The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-11-03 08:47:22

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าภอมะนัง / ก


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าภอมะนัง / ก ค ำน ำ รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง เล่มนี้ จัดท าขึ้นเพื่อ รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จากกรอบการด าเนินงานของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ และ จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 การจัดท ารายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ประกอบด้วย สภาพทั่วไป ทิศทางของสกร.อ าเภอ มะนัง ผลการด าเนินงาน รายงานดังกล่าวจะส าเร็จมิได้ถ้าขาดการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครูเจ้าหน้าที่ของสกร.อ าเภอมะนัง คณะกรรมการสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย สถานศึกษาขอขอบคุณผู้ที่มีส่วน ร่วมทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ตุลาคม 2566


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / ข สารบัญ หน้า ค าน า สารบัญ ส่วนที่ 1 บทน า 1 - สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 1 - ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา 3 ส่วนที่ 2 ทิศทางของกศน. 11 - นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 11 - การวิเคราะห์สภาพขององค์กร Swot Analysis กศน.อ าเภอมะนัง 17 - ปรัชญา/วิสัยทัศน์/อัตลักษณ์ 21 - พันธกิจ 21 - เป้าประสงค์ 22 ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงาน 24 - รายงานผลการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 27 ภาคผนวก 66 คณะผู้จัดท า 90


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 1 ส่วนที่ 1 บทน า 1. สภาพทั่วไปของสถานศึกษา ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ที่อยู่ : หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล รหัสไปรษณีย์ 91130 โทรศัพท์ 0 – 7477 – 4472 โทรสาร 0 – 7477 – 4472 website : http://satun.nfe.go.th/manang e-mail : [email protected] สังกัด : ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสตูล กรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ 1.1. ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง เริ่มจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2539 ชื่อเดิม ศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียนกิ่งอ าเภอมะนัง (กิ่งอ าเภอมะนัง ตั้งเป็นกิ่งอ าเภอ ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 และยก ฐานะเป็นอ าเภอมะนัง เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550) เริ่มแรกใช้อาคารศูนย์การเรียนชุมชนต าบลนิคมพัฒนา เป็น ส านักงานชั่วคราว โดยมี จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง ด ารงต าแหน่งหัวหน้าศูนย์ คนแรก ต่อมาได้ย้ายมาใช้ อาคารของส านักงานประถมศึกษาอ าเภอมะนัง (เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ภายในศูนย์ราชการอ าเภอมะนัง หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์ม พัฒนา เป็นส านักงาน และปรับปรุงศูนย์การเรียนชุมชนต าบลนิคมพัฒนา เป็นห้องสมุดประชาชน อ าเภอมะนัง กระทั่งวันที่ 19 มีนาคม .ศ. 2566 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ พระราชบัญญัติการส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 โดยมีสาระส าคัญคือการยกเลิกพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 และยกฐานะ ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็น กรมส่งเสริมการ เรียนรู้ โดยมีผลบังคับใช้เมื่อพ้นไป 60 วัน หรือตรงกับวันจันทร์ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2566 เผยแพร่พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. 2566 ซึ่งมี ผลใช้บังคับเมื่อพ้นก าหนด 60 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป และให้ยกเลิกพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกชานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยยกระดับจากส านักงาน กคน. เป็น "กรมส่งเสริมการเรียนรู้" มีหน้าที่จัด ส่งเสริม และสนับสนุนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ คือ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การ เรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และการเรียนรู้เพื่อคุณวุฒิตามระดับ จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง” เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านผัง 15 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล โดยมี นางสาวจตุพร ทหารไทย ด ารงต าแหน่ง ครูช านาญการ รักษาการในต าแหน่งผู้อ านวยการ สถานศึกษา เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2563 จนถึงปัจจุบัน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 2 1.2. อาณาเขตที่ตั้งสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง มีพื้นที่รับผิดชอบ 2 ต าบล ได้แก่ ต าบลนิคมพัฒนา มีจ านวน 9 หมู่บ้าน และต าบลปาล์มพัฒนา มีจ านวน 10 หมู่บ้าน อ าเภอมะนัง มีที่ตั้ง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ าเภอทุ่งหว้า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศใต้ ติดต่อกับ อ าเภอควนกาหลง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ าเภอละงู พื้นที่ต าบลอ าเภอมะนัง 1.3 สภาพของชุมชน มะนัง มีเนื้อที่ประมาณ 312 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอ าเภอเมืองสตูล 70 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ ราบสูงและป่าเขา * มีประชากรทั้งหมด จ านวน 18,686 คน ดังนี้ ต าบลปาล์มพัฒนา เพศชาย จ านวน 5,644 คน และเพศหญิง จ านวน 5,232 คน ต าบลนิคมพัฒนา เพศชาย จ านวน 3,871 และ เพศหญิง 3,939 คน (* ที่มา : ที่ว่าการอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล) ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 76 และศาสนาอิสลาม ร้อยละ 24 ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ สวนยางพารา ปาล์มน้ ามัน สวนผลไม้ ซึ่งราคา ผลผลิตในปัจจุบันมีราคาไม่แน่นอน จึงท าให้สภาพเศรษฐกิจของอ าเภอมะนัง ขึ้นอยู่กับราคาผลผลิตทางการเกษตร อ าเภอมะนัง มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส าคัญของอ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ได้แก่ ถ้ าภูผาเพชร ถ้ าระฆังทอง ถ้ าเจ็ดคต วิหารจตุคามรามเทพ น้ าตกวังใต้หนาน พิพิธภัณฑ์บ้านรากไม้ อุทยานธรณีสตูลโรงเรียนบ้านป่าพน ไร่องุ่น 2 เล ที่สามารถท ารายได้เข้าอ าเภอมะนังได้อีก ทางหนึ่ง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 3 อ าเภอมะนัง มีสถานศึกษาที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน 24 แห่ง สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ศพด.) 9 แห่ง,สพป.11 แห่ง, สพม.1 แห่ง, ส านักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ(กศน.) 1 แห่ง, (สช.) 2 แห่ง มีศาสนสถาน จ านวน 27 แห่ง ศาสนาพุทธ 13 แห่ง และ ศาสนาอิสลาม 14 แห่ง ประชาชนติดต่อสื่อสารด้วยภาษาไทยส าเนียงท้องถิ่นใต้ สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย กลางได้อย่างดี มีความเป็นอยู่รวมกันอย่างปกติสุขของคนในสังคมทั้งไทยพุทธ และไทยมุสลิม โดยมีวัฒนธรรม ท้องถิ่นเป็นตัวเชื่อมต่อประสานสัมพันธ์ 2. ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา 2.1 ท าเนียบผู้บริหาร ล าดับ ที่ ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง ระยะเวลาที่ ด ารงต าแหน่ง 1. จ่าสิบเอกเกษมทรัพย์ ห่อทอง หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2541 - 30 กันยายน 2544 2. นายเฉลิมชัย อาคาสุวรรณ หัวหน้าศูนย์ 1 1 ตุลาคม 2544 – 30 กันยายน 2547 3. นายคณาธิป บุญญารัตน์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 พฤศจิกายน 2547 – 23 พฤศจิกายน 2548 4. นางอนุรักษ์ สงข า ผู้อ านวยการ 24 พฤศจิกายน 2548 – 16 มีนาคม 2551 5. นายศิริพงษ์ บัวแดง ผู้อ านวยการ 17 มีนาคม 2551 – 17 ตุลาคม 2551 6. นางละเอียด ละใบสะอาด รักษาการ ผู้อ านวยการ 18 ตุลาคม 2551 – 11 พฤศจิกายน 2552 7. นางดัชนี ปิยะพงษ์ ผู้อ านวยการ 12 ตุลาคม 2552 – 8 พฤศจิกายน 2553 8. นายประเจตน์ กฤษณะพันธุ์ รักษาการ ผู้อ านวยการ 9 พฤศจิกายน 2553 – 14 กุมภาพันธ์ 2554 9. นายมรกต กันหนองผือ ผู้อ านวยการ 15 กุมภาพันธ์ 2554 – 30 กันยายน 2555 10. นายมรกต กันหนองผือ รักษาการ ผู้อ านวยการ 1 ตุลาคม 2555 – 14 สิงหาคม 2556 11. นางสาวนิตยา จิตภักดี ผู้อ านวยการ 15 สิงหาคม 2556 – 18 พฤศจิกายน 2558 12 นายณัฐภูมินทร์ สังข์พงศ์ ผู้อ านวยการ 19 พฤศจิกายน 2558 – 1 กันยายน 2560 13. นายอาด า ลิงาลาห์ ผู้อ านวยการ 3 พฤศจิกายน 2560 – 5 มกราคม 2563 14. นางสาวจตุพร ทหารไทย ครู รักษาการ ผู้อ านวยการ 6 มกราคม 2563 –ปัจจุบัน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 4 1.งานธุรการและสารบรรณ 2.งานการเงินและบัญชี 3.งบประมาณ และระดม ทรัพยากร 4.งานพัสดุ 5.งานบุคลากร 6.งานอาคารสถานที่ และ ยานพาหนะ 7.งานแผนงานและโครงการ 8.งานประชาสัมพันธ์ 9.งานสวัสดิการ 10.ศูนย์ราชการใสสะอาด 11.งานนิเทศภายใน 12.งานงานติดตามประเมินผล 13.งานเลขานุการ คณะกรรมการสถานศึกษา 14.งานประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 1.งานส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือ 2.งานการศึกษาขั้นพื้นฐานนอก ระบบ 3.งานเทียบระดับการศึกษา 4.งานการศึกษาต่อเนื่อง 5.งานการศึกษาตามอัธยาศัย 6.งานห้องสมุดประชาชน 7.งานกศน.ต าบล 8.งานพัฒนาหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา 9.งานทะเบียนและวัดผล 10.งานศูนย์บริการให้ค าปรึกษา 11.งานกิจการนักศึกษา 1.งานส่งเสริม สนับสนุนภาคี เครือข่าย 2.งานโครงการพิเศษ 3.งานป้องกันแก้ไขปัญหายา เสพติด/โรคเอดส์ 4.งานส่งเสริมกิจกรรม ประชาธิปไตย 5.งานสนับสนุนส่งเสริม นโยบายจังหวัด/ อ าเภอ 6.งานกิจกรรมลูกเสือ/ ยุวกาชาด 7.งานอาสาสมัครกศน. 8.งานอื่นๆ 2.2 โครงสร้างการบริหารงาน (เดิม) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม และเพิ่มเติม 1 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. กลุ่มอ านวยการ 2. กลุ่มจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. กลุ่มภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และ 4. กศน.ต าบล คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ กลุ่มงำนอ ำนวยกำร กลุ่มกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย กลุ่มภำคีเครือข่ำยและ กิจกำรพิเศษ นักศึกษำและประชำชนทั่วไป โครงสร้างการบริหาร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง (ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง) (เดิม 1. วางแผนจัดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของ กศน. ต าบล 3. ให้บริการการเรียนรู้ใน กศน.ต าบล 4. สนับสนุนกิจกรรมของ ชุมชน ทั้งด้าน สังคม วัฒนธรรม ประเพณี 5. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ในชุมชน กศน.ต ำบล ผู้บริหำร


