The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการดำเนินการทางวินัยตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดำเนินการทางวินัย พ.ศ. 2556 (ปี 2557)

กองการเจ้าหน้าที่

Keywords: ด้านทั่วไป

ไมม่ าพบ ๙๗
(ขอ้ ๔๓)
สอบสวนถามว่ากระทาผิดหรือไม่
ไม่ย่นื คาชี้แจง โดยมเี หตุจาเปน็ (ข้อ ๔๕)
(ขอ้ ๔๔)
สารภาพ ไมม่ าใหถ้ ้อยคา
(ข้อ ๔๖) ถอื วา่ ไม่ประสงค์แกข้ ้อกลา่ วหา

(ข้อ ๔๗)

พบพยานหลักฐานเพิ่มเติม พบพยานหลกั ฐาน พาดพิงข้าราชการอ่นื
(หลงั แจ้งข้อกล่าวหา) ในการกระผดิ เรอื่ งอนื่ (ขอ้ ๕๐)
(ขอ้ ๔๘)
(ขอ้ ๔๙) กรรมการรายงานผู้สง่ั
มีนา้ หนกั แจง้ สรุปพยานเพม่ิ เติม แต่งต้ังโดยเรว็
พยานเพิม่ ใหข้ ้อกล่าวหาเปลี่ยน ประธานรายงานผสู้ งั่ แต่งตัง้
ให้แจง้ ข้อกล่าวหาใหม่ ผสู้ ง่ั แตง่ ต้งั เหน็ ว่า ผู้ส่ังแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ
เหน็ ชอบ (ข้อ ๕๑)
๑) ไมม่ มี ูล ใหย้ ุติ
๒) มีมลู ใหส้ อบสวนวนิ ัย

- กรรมการชุดเดมิ
- กรรมการชุดใหม่

คณะกรรมการประชมุ ทาความเหน็
(ข้อ ๕๒)

๑๒๐ วัน นบั แตก่ รรมการประชุมคร้งั แรก ทารายงานการสอบสวน กรณมี กี ารโอน ยา้ ย เลอื่ น
ขยายไดค้ รัง้ ละไมเ่ กนิ ๖๐ วนั (แบบ ดว. ๖) ผถู้ กู กลา่ วหา ทาใหผ้ สู้ ัง่ แต่งตัง้
ขยายเกิน ๑๘๐ วนั ให้ผูส้ ่งั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการเปลยี่ นแปลงไป
รายงาน อ.ก.พ. กระทรวง เรง่ รัดให้เสร็จ (ขอ้ ๕๓ ประกอบ ข้อ ๕๔)
โดยเรว็ (ขอ้ ๕๗)

ผสู้ ัง่ แตง่ ตง้ั ฯ พจิ ารณา ส่ังกรรมการทาใหค้ รบ
ตรวจสอบความถกู ต้องของการสอบสวน กาหนดประเด็นเพิม่
ให้ดาเนนิ การใหถ้ กู ต้องโดยเรว็
(ขอ้ ๕๕)

การสอบสวนถูกต้องแล้ว การสอบสวนยังไม่ถกู ตอ้ ง / ครบถว้ น
(ขอ้ ๕๕ วรรค ๑ ) (ข้อ ๕๕ วรรค ๑ )

ไมแ่ จ้งขอ้ กล่าวหา ให้รวบรวม การดาเนินการ
หรอื ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ไม่ถูกตอ้ ง
พยานฯ เพมิ่ เติม (ขอ้ ๕๕ (๓))
แจง้ ขอ้ กลา่ วหา
ไม่ครบถว้ น (ขอ้ ๕๕ (๒))
(ข้อ ๕๕ (๑))

ตอ่ หน้าถัดไป...

๙๘

ผู้สงั่ แตง่ ตงั้ ฯ พิจารณา
มคี วามเหน็ เพื่อสง่ั หรอื ดาเนินการ

(ขอ้ ๕๖ วรรค ๑ )

เหน็ ว่าไมไ่ ดก้ ระทาผดิ หรือกระทาผิด เห็นวา่ กระทาผิดวนิ ัย เหน็ ว่ายงั ไม่ชัดเจนพอทจี่ ะลงโทษ
วนิ ัยอย่างไมร่ า้ ยแรง / ไมก่ ระทาผดิ อย่างร้ายแรง วนิ ัยอยา่ งร้ายแรง แตเ่ ห็นวา่
(ขอ้ ๕๖ (๒)) หยอ่ นความสามารถ บกพร่อง
(ข้อ ๕๖ (๑)) ในหน้าที่ราชการ ประพฤติ
ไมว่ า่ ผสู้ งั่ ต้ังเหน็ ดว้ ยหรอื ไม่ ไม่เหมาะสมในตาแหน่งหน้าที่
ใหผ้ ู้สงั่ บรรจสุ ่งเรอ่ื งให้ อ.ก.พ. ราชการ อาจเกิดการเสยี หายแก่
จังหวดั / กรม / กระทรวง
ราชการ หากยังรบั ราชการตอ่ ไป
พิจารณา
(ข้อ ๕๖ (๓))

ย้าย โอน เลอ่ื น เปลย่ี นสังกดั ส่งเร่อื งให้ อ.ก.พ. จงั หวัด/กรม/ ผสู้ ั่งเห็นดว้ ยกับกรรมการให้
ผถู้ ูกกลา่ วหา ให้ส่งเรือ่ งให้ อ.ก.พ. กระทรวง พจิ ารณา ดาเนินการตามมาตรา ๑๑๐ (๖) (๗)

ท่ผี ้ถู กู กลา่ วหาสงั กัดอยหู่ ลงั พจิ ารณา (ข้อ ๕๘) ถา้ เห็นวา่ ไมผ่ ิด / ไม่ร้ายแรง
ใหด้ าเนนิ การตอ่ ไป

ถา้ เห็นวา่ รา้ ยแรงให้ดาเนินการ
ตามข้อ ๕๖ (๒)

อ.ก.พ. จงั หวัด/กรม/กระทรวง
พิจารณามมี ติ

(ข้อ ๕๙ วรรคแรก)

เห็นวา่ ผถู้ กู กลา่ วหาไดก้ ระทาผดิ เหน็ วา่ ผู้ถูกกลา่ วหาได้กระทาผดิ เหน็ วา่ เห็นวา่ ยงั ไม่ชดั เจน เห็นวา่ การกระทาไมเ่ ปน็
วนิ ยั อยา่ งร้ายแรง วินยั อย่างไมร่ า้ ยแรง พอทจ่ี ะลงโทษวนิ ยั อย่าง ความผดิ วินยั ใหย้ ตุ ิเร่อื ง
(ข้อ ๕๙ (๑)) (ข้อ ๕๙ (๒)) รา้ ยแรง แตม่ เี หตุใหอ้ อก
จากราชการตามมาตรา (ข้อ ๕๙ (๔))
มีมตวิ ่า ผดิ รา้ ยแรง มมี ติว่า ผดิ ไม่รา้ ยแรง มีมตใิ หง้ ดโทษ
(ตามมาตราใด / โทษสถานใด / (ตามมาตราใด / โทษสถานใด / ๑๐๐ (๖) หรือ (๗)
อัตราโทษใด / เพราะเหตใุ ด) (ขอ้ ๕๙ (๓)) เหน็ ว่าขอ้ เทจ็ จริงไมเ่ พยี งพอ
มขี ้อเท็จจรงิ สาระสาคญั อย่างใด)
มีมตใิ หอ้ อก

ให้สอบสวนเพมิ่ เตมิ แกไ้ ข หรือ

กรณปี รากฏการแตง่ ตัง้ กรณปี รากฏการดาเนินการไม่ถกู ตอ้ ง ดาเนินการให้ถกู ต้อง
คณะกรรมการฯ ไมถ่ ูกต้องตามขอ้ ๑๘ ตามกฎ ก.พ. ให้การดาเนินการนนั้ (ขอ้ ๕๙ (๕))
เสียไป หากเป็นการดาเนินการทเี่ ป็น
ให้ผมู้ ีอานาจแตง่ ตงั้ ฯ แตง่ ตงั้ มีมติใหส้ อบเพิม่
คณะกรรมการฯ ให้ถกู ต้อง สาระสาคญั ให้ดาเนินการใหม่
ให้ถกู ต้องโดยเรว็ กรณผี ้ถู กู กล่าวหาตายในระหว่าง
(ขอ้ ๖๐) (ขอ้ ๖๑) การสอบสวน ใหย้ ุติเร่อื งและทา
)) ความเห็นเสนอกระทรวงเจ้าสงั กัด
เพื่อพิจารณาดาเนนิ การเกย่ี วกับ
ใหน้ าบทบัญญตั วิ า่ ดว้ ยคณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนนิ การพจิ ารณา
ทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการทางปกครองโดยอนโุ ลม บาเหน็จบานาญข้าราชการ
(ขอ้ ๖๒)
เวน้ แตอ่ งคป์ ระชมุ กรรมการสอบสวนตามขอ้ ๓๘ และข้อ ๕๒
(ข้อ ๖๓) สอบสวนตอ่ ไปเทา่ ทท่ี าได้

๙๙

การดาเนนิ การทางวนิ ัย กรณีความผดิ ทีป่ รากฏชัดแจ้ง (หมวด ๕)

