The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaharnthai1622, 2023-11-03 08:47:22

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รายงานผลประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /48 ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม ห้องสมุดเคลื่อนที่ส ำหรับชำวตลำด ………………………. ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม บ้ำนหนังสือชุมชน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /49 9. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล .................................................... 1. ชื่อโครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อที่(3.3) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพเอื้อต่อการ เรียนรู้ส าหรับทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกทีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจสนองตอบความต้องการของชุมชนและ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (4.1) พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศ และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการให้การบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ ความสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวบ่งชี้ กศน. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการ การศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 1.1 มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ข้อ 2.1, 2.2, 2.3,2.4 3. หลักการและเหตุผล จากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ได้มอบหมายภารกิจให้ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดสตูล และการเรียนรู้ การศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพการ เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยอย่างกว้างขวางและทั่วถึง ส่งเสริมให้ประชาชนรักการอ่านแสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องและ เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบลให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง เครือข่ายส่งเสริมการอ่าน พร้อมอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ ส าหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอ านวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ดึงดูดความสนใจ และมี ความปลอดภัยส าหรับผู้ใช้บริการกับประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึง รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการอ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านที่หลากหลาย ดังนั้นเพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับนักศึกษา และเป็นการ เพิ่มอัตราการอ่านผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ของกลุ่มเป้าหมายกศน.ต าบลปาล์มพัฒนา ได้เล็งเห็นความส าคัญ จึงจัดท า“โครงการจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับต าบล” ขึ้นมา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้และบริการการศึกษาตามอัธยาศัยให้นักศึกษา กศน. 4.2 เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านให้กับนักศึกษาผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4.3 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /50 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1. เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1 โครงการส่งเสริมการอ่านแหล่งเรียนรู้ต าบล ปาล์มพัฒนา 50 10 40 50 รวม 50 10 40 50 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ มีทักษะการส่งเสริมการอ่าน มีการลงพื้นที่ไปฝึกปฏิบัติจริง เป็น อาสาสมัครในการส่งเสริมการอ่านให้กับประชาชนต่อไปได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /51 10. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ................................... 1. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดศวามสามารถในการแข่งขัน ข้อ 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up-skill และ Re-skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทาง อาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมายเช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่ม อาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่กรรับรองสมรรณะและได้รับคุณวุฒิตมกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รามทั้งสามารถน าผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 3. หลักการและเหตุผล จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างยั่งยืน โดยให้ความส าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงาน ท าในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึง การเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและ ภารกิจต่อเนื่อง ศักยภาพของแต่ ละพื้นที่ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่นต่อ หนึ่งศูนย์ฝึกอาชีพ รวมทั้งให้มีการก ากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่าง เป็นระบบและต่อเนื่อง จากสถานการณ์เศรษฐกิจและความเหลื่อมล้ าที่มีอยู่ในสังคมปัจจุบัน กศน.