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 5 2.3 ข้อมูลบุคลากร ชื่อ – สกุล ต าแหน่ง วุฒิการศึกษา สาขาวิชาเอก 1. นางสาวจตุพร ทหารไทย ครู ศษ.บ. การศึกษานอกระบบ 2. นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัคร ค.บ. คอมพิวเตอร์ศึกษา 3 นางนฤมล ช่วยด า ครูอาสาสมัคร วท.บ. วิทยาศาสตร์การกีฬา 4. นายนภัทร จันทวิลาศ ครูกศน.ต าบล ค.บ. อุตสาหกรรมศิลป์ 5. นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครูกศน.ต าบล วท.บ วิทยาการคอมพิวเตอร์ 6. นางสาวนริสรา พงศ์หลง บรรณารักษ์(จ้างเหมา) ศศ.บ. บรรณารักษ์ศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ 2.4 ทรัพยากรและสิ่งอ านวยความสะดวกในการจัดการศึกษา 1. อาคารสถานที่ จ านวนอาคารและบริเวณ - อาคารศูนย์ สกร.อ าเภอมะนัง และ ห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง จ านวน 1 หลัง - ศกร.ต าบล จ านวน 2 แห่ง - ศูนย์การเรียนชุมชน จ านวน 1 แห่ง 2. สาธารณูปโภคและสิ่งอ านวยความสะดวก - คอมพิวเตอร์ส าหรับใช้ในการบริหารงาน จ านวน 7 เครื่อง ดังนี้ 1) งานทะเบียนนักศึกษา จ านวน 1 เครื่อง 2) งานพัสดุ จ านวน 1 เครื่อง 3) งานบรรณารักษ์ สืบค้นข้อมูลห้องสมุด จ านวน 1 เครื่อง 4) ให้บริการด้านอินเตอร์เน็ตในห้องสมุดประชาชน จ านวน 1 เครื่อง 5) ให้บริการด้านอินเตอร์เน็ตใน กศน.ต าบลปาล์มพัฒนา จ านวน 1 เครื่อง 6) โน้ตบุ๊กส าหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ จ านวน 1 เครื่อง 7) โน้ตบุ๊กส าหรับการปฏิบัติงานในส านักงาน จ านวน 1 เครื่อง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 6 แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ศกร.ต าบล รวมจ านวน 2 แห่ง ได้แก่ ชื่อ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ 1. ศกร.ต าบลนิคมพัฒนา บ้านผัง 7 หมู่ที่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม นายนภัทร จันทวิลาศ 2. ศกร.ต าบลปาล์มพัฒนา หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นางนฤมล ช่วยด า นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ศูนย์เรียนรู้ชุมชน จ านวน 1 แห่ง ได้แก่ ชื่อ กศน.ต าบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ต าบลนิคมพัฒนา บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล นายนภัทร จันทวิลาศ แหล่งเรียนรู้จ านวน 13 แห่ง ได้แก่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 1.น้ าตกวังใต้หนาน ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2.บ้านพิพิธภัณฑ์รากไม้ ที่เกิดจากการสร้างขึ้น หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3.ถ้ าเจ็ดคต ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4.ถ้ าภูผาเพชร ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 5. กลุ่มเย็บผ้าจักรอุตสาหกรรม ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6.กลุ่มน้ ามันสมุนไพรตราปาล์มทอง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 8 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7. หน่วยปฏิบัติการ อพม.อ.มะนัง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 7 ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 8. แหล่งเรียนรู้อุทยานธรณีวิทยา โรงเรียนบ้านป่าพน ที่เกิดจากธรรมชาติ หมู่ที่ 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9. สหกรณ์น้ ายาง ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10. ตลาดนัดสวนไผ่ ที่เป็นวัสดุและสถ่านที่ วัดนิคมพัฒนาราม (วัดผัง 7) หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12.น้ าดื่มชุมชน ที่เป็นทรัพยากรบุคคล บ้านผัง 15 หมู่ที่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 13.กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี ที่เป็นทรัพยากรบุคคล หมู่ที่ 6 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/ภูมิปัญญา จ านวน 14 แห่ง/คน ได้แก่ ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 1. ศกร.ต าบลนิคมพัฒนา - ศูนย์สาธิต / ฝึกปฏิบัติ /ประสานงานข้อมูล ข่าวสาร เครือข่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - บ้านผัง 7 หมู่ที่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2. ศกร.ต าบลปาล์มพัฒนา - ศูนย์สาธิต / ฝึกปฏิบัติ /ประสานงานข้อมูล ข่าวสาร เครือข่าย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3. นางกรณิชารัตน์ เหลาทอง - ด้าน เกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 16 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4. นายอดุลย์ หมวดสง - ด้านการจัดการพื้นที่ดินการเกษตร - หมู่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล รวมจ านวน 13 แห่ง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 8 ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 5. นายกิตติโชติ ชนะหลวง - ด้านเกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 145 หมู่ 7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6. นางสมบูรณ์ ชายแก้ว - ด้านการปลูกพืชสมุนไพร - บ้านเลขที่ 207 หมู่ 3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7. นางกัญสิรัตน์ หนูค าสวน - ด้านเกษตรผสมผสาน (กลุ่มน้ ามัลเมอรี่) - บ้านเลขที่ 69 หมู่ 4 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 8. นายบุญรอด ศรีสุวรรณ - ด้านการจักสานไม้ไผ่ - บ้านเลขที่ 21 หมู่ 4 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9. นายหวาหาบ ยาบา - ด้านเกษตรผสมผสาน - บ้านเลขที่ 15 หมู่ 5 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10. นายประเสริฐ คงทวี - ด้านศิลปะและแกะสลักงานไม้ - บ้านเลขที่ 132 หมู่ 9 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11. นางบุญยานุช พุทธศรี - ด้านสมุนไพรรักษาโรค - บ้านเลขที่ 58 หมู่ 8 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12. นายสุนทร จ่าวิสูตร - ด้านหนังตะลุงพื้นบ้าน - บ้านเลขที่ 265 หมู่ 10 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 9 ชื่อแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญา ที่ตั้ง 13. นายเสถียร อรน้อม - ด้านปัตตาลรักษาโรค - บ้านเลขที่ 129 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 14. นางล ายอง รอดสวัสดิ์ - ด้านหมอจับเส้น - บ้านเลขที่ 194 หมู่ 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล ภาคีเครือข่าย จ านวน 23 แห่ง ได้แก่ ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ 1 ที่ว่าการอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 2 เกษตรอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 3 พัฒนาชุมชนอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 4 ส านักงานสัสดีอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 5 ศูนย์วัฒนธรรมอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 6 องค์การบริหารส่วนต าบลนิคมพัฒนา ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 7 องค์การบริหารส่วนต าบลปาล์มพัฒนา ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 8 วัดปัณรสาราม (วัดผัง 15) ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 9 วัดนิคมพัฒนาราม(วัดผัง 7) 194 ม.3 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 10 ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 11 โรงพยาบาลอ าเภอมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 12 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปาล์มพัฒนา ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 13 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลนิคมพัฒนา ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 14 โรงเรียนบ้านป่าพน ม. 6 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 15 โรงเรียนบ้านมะนัง ม. 5 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 16 สถานีต ารวจภูธรมะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 17 ศูนย์เรียนรู้ชุมชนอ าเภอมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 18 ธนาคารชุมชน ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 19 โรงเรียนอนุบาลมะนัง ม.7 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 20 โรงเรียนบ้านวังพะเคียน ม.5 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 21 โรงเรียนปาล์มพัฒนวิทย์ ม.2 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 10 ที่ ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ 22 โรงเรียนนิคมพัฒนาผัง 6 ม.6 ต าบลนิคมพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล 23 ธนาคารการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มะนัง ม.1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอมะนัง จังหวัดสตูล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 11 ส่วนที่ 2 นโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งใน ด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นในศตวรรษที่ 21 และมี ความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะน าไปสู่ การสร้างโอกาส ความเท่าเทียมและลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการส าหรับ ทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ โดยได้ก าหนดจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ดังนี้ หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” จุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย 1.1 สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษา และป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบ ต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม “White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด” เน้นแนวทางการปฏิบัติภายใต้หลักการ 3 ป. ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ต่าง ๆ อาทิ เช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้ง ด าเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการด าเนินการ เพื่อปรับปรุง พัฒนา และขยายผลต่อไป 1.2 ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการกระบวนการ จัดการเรียนรู้เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและ สร้างสรรค์ พร้อมทั้งหาแนวทางวิธีการปกป้องคุ้มครองต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ครู และบุคลากรทางการ ศึกษา 1.3 เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน และ วางแผน เตรียมความพร้อมในการป้องกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณ์ภัยพิบัติจากธรรมชาติ รวมทั้งการปรับตัว รองรับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 12 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อ สร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุค ใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่น ใน สถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง และมี และมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการ ด ารงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสารระหว่างบุคคล การ เตรียมพร้อม รับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ที่ หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึง การสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และน าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคลของผู้เรียน 2.5 ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการเงินและการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสร้างวินัย ทางการเงินให้กับบุคลากรและผู้เรียน กศน. โดยบูรณาการการท างานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการคลัง ธนาคาร สหกรณ์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ โครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ 2.6 ปรับโฉมศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพฯ ห้องสมุดประชาชน และ แหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ของ กศน. ให้มีความทันสมัย สวยงาม สะอาด จูงใจผู้เข้ารับบริการ มีฐานจัดการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ อาทิ ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอาชีพ มีมุมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ ท ากิจกรรมร่วมกับครอบครัว พื้นที่การเรียนรู้ ใน รูปแบบ Public Learning Space/Co - learning Space ที่ผู้รับบริการสามารถรับเอกสารรับรองการเข้าร่วม กิจกรรม เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ในส่วนที่เกี่ยวข้องหรือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) 2.7 จัดท ารายละเอียดการก่อสร้างแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าขอ งบประมาณในการปรับปรุง/ซ่อมแซม 2.8 ส่งเสริมให้สถานศึกษาน าผลการทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (N-net) ไปใช้วางแผนพัฒนา ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน และยกระดับคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน 2.9 เร่งด าเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน่วยกิตเพื่อ การสร้างโอกาสในการศึกษาในชุมชน 2.10 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 2.11 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตส าหรับประชาชน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 13 2.12 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการอ่านเพื่อป้องกันโรคสมองเสื่อมและการลืมหนังสือในผู้สูงอายุ 2.13 ส่งเสริมการน าระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการยกระดับ คุณภาพให้กับผู้เรียน และผู้รับบริการของส านักงาน กศน. 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.1 พัฒนาข้อมูลระบบสารสนเทศของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรายบุคคล เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูล ประกอบการส่งต่อผู้เรียน และการค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคัน ผ่านโครงการ “พาน้องกลับมา เรียน” และ “กศน.ปักหมุด” 3.2 พัฒนาข้อมูล และวางแผนทางเลือกทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพอย่างเท่าเทียม 3.3 พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถด าเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการด าเนินกิจกรรมใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อ การเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษา ใน ระดับที่สูงขึ้น 4.2 ประสานการท างานร่วมกับศูนย์ให้ค าปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของอาชีวศึกษา 4.3 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการจ าหน่าย 5. การพัฒนาบุคลากร 5.1 ส่งเสริม สนับสนุนการด าเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (Performance Appraisal : PA) โดยใช้ระบบการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ระบบ Digital Performance Appraisal (DPA) 5.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การ ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ รวมทั้งให้ค าปรึกษาเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบ อาชีพ และการด าเนินชีวิตของผู้เรียนได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล 5.3 พัฒนาขีดความสามารถของข้าราชการพลเรือนในสังกัดให้มีสมรรถนะที่สอดคล้องและ เหมาะสม กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกอนาคต


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 14 5.4 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ท างานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการท างาน 5.5 เร่งรัดติดตามการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา และจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ เพื่อช่วยเหลือบุคลากรในสังกัดส านักงาน กศน. ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 5.6 บูรณาการการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด กศน. เพื่อพัฒนา บุคลากรใน ด้านวิชาการ อาทิ องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ การจัดท าหลักสูตรท้องถิ่นหรือหลักสูตรสถานศึกษา 6. การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบริการภาครัฐ 6.1 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ข้อมูลการรายงานผลการด าเนินงาน ข้อมูลเด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็กเร่ร่อน ผู้พิการ 6.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรมเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ อย่างเต็มรูปแบบ รองรับการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการท างานวิถีใหม่ และน าไปปรับใช้ได้กับสถานการณ์ ในภาวะปกติและไม่ปกติ อาทิ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยให้พิจารณาภารกิจ และ ลักษณะงาน รูปแบบ ขั้นตอนวิธีการท างาน รูปแบบการให้บริการประชาชน และเทคโนโลยีที่ใช้สนับสนุน การ ปฏิบัติงาน ให้มีความเหมาะสม 6.3 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คุณภาพและ ความโปร่งใสการด าเนินงานของภาครัฐ (ITA) 6.4 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ค าสั่ง และข้อบังคับต่าง ๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ 6.5 เร่งจัดท ากฎหมายล าดับรองเพื่อรองรับพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. .... ควบคู่กับ การเตรียมความพร้อมในการสร้างการรับรู้ให้กับประชาชนได้รับทราบอย่างทั่วถึง การน าไปสู่การปฏิบัติและการติดตามผล 1. สื่อสาร ถ่ายทอด และสร้างความเข้าใจในแนวนโยบาย จุดเน้น และทิศทางการด าเนินงานให้กับ บุคลากรทุกระดับทุกประเภทในหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัด 2. วางแผนการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการ แผนพัฒนา และแผนการใช้จ่าย ของ หน่วยงานและสถานศึกษา ให้มีความชัดเจน 3. ก ากับ และติดตามการปฏิบัติงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะการสร้างความร่วมมือกับเครือข่าย ใน ระดับชุมชน 4. สรุปและรายงานผลการด าเนินงานเป็นระยะ และน าผลการด าเนินงานมาวิเคราะห์เพื่อวางแผน ปรับปรุง และแก้ไขแผนการด าเนินงาน เพื่อให้การขับเคลื่อนคุณภาพทางการศึกษาเกิดประสิทธิภาพ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 15 วิสัยทัศน์ “คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถด ารงชีวิต ที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จ าเป็นในโลกศตวรรษ ที่ 21” จุดเน้น “ส่งเสริม สนับสนุน และให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ มีสาระการเรียนรู้ที่เป็นปัจจุบันและตรงกับความต้องการของผู้เรียน และสังคม โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายและทันสมัยมาเป็นกลไก ในการ จัดรวมทั้งพัฒนาครูให้เป็นผู้จัดการศึกษาและการเรียนรู้มืออาชีพ เน้นพัฒนากระบวนการคิด และการวิจัยให้กับ กลุ่มเป้าหมาย ใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการเชิงรุก โดยให้ชุมชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมภายใต้การบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน” เป้าหมายหลัก 1) คนไทยสามารถเข้าถึงบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้ง การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่มีคุณภาพ และมาตรฐานอย่างทั่วถึง 2) คนไทยมีสมรรถนะ และทักษะในการด ารงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 3) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพเพื่อให้บริการ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 4) หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้การบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล 5) ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ยุทธศาสตร์ 1) เพิ่มและกระจายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ 2) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะและทักษะเหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3) ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาส าหรับคนทุกช่วงวัย 4)พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 16 5. โครงสร้างอ านาจหน้าที่ของกศน.อ าเภอมะนัง อ านาจหน้าท่ีของกศน.อ าเภอมะนัง 1. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย 3. ด าเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาลและงานเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ 4. จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ํองมาจาก พระราชด าริ ในพื้นที่ 5. จัด ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ 7. ด าเนิน การเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 8. ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการด าเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 10. ระดมทรัพยากรเพื่อใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบระบบการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ด าเนินการประกันคุณภาพภายในให้สอดคล้องกับระบบหลักเกณฑ์และวิธีการท่ํก าหนด 12. ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ภายใต้อ านาจหน้าที่ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง หรือ ชื่อย่อว่า “กศน.อ าเภอมะนัง” มีโครงสร้างรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจที่ชัดเจนโดยเป็นไปตามประกาศของ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ได้ก าหนดโครงสร้างของกศน.อ าเภอ เป็น 3 กลุ่ม เพิ่มเติม 1 กลุ่มงาน คือ 1. กลุ่มอ านวยการ 2. กลุ่มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 3. กลุ่มงานภาคีเครือข่ายและกิจการพิเศษ และ 4. งานกศน.ต าบล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 17 การวิเคราะห์สภาพขององค์กร Swot Analysis กศน.อ าเภอมะนัง การวิเคราะห์สภาพขององค์กร SWOT Analysis ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อ าเภอมะนังได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment Analysis) โดยใช้เครื่องมือ 7S Model ของR. Waterman เพื่อประเมินจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ขององค์กร ประกอบด้วย 1. ระบบการท างาน (System) 2. โครงสร้างองค์กร (Structure) 3. กลยุทธ (Strategy) 4. บุคลากร (Staff) 5. ความสามารถหลักขององค์กร (Skill) 6. ลักษณะการท างาน (Style) 7. ค่านิยมรวม (Shared Values) 1. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน ด้านที่ 1 โครงสร้างและนโยบาย จุดแข็ง 1. โครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษามีความชัดเจน 2. นโยบายในการจัดการศึกษามีความชัดเจน จุดอ่อน 1. การน านโยบายไปสู่การปฏิบัติบางนโยบายท าได้ค่อนข้างยาก 2. นโยบายมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ด้านที่ 2 ผลผลิตและการบริการ จุดแข็ง 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความยืดหยุ่นเหมาะกับผู้เรียนที่ขาดโอกาส พลาดโอกาส ด้อยโอกาส 2. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถน าประสบการณ์มาเทียบโอนผล การเรียนได้ 3. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึ่งประสงค์ (เน้นจิตอาสา) 4. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีความหลากหลาย ตรงกับความต้องการของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ 5. ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้ /สร้าง อาชีพสร้างรายได้ /ด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6. การจัดการศึกษาอัธยาศัยให้บริการทุกเพศ ทุกช่วงวัย มีกิจกรรมที่หลากหลายและ สามารถให้บริการกระจายลงทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง 7. ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย สามารถน าความรู้ไปพัฒนาตนเองได้ /มีความคิด สร้างสรรค์และกล้าแสดงออก