ขา้ ราชการได้กระทาผิดวินยั อย่างไม่ร้ายแรง สารภาพเปน็ หนงั สือต่อผู้บังคับบญั ชา
ใหถ้ ้อยคารบั สารภาพและไดม้ ีการจดบนั ทกึ ถ้อยคาเป็นหนังสือต่อผมู้ ีหน้าทีส่ อบสวน
หรือคณะกรรมการสอบสวน ถอื วา่ เปน็ กรณีความผดิ ทป่ี รากฏชัดแจง้ ผูม้ ีอานาจสง่ั บรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ จะพจิ ารณาดาเนนิ การทางวินัยโดยไมต่ อ้ งสอบสวนหรอื งดการสอบสวนก็ได้

(ขอ้ ๖๔)

ข้าราชการไดก้ ระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรงต่อไปน้ี ถือวา่ เปน็ กรณีความผดิ
ทีป่ รากฏชดั แจ้ง ผู้มอี านาจส่งั บรรจตุ ามาตรา ๕๗ จะพิจารณาดาเนนิ การ

ทางวนิ ัยโดยไมต่ อ้ งสอบสวนหรอื งดการสอบสวนกไ็ ด้
(ขอ้ ๖๕)

ละท้ิงหน้าทรี่ าชการตดิ ตอ่ ในคราว กระทาความผดิ อาญาจนไดร้ ับ กระทาผดิ วินัยอยา่ งรา้ ยแรง และ
เดยี วกนั เกิน ๑๕ วนั โดยไม่ คาพิพากษาใหถ้ ึงท่ีสุดใหจ้ าคกุ สารภาพเปน็ หนงั สอื ต่อผูบ้ งั คบั บญั ชา
กลบั มาปฏิบตั ิราชการอีกเลย เว้นแตเ่ ป็นโทษสาหรบั ความผดิ ให้ถอ้ ยคารับสารภาพและได้มกี าร
โดยไม่มเี หน็ อนั สมควรหรอื ที่ไดท้ าโดยความประมาทหรือ จดบันทกึ ถอ้ ยคาเปน็ หนงั สอื ตอ่ ผมู้ ีหนา้ ท่ี
มีพฤตกิ ารณอ์ นั แสดงถงึ ความ สอบสวน หรอื คณะกรรมการสอบสวน
จงใจไม่ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ความผิดลหโุ ทษ
ของทางราชการ (ข้อ ๖๕ (๓))
(ข้อ ๖๕ (๑)) (ขอ้ ๖๕ (๒))

๑๐๐

การสัง่ ยตุ ิเรื่อง ลงโทษ หรอื งดโทษ (หมวด ๖)

การสัง่ ยุตเิ รอื่ ง ตามมาตรา ๙๒ วรรคสอง มาตรา ๙๓ วรรคสอง
หรอื มาตรา ๙๗ วรรคสอง ตอ้ งทาเปน็ คาสงั่ (ตามแบบที่ ก.พ. กาหนด)

(ขอ้ ๖๖)

โทษสาหรบั กรณที ขี่ ้าราชการกระทาผดิ วินยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ตามมาตรา ๙๖
ผู้บังคับผู้มอี านาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ มีอานาจส่งั ลงโทษ
(ขอ้ ๖๗)

ภาคทัณฑ์ ตดั เงนิ เดอื นได้ครั้งหนงึ่ ในอัตรารอ้ ยละ ๒ ลดเงินเดือนไดค้ ร้งั หน่งึ
(ขอ้ ๖๗ (๑)) หรือรอ้ ยละ ๔ ของเงินเดอื นที่ได้รบั ในวนั ท่ี ในอัตรารอ้ ยละ ๒ หรือ
มีคาส่ังลงโทษเปน็ เวลาหนง่ึ เดือน สองเดอื น รอ้ ยละ ๔ ของเงนิ เดือน
ท่ีไดร้ บั ในวนั ที่มีคาสง่ั ลงโทษ
หรือสามเดอื น
(ขอ้ ๖๗ (๓))
(ข้อ ๖๗ (๒))

ตดั / ลดเงินเดือน จานวนเงนิ มีเศษไม่ถึง
สบิ บาทใหป้ ัดเศษทิ้ง

โทษสาหรบั กรณีทีข่ า้ ราชการกระทาผดิ วินยั อย่างรา้ ยแรง ตามมาตรา ๙๗
ผู้บังคับบัญชาผมู้ ีอานาจสงั่ บรรจุ ตามมาตรา ๕๗ มีอานาจส่งั ลงโทษ
(ขอ้ ๖๘)

ปลดออก ไล่ออก
(ขอ้ ๖๘ (๑)) (ขอ้ ๖๘ (๒))

การสัง่ ลงโทษ ต้องทาเปน็ คาส่งั ระบชุ ื่อ ตาแหน่ง ข้อเท็จจริง
อนั เปน็ สาระสาคัญในการกระทาความผดิ วินยั กรณีใด มาตราใด
พร้อมท้งั สิทธิในการอุทธรณ์และระยะเวลา ตามมาตรา ๑๑๔

และ วนั / เดอื น / ปี ที่ออกคาส่งั (ขอ้ ๖๙)

ตอ่ หน้าถดั ไป...

การลงโทษภาคทัณฑ์ มผี ลตง้ั แต่ ๑๐๑ การลงโทษปลดออกหรือไลอ่ อก
วนั ทอ่ี อกคาสง่ั มผี ลตามระเบยี บที่ ก.พ. กาหนด
(ขอ้ ๗๐ (๑)) การสัง่ ลงโทษ ให้มผี ลตงั้ แต่วนั หรอื ระยะเวลา
(ข้อ ๖๗ (๑)) ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง

การลงโทษตดั เงนิ เดอื นหรือลดเงนิ เดือน (ขอ้ ๗๐ (๓))
มผี ลตงั้ แต่เดอื นท่อี อกคาสั่ง
(ข้อ ๗๐ (๒))

การสง่ั งดโทษ

การสัง่ งดโทษ ตามมาตรา ๙๖ วรรคสาม ให้ผบู้ ังคบั บัญชา การสั่งงดโทษ ตามมาตรา ๑๐๐ วรรคสอง ในกรณีขา้ ราชการ
ที่มอี านาจสั่งบรรจุ ตามมาตรา ๕๗ ทาเป็นคาส่งั และใหร้ ะบไุ ว้ ซึง่ ออกจากราชการไปแล้ว แต่มกี รณีถูกกลา่ วหาว่ากระทาผิดวนิ ยั

ในคาสั่งวา่ ให้ทาทัณฑ์บนเปน็ หนงั สือหรือวา่ กลา่ วตกั เตือน อย่างรา้ ยแรงอยู่กอ่ น ตามมาตรา ๑๐๐ วรรคหนง่ึ และผลการ
ทงั้ น้ี ตามแบบที่ ก.พ. กาหนด (ข้อ ๗๑) สอบสวนพจิ ารณาปรากฏวา่ เปน็ การกระทาผิดวนิ ยั อยา่ ง

ไมร่ า้ ยแรง ให้ผบู้ งั คับบญั ชาผู้มอี านาจส่ังบรรจุ ตามมาตรา ๕๗
ส่งั งดโทษ ทั้งนี้ ตามแบบที่ ก.พ. กาหนด

(ข้อ ๗๒)

เมือ่ มคี าส่งั ยตุ ิเรอ่ื ง ลงโทษ งดโทษแลว้ ให้ดาเนนิ การ
แจง้ คาสงั่ ให้ผู้ถกู กล่าวหาทราบโดยเร็ว

(ขอ้ ๗๓)

ผู้ถูกลงโทษ / ผู้ถูกกลา่ วหา ลงลายมอื ชอื่ และวันท่ีรบั ทราบเปน็ หลักฐาน
มอบสาเนาคาสงั่ ให้ผถู้ ูกลงโทษ / ผู้ถูกกล่าวหา ๑ ฉบบั
ถา้ ไมย่ อมลงชือ่ รับทราบคาสงั่ เมื่อทาบันทกึ ลงวนั ท่ี / สถานทที่ แ่ี จง้ / ลงลายมอื ชื่อผู้แจ้ง พรอ้ มทง้ั
พยานรู้เหน็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน ใหถ้ ือวา่ วันทแ่ี จง้ เปน็ วนั รบั ทราบ
กรณีไมอ่ าจแจ้งไดห้ รอื มเี หตุจาเปน็ ใหส้ ่งสาเนาคาสงั่ ทางไปรษณยี ล์ งทะเบยี นตอบรับ ณ ทอ่ี ยู่
ทปี่ รากฏตามหลักฐานราชการ ให้ถือว่า ได้รบั แจ้งเม่ือครบกาหนด ๗ วัน นบั แตว่ ันส่ง (ในประเทศ)

ไดร้ บั แจ้งเมอ่ื ครบกาหนด ๑๕ วัน นบั แตว่ นั สง่ (ต่างประเทศ)

๑๐๒

การมีคาส่ังใหม่กรณีมีการเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ (หมวด ๗)

กรณที ี่มกี ารเพิม่ โทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
ใหผ้ ้บู งั คับบัญชาผมู้ ีอานาจสัง่ บรรจุ ตามมาตรา ๕๗
มีคาสง่ั ใหม่ โดยใหย้ กเลกิ คาส่งั เดมิ (ตามแบบที่ ก.พ. )

