The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการดำเนินการทางวินัยตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556 (ปี 2557)

กองการเจ้าหน้าที่

Keywords: ด้านทั่วไป

ค่มู อื การดาเนินการทางวนิ ยั ตามกฎ ก.พ.
ว่าดว้ ยการดาเนินการทางวินยั
พ.ศ. ๒๕๕๖

กองการเจ้าหน้าท่ี กลมุ่ งานวนิ ัย

กรมท่ีดิน

คำนำ

เนอ่ื งจากการประกาศใช้พระราชบัญญตั ิระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ก.พ. จึงได้
ออกกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการดาเนินการทางวินัย
แก่ข้าราชการพลเรือน โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ซึ่งกฎ ก.พ. ฉบับใหม่
เป็นการรวบรวมวิธีการและข้ันตอนเก่ียวกับการดาเนินการทางวินัยท้ังกระบวนการไว้ในฉบับเดียวเพ่ือให้เกิด
ความคล่องตวั ในการปฏิบัติราชการ แต่โดยที่ กฎ ก.พ. ว่า ด้วยการดาเนินการสอบสวนทางวินัยมีการเปล่ียนแปลง
สาระสาคัญหลายประการ อาทิ ขั้นตอนการสอบสวน ระยะเวลาการสอบสวน การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุป
พยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหา และการให้สิทธิแก่ผู้ถูกกล่าวหานาที่ปรึกษา หรือทนายความเข้าร่วม
ในการสอบสวนได้ การออกคาส่ัง เป็นตน้

กรมที่ดินได้ตระหนักถึงความสาคัญในกระบวนการดาเนินการทางวินัยเพื่อให้เกิดความ
รวดเร็ว โปร่งใส และยุติธรรม จึงได้จัดพิมพ์คู่มือการดาเนินการทางวินัยตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการ
ทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ พร้อมสรุปสาระสาคัญ ผังข้ันตอนการดาเนินการทางวินัย ตลอดจนแบบคาส่ังและ
แบบการสอบสวน เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ในสังกัดกรมที่ดิน ได้ศึกษาทาความเข้าใจ และใช้เป็นแนวทางปฏิบัติงาน
สาหรับการดาเนินการทางวนิ ัยต่อไป

กรมท่ีดิน กองการเจา้ หนา้ ที่

มิถนุ ายน ๒๕๕๗

แกไ้ ขคำผิด หนังสือ “คมู่ อื การดาเนนิ การทางวินัย ตามกฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการดาเนนิ การทางวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖”

คำนำ บรรทัดที่ ๓ “.. ....โดยมีผลใชบ้ ังคับตัง้ แตว่ ันที่ ๒๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗... .... ” เป็น
“......โดยมผี ลใช้บังคับต้ังแตว่ ันที่ ๒๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๗.......”

สารบญั

เรอื่ ง หน้า
กฎ ก.พ. ว่าดว้ ยการดาเนนิ การทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖............................................................... ๑

หมวด ๑ การดาเนินการเมื่อมีการกลา่ วหาหรือมีกรณเี ปน็ ทีส่ งสยั วา่
มีการกระทาผิดวนิ ัย.............................................................................................. ๑

หมวด ๒ การสบื สวนหรอื พจิ ารณาในเบ้ืองต้น..................................................................... ๒
หมวด ๓ การดาเนนิ การในกรณมี มี ูลท่คี วรกล่าวหาวา่ กระทาผิดวนิ ยั อย่างไม่ร้ายแรง......... ๓
หมวด ๔ การดาเนินการในกรณมี ีมลู ท่คี วรกลา่ วหาวา่ กระทาผดิ วินยั อย่างร้ายแรง............. ๔
หมวด ๕ กรณีความผดิ ท่ปี รากฏชัดแจ้ง............................................................................... ๑๗
หมวด ๖ การสง่ั ยตุ ิเร่ือง ลงโทษ หรอื งดโทษ....................................................................... ๑๗
หมวด ๗ การมคี าส่งั ใหม่กรณมี ีการเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ........................... ๑๙
หมวด ๘ การสั่งพักราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน................................................. ๒๑
หมวด ๙ การนบั ระยะเวลา.................................................................................................. ๒๖
หมวด ๑๐ บทเบ็ดเตล็ด....................................................................................................... ๒๖
บทเฉพาะกาล......................................................................................................................... ๒๖
สรปุ สาระสาคญั กฎ ก.พ. วา่ ด้วยการดาเนนิ การทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖..................................... ๒๙ - ๙๒
ผงั ข้ันตอนการดาเนนิ การทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖......................................................................... ๙๓ - ๑๐๙
แนวทาง หลักการ และเหตุผลในการประกาศใชก้ ฎ ก.พ. ...................................................... ๑๑๐ - ๑๑๒
บรรณานุกรม............................................................................................................................... ๑๑๓

ภาคผนวก
หนงั สอื สานักงาน ก.พ. ท่ี นร ๑๐๑๑/ว ๒ ลงวันท่ี ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗

เร่อื ง กาหนดตาแหนง่ ประธานกรรมการตามกฎ ก.พ. วา่ ด้วยการดาเนินการทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖
หนงั สือสานกั งาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๑/ว ๓ ลงวนั ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๗

เรือ่ ง แบบตามกฎ ก.พ. วา่ ดว้ ยการดาเนนิ การทางวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖
แบบคาสง่ั และแบบการสอบสวนทางวนิ ยั ที่สานักงาน ก.พ. กาหนด ตามกฎ ก.พ.

วา่ ด้วยการดาเนนิ การทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนทางวนิ ัย

ขา้ ราชการ พ.ศ. ๒๕๓๖
หนงั สอื กรมบัญชกี ลาง สานกั กฎหมาย ท่ี กค ๐๔๐๖.๔/๓๒๘๘๗ ลงวนั ที่ ๒ กนั ยายน ๒๕๕๖

เรยี น อธบิ ดกี รมสรรพสามิต ตอบข้อหารอื กรณีการเบกิ จ่ายคา่ เบ้ียประชมุ กรรมการ

กฎ ก.พ.

ว่าดว้ ยการดาเนนิ การทางวนิ ยั
พ.ศ. ๒๕๕๖

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ (๕) มาตรา ๙๔ มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ มาตรา ๙๗ มาตรา ๑๐๑
และมาตรา ๑๐๕ แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติ
บางประการเก่ียวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓
มาตรา ๔๓ และมาตรา ๖๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตาม
บทบัญญตั แิ หง่ กฎหมาย ก.พ. โดยอนมุ ตั ิคณะรัฐมนตรีจงึ ออกกฎ ก.พ. ไว้ ดงั ต่อไปนี้

ขอ้ ๑ กฎ ก.พ. น้ีใหใ้ ช้บังคบั เมอื่ พ้นกาหนดหกสบิ วันนับแต่วนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป

หมวด ๑
การดาเนนิ การเมือ่ มีการกล่าวหาหรอื มีกรณเี ป็นท่ีสงสัยว่ามีการกระทาผดิ วนิ ยั

ข้อ ๒ เม่ือมีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นมีหน้าท่ีต้องรายงานตามลาดับช้ันให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
ทราบโดยเรว็ โดยทาเป็นหนังสอื ซ่ึงอยา่ งนอ้ ยตอ้ งมสี าระสาคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ช่อื ผู้กลา่ วหา (ถ้าม)ี
(๒) ชื่อและตาแหนง่ ของผูถ้ กู กล่าวหา
(๓) ข้อเท็จจริงหรือพฤตกิ ารณ์แห่งการกระทาทีก่ ลา่ วหาหรือเป็นทีส่ งสยั ว่ากระทาผดิ วินยั
(๔) พยานหลักฐานที่เกีย่ วขอ้ งเท่าที่มี
ข้อ ๓ การกล่าวหาที่จะดาเนินการตามกฎ ก.พ. น้ี ถ้าเป็นการกล่าวหาเป็นหนังสือให้มีรายละเอียด
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ระบชุ ่อื ของผ้กู ลา่ วหา และลงลายมอื ชอื่ ผูก้ ล่าวหา
(๒) ระบุช่ือหรือตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา หรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอให้ทราบว่าเป็นการกล่าวหา
ข้าราชการพลเรอื นสามัญผู้ใด



(๓) ระบุข้อเท็จจริงและพฤติการณ์แห่งการกระทาที่มีการกล่าวหาเพียงพอที่จะเข้าใจได้ หรือแสดง
พยานหลกั ฐานเพียงพอท่จี ะสบื สวนสอบสวนตอ่ ไปได้

ในกรณีท่ีเป็นการกล่าวหาด้วยวาจา ให้ผู้บังคับบัญชาผู้ได้รับฟังการกล่าวหาจัดให้มีการทาบันทึก
คากลา่ วหาที่มรี ายละเอยี ดตามวรรคหน่งึ และใหผ้ ู้กลา่ วหาลงลายมือชื่อไวเ้ ปน็ หลักฐาน

ข้อ ๔ กรณีเป็นทีส่ งสยั วา่ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั ผู้ใดกระทาผิดวินัยท่ีจะดาเนินการตามกฎ ก.พ. นี้
อาจมลี ักษณะดังนี้

(๑) มกี ารกล่าวหาที่ไมไ่ ด้ระบุชื่อผู้กล่าวหา ไม่ได้ลงลายมือชื่อผู้กล่าวหา แต่ระบุช่ือหรือตาแหน่งของ
ผู้ถูกกล่าวหา หรือข้อเท็จจริงที่ปรากฏน้ันเพียงพอท่ีจะทราบว่ากล่าวหาข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใด และ
ข้อเท็จจริงหรอื พฤตกิ ารณ์นน้ั เพยี งพอท่จี ะสบื สวนสอบสวนต่อไปได้ หรอื

(๒) มีข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ปรากฏต่อผู้บังคับบัญชาอันเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผใู้ ดกระทาผดิ วินยั โดยมีพยานหลกั ฐานเพียงพอท่ีจะสบื สวนสอบสวนตอ่ ไปได้

หมวด ๒
การสบื สวนหรอื พจิ ารณาในเบือ้ งต้น

ขอ้ ๕ เมือ่ ได้รบั รายงานตามขอ้ ๒ หรือความปรากฏตอ่ ผูบ้ งั คบั บัญชาซึง่ มอี านาจส่งั บรรจุตามมาตรา ๕๗
ว่ามีการกล่าวหาหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยให้ดาเนินการอย่างใด
อยา่ งหน่ึงดังต่อไปนโ้ี ดยเร็ว

(๑) พจิ ารณาในเบื้องต้นว่ากรณีมีมลู ทีค่ วรกลา่ วหาวา่ ผนู้ ้นั กระทาผิดวินยั หรือไม่
(๒) ดาเนินการสืบสวนหรือส่ังให้ดาเนินการสืบสวน และพิจารณาว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าผู้น้ัน
กระทาผิดวินัยหรือไม่ ในการน้ี ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ อาจสืบสวนเองหรือให้
ข้าราชการพลเรือนสามัญหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวข้องดาเนินการสืบสวนแล้วรายงานมาเพ่ือประกอบ
การพิจารณากไ็ ด้
ในกรณีท่ีเห็นว่ามีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย หรือเป็นกรณีที่มี
พยานหลักฐานในเบื้องต้นอยูแ่ ล้วและเห็นว่ามีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัย
ให้ดาเนนิ การตามขอ้ ๖ ตอ่ ไป
ข้อ ๖ ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลที่ควร
กล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ดาเนินการต่อไป ตามหมวด ๓
ถ้าพิจารณาเห็นว่ากรณีมีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวิ นัยอย่างร้ายแรง
ให้ดาเนินการต่อไปตามหมวด ๔ แต่ถ้าพิจารณาเห็นว่ากรณีไม่มีมูลท่ีควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผู้ใดกระทาผดิ วนิ ยั ใหย้ ตุ ิเรอื่ ง



ขอ้ ๗ กรณที ีถ่ ือวา่ ไม่มมี ูลท่คี วรกลา่ วหาว่าขา้ ราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยและผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมอี านาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สง่ั ให้ยุตเิ รอ่ื งได้ อาจเปน็ กรณดี ังต่อไปน้ี

(๑) ขอ้ เท็จจริงหรือพฤติการณแ์ วดลอ้ มและพยานหลกั ฐานไมเ่ พียงพอให้ทราบว่าข้าราชการพลเรือนสามัญ
ผใู้ ดเป็นผู้กระทาผดิ วนิ ัย

(๒) ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์แวดล้อมและพยานหลักฐานไม่เพียงพอท่ีจะทาให้เข้าใจได้ว่ามีการ
กระทาผดิ วินยั หรอื ไม่เพียงพอท่จี ะดาเนนิ การสืบสวนสอบสวนตอ่ ไปได้

(๓) พฤติการณแ์ หง่ การกระทานั้นไมเ่ ป็นความผดิ ทางวินัย

หมวด ๓
การดาเนินการในกรณมี มี ลู ท่ีควรกล่าวหาวา่ กระทาผิดวนิ ยั อย่างไมร่ ้ายแรง

ข้อ ๘ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามข้อ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า
ขา้ ราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
ดาเนนิ การตอ่ ไปตามหมวดนี้ โดยไมต่ ้งั คณะกรรมการสอบสวนก็ได้ แต่ถ้าได้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแล้ว
ตอ้ งดาเนินการตามขอ้ ๑๒ ข้อ ๑๓ และข้อ ๑๔ จนแลว้ เสร็จ

ข้อ ๙ ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดาเนินการทางวินัยโดยไม่ต้ัง
คณะกรรมการสอบสวน ต้องดาเนินการตามหมวดน้ีให้แล้วเสร็จโดยเร็ว ทั้งนี้ต้องไม่เกินสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่
พจิ ารณาเห็นว่ากรณีมมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหาว่ากระทาผดิ วินยั อย่างไม่ร้ายแรง ในกรณีท่ีไม่สามารถดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในเวลาดังกล่าว ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ขยายเวลาได้ตามความจาเป็น โดยแสดง
เหตผุ ลความจาเป็นไว้ดว้ ย

ข้อ ๑๐ ในการดาเนินการตามข้อ ๙ ต้องแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาได้ชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาภายใน
ระยะเวลาท่ีกาหนด

ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาภายในเวลาที่กาหนด ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์
จะชี้แจงแก้ข้อกลา่ วหา

ขอ้ ๑๑ เมอื่ ผบู้ งั คับบญั ชาซึง่ มอี านาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไดด้ าเนินการตามข้อ ๑๐ แล้วให้พิจารณา
สั่งหรือดาเนินการดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิดวินัยตามข้อกล่าวหา ให้ส่ังยุติเร่ืองตามมาตรา ๙๒
วรรคสอง โดยทาเปน็ คาส่งั ตามข้อ ๖๖

(๒) ในกรณที ี่เหน็ ว่าผูถ้ กู กล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้สั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน
หรือลดเงินเดือน ตามควรแก่กรณีให้เหมาะสมกับความผิดตามมาตรา ๙๖ และที่กาหนดไว้ในข้อ ๖๗ โดยทาเป็น
คาส่ังตามขอ้ ๖๙



(๓) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยเล็กน้อย และมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษให้
โดยใหท้ าทณั ฑ์บนเปน็ หนังสอื หรือว่ากล่าวตักเตือนตามมาตรา ๙๖ ก็ได้ โดยทาเปน็ คาสง่ั งดโทษตามข้อ ๗๑

(๔) ในกรณที ีเ่ หน็ วา่ ผถู้ ูกกลา่ วหากระทาผดิ วินัยอย่างรา้ ยแรง ให้ดาเนินการตามหมวด ๔ ต่อไป
ข้อ ๑๒ ในกรณีที่ผู้มีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดาเนินการทางวินัยโดยแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน การแต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน และการคัดค้านกรรมการสอบสวน ให้นาข้อ ๑๘ วรรคหน่ึง วรรคสอง
วรรคส่ี ขอ้ ๑๙ ขอ้ ๒๐ ขอ้ ๒๑ ข้อ ๒๒ ขอ้ ๒๓ ขอ้ ๒๔ และข้อ ๒๕ มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม
ในกรณที ่ขี า้ ราชการพลเรือนสามญั ตาแหน่งตา่ งกนั หรือต่างกรม หรือต่างกระทรวงกันถูกกล่าวหาว่า
กระทาผิดวินัยร่วมกัน การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่งให้เป็นไป ตามมาตรา ๙๔ และ
ทกี่ าหนดในข้อ ๑๖ และข้อ ๑๗
ข้อ ๑๓ คณะกรรมการสอบสวนตามข้อ ๑๒ ต้องดาเนินการสอบสวน รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย
และพยานหลักฐานท่ีเกี่ยวข้อง แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบรับฟังคาช้ีแจง
ของผถู้ กู กล่าวหา แลว้ เกบ็ รวบรวมไว้ในสานวนการสอบสวน และทารายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอ
ผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ท้ังนี้ ต้องให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีประธานกรรมการ
รับทราบคาส่งั
ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจาเป็นไม่อาจดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน
กาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือขอขยายเวลา
ตามความจาเป็น ในการนี้ ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนจะขยายเวลาให้ตามท่ีเห็นสมควรโดยต้องแสดง
เหตุผลไว้ด้วย หรือจะสั่งให้คณะกรรมการสอบสวนยุติการดาเนินการแล้วพิจารณาส่ังหรือดาเนินการตามข้อ ๑๑
ต่อไปก็ได้
ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ยื่นคาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา
ภายในเวลาที่คณะกรรมการสอบสวนกาหนด ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์จะชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา เว้นแต่
คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นควรดาเนนิ การเปน็ อยา่ งอืน่ เพ่อื ประโยชนแ์ หง่ ความเปน็ ธรรม
ข้อ ๑๔ เม่ือผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและสานวนการสอบสวน
ตามข้อ ๑๓ แล้ว ใหพ้ จิ ารณาสั่งหรอื ดาเนนิ การตามข้อ ๑๑ หรือสั่งหรอื ดาเนินการดงั ต่อไปนี้
(๑) ในกรณีที่เห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพิ่มเติม ให้กาหนดประเด็นหรือ
ขอ้ สาคัญที่ตอ้ งการใหค้ ณะกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนเพม่ิ เตมิ
(๒) ในกรณีที่เหน็ ว่าการดาเนนิ การใดไม่ถูกตอ้ ง ใหส้ งั่ ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนดาเนินการใหถ้ กู ตอ้ งโดยเรว็

หมวด ๔
การดาเนนิ การในกรณมี ีมลู ที่ควรกล่าวหาวา่ กระทาผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง



ข้อ ๑๕ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามข้อ ๕ และข้อ ๖ ปรากฏว่ากรณีมีมูลที่ควร
กล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแต่กรณี แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือดาเนินการ
สอบสวนตอ่ ไป

ในกรณที ่เี ป็นการดาเนนิ การตอ่ เนื่องจากการดาเนินการตามข้อ ๑๑ (๔) ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจ
ส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแต่กรณี แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้ึนใหม่
เพื่อดาเนินการต่อไปตามหมวดนี้ ส่วนข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวนตามข้อ ๑๓
จะนามาใช้ในการสอบสวนนีห้ รือไม่เพยี งใด ใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของคณะกรรมการสอบสวน

ขอ้ ๑๖ การแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญตาแหน่งต่างกันหรือต่างกรม
หรือต่างกระทรวงกัน ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกัน สาหรับกรณีอ่ืนตามมาตรา ๙๔ (๔) ให้ดาเนินการ
ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) กรณีท่ีข้าราชการพลเรอื นสามัญในกรมเดยี วกันถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมกันถ้าผู้บังคับบัญชา
ซึง่ มีอานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ของข้าราชการดังกล่าวต่างกัน ให้อธิบดีหรือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุ
ท่ีมีตาแหน่งเหนอื กว่าเปน็ ผสู้ ั่งแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน แลว้ แตก่ รณี

(๒) กรณที ่ีขา้ ราชการพลเรอื นสามัญในสานักงานรัฐมนตรี หรือส่วนราชการท่ีไม่มีฐานะเป็นกรมแต่มี
หัวหนา้ สว่ นราชการเป็นอธบิ ดีหรือตาแหน่งท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเป็นอธิบดี ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
ร่วมกับข้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการอื่น ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗
ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เว้นแต่เป็นกรณีที่มีผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูงถูกกล่าวหาว่า
กระทาผดิ วินัยรว่ มดว้ ย ให้นายกรัฐมนตรเี ป็นผสู้ งั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน