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 18 จุดอ่อน 1. หลักสูตรสถานศึกษา ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เรียน มีผลการเรียนเฉลี่ยต่ ากว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด 3. หลักสูตรต่อเนื่อง ไม่ได้รับการทบทวน เพื่อปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. ห้องสมุดมีผู้เข้ามาใช้บริการค่อนข้างน้อย ด้านที่ 3 บุคลากร จุดแข็ง 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ 2. บุคลากรมีการท างานเป็นทีม มีความรักความสามัคคี มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ที่ดี 3. บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 4. บุคลากรส่วนใหญ่เป็นคนที่อาศัยในพื้นที่ เข้าใจบริบทของพื้นที่เป็นอย่างดี จุดอ่อน 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสถานศึกษาค่อนข้างบ่อย 2. บุคลากรมีจ านวนไม่เพียงพอต่อภาระงาน /มีภาระงานมากจนส่งผลกระทบต่อการ พบกลุ่ม 3. บุคลากรจบไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน 4. บุคลากรขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านที่ 4 ประสิทธิภาพทางการเงิน จุดแข็ง 1. ได้รับจัดสรรงบประมาณเพียงพอ 2. การบริหารงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า 3. การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ จุดอ่อน การจัดสรรงบประมาณในบางกิจกรรมมีความล่าช้า ท าให้การจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผนที่ ก าหนด ด้านที่ 5 วัสดุอุปกรณ์ จุดแข็ง วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานมีเพียงพอ จุดอ่อน 1. วัสดุอุปกรณ์/เทคโนโลยีที่ไม่ทันสมัยไม่รองรับกับการท างานในยุคปัจจุบัน 2. ขาดการดูแลและบ ารุงรักษาเนื่องจากบุคลากรไม่มีความรู้ทางด้านการซ่อมบ ารุง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 19 ด้านที่ 6 การบริหารจัดการ จุดแข็ง 1. สถานศึกษามีกฎระเบียบที่ชัดเจนในการปฏิบัติงาน 2. มีค าสั่งการปฏิบัติงานที่ชัดเจน/ มีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 3. มีการติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง จุดอ่อน 1.นโยบายเร่งด่วนค่อนข้างมาก ส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานบางกิจกรรมไม่เป็นไป ตามแผน 2.บางกิจกรรม ขาดการน าผลการนิเทศติดตามไปปรับปรุง และพัฒนาการด าเนินงานอย่าง ต่อเนื่อง 2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก ด้านที่ 1 สังคมและวัฒนธรรม โอกาส 1. มีสภาพสังคมพหุวัฒนธรรม ที่ชาวไทยพุทธ - มุสลิม อยู่แบบพึ่งพาอาศัย และช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน 2. ได้รับความร่วมมือจากประชาชนและภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดี 3. มีการรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนได้เป็นอย่างดี 4. มีภูมิปัญญาชาวบ้านและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย อุปสรรค สภาพสังคมมีปัญหายาเสพติดค่อนข้างเยอะ/ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร/ผู้เรียนใช้สื่อโซเชียลมีเดียมาก เกินความจ าเป็น ด้านที่ 2 เทคโนโลยี โอกาส มีช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน เช่น ไลน์เฟสบุ๊ค เว็บเพจต่าง อุปสรรค สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่ใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน กศน.ต าบล และ ห้องสมุดประชาชนมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้เรียนและผู้รับบริการ ด้านที่ 3 เศรษฐกิจ โอกาส 1. มีทรัพยากรทางด้านการเกษตรที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ 2. มีสถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 20 อุปสรรค ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ า ด้านที่ 4 การเมืองและกฎหมาย โอกาส 1. มีระเบียบกฎหมายให้ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด 2. การเมืองท้องถิ่นมีเสถียรภาพ 3. รัฐบาลมียุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการบริหารประเทศ (ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) 4. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในกฎหมาย อุปสรรค 1. มีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารระดับกระทรวงค่อนข้างบ่อย ท าให้นโยบายเปลี่ยนแปลงบ่อย 2. ประชาชนบางส่วนไม่ปฏิบัติตามกฎหมายที่ก าหนด เช่น กฎหมายจราจร กฎหมายการ เลือกตั้ง เป็นต้น 3. การก าหนดกลยุทธ์จาก SWOT 3.1 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและโอกาส (SO) 1. พัฒนาและส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีในชุมชน 2..พัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อน าความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน 3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีในการสนับสนุนการปฏิบัติงาน 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงาน 3.2 กลยุทธ์จาก จุดแข็งและอุปสรรค (ST) 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 2. เสริมสร้างวัฒนธรรมการท างานให้แก่บุคลากรโดยใช้หลักธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาระบบการ ประสานงานที่ดีและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 3. มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย ท าให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการวางแผนและร่วมพัฒนา กิจกรรมต่างที่ กศน. จัดในพื้นที่ 3.3 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและโอกาส (WO) 1. พัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลข่าวสารกับกลุ่มเป้าหมายอย่างรวดเร็วและทั่วถึง 3.4 กลยุทธ์จาก จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 1. จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และช่วยเหลือผู้เรียน 2. ทบทวน ปรับปรุงระบบการจัดการเรียนการสอนที่รองรับความหลากหลายและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 21 ปรัชญา การศึกษาสร้างปัญญา ปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิต อัตลักษณ์ มีจิตอาสา ใฝ่หาความรู้ เอกลักษณ์ ภาคีเครือข่ายเด่น เน้นความพอเพียง วิสัยทัศน์ กศน.อ าเภอมะนัง มุ่งมั่นพัฒนาประชาชนให้ได้รับโอกาสการศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะที่จ าเป็นต่อการเรียนรู้ในโลกศตวรรษที่ 21 โดยอาศัยพลังความร่วมมือ จากภาคีเครือข่าย และเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหารจัดการ พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับกลุ่มเป้าหมายทุกช่วงวัยอย่างมี คุณภาพ 2. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 3. ส่งเสริมภูมิปัญญาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 4. มีหลักสูตรสถานศึกษา และหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 5. คิดค้นนวัตกรรมและน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการจัดการศึกษา 6. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย 7. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 22 เป้าประสงค์และตัวชี้วัดความส าเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความส าเร็จ (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) 1.ประชาชนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างมีคุณภาพ 1.ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมาย อ่านออก เขียน ภาษาไทยขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 4. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะพื้นฐานอาชีพหลังจากจบการศึกษา ต่อเนื่อง 5. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจโครงการ/กิจกรรม 6. จ านวนประชาชนที่เข้ารับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ได้รับความรู้และมีทักษะที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.มีภาคีเครือข่ายมาร่วมจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 1. จ านวนภาคีเครือข่าย 2. ร้อยละความพึงพอใจการร่วมจัดกิจกรรมของภาคี เครือข่าย 3.มีการเชื่อมโยงภูมิปัญญา และแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 4.มีหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรท้องถิ่นที่ สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน 1. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 2. จ านวนแหล่งเรียนรู้หรือจุดให้บริการการเรียนรู้ 5.มีสื่อ เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มี คุณภาพ 1. จ านวนสื่อ เทคโนโลยี หลากหลาย เพียงพอ 2. ร้อยละของผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 6.ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ ความสามารถในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ 1.ร้อยละของครูที่ได้รับการพัฒนาตนเอง 2.ร้อยละของครูที่น ามาพัฒนาตนเอง 7.มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน 8.มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ สถานศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์การ ประเมิน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง / 23 กลยุทธ์การด าเนินงาน กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิตให้กับคนทุกช่วงวัย กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน/ผู้รับบริการให้มีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ 3 ขยายความร่วมมือภาคีเครือข่าย กลยุทธ์ที่ 4 ขยายภูมิปัญญาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาหลักสูตร นวัตกรรมและสื่อเทคโนโลยีให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีคุณภาพและเป็นมืออาชีพ กลยุทธ์ที่ 7 พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้มีประสิทธิภาพ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /24 ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงาน 1. งบประมาณ เงินงบประมาณ จ านวน 945,063 บาท ผลการใช้เงินงบประมาณ จ านวน 945,063 บาท เงินนอกงบประมาณ จ านวน…….……-….....บาท 2. การใช้จ่ายงบประมาณ ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ แผนงาน: สนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบอุดหนุน 1. โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 3. โครงการจัดซื้อหนังสือ *499 คน *499 คน *499 คน 499 คน **499 คน 499 คน 347,460 146,478 112,770 347,460 146,478 112,770 - - - ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผนงาน: ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบด าเนินงาน 1. งบบริหารส านักงาน ผ.4 2. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 3. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน 5. โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 2 คน 5 คน 14 คน 28 คน 10 คน 15 คน 31 คน 30 คน 22,800 1,100 2,000 5,600 3,220 22,800 1,100 2,000 5,600 3,220 - - - - -