(ข้อ ๗๔) มีสาระสาคญั ดงั น้ี

อา้ งถงึ คาสัง่ เดมิ ก่อนมีการเพ่ิมโทษ สั่งใหย้ กเลกิ คาส่ังลงโทษเดมิ
ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ ตาม (๑) และมีคาส่งั ใหม่ ตาม (๒)
(ขอ้ ๗๔ (๑))
(ขอ้ ๗๔ (๓))
อ้างถึงมตขิ อง อ.ก.พ. กระทรวง
หรือมติ ก.พ. หรือคาวนิ จิ ฉัยของ ระบุวิธีการดาเนินการ
เกย่ี วกับโทษทีไ่ ดร้ ับไปแล้ว
ก.พ.ค. ที่ให้เพ่ิมโทษ ลดโทษ
งดโทษ หรอื ยกโทษ พรอ้ มแสดง (ขอ้ ๗๔ (๔))

สาระสาคญั โดยสรุป
(ขอ้ ๗๔ (๒))

กรณที คี่ าสง่ั เดมิ เปน็ คาสั่งลงโทษ กรณที ่คี าส่ังเดมิ เปน็ คาสัง่ ลงโทษปลดออก กรณที ่คี าสั่งเดมิ เป็นคาสั่งในความผดิ วินัย
ปลดออกหรือไลอ่ อก ถ้ามกี าร หรือไล่ออก ถ้ามีการลดโทษเพ่ือสง่ั ลงโทษใหม่ อยา่ งไม่ร้ายแรง ถา้ มีการเพม่ิ โทษ
ลดโทษเปน็ ปลดออกหรอื เพ่ิมโทษ ในความผิดวินัยอยา่ งไมร่ ้ายแรง งดโทษ หรอื
เป็นไล่ออก จะสัง่ มผี ลบังคับเม่อื ใด ลดโทษ งดโทษ หรอื ยกโทษ ในคาสงั่ ใหม่
เปน็ ไปตามระเบยี บท่ี ก.พ. กาหนด ยกโทษ ในคาส่ังใหมส่ ่ังให้ผูน้ ัน้ กลบั เขา้ รบั ใหร้ ะบกุ ารดาเนินการเกย่ี วกบั โทษ
ตามมาตรา ๑๐๗ วรรคสอง ราชการและส่งั ลงโทษใหม่ในความผิด ที่ไดร้ ับไปแล้ว
ไมร่ ้ายแรง
(ขอ้ ๗๕) (ข้อ ๗๖) (ข้อ ๗๗)

กรณยี กโทษ ใหถ้ อื ว่าไม่เคยรับโทษ กรณีงดโทษ ถา้ ตัดเงิน / ลดเงนิ กรณีเพมิ่ โทษหรือลดโทษ
(ขอ้ ๗๗ (๑)) วนิ ยั มาก่อน (ขอ้ ๗๗ (๒)) ให้คนื เงิน (ข้อ ๗๗ (๓))

ให้กลับคนื สถานะเดิม มีผลใหย้ งั คงลงโทษอยู่
ถา้ ตัดเงิน / ลดเงนิ
ให้คืนเงนิ

กรณีเพม่ิ โทษ กรณีเพม่ิ โทษจาก กรณลี ดโทษใหเ้ ปน็ กรณลี ดโทษใหเ้ ป็น กรณเี พม่ิ หรือ
ตดั เงนิ เดือนหรอื ตัดเงนิ เดอื นหรอื ภาคทัณฑ์ ตัดเงนิ เดือน ลดอัตราโทษ
ลดเงนิ เดอื นเปน็ ตดั เงนิ เดอื นหรอื
ลดเงินเดอื น ปลดออกหรือไล่ออก (ขอ้ ๗๗ (๓) (ค)) (ข้อ ๗๗ (๓) (ง)) ลดเงนิ เดือน
(ขอ้ ๗๗ (๓) (ก)) (ขอ้ ๗๗ (๓) (ข)) (อัตราโทษ)

ใหค้ ืนเงินทต่ี ัด / ลด ใหค้ นื เงนิ ท่ีตัด / ลด ให้คานวณเงินทีจ่ ะคดิ (ข้อ ๗๗ (๓) (จ))
ตามอัตราโทษใหมจ่ าก
เงินเดือนเดิมในขณะทม่ี ี
คาสั่งลงโทษเดมิ

คนื เงนิ ท่ีลดไปแลว้

๑๐๓

การสง่ั พกั ราชการและการใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน (หมวด ๘)

ข้าราชการมกี รณีถูกกลา่ วหาวา่ กระทาผดิ วนิ ัยอยา่ งร้ายแรง จนถูกตง้ั กรรมการ
สอบสวน หรอื ถูกฟ้องคดอี าญา หรอื ตอ้ งหาว่ากระทาความผดิ อาญา เวน้ แต่
ความผิดทีก่ ระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ ผบู้ ังคับบัญชาผมู้ ีอานาจ

สัง่ บรรจุ ตามมาตรา ๕๗ จะส่ังใหพ้ ักราชการเพื่อรอฟงั ผลการสอบสวน
หรือพิจารณา หรือผลแหง่ คดีได้ เม่อื มีเหตุอยา่ งใดอย่างหนง่ึ
(ข้อ ๗๘)

ถูกตัง้ กรรมการสอบสวน ถกู ฟอ้ งคดอี าญา หรือ มีพฤติการณท์ แี่ สดงว่า อยใู่ นระหวา่ งการ ถูกตง้ั กรรมการสอบสวน
และผบู้ ังคับบญั ชาผมู้ ี ตอ้ งหาวา่ กระทา ถ้าคงอยู่ในหนา้ ท่รี าชการ ควบคมุ ตัวหรือขังโดย และต่อมามคี าพิพากษา
อานาจส่ังบรรจุตาม จะเปน็ อปุ สรรคต่อการ เปน็ ผู้ถกู จบั ในคดอี าญา ถึงทีส่ ุดว่าเป็นผูก้ ระทา
มาตรา ๕๗ พจิ ารณาแลว้ ความผดิ อาญาในเรอื่ ง สอบสวนพจิ ารณา หรือ หรอื ต้องจาคกุ โดย ความผิดอาญาในเร่ืองที่
เหน็ วา่ ถา้ คงอยใู่ นหนา้ ท่ี เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั หิ รอื จะก่อใหเ้ กิดความไมส่ งบ คาพพิ ากษา และได้ สอบสวน หรือถกู ต้งั
ราชการตอ่ ไปอาจเกดิ ละเว้นการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ถกู ควบคมุ ตวั ขงั หรือ
ความเสยี หายแกร่ าชการ เรียบรอ้ ยข้นึ ต้องจาคกุ เปน็ เวลา กรรมการสอบสวน
ราชการ และ ภายหลังมีคาพพิ ากษา
(ข้อ ๗๘ (๑)) ผบู้ ังคับบญั ชาผมู้ อี านาจ (ขอ้ ๗๘ (๓)) ตดิ ตอ่ กันเกินกวา่ ถงึ ที่สดุ วา่ เป็นผกู้ ระทา
สั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ๑๕ วันแล้ว ความผิดอาญาในเร่ือง

พจิ ารณาแลว้ เห็นว่า (ข้อ ๗๘ (๔)) ทีส่ อบสวน และ
ถา้ คงอยูใ่ นหนา้ ท่ี ผ้บู ังคับบญั ชาผมู้ ีอานาจ
ราชการตอ่ ไปอาจเกิด สง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗
ความเสยี หายแกร่ าชการ
พิจารณาแล้วเหน็ ว่า
(ขอ้ ๗๘ (๒)) ข้อเท็จจรงิ ทีป่ รากฏตาม
คาพพิ ากษาถึงท่ีสุดนน้ั
การสัง่ พกั ราชการใหส้ ัง่ พักตลอดเวลาท่สี อบสวนหรือ
พิจารณา เว้นแตจ่ ะไดร้ ้องทกุ ขต์ ามมาตรา ๑๒๒ และ ไดค้ วามประจักษ์ชัด
ผูม้ อี านาจพจิ ารณาคารอ้ งทกุ ข์เหน็ วา่ สมควรสงั่ ให้กลับ อยูแ่ ลว้ ว่าการกระทา
เขา้ ปฏิบัตหิ นา้ ท่รี าชการกอ่ นการสอบสวนหรือพิจารณา ความผิดอาญานัน้
เสรจ็ ส้นิ เนอ่ื งจาก เปน็ ความผดิ วินยั

พฤตกิ ารณไ์ ม่เป็นอปุ สรรคต่อการสอบสวน , ไมก่ อ่ ให้เกดิ ความ อย่างร้ายแรง
ไม่สงบเรียบรอ้ ย
(ขอ้ ๗๘ (๕))
การดาเนนิ การทางวินัยลว้ งพ้น ๑ ปี นบั แตว่ ันพกั ราชการแลว้
ยังไม่แลว้ เสรจ็ , ผถู้ ูกสง่ั พกั ราชการไม่มพี ฤติกรรม ในกรณีทถ่ี ูกกล่าวหาว่ากระทาผดิ วนิ ยั อย่างร้ายแรง
จนถกู ต้งั กรรมการสอบสวนหลายสานวน หรือถูกฟอ้ ง
ใหส้ ั่งกลบั เข้ารับราชการกอ่ นสอบสวนเสรจ็
คดอี าญาหรอื ถูกกลา่ วหาว่ากระทาความผดิ อาญา
(ข้อ ๗๙) หลายคดี ใหส้ ั่งพกั ราชการทกุ สานวนหรือทุกคดี

ตามขอ้ ๗๘ (ข้อ ๘๐)

การส่ังพักราชการ
ใหส้ ั่งต้ังแต่วนั ออกคาส่ัง

(ข้อ ๘๑)

ต่อหนา้ ถดั ไป...