(๓) กรณที ่ขี ้าราชการพลเรือนสามัญในส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรมและไม่สังกัดกระทรวงแต่อยู่ใน
บังคบั บญั ชาของนายกรัฐมนตรหี รือรฐั มนตรีหรือในสว่ นราชการทีม่ หี วั หนา้ สว่ นราชการรับผิดชอบในการปฏิบัติ
ราชการขึ้นตรงต่อนายกรฐั มนตรหี รือตอ่ รฐั มนตรี ถูกกลา่ วหาวา่ กระทาผิดวินยั ร่วมกบั ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ
ในสว่ นราชการอ่ืน ใหผ้ บู้ ังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เวน้ แตเ่ ป็นกรณีท่มี ีผ้ดู ารงตาแหนง่ ประเภทบริหารระดับสูงถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยร่วมด้วย ให้นายกรัฐมนตรี
เปน็ ผสู้ งั่ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน

(๔) กรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญในราชการบริหารส่วนภูมิภาคจังหวัดเดียวกัน แต่อยู่ต่างกรม
หรอื ต่างกระทรวงกนั ถกู กลา่ วหาว่ากระทาผิดวนิ ยั ร่วมกัน ถา้ ผู้ถูกกล่าวหาทกุ คนดารงตาแหน่งทผี่ ูว้ ่าราชการจังหวัด
เป็นผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ (๑๑) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน

ขอ้ ๑๗ ในกรณรี ว่ มกันแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ใหผ้ ู้มอี านาจสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวน
ของแตล่ ะส่วนราชการทาความตกลงกันเพื่อกาหนดตัวบุคคลเป็นกรรมการสอบสวน แล้วให้แต่ละส่วนราชการ
มีคาสงั่ แตง่ ตงั้ บุคคลนัน้ เป็นคณะกรรมการสอบสวน



ข้อ ๑๘ การแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ให้แต่งต้ังจากข้าราชการพลเรือนสามัญ ประกอบด้วย
ประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอ่ืนอีกอย่างน้อยสองคน โดยให้กรรมการคนหน่ึงเป็นเลขานุการ
ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจาเป็นจะแต่งต้ังประธานกรรมการและกรรมการจากข้าราชการฝ่ายพลเรือนซ่ึงมิใช่
ขา้ ราชการการเมืองกไ็ ด้

ในขณะท่ีมีการแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ประธานกรรมการต้องดารงตาแหน่งตามท่ี ก.พ.
กาหนด

กรรมการสอบสวนอยา่ งน้อยหนง่ึ คนต้องเป็นผู้ดารงตาแหน่งนิติกร หรือผู้ได้รับปริญญาทางกฎหมาย
หรือผไู้ ด้รบั การฝกึ อบรมตามหลกั สูตรการดาเนินการทางวนิ ยั หรือผู้มปี ระสบการณ์ดา้ นการดาเนินการทางวินัย

เพื่อประโยชน์ในการสอบสวนจะให้มีผู้ช่วยเลขานุการท่ีแต่งต้ังจากข้าราชการฝ่ายพลเรือนซ่ึงมิใช่
ข้าราชการการเมืองหรือแต่งต้ังจากพนักงานราชการหรือลูกจ้างประจาด้วยก็ได้ และให้นาข้อ ๒๐ ข้อ ๒๒
ขอ้ ๒๓ ข้อ ๒๔ ข้อ ๒๕ และข้อ ๓๓ มาใช้บงั คับกับผู้ช่วยเลขานกุ ารโดยอนุโลม

ขอ้ ๑๙ คาสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนใหร้ ะบุชือ่ และตาแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา เรื่องที่กล่าวหา
ช่ือของประธานกรรมการ และกรรมการ ทั้งนี้ ตามแบบท่ีสานักงาน ก.พ. กาหนด ในกรณีที่มีการแต่งตั้ง
ผู้ช่วยเลขานุการ ใหร้ ะบุช่ือผชู้ ว่ ยเลขานุการไว้ในคาสัง่ น้นั ด้วย

ข้อ ๒๐ ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงกรรมการสอบสวน ให้ดาเนินการโดยทาเป็นคาสั่งตามแบบที่
สานกั งาน ก.พ. กาหนด และใหแ้ จ้งใหผ้ ถู้ ูกกลา่ วหาทราบตอ่ ไป

การเปลี่ยนแปลงกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ไม่กระทบกระเทือนถึงการสอบสวนท่ีได้ดาเนินการ
ไปแล้ว

ข้อ ๒๑ เม่ือได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ให้ผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ดาเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี

(๑) แจ้งให้ผถู้ กู กลา่ วหาทราบคาส่งั โดยเร็ว และใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหาลงลายมอื ช่ือและวันที่รับทราบไว้เป็น
หลักฐาน ในการนี้ ให้แจ้งตาแหน่งของประธานกรรมการ กรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี) รวมทั้งสิทธิ
ที่จะคัดค้านกรรมการสอบสวนไปพร้อมกัน และให้มอบสาเนาคาสั่งให้ผู้ถูกกล่าวหาไว้หน่ึงฉบับด้วยในกรณีที่
ผู้ถูกกลา่ วหาไมย่ อมลงลายมือช่ือรับทราบคาส่ัง ถ้าได้ทาบนั ทกึ ลงวันท่ีและสถานที่ท่ีแจ้งและลงลายมือชื่อผู้แจ้ง
พรอ้ มทั้งพยานรู้เห็นไว้เป็นหลักฐานแลว้ ให้ถือวนั ทแี่ จง้ นน้ั เปน็ วันรับทราบ

การแจ้งตามวรรคหนง่ึ ให้แจง้ ให้ผถู้ กู กลา่ วหาทราบโดยตรงก่อน แต่ถ้าไม่อาจแจ้งให้ทราบโดยตรงได้
หรือมเี หตุจาเปน็ อนื่ ให้แจ้งเป็นหนงั สือสง่ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ซึ่งปรากฏ
ตามหลกั ฐานของทางราชการ ในกรณีเช่นนี้ ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนดเจ็ดวันนับแต่วันส่ง
สาหรบั กรณสี ง่ ในประเทศ หรือเมอื่ ครบสบิ ห้าวนั นับแตว่ ันส่งสาหรบั กรณสี ง่ ไปยงั ตา่ งประเทศ

(๒) ส่งสาเนาคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนพร้อมทั้งเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องท่ีกล่าวหา
ให้ประธานกรรมการโดยเร็ว แล้วให้ประธานกรรมการลงลายมือช่ือและวันเดือนปีท่ีได้รับแล้วเก็บรวมไว้ใน
สานวนการสอบสวน และส่งสาเนาคาสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนใหก้ รรมการทราบเปน็ รายบคุ คล



(๓) ส่งหลักฐานการรับทราบหรือถือว่าทราบคาส่ังของผู้ถูกกล่าวหาไปให้ประธานกรรมการเพื่อเก็บ
รวมไว้ในสานวนการสอบสวน

ขอ้ ๒๒ เมอ่ื มกี รณดี ังต่อไปนี้ กรรมการสอบสวนอาจถูกคดั ค้านได้
(๑) เปน็ ผกู้ ลา่ วหาตามข้อ ๓
(๒) เป็นคู่หมนั้ หรอื คู่สมรสของผูก้ ลา่ วหาตามข้อ ๓
(๓) เป็นญาติของผู้กล่าวหาตามข้อ ๓ คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่าช้ันใด ๆ หรือเป็นพ่ีน้อง
หรอื ลูกพ่ีลูกน้องนับไดเ้ พียงสามชน้ั หรอื เปน็ ญาตเิ กยี่ วพันทางการสมรสนบั ได้เพียงสองช้ัน
(๔) เปน็ ผูม้ ีสาเหตุโกรธเคอื งกบั ผู้ถูกกลา่ วหาหรือกบั คู่หม้นั หรือคูส่ มรสของผ้ถู กู กล่าวหา
(๕) เปน็ ผู้มีประโยชน์ได้เสียในเรอ่ื งทสี่ อบสวน
(๖) เปน็ ผรู้ ู้เหน็ เหตุการณ์ในขณะกระทาผดิ ตามเรื่องท่ีกล่าวหา
(๗) เปน็ ผูท้ ี่มีเหตุอ่ืนซึ่งมีสภาพรา้ ยแรงอันอาจทาใหก้ ารสอบสวนไมเ่ ปน็ กลางหรอื เสียความเปน็ ธรรม
ข้อ ๒๓ การคัดค้านกรรมการสอบสวนต้องทาเป็นหนังสือย่ืนต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
ภายในเจ็ดวันนับแต่วันทราบหรือถือว่าทราบคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนหรือนับแต่วันท่ีทราบว่ามีกรณี
ตามข้อ ๒๒ โดยหนังสือคัดค้านต้องแสดงข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ท่ีเป็นเหตุแห่งการคัดค้านตามท่ีกาหนด
ไวใ้ นข้อ ๒๒
ในกรณีทผ่ี ูส้ ั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนเหน็ ว่าการคัดค้านเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีกาหนดตามวรรคหนึ่ง
ให้ส่งสาเนาหนังสอื คดั คา้ นไปใหป้ ระธานกรรมการเพ่ือทราบและเก็บรวบรวมไว้ในสานวนการสอบสวน รวมทั้ง
แจ้งให้ผู้ถูกคัดค้านทราบ และต้องให้โอกาสผู้ถูกคัดค้านได้ชี้แจงเป็นหนังสือต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันท่ีผู้ถูกคัดค้านได้ลงลายมือชื่อและวันที่ท่ีได้รับแจ้งไว้เป็นหลักฐาน ในการน้ี
ผู้ถูกคัดค้านต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่กรรมการสอบสวนตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งนั้นแต่ถ้าเห็นว่าการคัดค้านไม่เป็นไป
ตามเงือ่ นไขท่ีกาหนดให้ผสู้ ง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวนส่งั ไม่รบั คาคัดคา้ นน้นั และแจง้ ใหผ้ ูค้ ัดคา้ นทราบ
ข้อ ๒๔ เมื่อได้ดาเนินการตามข้อ ๒๓ แล้ว ให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาส่ังการ
อย่างใดอย่างหนงึ่ ดงั ต่อไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่าคาคัดค้านรับฟังได้ ให้สั่งให้ผู้ถูกคัดค้านพ้นจากหน้าที่ในการเป็นกรรมการ
สอบสวนในกรณีที่เห็นสมควรจะแต่งต้ังผู้อ่ืนให้เป็นกรรมการสอบสวนแทนผู้ถูกคัดค้านก็ได้ แต่ถ้ากรรมการ
สอบสวนที่เหลืออยู่มีจานวนน้อยกว่าสามคนให้แต่งตั้งผู้อ่ืนให้เป็นกรรมการสอบสวนแทนผู้ถูกคัดค้าน และ
ใหน้ าขอ้ ๒๐ มาใชบ้ ังคับโดยอนุโลม
(๒) ในกรณีที่เห็นว่าคาคัดค้านไม่อาจรับฟังได้ ให้สั่งยกคาคัดค้าน และมีหนังสือแจ้งให้ผู้คัดค้าน
ผู้ถกู คัดคา้ น และประธานกรรมการทราบโดยเรว็ คาส่ังยกคาคดั คา้ นให้เป็นท่ีสุด
ผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนต้องพิจารณาและสั่งการตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จภายในสิบห้าวัน
นบั แตว่ นั ทไ่ี ด้รับคาคดั ค้าน ถ้าไม่ได้ส่ังภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้ผู้ถูกคัดค้านนั้นพ้นจากการเป็นกรรมการ
สอบสวนนับแต่วนั พ้นกาหนดเวลาดงั กลา่ ว และให้ดาเนินการตาม (๑) ต่อไป



ข้อ ๒๕ ในกรณีที่กรรมการสอบสวนผู้ใดเห็นว่าตนมีกรณีตามข้อ ๒๒ ให้ผู้น้ันแจ้งให้ผู้สั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนทราบ และให้ผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาส่ังการตามข้อ ๒๔ โดยอนุโลม
ตอ่ ไป

ข้อ ๒๖ คณะกรรมการสอบสวนมีหน้าท่ีสอบสวนและพิจารณาตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา
ที่กาหนดในกฎ ก.พ. นี้ เพื่อแสวงหาความจริงในเร่ืองที่กล่าวหาและดูแลให้บังเกิดความยุติธรรมตลอดกระบวนการ
สอบสวน ในการนี้ ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมประวัติและความประพฤติของผู้ถูกกล่าวหาที่เก่ียวข้อง
กบั เรือ่ งทก่ี ล่าวหาเทา่ ที่จาเปน็ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณา และจัดทาบนั ทกึ ประจาวันท่มี กี ารสอบสวนไวท้ กุ ครัง้ ดว้ ย

ในการสอบสวนและพิจารณาห้ามมิให้มีบุคคลอ่ืนอยู่หรือร่วมด้วย เว้นแต่เป็นการสอบปากคาตามข้อ ๓๒
หรือเปน็ กรณีที่กฎ ก.พ. น้ี กาหนดไว้เปน็ อยา่ งอน่ื

ขอ้ ๒๗ ใหป้ ระธานกรรมการจดั ให้มกี ารประชุมคณะกรรมการสอบสวนคร้ังแรกภายในเจ็ดวันนับแต่
วนั ท่ปี ระธานกรรมการรบั เร่อื งตามขอ้ ๒๑ (๒) และ (๓) ในกรณีท่ีไม่อาจจัดประชุมได้ภายในกาหนดให้รายงาน
เหตุผลและความจาเปน็ ใหผ้ ้สู ัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการสอบสวนทราบ

ในการประชมุ คณะกรรมการสอบสวนตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการสอบสวนกาหนดประเด็นและ
วางแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลกั ฐาน

ข้อ ๒๘ เมื่อไดว้ างแนวทางการสอบสวนและการรวบรวมพยานหลักฐานตามขอ้ ๒๗ แล้วให้คณะกรรมการ
สอบสวนดาเนินการดงั ต่อไปน้ี

(๑) รวบรวมขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ กฎหมาย และพยานหลักฐานท่เี กย่ี วขอ้ ง
(๒) แจ้งขอ้ กล่าวหาและสรปุ พยานหลกั ฐานท่ีสนับสนุนขอ้ กล่าวหาใหผ้ ู้ถูกกลา่ วหาทราบ
(๓) ใหโ้ อกาสผูถ้ ูกกลา่ วหาได้ช้แี จงแสดงพยานหลักฐานเพอื่ แก้ข้อกลา่ วหา
(๔) พิจารณาทาความเหน็ เกี่ยวกับเรอื่ งท่สี อบสวน
(๕) ทารายงานการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอตอ่ ผู้ส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการสอบสวน
ข้อ ๒๙ ให้คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานทั้งปวงที่เห็นว่าเป็นประโยชน์แก่การ
สอบสวน โดยไมร่ บั ฟงั แต่เพียงขอ้ อ้างหรอื พยานหลักฐานของผู้กลา่ วหาหรือผถู้ ูกกลา่ วหาเท่านัน้
ในกรณที ป่ี รากฏว่ามีข้อเท็จจริงใดที่กล่าวอ้างหรือพาดพิงถึงบุคคล เอกสาร หรือวัตถุใดที่จะเป็นประโยชน์
แกก่ ารสอบสวน ให้คณะกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐานนั้นไว้ให้ครบถ้วน ถ้าไม่อาจ
เข้าถึงหรอื ไดม้ าซ่ึงพยานหลักฐานดังกล่าว ให้บนั ทึกเหตนุ ั้นไวด้ ้วย
ข้อ ๓๐ ในการสอบปากคาผูถ้ กู กล่าวหาหรือพยานใหส้ อบปากคาคราวละหนึ่งคน และในการสอบปากคาพยาน
ต้องแจง้ ใหพ้ ยานทราบว่ากรรมการสอบสวนมีฐานะเปน็ เจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา การให้ถ้อยคา
อันเป็นเทจ็ อาจเป็นความผิดตามกฎหมาย
การสอบปากคาตามวรรคหน่ึง ต้องมีกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจานวนกรรมการ
สอบสวนท้ังหมดจึงจะทาการสอบปากคาได้ แต่ในกรณีที่ก่ึงหน่ึงของจานวนกรรมการสอบสวนทั้งหมดมีมากกว่า
สามคน จะให้กรรมการสอบสวนไมน่ อ้ ยกวา่ สามคนทาการสอบปากคาก็ได้



ข้อ ๓๑ การสอบปากคาตามข้อ ๓๐ ต้องมีการบันทึกถ้อยคาของผู้ให้ถ้อยคาตามแบบที่สานักงาน ก.พ.
กาหนด แล้วอ่านให้ผู้ให้ถ้อยคาฟังหรือให้ผู้ให้ถ้อยคาอ่านเองก็ได้ แล้วให้ผู้ให้ถ้อยคา ผู้บันทึกถ้อยคา และ
กรรมการสอบสวนซึ่งอยู่ร่วมในการสอบปากคาลงลายมือชื่อในบันทึกถ้อยคานั้นไว้เป็นหลักฐาน ในกรณี
ท่ีบันทึกถ้อยคาใดมีหลายหน้า ให้ผู้ให้ถ้อยคาและกรรมการสอบสวนซ่ึงอยู่ร่วมในการสอบปากคาหน่ึงคน
ลงลายมือช่ือกากับไว้ในบันทึกถ้อยคาทุกหนา้

ในการบันทึกถ้อยคา ห้ามมิใหข้ ดู ลบ หรือบันทึกข้อความทับข้อความท่ีได้บันทึกไว้ในบันทึกถ้อยคาแล้ว
ถา้ จะตอ้ งแก้ไขหรอื เพ่ิมเติมข้อความท่ีบันทึกไว้ ให้ใช้วิธีขีดฆ่าข้อความเดิมและเพิ่มเติมข้อความใหม่ด้วยวิธีตกเติม
แลว้ ให้ผใู้ หถ้ อ้ ยคาและกรรมการสอบสวนซ่ึงอยู่ร่วมในการสอบปากคาหน่ึงคนลงลายมือช่ือกากับไว้ตรงท่ีมีการ
แก้ไขเพม่ิ เติมนั้นทกุ แหง่

ในกรณีท่ีผูใ้ หถ้ ้อยคาไมย่ อมลงลายมือช่อื ใหบ้ ันทึกเหตุทไี่ ม่ลงลายมือชอ่ื นัน้ ไว้ในบนั ทกึ ถอ้ ยคาดว้ ย
ในกรณีท่ีผู้ให้ถ้อยคาไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้ดาเนินการตามมาตรา ๙ แห่งประมวลกฎหมาย
แพง่ และพาณชิ ย์
ข้อ ๓๒ ในการสอบปากคา ห้ามมิให้บุคคลอ่ืนอยู่ในท่ีสอบปากคา เว้นแต่เป็นบุคคลซ่ึงกรรมการ
สอบสวนท่ีทาการสอบปากคาอนุญาตให้อยู่ในท่ีสอบสวนเพื่อประโยชน์ในการสอบสวน หรือเป็นทนายความ
หรอื ทปี่ รกึ ษาของผถู้ กู กลา่ วหาตามจานวนทก่ี รรมการสอบสวนที่ทาการสอบปากคาเห็นสมควรให้เข้ามาในการ
สอบปากคาผู้ถูกกลา่ วหา
ข้อ ๓๓ ห้ามมิให้กรรมการสอบสวนทาหรือจัดให้ทาการใด ๆ ซึ่งเป็นการให้คามั่นสัญญา ขู่เข็ญ
หลอกลวง บังคับ หรือกระทาโดยมิชอบไม่ว่าด้วยประการใด เพ่ือจูงใจให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือพยานให้ถ้อยคา
อย่างใด
ข้อ ๓๔ การนาเอกสารหรือวัตถุมาใช้เป็นพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวน ให้คณะกรรมการ
สอบสวนจดั ใหม้ ีการบันทึกไวด้ ้วยวา่ ได้มาอย่างไร จากผู้ใด และเม่อื ใด
เอกสารที่ใช้เป็นพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวนให้ใช้ต้นฉบับ แต่ถ้าไม่อาจนาต้นฉบับมาได้
จะใชส้ าเนาที่กรรมการสอบสวนหรอื ผมู้ ีหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบรบั รองวา่ เป็นสาเนาถกู ต้องก็ได้
ในกรณีท่ีไม่สามารถหาต้นฉบับเอกสารได้เพราะสูญหายหรือถูกทาลายหรือโดยเหตุประการอ่ืน
คณะกรรมการสอบสวนจะสืบจากสาเนาเอกสารหรอื พยานบคุ คลแทนก็ได้
ข้อ ๓๕ ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเรียกบุคคลใดมาเป็นพยานเพื่อชี้แจงหรือให้ถ้อยคาตามวัน
เวลา และสถานท่ีท่ีกาหนดแล้ว แต่บุคคลนั้นไม่มาหรือมาแต่ไม่ชี้แจงหรือไม่ให้ถ้อยคา หรือในกรณีท่ีคณะกรรมการ
สอบสวนไม่อาจเรียกบุคคลใดมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคาได้ภายในเวลาอันควร คณะกรรมการสอบสวนจะไม่
สอบสวนบุคคลน้นั กไ็ ด้ แต่ต้องบันทกึ เหตนุ ้ันไวใ้ นบนั ทกึ ประจาวนั ท่ีมีการสอบสวน และในรายงานการสอบสวนดว้ ย
ข้อ ๓๖ ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนพยานบุคคลใดหรือการรวบรวมพยาน
เอกสารหรือวตั ถใุ ดจะทาให้การสอบสวนล่าช้าโดยไม่จาเป็น หรือพยานหลักฐานน้ันมิใช่สาระสาคัญจะงดสอบสวน