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /25 แผนงาน : ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย (งบด าเนินงาน) เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบด าเนินงาน 1. งบบริหารส านักงาน 2. ค่าสาธารณูปโภค 3. ค่าหนังสือพิมพ์ห้องสมุด 4. วารสาร 5. ค่าอินเตอร์เน็ต (ห้องสมุด และกศน.อ าเภอ) 6. ค่าสื่อ หนังสือ ห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 1 แห่ง 18,907 3,900 2,730 4,147 22,200 7,500 18,907 3,900 2,730 4,147 22,200 7,500 - - - - - - งบด าเนินงาน(งบรายจ่ายอื่น) 1. กิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ใน กศน.ต าบล 2. ต าบล ค่าหนังสือพิมพ์ 3. ค่าอินเตอร์เน็ต กศน.ต าบล 2 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 2 แห่ง 1 แห่ง 2 แห่ง 4,500 4,840 12,420 4,500 4,840 12,420 - - - ผลผลิต/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผนงาน: ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) งบรายจ่ายอื่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 1) พัฒนาอาชีพ/ต่อยอดอาชีพเดิม 2) ช่างพื้นฐาน 3) หนึ่งอ าเภอ หนึ่งอาชีพ 80 คน 18 คน 11 คน 98 คน 22 คน 12 คน 48,000 14,400 9,900 48,000 14,400 9,900 - - -