๑๐๔ กรณสี ั่งพกั ราชการไว้แลว้
แตต่ อ้ งสง่ั ใหมเ่ พราะคาสง่ั เดมิ
ถูกสั่งพักราชการอยูใ่ นระหวา่ งถูกควบคุม ไมช่ อบหรือไมถ่ กู ต้อง ใหส้ ่งั พัก
หรอื ขงั โดยถูกจบั ในคดีอาญาหรอื จาคุก ราชการต้งั แต่วันให้พักราชการ
โดยคาพิพากษา ใหส้ ่งั พักย้อนหลังไปถึง ตามคาสั่งเดมิ หรือตามวนั ท่ี
วันทถ่ี ูกควบคุมตัว ขงั หรือต้องจาคกุ ควรต้องพักราชการในขณะที่

(ข้อ ๘๑ (๑)) ออกคาสั่งเดมิ

(ขอ้ ๘๑ (๒))

คาสั่งพกั ราชการตอ้ งระบุชือ่ และตาแหนง่ ของ
ผู้ถูกสัง่ พกั ราชการ ตลอดจนกรณแี ละเหตทุ ่ี
สั่งพกั ราชการ และวันท่ีคาสง่ั พักราชการมผี ล

(ขอ้ ๘๒ วรรคแรก)
และต้องแจ้งใหผ้ ถู้ กู คาสง่ั พักราชการทราบ และ

ใหน้ าขอ้ ๗๓ มาใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม
(ขอ้ ๘๒ วรรคสอง)

กรณีมเี หตุทีอ่ าจถกู สัง่ พักราชการตามขอ้ ๗๘ และ กรณีสง่ั พักราชการแลว้
ผบู้ งั คับบัญชาผมู้ อี านาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ จะพจิ ารณาตามวรรคหนึ่ง
พจิ ารณาเห็นว่าการสอบสวนหรือพิจารณา หรือการ และสงั่ ใหผ้ ู้ถกู สงั่ พักราชการ
ดาเนนิ คดี จะไม่แลว้ เสร็จโดยเร็ว อาจสงั่ ให้ออกจาก ออกจากราชการไวก้ ่อนกไ็ ด้

ราชการไวก้ อ่ นกไ็ ด้ (ข้อ ๘๓) วรรคสอง

(ขอ้ ๘๓)

การส่งั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน ใหม้ ผี ลตง้ั แต่วนั ออกคาสั่ง เวน้ แต่ เม่อื ไดส้ งั่ พักราชการ ในกรณกี ระทาผดิ วินยั
ถา้ เป็นกรณที ส่ี ง่ ให้พักราชการไว้ก่อนแล้ว ให้ส่ังให้ออกจากราชการ อย่างร้ายแรงจนถกู ตัง้ กรรมการสอบสวน
และปรากฏผลการสอบสวนหรอื พจิ ารณา
ไวก้ ่อนต้งั แตว่ ันท่ีส่งั พกั ราชการเปน็ ต้นไป หรอื ในกรณที มี่ เี หตุ
ตามข้อ ๘๑ ใหส้ ่ังใหม้ ผี ลตั้งแตว่ นั ทก่ี าหนดในข้อ ๘๑ (ข้อ ๘๖) ให้ดาเนนิ การดังน้ี
(ข้อ ๘๔)

กรณสี ง่ั ให้ผดู้ ารงตาแหนง่ ประเภทบรหิ ารระดับสงู หรอื ประเภทวชิ าการ กรณกี ระทาผดิ วินยั อย่างไม่รา้ ยแรง กรณีกระทาผดิ
ระดบั ทรงคณุ วุฒิออกจากราชการไวก้ ่อน ใหน้ าความกราบบังคมทูลเพ่อื ให้มี ใหส้ ่งั ใหผ้ ้นู ัน้ กลับเขา้ ปฏิบตั ิหน้าที่ วนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรง
พระราชโองการให้พน้ จากตาแหนง่ นบั แตว่ ันออกจากราชการไวก้ ่อน ตามมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๖ ให้ดาเนนิ การตาม

(ข้อ ๘๕) (ขอ้ ๘๖ (๒)) มาตรา ๙๗
(ข้อ ๘๖ (๑))
กรณกี ระทาผดิ วินยั อย่างไม่รา้ ยแรงหรือมิได้กระทาผิด มิได้กระทาผดิ พ้นจากราชการ มีกรณีที่จะตอ้ ง
วินยั แตม่ ีกรณีอ่ืนถูกพักราชการหรอื ให้ออกจากราชการ วินยั ใหส้ ั่งให้กลบั ตามกฎหมาย ถกู ส่ังใหอ้ อกจาก ออกจากราชการ
เขา้ รับราชการ วา่ ด้วยบาเหนจ็ ด้วยเหตุอ่ืนแล้ว
ไว้ก่อน ถา้ จะดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ตามขอ้ ๙๑ และ ราชการ โดยมิใช่เพราะ
ให้รอผลการสอบสวน การพิจารณาหรือผลของคดี บานาญ
ในกรณีอน่ื ก่อน โดยยังไมส่ ั่งให้กลบั เข้าปฏิบัตหิ นา้ ท่ี สัง่ ยตุ ิเร่ือง ขา้ ราชการแลว้ (ข้อ ๘๖ (๒) (ข)) เหตตุ าย
แตถ่ า้ เป็นการยตุ ิเรื่อง ใหส้ ง่ั ยุติเรอื่ งโดยไม่ตอ้ งให้กลบั (ขอ้ ๘๖ (๒) (ค))
เขา้ ปฏบิ ัติหนา้ ท่รี าชการและแสดงเหตุท่ีไมส่ ง่ั ใหก้ ลบั เข้า (ขอ้ ๘๖ (๓)) (ข้อ ๘๖ (๒) (ก))

ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ราชการในคาสั่งด้วย

(ขอ้ ๘๖ (๔))

ต่อหนา้ ถัดไป...

ส่งั ให้ออกจากราชการไว้กอ่ นในกรณี ๑๐๕ มีกรณที ่ีจะต้อง ไดอ้ อกจาก
ถกู กล่าวหาวา่ กระทาผิดวินยั อย่างรา้ ยแรง ถูกสง่ั ให้ออก ราชการด้วยเหตุ
พ้นจากราชการตาม จากราชการ อื่นแล้ว โดยมใิ ช่
จนถกู ต้งั คณะกรรมการสอบสวน และ กฎหมายว่าด้วย (ขอ้ ๘๖ (๓) (ข)) เพราะเหตตุ าย
ปรากฏผลการสอบสวนหรอื พิจารณาแลว้ บาเหนจ็ บานาญ
ขา้ ราชการแล้ว (ขอ้ ๘๖ (๓) (ค))
ให้ดาเนินการ (ข้อ ๘๗) (ขอ้ ๘๖ (๓) (ก))

กรณกี ระทาผดิ กรณีกระทาผดิ วินัยอย่าง กรณีมไิ ดก้ ระทาผิดวนิ ัย
วินยั อยา่ งรา้ ยแรง ไม่ร้ายแรง ให้ดาเนินการตาม ใหส้ ง่ั ให้กลบั เขา้ รบั
มาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๖ ราชการตามขอ้ ๙๑
ใหด้ าเนินการ และสงั่ ยตุ ิเร่อื ง
ตามมาตรา ๙๗ (ขอ้ ๘๗ (๒))
(ขอ้ ๘๗ (๓))
(ขอ้ ๘๗ (๑))

พ้นจากราชการ มีกรณที ี่จะต้องถกู ได้ออกจาก พน้ จากราชการ มกี รณที จ่ี ะต้อง ได้ออกจาก
ตามกฎหมายว่า สง่ั ให้ออกจาก ราชการดว้ ยเหตุ ตามกฎหมาย ถูกส่ังให้ออกจาก ราชการดว้ ยเหตุ
ดว้ ยบาเหนจ็ ราชการ อ่นื แล้ว โดยมใิ ช่ ว่าด้วยบาเหน็จ อ่นื แลว้ โดยมใิ ช่
(ข้อ ๘๗ (๒) (ข)) เพราะเหตตุ าย ราชการ เพราะเหตุตาย
บานาญข้อ (ขอ้ ๘๗ (๒) (ค)) บานาญ
ราชการแล้ว ขา้ ราชการแลว้ (ข้อ ๘๗ (๓) (ข)) (ข้อ ๘๗ (๓) (ค))

(ข้อ ๘๗ (๒) (ก)) (ข้อ ๘๗ (๓) (ก))

กรณกี ระทาผดิ วนิ ยั อย่างไม่ร้ายแรงหรอื กรณีกระทาผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ ้ายแรง แตถ่ กู พกั ราชการ กรณีมไิ ดก้ ระทาผิดวนิ ยั แต่ถูกพักราชการ
มไิ ดก้ ระทาผดิ วินัย แตม่ กี รณอี ืน่ ในกรณอี ืน่ ให้สง่ั กลบั เข้ารบั ราชการโดยแสดงไวใ้ น ในกรณอี ื่น ให้สัง่ กลบั เขา้ รับราชการโดย
คาสั่งดว้ ยวา่ ผู้นนั้ ไม่อาจกลบั เขา้ ปฏบิ ัตหิ น้าทไ่ี ด้ แสดงไว้ในคาส่งั ดว้ ยวา่ ผนู้ ั้นไม่อาจกลบั
ถูกสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน ถา้ จะ เนื่องจากอยใู่ นระหวา่ งถกู สง่ั พักราชการในกรณอี น่ื เข้าปฏบิ ัติหนา้ ทไ่ี ดเ้ น่ืองจากอยูใ่ นระหว่าง
ดาเนนิ การตามมาตรา ๙๖ ใหร้ อผล ถา้ จะดาเนินการตามมาตรา ๙๖ ใหร้ อผลการสอบสวน
การสอบสวน การพจิ ารณาหรือผลของคดี ถกู ส่ังพักราชการในกรณีอน่ื
ในกรณีอืน่ ก่อน โดยไม่ต้องให้กลบั เข้า การพจิ ารณาหรือผลของคดีในกรณีอ่ืนก่อน
รบั ราชการ แตถ่ ้าเป็นการยุติเรอ่ื ง ให้สงั่ (ขอ้ ๘๗ (๖))
ยตุ เิ รอ่ื งโดยไม่ตอ้ งใหก้ ลบั เขา้ ปฏบิ ตั ิ (ข้อ ๘๗ (๕))
หนา้ ทร่ี าชการและแสดงเหตทุ ไ่ี มส่ งั่ ให้

กลบั เข้ารับราชการด้วย

(ข้อ ๘๗ (๔))

ต่อหน้าถดั ไป...