๑๐

หรือไม่รวบรวมพยานหลักฐานนั้นก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไว้ในบันทึกประจาวันท่ีมีการสอบสวน และใน
รายงานการสอบสวนดว้ ย

ขอ้ ๓๗ ในกรณีทจี่ ะตอ้ งสอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานซ่ึงอยู่ต่างท้องที่ประธานกรรมการ
จะรายงานต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพ่ือขอให้มอบหมายให้หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้า
หน่วยงานในท้องท่ีนั้นที่เป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือนสอบปากคาพยานหรือรวบรวมพยานหลักฐานแทนก็ได้
โดยกาหนดประเด็นหรือข้อสาคัญท่ีจะต้องสอบสวนไปให้ กรณีเช่นนี้ ถ้าผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน
เห็นควรจะมอบหมายใหห้ วั หนา้ สว่ นราชการหรอื หวั หน้าหน่วยงานนน้ั ดาเนินการตามท่ีคณะกรรมการสอบสวน
รอ้ งขอก็ได้

ในการสอบปากคาพยานและรวบรวมพยานหลักฐานตามวรรคหน่ึง ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือ
หัวหน้าหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายเลือกข้าราชการฝ่ายพลเรือนที่เห็นสมควรอย่างน้อยอีกสองคนมาร่วม
เป็นคณะทาการสอบสวน และให้คณะทาการสอบสวนมีอานาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับคณะกรรมการสอบสวน
ตามกฎ ก.พ. น้ี

ข้อ ๓๘ เมื่อคณะกรรมการสอบสวนได้รวบรวมข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และพยานหลักฐานที่เก่ียวข้อง
ตามข้อ ๒๘ (๑) แล้ว ให้มีการประชมุ คณะกรรมการสอบสวนเพ่ือพิจารณาทาความเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัย
ในเร่ืองที่สอบสวนหรือไม่ ถ้าคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิดวินัยในเรื่อง
ท่ีสอบสวน ให้รายงานผลการสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน แต่ถ้า
คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าจากข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย รวมท้ังพยานหลักฐานที่รวบรวมได้เพียงพอที่จะรับฟัง
ได้ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยในเร่ืองที่สอบสวนให้แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลัก ฐานที่สนับสนุน
ข้อกล่าวหาให้ผูถ้ กู กลา่ วหาทราบ

การประชุมตามวรรคหน่ึง ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่าสามคนและไม่น้อยกว่า
กงึ่ หนง่ึ ของจานวนกรรมการสอบสวนทัง้ หมด

ข้อ ๓๙ ในกรณีท่ีมีคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดหรือต้องรับผิดในคดีเก่ียวกับ
เรื่องท่ีสอบสวน ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามคาพิพากษาถึงที่สุดน้ันได้ความ
ประจักษ์ชัดอยู่แล้วว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดตามข้อกล่าวหา คณะกรรมการสอบสวนจะนาเอาคาพิพากษา
ถึงที่สุดน้ันมาใช้เป็นพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาโดยไม่ต้องรวบรวมพยานหลักฐานอ่ืนก็ได้ แต่ต้อง
แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามคาพิพากษาท่ีถึงที่สุดน้ัน เพ่ือใช้เป็นสรุปพยานหลักฐาน
ที่สนบั สนนุ ข้อกล่าวหาใหผ้ ู้ถูกกล่าวหาทราบด้วย

ข้อ ๔๐ การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา ให้ทาเป็นบันทึกระบุ
ขอ้ เทจ็ จริงและพฤตกิ ารณข์ องผู้ถูกกล่าวหาว่าได้กระทาการใด เมื่อใด อย่างไร เป็นความผิดวินัยในกรณีใด และ
สรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหา โดยจะระบุชื่อพยานด้วยหรือไม่ก็ได้ รวมทั้งแจ้งให้ทราบสิทธิของ
ผถู้ ูกกล่าวหาท่ีจะใหถ้ ้อยคาหรือยืน่ คาช้ีแจงแก้ขอ้ กล่าวหาเปน็ หนังสือ สิทธทิ จ่ี ะแสดงพยานหลักฐานหรือจะอ้าง
พยานหลกั ฐานเพื่อขอใหเ้ รยี กพยานหลักฐานนน้ั มาได้ แล้วแจ้งให้ผูถ้ กู กลา่ วหาทราบ

๑๑

บันทึกตามวรรคหน่ึง ให้ทาตามแบบท่ีสานักงาน ก.พ. กาหนด โดยให้ทาเป็นสองฉบับมีข้อความ
ตรงกัน ให้ประธานกรรมการและกรรมการอีกอยา่ งนอ้ ยหนงึ่ คนลงลายมือชอื่ ในบันทึกนั้นดว้ ย

ข้อ ๔๑ เม่ือได้จัดทาบันทึกตามข้อ ๔๐ แล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนมีหนังสือเรียกผู้ถูกกล่าวหา
มาพบตามวัน เวลา และสถานที่ท่ีคณะกรรมการสอบสวนกาหนด เพ่ือแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ที่สนบั สนุนขอ้ กล่าวหาให้ผูถ้ ูกกล่าวหาทราบ

เม่ือผู้ถูกกล่าวหาได้มาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวนแจ้งข้อกล่าวหา
พร้อมทั้งอธิบายข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และให้
ผู้ถูกกล่าวหารับทราบข้อกล่าวหาโดยลงลายมือชื่อพร้อมท้ังวันเดือนปีในบันทึกน้ัน แล้วมอบบันทึกนั้นให้
ผู้ถูกกล่าวหาหนึง่ ฉบบั และอกี ฉบบั หน่ึงเก็บไวใ้ นสานวนการสอบสวน

ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมลงลายมือชื่อในบันทึกเพ่ือรับทราบข้อกล่าวหา ให้คณะกรรมการ
สอบสวนบันทึกข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ดังกล่าวไว้ในบันทึกน้ัน ในกรณีเช่นน้ี ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบ
ข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานตั้งแต่วันท่ีมาพบคณะกรรมการสอบสวนแล้ว และให้มอบบันทึกนั้นให้
ผู้ถูกกล่าวหาหน่ึงฉบับ และอีกฉบับหนึ่งเก็บไว้ในสานวนการสอบสวน แต่ถ้าผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอมรับบันทึก
ดังกล่าว ให้ส่งบันทึกน้ันทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ซึ่งปรากฏตามหลักฐาน
ของทางราชการ

ข้อ ๔๒ เมื่อได้แจ้งข้อกล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบตามข้อ ๔๑ แล้ว ให้คณะกรรมการสอบสวน
แจ้งกาหนดวัน เวลา สถานท่ี และวิธีการท่ีจะให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาในวันท่ีมาพบคณะกรรมการ
สอบสวน หรือแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ที่อยู่ซ่ึงปรากฏตาม
หลักฐานของทางราชการก็ได้

ในกรณีแจ้งเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบต้ังแต่
วนั ทีค่ รบกาหนดสบิ ห้าวันนบั แตว่ นั ทไ่ี ดส้ ่งหนังสอื ดังกลา่ วทางไปรษณยี ์

ข้อ ๔๓ ในกรณที ่ีผู้ถกู กล่าวหาไม่มาพบตามทก่ี าหนดในขอ้ ๔๑ ให้ส่งบนั ทึกตามข้อ ๔๐ จานวนหน่ึงฉบับ
ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ซ่ึงปรากฏตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณีเช่นนี้
ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาได้รับทราบข้อกล่าวหาตั้งแต่วันท่ีครบกาหนดสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้ส่งบันทึกดังกล่าว
ทางไปรษณยี ์

คณะกรรมการสอบสวนจะส่งหนังสือกาหนดวัน เวลา สถานที่ และวิธีการที่จะให้ผู้ถูกกล่าวหาช้ีแจง
แก้ข้อกล่าวหาและช้ีแจงว่าได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหาหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด ไปพร้อมกับบันทึกแจ้ง
ข้อกล่าวหาตามวรรคหนง่ึ กไ็ ด้

ข้อ ๔๔ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่อาจช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาได้ตามวัน เวลา สถานที่และวิธีการท่ีกาหนด
ตามข้อ ๔๒ หรอื ข้อ ๔๓ โดยได้อา้ งเหตุผลหรือความจาเป็น หรือในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ามีเหตุ
จาเป็น จะกาหนดวนั เวลา สถานท่ี หรือวธิ ีการเสียใหม่เพื่อประโยชน์แห่งความเปน็ ธรรมก็ได้

๑๒

ข้อ ๔๕ ในการสอบสวนให้คณะกรรมการสอบสวนถามผู้ถูกกล่าวหาด้วยว่าได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหา
หรือไม่ อยา่ งไร เพราะเหตุใด

คณะกรรมการสอบสวนจะดาเนินการตามวรรคหนึ่งไปในคราวเดียวกนั กับที่ได้ดาเนินการตามข้อ ๔๑
ก็ได้

ขอ้ ๔๖ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพว่าได้กระทาผิดตามข้อกล่าวหาใด ให้คณะกรรมการสอบสวน
บันทึกการรับสารภาพตามข้อกล่าวหานั้นไว้เป็นหนังสือ ในกรณีเช่นน้ี คณะกรรมการสอบสวนจะไม่ทาการสอบสวน
ในขอ้ กลา่ วหานัน้ กไ็ ด้ แลว้ ดาเนนิ การในสว่ นทีเ่ กย่ี วข้องตอ่ ไป

ข้อ ๔๗ ในกรณีท่ีผู้ถูกกล่าวหาไม่มาให้ถ้อยคาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหาหรือไม่ย่ืนคาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา
เป็นหนังสือภายในเวลาที่กาหนดตามข้อ ๔๒ และข้อ ๔๓ ให้ถือว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์จะชี้แจงแก้ข้อกล่าวหา
เวน้ แต่คณะกรรมการสอบสวนจะเหน็ ควรดาเนินการเปน็ อยา่ งอน่ื เพื่อประโยชน์แห่งความเปน็ ธรรม

ขอ้ ๔๘ ในกรณีทปี่ รากฏพยานหลกั ฐานเพม่ิ เติมหลังจากท่ีคณะกรรมการสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหา
และสรุปพยานหลักฐานท่ีสนับสนุนข้อกล่าวหาในเร่ืองท่ีสอบสวนแล้ว ถ้าคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า
พยานหลักฐานที่เพิ่มเติมนั้นมีน้าหนักสนับสนุนข้อกล่าวหา ให้แจ้งสรุปพยานหลักฐานเพิ่มเติมนั้นให้ผู้ถูกกล่าวหา
ทราบ แต่ถ้าเห็นว่าพยานหลักฐานเพ่ิมเติมนั้นมีผลทาให้ข้อกล่าวหาในเรื่องท่ีสอบสวนน้ันเปลี่ยนแปลงไปหรือ
ต้องเพ่ิมข้อกล่าวหา ให้กาหนดข้อกล่าวหาใหม่หรือกาหนดข้อกล่าวหาเพิ่มเติมแล้วแจ้งข้อกล่าวหาและสรุป
พยานหลกั ฐานทีส่ นับสนุนข้อกล่าวหานั้นใหผ้ ถู้ ูกกล่าวหาทราบ ทัง้ นี้ ให้นาความในข้อ ๔๐ ข้อ ๔๑ ข้อ ๔๒ ข้อ ๔๓
ข้อ ๔๔ และขอ้ ๔๗ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม

ข้อ ๔๙ ในการสอบสวน ถา้ คณะกรรมการสอบสวนเหน็ วา่ มพี ยานหลักฐานท่คี วรกล่าวหาว่าผู้ถูกกล่าวหา
กระทาผดิ วนิ ัยในเร่อื งอนื่ ดว้ ย ใหป้ ระธานกรรมการรายงานตอ่ ผสู้ ่งั แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนโดยเรว็

เมื่อได้รับรายงานตามวรรคหน่ึงแล้ว ให้ผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาดาเนินการ
ดังตอ่ ไปน้ี

(๑) ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยในเรื่องอื่นด้วย ให้ยุติไม่ต้องดาเนินการ
ทางวินยั สาหรับเรอ่ื งอื่นน้ัน

(๒) ถ้าเห็นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยในเร่ืองอ่ืนด้วย ให้ดาเนินการทางวินัยในเร่ืองอื่น
นั้นด้วยตามกฎ ก.พ. นี้ ในกรณีท่ีการกระทาผิดวินัยในเรื่องอ่ืนน้ันเป็นการกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง จะแต่งต้ัง
ให้คณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนคณะใหม่ดาเนินการสอบสวนและ
พิจารณาในเรื่องอื่นนนั้ ก็ได้

ข้อ ๕๐ ในกรณีที่การสอบสวนพาดพิงไปถึงข้าราชการพลเรือนผู้อื่น ถ้าคณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
เห็นว่าผู้นั้นมีส่วนร่วมกระทาการในเร่ืองที่สอบสวนน้ันด้วย ให้คณะกรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้ส่ังแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนโดยเร็วเพ่ือพิจารณาดาเนนิ การตามกฎ ก.พ. นี้ ต่อไป

๑๓

ในกรณีท่ีการสอบสวนพาดพิงไปถึงเจ้าหน้าที่ของรัฐอื่นหรือบุคคลอ่ืน ถ้าคณะกรรมการสอบสวน
พิจารณาเหน็ วา่ ผูน้ ้นั มสี ว่ นร่วมกระทาการในเรื่องท่ีสอบสวนน้ันด้วย ให้คณะกรรมการสอบสวนรายงานต่อผู้ส่ัง
แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวนโดยเรว็ เพ่ือพจิ ารณาตามที่เหน็ สมควรตอ่ ไป

ข้อ ๕๑ ในกรณีท่ีผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการพลเรือน
ผู้อนื่ ร่วมกระทาผิดวนิ ยั อย่างร้ายแรงในเร่ืองท่ีสอบสวนตามข้อ ๕๐ วรรคหนึ่ง ให้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
เพื่อทาการสอบสวนผู้นั้น โดยจะแต่งต้ังให้คณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมหรือจะแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนคณะใหม่ดาเนินการสอบสวนและพิจารณาก็ได้ แต่ถ้าเป็นกรณีที่มีผลทาให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจ
ส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ เปล่ียนไป ให้ส่งเรื่องไปยังผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือ
ผ้มู อี านาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแตก่ รณี ของข้าราชการพลเรือนผู้นั้นเพ่ือดาเนนิ การตอ่ ไป

พยานหลักฐานที่ได้จากการสอบสวนในเร่ืองที่สอบสวนเดิม คณะกรรมการสอบสวนจะใช้ประกอบการ
พิจารณาดาเนินการทางวินัยแก่บุคคลตามวรรคหน่ึงได้ต่อเมื่อได้แจ้งให้ผู้น้ันทราบและให้โอกาสผู้น้ันได้ใช้สิทธิ
ตามกฎ ก.พ. น้แี ลว้

ขอ้ ๕๒ เมือ่ คณะกรรมการสอบสวนไดแ้ จ้งขอ้ กลา่ วหาและสรปุ พยานหลกั ฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
ให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ ได้ให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาช้ีแจงแก้ข้อกล่าวหา และได้รวบรวมพยานหลักฐานเพียงพอ
ท่ีจะพจิ ารณาไดแ้ ลว้ ใหค้ ณะกรรมการสอบสวนประชมุ เพ่ือพิจารณาทาความเห็นเกีย่ วกับเรื่องท่ีสอบสวน

ในการพิจารณาทาความเห็นตามวรรคหน่ึง คณะกรรมการสอบสวนต้องพิจารณาท้ังข้อเท็จจริง
ข้อกฎหมาย และพิจารณามีมติในเร่ืองท่ีสอบสวนให้ครบทุกข้อกล่าวหาและทุกประเด็น ว่าผู้ถูกกล่าวหา
กระทาผิดวินัยในเร่ืองท่ีสอบสวนหรือไม่ ถ้าเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาได้กระทาผิดวินัย ต้องพิจารณาให้ได้ความด้วยว่า
เป็นความผดิ วนิ ยั กรณีใด ตามมาตราใด ควรได้รบั โทษสถานใด และมีเหตอุ ันควรลดหยอ่ นหรอื ไม่ เพยี งใด

ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผลการสอบสวนยังไม่ได้ความแน่ชัดพอท่ีจะลงโทษเพราะ
กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง แต่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาหย่อนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการ
บกพร่องในหน้าที่ราชการ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือมีมลทินหรือมัวหมอง
ในกรณที ีถ่ กู สอบสวน ถา้ ให้ผู้นน้ั รับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗)
แล้วแตก่ รณี กใ็ ห้ทาความเห็นเสนอไว้ในรายงานการสอบสวนด้วย

การประชุมเพือ่ พิจารณาทาความเหน็ ตามขอ้ นี้ ต้องมีกรรมการสอบสวนมาประชุมไม่น้อยกว่าสามคน
และไม่นอ้ ยกวา่ กง่ึ หนง่ึ ของจานวนกรรมการสอบสวนทั้งหมด

ข้อ ๕๓ เมื่อคณะกรรมการสอบสวนได้ดาเนินการตามข้อ ๕๒ แล้ว ให้จัดทารายงานการสอบสวน
เสนอต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนตามแบบท่ีสานักงาน ก.พ. กาหนด โดยให้เสนอไปพร้อมสานวน
การสอบสวน

รายงานการสอบสวนตามวรรคหน่ึง อย่างน้อยต้องประกอบด้วยเรื่องที่สอบสวนข้อเท็จจริงและ
ขอ้ กฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้อง ข้อกล่าวหา พยานหลักฐานที่สนับสนุนหรือหักล้างข้อกล่าวหา ประเด็นที่ต้องพิจารณา
ความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนตามข้อ ๕๒ วรรคสอง และวรรคสาม และลายมือช่ือกรรมการสอบสวน

๑๔

ทุกคน รวมท้ังให้ประธานกรรมการลงลายมือช่ือกากับไว้ในรายงานการสอบสวนหน้าอ่ืนด้วยทุกหน้าในกรณีที่
กรรมการสอบสวนคนใดมีเหตุจาเป็นไม่อาจลงลายมือช่ือได้ ให้ประธานกรรมการสอบสวนบันทึกเหตุจาเป็น
ดังกล่าวไว้ด้วย และในกรณีท่ีกรรมการสอบสวนผู้ใดมีความเห็นแย้ง ให้แสดงช่ือและสรุปความเห็นแย้งของ
ผู้น้ันไว้ในรายงานการสอบสวนด้วย ในการน้ี ผู้มีความเห็นแย้งน้ันจะทาบันทึกรายละเอียดความเห็นแย้งและ
ลงลายมอื ชอื่ ของตนแนบไว้กับรายงานการสอบสวนด้วยก็ได้

ข้อ ๕๔ ให้คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการสอบสวนและจัดทารายงานการสอบสวนพร้อมท้ัง
สานวนการสอบสวนเสนอต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนให้แล้วเสร็จภายในหน่ึงร้อยยี่สิบวันนับแต่
วนั ท่มี ีการประชุมคณะกรรมการสอบสวนครงั้ แรกตามข้อ ๒๗

ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนมีเหตุผลและความจาเป็นไม่อาจดาเนินการให้แล้วเสร็จได้ภายใน
กาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ให้ประธานกรรมการรายงานต่อผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อขอขยาย
เวลาสอบสวนตามความจาเป็น และให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาขยายเวลาได้คร้ังละไม่เกิน
หกสิบวัน ในกรณีที่ได้มีการขยายเวลาจนทาให้การสอบสวนดาเนินการเกินหน่ึงร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่มี
การประชุมคณะกรรมการสอบสวนครั้งแรกตามข้อ ๒๗ ให้ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนรายงาน อ.ก.พ.
กระทรวงทผี่ ถู้ ูกกลา่ วหาสังกดั อยูท่ ราบ เพือ่ ตดิ ตามเรง่ รดั ให้ดาเนนิ การให้แล้วเสรจ็ โดยเร็วต่อไป