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /26 โครงการตามนโยบายเร่งด่วน งบรายจ่ายอื่น เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) 1. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล 30 คน 30 คน 7,045 7,045 - 2. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 15 คน 15 คน 17,700 17,700 - 3. กาย จิต สมองผู้สูงอายุ 40 คน 40 คน 2,800 2,800 - 4. ผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมง 20 คน 20 คน 25,700 25,700 - แผนงาน: แก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัด ชายแดนใต้(ศูนย์ประสานงานและบริหาร การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้) งบรายจ่ายอื่น เป้าหมาย งบประมาณ หมาย เหตุ (%) แผน (จัดสรร) ผล รับจัดสาร (บาท) เบิก-จ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท) 1. โครงการซื้อสื่อภาษาเพื่อการเรียนรู้และ การสื่อสาร 21,756 9,716 - 2. โครงการส่งเสริมภาษาเพื่อการเรียนรู้และ การสื่อสาร 42 42 61,440 61,440 - 3. โครงการกีฬาสายสัมพันธ์จังหวัดชายแดนใต้ 25 27 13,750 13,750 - รวม *829 คน 9 แห่ง *891 คน 9 แห่ง 945,063 945,063 - * งบอุดหนุน เป้าหมาย เดียวกัน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /27 รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปีงบประมาณ 2566 1. โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ……………………………………….. 1.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และภาคเรียนที่ 1/2566) 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่ การปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบ เพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะ ดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.4 ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของส านักงาน กศน. ที่หลากหลาย ทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ เพื่อให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้องตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และน าไปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ตอบสนองความสนใจรายบุคคลของผู้เรียน 2.7 จัดท ารายละเอียดการก่อสร้างแหล่งเรียนรู้ กศน. เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าค าของบประมาณในการปรับปรุง/ซ่อมแซม 2.13 ส่งเสริมการน าระบบประกัน คุณภาพการศึกษาภายในมาใช้เป็นแนวทางในการยกระดับคุณภาพให้กับผู้เรียน ความสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอกระบบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ผู้เรียน การศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมี ความสามรถในการอ่าน การเขียน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 15 ก าหนด นิยามการศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขส าคัญของการส าเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและ หลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น การพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงเป็นการพัฒนาหลักสูตรที่มี ความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้และ ประสบการณ์จากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจัดการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรม ควบคู่ไปกับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียน สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งค านึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่อยู่นอกระบบโรงเรียน และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /28 กศน.อ าเภอมะนัง มีหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้กับประชาชนที่พลาดโอกาสให้ได้รับความรู้ สามารถน าความรู้ไป ปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น สนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถน าความรู้ไปพัฒนางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จึงจัดโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 4.2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษา 4.3 เพื่อนิเทศติดตามผลการด าเนินงานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ จ านวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจ านวนผู้สอน หลักสูตร/ประเภท จ านวนผู้เรียน ภาคเรียนที่ 2/2565 จ านวนผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2566 รวม จ านวน ผู้สอน (คน) ชาย หญิง ชาย หญิง การศึกษาขั้นพื้นฐาน - ระดับประถมศึกษา 2 3 4 6 15 *1 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 84 31 79 33 227 *2 - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 72 54 77 54 257 3 รวมจ านวน 158 88 160 93 499 5 * หมายเหตุ ครูผู้สอนคนเดียวกัน สอน 2 ระดับ 2. เชิงคุณภาพ -ร้อยละ100 ของบุคลากร สกร. อ าเภอมะนัง มีการพัฒนาให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีทักษะใน การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สกร.ต าบล มีการปรับปรุงและพัฒนามีความสะอาด สวยงาม ปลอดภัยเหมาะสมต่อการปฏิบัติงานและการ เรียนรู้ของนักศึกษาและผู้รับบริการ - สกร.อ าเภอมะนังได้จัดการเรียนการสอนให้กับนักศึกษาที่ลงทะเบียนในปีงบประมาณ 2566 จ านวน 499 คน เป็นไปตามแผนที่วางไว้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /29 ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับประถมศึกษา โดยคุณครูกูรอม๊ะ ราเหม ณ ศกร.ต าบลนิคมพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยคุณครูกูรอม๊ะ ราเหม ณ ศกร.ต าบลนิคมพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยคุณครูนภัทร จันทวิลาศ ณ ศกร.ต าบลนิคมพัฒนา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /30 ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับประถมศึกษา โดยคุณครูนฤมล ช่วยด า ณ ศกร.ต าบลปาล์มพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยคุณครูนฤมล ช่วยด า ณ ศกร.ต าบลปาล์มพัฒนา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /31 2. โครงการพัฒนาผู้เรียน ………………………………………………. 1. โครงการพัฒนาผู้เรียน 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาน าหลักสูตรฐานสมรรถนะไปสู่การ ปฏิบัติอย่างเต็มรูปแบบเพื่อสร้างสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นส าหรับศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัล ส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลักชองชาติ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของชาติและ ท้องถิ่น เสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสา โดยผ่านกิจกรรมต่างๆ ที่ เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตเข่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ กรคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ การสื่อสาร ระหว่างบุคคล การเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัยชองผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ของท้องถิ่น ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอกระบบ มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้อ 1.1-1.8 3. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุล ระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความสามารถเพื่อการท างานที่มี คุณภาพ โดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมจัดการศึกษาให้ตรงตามความต้องการของผู้เรียน และสามารถตรวจสอบได้ว่า การศึกษานอกระบบเป็นกระบวนการของการพัฒนาชีวิตและสังคม สามารถพึ่งพาตนเองได้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นหลักสูตรที่มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นผู้มี ความรู้ประสบการณ์จากการท างานและการประกอบอาชีพ โดยการก าหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล ให้ความส าคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมายด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่กับการ พัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งค านึงถึง ธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร กศน.อ าเภอมะนังจึงจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติมจากการเรียนปกติให้กับ ผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีมีศักยภาพในการศึกษาต่อ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /32 การประกอบอาชีพและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องซึ่งเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21 ตามจุดมุ่งหมายของกระทรวงศึกษาธิการ แผนการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.2 เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีให้นักศึกษา 4.3 เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรมให้กับนักศึกษา 5. ผลส าเร็จของโครงการ 1. เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลด าเนินงาน (คน) ชาย หญิง รวม 1. โครงการค่ายวิชาการพัฒนาทักษะความรู้วิชาภาษาไทยและสังคมศึกษา 40 22 18 40 2. โครงการศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตคณิตวิทย์และสังคม 44 24 20 44 3. โครงการอบรมจิตอาสา กศน. “เราท าความดีด้วยหัวใจ”(รุ่นที่ 1) 51 29 22 51 4. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านโครงงานนักศึกษา กศน.อ าเภอมะนัง 40 26 14 40 5. โครงการแข่งขันกีฬากศน.เกมส์ระดับภาคใต้ 5 3 2 5 6. โครงการอบรมอาสายุวกาชาดหลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด 40 26 14 40 7. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 40 22 18 40 8. โครงการร่วมงานชุมนุมลูกเสือจิตอาสาพระราชทาน 7 7 7 9 โครงการอบรมสร้างนวัตกรรมการจัดการองค์ความรู้ทางทะเล ฯ 3 1 2 3 10 โครงการกีฬาสายสัมพันธ์ชายแดนใต้ 26 15 11 26 รวม 296 175 121 296 โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ใช้เงินงบประมาณ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียน จ านวน 203 คน โครงการกีฬาสายสัมพันธ์ชายแดนใต้ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการอบรมจิตอาสา กศน. การใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้น “เราท าความดีด้วยหัวใจ”(รุ่นที่1)


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /33


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /34 3. โครงการซื้อหนังสือเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 …………………………….. 1.โครงการ ซื้อหนังสือเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 2. สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน กศน.ปี 2566 ข้อที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและ ข้อ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียม ทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และได้ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศและนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านโอกาส ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ความปลอดภัย และมีสมรรถนะที่ส าคัญจ าเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคงมั่งคั่งและยั่งยืน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยอันจะน าไปสู่การสร้างโอกาส ความเท่าเทียม และลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการส าหนรับทุก กลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ จากภารกิจดังกล่าว กศน.อ าเภอมะนัง จึงท าโครงการซื้อหนังสือเรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ า การใช้สื่อหนังสือ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจให้กับนักศึกษา 4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ได้รับการส่งเสริมอย่างเท่าเทียมกัน ลดความเหลื่อมล้ าการใช้สื่อหนังสือ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพทางการศึกษา 5. ผลการด าเนินงาน 5.1 เชิงปริมาณ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนภาคเรียนที่ (2/2565 และ 1/2566) จ านวน 499 คน 5.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษาได้รับสื่อ หนังสือเรียน ที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ยกระดับ คุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการทางการศึกษา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /35 สื่อหนังสือเรียน กศน.