๑๐๖

เมือ่ ไดส้ ่ังให้พกั ราชการในกรณที ี่ถกู ฟอ้ งคดอี าญาหรอื ต้องหาว่า
กระทาความผดิ อาญา และปรากฏผลแหง่ คดีถงึ ท่สี ดุ
ใหด้ าเนนิ การ
(ขอ้ ๘๘)

กรณกี ระทาผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษ กรณกี ระทาผดิ อาญาจนไดร้ บั โทษ กรณกี ระทาผดิ อาญาจนไดร้ ับโทษ กรณีคาพิพากษาถึงทีส่ ดุ มิได้
จาคุกหรือโทษท่หี นักกวา่ โทษ จาคุกโดยคาพิพากษาถงึ ทส่ี ุด ตาม ๘๘ (๑) หรอื (๒) แตศ่ าลรอ วินิจฉัยวา่ ผู้น้ันกระทาผดิ อาญา
จาคกุ โดยคาพพิ ากษาถึงทสี่ ดุ ในความผดิ ทก่ี ระทาโดยประมาท การกาหนดโทษหรอื รอการลงโทษ หรือมิไดม้ กี ารฟอ้ งคดีอาญาใน
เว้นแตโ่ ทษสาหรับความผดิ หรือความผดิ ลหุโทษหรอื ตอ้ ง หรือไดร้ บั โทษอยา่ งอื่นนอกจาก กรณที ตี่ อ้ งหาว่ากระทาผดิ อาญา
ทีก่ ระทาโดยประมาทหรือ รบั โทษจาคุกตามคาสั่งศาล ส่ังใหก้ ลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทต่ี าม
ความผิดลหโุ ทษ ดาเนนิ การ ดาเนินการตามมาตรา ๙๓ หรือ (๑) หรอื (๒) สัง่ ให้กลบั เข้า ข้อ ๙๑ และดาเนินการตาม
ตามมาตรา ๙๗ โดยไมต่ ้องสงั่ ให้ มาตรา ๑๑๐ (๘) แลว้ แต่กรณี ปฏบิ ัติหน้าทต่ี ามขอ้ ๙๑ และ
กลับเขา้ ปฏบิ ตั ิหน้าที่ โดยไม่ต้องส่งั ใหก้ ลบั เขา้ ดาเนนิ การตามกฎ ก.พ. น้ตี อ่ ไป กฎ ก.พ. นี้ตอ่ ไป
ปฏิบตั ิหนา้ ที่ (ข้อ ๘๘ (๔))
(ข้อ ๘๘ (๑)) (ขอ้ ๘๘ (๓))
(ขอ้ ๘๘ (๒))
กรณีถูกส่ังพกั ราชการตามขอ้ ๘๘ (๓) หรอื
เมอ่ื ไดส้ ั่งใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นในกรณที ี่ถูกฟอ้ ง (๔) ได้พน้ จากราชการตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
คดอี าญา หรอื ต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา และ บาเหนจ็ บานาญข้าราชการ หรอื มกี รณที ี่
จะต้องถกู สง่ั ใหอ้ อกจากราชการดว้ ยเหตุอน่ื
ปรากฏผลแห่งคดีถึงที่สดุ แลว้ ให้ดาเนินการ หรือได้ออกจากราชการด้วยเหตุอน่ื ไปแล้ว
(ขอ้ ๘๙) หรือมกี รณีอืน่ ทผ่ี ู้นัน้ ส่ังพักราชการหรอื ให้
ออกจากราชการไวก้ อ่ นไม่ต้องสงั่ ใหก้ ลบั เขา้
รบั ราชการ แต่ใหแ้ สดงเหตทุ ไี่ มส่ ่งั ให้กลบั

เขา้ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีราชการไว้ดว้ ย
(ข้อ ๘๘ วรรคสอง)

กรณีกระทาผดิ อาญาจนไดร้ ับโทษ กรณีกระทาผดิ อาญาจนไดร้ บั กรณีกระทาผดิ อาญาจนไดร้ ับโทษ กรณีคาพพิ ากษาถงึ ทสี่ ดุ มไิ ดว้ ินิจฉยั
จาคุกหรือโทษที่หนกั กว่าโทษ โทษจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึง ตาม (๑) หรือ (๒) แตศ่ าลรอการ ว่าผู้น้นั กระทาผิดอาญา หรอื มไิ ดม้ ี
ทีส่ ดุ ในความผิดทีก่ ระทาโดย กาหนดโทษหรอื รอการลงโทษ การฟ้องคดีอาญาในกรณีทตี่ ้องหา
จาคุกโดยคาพิพากษาถึงทสี่ ุด เวน้ ประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ หรือไดร้ บั โทษอย่างอืน่ นอกจาก วา่ กระทาผดิ อาญา สั่งให้กลบั เข้ารบั
แต่โทษสาหรบั ความผิดทีก่ ระทา หรือตอ้ งรับโทษจาคกุ ตาม (๑) หรือ (๒) ใหส้ ัง่ ให้กลบั เข้ารบั ราชการตามขอ้ ๙๑ และถา้ การ
โดยประมาทหรอื ความผิดลหโุ ทษ คาส่ังศาล ดาเนินการตาม กระทาดงั กลา่ วมมี ลู ทค่ี วรกลา่ วหา
ดาเนนิ การตามมาตรา ๙๗ โดย มาตรา ๙๓ หรอื มาตรา ๑๑๐ ราชการตามขอ้ ๙๑ และ วา่ กระทาผดิ วนิ ยั ดาเนนิ การตามกฎ
ไม่ต้องสงั่ ให้กลบั เข้ารับราชการ (๘) แล้วแต่กรณี โดยไม่ตอ้ งส่ัง ดาเนนิ การตามกฎ ก.พ. นต้ี อ่ ไป
ก.พ. น้ีต่อไป
(ข้อ ๘๙ (๑)) ใหก้ ลบั เข้ารบั ราชการ (ขอ้ ๘๙ (๓)) (ขอ้ ๘๙ (๔))

(ข้อ ๘๙ (๒))

กรณถี ูกสง่ั พกั ราชการไว้ก่อนตามขอ้ ๘๙ (๓) หรอื (๔) มกี รณีอ่นื ทถี่ กู สง่ั
พกั ราชการด้วยใหส้ ง่ั ใหผ้ ้นู นั้ กลบั เขา้ รบั ราชการ โดยแสดงไว้ในคาสงั่ ดว้ ย
วา่ ผนู้ นั้ ยงั ไม่อาจกลับเขา้ ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ไี ด้ เนอื่ งจากอย่รู ะหว่างถกู สง่ั พัก

ราชการในกรณีอ่นื แตถ่ ้าผูน้ นั้ ไดพ้ น้ จากราชการตามกฎหมายว่าดว้ ย
บาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ หรือมกี รณีที่จะต้องถูกสั่งออกจากราชการ
ดว้ ยเหตอุ ื่น หรอื ได้ออกจากราชการด้วยเหตอุ ืน่ ไปแลว้ หรอื มกี รณอี ่นื
ทผ่ี ูน้ น้ั ถกู สง่ั ให้ออกจากราชการไวก้ ่อน ไม่ตอ้ งสัง่ ใหก้ ลบั เขา้ รับราชการ

แตใ่ หแ้ สดงเหตุทไ่ี มส่ ัง่ ใหก้ ลับเขา้ ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ราชการไวด้ ้วย
(ข้อ ๘๙ วรรคสอง)

ตอ่ หน้าถัดไป...