ข้อ ๕๕ เมื่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนได้รับรายงานการสอบสวนและสานวนการสอบสวนแล้ว
ให้พิจารณาตรวจสอบความถูกต้องของการสอบสวน ถา้ เหน็ ว่าการสอบสวนถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้ผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการตามข้อ ๕๖ แต่ถ้าเห็นว่าการสอบสวนยังไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วน ก็ให้ส่ัง
หรอื ดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้

(๑) ในกรณีท่ีเห็นว่ายังไม่มีการแจ้งข้อกล่าวหาหรือการแจ้งข้อกล่าวหายังไม่ครบถ้วน ให้ส่ังให้
คณะกรรมการสอบสวนดาเนนิ การแจ้งขอ้ กลา่ วหาหรือแจง้ ขอ้ กล่าวหาให้ครบถว้ นโดยเร็ว

(๒) ในกรณีที่เห็นว่าควรรวบรวมข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานเพ่ิมเติม ให้กาหนดประเด็นหรือ
ขอ้ สาคัญท่ตี ้องการให้คณะกรรมการสอบสวนทาการสอบสวนเพมิ่ เติมโดยไมต่ ้องทาความเห็น

(๓) ในกรณที ่ีเหน็ ว่าการดาเนนิ การใดไม่ถูกตอ้ ง ให้ส่ังใหค้ ณะกรรมการสอบสวนดาเนินการให้ถูกต้อง
โดยเรว็

ข้อ ๕๖ เมื่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าการสอบสวนถูกต้องครบถ้วนแล้วให้พิจารณา
มีความเห็นเพอื่ สงั่ หรือดาเนนิ การ ดงั ต่อไปนี้

(๑) ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้กระทาผิดวินัย หรือกระทาผิดวินัย
อย่างไม่ร้ายแรง ถ้าผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงหรือ
ไม่ได้กระทาผิดวินัย ให้ผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนพิจารณาดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีต่อไป แต่ถ้า
เหน็ วา่ ผู้ถูกกลา่ วหากระทาผดิ วนิ ัยอยา่ งร้ายแรงกใ็ ห้ดาเนินการตาม (๒)

(๒) ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้ผู้ส่ังแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนพิจารณาว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงหรือไม่ และไม่ว่าผู้ส่ังแต่งต้ัง

๑๕

คณะกรรมการสอบสวนจะเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนหรือไม่ก็ตาม ให้ผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซ่ึงผู้ถูกกล่าวหา
สังกัดอยู่ตามทีก่ าหนดในข้อ ๕๘ แลว้ แตก่ รณี เพือ่ พิจารณาตอ่ ไป

(๓) ในกรณที คี่ ณะกรรมการสอบสวนเห็นวา่ ผลการสอบสวนยังไมไ่ ดค้ วามแน่ชัดพอที่จะลงโทษเพราะ
กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง แต่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหาหย่อนความสามารถในอันท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
บกพร่องในหน้าที่ราชการ ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าท่ีราชการ หรือมีมลทินหรือมัวหมอง
ในกรณีท่ีถูกสอบสวน ถ้าให้ผู้น้ันรับราชการต่อไปจะเป็นการเสียหายแก่ราชการ ถ้าผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ
สอบสวนเห็นด้วยกับความเห็นของคณะกรรมการสอบสวนให้พิจารณาดาเนินการ ตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗)
ต่อไป แต่ถ้าเห็นวา่ ผูถ้ ูกกล่าวหาไมไ่ ดก้ ระทาผดิ วนิ ัย หรอื กระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้พิจารณาดาเนินการ
ตามอานาจหนา้ ที่ตอ่ ไป และถา้ เห็นวา่ ผู้ถกู กล่าวหากระทาผิดวินยั อยา่ งรา้ ยแรงกใ็ หด้ าเนินการตาม (๒)

ข้อ ๕๗ ในกรณีที่มีการย้าย การโอน หรือการเลื่อนผู้ถูกกล่าวหา อันมีผลทาให้ผู้มีอานาจสั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบสวนเปล่ียนไป ให้คณะกรรมการสอบสวนท่ีได้แต่งต้ังไว้แล้วน้ัน ดาเนินการต่อไปจนเสร็จ
และทารายงานการสอบสวนเสนอไปพร้อมกับสานวนการสอบสวนต่อผู้บังคับบัญชาเดิมที่เป็นผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกต้องของการดาเนินการเพื่อส่งไปยังผู้บังคับบัญชาใหม่ท่ีเป็นผู้ซึ่งมี
อานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔ พิจารณาสั่งหรือดาเนินการตามข้อ ๕๕ ต่อไป
และถ้าในระหว่างการสอบสวนมีกรณีที่ผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนต้องส่ังการอย่างใดเพ่ือให้การสอบสวนนั้น
ดาเนินการต่อไปได้ ใหผ้ ้บู งั คบั บัญชาเดิมสง่ เรอื่ งให้ผบู้ งั คบั บญั ชาใหมซ่ ึง่ เป็นผมู้ อี านาจพจิ ารณาต่อไป

ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาใหม่ซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔
ตามวรรคหน่ึง เห็นสมควรให้ดาเนินการตามข้อ ๕๕ จะสั่งให้คณะกรรมการสอบสวนคณะเดิมดาเนินการ
หรือในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร จะแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนขึ้นใหม่เพ่ือดาเนินการก็ได้ โดยให้นา
ข้อ ๑๘ และข้อ ๑๙ มาใช้บงั คบั

ข้อ ๕๘ การส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง พิจารณาตามข้อ ๕๖ (๒)
ให้ดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้

(๑) ในกรณีท่ีผู้วา่ ราชการจงั หวัดเปน็ ผสู้ ัง่ แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบสวน ให้ส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. จังหวัด
ซง่ึ ผถู้ ูกกล่าวหาสังกัดอยู่ เป็นผู้พจิ ารณา

(๒) ในกรณที ี่อธบิ ดี ปลัดกระทรวงในฐานะอธบิ ดี หรอื หวั หนา้ สว่ นราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชา
หรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจ
ส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ (๖) (๙) หรือ (๑๐) เป็นผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวน ให้ส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. กรม
ซง่ึ ผ้ถู กู กลา่ วหาสังกัดอยู่ เป็นผ้พู ิจารณา

(๓) ในกรณีท่นี ายกรัฐมนตรี รัฐมนตรเี จา้ สังกัด ปลัดกระทรวงสาหรบั กรณอี นื่ นอกจากที่กาหนดไว้ใน (๒)
หรือหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบการปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี

๑๖

หรือตอ่ รฐั มนตรีซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ (๒) (๓) (๕) หรือ (๘) เป็นผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน ใหส้ ่งเรอื่ งให้ อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาสงั กดั อยู่ เปน็ ผ้พู จิ ารณา

ในกรณีท่ีมกี ารย้าย การโอน หรือการเลื่อนผู้ถูกกล่าวหาอันมีผลให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ
อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผู้ถูกกล่าวหาสังกัดอยู่เปลี่ยนแปลงไป ให้ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ
อ.ก.พ. กระทรวง ซึง่ ผู้ถูกกล่าวหาสงั กดั อยู่หลงั จากการย้าย การโอน หรือการเลอ่ื นน้ันเปน็ ผ้พู จิ ารณา

ข้อ ๕๙ เม่ือได้รับเร่ืองตามข้อ ๕๘ แล้ว อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง แล้วแต่กรณี
อาจพิจารณามมี ติอยา่ งใดอย่างหนึง่ ดังตอ่ ไปนี้

(๑) ในกรณีที่เห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้มีมติว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
กรณีใด ตามมาตราใด และให้ลงโทษสถานใด เพราะเหตุใด โดยจะต้องมีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญด้วยว่า
มกี ารกระทาอย่างใด

(๒) ในกรณีท่ีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้มีมติว่าเป็นความผิดวินัยอย่าง
ไม่ร้ายแรงกรณีใด ตามมาตราใด และให้ลงโทษสถานโทษใดและอัตราโทษใด เพราะเหตุใด หรือถ้าเห็นว่า
เป็นความผิดวินัยเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะมีมติงดโทษ โดยให้ทาทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าว
ตกั เตอื นกไ็ ด้ ทั้งนี้ จะตอ้ งมขี ้อเทจ็ จริงอนั เปน็ สาระสาคัญด้วยวา่ มีการกระทาอย่างใด

(๓) ในกรณที ่ีเหน็ ว่ายังไมไ่ ด้ความแน่ชัดพอที่จะลงโทษกรณีกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง ถ้ามีข้อเท็จจริง
อันเป็นกรณีที่สมควรให้ออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) หรือ (๗) ให้มีมติให้ผู้น้ันออกจากราชการ โดยจะต้อง
มีข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญด้วยว่ามีการกระทาอย่างใด มีกรณีที่สมควรให้ออกจากราชการเพราะเหตุใด
ตามมาตราใด และถ้าใหร้ บั ราชการตอ่ ไปจะเป็นการเสยี หายแก่ราชการอยา่ งใด

(๔) ในกรณีท่ีเห็นว่าการกระทาของผู้ถูกกล่าวหาไม่เป็นความผิดวินัย ให้มีมติให้ส่ังยุติเร่ือง หรือ
ถ้าเห็นวา่ ผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดวนิ ยั แต่เปน็ กรณที ไี่ มอ่ าจลงโทษได้ ให้มีมติให้งดโทษ

(๕) ในกรณีที่เห็นว่าข้อเท็จจริงยังไม่เพียงพอหรือการดาเนินการใดยังไม่ถูกต้องครบถ้วนให้มีมติให้
สอบสวนเพิม่ เติม แก้ไข หรอื ดาเนนิ การให้ถกู ต้องตามควรแก่กรณี

ข้อ ๖๐ ในกรณที ป่ี รากฏวา่ การแต่งต้งั คณะกรรมการสอบสวนไม่ถูกต้องตามข้อ ๑๘ ให้การสอบสวน
ทงั้ หมดเสยี ไป และให้ผบู้ งั คับบญั ชาซ่งึ มอี านาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มอี านาจตามมาตรา ๙๔ แล้วแต่กรณี
แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพอื่ ดาเนนิ การสอบสวนใหม่ให้ถูกตอ้ ง

ข้อ ๖๑ ในกรณที ป่ี รากฏว่าการดาเนนิ การใดไม่ถกู ต้องตามกฎ ก.พ. นี้ ให้เฉพาะการดาเนนิ การน้ันเสียไป
และถ้าการดาเนินการนั้นเป็นสาระสาคัญที่ต้องดาเนินการหรือหากไม่ดาเนินการจะทาให้เสียความเป็นธรรม
ใหแ้ ก้ไขหรอื ดาเนนิ การนน้ั เสียใหมใ่ หถ้ ูกต้องโดยเรว็

ข้อ ๖๒ ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาผู้ใดตายในระหว่างการสอบสวน ให้การดาเนินการทางวินัยแก่ผู้นั้น
เปน็ อนั ยตุ ิ แตใ่ ห้คณะกรรมการสอบสวนและผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนดาเนินการรวบรวมข้อเท็จจริง
และพยานหลักฐานที่เก่ียวข้องต่อไปเท่าที่สามารถจะกระทาได้ แล้วทาความเห็นเสนอต่อกระทรวงเจ้าสังกัด

๑๗

เพ่ือพิจารณาดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการหรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนบาเหน็จ
บานาญข้าราชการ แลว้ แตก่ รณี

ข้อ ๖๓ ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการพิจารณาทางปกครองตามกฎหมาย
วา่ ด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการสอบสวนโดยอนุโลม เว้นแต่
องคป์ ระชุมกรรมการสอบสวนตามข้อ ๓๘ และข้อ ๕๒

หมวด ๕
กรณีความผิดทปี่ รากฏชดั แจ้ง

ข้อ ๖๔ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง และได้รับสารภาพเป็นหนังสือ
ต่อผู้บังคับบัญชา หรือได้ให้ถ้อยคารับสารภาพและได้มีการบันทึกถ้อยคารับสารภาพเป็นหนังสือหรือมีหนังสือ
รับสารภาพต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี ถือเป็นกรณีความผิด
ท่ีปรากฏชัดแจ้ง ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะพิจารณาดาเนินการทางวินัยโดยไม่ต้อง
สอบสวนหรอื งดการสอบสวนกไ็ ด้

ข้อ ๖๕ ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงในกรณีดังต่อไปนี้ ถือเป็นกรณี
ความผิดท่ีปรากฏชัดแจ้ง ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ หรือผู้มีอานาจตามมาตรา ๙๔
แล้วแตก่ รณี จะดาเนินการทางวนิ ยั โดยไมต่ ้องสอบสวนหรืองดการสอบสวนก็ได้

(๑) ละท้ิงหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่กลับมาปฏิบัติ
หนา้ ทีร่ าชการอีกเลย และผบู้ ังคับบัญชาซึง่ มีอานาจสงั่ บรรจุตามมาตรา ๕๗ ได้ดาเนินการหรือส่ังให้ดาเนินการ
สืบสวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของ
ทางราชการ

(๒) กระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษท่ีหนักกว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุด
ให้จาคุกหรือให้รับโทษท่ีหนักกว่าจาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิด
ลหโุ ทษ

(๓) กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงและได้รับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา หรือได้ให้ถ้อยคา
รับสารภาพและได้มีการบนั ทกึ ถอ้ ยคารับสารภาพเป็นหนงั สือหรือมีหนงั สอื รับสารภาพตอ่ ผมู้ ีหน้าทส่ี ืบสวนสอบสวน
หรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎ ก.พ. น้ี

หมวด ๖
การสง่ั ยตุ ิเรอื่ ง ลงโทษ หรอื งดโทษ

๑๘

ข้อ ๖๖ การสั่งยุติเรื่องตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง มาตรา ๙๓ วรรคสอง หรือมาตรา ๙๗ วรรคสอง
ให้ทาเปน็ คาส่ัง ระบุชื่อและตาแหนง่ ของผ้ถู กู กลา่ วหา เรือ่ งทถี่ กู กล่าวหาและผลการพิจารณา ทั้งน้ี ตามแบบที่
สานกั งาน ก.พ. กาหนด และให้ลงลายมือชอ่ื และตาแหน่งของผสู้ ง่ั และวนั เดือนปี ทอ่ี อกคาสัง่ ไว้ด้วย

ข้อ ๖๗ โทษสาหรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา ๙๖
ทผ่ี ้บู งั คับบัญชาซึง่ มอี านาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ มอี านาจสัง่ ลงโทษได้ มีดังต่อไปน้ี

(๑) ภาคทณั ฑ์
(๒) ตัดเงนิ เดอื นไดค้ ร้งั หน่ึงในอัตราร้อยละ ๒ หรือรอ้ ยละ ๔ ของเงนิ เดือนที่ผู้น้ันได้รับในวันที่มีคาส่ัง
ลงโทษเป็นเวลาหนึ่งเดือน สองเดอื น หรือสามเดือน
(๓) ลดเงินเดือนได้ครั้งหน่ึงในอัตราร้อยละ ๒ หรือรอ้ ยละ ๔ ของเงนิ เดือนท่ีผู้นั้นได้รับในวันท่ีมีคาส่ัง
ลงโทษ
การส่ังลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน ถ้าจานวนเงินท่ีจะต้องตัดหรือลดมีเศษไม่ถึงสิบบาท
ใหป้ ดั เศษทง้ิ
ข้อ ๖๘ โทษสาหรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญกระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงตามมาตรา ๙๗
ท่ผี ู้บังคับบญั ชาซึ่งมอี านาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ มีอานาจสั่งลงโทษได้ มดี ังต่อไปน้ี
(๑) ปลดออก
(๒) ไล่ออก
ข้อ ๖๙ การส่ังลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก หรือไล่ออก ให้ทาเป็นคาสั่ง
ระบุช่ือและตาแหน่งของผู้ถูกลงโทษ แสดงข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญว่าผู้ถูกลงโทษกระทาผิดวินัยอย่าง
ไม่ร้ายแรงหรืออย่างร้ายแรงในกรณีใด ตามมาตราใด พร้อมท้ังสิทธิในการอุทธรณ์และระยะเวลาในการอุทธรณ์
ตามมาตรา ๑๑๔ ไวใ้ นคาส่ังนน้ั ด้วย ทั้งน้ี ตามแบบทสี่ านักงาน ก.พ. กาหนด และให้ลงลายมือช่ือและตาแหน่ง
ของผ้สู งั่ และวันเดอื นปที อี่ อกคาสั่งไวด้ ้วย
ขอ้ ๗๐ การสง่ั ลงโทษ ให้สง่ั ใหม้ ีผลตั้งแต่วันหรอื ระยะเวลาดงั ต่อไปนี้
(๑) การสัง่ ลงโทษภาคทณั ฑ์ ใหส้ ่ังใหม้ ผี ลต้ังแต่วันท่ีมคี าสั่ง
(๒) การสง่ั ลงโทษตัดเงนิ เดอื นหรอื ลดเงินเดอื น ให้ส่งั ใหม้ ีผลตงั้ แตเ่ ดือนท่ีมีคาสง่ั
(๓) การส่ังลงโทษปลดออกหรือไล่ออก ให้ส่ังให้มีผลตามระเบียบที่ ก.พ. กาหนดตามมาตรา ๑๐๗
วรรคสอง
ข้อ ๗๑ การสั่งงดโทษตามมาตรา ๙๖ วรรคสาม ให้ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗
ทาเป็นคาสั่ง และให้ระบุไว้ในคาส่ังด้วยว่าให้ทาทัณฑ์บนเป็นหนังสือหรือว่ากล่าวตักเตือน ทั้งน้ี ตามแบบที่
สานักงาน ก.พ. กาหนด
ข้อ ๗๒ การส่ังงดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง สาหรับกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ซึ่งออก
จากราชการไปแล้วแต่มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงอยู่ก่อนตามมาตรา ๑๐๐ วรรคหนึ่ง

๑๙

และผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏว่าผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจ
สัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สงั่ งดโทษ ทง้ั นี้ ตามแบบที่สานักงาน ก.พ. กาหนด

ข้อ ๗๓ เมื่อได้มีคาสั่งยุติเรื่อง ลงโทษ หรืองดโทษแล้ว ให้ดาเนินการแจ้งคาส่ังให้ผู้ถูกลงโทษหรือ
ผู้ถูกกล่าวหาทราบโดยเร็ว และให้ผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือช่ือและวันที่รับทราบไว้เป็นหลักฐาน
และให้มอบสาเนาคาส่ังให้ผูถ้ กู ลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาไว้หนึง่ ฉบบั ด้วย ถ้าผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาไม่ยอม
ลงลายมือชื่อรับทราบคาส่ัง เม่ือได้ทาบันทึกลงวันท่ีและสถานท่ีท่ีแจ้งและลงลายมือช่ือผู้แจ้ง พร้อมทั้งพยาน
รเู้ ห็นไว้เป็นหลกั ฐานแลว้ ให้ถอื วันทีแ่ จ้งน้นั เปน็ วนั รบั ทราบ

ในกรณีท่ีไม่อาจแจ้งให้ทราบตามวรรคหนึ่งได้หรือมีเหตุจาเป็นอ่ืน ให้ส่งสาเนาคาส่ังทางไปรษณีย์
ลงทะเบียนตอบรับไปให้ผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหา ณ ท่ีอยู่ของผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาซึ่งปรากฏ
ตามหลักฐานของทางราชการ ในกรณีเช่นนี้ ให้ถือว่าผู้ถูกลงโทษหรือผู้ถูกกล่าวหาได้รับแจ้งเมื่อครบกาหนด
เจด็ วันนบั แต่วันส่งสาหรบั กรณสี ง่ ในประเทศ หรอื เมื่อครบสบิ ห้าวนั นบั แตว่ ันส่งสาหรับกรณีสง่ ไปยงั ต่างประเทศ

หมวด ๗
การมคี าส่งั ใหม่กรณีมีการเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ

ข้อ ๗๔ ในกรณีที่มีการเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ มีคาสั่งใหม่ โดยให้ส่งั ยกเลิกคาสงั่ ลงโทษเดิม แลว้ สัง่ ใหม่ใหเ้ ป็นไปตามนน้ั

คาส่งั ใหมต่ ามวรรคหน่ึง ให้เป็นไปตามแบบท่ีสานักงาน ก.พ. กาหนด โดยอย่างน้อยให้มีสาระสาคัญ
ดังต่อไปนี้