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /36 4. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ ................................................ 1. โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ ชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะ และทักษะคุณภาพ ข้อที่ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วง วัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ สอดคล้องกับงาน ประกันคุณภาพการศึกษา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชน ผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา ตลอดจน ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ร่วมจัด ส่งเสริมและสนับสนุนรวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของ ชุมชน จาการส ารวจข้อมูลผู้ลืมหนังสือและผู้ไม่รู้หนังสือ ในปีงบประมาณที่ผ่านมามีผู้ลืมหนังสือ และผู้ไม่รู้หนังสือในอ าเภอมะนัง จ านวน 2 คน ทั้งนี้เพื่อเป็นการจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่อง กศน.อ าเภอมะนัง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการรู้หนังสือในพื้นที่อ าเภอมะนัง เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณ เบื้องต้นได้อย่างต่อเนื่อง และผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน และค านวณเบื้องต้นได้ 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 2 10 10


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /37 5.2 ด้านคุณภาพ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ การอ่าน เขียน แต่ยังต้องพัฒนาในด้านการอ่าน เขียนเพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ ครูมีความเข้าใจในการใช้หลักสูตรการรู้หนังสือไทย ครูมีความเข้าใจในการใช้หลักสูตรการรู้ หนังสือไทย ด้านสื่อ/วัสดุ/อุปกรณ์/เทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพียงพอ/เหมาะสม การบริหารจัดการ ส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือไทยร่วมกัน ภายในสถานศึกษา/เครือข่าย ในด้านการจัดท าแผนการสอน และการจัดซื้อ วัสดุมีความเหมาะสมกับผู้เรียน 5.4 ปัญหา และอุปสรรค ผู้เรียนมีปัญหาด้านสุขภาพ สายตายาว ได้แนะน าให้ไปตัดแว่น ภาพกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือไทย การจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ต าบลนิคมพัฒนา *************** การจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ต าบลปาล์มพัฒนา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /38 5. ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ................................................................ 1.ชื่อโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2.ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนา ทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 3. หลักการและเหตุผล ส านักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ความสามารถ ของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดีและความสงบสุข ความปลอดภัยในสังคม การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการบริการที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคนให้มีความรู้เกิดทักษะที่จ าเป็นส าหรับการคิด วิเคราะห์ในการด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน มีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ที่มีสาระสอดคล้องกับ บริบทของชุมชน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของบุคคลให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยเน้นทักษะชีวิต เป็นพื้นฐานที่จ าเป็น 4 ด้าน 1. ด้านสุขภาพอนามัย 2. ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปัจจุบันปัญหาสุขภาพโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนูนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ส าคัญของประเทศไทย ที่สร้าง ความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่า ประชากรมีปัญหาสุขภาพและป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโรคฉี่หนู เป็นจ านวนมาก ท าให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการ แก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหา ของโรคในปัจจุบัน ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนูเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การ ด าเนินงานป้องกันและควบคุมโรคจึงมีส่วนส าคัญที่ต้องเร่งรัดด าเนินการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนังได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการ อบรมพัฒนาทักษะชีวิตสุขภาพดีรู้เท่าทันโรคปัจจุบัน และ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตพิชิตใจ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับ ความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ในเรื่องการดูแลสุขภาพ โรคไข้เลือดออกและโรคฉี่หนู 4.2 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติตนแก้ไขปัญหาและขจัดความเครียดได้ 4.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมน าความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /39 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. โครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเรื่อง รู้เท่าทันโรคปัจจุบัน 14 2 13 15 2. โครงการส่งเสริมสุขภาพจิต พิชิตใจ 14 15 15 รวม 28 2 28 30 5.2 ด้านคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านการอบรม จ านวน 30 คน - สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและกิจกรรมมีความทันสมัย ทันเหตุการณ์ โดยเชิญวิทยากรที่มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวมาให้ความรู้ ผู้เรียนสามารถน าความรู้และทักษะไปประยุกต์ในการ ด าเนินชีวิตต่อไปได้ 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1) ความหลากหลายของกิจกรรม 2) ผู้น าชุมชนและภาคีเครือข่ายสนับสนุนการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดีทุกด้าน 3) ครู ศกร. มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม ภาพกิจกรรมโครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเรื่องรู้เท่าทันโรคปัจจุบัน โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลมะนัง มาให้ความรู้เรื่อง เตรียมความพร้อมและแนวทางการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจ าวัน การดูแลสุขภาพด้านจิตใจ การดูแลสุขภาพจิตและการจัดการความเครียดกับตนเอง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /40 6. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน .................................................................................................................. 1. โครงการ การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการ พัฒนาทักษะที่จ าเป็นส าหรับแต่ละช่วงวัยและการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย และบริบทพื้นที่ 3. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันอุบัติเหตุจากการใช้ยานพาหนะบนท้องถนนนับเป็นปัญหาส าคัญของประเทศ ท าให้เกิด การ สูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งสาเหตุส่วนหนึ่งของอุบัติเหตุเกิดจากการขาดจิตส านึก ความปลอดภัยในการใช้ รถใช้ถนนร่วมกัน และการขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องกฎระเบียบวินัยจราจร ซึ่งเป็นกฎหมายหลัก ในการบังคับ ควบคุมการจราจรให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีความเป็นระเบียบ ซึ่งจะก าหนด สิทธิและหน้าที่ของผู้ใช้รถ และใช้ถนนผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย โดยมีเครื่องมือในการใช้บังคับ ได้แก่ เครื่องหมาย จราจร และสัญญาณ จราจร ฯลฯ พร้อมทั้งมีวิธีการบังคับหรือการลงโทษ ก็จะช่วยลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ได้แก่ การว่า กล่าวตักเตือน การเปรียบเทียบปรับ การลงโทษจ าคุก การพักใช้ใบอนุญาตขับรถการเพิกถอนใบอนุญาต ขับรถ ถ้า ประชาชนในพื้นที่ให้ความเคารพกฎจราจรก็จะท าให้ให้อยู่ในชุมชนและสังคม สังคมได้อย่างมีความสุข ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ได้เล็งเห็นถึงความส าคัญดังกล่าว จึงจัด โครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจเพื่อนร่วมทาง และโครงการอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้ทันภัยร้าย ไข้เลือดออกเพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ที่ถูกต้อง สามารถน าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องกฎหมายและมารยาทในการใช้การจราจร 4.2 เพื่อให้ความรู้และความเข้าใจเรื่องสุขภาวะอนามัยและการป้องกันไข้เลือดออก 4.3 เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว และต่อชุมชน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /41 5.ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. โครงการขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจเพื่อนร่วมทาง 9 1 15 16 2. โครงการอบรมให้ความรู้ เรื่องรู้ทันภัยร้าย ไข้เลือดออก 5 7 8 15 รวม 14 8 23 31 5.2 ด้านคุณภาพ - ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 31 คน ได้รับความรู้ ได้ฝึกทักษะ ผ่านการอบรม ตามกิจกรรมที่ก าหนดไว้ - ร้อยละ 100 ของผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1) ความหลากหลายของกิจกรรม 2) ผู้น าชุมชนและภาคีเครือข่ายสนับสนุนการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดีทุกด้าน 3) ครู กศน. มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม ภำพกิจกรรมโครงกำรขับขี่ปลอดภัย ใส่ใจเพื่อนร่วมทำง โดยมีวิทยากรจากสถานีต ารวจภูธรมะนัง มาให้ความรู้เรื่องการขับขี่ปลอดภัย การสวมหมวกนิรภัยเพื่อ ป้องกันการกระแทกจากการเกิดอุบัติเหตุ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /42 7. ชื่อโครงการ การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ........................................................................ 1. ชื่อโครงการ การศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. สอดคล้องกับนโยบาย ส านักงาน กศน.ปี 2566 ยุทธศาสตร์ที่ 1. ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 1.1 น้อมน าพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ ของส านักงาน กศน.การศึกษาต่อเนื่อง ด้านที่ 1 การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ข้อที่ 1.3 (4) ด้านที่ 4 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ หรือโครงการอัน เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ข้อที่ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือ โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ 3. หลักการและเหตุผล จากการส ารวจสภาพปัญหาในชุมชน เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางปฏิบัติตน โดยค านึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี เพื่อพร้อมรับต่อความเสี่ยง บนพื้นฐานของความรอบ รู้ ความรอบคอบ ระมัดระวัง และคุณธรรม การใช้ความรู้อย่างถูกหลักวิชาการ และการตื่นตัวของประชาชนในด้าน การประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่เน้นแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน ลดต้นทุน การผลิตทางการเกษตรที่ผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ มีความปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมทั้งช่วยฟื้นฟูทรัพยากร ทาง ธรรมชาติ หากประชาชนสามารถผลิตเองได้โดยวิธีธรรมชาติ ใช้วัตถุดิบการผลิตที่เป็นของเหลือใช้จากในครัวเรือน และท้องถิ่น ก็จะช่วยลดต้นทุนการผลิตและเกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ด าเนินการจัดโครงการจัดกระบวนการ เรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ ในการปลูกผักสวนครัว ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง หลังจากเหลือกินเหลือใช้ สามารถน าไปแจกเพื่อนบ้านหรือขายท าให้เกิดรายได้ เสริมอีกช่องทางหนึ่งได้เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้ข้ารับการอบรมจึงจัดโครงการนี้ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ มีทักษะ ในการปลูกผักสวนครัว 4.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /43 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1. เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. โครงการอบรมการปลูกผักสวนครัวสร้าง รายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน 5 4 11 15 รวม 5 4 11 15 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้ารับการอบรม จ านวน 15 คน ได้รับความรู้ ได้ฝึกการปลูกผักสวนครัว สามารถน าความรู้ไปปรับ ใช้ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ เป็นต้น 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ ความต่อเนื่องของโครงการในการจัดกิจกรรม ซึ่งมีสาระสอดคล้องกับวิถี และความต้องการของ ประชาชนในพื้นที่ และสามารถบูรณาการกับโครงการอื่น ๆ เช่นโครงการพัฒนาอาชีพ เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับประชาชน ภำพกิจกรรม โครงกำรกำรศึกษำเพื่อกำรเรียนรู้ตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงกับกำรปลูกผักสวนครัว โดยมีวิทยากรซึ่งเป็นภูมิปัญญาด้านการเกษตร มาให้ความรู้เรื่องการปลูกผักสวนครัว การท าดินผสมใน การปลูก การสร้าง/ท าแปลงปลูกผัก