อ าเภอมะนัง ได้ขับเคลื่อนโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เพื่อพัฒนาความรู้และฝึกอาชีพให้กับประชาชน โดยการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพภายใต้ 5 หลักสูตรอาชีพ ได้แก่ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม กลุ่มอาชีพด้านพาณิชยกรรมและบริการ กลุ่ม อาชีพด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง โดยมุ่งหวังให้ประชาชนที่เข้ารับการฝึกอาชีพสามารถน าความรู้ไป ใช้ประกอบอาชีพได้ มีการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์/บริการ ให้มีคุณภาพเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่ม มีการส่งเสริมการขายและ ขยายช่องทางการจ าหน่ายสินค้าไปยังผู้บริโภคที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้ทักษะ ด้านอาชีพแก่ประชาชน 4.2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนน าความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ลดรายจ่าย


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /52 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 แบบชั้นเรียนวิชาชีพ (30 ชั่วโมงขึ้นไป) 5.1.1 เชิงปริมาณ ที่ หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. หลักสูตรช่างปูน 33 ชม. 10 11 11 2. หลักสูตรช่างไม้ 32 ชม. 8 11 11 รวม 18 22 22 5.1.2 ด้านคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับความรู้ได้ฝึกทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน 22 คน เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ อันจะน าไปสู่การเรียนรู้อีกระดับหนึ่ง สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ ทั้งนี้ผู้เรียนต้องเรียนรู้ และต้องฝึกประสบการณ์ในการท างานเพิ่มเติมต่อไปอย่างต่อเนื่อง ผลการนิเทศติดตาม พบว่าผู้เรียนน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน เช่นการต่อ เติมบ้านเรือน 5.1.3 ปัจจัยส่งผลต่อความส าเร็จ เมื่อจบหลักสูตรผู้เรียนบางคนสามารถน าไปพัฒนาต่อยอดได้ 5.1.4 ปัญหาอุปสรรค 1. การขาดแคลนวิทยากร บางหลักสูตรโดยเฉพาะหลักสูตรที่ต้องใช้ความช านาญสูง 2.ขาดแคลนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 5.1.5 ข้อเสนอแนะ 1 กรมส่งเสริมการเรียนรู้ควรพิจารณาปรับหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายงบด้านการจัดการศึกษาวิชาชีพที่ เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน 2. ส านักงาน สกร.จังหวัดควรจัดท าคลังวิทยากรในแต่ละหลักสูตรเพื่อให้สถานศึกษาสามารถเข้าถึง วิทยากรในหลักสูตรที่ขาดแคลนได้ง่ายยิ่งขึ้น หลักสูตรช่างไม้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /53 หลักสูตรช่ำงปูน 5.3 กลุ่มสนใจอาชีพระยะสั้น(ไม่เกิน 31 ชั่วโมง) 5.1 แบบกลุ่มสนใจ (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) 5.2.1 เชิงปริมาณ ที่ หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1 หลักสูตรการท าขนมเจาะหู 6 ชม. 7 10 10 2 หลักสูตรการเพาะพันธุ์ไม้พื้นถิ่น 9 ชม. 7 2 5 7 3 หลักสูตรการท าน้ าพริกและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 15 ชม 7 7 7 4 หลักสูตรการท าพวงกุญแจตุ๊กตามันนิ 25 ชม. 7 7 7 5 หลักสูตรการท าเครื่องแกง 15 ชม 7 7 7 6 หลักสูตรการท าขนมทานเล่น 30ชม. 10 10 10 7 หลักสูตรการท าขนมผูกรัก 20 ชม. 7 7 7 8 หลักสูตรการจักสานตะกร้าจากไม้ไผ่ 25 ชม. 7 11 11 9 หลักสูตรการนวดเพื่อสุขภาพ 25 ชม. 7 11 11 10 หลักสูตรช่างตัดผมเบื้องต้น 25 ชม. 7 2 9 11 11 หลักสูตรการท าน้ าพริก 25 ชม. 7 10 10 รวม 80 4 94 98


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /54 5.2.2 ด้านคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับความรู้ได้ฝึกทักษะ ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน 98 คน เป็นพื้นด้านอาชีพ ใน ระดับหนึ่ง ผู้เรียนยังต้องหาประสบการณ์ หรือเรียนรู้ ฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองอันในการก้าวสู่ อาชีพได้ ผลการนิเทศติดตาม พบว่าผู้เรียนน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน เช่น การท า น าพริกเพื่อจ าหน่าย การท าพวงกุญแจเพื่อขายตามท้องตลาด การท าเครื่องแกง การท าขนมผูกรัก การท าขนมผูก รัก การท าขนมทานเล่น (ขนมแห้ง ) เพื่อใช้ในงานและเทศกาลต่างๆได้ 5.2.3 ปัจจัยส่งผลต่อความส าเร็จ 1. เมื่อจบหลักสูตรผู้เรียนบางคนสามารถน าไปพัฒนาต่อยอดได้ เช่นหลักสูตรการท าพวงกุญแจตุ๊กตา มันนิ หลักสูตรการท าน้ าพริกและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ การท าขนมผูกรัก การท าขนมผูกรัก การท าขนมทาน เล่น(ขนมแห้ง ) 2. มีการพัฒนาส่งผลิตภัณฑ์ไปจ าหน่าย ณ สถานที่ต่าง ๆ หรือร่วมนิทรรศการ และเมื่อมีงานตาม เทศกาล เช่น การท าพวงกุญแจตุ๊กตามันนิการท าขนมผูกรัก การท าขนมผูกรัก การท าขนมทานเล่น เป็นต้น 5.2.4 ปัญหาอุปสรรค 1. การขาดแคลนวิทยากร บางหลักสูตรโดยเฉพาะหลักสูตรที่ต้องใช้ความช านาญสูง 2. ขาดแคลนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน หลักสูตรการท าขนมเจาะ หู หลักสูตร การท าขนมทานเล่น(ขนมแห้ง ) ภำพ โครงกำรศูนย์ฝึกอำชีพชุมชน