(๑) อ้างถงึ คาสั่งลงโทษเดมิ กอ่ นมกี ารเพมิ่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
(๒) อ้างถึงมติของ อ.ก.พ. กระทรวง หรือของ ก.พ. หรือคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค. หรือขององค์กรตาม
กฎหมายอน่ื ทใ่ี ห้เพมิ่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ แลว้ แตก่ รณี โดยแสดงสาระสาคัญโดยสรปุ ไว้ดว้ ย
(๓) สง่ั ใหย้ กเลกิ คาสงั่ ลงโทษเดิมตาม (๑) และมคี าสั่งใหม่ให้เปน็ ไปตาม (๒)
(๔) ระบวุ ิธกี ารดาเนนิ การเก่ียวกับโทษที่ได้รับไปแลว้
ข้อ ๗๕ ในกรณีท่ีคาส่ังเดิมเป็นคาสั่งลงโทษไล่ออกหรือปลดออก ถ้ามีการลดโทษเป็นปลดออกหรือ
เพ่ิมโทษเป็นไล่ออก จะส่ังให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันใด ให้เป็นไปตามระเบียบที่ ก.พ. กาหนด ตามมาตรา ๑๐๗
วรรคสอง
ข้อ ๗๖ ในกรณีท่ีคาสั่งเดิมเป็นคาส่ังลงโทษไล่ออกหรือปลดออก ถ้ามีการลดโทษเพื่อจะส่ังลงโทษใหม่
ในความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง งดโทษ หรือยกโทษ ในคาส่ังใหม่ให้สั่งให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการ และ
ส่งั ลงโทษใหม่ในความผดิ วินัยอยา่ งไมร่ า้ ยแรง งดโทษ หรือยกโทษ แลว้ แตก่ รณี

๒๐

การสงั่ ใหก้ ลับเขา้ รับราชการ ให้ส่งั ใหผ้ ้นู น้ั ดารงตาแหน่งตามเดิม หรือตาแหนง่ อ่ืนในประเภทเดียวกัน
และระดับเดียวกันหรือในตาแหน่งประเภทและระดับที่ ก.พ. กาหนด ท้ังนี้ ผู้น้ันต้องมีคุณสมบัติตรงตาม
คณุ สมบัติเฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ นั้น

ในกรณที ไ่ี ม่อาจสัง่ ให้ผู้นน้ั กลบั เขา้ รบั ราชการได้ เพราะเหตทุ ี่ก่อนท่ีจะมคี าส่งั ใหม่นั้น ผู้น้ันพ้นจากราชการ
ตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ ตาย หรือออกจากราชการเนื่องจากเหตุอื่นให้สั่งงดโทษ หรือ
ส่ังยุติเรื่อง แลว้ แต่กรณี แล้วใหแ้ สดงเหตุที่ไมอ่ าจสง่ั ให้กลบั เขา้ รับราชการไว้ในคาสงั่ น้นั ด้วย

ในคาสั่งใหมใ่ ห้ระบุด้วยว่าเงนิ เดือนระหว่างทถี่ กู ไลอ่ อกหรอื ปลดออกให้เบิกจ่ายให้ผู้นั้นตามกฎหมาย
หรอื ระเบียบวา่ ดว้ ยการนัน้

ขอ้ ๗๗ ในกรณที ค่ี าส่ังลงโทษเดิมเป็นคาสั่งลงโทษในความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ถ้ามีการเพิ่มโทษ
ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ ในคาสั่งใหม่ใหร้ ะบุการดาเนินการเกีย่ วกับโทษทีไ่ ด้รบั ไปแล้วดงั ต่อไปน้ี

(๑) ถ้าเป็นกรณียกโทษ ให้ถือว่าผู้น้ันไม่เคยได้รับโทษทางวินัยมาก่อน และให้ผู้นั้นกลับคืนสู่สถานะเดิม
ก่อนมีการลงโทษ ในกรณีที่ได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้น้ันไปเท่าใด ให้คืนเงินที่ได้ตัดหรือลดไว้
ดงั กล่าวใหผ้ นู้ น้ั

(๒) ถ้าเป็นกรณีงดโทษ ในกรณีที่ได้มีการตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือนผู้นั้นไปเท่าใด ให้คืนเงินท่ีได้
ตดั หรอื ลดไวด้ ังกล่าวให้ผู้น้นั

(๓) ถา้ เป็นกรณีที่มีผลให้ยังคงตอ้ งลงโทษผนู้ ้ันอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการเพมิ่ โทษหรอื ลดโทษกต็ ามให้ดาเนินการ
ดงั นี้

(ก) ถ้าเป็นการเพิ่มโทษให้เป็นโทษตัดเงินเดือนหรือลดเงินเดือน ให้คิดคานวณจานวนเงินเดือน
ที่จะตดั หรอื ลดตามอตั ราโทษใหมจ่ ากเงินเดอื นเดมิ ในขณะท่ีมคี าส่งั ลงโทษเดิม และใหค้ นื เงินที่ไดต้ ัดหรอื ลดไปแล้วน้ัน
ใหผ้ นู้ น้ั

(ข) ถ้าเป็นการเพม่ิ โทษจากโทษตดั เงินเดือนหรือลดเงินเดือนเป็นปลดออกหรือไล่ออกให้คืนเงิน
ท่ีไดต้ ัดหรอื ลดไปแล้วนั้นให้ผนู้ น้ั

(ค) ถ้าเป็นการลดโทษให้เป็นโทษภาคทัณฑ์ ให้ลงโทษให้เป็นไปตามนั้น ในกรณีท่ีได้มีการ
ตดั เงนิ เดอื นหรือลดเงนิ เดอื นผนู้ ั้นไปเทา่ ใด ให้คนื เงินที่ได้ตัดหรือลดไว้ดงั กลา่ วใหผ้ ู้น้ัน

(ง) ถ้าเป็นการลดโทษให้เป็นโทษตัดเงินเดือน ให้คิดคานวณจานวนเงินที่จะตัดตามอัตราโทษใหม่
จากเงนิ เดือนเดิมในขณะท่ีมีคาส่งั ลงโทษเดมิ และใหค้ นื เงนิ ทีไ่ ด้ลดไปแล้วนัน้ ใหผ้ ู้น้นั

(จ) ถา้ เป็นการเพม่ิ หรอื ลดอัตราโทษของโทษตดั เงินเดือนหรือลดเงินเดือน ให้คิดคานวณจานวนเงิน
ท่ีจะตัดหรือลดตามอัตราโทษใหม่จากเงินเดือนเดิมในขณะที่มีคาสั่งลงโทษเดิม ในกรณีที่จานวนเงินท่ีจะต้อง
ตัดหรือลดตามคาส่ังลงโทษใหม่ ต่ากว่าจานวนเงินท่ีได้ถูกตัดหรือลดตามคาสั่งลงโทษเดิมให้คืนเงินส่วนท่ีได้
ตัดหรอื ลดไวเ้ กนิ น้ันให้ผู้นั้น

๒๑

หมวด ๘
การสัง่ พักราชการและใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน

ข้อ ๗๘ เมื่อข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูก
ต้ังกรรมการสอบสวน หรือถูกฟ้องคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา เว้นแต่เป็นความผิดท่ีได้กระทา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ จะสั่งให้ผู้นั้นพักราชการ
เพอื่ รอฟงั ผลการสอบสวนหรือพจิ ารณา หรือผลแหง่ คดีได้ต่อเมอ่ื มเี หตุอย่างหนง่ึ อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี

(๑) ผู้นั้นถูกตั้งกรรมการสอบสวน และผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณา
เห็นวา่ ถ้าผ้นู ้นั คงอย่ใู นหน้าทีร่ าชการต่อไปอาจเกิดการเสยี หายแก่ราชการ

(๒) ผนู้ ้ันถูกฟอ้ งคดีอาญา หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญาในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือละเว้น
การปฏิบตั ิหน้าทีร่ าชการโดยทจุ ริต หรือเก่ียวกับความประพฤติหรือพฤติการณ์อันไม่น่าไว้วางใจ โดยพนักงาน
อัยการมิได้รับเป็นทนายแก้ต่างให้ และผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นว่าถ้าผู้นั้น
คงอยใู่ นหนา้ ทรี่ าชการอาจเกิดการเสยี หายแก่ราชการ

(๓) ผู้น้ันมีพฤติการณ์ที่แสดงว่าถ้าคงอยู่ในหน้าที่ราชการจะเป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนพิจารณา
หรือจะกอ่ ใหเ้ กิดความไมส่ งบเรียบร้อยขน้ึ

(๔) ผู้นั้นอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดีอาญาหรือต้องจาคุกโดยคาพิพากษา
และได้ถูกควบคุม ขงั หรอื ต้องจาคุก เปน็ เวลาตดิ ต่อกันเกินกวา่ สิบห้าวันแลว้

(๕) ผู้นั้นถูกตั้งกรรมการสอบสวนและต่อมามีคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่าเป็นผู้กระทาความผิดอาญาในเรื่อง
ท่ีสอบสวนนั้น หรือผู้นั้นถูกตั้งกรรมการสอบสวนภายหลังที่มีคาพิพากษาถึงท่ีสุดว่าเป็นผู้กระทาความผิดอาญา
ในเรื่องที่สอบสวนน้ัน และผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏ
ตามคาพพิ ากษาถึงที่สุดนัน้ ได้ความประจักษ์ชัดอยู่แล้วว่าการกระทาความผิดอาญาของผู้น้ันเป็นความผิดวินัย
อยา่ งร้ายแรง

ขอ้ ๗๙ การสั่งพักราชการใหส้ งั่ พกั ตลอดเวลาทส่ี อบสวนหรือพิจารณา เว้นแต่ผู้ถูกส่ังพักราชการผู้ใด
ได้ร้องทุกขต์ ามมาตรา ๑๒๒ และผู้มีอานาจพจิ ารณาคาร้องทกุ ขเ์ หน็ วา่ สมควรส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ก่อนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จส้ิน เน่อื งจากพฤตกิ ารณ์ของผถู้ กู ส่ังพกั ราชการไม่เป็นอุปสรรคต่อการสอบสวน
หรือพิจารณา และไม่ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยต่อไป หรือเน่ืองจากการดาเนินการทางวินัยได้ล่วงพ้น
หน่ึงปีนับแต่วันพักราชการแล้วยังไม่แล้วเสร็จและผู้ถูกสั่งพักราชการไม่มีพฤติกรรมดังกล่าว ให้ผู้มีอานาจ
ส่งั พกั ราชการส่งั ให้ผู้นน้ั กลับเข้าปฏิบัตหิ น้าทีร่ าชการก่อนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสร็จสน้ิ

ข้อ ๘๐ ในกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง
จนถูกต้ังกรรมการสอบสวนหลายสานวน หรือถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาว่ากระทาความผิดในคดีอาญาหลายคดี
ถ้าจะสงั่ พักราชการในสานวนหรือคดีใดที่เข้าลักษณะตามข้อ ๗๘ ให้สั่งพักราชการในสานวนหรือคดีอื่นทุกสานวน
หรอื ทกุ คดีทเ่ี ข้าลกั ษณะตามขอ้ ๗๘ ดว้ ย

๒๒

ในกรณีที่ได้ส่ังพักราชการในสานวนใดหรือคดีใดไว้แล้ว ถ้าภายหลังปรากฏว่าผู้ถูกส่ังพักนั้นมีกรณี
ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวนในสานวนอ่ืน หรือถูกฟ้องคดีอาญาหรือ
ต้องหาในคดีอาญาในคดีอื่นเพ่ิมขึ้น ก็ให้ส่ังพักราชการในสานวนหรือคดีอ่ืนที่เพ่ิมขึ้นและเข้าลักษณะตามข้อ ๗๘
น้นั ด้วย

ข้อ ๘๑ การสงั่ พกั ราชการ ใหส้ ั่งพกั ตง้ั แตว่ ันออกคาส่งั เว้นแต่
(๑) ผู้ซ่ึงจะถูกสั่งพักราชการอยู่ในระหว่างถูกควบคุมหรือขังโดยเป็นผู้ถูกจับในคดีอาญาหรือต้อง
จาคุกโดยคาพพิ ากษา การสั่งพักราชการในเรอ่ื งนนั้ ใหส้ ั่งพกั ยอ้ นหลังไปถึงวันทถ่ี กู ควบคุม ขงั หรือต้องจาคุก
(๒) ในกรณีท่ีได้มีการส่ังพักราชการไว้แล้ว ถ้าจะต้องส่ังใหม่เพราะคาส่ังเดิมไม่ชอบหรือไม่ถูกต้อง
ใหส้ ั่งพักตงั้ แตว่ นั ใหพ้ กั ราชการตามคาสัง่ เดมิ หรือตามวนั ท่คี วรตอ้ งพักราชการในขณะทอี่ อกคาสง่ั เดิม
ข้อ ๘๒ คาส่ังพักราชการต้องระบุชื่อและตาแหน่งของผู้ถูกสั่งพักราชการ ตลอดจนกรณีและเหตุที่
ส่ังพกั ราชการ และวันท่ีคาสงั่ มีผลใชบ้ ังคบั
เมือ่ ได้มคี าสัง่ ใหผ้ ้ใู ดพักราชการ ใหแ้ จง้ คาสง่ั ให้ผู้นัน้ ทราบ และใหน้ าขอ้ ๗๓ มาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม
ข้อ ๘๓ ในกรณีที่ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีเหตุที่อาจถูกสั่งพักราชการตามข้อ ๗๘ และผู้บังคับบัญชา
ซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ พิจารณาเห็นว่าการสอบสวนหรือพิจารณา หรือการดาเนินคดีน้ัน จะไม่แล้วเสร็จ
โดยเร็ว ผู้บังคบั บัญชาดงั กลา่ วจะสง่ั ใหผ้ นู้ นั้ ออกจากราชการไวก้ ่อนก็ได้
ในกรณีท่ีได้สัง่ พักราชการไวแ้ ล้ว จะพจิ ารณาตามวรรคหนึ่งและส่ังให้ผู้ถูกส่ังพักราชการน้ัน ออกจาก
ราชการไว้กอ่ นแทนการสัง่ พักราชการก็ได้
ข้อ ๘๔ การส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน ให้ส่ังให้มีผลต้ังแต่วันออกคาสั่ง แต่ถ้าเป็นกรณีที่ได้สั่งให้
พักราชการไว้ก่อนแล้ว ให้สั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อนตั้งแต่วันสั่งพักราชการเป็นต้นไป หรือในกรณีที่มีเหตุ
ตามข้อ ๘๑ ให้ส่ังใหม้ ีผลตงั้ แต่วันทก่ี าหนดไว้ในข้อ ๘๑ น้นั
ให้นาข้อ ๗๙ ข้อ ๘๐ และขอ้ ๘๒ มาใช้บังคับแกก่ ารส่ังใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อนโดยอนโุ ลม
ข้อ ๘๕ การส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ดารงตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง หรือประเภท
วิชาการระดับทรงคุณวุฒิออกจากราชการไว้ก่อน ให้นาความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการให้พ้น
จากตาแหน่งนับแต่วันออกจากราชการไว้ก่อน
ข้อ ๘๖ เมื่อได้ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีที่ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
อยา่ งรา้ ยแรงจนถูกตัง้ กรรมการสอบสวน และปรากฏผลการสอบสวนหรอื พิจารณาแล้วใหด้ าเนินการดงั ต่อไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีผ้นู นั้ กระทาผดิ วนิ ัยอย่างร้ายแรง ใหด้ าเนนิ การตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณที ผ่ี นู้ น้ั กระทาผิดวินยั อย่างไมร่ ้ายแรง ใหส้ ง่ั ใหผ้ ูน้ ้ันกลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าที่ราชการ ตามข้อ ๙๑
แล้วดาเนินการตามมาตรา ๙๖ แต่หากมีกรณีใดกรณีหน่ึงดังต่อไปน้ี ให้ส่ังงดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง
โดยไม่ตอ้ งสัง่ ให้ผู้นนั้ กลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทร่ี าชการ และแสดงกรณีกระทาผิดวนิ ัยนนั้ ไว้ในคาส่ังด้วย

(ก) ผู้นน้ั ได้พ้นจากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผ้นู ้นั มีกรณที ีจ่ ะต้องถกู ส่งั ให้ออกจากราชการ

๒๓

(ค) ผู้น้นั ไดอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตอุ ื่นไปแล้ว โดยมใิ ช่เพราะเหตุตาย
(๓) ในกรณีที่ผู้น้ันมิได้กระทาผิดวินัย ให้สั่งให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการตามข้อ ๙๑ และ
สัง่ ยตุ ิเร่ือง แต่หากมกี รณีใดกรณีหนงึ่ ดงั ตอ่ ไปนี้ ให้ส่งั ยุติเรอ่ื งโดยไม่ต้องส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
และแสดงเหตทุ ีไ่ มส่ ่ังให้ผูน้ น้ั กลับเข้าปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการไวใ้ นคาสง่ั น้ันดว้ ย

(ก) ผนู้ น้ั ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการแลว้
(ข) ผู้นั้นมกี รณีที่จะต้องถูกส่ังให้ออกจากราชการ
(ค) ผนู้ น้ั ไดอ้ อกจากราชการด้วยเหตอุ ื่นไปแลว้ โดยมใิ ช่เพราะเหตตุ าย
(๔) ในกรณีท่ีผู้น้ันกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงหรือมิได้กระทาผิดวินัยแต่มีกรณีอื่นที่ผู้นั้นถูกส่ัง
พกั ราชการหรือถกู สง่ั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อนด้วย ถ้าจะดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ให้รอฟังผลการสอบสวน
หรือพิจารณาหรือผลแห่งคดีกรณีอ่ืนนั้น โดยยังไม่ต้องสั่งให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการ แต่ถ้าเป็นการ
สัง่ ยตุ เิ ร่อื ง ให้ส่ังยตุ ิเร่ืองโดยไมต่ ้องสัง่ ให้ผนู้ ัน้ กลบั เข้าปฏบิ ัตหิ น้าท่รี าชการและแสดงเหตุที่ไม่สั่งให้ผู้น้ันกลับเข้า
ปฏบิ ัติหน้าทรี่ าชการไวใ้ นคาสัง่ นนั้ ดว้ ย
ข้อ ๘๗ เม่ือได้ส่ังให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณีท่ีถูกกล่าวหาว่า
กระทาผิดวนิ ัยอย่างร้ายแรงจนถกู ต้ังกรรมการสอบสวน และปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาแล้วให้ดาเนินการ
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ในกรณที ่ผี นู้ น้ั กระทาผิดวินยั อย่างร้ายแรง ใหด้ าเนินการตามมาตรา ๙๗
(๒) ในกรณีท่ีผู้น้ันกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง และไม่มีกรณีที่จะต้องถูกส่ังให้ออกจากราชการ
ด้วยเหตุอ่ืน ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการตามข้อ ๙๑ แล้วดาเนินการตามมาตรา ๙๖ แต่หากมีกรณีใด
กรณีหนึง่ ดงั ต่อไปนี้ ใหส้ ่ังงดโทษตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง โดยไมต่ อ้ งสงั่ ให้ผู้นน้ั กลับเข้ารับราชการและแสดง
กรณีกระทาผิดวนิ ัยนน้ั ไวใ้ นคาสั่งด้วย
(ก) ผนู้ นั้ ต้องพ้นจากราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ
(ข) ผู้นั้นมกี รณีทจ่ี ะต้องถูกสั่งใหอ้ อกจากราชการ
(ค) ผูน้ ั้นไดอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตอุ นื่ ไปแล้ว โดยมิใช่เพราะเหตุตาย
(๓) ในกรณีที่ผู้น้ันมิได้กระทาผิดวินัย ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการตามข้อ ๙๑ และส่ังยุติเรื่อง
แต่หากมีกรณีใดกรณีหน่ึงดังต่อไปน้ี ให้ส่ังยุติเร่ืองโดยไม่ต้องสั่งให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการ และแสดงเหตุท่ี
ไมส่ ั่งใหผ้ ู้น้นั กลบั เขา้ รบั ราชการไว้ในคาส่งั น้ันด้วย
(ก) ผนู้ ั้นตอ้ งพน้ จากราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
(ข) ผนู้ ้ันมีกรณีท่จี ะต้องถกู สัง่ ให้ออกจากราชการ
(ค) ผู้นั้นไดอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตอุ ืน่ ไปแลว้ โดยมใิ ชเ่ พราะเหตตุ าย
(๔) ในกรณที ผี่ ้นู ั้นกระทาผดิ วินยั อย่างไม่ร้ายแรงหรือมิได้กระทาผิดวินัย แต่มีกรณีอื่นท่ีผู้นั้นถูกส่ังให้
ออกจากราชการไว้ก่อนดว้ ย ถ้าจะดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ให้รอฟังผลการสอบสวนหรือพิจารณาหรือผลแห่งคดี