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /44 8. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 .................................................... 1. ชื่อโครงการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.อ าเภอมะนัง ประจ าปี 2566 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. 3.ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เล็งเห็นความส าคัญของการพัฒนา คุณภาพประชากรผ่านการอ่านและการเรียนรู้ในการส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่าน แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่อง และเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จึงก าหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานด้านงานการศึกษาตามอัธยาศัยขึ้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมใน ห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชนที่ส าคัญยัง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ที่ก าหนดให้ "ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่ พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" ด้วย และแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ก าหนดวิสัยทัศน์ คือ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพด ารงชีวิต อย่าง เป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของ โลกศตวรรษที่ 21” ปัจจุบันสภาพสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์อย่างมาก ส่งผลให้ทุกประเทศต้อง ปรับตัว ที่ส าคัญต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ ดังนั้นการอ่านและการเรียนรู้จึงเป็นกลไกหนึ่งใน กระบวนการจัดการความรู้ หรือพัฒนาการของความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายในหน่วยงาน ชุมชน สังคมและประเทศ การ อ่านเป็นวิธีการที่จะช่วยให้ประชากรได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และแนวคิดใหม่ๆ อันจะเป็นการพัฒนาตนเองและ รู้จักปรับตนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ประเทศไทยตระหนักถึงความส าคัญดังกล่าวและให้การส่งเสริมสนับสนุน มาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังมีหน่วยงานหลายภาคส่วนร่วมกันจัดกิจกรรมและรณรงค์ส่งเสริมการอ่าน ประกอบกับ รัฐบาลได้ก าหนดนโยบาย ปฏิรูปการศึกษาทั้งในด้านคุณภาพประสิทธิภาพ มาตรฐานและความเหลื่อมล้ าทางการ ศึกษา โดยมุ่งแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพ โอกาส และประสิทธิภาพในการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของประเทศ โดยให้มีความเชื่อมโยงและส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และจากสภาพการ อ่านในพื้นที่อ าเภอมะนัง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. ประชาชน บางส่วนยังไม่เห็นความส าคัญของการอ่าน การ เรียนรู้และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) อย่างต่อเนื่อง มีผลให้การให้บริการส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชนอ าเภอมะนัง และการจัดกิจกรรมใน เชิงรุกภายในพื้นที่อ าเภอมะนัง ด าเนินการได้น้อยลง ผู้รับบริการก็ลดน้อยลงตามไปด้วย


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /45 จากความส าคัญและสภาพปัญหาดังกล่าว งานการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จึงจัดท า“โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย” ขึ้นเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ตลอดชีวิตพร้อมจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น โดยปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุด ประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่าน และการรู้หนังสือของประชาชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเป็น บุคคลแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน มีวัฒนธรรมในการอ่าน เห็นความส าคัญของการอ่าน และใช้ การอ่านเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับ เด็ก เยาวชน นักศึกษา กศน. ประชาชนทั่วไป ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลาย 4.2 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุด 3 ดี 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1. เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1 กิจกรรมห้องสมุดมีชีวิต 3,849 1,796 2,168 3,964 2 หน่วยบริการเคลื่อนที่ 749 329 447 776 3 อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน 988 471 583 1,054 4 บ้านหนังสือชุมชน 2,123 1,158 1,046 2,204 5 ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาวตลาด 769 354 432 786 รวม 8,478 4,108 4,676 8,784 5.2 เชิงคุณภาพ สถานศึกษา มีการจัดกิจกรรมดังนี้ 1. กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน 2. ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาว ตลาด 3. ห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ 4. ส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชน 5.อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ซึ่งในการจัดกิจกรรมดังกล่าว จัดตามความต้องการของผู้รับบริการโดยดูข้อมูลจากแบบส ารวจ และข้อมูลจาก โปรแกรม PLS และน ามาวางแผนในการจัดกิจกรรมในเชิงรุกกระจายถึงทุกหมู่บ้าน โดยการจัดกิจกรรมห้องสมุด ชาวตลาด ห้องสมุดเคลื่อนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ าต าบล


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /46 บ้านหนังสือชุมชน การติดตามจากผู้ที่เคยมาใช้บริการห้องสมุดอย่างต่อเนื่องบ้านหนังสือชุมชน ที่สามารถให้บริการ เข้าถึงถึงประชาชนในชุมชน ท าให้เกิดความสะดวกในการใช้บริการ สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ หลากหลายเช่น การหมุนเวียนหนังสือ โดยเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์และครู กศน.ต าบล ห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาว ตลาดซึ่งจัดขึ้นตามแผนงานการจัดกิจกรรม มีการจัดกิจกรรมที่ตลาดนัดครูเทพ หมู่ที่ 1 ต าบลปาล์มพัฒนา อ าเภอ มะนัง จังหวัดสตูลในทุกๆวันพฤหัสบดี และมีการจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ส าหรับชาวตลาดขึ้นที่วัดนิคมพัฒนา ราม ผัง ๗ ทุกๆวันอาทิตย์ 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1) การวางแผนและการจัดการที่ดีของผู้บริหาร บุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีการตรวจติดตาม รายงานผล ประเมินผล สรุปผลการด าเนินงาน 2) การประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ใช้บริการผ่านหลายช่องทางอย่างสม่ าเสมอ 3) การสนับสนุนด้านงบประมาณและให้ความส าคัญต่อการอ่าน ของผู้บริหาร กศน.จังหวัด 5.4 ปัญหาอุปสรรค 1) ผู้ใช้บริการมีอาชีพหลักในการท าสวนและรับจ้างจึงไม่ค่อยมาใช้บริการกิจกรรมส่งเสริม การอ่าน 2) เครื่องมือ/เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านมีน้อย 3) อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน มีการจัดกิจกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากต้องประกอบอาชีพ 4) กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการอ่านภายในห้องสมุดประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ หลากหลาย 5) ในช่วงฤดูหน้าฝน การออกให้บริการห้องสมุดส าหรับชาวตลาดค่อนข้างจัดกิจกรรมไม่ได้ 6) กิจกรรมห้องสมุดส าหรับชาวตลาด มีผู้มารับบริการค่อนข้างน้อย ประชาชนส่วนใหญ่มา เดินซื้อของแล้วกลับ 7) กลุ่มเป้าหมายหรือประชาชนทั่วไปมีมือถือสมาร์ทโฟนเป็นส่วนใหญ่ สะดวกในการค้นคว้า หาข้อมูล เลยไม่ค่อยใช้บริการ การอ่านหนังสือในห้องสมุด ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม ส่งเสริมกำรอ่ำนห้องสมุดเคลื่อนที่


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /47 ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม อำสำสมัครส่งเสริมกำรอ่ำน .......................................................... ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม ส่งเสริมกำรอ่ำนห้องสมุดประชำชน


Click to View FlipBook Version