกแบบกจิ กรรมท่ี
หลากหลายสอดคล้องกบั สภาพความ
๙. มกี ารประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มลู ข่าวสาร ตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย เชน่ มแี บบ
อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง สำรวจความต้องการในการจัดกิจกรรม
การใช้ส่ือเทค
โนโลยออนไลน์ Google form, QR-
Code มาใชใ้ นการสง่ เสรมิ การอา่ นใหก้ บั
ผู้รบั บรกิ าร
๗. มีการประสานงาน หน่วยงาน ทั้ง
ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อเป็นเครือข่าย
ในการจดั กจิ กรรม เช่น โครงการห้องสมดุ
เคลื่อนทชี่ าวตลาด , โครงการบรจิ าค
หนงั สือ และมกี ารประสานงานให้นักเรยี น
นักศกึ ษา และผทู้ ส่ี นใจเขา้ มาเปน็ อาสา
สมคั รสง่ เสริมการอ่าน
๘. เครือข่ายมสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนนุ
การใหบ้ ริการของหอ้ งสมดุ ประชาชนวิบลุ
ลกั สม์ พร้อมทงั้ การสนับสนุนในด้าน
งบประมาณจดั กิจกรรม เช่น งานวนั เด็ก
เปน็ ตน้
๙.มกี ารประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มลู ข่าวสาร
อยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง โดยมกี าร
ประชาสมั พันธ์ผา่ นเว็บไซตร์ ะบบเช่ือมโยง
และเพจ Facebookของหอ้ งสมดุ อยา่ ง
ต่อเนือ่ ง
๔๔
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ
การดำเนินงาน (Process) ๑. มกี ารประชมุ คณะทำงานการจัด ๑ ควรมีการประชาสมั พันธ์
๑. การดำเนนิ งานเปน็ ไปตามแผนงาน/
โครงการท่กี ำหนด กิจกรรมหอ้ งสมดุ ประชาชน และเพ่อื วาง อย่างตอ่ เน่อื งและเพ่ิมชอ่ งการ
๒.การดำเนนิ งานสอดคล้องกับความ แผนการดำเนนิ งานไปในทศิ ทางเดยี วกัน การประชาสมั พนั ธเ์ พื่อดงึ ดูด
ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย หนว่ ยงาน/
ชุมชน ๒. การดำเนินกจิ กรรมเป็นไปตามแผน ผู้ใช้บรกิ ารเพิม่ มากขึน้
๓. ภาคีเครอื ข่ายมสี ว่ นรว่ มในการจัดและ โครงการท่ีกำหนด สอดคลอ้ งกบั ความ
พัฒนากจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น
๔. อาสาสมคั รมสี ว่ นรว่ มสนับสนนุ ต้องการของผรู้ ับบรกิ าร
การดำเนินงานสง่ เสริมการอา่ น ๓. ภาคีเครือขา่ ยมีส่วนรว่ มในการจดั และ
๕. ผบู้ รหิ ารใหก้ ารสนบั สนุน สง่ เสริม
ช่วยเหลือแก้ไขปญั หาของบรรณารกั ษ/์ พฒั นากิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน เชน่ มี
เจ้าหน้าท่ีหอ้ งสมดุ ภาคีเครือขา่ ยสนับสนนุ ดา้ นสถานทแ่ี ละ
๖. กศน.ตำบล มสี ่วนร่วมในการ
ดำเนนิ งานสง่ เสรมิ การอ่าน ทรพั ยากรในการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การ
๗. มีการใชเ้ ทคโนโลยสี นบั สนุนการ อา่ น
ดำเนนิ งานสง่ เสรมิ การอา่ น
๘. มนี ำผลจากการพฒั นาตนเองมาใชใ้ น ๔.มอี าสาสมัครมสี ว่ นรว่ มสนบั สนบุ การ