๒๔

กรณอี น่ื นนั้ โดยยังไมต่ ้องสัง่ ใหผ้ ู้นั้นกลบั เขา้ รับราชการ แตถ่ า้ เป็นการสั่งยุติเร่ืองให้ส่ังยุติเร่ืองโดยไม่ต้องสั่งให้ผู้น้ัน
กลับเขา้ รบั ราชการ และแสดงเหตุทไี่ มส่ งั่ ใหผ้ ูน้ ้นั กลบั เข้ารับราชการไว้ในคาสงั่ นน้ั ดว้ ย

(๕) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง แต่มีกรณีที่ผู้น้ันถูกส่ังพักราชการในกรณีอื่นด้วย
ให้ส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคาสั่งด้วยว่าผู้นั้นยังไม่อาจกลับเข้าปฏิ บัติหน้าที่ราชการได้
เนื่องจากอยู่ในระหว่างถูกส่ังพักราชการในกรณีอ่ืน ส่วนการดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ให้รอฟังผลการสอบสวน
หรอื พจิ ารณาหรือผลแหง่ คดกี รณีอน่ื น้นั

(๖) ในกรณีที่ผู้นั้นมิได้กระทาผิดวินัย แต่มีกรณีที่ผู้นั้นถูกส่ังพักราชการในกรณีอื่นด้วย ให้สั่งยุติเรื่อง
และส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคาส่ังด้วยว่าผู้นั้นยังไม่อาจกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้
เนื่องจากอย่ใู นระหวา่ งถูกส่งั พักราชการในกรณีอน่ื นัน้

ข้อ ๘๘ เมื่อไดส้ ง่ั ให้ขา้ ราชการพลเรือนสามัญผู้ใดพักราชการในกรณีท่ีถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาว่า
กระทาความผดิ อาญา และปรากฏผลแห่งคดถี ึงทส่ี ดุ แล้ว ให้ดาเนนิ การดังต่อไปน้ี

(๑) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษที่หนักกว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษา
ถึงทส่ี ดุ เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาหรบั ความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้ดาเนินการตามมาตรา ๙๗
โดยไม่ตอ้ งสั่งให้ผู้นน้ั กลบั เข้าปฏิบัตหิ นา้ ทรี่ าชการ

(๒) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดในความผิดท่ีได้กระทา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจาคุกโดยคาสั่งของศาล ให้ดาเนินการตามมาตรา ๙๓ หรือ
มาตรา ๑๑๐ (๘) แลว้ แตก่ รณี โดยไม่ตอ้ งสงั่ ให้ผู้น้ันกลับเขา้ ปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการ

(๓) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษตาม (๑) หรือ (๒) แต่ศาลรอการกาหนดโทษหรือ
ให้รอการลงโทษ หรือได้รับโทษอย่างอื่นนอกจาก (๑) หรือ (๒) ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ตามขอ้ ๙๑ และดาเนินการทางวนิ ัยตามกฎ ก.พ. น้ตี ่อไป

(๔) ในกรณีที่ในคาพิพากษาถึงที่สุดมิได้วินิจฉัยว่าผู้น้ันกระทาผิดอาญา หรือมิได้มีการฟ้องคดีอาญา
ในกรณที ่ตี อ้ งหาวา่ กระทาผดิ อาญา ให้สง่ั ให้ผนู้ ้ันกลบั เข้าปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ราชการตามข้อ ๙๑ และถ้าการกระทาดังกล่าว
มีมูลท่ีควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยกใ็ ห้ดาเนินการตามกฎ ก.พ. นีต้ ่อไป

ในกรณีที่ผู้ถูกส่ังพักราชการตาม (๓) หรือ (๔) ได้พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญ
ข้าราชการ หรือมีกรณีทจี่ ะตอ้ งถูกสัง่ ให้ออกจากราชการดว้ ยเหตุอื่น หรือได้ออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืนไปแล้ว
หรือมกี รณีอ่ืนท่ีผนู้ ้นั ถกู สง่ั พักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน ไม่ต้องส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการ
แต่ให้แสดงเหตุทีไ่ มส่ ่งั ใหผ้ ู้นน้ั กลบั เข้าปฏบิ ัติหน้าทรี่ าชการไว้ด้วย

ข้อ ๘๙ เมื่อได้สั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดออกจากราชการไว้ก่อนในกรณีที่ถูกฟ้องคดีอาญา
หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา และปรากฏผลแหง่ คดถี งึ ที่สุดแลว้ ให้ดาเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี

(๑) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษท่ีหนักกว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษา
ถงึ ทส่ี ุด เวน้ แตเ่ ปน็ โทษสาหรบั ความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ให้ดาเนินการตามมาตรา ๙๗
โดยไมต่ อ้ งสัง่ ให้ผู้นั้นกลับเข้ารบั ราชการ

๒๕

(๒) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงท่ีสุดในความผิดท่ีได้กระทา
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษหรือต้องรับโทษจาคุกโดยคาส่ังของศาล ให้ดาเนินการตามมาตรา ๙๓ หรือ
มาตรา ๑๑๐ (๘) แล้วแต่กรณี โดยไม่ตอ้ งสงั่ ให้ผนู้ นั้ กลบั เข้ารบั ราชการ

(๓) ในกรณีที่ผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษตาม (๑) หรือ (๒) แต่ศาลรอการกาหนดโทษหรือ
ให้รอการลงโทษ หรือได้รับโทษอย่างอ่ืนนอกจาก (๑) หรือ (๒) ให้ส่ังให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการตามข้อ ๙๑
และดาเนนิ การทางวินยั ตามกฎ ก.พ. น้ีตอ่ ไป

(๔) ในกรณีท่ีในคาพิพากษาถึงที่สุดมิได้วินิจฉัยว่าผู้น้ันกระทาผิดอาญา หรือมิได้มีการฟ้องคดีอาญา
ในกรณีที่ต้องหาว่ากระทาผิดอาญา ให้สั่งให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการตามข้อ ๙๑ และถ้าการกระทาดังกล่าว
มีมลู ท่ีควรกลา่ วหาว่ากระทาผิดวนิ ัยกใ็ ห้ดาเนินการตามกฎ ก.พ. น้ีตอ่ ไป

ในกรณีที่ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนตาม (๓) หรือ (๔) มีกรณีอื่นท่ีถูกสั่งพักราชการด้วย
ให้ส่ังให้ผู้นั้นกลับเข้ารับราชการโดยให้แสดงไว้ในคาส่ังด้วยว่าผู้นั้นยังไม่อาจกลับเข้าปฏิบัติหน้าท่ีราชการได้
เน่ืองจากอยู่ในระหว่างถูกสั่งพักราชการในกรณีอ่ืน แต่ถ้าผู้นั้นได้พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จ
บานาญข้าราชการ หรือมีกรณีท่ีจะต้องถูกสั่งให้ออกจากราชการด้วยเหตุอ่ืน หรือได้ออกจากราชการด้วยเหตุอื่น
ไปแล้ว หรือมีกรณีอ่ืนที่ผู้นั้นถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ไม่ต้องสั่งให้ผู้น้ันกลับเข้ารับราชการแต่ให้แสดงเหตุ
ที่ไม่สงั่ ใหผ้ นู้ ั้นกลับเขา้ รับราชการไว้ด้วย

ขอ้ ๙๐ ในกรณีท่ีข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดมีกรณีท่ีถูกดาเนินการทางวินัย หรือถูกฟ้องคดีอาญา
หรือต้องหาว่ากระทาความผิดอาญาท่ีไม่เข้าลักษณะตามข้อ ๗๘ และมีกรณีอ่ืนท่ีผู้นั้นถูกสั่งพักราชการหรือ
ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อน เมื่อปรากฏผลการสอบสวนพิจารณาหรือผลแห่งคดีถึงที่สุดในเร่ืองที่มิได้
มคี าสงั่ พกั ราชการหรอื ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน ให้ดาเนินการดังนี้

(๑) ในกรณที ่ผี ูน้ นั้ กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง หรือผู้น้ันกระทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุกหรือโทษ
ทห่ี นกั กว่าโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดเว้นแต่เป็นโทษจาคุกสาหรับความผิดท่ีได้กระทาโดยประมาทหรือ
ความผดิ ลหโุ ทษ ใหด้ าเนินการตามมาตรา ๙๗

(๒) ในกรณีท่ีผู้นั้นกระทาผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ให้รอการดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ไว้ก่อน จนกว่า
จะปรากฏผลการสอบสวนพจิ ารณาหรอื ผลแหง่ คดถี ึงที่สุดในกรณอี ่นื นน้ั จงึ ดาเนนิ การตามควรแก่กรณีต่อไป

(๓) ในกรณีท่ีสมควรให้ผู้น้ันออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) (๗) หรือ (๘) ให้ดาเนินการให้ผู้นั้น
ออกจากราชการได้

(๔) ในกรณีทผ่ี ู้นั้นมิได้กระทาผิดวินยั ในเรอื่ งนั้น ให้สงั่ ยุติเร่ือง
ข้อ ๙๑ ในกรณีท่ีจะต้องสั่งให้ผู้ถูกสั่งพักราชการผู้ใดกลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ หรือต้องส่ังให้
ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนผู้ใดกลับเข้ารับราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
ส่งั ให้ผนู้ ัน้ กลบั เข้าปฏบิ ตั ิหน้าที่ราชการหรอื กลับเข้ารบั ราชการในตาแหน่งตามเดิม หรือตาแหน่งอื่นในประเภท
เดียวกันและระดับเดียวกัน หรือในตาแหน่งประเภทและระดับท่ี ก.พ. กาหนด ทั้งนี้ ผู้น้ันต้องมีคุณสมบัติ
ตรงตามคณุ สมบตั ิเฉพาะสาหรับตาแหน่งน้ัน

๒๖

ในกรณีท่ีส่ังให้ผู้ถูกส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนกลับเข้ารับราชการในตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง
หรอื ประเภทวิชาการระดับทรงคุณวุฒิ ให้ดาเนนิ การนาความกราบบังคมทูลเพอ่ื ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ต้ัง

ข้อ ๙๒ คาสั่งพักราชการ คาสัง่ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน คาสั่งให้กลับเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการหรือ
คาส่ังให้กลับเขา้ รบั ราชการ ใหม้ ีสาระสาคัญตามแบบท่สี านกั งาน ก.พ. กาหนด

หมวด ๙
การนบั ระยะเวลา

ข้อ ๙๓ การนบั ระยะเวลาตามกฎ ก.พ. น้ี ถ้ากาหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ หรือเดือน มิให้นับวันแรก
แห่งระยะเวลาน้ันรวมเข้าด้วย เว้นแต่คณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ซึ่งต้องใช้อานาจตามกฎ ก.พ. น้ีจะได้
เริ่มการในวันนน้ั

ในกรณีท่ีคณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ซึ่งต้องใช้อานาจตามกฎ ก.พ. นี้ ต้องกระทาการอย่างหน่ึงอย่างใด
ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด ให้นับวนั สนิ้ สดุ ของระยะเวลาน้นั รวมเข้าด้วยแมว้ า่ วนั สุดทา้ ยเปน็ วนั หยดุ ราชการ

ในกรณีท่ีบุคคลอื่นนอกจากที่กาหนดไว้ในวรรคสองต้องทาการอย่างหน่ึงอย่างใดภายในระยะเวลา
ทก่ี าหนด ถ้าวันสดุ ทา้ ยเปน็ วันหยดุ ราชการ ใหถ้ อื วา่ ระยะเวลานน้ั สิ้นสดุ ในวันทางานทถ่ี ัดจากวนั หยดุ นั้น

หมวด ๑๐
บทเบด็ เตล็ด

ข้อ ๙๔ ในกรณีท่ีมีเหตุผลความจาเป็นเป็นพิเศษที่ไม่อาจนาหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลา
ท่กี าหนดในกฎ ก.พ. น้ีมาใช้บังคบั ได้ การดาเนินการในเรื่องนนั้ จะสมควรดาเนนิ การประการใด ให้เป็นไปตามท่ี
ก.พ. กาหนด

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๙๕ ในกรณีที่ได้มีการสั่งให้สอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้องตามกฎหมาย
กฎ ระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์ท่ใี ชอ้ ยกู่ อ่ นวันท่ีกฎ ก.พ. นี้ใช้บังคับ และการสอบสวนนั้นยังไม่แล้วเสร็จให้ดาเนินการ
สอบสวนผู้น้ันตามกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือหลักเกณฑ์ที่ใช้อยู่ในขณะนั้นต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ ส่วนการ
พจิ ารณาและดาเนินการต่อไปใหด้ าเนินการตามกฎ ก.พ. น้ี

ข้อ ๙๖ ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดโดยถูกต้องตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ท่ีใช้อยู่ในขณะนั้นเสร็จไปแล้วในวันก่อนวันที่กฎ ก.พ. น้ีใช้บังคับ แต่ยังมิได้มีการ

๒๗

พิจารณาและดาเนินการต่อไปหรือการพิจารณาดาเนินการยังไม่แล้วเสร็จ ให้การสอบสวนนั้นเป็นอันใช้ได้
สว่ นการพิจารณาและดาเนนิ การต่อไปให้ดาเนินการตามกฎ ก.พ. นี้

ข้อ ๙๗ ในกรณีที่ได้มีการสอบสวนและพิจารณาโดยถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือหลักเกณฑ์
ทใ่ี ชอ้ ยใู่ นขณะนนั้ เสรจ็ ไปแลว้ ก่อนวันท่ีกฎ ก.พ. นี้ใช้บังคับ แต่ยังมิได้ดาเนินการให้เป็นไปตามผลการพิจารณา
ดงั กลา่ ว ให้การสอบสวนและพิจารณาน้ันเป็นอนั ใชไ้ ด้ สว่ นการดาเนินการตอ่ ไปให้ดาเนินการตามกฎ ก.พ. น้ี

ในกรณีที่จะตอ้ งส่งั ลงโทษตัดเงินเดือนหรือลดข้ันเงินเดือนข้าราชการพลเรือนสามัญผู้กระทาผิดวินัย
อย่างไม่ร้ายแรงก่อนวันที่กฎ ก.พ. น้ีใช้บังคับ แต่ยังไม่ได้สั่งลงโทษ ให้สั่งลงโทษตามข้อ ๖๗ (๒) หรือ (๓)
แลว้ แต่กรณี

ข้อ ๙๘ ในกรณีที่ได้มีการสั่งพักราชการหรือส่ังให้ออกจากราชการไว้ก่อนโดยถูกต้องตามกฎหมาย
กฎ ระเบยี บ หรือหลกั เกณฑ์ทใี่ ชอ้ ยู่กอ่ นวันทีก่ ฎ ก.พ. นี้ใช้บังคับ และการสอบสวนหรือการพิจารณาน้ันยังไม่เสร็จ
ให้การสงั่ พักราชการหรือสั่งให้ออกจากราชการไวก้ อ่ นนน้ั มผี ลต่อไปตามกฎ ก.พ. นี้ จนกว่าจะมกี ารส่งั การเป็นอย่างอื่น
ตามกฎ ก.พ. น้ี

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๑๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖

พงศเ์ ทพ เทพกาญจนา
รองนายกรฐั มนตรี
ประธาน ก.พ.

๒๘

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎ ก.พ. ฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๙๔ (๔) มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ วรรคสี่ มาตรา ๙๗ วรรคสอง มาตรา ๑๐๑
วรรคแปด และมาตรา ๑๐๕ บัญญัติให้การดาเนินการทางวินัยเป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ.
จงึ จาเป็นต้องออกกฎ ก.พ. น้ี

๒๙

สรปุ สาระสาคญั
กฎ ก.พ. ว่าดว้ ยการดาเนินการทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖

ก.พ. ได้กำหนด กฎ ก.พ. ว่ำด้วยกำรดำเนินกำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยอำศัยอำนำจตำมมำตรำ
๘ (๕) และหมวด ๗ กำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ัย ตำมมำตรำ ๙๔ มำตรำ ๙๕ มำตรำ ๙๖ มำตรำ ๙๗ มำตรำ ๑๐๑
และมำตรำ ๑๐๕ แหง่ พระรำชบญั ญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซ่ึง กฎ ก.พ. ฉบับนี้ได้ประกำศ
ในรำชกจิ จำนุเบกษำเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ ธนั วำคม ๒๕๕๖ โดยให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกำหนดหกสิบวัน นับแต่วันประกำศ
ในรำชกจิ จำนุเบกษำเป็นต้นไป

กฎ ก.พ. ว่ำด้วยกำรดำเนินกำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกอบด้วย ๑๐ หมวด และบทเฉพำะกำล
รวมทั้งส้ิน ๙๘ ข้อ โดยสำนักมำตรฐำนวินัย สำนักงำน ก.พ. ได้สรุปสำระสำคัญของ กฎ ก.พ. ฉบับน้ีไว้
ดังต่อไปนี้

หมวด ๑
การดาเนนิ การเม่ือมกี ารกลา่ วหาหรือมกี รณเี ป็นทส่ี งสยั วา่ มกี ารกระทาผดิ วนิ ยั

หมวดน้ีเป็นกำรกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรของกำรดำเนินกำรตำมนัย มำตรำ ๙๐ แห่งพระรำชบัญญัติ
ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ อันเป็นบทบัญญัติท่ีกำหนดที่มำของกำรดำเนินกำรทำงวินัย
แก่ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ โดย “หมวด ๑ กำรดำเนินกำรเมื่อมีกำรกล่ำวหำหรือมีกรณีเป็นท่ีสงสัยว่ำมีกำร
กระทำผิดวินยั ”ได้กำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีกำรท่ีสำคัญไว้ ดังนี้

๑. กำรกลำ่ วหำขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมญั ทมี่ ีพฤตกิ ำรณ์กระทำผดิ วนิ ัย
๒. กำรจำแนกกรณีเปน็ ที่สงสยั ว่ำขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมัญผ้ใู ดกระทำผดิ วนิ ยั
๓. กำรกำหนดวธิ ีกำรรำยงำนของผบู้ ังคับบญั ชำไปยงั ผูบ้ ังคับบญั ชำซึง่ มอี ำนำจ สัง่ บรรจุตำมมำตรำ ๕๗

๓๐

สาระสาคญั
๑. กรณีมีกำรกล่ำวหำต่อผู้บังคับบัญชำว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัยตำมข้อ ๓

ของกฎ ก.พ. ว่ำดว้ ยกำรดำเนินกำรทำงวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖
“กำรกล่ำวหำ” คอื กำรรอ้ งเรยี นกล่ำวโทษระบวุ ่ำมีขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมัญ มีพฤติกำรณ์หรือมีกำร

กระทำที่เป็นควำมผิดทำงวินัยตำมพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะเป็น
กำรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรง หรือ ไม่ร้ำยแรง ซึ่งกำรกล่ำวหำมีได้ทั้งกำรกล่ำวหำท่ีเป็นหนังสือ
และกำรกล่ำวหำด้วยวำจำ แตก่ ำรกลำ่ วหำทงั้ สองวธิ ดี งั กล่ำว ต้องเป็นกำรกล่ำวหำต่อผู้บังคับบัญชำในระดับใด
ก็ได้ ถงึ จะเปน็ กำรกลำ่ วหำเพอ่ื ให้ดำเนินกำรต่อไปตำมหมวดนี้

กำรกล่ำวหำเป็นหนังสือตำมข้อ ๓ วรรคหนึ่ง นั้น ต้องมีรำยละเอียดอันได้แก่ กำรระบุชื่อและ
ลงลำยมือช่ือผู้กล่ำวหำ ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ถูกกล่ำวหำหรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอให้ทรำบว่ำเป็นกำร
กล่ำวหำขำ้ รำชกำรพลเรือนสำมัญผใู้ ด นอกจำกน้ี ยังต้องมีข้อเท็จจริงหรือพยำนหลักฐำนเบื้องต้นเพียงพอที่จะ
ให้เข้ำใจได้ว่ำผู้นั้นมีพฤติกำรณ์หรือกำรกระทำผิดอย่ำงไร หรือเพียงพอ ท่ีจะสำมำรถสืบสวนเพ่ือค้นหำควำม
จริงตอ่ ไปได้