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /55 5.3 หนึ่ง อ าเภอ หนึ่ง อาชีพ 5.3.1 เชิงปริมาณ ที่ หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. หลักสูตรการท าน้ าพริกและการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ 33 ชม. 11 12 12 รวม 11 12 12 5.3.2 เชิงคุณภาพ - ผู้เรียนได้รับความรู้ได้ฝึกทักษะเพิ่มเติมในอาชีพเดิม ผ่านเกณฑ์การประเมิน จ านวน 12 คน สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพเดิมได้ มีรายได้ เพิ่มจากขึ้น …………………………………… หลักสูตรกำรท ำน ำพริกและออกแบบบรรจุภัณฑ์จ านวน 15 ชั่วโมง


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /56 11. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพการท่องเที่ยวและบริการ) ………………………………………… 1. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ (ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพพนักงานขายสินค้า) 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน สกร.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ข้อที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อที่ 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น new skill Up-skill และ Re-skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพใน รูปแบบที่หลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย ผู้พิการ ผู้สูงอายุ กลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology รวมทั้ง สามารถน าผลการเรียนรู้และประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ ( Credit Bank) 3. หลักการและเหตุผล คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติจึงได้ก าหนดนโยบายเร่งด่วนเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ไทยให้ก้าวสู่ Thailand 4.0 ในด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้มีความพร้อม ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง และส านักงาน สกร.ได้ก าหนดเป็นนโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ด้านการ พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาค ธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว ทั้งนี้ส านักงาน สกร.ก าหนดให้สถานศึกษาในสังกัดจัดอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการ สื่อสารด้านอาชีพในหลักสูตรต่างๆ ตามความต้องการของประชาชนและบริบทพื้นที่ การสื่อสารเป็นปัจจัยส าคัญในการด ารงชีวิต มนุษย์จ าเป็นต้องติดต่อสื่อสารกันอยู่ตลอดเวลา การสื่อสารจึง เป็นปัจจัยส าคัญอย่างหนึ่งนอกเหนือจากปัจจัยพื้นฐานในการด ารงชีวิตของมนุษย์ และมีบทบาทส าคัญต่อการด าเนินชีวิต ของมนุษย์มาก ซึ่งปัจจุบันเป็นยุคโลกาภิวัตน์ เป็นยุคของข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารมีประโยชน์ทั้งในแง่บุคคลและสังคม การสื่อสารท าให้คนมีความรู้และโลกทัศน์ที่กว้างขวางขึ้น การสื่อสารเป็นกระบวนการที่ท าให้สังคม เจริญก้าวหน้าอย่าง ไม่หยุดยั้ง ท าให้มนุษย์สามารถสืบทอดพัฒนาการการเรียนรู้ และรับรู้วัฒนธรรมของตนเองและสังคมได้ การสื่อสารเป็น ปัจจัยส าคัญในการพัฒนาประเทศ สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่ชุมชน และสังคมในทุกๆด้าน จากความส าคัญ ดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง ซึ่งเป็นสถานศึกษาในสังกัดส านักงาน กศน. ที่มี บทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้กับประชาชนในพื้นที่อ าเภอทุ่งหว้า และได้ส ารวจความต้องการของประชาชนในพื้นที่ มีความต้องการเรียนรู้และพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพพนักงานขาย เนื่องจากอ าเภอมะนัง เป็นส่วน หนึ่งของพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล และมีแนวโน้มการเข้ามาท่องเที่ยวและศึกษาเรียนรู้ในพื้นที่ที่สูงขึ้น กอปรกับประชาชน ในพื้นที่อ าเภอมะนังมีการประกอบอาชีพค้าขาย และงานบริการด้านการท่องเที่ยว การสื่อสารภาษาอังกฤษจึงมีความ จ าเป็นอย่างยิ่งต่อการประกอบอาชีพของประชาชนในพื้นที่ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ และสามารถน าความรู้ไปใช้ในการประกอบ อาชีพการท่องเที่ยวและบริการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงได้จัดท าโครงการนี้ขึ้น


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /57 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อฝึกทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพการขายสินค้าให้กับกลุ่มเป้าหมาย 4.2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายน าทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษส าหรับพนักงานขายสินค้าไปใช้ในการ ประกอบอาชีพพนักงานขาย 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ กิจกรรม เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน ชาย หญิง 1. เรียนรู้ภาคทฤษฎีตามโครงสร้างหลักสูตร ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพการท่องเที่ยวและ 2. ฝึกปฏิบัติเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ จ าลอง และจริง 15 1 14 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการอบรม ร้อยละ100 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตาม โครงการ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และด าเนิน ชีวิตประจ าวันได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /58 12. โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน ........................................................................................... 1. โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อ 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา ข้อ 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลส าหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับ การการ เปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลในโลกยุคใหม่ ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 1.1-1.3) มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการ จัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 2.1- 2.5) มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา (ข้อ 3.1 – 3.9) 3. หลักการและเหตุผล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยส านักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือ สดช. ได้เล็งเห็นความส าคัญในการสร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ตาม นโยบายดิจิทัลไทยแลนด์ ให้สามารถสร้างสรรค์และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างเต็มศักยภาพ เพื่อขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป โดยมีเป้าหมายการพัฒนาดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ในระยะ 10 ปี ประกอบด้วย 1) เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ก้าวทันเวทีโลก 2)สร้างโอกาสทางสังคมอย่างเท่าเทียม 3) พัฒนาทุนมนุษย์สู่ยุคดิจิทัล และ 4) ปฏิรูปกระบวนทัศน์การท างานและการ ให้บริการของรัฐ กิจกรรมดังกล่าวประกอบด้วยกิจกรรมการสัมมนาและการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับนโยบายการ ส่งเสริมและพัฒนาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล การบริหารจัดการศูนย์ดิจิทัลชุมชน ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี ด้านการเงินดิจิทัล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัลในชีวิตประจ าวัน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อพัฒนาอาชีพและเพื่อการค้า ในยุค 4.0 ความส าคัญและการท าสื่อการเรียนรู้ MOOC ชุมชน เป็นต้น การที่จะเข้าใจการตลาด Online ที่เชื่อมโยงกับการตลาด Offline ได้นั้น ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะใด จ าเป็นต้อง จ าลองตนเองให้เป็นผู้ขาย นักการตลาด พ่อค้าแม่ขาย แล้วเรียนรู้ เข้าใจกลไกการท างานของสื่อสังคมออนไลน์เพื่อช่วย ยกระดับการขายตรงไปสู่ผู้บริโภค ซึ่งต่างก็ใช้ชีวิตผ่านสื่อสังคมออนไลน์ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงจัด โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน เพื่อให้ความรู้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้กับประชาชน และเพิ่มช่องทางการจ าหน่ายสินค้า ออนไลน์ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ความรู้การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับนักศึกษาและประชาชนที่สนใจ 4.2 เพื่อส่งเสริมการสร้างรายได้จากการขายสินค้าออนไลน์ให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจ


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /59 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ กิจกรรม แผน ผลการด าเนินงาน ชาย หญิง รวม หลักสูตรการค้าออนไลน์ 30 11 19 30 รวม 30 11 19 30 5.2 เชิงคุณภาพ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับแนวทาง และทิศทางในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดิจิทัลในการส่งเสริมการตลาด การเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า และ การโปรโมทให้กับสินค้าในชุมชนท้องถิ่น จากการนิเทศพบว่า กลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มนักศึกษาและแม่ค้าขนาดเล็ก เช่น กลุ่มท าน้ าพริก และแม่ค้าขายของใช้สิ้นเปลือง ซึ่งมีความสนใจในการค้าออนไลน์ จ าวน 30 คน ในการจัดกิจกรรมดังกล่าว สอดคล้องกับหลักสูตร จากวิทยากรที่ผ่านการอบรมมาแล้ว โดยการถ่ายทอดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทราบถึง วัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมโครงการดังกล่าว มีการใช้สื่อการสอน เช่นสื่อวิดีทัศน์ มีการร่วมกันท ากิจกรรมการค้า ออนไลน์ได้ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในอาชีพของตนเองเพื่อสร้างช่องทางในการขายเพิ่มยิ่งขึ้น 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1) การวางแผนและการจัดการที่ดีของผู้บริหาร บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2) การประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ใช้บริการผ่านหลายช่องทางอย่างสม่ าเสมอ 3) การสนับสนุนด้านงบประมาณและ ให้ความส าคัญต่อการอ่าน ของผู้บริหาร กศน.จังหวัด 5.4 ปัญหาและอุปสรรค การรับรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการแตกต่างกันจึงท าให้เกิดการรับรู้ต่างกัน กิจกรรมการค้าออนไลน์ ต าบลปาล์มพัฒนา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /60 ต าบลนิคมพัฒนา