การดำเนินงานสง่ เสริมการอ่าน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นภายในหอ้ งสมดุ
๙. บรรณารักษ/์ เจา้ หน้าทีห่ อ้ งสมุดมสี ว่ น
รว่ มในการดำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ของ ๕.ผู้บริหารใหก้ ารสนับสนุนการดำเนนิ งาน
ชมุ ชน หน่วยงาน อืน่ ๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง ของหอ้ งสมุดเป็นอย่างดี ในการใหใ้ ช้
๑๐. การดำเนนิ งานเปน็ ไปในลักษณะ
การบริการเชิงรกุ หรอื ไม่ งบอดุ หนุนของสถานศึกษาในด้านการ
พัฒนาและซ่อมแซมหอ้ งสมุด
๖.กศน.ตำบล มีส่วนร่วมในการจดั
กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในตำบลและนำ
นักศึกษาเขา้ รว่ มกจิ กรรมของหอ้ งสมดุ
๗.มกี ารใช้เทคโนโลยสี นบั สนนุ การ
ดำเนินงานสง่ เสรมิ การอา่ น โดยมเี ครอื่ ง
คอมพวิ เตอร์และระบบอินเตอรเ์ นต็ ไวใ้ ห้
สืบคน้ ข้อมลู
๘.มกี ารนำความรู้ในการอบรมมาใช้ในการ
พัฒนาและจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นใน
๙.บรรณารักษม์ สี ว่ นร่วมในการดำเนนิ
กจิ กรรมต่าง ๆของชุมชน หน่วยงาน โดย
การออกเคลอ่ื นทีจ่ ดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การ
อ่านในชมุ ชน
๑๐.การดำเนินงานเปน็ ไปในลกั ษณะการ
บริการเชงิ รุก โดยการออกเคลือ่ นทจ่ี ดั
กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นในชุมชน และ
โรงเรียนในชมุ ชน ตลอดจนศูนย์พัฒนาเดก็
เลก็ ตำบล
๔๕
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ข้อนิเทศ
ผลผลติ (Output)
๑. ความพึงพอใจของผรู้ ับบริการด้าน ตา่ ง ๑.มีความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการดา้ น ๑.ควรมกี ารตดิ ตามผล
ๆ ต่อไปน้ี การสำรวจความพึงพอใจใน ๒ รปู แบบคือ หลักการรบั บรกิ ารจาก
๑) กจิ กรรม แบบสำรวจความพึงใจ ,และในแบบ หอ้ งสมุดประชาชน เพอื่ นำมา
๒) การบริการ สำรวจความพงึ พอใจแบบ QR Code เป็นข้อมลู ในการปรบั ปรงุ
๓) สภาพแวดลอ้ ม ภายในและภายนอก ๒. อตั ราการอ่านของประชาชนเพ่มิ ขึน้ กจิ กรรมให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
๒. อัตราการอา่ นของประชาชนเพิม่ ขนึ้ ๑) จำนวนสมาชกิ เพิม่ ขึ้น เนอื่ งจากมกี าร ต่อไป
มากนอ้ ยเพียงใด ให้นักศกึ ษาสมัครเป็นสมาชกิ ของห้องสมดุ ๒.ควรมีการมอบรางวลั ใหก้ บั
๑) จำนวนสมาชิกเพ่มิ ๒) กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านทีด่ ำเนินการ ผูร้ บั บริการ อาสาสมัคร
๒) กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นทดี่ ำเนนิ การ สามารถเปน็ แบบอย่างได้ (Good Practice) ส่งเสริมการอ่าน และผทู้ จ่ี ดั
สามารถเปน็ แบบอยา่ งได้ (Good Practice) ได้แก่ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเคลอ่ื นทส่ี ำหรบั ชาว กิจกรรมไดเ้ ป็นอยา่ งดี ในวนั ท่ี