๑๐๗

กรณีขา้ ราชการถูกดาเนินการทางวนิ ัย หรอื ถูกฟอ้ ง
คดีอาญา หรอื ต้องหาวา่ กระทาความผดิ อาญาทีไ่ มเ่ ข้า
ลกั ษณะตามข้อ ๗๘ และมีกรณอี น่ื ทถี่ ูกพกั ราชการหรือ
ถกู สงั่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ น เมอื่ ปรากฏผลการ
สอบสวน พจิ ารณา หรอื ผลแห่งคดีถงึ ท่สี ดุ ในเรอื่ งท่มี ไิ ดส้ ัง่
พกั ราชการหรอื ให้ออกจากราชการไวก้ อ่ น ใหด้ าเนนิ การ

(ขอ้ ๙๐)

กรณีกระทาผดิ วนิ ัยอยา่ งร้ายแรง กรณีกระทาผดิ วนิ ยั อย่าง กรณสี มควรใหอ้ อกจาก กรณีมไิ ดก้ ระทาผิดวินัย
หรอื กระทาผิดอาญาจนไดร้ ับโทษ ไมร่ า้ ยแรง ให้รอดาเนนิ การ ราชการตามมาตรา ๑๑๐ ในเรื่องนั้น ให้ส่งั ยตุ เิ รื่อง
จาคกุ หรอื โทษท่ีหนกั กวา่ จาคุก
โดยคาพพิ ากษาถงึ ท่ีสุด เว้นแต่ ตามมาตรา ๙๖ ไวก้ ่อน (๖) (๗) หรือ (๘) ให้ (ขอ้ ๙๐ (๔))
จนกว่าจะปรากฏผลการ ดาเนินการใหอ้ อกจาก
โทษจาคุกสาหรับการกระทา สอบสวน พจิ ารณา หรอื ผล
ความผดิ โดยประมาทหรอื แหง่ คดถี งึ ที่สุด จงึ ดาเนนิ การ ราชการได้
ความผดิ ลหโุ ทษ ใหด้ าเนนิ การ ตามควรแกก่ รณตี อ่ ไป
(ขอ้ ๙๐ (๓))
ตามมาตรา ๙๗ (ขอ้ ๙๐ (๒))

(ขอ้ ๙๐ (๑))

การสั่งให้ผู้ทถี่ กู คาสั่งพกั จากราชการกลบั เข้าปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการ หรอื
ต้องสงั่ ใหผ้ ทู้ ี่ถูกคาสงั่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ อ่ นกลับเขา้ รบั ราชการ
ใหผ้ บู้ ังคับบัญชาผมู้ อี านาจสั่งบรรจตุ ามมาตรา ๕๗ ส่ังให้ผูน้ น้ั กลบั เข้า
ปฏบิ ตั หิ น้าท่รี าชการหรอื กลับเขา้ รับราชการในตาแหนง่ ตามเดิม

หรือตาแหนง่ อนื่ ในประเภทเดียวกนั และระดับเดียวกนั หรือในตาแหนง่
ประเภทและระดบั ที่ ก.พ. กาหนด ทงั้ นี้ ผู้น้ันตอ้ งมคี ณุ สมบตั ติ รงตาม

คณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งนนั้

(ขอ้ ๙๑)

กรณสี ่งั ให้ผู้ถูกคาสงั่ ออกจากราชการไว้กอ่ นกลบั เขา้ รับราชการใน
ตาแหน่งประเภทบริหารระดบั สูง หรอื ประเภทวชิ าการระดับทรงคุณวฒุ ิ

ใหน้ าความบังคมทลู เพื่อทรงโปรดเกล้าฯ แต่งต้งั
(ข้อ ๙๑ วรรคสอง)

คาส่ังพักราชการ คาสง่ั ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน คาส่งั ให้กลับเขา้ ปฏบิ ตั ิ
หน้าท่ีราชการหรือคาส่งั ใหก้ ลบั เขา้ รับราชการ ให้มสี าระสาคญั ตามแบบท่ี

ก.พ. กาหนด

(ข้อ ๙๒)

๑๐๘

การนับระยะเวลา (หมวด ๙)

การนบั ระยะเวลาตามกฎ ก.พ. น้ี ถ้ากาหนดเปน็ วัน สปั ดาห์ หรือเดอื น
มใิ หน้ ับวนั แรกแห่งระยะเวลาน้ันรวมเข้าดว้ ย เวน้ แตค่ ณะกรรมการ
สอบสวนหรอื ผูซ้ ่งึ ตอ้ งใชอ้ านาจตามกฎ ก.พ. น้จี ะได้เร่ิมการในวันนนั้

(ข้อ ๙๓ วรรคหนงึ่ )

กรณีคณะกรรมการสอบสวนหรอื ผู้ซ่งึ ตอ้ งใชอ้ านาจตามกฎ ก.พ. นี้
ต้องกระทาการอยา่ งหน่ึงอย่างใดภายในระยะเวลาทก่ี าหนด ใหน้ บั วนั

สิน้ สุดของระยะเวลานัน้ รวมเข้าไปดว้ ยแม้วา่ วนั สดุ ท้ายเป็น
วนั หยุดราชการ
(ข้อ ๙๓ วรรคสอง)

กรณีบุคคลอืน่ นอกจากท่กี าหนดไว้ในวรรคสอง ต้องทาการอยา่ งหนง่ึ
อย่างใดภายในระยะเวลาทีก่ าหนด ถ้าวนั สดุ ท้ายเปน็ วนั หยดุ ราชการ

ใหถ้ อื ว่าระยะเวลานนั้ สิ้นสุดในวันทางานที่ถดั จากวนั หยุดน้ัน
(ข้อ ๙๓ วรรคสาม)

บทเบด็ เตล็ด (หมวด ๑๐)

กรณที ีม่ เี หตผุ ลความจาเปน็ เปน็ พเิ ศษท่ไี ม่อาจนาหลักเกณฑ์ วิธกี าร
และระยะเวลาทก่ี าหนดในกฎ ก.พ. นี้มาใช้บังคบั ได้ การดาเนินการใน
เรื่องนน้ั จะสมควรดาเนนิ การประการใด ให้เป็นไปตามที่ ก.พ. กาหนด

(ข้อ ๙๔)

๑๐๙

บทเฉพาะกาล

กรณีที่ไดร้ บั การสัง่ ใหส้ อบสวนขา้ ราชการโดยถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรือ
หลกั เกณฑ์ทใี่ ช้อยกู่ อ่ นวนั ทก่ี ฎ ก.พ. น้ใี ชบ้ งั คับ แต่การสอบสวนยงั ไมแ่ ล้วเสร็จใหด้ าเนินการ
สอบสวนผู้นัน้ ตามกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือหลักเกณฑ์ทใี่ ช้อย่นู น้ั ตอ่ ไปจนกวา่ จะแล้วเสรจ็

สว่ นการพิจารณาและดาเนนิ การตอ่ ไปใหด้ าเนนิ การตามกฎ ก.พ. น้ี
(ขอ้ ๙๕)

กรณีท่ีไดม้ กี ารสอบสวนขา้ ราชการโดยถูกต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรือหลกั เกณฑ์
ท่ีใชอ้ ย่ใู นขณะนัน้ เสรจ็ ไปแล้วในวันกอ่ นวันท่ีกฎ ก.พ. น้ีใชบ้ งั คับ แต่ยงั มไิ ดพ้ ิจารณาและ

ดาเนินการ หรือพจิ ารณาดาเนินการยงั ไมแ่ ล้วเสรจ็ ใหด้ าเนนิ การตามกฎ ก.พ. นี้
(ขอ้ ๙๖)

กรณีทไ่ี ดม้ กี ารสอบสวนและพจิ ารณาโดยถกู ต้องตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บหรอื หลกั เกณฑ์
ที่ใช้อยใู่ นขณะน้ันเสรจ็ ไปแล้วก่อนวนั ทีก่ ฎ ก.พ. นีใ้ ช้บงั คับ แตย่ ังมิไดด้ าเนินการใหเ้ ปน็

ไปตามผลการพิจารณาดังกล่าว ให้สอบสวนและพจิ ารณาน้นั เป็นอนั ใชไ้ ด้ ส่วนการ
ดาเนนิ การต่อไปใหด้ าเนนิ การตามกฎ ก.พ. นี้
(ขอ้ ๙๗ วรรคหน่ึง)

กรณีท่จี ะสง่ั ลงโทษตดั เงินเดือนหรอื ลดข้ันเงนิ เดอื นขา้ ราชการผ้กู ระทาความผดิ วนิ ยั
อย่างไม่รา้ ยแรงกอ่ นวนั ทกี่ ฎ ก.พ. น้ใี ช้บังคับ แต่ยงั ไมไ่ ดส้ ั่งลงโทษ ใหส้ ่ังลงโทษ
ตามข้อ ๖๗ (๒) หรอื (๓) แลว้ แตก่ รณี
(ข้อ ๙๗ วรรคสอง)

กรณีท่ีจะสงั่ พกั ราชการหรอื ส่ังใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ นโดยถูกต้องตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ หรอื หลักเกณฑท์ ี่ใชอ้ ย่กู อ่ นวันทก่ี ฎ ก.พ. นีใ้ ชบ้ ังคบั และการสอบสวนหรือการ
พิจารณานน้ั ยังไมเ่ สรจ็ ให้การสัง่ พกั ราชการหรือสัง่ ใหอ้ อกราชการไวก้ ่อนนั้นมผี ลต่อไป

ตามกฎ ก.พ. นี้ จนกว่าจะมีการสง่ั การเปน็ อยา่ งอื่นตามกฎ ก.พ. น้ี
(ข้อ ๙๘)