กำรกล่ำวหำด้วยวำจำตำมข้อ ๓ วรรคสอง น้ัน ผู้บังคับบัญชำผู้ท่ีได้รับฟัง กำรกล่ำวหำน้ันจะต้อง
จัดทำบันทึกคำกล่ำวหำโดยให้มีรำยละเอียดเพียงพอเช่นเดียวกับ กำรกล่ำวหำเป็นหนังสือ และให้ผู้กล่ำวหำ
ดงั กล่ำวลงลำยมอื ช่อื ไว้เปน็ หลักฐำน ท้งั นี้ เพื่อให้ปรำกฏหลกั ฐำนกำรกล่ำวหำเป็นลำยลักษณอ์ ักษร

๒. กรณีเป็นท่ีสงสัยว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัยตำมข้อ ๔ ของกฎ ก.พ. ว่ำด้วย
กำรดำเนินกำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖

สำระสำคัญของขอ้ ๔ นี้ เป็นกำรกำหนดหลักเกณฑ์ในกรณีท่ีปรำกฏว่ำมีกำรกล่ำวหำว่ำมีข้ำรำชกำร
พลเรือนสำมัญกระทำผิดวินัยแต่ไม่ปรำกฏตัวผู้กล่ำวหำ และรวมท้ังกรณีที่ผู้บังคับบัญชำได้พบเห็นข้อเท็จจริง
หรือพฤติกำรณ์อันเป็นท่ีสงสัยว่ำผู้อยู่ใต้บังคับบัญชำกระทำผิดวินัย ซ่ึงทั้งสองกรณีจะต้องปรำกฏพยำนหลักฐำน
เพียงพอที่จะสืบสวน สอบสวนต่อไปได้ว่ำมีข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญกระทำผิดวินัยหรือไม่ โดยรำยละเอียด
แตล่ ะกรณีมดี ังตอ่ ไปน้ี

๓๑

๒.๑ กรณีเปน็ ทสี่ งสยั ตำมข้อ ๔ (๑) นั้น เป็นกรณีที่มีกำรกล่ำวหำ โดยไม่ได้ระบุชื่อหรือลงลำยมือช่ือ
ของผู้กล่ำวหำ แต่ระบุเพียงชื่อหรือตำแหน่ง ของผู้ถูกกล่ำวหำ หรือข้อเท็จจริงที่เพียงพอให้ทรำบว่ำเป็นกำร
กล่ำวหำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใด โดยมีข้อเท็จจริงเพียงพอที่จะให้เข้ำใจได้ว่ำผู้นั้นมีพฤติกำรณ์หรือกำร
กระทำผิดอย่ำงไร หรือเพียงพอที่จะสำมำรถสืบสวนสอบสวนเพ่ือค้นหำควำมจริงต่อไปได้ ซ่ึงกำรกล่ำวหำ
ในกรณีนี้ก็คือ กำรร้องเรียนกล่ำวหำโดย “บัตรสนเท่ห์” ดังนั้น บัตรสนเท่ห์ ก็อำจเป็นท่ีมำท่ีทำให้มีกำร
ดำเนินกำรทำงวนิ ัยกบั ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้น้ันได้ ถ้ำพิจำรณำแล้วเห็นว่ำบัตรสนเท่ห์น้ัน มีหลักฐำนหรือ
มีกรณีแวดลอ้ มปรำกฏชัดแจ้ง ตลอดจนชี้พยำนบคุ คลแนน่ อน๑

๒.๒ กรณีเป็นที่สงสัยตำมข้อ ๔ (๒) น้ัน เป็นกรณีท่ีข้อเท็จจริงหรือพฤติกำรณ์ได้ปรำกฏต่อผู้บังคับบัญชำเอง
ทำให้เป็นที่สงสัยว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัย และมีพยำนหลักฐำนเพียงพอท่ีจะสืบสวน
สอบสวนต่อไปได้ โดยกรณีนี้ถือว่ำเป็นกำรปฏิบัติหน้ำท่ีของผู้บังคับบัญชำตำมท่ีกฎหมำยบัญญัติไว้ ดังนั้น
ผบู้ ังคบั บญั ชำดงั กล่ำวจึงไมไ่ ดเ้ ป็นผู้กลำ่ วหำตำมข้อ ๓

ท้ังนี้ กรณีเป็นที่สงสัยว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัย ตำมข้อ ๔ (๑) และ (๒) เป็น
เพยี งแคก่ ำรกำหนดบำงลักษณะของกรณเี ป็นที่สงสัยเท่ำนน้ั ซึง่ ก็อำจมีลักษณะอ่ืนๆ ได้อีก หำกลักษณะน้ันเป็น
กรณีทไ่ี ด้ปรำกฏข้อเท็จจริงหรือพฤติกำรณ์ว่ำ มีข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัย และมีพยำนหลักฐำน
เพียงพอทจ่ี ะสืบสวนสอบสวนต่อไปได้

๑ หนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๖/ว ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๕ ธันวำคม ๒๕๔๑ เร่ือง หลักเกณฑ์และแนวทำงปฏิบัติเก่ียวกับ
กำรร้องเรียนกลำ่ วโทษข้ำรำชกำรและกำรสอบสวนเรื่องรำวรอ้ งเรียนกล่ำวโทษขำ้ รำชกำรว่ำกระทำผิดวนิ ยั

๓๒

๓. กำรรำยงำนของผู้บังคับบัญชำไปยังผู้บังคับบัญชำซ่ึงมีอำนำจสั่งบรรจุ ตำมมำตรำ ๕๗ ตำมข้อ ๒
ของกฎ ก.พ. ว่ำดว้ ยกำรดำเนนิ กำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖

เม่ือควำมปรำกฏกับผู้บังคับบัญชำว่ำมีกำรกล่ำวหำหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่ำข้ำรำชกำรพลเรือน
สำมัญผู้ใดกระทำผิดวนิ ยั ตำมรำยละเอยี ดขำ้ งตน้ แล้ว หำกผู้บังคับบัญชำ ท่ีรับทรำบเร่ืองนั้นไม่ใช่ผู้บังคับบัญชำ
ซ่ึงมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวก็มีหน้ำท่ีต้องรำยงำนตำมมำตรำ ๙๐ วรรคหนึ่ง
ประกอบกับข้อ ๒ โดยกำรรำยงำนต้องจัดทำเป็นหนังสือ ที่ระบุช่ือผู้กล่ำวหำ (ถ้ำมี) ชื่อและตำแหน่งของ
ผู้ถูกกล่ำวหำ ข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำนที่เกี่ยวข้องกับกำรกล่ำวหำหรือกรณีท่ีเป็นที่สงสัย และรำยงำน
ตำมลำดับชัน้ ไปจนถงึ ผบู้ งั คับบัญชำซ่ึงมอี ำนำจส่งั บรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ให้รับทรำบ เพ่ือดำเนินกำรตำมอำนำจ
หนำ้ ที่ต่อไป

แต่หำกผู้บังคับบัญชำที่ทรำบเรื่องนั้นเป็นผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗
ผู้บังคับบัญชำดังกล่ำวก็ต้องรีบดำเนินกำรตำมที่บัญญัติในพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.
๒๕๕๑ นตี้ อ่ ไปโดยเร็ว

๓๓

หมวด ๒
การสบื สวนหรอื พจิ ารณาในเบอื้ งต้น

หมวดน้ีเป็นกำรกล่ำวถึงหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรของผบู้ งั คับบญั ชำซ่ึงมีอำนำจ ส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗
ทไ่ี ด้รบั ทรำบกำรรำยงำนตำมข้อ ๒ หรอื เป็นกรณที ีผ่ ู้บังคับบญั ชำ ซึ่งมอี ำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ รับทรำบ
เรื่องกล่ำวหำหรือกรณีเป็นท่ีสงสัยว่ำข้ำรำชกำร พลเรือนสำมัญผู้ใด กระทำผิดวินัยด้วยตนเองตำมข้อ ๔ ของ
“หมวด ๑ กำรดำเนนิ กำร เมือ่ มกี ำรกล่ำวหำหรือมีกรณีเปน็ ทสี่ งสัยว่ำมกี ำรกระทำผิดวนิ ัย”

สาระสาคัญ
“หมวด ๒ กำรสืบสวนหรือพิจำรณำในเบ้ืองต้น” ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรกำรดำเนินกำร

ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติตำมมำตรำ ๙๑ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไว้
กล่ำวคือ

๑. ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ มีอำนำจหน้ำที่ในกำรพิจำรณำว่ำเร่ือง
ท่ีกล่ำวหำหรือกรณีเป็นที่สงสัยน้ัน มีมูลที่ควรกล่ำวหำว่ำผู้อยู่ใต้บังคับบัญชำน้ันกระทำผิดวินัยหรือไม่ ส่วนใน
กำรดำเนินกำรของผู้บังคับบัญชำซ่ึงมีอำนำจส่ังบรรจุ ตำมมำตรำ ๕๗ เพื่อพิจำรณำในเร่ืองดังกล่ำว สำมำรถ
ดำเนินกำรไดต้ ำมท่กี ำหนดในขอ้ ๕ ของกฎ ก.พ. ว่ำดว้ ยกำรดำเนินกำรทำงวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖ ดังนี้

๑.๑ ข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำนท่ีปรำกฏในเบ้ืองต้นเพียงพอแก่กำรพิจำรณำแล้ว ตำมข้อ ๕ (๑)
ก็ใหผ้ ู้บังคบั บัญชำซึง่ มอี ำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ พิจำรณำว่ำกรณนี ้นั มมี ลู ทีค่ วรกลำ่ วหำว่ำผนู้ ้ันกระทำผิดวินัย
หรอื ไม่ อย่ำงไร โดยจะไมท่ ำกำรสบื สวนกไ็ ด้

๓๔

๑.๒ ข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำนท่ีมีนั้น ยังไม่เพียงพอที่จะพิจำรณำได้ ก็ให้ผู้บังคับบัญชำซ่ึงมี
อำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ดำเนินกำรสืบสวนตำมข้อ ๕ (๒) เพื่อรวบรวมพยำนหลักฐำนเพ่ิมเติม ทั้งนี้
จะดำเนินกำรด้วยตนเอง หรือจะให้ข้ำรำชกำร พลเรือนสำมัญหรือเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวข้องกับเรื่องน้ันเป็น
ผ้ดู ำเนนิ กำรสืบสวนแลว้ รำยงำนมำเพอื่ พจิ ำรณำต่อไปก็ได้

อนึ่ง คำว่ำ “กำรสืบสวน” ดังกล่ำวข้ำงต้น หมำยถึง กำรสืบหำข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำน
ในเบื้องต้นเพื่อใช้ประกอบกำรพิจำรณำว่ำกรณีมีมูลที่ควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยหรือไม่ นอกจำกน้ี
กำรสบื สวนใหท้ ำในทำงลบั ๒ เพ่ือไม่ให้เกดิ ควำมเสยี หำย แก่ข้ำรำชกำรผู้ถูกดำเนินกำรหรือบุคคลภำยนอก เช่น
ผู้กล่ำวหำ หรอื พยำน เปน็ ตน้

๒. ในกรณที ่ีผู้บงั คับบญั ชำซง่ึ มอี ำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ พิจำรณำแล้วเห็นว่ำเรื่องดังกล่ำวมีมูล
ที่ควรกล่ำวหำวำ่ ข้ำรำชกำรพลเรอื นสำมัญผู้นั้นกระทำผิดวินัย กล่ำวคือ ผู้บังคับบัญชำซ่ึงมีอำนำจส่ังบรรจุตำม
มำตรำ ๕๗ ได้พิจำรณำและเห็นว่ำกรณีปรำกฏพยำนหลักฐำนเพียงพอท่ีเชื่อได้ว่ำผู้นั้นกระทำผิดวินัย ก็ให้
ดำเนนิ กำรตำมข้อ ๖ ของกฎ ก.พ. วำ่ ด้วยกำรดำเนินกำรทำงวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖ ดังนี้

๒.๑ ในกรณีที่เห็นว่ำมีมูลเป็นกำรกระทำผิดวินัยอย่ำงไม่ร้ำยแรง (ตำมมำตรำ ๘๑ – ๘๓ แห่ง
พระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑) ก็ให้ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗
ดำเนินกำรตำม“หมวด ๓ กำรดำเนนิ กำร ในกรณีมมี ลู ท่ีควรกลำ่ วหำว่ำกระทำผิดวินยั อย่ำงไมร่ ้ำยแรง” ต่อไป

๒.๒ ในกรณีท่ีเหน็ ว่ำมมี ลู เปน็ กำรกระทำผดิ วินยั อย่ำงร้ำยแรง (ตำมมำตรำ ๘๕ แห่งพระรำชบัญญัติ
ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑) ก็ให้ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ดำเนินกำร
ตำม “หมวด ๔ กำรดำเนินกำรในกรณมี มี ลู ท่คี วรกลำ่ วหำว่ำกระทำผิดวินัยอยำ่ งร้ำยแรง” ตอ่ ไป

๒ หนังสือสำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ที่ นร ๐๒๐๖/ว ๒๑๘ ลงวันที่ ๒๕ ธันวำคม ๒๕๔๑ เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวทำงปฏิบัติเกี่ยวกับ
กำรร้องเรียนกลำ่ วโทษข้ำรำชกำรและกำรสอบสวนเรอื่ งรำวร้องเรยี นกล่ำวโทษขำ้ รำชกำรวำ่ กระทำผิดวินัย

๓๕
๓. ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ พิจำรณำแล้วเห็นว่ำเร่ืองดังกล่ำว
ไม่มีมูลทีค่ วรกลำ่ วหำว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัย โดยอำจเป็นกรณีตำมที่กำหนดไว้ในข้อ ๗
ของกฎ ก.พ. ว่ำด้วยกำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖ กลำ่ วคือ ไม่มีพยำนหลักฐำนเพียงพอที่จะทรำบได้ว่ำ
ขำ้ รำชกำรผ้ใู ด เป็นผู้กระทำผดิ วนิ ัยหรอื น่ำเช่ือได้ว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้นั้นกระทำผิดวินัย ไม่มีพยำนหลักฐำน
เพียงพอทจี่ ะดำเนินกำรสืบสวนสอบสวนต่อไปได้ หรือกำรกระทำนั้นไม่เป็นควำมผิดวินัย เช่นนี้ ผู้บังคับบัญชำ
ซ่ึงมอี ำนำจสงั่ บรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ตอ้ งให้ยุติเรอ่ื งดังกลำ่ ว
อนึ่ง วิธีกำรตำมหมวดน้ีถือว่ำมีควำมสำคัญมำกเช่นกัน เพรำะหำกดำเนินกำร ไม่ถูกต้องตำมวิธีกำร
ท่ีบัญญัติไว้นี้ ก็อำจเป็นเหตุให้ผู้ถูกดำเนินกำรทำงวินัยร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์ได้ เช่น กล่ำวหำว่ำข้ำรำชกำร
พลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัยและดำเนินกำรสอบสวนพิจำรณำควำมผิดโดยไม่ได้สืบสวนหรือพิจำรณำให้
เห็นวำ่ กรณมี มี ลู หรือไม่เสียก่อน เช่นนี้ ข้ำรำชกำรผู้นั้นก็อำจร้องทุกข์ก่อนถูกลงโทษหรืออุทธรณ์เมื่อถูกลงโทษ
แล้วกไ็ ด้๓

๓ ประวณี ณ นคร, พระรำชบญั ญัตริ ะเบยี บข้ำรำชกำรพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ สรปุ สำระสำคัญและคำอธบิ ำยรำยมำตรำ, น. ๑๒๙,

๓๖
ขอ้ สงั เกต

ในกรณีที่สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินได้ตรวจพบว่ำหน่วยงำนของรัฐแห่งใดมีกรณีเงินขำดบัญชี
หรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐทุจริตและได้ช้ีมูลควำมผิดแล้ว ก็ให้ผู้บังคับบัญชำ ซ่ึงมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗
ดำเนินกำรทำงวินัย โดยไม่ตอ้ งแต่งตง้ั คณะกรรมกำรสืบสวนหำข้อเท็จจริงเพื่อหำมูลควำมผิด๔ ตำมท่ีกำหนดไว้
ในหมวด ๒ น้ีอกี ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ของทำงรำชกำรที่จะให้กำรดำเนินกำรเป็นไปโดยรวดเรว็

๔ ขอ้ ๖ ของระเบยี บสำนักนำยกรฐั มนตรีวำ่ ด้วยกำรเร่งรัดตดิ ตำมเก่ียวกบั กรณีเงนิ ขำดบัญชีหรอื เจ้ำหนำ้ ท่ขี องรัฐทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๖

๓๗

หมวด ๓
การดาเนนิ การในกรณีมีมูลที่ควรกลา่ วหาว่ากระทาผดิ วินัยอย่างไม่รา้ ยแรง

เมอื่ ผู้บังคับบญั ชำซ่งึ มีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ พิจำรณำในเบื้องต้น หรือพิจำรณำจำกผลกำร
สืบสวนแล้วเห็นว่ำ พฤติกำรณ์ของข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้น้ัน มีมูลว่ำกระทำควำมผิดวินัยอย่ำงไม่ร้ำยแรง
(ตำมมำตรำ ๘๑ – ๘๓ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑) ก็ต้องดำเนินกำรให้
เป็นไปตำมหมวดนี้ต่อไปโดยเร็ว โดยหมวดนี้จะกล่ำวถึงข้ันตอนวิธีกำรดำเนินกำรทำงวินัยอย่ำงไม่ร้ำยแรง
วำ่ จะต้องปฏบิ ตั ิอย่ำงไรบำ้ ง

สาระสาคญั
“หมวด ๓ กำรดำเนินกำรในกรณีมีมูลท่ีควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัย อย่ำงไม่ร้ำยแรง” ได้กำหนด

หลักเกณฑ์และวิธีกำรสอบสวนทำงวินัยอย่ำงไม่ร้ำยแรงให้ชัดเจนและรวดเร็วขึ้น โดยมีกำรกำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีกำรใหม่ที่สำคัญ เช่น กำหนดระยะเวลำเร่งรัดในกำรสอบสวน วิธีกำรสอบสวน กำรแต่งต้ังคณะกรรมกำร
สอบสวน และกำรคัดค้ำนกรรมกำรสอบสวน เป็นต้น นอกจำกนี้ยังกำหนดให้ต้องมีกำรแจ้งข้อกล่ำวหำ และ
ให้โอกำส ผู้ถูกกล่ำวหำช้ีแจงแก้ข้อกล่ำวหำตำมท่ีบัญญัติไว้ในมำตรำ ๙๒ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบ
ขำ้ รำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ สำหรบั รำยละเอยี ดของหมวดนีม้ สี ำระสำคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้

๑. กำรดำเนินกำรทำงวินัยหรือกำรสอบสวนตำมหมวดนี้ ผู้บังคับบัญชำซ่ึงมีอำนำจส่ังบรรจุตำม
มำตรำ ๕๗ จะดำเนินกำรสอบสวนด้วยตัวเองหรือมอบหมำยให้ผู้หน่ึงผู้ใดเป็นผู้สอบสวนทำงวินัยเพื่อรวบรวม
พยำนหลักฐำนมำประกอบกำรพิจำรณำว่ำกรณี เป็นควำมผิดวินัยหรือไม่ ตำมมำตรำใด และควรได้รับโทษ
สถำนใด โดยไม่ตอ้ งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนกไ็ ด้ ดังนี้

๓๘

๑.๑ กำรสอบสวนโดยไม่ตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๙ ของกฎ ก.พ. ว่ำด้วยกำรดำเนินกำร
ทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖

ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ดำเนินกำรสอบสวนด้วยตัวเองหรือ
มอบหมำยใหผ้ หู้ น่ึงผใู้ ดเปน็ ผสู้ อบสวน ให้รีบดำเนินกำรใหแ้ ล้วเสร็จภำยใน ๔๕ วนั ๕ นบั แตว่ นั ท่ีพจิ ำรณำเห็นว่ำ
กรณีมีมูลที่ควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัย อย่ำงไม่ร้ำยแรง ท้ังนี้ต้องมีกำรแจ้งข้อกล่ำวหำและสรุปพยำนหลักฐำน
ที่สนับสนุนข้อกล่ำวหำให้ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ถูกกล่ำวหำทรำบ รวมทั้งต้องให้โอกำสผู้ถูกกล่ำวหำ
ได้ชแี้ จง แกข้ ้อกล่ำวหำภำยในเวลำท่ีกำหนดดว้ ย

๑.๒ กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๑๒ ของกฎ ก.พ. ว่ำด้วยกำรดำเนินกำรทำงวินัย
พ.ศ. ๒๕๕๖

ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ แต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวน ก็ให้
ดำเนนิ กำรโดยนำ “หมวด ๔ กำรดำเนินกำรในกรณีมมี ลู ทคี่ วรกล่ำวหำวำ่ กระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรง” ในเร่ือง
องค์ประกอบและคุณสมบัติ ของคณะกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๑๘ วรรคหน่ึง วรรคสอง และวรรคส่ี
(โดยกรรมกำรสอบสวนจะไม่มผี ู้ดำรงตำแหน่งนิติกร หรอื ผูไ้ ด้รบั ปริญญำทำงกฎหมำย หรือผู้ได้รับกำรฝึกอบรม
ตำมหลักสูตรกำรดำเนินกำรทำงวินัย หรือผู้มีประสบกำรณ์ด้ำนกำรดำเนินกำร ทำงวินัยก็ได้) คำสั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๑๙ กำรเปลี่ยนแปลงกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๒๐ กำรแจ้งคำสั่งแต่งต้ัง
คณะกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๒๑ และกำรคัดค้ำนกรรมกำรสอบสวนตำมข้อ ๒๒ ถึงข้อ ๒๕ มำใช้บังคับ
โดยอนุโลม

๕ เปน็ ระยะเวลำเร่งรดั เพอื่ ให้มกี ำรดำเนินกำรเปน็ ไปอย่ำงรวดเร็ว

๓๙

สำหรับกำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนในกรณีที่ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญตำแหน่งต่ำงกัน
หรือต่ำงกรม หรือต่ำงกระทรวงกัน ถูกกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยร่วมกัน ก็ให้เป็นไปตำมมำตรำ ๙๔ แห่ง
พระรำชบญั ญัตริ ะเบียบขำ้ รำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับข้อ ๑๖ (ผู้มีอำนำจแต่งต้ังคณะกรรมกำร
สอบสวน) และขอ้ ๑๗ (กำรรว่ มกนั แต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวน) ของกฎ ก.พ. ฉบับน้ี

คณะกรรมกำรสอบสวนต้องดำเนินกำรตำมข้อ ๑๓ วรรคหน่งึ โดยตอ้ งดำเนินกำรสอบสวน แจ้งข้อกล่ำวหำ
และสรุปพยำนหลักฐำนให้ผู้ถูกกล่ำวหำทรำบ กำรรับฟังคำชี้แจงของผู้ถูกกล่ำวหำ กำรรวบรวมข้อเท็จจริง
รวบรวมข้อกฎหมำย และรวบรวมพยำนหลักฐำนท่ีเก่ียวข้อง เก็บไว้ในสำนวนแล้วจัดทำรำยงำนกำรสอบสวน
พรอ้ มควำมเห็นของคณะกรรมกำรสอบสวนเสนอต่อผสู้ งั่ แต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวน ท้ังนี้ ต้องดำเนินกำรให้
แล้วเสร็จภำยใน ๖๐ วัน ๖ นับแต่วันที่ประธำนกรรมกำรรับทรำบคำสั่ง ในกรณีท่ีไม่สำมำรถสอบสวนให้แล้ว
เสร็จได้ภำยในเวลำท่ีกำหนด ให้ประธำนกรรมกำรรำยงำนต่อผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนเพื่อขอขยำย
ระยะเวลำตำมควำมจำเป็น ตำมข้อ ๑๓ วรรคสอง ในกำรนี้ ผู้ส่ังแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนอำจพิจำรณำ
ขยำยระยะเวลำ หรือผบู้ งั คับบัญชำซึ่งมอี ำนำจสัง่ บรรจุตำมมำตรำ ๕๗ จะส่ังให้ยุติกำรดำเนินกำรเพื่อพิจำรณำ
ดำเนินกำรสอบสวนเองก็ได้

เม่ือผู้สั่งแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนได้รับรำยงำนข้ำงต้นแล้ว หำกเห็นว่ำดำเนินกำรไม่ถูกต้อง
หรือไม่ครบถ้วน ก็ให้สั่งกำรตำมข้อ ๑๔ (๑) หรือ (๒) โดยหำกเห็นว่ำข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำนยังไม่
เพียงพอ ก็สำมำรถกำหนดประเด็นให้คณะกรรมกำรสอบสวนกลับไปดำเนินกำรสอบสวนเพิ่มเติม หรือสั่งให้
คณะกรรมกำรสอบสวนกลบั ไปดำเนินกำรใหถ้ กู ตอ้ งโดยเร็ว

๖ อ้ำงแล้วในเชงิ อรรถท่ี ๕

๔๐

๒. เม่อื ผบู้ ังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ พิจำรณำผลกำรสอบสวนแล้ว ก็ให้ดำเนินกำร
สัง่ กำร ตำมข้อ ๑๑ ของกฎ ก.พ. วำ่ ดว้ ยกำรดำเนินกำร ทำงวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖ ดงั นี้

๒.๑ หำกเห็นวำ่ ผ้ถู ูกกลำ่ วหำไม่ไดก้ ระทำผดิ วินัย ก็ใหด้ ำเนินกำร ส่ังยตุ เิ รื่อง
๒.๒ หำกเห็นว่ำผู้ถูกกล่ำวหำกระทำผิดวินัยอย่ำงไม่ร้ำยแรง ก็ให้ส่ังลงโทษภำคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน
หรอื ลดเงินเดือน ตำมควรแก่กรณี หรือหำกเหน็ ว่ำเป็นกำรกระทำผิดเล็กน้อยและมีเหตุอันควรงดโทษก็สำมำรถ
สัง่ งดโทษและให้ทำทณั ฑบ์ นเป็นหนังสอื หรอื ว่ำกลำ่ วตักเตือนแทนกไ็ ด้
๒.๓ หำกเห็นว่ำผู้ถูกกล่ำวหำกระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรง ก็ให้ดำเนินกำรตำมหมวด ๔ กำรดำเนินกำร
ในกรณีมมี ูลท่ีควรกล่ำวหำวำ่ กระทำผดิ วนิ ัย อยำ่ งรำ้ ยแรงต่อไป

๔๑

หมวด ๔
การดาเนินการในกรณีมีมลู ทค่ี วรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั อยา่ งรา้ ยแรง

กำรดำเนินกำรในกรณีมีมูลที่ควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรงน้ัน เป็นกระบวนกำรรวบรวม
พยำนหลักฐำนเพื่อใหไ้ ด้ควำมจรงิ ว่ำขำ้ รำชกำรผู้ถกู กล่ำวหำ ได้กระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรงหรือไม่ หำกข้ำรำชกำร
ผู้น้ันกระทำผิดก็จะต้องถูกลงโทษ ตำมควำมเหมำะสมแก่กรณี ซ่ึงกำรดำเนินกำรในเร่ืองน้ี โดยปกติจะเริ่มต้น
เมอื่ ผบู้ งั คับบัญชำซ่ึงมีอำนำจส่ังบรรจุตำมำตรำ ๕๗ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ได้พิจำรณำตำมมำตรำ ๙๑ แล้วเห็นว่ำพฤติกำรณ์ของผู้ใต้บังคับบัญชำมีมูล ท่ีควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัย
อย่ำงรำ้ ยแรง ผบู้ ังคบั บญั ชำดงั กล่ำวก็มหี น้ำทที่ ี่จะตอ้ งดำเนินกำรทำงวินัยอย่ำงร้ำยแรงแก่ผู้นั้น ตำมที่บัญญัติไว้ใน
พระรำชบัญญัตริ ะเบียบขำ้ รำชกำรพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ มำตรำ ๙๓ มำตรำ ๙๔ มำตรำ ๙๕ และมำตรำ ๙๗

จุดมุ่งหมาย
กำรดำเนินกำรตำม “หมวด ๔ กำรดำเนินกำรในกรณีมีมูลท่ีควรกลำ่ วหำ ว่ำกระทำผิดวนิ ยั อยำ่ งร้ำยแรง”

ของ กฎ ก.พ. ว่ำดว้ ยกำรดำเนินกำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ นั้น มีหลักกำรสำคญั ในกำรดำเนินกำร ดงั นี้
๑. ผูด้ ำเนนิ กำรต้องเป็นผ้มู ีอำนำจตำมทก่ี ฎหมำยกำหนด
๒. ต้องมีกำรแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวน
๓. ตอ้ งมีกำรแจง้ ข้อกล่ำวหำและสรุปพยำนหลักฐำนที่สนับสนนุ ข้อกล่ำวหำ ใหผ้ ถู้ ูกกลำ่ วหำทรำบ
๔. ต้องให้โอกำสผูถ้ ูกกลำ่ วหำช้แี จงแกข้ ้อกล่ำวหำ และ

๔๒

๕. หำกกำรสอบสวนปรำกฏวำ่ ผถู้ ูกกลำ่ วหำกระทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรง ให้ส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. สำมัญ
(ไดแ้ ก่ อ.ก.พ. จังหวดั อ.ก.พ. กรม หรือ อ.ก.พ. กระทรวง) ทผี่ นู้ ัน้ สังกัดอยู่ เพื่อพิจำรณำมมี ติ

โดยหลักกำรข้ำงต้นล้วนเป็นกำรให้หลักประกันควำมเป็นธรรมแก่ผู้ถูกกล่ำวหำ และทำงรำชกำร
ทั้งส้ิน เน่ืองจำกกำรดำเนินกำรทำงวินัยอย่ำงร้ำยแรงอำจส่งผลให้ข้ำรำชกำร ผู้ถูกดำเนินกำรต้องพ้นจำก
รำชกำรก็ได้ จึงจำเป็นอย่ำงย่ิงที่จะต้องมีกระบวนกำรที่ป้องกันไม่ให้ผู้มีอำนำจใช้อำนำจไปในทำงท่ีไม่ถูกต้อง
จนเป็นเหตุให้ข้ำรำชกำรท่ีไม่ได้กระทำผิด ต้องถูกกลั่นแกล้งและถูกลงโทษไล่ออกหรือปลดออกจำกรำชกำร
หรือช่วยเหลอื ให้ข้ำรำชกำรผู้กระทำผิดไม่ต้องรบั โทษทำงวนิ ัย

สำหรับกระบวนกำรหรือหลักเกณฑ์ วิธีกำร และระยะเวลำกำรดำเนินกำร ทำงวินัยอย่ำงร้ำยแรง
ได้กำหนดรำยละเอียดไว้ต้ังแต่ข้อ ๑๕ - ข้อ ๖๓ “หมวด ๔ กำรดำเนินกำรในกรณีมีมูลท่ีควรกล่ำวหำว่ำกระทำผิด
วินัยอย่ำงร้ำยแรง” ของ กฎ ก.พ. ฉบับนี้ โดยคำนึงถึงเจตนำรมณ์ท่ีต้องกำรให้ “กำรดำเนินทำงวินัยรวดเร็ว
ยุติธรรม และปรำศจำกอคติ” อีกท้ังยังสอดคล้องกับกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง และ
กฎหมำยอืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องดว้ ย

๔๓
สรุปกระบวนการดาเนินการทางวนิ ัยอย่างร้ายแรง

สาระสาคัญ

๑. ผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน โดยตำมพระรำชบัญญัติระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน
พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกฎ ก.พ. วำ่ ด้วยกำรดำเนินกำรทำงวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้บัญญตั ิไว้ดังน้ี

๑.๑ มาตรา ๙๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ บัญญัติให้
ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ของผู้ถูกกล่ำวหำเป็นผู้มีอำนำจแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวน
อันไดแ้ ก่

- รฐั มนตรเี จ้ำสังกัด ตำมมำตรำ ๕๗ (๑) (๔) และ (๗)
- ปลัดกระทรวง หรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมท่ีอยู่ในบังคับบัญชำหรือรับผิดชอบกำร
ปฏิบตั ิรำชกำรข้นึ ตรงต่อนำยกรฐั มนตรีหรือตอ่ รัฐมนตรี ตำมมำตรำ ๕๗ (๒) (๓) (๕) และ (๘)

๔๔

- อธิบดี ตำมมำตรำ ๕๗ (๖) (๙) และ (๑๐)
- ผู้วำ่ รำชกำรจังหวัด ตำมมำตรำ ๕๗ (๑๑)
๑.๒ มาตรา ๙๔ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ กรณีที่
ข้ำรำชกำรผู้ถูกกล่ำวหำมีตำแหน่งต่ำงกัน หรือต่ำงกรมหรือต่ำงกระทรวงกันถูกกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัย
ร่วมกัน ซ่ึงได้บัญญัติให้ผู้มีอำนำจแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนไว้เป็นกำรเฉพำะ ทั้งนี้ เพ่ือให้กำรสอบสวน
ในกรณีที่มีข้ำรำชกำรร่วมกระทำผิดน้ัน เป็นไปในทิศทำงเดียวกันและพิจำรณำจำกพยำนหลักฐำนเดียวกัน
อีกด้วย ซึ่งจะทำให้ผล กำรสอบสวนและพิจำรณำเป็นไปอย่ำงเสมอภำคและเป็นธรรมแก่ผู้ถูกกล่ำวหำทั้งหมด
โดยผู้มีอำนำจแตง่ ต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนไดแ้ ก่
- นำยกรัฐมนตรี ในฐำนะหัวหนำ้ รฐั บำล สำหรับข้ำรำชกำรต่ำงกระทรวงถูกกล่ำวหำและมีผู้ดำรง
ตำแหนง่ ประเภทบรหิ ำรระดับสงู รว่ มดว้ ย (มำตรำ ๙๔ (๓))
- รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด สำหรับข้ำรำชกำรกรมเดียวกัน ถูกกล่ำวหำ และมีปลัดกระทรวงร่วมด้วย
(มำตรำ ๙๔ (๑)) และสำหรับข้ำรำชกำรต่ำงกรมในกระทรวงเดียวกันถูกกล่ำวหำและมีปลัดกระทรวงร่วมด้วย
(มำตรำ ๙๔ (๒))
- ปลัดกระทรวง สำหรับข้ำรำชกำรกรมเดียวกันถูกกล่ำวหำและ มีอธิบดีร่วมด้วย (มำตรำ ๙๔ (๑))
และสำหรับขำ้ รำชกำรตำ่ งกรมในกระทรวงเดยี วกนั ถกู กล่ำวหำ (มำตรำ ๙๔ (๒))
- ผบู้ งั คบั บัญชำซง่ึ มอี ำนำจส่ังบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ร่วมกันแตง่ ต้งั คณะกรรมกำรสอบสวนสำหรับ
ขำ้ รำชกำรตำ่ งกระทรวงกนั ถกู กล่ำวหำ (มำตรำ ๙๔ (๓))

๔๕

สาหรบั กรณีอ่นื ตามมาตรา ๙๔ (๔) ก็ได้กาหนดไว้ในข้อ ๑๖ แหง่ กฎ ก.พ. นด้ี ังนี้
ข้อ ๑๖ (๑) อธิบดีหรือผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุท่ีมีตาแหน่งเหนือกว่าเป็นผู้

แต่งตงั้ คณะกรรมกำรสอบสวน สำหรบั ในกรณีทขี่ ำ้ รำชกำร กรมเดียวกันแต่ดำรงตำแหน่งต่ำงกันถูกกล่ำวหำว่ำ
ร่วมกันกระทำผดิ และผู้บงั คบั บญั ชำซึ่งมอี ำนำจส่งั บรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ตำ่ งกนั

ข้อ ๑๖ (๒) และ (๓) ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ของผู้ถูกกล่ำวหำ
แต่ละคนรว่ มกันแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน สำหรับในกรณดี งั น้ี

- กรณีข้ำรำชกำรในสำนักงำนรัฐมนตรี หรือส่วนรำชกำรที่ไม่มีฐำนะเป็นกรมแต่มีหัวหน้ำส่วน
รำชกำรเป็นอธิบดีหรือตำแหน่งท่ีเรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นอธิบดี ถูกกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยร่วมกับ
ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญในสว่ นรำชกำรอ่นื

- กรณขี ้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญในส่วนรำชกำรท่ีมีฐำนะเป็นกรม และไม่สังกัดกระทรวงแต่อยู่ใน
บังคับบัญชำของนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีหรือในส่วนรำชกำร ท่ีมีหัวหน้ำส่วนรำชกำรรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรีหรือต่อรัฐมนตรี ถูกกล่ำวหำว่ำกระทำผิดวินัยร่วมกับข้ำรำชกำร
พลเรือนสำมัญในสว่ นรำชกำรอนื่

เว้นแต่ปรำกฏว่ำในกรณีดังกล่ำวมีผู้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสูงถูกกล่ำวหำว่ำกระทำ
ผิดวนิ ัยร่วมดว้ ย ให้นายกรฐั มนตรีเปน็ ผู้มอี ำนำจแต่งตง้ั คณะกรรมกำรสอบสวน

ข้อ ๑๖ (๔) ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนำจแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวน กรณีข้ำรำชกำร
ในรำชกำรบริหำรสว่ นภูมิภำคจังหวัดเดยี วกนั แต่ตำ่ งกรมหรือต่ำงกระทรวงถูกกล่ำวหำว่ำกระทำผิดร่วมกันและ
ผู้ว่ำรำชกำรจังหวดั เป็นผ้บู งั คับบัญชำ ซ่ึงมอี ำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ ๕๗ ทกุ รำย

๑.๓ ผ้มู ีอานาจดาเนินการทางวินัยตามมาตรา ๙๗ วรรคสาม ซ่ึงได้บัญญัติในกรณีที่ผู้บังคับบัญชำ
ไม่ใชอ้ ำนำจตำมมำตรำ ๙๓ หรอื มำตรำ ๙๔ กใ็ ห้ผ้บู ังคบั บัญชำระดับเหนือขึ้นไปมีอำนำจแต่งตั้งคณะกรรมกำร
สอบสวนไดอ้ กี ดว้ ย

๔๖

๒. การแตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวน กำรดำเนินกำรทำงวนิ ัยอยำ่ งร้ำยแรงโดยปกตติ อ้ งดำเนินกำร
แต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวน ดังนั้น คำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนจึงเป็นหลักฐำนสำคัญท่ีแสดงว่ำ
ผู้บังคับบัญชำได้ดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำท่ีแล้ว โดยคำส่ังดังกล่ำวอย่ำงน้อยต้องมีสำระสำคัญอันประกอบ
ไปด้วย

(๑) ชอื่ และตำแหน่งของผถู้ กู กล่ำวหำ
(๒) เร่ืองท่ีกลำ่ วหำ (พฤตกิ ำรณท์ ี่เปน็ กำรกระทำผดิ วนิ ยั )
(๓) ช่ือคณะกรรมกำรสอบสวน
ทัง้ นี้ รำยละเอียดเปน็ ไปตำมข้อ ๑๙ และแบบคำส่ังตำมทส่ี ำนักงำน ก.พ. กำหนด (ดว.๑)
ส่วนรำยละเอียดตำแหน่งของคณะกรรมกำรสอบสวนและสิทธิคัดค้ำนคณะกรรมกำรสอบสวน
กำหนดให้ทำเป็นเอกสำรแนบท้ำยคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนและแจ้งให้ผู้ถูกกล่ำวหำทรำบในครำว
เดยี วกนั ตำมข้อ ๒๑ (๑)
เมื่อมีกำรแต่งต้ังคณะกรรมกำรสอบสวนแล้ว จะต้องมีกำรแจ้งคำส่ังให้ผู้ถูกกล่ำวหำและคณะกรรมกำร
สอบสวนทรำบตำมข้อ ๒๑ ด้วย เพ่ือให้ผู้ถูกกล่ำวหำได้ทรำบว่ำ ๑) ตนถูกดำเนินกำรทำงวินัยอย่ำงร้ำยแรง
ในเรอ่ื งใด ๒) ผ้ใู ดเปน็ ผูด้ ำเนนิ กำรทำงวนิ ยั แกต่ น เพื่อจะได้ใช้สิทธิคัดค้ำนหำกผู้น้ันมีเหตุตำมกฎหมำยท่ีอำจทำให้
กำรสอบสวน เสียควำมเป็นธรรม ซึ่งในกำรคัดค้ำนกรรมกำรสอบสวน กฎ ก.พ. นี้ยังได้กำหนดว่ำหำกผู้ถูกกล่ำวหำ
ได้คัดค้ำนโดยถูกต้องตำมกฎหมำยแล้ว ให้กรรมกำรสอบสวนผู้ที่ถูกคัดค้ำนนั้น ต้องหยุดปฏิบัติหน้ำท่ีในกำร
สอบสวนด้วย
และเพื่อให้คณะกรรมกำรสอบสวนทรำบว่ำ ๑) ตนได้รับแต่งตั้งเป็นผู้มีหน้ำท่ีดำเนินกำรทำงวินัย
๒) ทรำบเร่ืองท่ีกล่ำวหำอันเป็นกรอบในกำรดำเนินกำร และ ๓) ประธำนกรรมกำรเตรียมจัดให้มีกำรประชุม
นดั แรก


Click to View FlipBook Version