๓. ได้รบั รางวลั จากตน้ สังกดั หน่วยงาน ตลาด สามารถประสานงานสถานท่ใี นการจดั ๒ เมษายน วนั รกั การอา่ น
ภายนอก (ถา้ ม)ี กจิ กรรมไดโ้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ ่าย ของทกุ ปี
๔. มกี ารสรปุ ผล รายงาน การดำเนนิ ๓. ไมม่ ไี ดร้ บั รางวลั จากตน้ สงั กัดหน่วยงาน
กจิ กรรม อย่างเปน็ ปจั จบุ นั ภายนอก
๖. มกี ารสรปุ ผล รายงาน การดำเนนิ
กิจกรรมโครงการตา่ งๆ อยา่ งเป็นปจั จบุ นั
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถา้ ม)ี
๑. คลิปวีดโี อแนะนำหนังสือภายในห้องสมุดประชาชนวบิ ลุ ลักสม์
๒. บรรณารกั ษม์ ีความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี และส่งเสรมิ การอา่ นผา่ นสอ่ื ออนไลน์ QR-CODE ทั้งเชิง
รกุ และเชิงรบั รวมไปถงึ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นใหก้ บั ผู้รับบริการ และภาคเี ครือขา่ ยตา่ ง ๆ
๓. ภาคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการสนับสนุนและให้บรกิ ารเปน็ อย่างดี
ข้อเสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
ปรบั ปรงุ สภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกหอ้ งสมุดให้มีความสวยงามและนา่ เรียนรู้
ลงชอ่ื ........................................................ผนู้ ิเทศ
(นางสาววิภารตั น์ วงศ์คำเหลา)
๓๐ เมษายน ๒๕๖๓
๔๖
๖. แบบบนั ทึกการนเิ ทศการศกึ ษาตามอัธยาศยั
เรอื่ ง บ้านหนงั สอื ชมุ ชน
คำช้แี จง ใหศ้ ึกษานเิ ทศก์หรือผูร้ บั ผิดชอบการนเิ ทศ สอบถาม สมั ภาษณผ์ ู้รบั ผดิ ชอบการดำเนินงาน ครูผูส้ อน
และหรอื ผ้เู รียน/ผ้เู กี่ยวขอ้ ง สงั เกตสภาพจรงิ สถานท่ี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร
ส่ือ ฯลฯ แลว้ บันทกึ สภาพทพ่ี บ (จดุ เด่น – จดุ ที่ควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมท้ังข้อเสนอแนะเพือ่ การพฒั นา
ลงในแบบบนั ทกึ การนเิ ทศ
สำนกั งาน กศน.จงั หวัด..............ฉะเชิงเทรา....................กศน.อำเภอ............บางนำ้ เปรยี้ ว...............................
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่พี บ ขอ้ นิเทศ
ปจั จัยป้อน (Input)
๑. มกี ารจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศของบ้าน ๑.มกี ารจดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศและจดั ๑.ควรมกี ารนำกิจกรรมและ
หนงั สอื ชมุ ชนของแต่ละตำบล
๒. มกี ารสำรวจความตอ้ งการของ ทำเนยี บบา้ นหนงั สอื หนงั สือที่น่าสนใจเขา้ ไปมีส่วน
ผ้ใู ช้บริการ เช่น ประเภทหนงั สอื สอื่ อน่ื ๆ
๓. มกี ารสำรวจขอ้ มลู ความต้องการของ ๒.มีแบบสำรวจความต้องการสอื่ รว่ มในบา้ นหนงั สอื ใหม้ ากขน้ึ
กลุม่ เป้าหมาย