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /61 13. โครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ...................................................................... 1. โครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ 2. ความสอดคล้องกับจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ข้อ 3 ด้านการ สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.3 พัฒนาทักษะฝีมือ พัฒนาการทาง ร่างกายและจิตใจกลุ่มผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถด าเนินชีวิตได้เต็มตามศักยภาพ โดยเน้นการ ด าเนินกิจกรรมใน 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ฉบับลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 1.1,1.2,1.3) มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง (ข้อ 2.1,2.2,2.3,2.4,2.5) มาตรฐานที่ 3 (ข้อ 3.1,3.2,3.3,3.4,3.5,3.6,3.7,3.8,3.9) 3. หลักการและเหตุผล ส านักงาน กศน.เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถของบุคคล เพื่อให้สามารถจัดการกับตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดีและความสงบสุข ความปลอดภัยใน สังคม ในการบริการที่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาคนให้มีความรู้เกิดทักษะที่จ าเป็นส าหรับการคิดวิเคราะห์ในการ ด ารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน มีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาในรูปแบบต่างๆ ที่มีสาระสอดคล้องกับบริบทของ ชุมชน เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานของบุคคลให้สามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยเน้นการด าเนิน กิจกรรมใน 4 มิติ1. ด้านสุขภาพ 2. ด้านสังคม 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านสภาพแวดล้อมและเทคโนโลยี ดังนั้น เพื่อให้สนองนโยบาย ของส านักงาน กศน. กรอปกับ ปีพ.ศ. 2566 เป็นปี “สุขภาพสูงวัยไทย” กศน.อ าเภอมะนัง จึงจัดโครงการ จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของ ผู้สูงอายุ 4. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องการดูแลสุขภาพและหลัก3 อ. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในเรื่องการออกก าลังกายด้วยการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุค 3. เพื่อให้ผู้สูงอายุน าการออกก าลังกายแบบการเต้นบาสโลบและร าวงร้อนยุคไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /62 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม กิจกรรมการดูแลสุขภาพเบื้องต้น 40 4 36 40 รวม 40 4 36 40 5.2 เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ จ านวน 40 คน ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวสอดคล้องกับมิติสุขภาพ จากวิทยากรที่ผ่านการอบรมมาแล้ว โดยการถ่ายทอดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการเข้า ร่วมโครงการดังกล่าว มีการใช้สื่อการสอน เช่นสื่อวิดีทัศน์ มีการร่วมกันท ากิจกรรมให้ความรู้เรื่องการดูแล สุขภาพและหลัก 3 อ. ให้ความรู้และสาธิตการออกก าลังกายโดยการเต้นบาสโลบ/ร าวงย้อนยุค” สามารถน าไป ออกก าลังกายที่บ้านได้ 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1. ความหลากหลายของกิจกรรม 2. ผู้น าชุมชนและภาคีเครือข่ายสนับสนุนการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดีทุกด้าน 3. ครู กศน. มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม ตัวอย่ำงภำพกิจกรรม โครงกำร กำรจัดและส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำตอลดชีวิตเพื่อพัฒนำกำรทำงกำยจิตและสมองของผู้สูงอำยุ โดยมีวิทยากรจากสาธารณสุขอ าเภอมะนัง มาให้ความรู้เรื่องการออกก าลังกาย จากท่าเต้นบาสโลบ/ร าวงย้อนยุค” สามารถน าไปออกก าลังกายที่บ้านได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /63 14. ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลผู้สูงอายุ จ านวน 70 ชั่วโมง ………………………………………………………. 1.ชื่อโครงการ โครงการอบรมการดูแลผู้สูงอายุ จ านวน 70 ชั่วโมง 2.สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ด้านที่2 ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ข้อที่ 4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการRE-Skill UP-Skillและ New Skill เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบหลากหลายให้ ครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. หลักการและเหตุผล จากผลการส ารวจส ามะโนประชากรและเคหะพบว่าประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงวัย” ตั้งแต่ปี 2548 โดยมี แนวโน้มของการเข้าสู่ “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” ในปี 2564 และจะเข้าสู่ “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” เมื่อมี ประชากรสูงอายุ ร้อยละ 28 ของประชากรทั้งประเทศในปี 2575 ภาครัฐจึงริเริ่มให้มีการจัดท าโครงการในลัง กษณะบูรณาการความร่วมมือตามกรอบภารกิจของแต่ละหน่วยงานแต่สามารถเอื้อต่อกันในการจัดท