๑๑๐

แนวทาง หลกั การ และเหตุผลในการประกาศใช้ กฎ ก.พ. ฯ

๑. กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนต้ังแต่เริ่มต้นมาจนถึงปัจจุบันได้บัญญัติเก่ียวกับการ
ดาเนินการทางวินัยแก่ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดเก่ียวกับวินัยมาโดยตลอด ต้ังแต่การต้ังเร่ืองกล่าว หา
การสอบสวน การพิจารณาความผิดและกาหนดโทษจนถึงการลงโทษตามความร้ายแรงแห่งกรณีเป็นกรณี ๆ
นอกจากน้ันระหว่างการสอบสวนอาจมีการสั่งพักราชการหรือการให้ออกจากราชการไว้ก่อนเพ่ือรอฟังผลการ
สอบสวนหรือพิจารณาได้ โดยมีการออกเป็นกฎ ก.พ. แยกออกเป็นเร่ืองไป

๒. แตใ่ นปัจจุบันเม่ือพระราชบญั ญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ใช้บังคับแล้วก็มีการพิจารณา
เพ่ือดาเนินการปรับปรุงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการต่าง ๆ เก่ียวกับการดาเนินการทางวินัยอีกครั้ง โดยครั้งน้ี
ได้มีการบันทึกหลักการและเหตุผลเสนอ อ.ก.พ.ฯ วินัยฯ พิจารณา ซ่ึง อ.ก.พ.ฯ วินัยฯ ได้พิจารณาแล้วมีความเห็น
โดยสรุปวา่ มาตราทบ่ี ญั ญัตเิ กีย่ วกบั กระบวนการดาเนินการทางวนิ ัยบญั ญัติไว้รวม ๖ มาตรา คือ มาตรา ๙๔ (๔)
มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ วรรคสี่ มาตรา ๙๗ วรรคสอง มาตรา ๑๐๑ วรรคแปด และมาตรา ๑๐๕ ดังน้ันเพ่ือให้
กฎ ก.พ. น้ี เป็นการกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาเก่ียวกับการดาเนินการทางวินัยทั้งกระบวนการ
จงึ เห็นควรกาหนดไว้ในกฎ ก.พ. ฉบบั เดียวเพ่ือใหผ้ ู้ปฏิบัติงานสะดวกในการใชง้ าน

๓. ขณะนี้รา่ งกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการทางวินัยได้ยกร่างและผ่านการตรวจพิจารณาแล้ว จานวน
๙๘ ข้อ ประกอบด้วยหมวดต่าง ๆ รวม ๑๐ หมวด และบทเฉพาะกาล ดังนี้

(๑) หมวด ๑ การดาเนนิ การเมือ่ มีการกล่าวหาหรือมีกรณีเปน็ ท่ีสงสัยว่ามกี ารกระทาผดิ วนิ ัย
(๒) หมวด ๒ การสืบสวนหรือพจิ ารณาในเบือ้ งตน้
(๓) หมวด ๓ การดาเนนิ การในกรณมี มี ูลท่ีควรกลา่ วหาว่ากระทาผดิ วินยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง
(๔) หมวด ๔ การดาเนนิ การในกรณีมมี ลู ทคี่ วรกล่าวหาว่ากระทาผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง
(๕) หมวด ๕ กรณคี วามผดิ ทีป่ รากฏชดั แจง้
(๖) หมวด ๖ การสง่ั ยตุ ิเรอ่ื ง ลงโทษ หรืองดโทษ
(๗) หมวด ๗ การมคี าสัง่ ใหม่ กรณมี ีการเพ่ิมโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษ
(๘) หมวด ๘ การส่ังพกั ราชการและให้ออกจากราชการไว้ก่อน
(๙) หมวด ๙ ระยะเวลา
(๑๐) หมวด ๑๐ บทเบ็ดเตล็ด
(๑๑) บทเฉพาะกาล
๔. กฎ ก.พ. ฉบับน้ีได้ผ่านการพิจารณาของ ก.พ. และ อ.ก.พ.ฯ วินัยฯ อ.ก.พ.ฯ กฎหมายฯ ตลอดจน
คณะทางานกลัน่ กรองกฎหมายลาดับรองแลว้ และกาลังอยู่ในระหว่างนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็น
และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเพื่อใช้บังคับไป
๕. ประเดน็ สาคญั ทบี่ รรดาผปู้ ฏบิ ัติงานเก่ียวกับการดาเนินการทางวินัย ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรนักทรัพยากรบุคคล
นิติกร หรือผู้ที่ดารงตาแหน่งอื่น แต่ได้รับเกียรติให้มาทาหน้าที่เป็นคณะกรรมการสอบสวนหรือพิจารณาเสนอ

๑๑๑

ความเหน็ ต่อผบู้ ริหารจาเป็นต้องรู้ คือ มีอะไรแปลกแตกต่างไปจากหลักเกณฑ์ วิธีการ เง่ือนไข และระยะเวลาเดิม
ทก่ี าหนดไว้หรอื ไม่เพียงใด ตรงน้ตี ่างหาก

๖. เมอ่ื ตรวจสอบร่างกฎ ก.พ. ฉบับนี้แล้วพบวา่ หลักเกณฑ์และวิธีการต่าง ๆ ยังคงเหมือนเดิมเป็นส่วนใหญ่
มีที่แตกต่างออกไปเฉพาะเร่ืองการสอบสวนกรณีมีมูลกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง โดยหลักการใหญ่
ยงั คงเหมอื นเดิมคือตอ้ งมกี ารต้ังเรื่องกลา่ วหา (ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน) การแจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐาน
ทส่ี นบั สนุนข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกลา่ วหาทราบและรับฟังคาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาของผู้ถูกกล่าวหาและหากผลการสอบสวน
เสร็จสิ้นโดยคณะกรรมการสอบสวนหรือผู้ส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเห็นว่า กรณีเป็นการกระทาผิดวินัย
อยา่ งรา้ ยแรงก็จะต้องสง่ เรอ่ื งให้ อ.ก.พ. สามญั พจิ ารณา และเมอ่ื อ.ก.พ. สามัญ มมี ตปิ ระการใด ก็ให้ผ้บู ังคับบัญชาส่ัง
หรือปฏิบัตใิ ห้เปน็ ไปตามนน้ั

๗. สง่ิ ที่แตกตา่ งไปจากเดิมมบี างประการ
(๑) ผูม้ อี านาจสัง่ แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
(๑.๑) มาตรา ๙๓ บัญญัติให้เป็นอานาจของผู้บังคับบัญชาซึ่งมีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗

(๑) – (๑๑)
(๑.๒) มาตรา ๙๔ (๔) บัญญตั ิไวใ้ นขอ้ ๑๖ และข้อ ๑๗

(๒) หลกั เกณฑ์ วิธกี ารและระยะเวลาสอบสวน
(๒.๑) แตง่ ต้งั ลกู จ้างประจาหรือพนกั งานราชการเป็นผู้ชว่ ยเลขานุการได้ (ข้อ ๑๘ วรรค ๔)
(๒.๒) กาหนดระยะเวลาเร่งรัดการสอบสวนให้เสร็จภายใน ๑๒๐ วัน และสามารถขยายเวลา

ไดไ้ ม่เกินครัง้ ละ ๖๐ วนั แตไ่ ม่ได้จากดั จานวนคร้ัง (ขอ้ ๕๔)
(๒.๓) ตดั ขน้ั ตอน การแจง้ และอธบิ ายข้อกลา่ วหา (ส.ว. ๒)
(๒.๔) แม้ก่ึงหนึ่งของคณะกรรมการสอบสวนเกิน ๓ คน ก็ตามสามารถใช้กรรมการสอบสวน

จานวน ๓ คน สอบปากคาพยานได้ (ขอ้ ๓๐)
(๒.๕) ใหส้ ิทธิแกผ่ ู้ถูกกล่าวหานาที่ปรกึ ษา หรือทนายความเข้ามาร่วมในการสอบสวนได้ (ข้อ ๓๒)

(๓) การส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. สามัญ พิจารณาตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง (ข้อ ๕๘) ให้พิจารณาผู้ส่ัง
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเป็นเกณฑ์ว่าจะส่งเร่ืองให้ อ.ก.พ. สามัญ ระดับใดพิจารณา เช่น ผู้ว่าราชการ
จงั หวัด ก็ส่ง อ.ก.พ. จังหวัด

๘. นอกเหนือจากน้ัน การสอบสวนทางวินัยอย่างไม่ร้ายแรง กฎ ก.พ. ฉบับใหม่ได้กาหนดแนวทางการ
ดาเนนิ การได้ ๒ แบบ คือ ผู้บงั คบั บญั ชาซึ่งมีอานาจสง่ั บรรจุตามมาตรา ๕๗ ดาเนินการสอบสวนเอง หรือแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนก็ได้ พร้อมกับมีการกาหนดระยะเวลาเร่งรัดการสอบสวนไว้ด้วย คือ จานวน ๔๕ วัน
สาหรบั สอบสวนเอง และจานวน ๖๐ วันสาหรับการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ ๙ และข้อ ๑๓) แต่ก็ยัง
สามารถขอขยายเวลาสอบสวนได้ หากมีเหตุผลและความจาเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในข้อ ๑๓ วรรคสาม ยังให้
ผู้บังคับบัญชาซ่ึงมีอานาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไม่ขยายเวลาสอบสวนให้ตามขอ และสั่งยุติการสอบสวนแล้ว
พจิ ารณาสงั่ หรือดาเนนิ การตามข้อ ๑๑ ต่อไปกไ็ ด้

๑๑๒

เหตุผลในการประกาศใช้กฎ ก.พ. ฉบับน้ี คือ โดยท่ีพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
มาตรา ๙๔ (๔) มาตรา ๙๕ มาตรา ๙๖ วรรคสี่ มาตรา ๙๗ วรรคสอง มาตรา ๑๐๑ วรรคแปด และมาตรา ๑๐๕
บญั ญตั ิให้การดาเนินการทางวินยั เปน็ ไปตามที่กาหนดในกฎ ก.พ. จงึ จาเปน็ ตอ้ งออกกฎ ก.พ. น้ี

บรรณานกุ รม

____________เว็บไซต์ สำนักงำน ก.พ. http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/
กฎ ก.พ. ว่ำดว้ ยกำรดำเนินกำรทำงวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖.