๔. มีสภาพความพรอ้ ม สถานท่ี และส่ือ หนังสอื และกิจกรรมของบา้ นหนงั สอื เปน็ ประจำทุกเดือน และ
อื่น ๆ เปน็ อย่างไร
๕. ผูด้ ูแลรบั ผดิ ชอบ มีความพร้อม ๓. มกี ารสำรวจความพงึ พอใจใน ๒ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้
มจี ิตสาธารณะ และมีศกั ยภาพในการ
ส่งเสรมิ การอ่าน รูปแบบคือ แบบสำรวจความพงึ ใจ ,และ ๒.สภาพแวดล้อมทั้งภายใน
๖. มกี ารประชาสมั พนั ธ์ของบ้านหนังสือ
๗. มีการส่งเสริม สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ ในแบบสำรวจความพึงพอใจแบบ QR ภายนอกของบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน
พฒั นาผู้ดแู ล รับผิดชอบอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
Code สามารถจัดใหเ้ หมาะสมกับ
การดำเนนิ งาน (Process)
๑. มกี ารเปดิ ใหบ้ รกิ ารอยา่ งสมำ่ เสมอ ๔.สถานที่บา้ นหนงั สอื ในการใหบ้ รกิ าร สภาพของทีต่ งั้ ได้ แต่จะต้องมี
๒. มกี ารอำนวยความสะดวก เชน่
แสงสว่าง ท่นี ง่ั เปน็ สัดส่วน พดั ลม ฯลฯ มีความพร้อมในการใหบ้ รกิ าร สอื่ ที่ บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
๓. มีหนงั สือหมนุ เวยี นอยู่ในสภาพน่าอ่าน
นา่ เขา้ ใชบ้ ริการ ให้บรกิ ารจะเป็นหนงั สอื ทีไ่ ด้รบั บริจาค สรา้ งความสขุ ท่ีไดอ้ า่ นหนงั สอื
๔. มกี ารบริการอ่ืน ๆ เชน่ กาแฟ น้ำด่ืม
แว่นตา Wifi แกผ่ ใู้ ช้บรกิ าร แตย่ ังขาดส่ือ หนงั สอื ใหม่ๆ ท่ที นั สมยั มหี นังสอื เพียงพอ มที ่นี ัง่ มี
๕. มีกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น เชน่ พดู คุย
แลกเปล่ยี นระหว่างสมาชิกสับเปลี่ยน และทันต่อเหตุการณ์ ผ้รู ับผิดชอบบา้ น อากาศถา่ ยเท ไมร่ ้อน ไม่อบั
หมนุ เวียนอย่างสมำ่ เสมอ
หนงั สอื มีจติ สาธารณะ และมีศกั ยภาพ และปลอดภยั จะเป็นการดึงดดู
ในการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น ใจใหค้ นเขา้ ใชบ้ รกิ าร
๕.มีการประชาสัมพันธ์กจิ กรรมสง่ เสริม
การอา่ นก่อนและหลงั
๑. มีการเปดิ ใหบ้ รกิ ารเปน็ ประจำทุกวนั ๑.ควรมกี ารประชาสัมพันธ์บ้าน
๒. ผ้รู บั ผิดชอบ มจี ิตสาธารณะ และมี หนังสือชุมชนใหม้ ากขึ้น และมี
ศกั ยภาพในการจัดกจิ กรรมและการให้ การจดั กจิ กรรมอยา่ งตอ่ เน่อื ง
เตรยี มความพร้อมการใหบ้ รกิ าร เพอ่ื ใหม้ คี นในชุมชนรูจ้ ักบา้ น
๓. มีการหมุนเวียนหนงั สอื เก่า หนงั สือ หนังสือชมุ ชนและเข้าใชบ้ รกิ าร
ใหม่ๆ ทีไ่ มเ่ ป็นปจั จบุ นั และไมส่ มำ่ เสมอ มากข้นึ
๔. มบี รกิ าร Wifi จากเน็นประชารฐั ๒.ควรมีการจัดตัง้ คณะกรรม
แก่ผใู้ ชบ้ รกิ ารเนือ่ งจากเป็นบ้านผู้นำ การบา้ นหนังสอื ชมุ ชนเพือ่
ชุมชน ขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานของ
๕. บางตำบลมกี ารนำกิจกรรมอาชีพเขา้ บา้ นหนังสอื ชุมชน