____________สำนกั งำน ก.พ.. สรปุ สำระสำคญั กฎ ก.พ. วำ่ ดว้ ยกำรดำเนนิ กำรทำงวนิ ยั พ.ศ. ๒๕๕๖

____________เว็บไซต์ http://www.discipline.police.go.th/paper๐๒/๐๙๕.doc
ระเบียบกระทรวงกำรคลงั วำ่ ด้วยกำรจำ่ ยเงนิ สมนำคุณกรรมกำรสอบสวนทำงวินัย

ขำ้ รำชกำร พ.ศ. ๒๕๓๖

ภาคผนวก































การแจง้ ตาแหนง่ คณะกรรมการสอบสวน
ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการทางวนิ ัย พ.ศ. ๒๕๕๖

ตามข้อ ๒๑ (๑) ของกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการทางวินัย พ.ศ. ๒๕๕๖ กาหนดให้ผู้ส่ัง
แต่งต้ังคณะกรรมการสอบสวนแจ้งตาแหน่งของประธานกรรมการ กรรมการ และผู้ช่วยเลขานุการ (ถ้ามี)
รวมท้งั สทิ ธคิ ัดคา้ นคณะกรรมการสอบสวนไปพรอ้ มกับคาส่ังแตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนนั้น

บัดน้ี ไดม้ คี าสง่ั ...............................ท.ี่ ............./.............เรอ่ื ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวน
ทางวนิ ยั อย่างร้ายแรง ลงวนั ที่ .....................................เพื่อสอบสวนท่าน จึงแจ้งตาแหน่งและระดับตาแหน่ง
ของคณะกรรมการสอบสวนให้ทราบ ดังนี้

..................(ชือ่ และตาแหนง่ ๑).................. เปน็ ประธานกรรมการ
..................(ชื่อ และตาแหน่ง๑).................. เป็นกรรมการ

ฯลฯ ฯลฯ
..................(ช่อื และตาแหน่ง๑).................. เปน็ กรรมการและเลขานุการ
..................(ชื่อ และตาแหนง่ ๑).................. เป็นผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร (ถา้ มี)

ทงั้ น้ี ท่านมีสทิ ธิคดั ค้านคณะกรรมการสอบสวนตามท่ีกาหนดในกฎ ก.พ. ว่าด้วยการดาเนินการ
ทางวินยั พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวด ๔ การดาเนินการในกรณมี ีมูลท่คี วรกล่าวหาวา่ กระทาผิดวินยั อย่างรา้ ยแรง

๑ ให้ระบตุ าแหนง่ ในการบรหิ ารงาน (ถา้ ม)ี ตาแหน่งในสายงานและระดบั ดว้ ย
๒ หากเปน็ กรณแี ตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ให้ใชห้ มวด ๓ การดาเนินการในกรณมี ีมูลที่ควรกลา่ วหาวา่ กระทาผิดวนิ ยั

อย่างไมร่ ้ายแรง ประกอบกับหมวด ๔ การดาเนนิ การในกรณมี ีมูลทคี่ วรกล่าวหาว่ากระทาผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรงโดยอนุโลม

ระเบียบกระทรวงการคลงั
วา่ ดว้ ยการจ่ายเงนิ สมนาคณุ กรรมการสอบสวนทางวนิ ัยขา้ ราชการ

พ.ศ. ๒๕๓๖

________________

โดยท่ีเป็นการสมควรปรับปรุงระเบียบการจ่ายเงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนทางวินัย
ข้าราชการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น กระทรวงการคลังด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจึงกาหนดระเบียบการ
จ่ายเงินสมนาคณุ ให้แกก่ รรมการ ซึง่ ทาหนา้ ท่สี อบสวนข้าราชการผ้กู ระทาผิดวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง ไว้ดังต่อไปน้ี

ข้อ ๑ ระเบียบนเ้ี รยี กว่า “ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจา่ ยเงนิ สมนาคณุ กรรมการสอบสวน
ทางวนิ ยั ข้าราชการ พ.ศ.๒๕๓๖”

ข้อ ๒ ระเบียบน้ีให้ใชบ้ ังคับตั้งแต่บดั นเี้ ปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ ระเบยี บการจา่ ยเงนิ สมนาคุณกรรมการสอบสวนวนิ ัยข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๒๒
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ และคาส่ังอ่ืนใด ในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วในระเบียบน้ีหรือซ่ึงขัดแย้ง
กบั ระเบียบน้ี ใหใ้ ช้ระเบยี บนแ้ี ทน
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้
“ข้าราชการ” หมายความว่า ข้าราชการพลเรือนตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
ข้าราชการครูตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู ข้าราชการฝ่ายตุลาการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
ข้าราชการฝ่ายตุลาการ ข้าราชการฝ่ายอัยการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือน
ในมหาวิทยาลัยตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการฝ่ายรัฐสภาตาม
กฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการฝ่ายรัฐสภา ข้าราชการตารวจตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการตารวจ
และข้าราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการทหาร
“กรรมการ” หมายความว่า ข้าราชการซึ่งได้รับแต่งต้ังให้เป็นการสอบสวนทางวินัย ตามกฎหมาย
ระเบียบหรอื ขอ้ บังคบั วา่ ด้วยการนั้น
“การสอบสวนทางวินยั ” หมายความว่า การสอบสวนข้าราชการผ้ถู ูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
อยา่ งร้ายแรง
ข้อ ๕ ในการประชุมเพ่ือพิจารณาสอบสวนทางวินัยข้าราชการแต่ละเรื่อง ให้กรรมการซึ่งมาประชุม
ไดร้ บั เงนิ สมนาคุณ ในอตั ราดังนี้

(๑) ครัง้ ละ ๒๕๐ บาท สาหรบั การประชุมเพ่อื สอบสวนทางวินัยตามปกติ
(๒) ครั้งละ ๓๐๐ บาท สาหรบั การประชุมเพอื่ มมี ตวิ า่ พยานหลักฐานมีน้าหนักพอสนับสนุน
ขอ้ กล่าวหาหรือไม่ หรอื มมี ตวิ ่าผู้ถกู กลา่ วหากระทาผดิ วินัยอยา่ งร้ายแรงหรอื ไม่
ในกรณีท่ีวันเดียวกันมีการประชุมมากกว่าหน่ึงคร้ังในการสอบสวนทางวินัยเร่ืองเดียวกัน
ให้ได้รับเงนิ สมนาคณุ เพียงครง้ั เดียว เวน้ แต่การประชุมคร้งั ใดเป็นการประชมุ เพ่อื สอบสวนตาม (๑) และ (๒)

~๒~

การเบกิ จา่ ยเงินสมนาคุณตามวรรคหนึง่ ให้เบิกจา่ ยได้เฉพาะการประชุมภายใน ๖๐ วัน นับแต่
วนั ทเี่ ริ่มประชุมพิจารณาหรือสอบสวนคร้ังแรก

ข้อ ๖ ให้เบิกจ่ายเงินสมนาคุณตามระเบียบนี้ จากเงินงบประมาณรายจ่ายหมวดค่าตอบแทน
ของส่วนราชการเจ้าของเรือ่ ง

หลักฐานการจ่ายให้เป็นไปตามแบบท่ีกาหนดไว้ท้ายระเบียบนี้ และให้ผู้เบิกส่งสาเนาคาส่ัง
แต่ตั้งกรรมการไปให้สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือสานักงานตรวจเงินแผ่นดินส่วนภูมิภาคแล้วแต่กรณี
เพือ่ ตรวจสอบพร้อมงบเดือน

ข้อ ๗ การจ่ายเงินสมนาคุณนอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในระเบียบน้ี ให้ขอทาความตกลงกับ
กระทรวงการคลัง

ขอ้ ๘ ใหป้ ลัดกระทรวงการคลังเป็นผรู้ ักษาการตามระเบียบน้ี

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๖

ธารินทร นิมมานเหมินท
(นายธารินทร นิมมานเหมินท)
รัฐมนตรวี า การกระทรวงการคลงั





รายนามคณะผ้จู ัดทา

คณะทางาน

นายวษิ ณุ ธนั วรกั ษ์กิจ ผู้อานวยการกองการเจา้ หน้าท่ี
นางอรชร วงศ์วาร นติ ิกรชานาญการพเิ ศษ (หวั หนา้ กลมุ่ งานวนิ ยั )
นายจกั รพนั ธ์ จันทรภมู ิ นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการพเิ ศษ

นายชวลิต ทววี ัฒนานนท์ (รกั ษาการในตาแหน่งนิติกรชานาญการพิเศษ)
นายกมลยศ พันธุมาศโกมล
นายอนุวัตร พลกล้า นิติกรชานาญการ
นิตกิ รปฏบิ ตั กิ าร
พนกั งานพมิ พ์ ๓


Click to View FlipBook Version