ไปมีส่วนร่วมในบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน
๔๗
ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่พี บ ข้อนเิ ทศ
๖. มีบรกิ ารหมุนเวยี นหนังสือส่คู รวั เรอื น ๖. มบี รกิ ารยมื คนื ส่อื สคู่ รัวเรือน ๓. สภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายใน
๗. มีการประสานงานรว่ มกบั อาสาสมคั รรกั ๗. มกี ารประสานงานร่วมกับอาสาสมัคร ภายนอกของบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน
การอ่านอย่างสมำ่ เสมอ จดั กิจกรรมอยเู่ สมอ สามารถจดั ใหเ้ หมาะสมกบั
๘. มีการเข้าร่วมประชุมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ๘. ไมม่ ปี ระชมุ แลกเปลี่ยน/ศึกษาดูงาน สภาพของทตี่ ง้ั ได้ แต่จะต้องมี
ระหว่างบ้านหนงั สอื /ศกึ ษาดงู าน สำหรบั นกั จดั กจิ กรรมและอาสาสมคั ร บรรยากาศทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
๙. มกี ารจดั กจิ กรรมอน่ื ๆ รว่ มกบั กศน. บ้านหนังสือ สร้างความสขุ ที่ไดอ้ า่ นหนงั สอื
ตำบล และชมุ ชน ๙. มกี ารจัดกิจกรรมร่วมกับ กศน.ตำบล มหี นงั สือเพียงพอ มที ่ีน่งั มี
และชมุ ชน และหน่วยงาน อากาศถ่ายเท ไมร่ ้อน ไมอ่ ับ
และปลอดภัย จะเปน็ การดึงดูด
ใจใหค้ นเข้าใชบ้ รกิ าร
ผลผลิต (Output)
๑. มีการประเมินความพงึ พอใจของ ๑. มีความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารดา้ น ๑. ควรมกี ารอบรมแลกเปลยี่ น
ผรู้ บั บรกิ าร การสำรวจความพึงพอใจใน ๒ รูปแบบ ให้ความรู้กบั อาสาสมัครบา้ น
๒. จำนวนผใู้ ชบ้ ริการเพิ่มขนึ้ หรอื ไม่อยา่ งไร คอื แบบสำรวจความพงึ ใจ ,และในแบบ หนงั สือ นักจัดกจิ กรรม และครู
๓. สถิติการใชบ้ รกิ าร เชน่ การยมื -คนื การ สำรวจความพงึ พอใจแบบ QR Code กศน.ตำบล
หมนุ เวยี นหนังสือมหี รอื ไม่ ผลเปน็ อย่างไร ๒. มผี ูม้ าใชบ้ รกิ ารจำนวนนอ้ ย
๔. มเี ครือข่ายรักการอ่านเพม่ิ ขนึ้ ทกุ เพศวยั ๓. ยังไมเ่ ห็นสถิตกิ ารยมื -คนื หนังสือ
อาชีพ ฯลฯ ๔. ไมม่ ีเครอื ข่ายรกั การอา่ นเพม่ิ ขึ้น
๕. ชุมชน หน่วยงาน เครือขา่ ยมสี ว่ นร่วม ๕. ชุมชนให้การสนบั สนุน แตไ่ ม่มี
สนับสนุน งบประมาณในการดำเนนิ งานบา้ น
หนังสือ
ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ผลงานดีเด่น /รางวัลที่ได้รับ/แนวปฏิบัติที่ดี /ปัจจัยที่ส่งผลต่อ
ความสำเร็จ (ถ้ามี)
มีการนำอาชพี เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา
ควรมกี ารสง่ เสรมิ การอ่านให้กบั ผรู้ บั บริการอยา่ งต่อเน่ือง และสรา้ งขวญั กำลงั ใจกบั ผดู้ ูแลบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ใน
การพัฒนาบ้านหนังสอื ชุมชนใหก้ บั ตำบล
ลงช่อื .......................................................ผนู้ ิเทศ
(นางสาววภิ ารัตน์ วงศ์คำเหลา)
๒๐ เมษายน ๒๕๖๓