าโครงการหรือ กิจกรรมเพื่อรองรับการเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” ปัจจุบันมีหน่วยงานที่มีความร่วมมือในการบูรณาการตั้งแต่ ขั้นการเสนอแผนเพื่อจัดท าโครงการในลักษณะของการบูรณาการ โดยส านักงาน กศน. ส านักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจหลักในการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียน ได้รับการเลือกให้เป็น หน่วยงานบูรณาการในการจัดกิจกรรมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยด้วย โดยจะท าหน้าที่เชื่อมโยงความรู้ที่มีผลกระทบต่อ คุณภาพชีวิตของประชากรทุกช่วงวัยให้ได้รับการศึกษาตลอดชีวิต ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงได้ด าเนินจัดโครงการอบรมการดูแลผู้สูงอายุ หลักสูตร 70 ชั่วโมงขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและเป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ที่เหมาะสมกับวัย และความต้องการของผู้สูงอายุต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในด้านการดูแลผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น 4.2. เพื่อน าไปปรับใช้ในการดูแลผู้สูงอายุได้ 4.3. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการดูแลผู้สูงอายุให้ด ารงชีวิตในสังคมอย่างมีคุณค่า


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /64 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ เป้าหมาย(คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 20 3 17 20 20 3 17 20 5.2 เชิงคุณภาพ กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มดูแลสูงอายุ จ านวน 20 คน ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวสอดคล้องกับมิติสุขภาพ จากวิทยากรที่ผ่านการอบรมมาแล้ว โดยการถ่ายทอดให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการเข้า ร่วมโครงการดังกล่าว มีการใช้สื่อการสอน การปฏิบัติจริง ฟังบรรยาย และลงปฏิบัติจริงในพื้นที่ สามารถ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ 5.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ 1. ความหลากหลายของกิจกรรม 2. ผู้น าชุมชนและภาคีเครือข่ายสนับสนุนการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดีทุกด้าน 3. ครู กศน. มีความสามารถในการประสานงานกับภาคีเครือข่าย ในการจัดกิจกรรม ตัวอย่างภาพกิจกรรม โครงการ การจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตอลดชีวิตเพื่อพัฒนาการทางกายจิตและสมองของผู้สูงอายุ โดยมีวิทยากรจากสาธารณสุขอ าเภอมะนัง มาให้ความรู้เรื่องการออกก าลังกาย สามารถน าไปออกก าลังกายที่บ้าน ได้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /65 15. ชื่อโครงการ โครงการกีฬาสายสัมพันธ์ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ............................................................ 1. ชื่อโครงการ โครงการกีฬาสายสัมพันธ์ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง 2. ความสอดคล้องกับนโยบาย 2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(พ.ศ.2560-2579) - ยุทธศาสตร์ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ตระหนัก ถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย (อาทิ ภาษา ตรรกะ และคณิตศาสตร์ ดนตรี กีฬา สร้างเสริมศักยภาพผู้มี ความสามารถพิเศษให้สามารถต่อยอดการประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง) 2.2 แผนยุทธศาสตร์การศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) - ยุทธศาสตร์ที่ 1 การศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง - ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาก าลังคนให้มีสมรรถนะในการแข่งขัน 2.3 ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน.ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 - ข้อที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อความปลอดภัย ข้อที่ 1.1 สร้างความปลอดภัยในหน่วยงาน/สถานศึกษาและ ป้องกันจากภัยคุกคามในชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ผ่านกิจกรรม "White Zone กศน. ปลอดภัย ไร้สารเสพติด"เน้นแนวทางการ ปฏิบัติภายใต้หลักการ ๓ ป. ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ ต่าง ๆ อาทิเช่น โรคระบาด เหตุการณ์ความไม่สงบ เป็นต้น ให้แก่ผู้เรียน ครู และบุคลากรในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเข้มข้น รวมทั้งด าเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการด าเนินการ เพื่อปรับปรุง พัฒนา และขยายผลต่อไป 3. หลักการและเหตุผล การแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์การศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560-2580)เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนการศึกษาใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นนโยบายที่ก าหนดขึ้นภายใต้หลักของยุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” รวมทั้งการด าเนินการตามแนวทางการแก้ไขปัญหาสันติวิธี เพื่อไปสู่วิสัยทัศน์ “มุ่งให้ จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัย ปราศจากเงื่อนไขการใช้ความรุนแรง มีสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการแสวงหา ทางออกจากความขัดแย้งโดยสันติ ทุกภาคส่วนมีความเข้าใจ ไว้วางใจ และมีส่วนร่วมในกระบวนการเสริมสร้างสันติภาพ” ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาการบริหารด้วยการมีส่วนร่วมและบูรณาการแก้ไขปัญหาพื้นที่พิเศษ โดยมีเป้าหมาย คือ ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีความรู้ความสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความ เป็นธรรม ไม่หวาดระแวง และจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความเจริญรุ่งเรือง และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การส่งเสริม การศึกษาศาสนา ภาษา ศิลปะ พหุวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ซึ่งเป้าหมายให้ประชาชนได้รับการศึกษาที่มี คุณภาพอย่างทั่วถึง เป็นคนดี มีคุณธรรม ด้วยการปฏิบัติตามหลักศาสนา มีศักยภาพด้านภาษาอย่างหลากหลาย มีความ ภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /66 ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงได้ด าเนินงาน จัดให้มีโครงการ “กีฬาสายสัมพันธ์ศูนย์ส่งเสริมการ เรียนรู้อ าเภอมะนัง” ขึ้น เพราะการกีฬาเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนนอกระบบ และเพิ่ม ทักษะชีวิต ทักษะการเล่นกีฬา เป็นการเสริมสร้างสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ตลอดจนเป็นการ เสริมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ 4. วัตถุประสงค์ 4.1เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัยในหมู่คณะและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์กับเยาวชนนอก ระบบชายแดนใต้ 4.2 เพื่อพัฒนาทักษะด้านกีฬา 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1. เชิงปริมาณ เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 25 17 10 27 5.2 เชิงคุณภาพ : ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 27 คน ได้ร่วมกันเล่นกีฬาแต่ละประเภท เช่น กีฬาเปตอง วอลเลย์บอล กระโดดเชือก การวิ่งกระสอบ และการชักกะเยอ ท าให้นักศึกษามีความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย อยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /67


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /68 16. ชื่อโครงการ ส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในจังหวัดชายแดนใต้ ................................................................. 1. ชื่อโครงการ ส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในจังหวัดชายแดนใต้ 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (3.3,3.8) ภารกิจต่อเนื่องข้อ 1 ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ (1.3 การศึกษา ต่อเนื่อง ข้อ 2 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับกลุ่มเป้าหมาย) สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ พ.ศ.2562 – 2565 ข้อ 5 เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อสันติสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 3. หลักการและเหตุผล รัฐบาลพลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เข้ามาบริหารประเทศ ได้ก าหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ก าหนดนโยบายในบริหารประเทศในทุกด้านและขับเคลื่อนงานสร้างการรับรู้ มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ ด้านการศึกษาที่ก าหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนพัฒนาการศึกษาในระยะ20 ปี (พ.ศ.2561-2580)เพื่อให้การพัฒนาประเทศ เป็นไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์พระราชาอัน ส่งผลไปสู่ “ประเทศมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”ในที่สุด ภาษาไทยเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของคนในชาติอีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา หาความรู้ ใช้ ในการถ่ายทอดความรู้ และใช้ในการประกอบวิชาชีพ กอรปกับ การจัดเรียนการสอนภาษาไทยในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ได้ด าเนินการตามแผนการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยระยะ 4 ปี (พ.ศ.2561-2564)ภายใต้วิสัยทัศน์ “การยกระดับการใช้ภาษาไทยให้มีคุณภาพ มุ่งเน้นการพูด การฟังการอ่าน การเขียน และ ใช้เป็นเครื่องมือในการ แสวงหาความรู้ตั้งแต่ก่อนระดับประถมศึกษาเป็นต้นไป เพื่อการด ารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข” และเพื่อเป็น การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยอย่างต่อเนื่อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอมะนัง จึงต้องจัดโครงการส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในจังหวัดชายแดนใต้ ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ มีความเข้าใจในภาษาไทยที่สื่อสารกับหน่วยงานของภาครัฐ ได้ 4.3 เพื่อให้ผู้เรียนด ารงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุขในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /69 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ ที่ โครงการ/หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1. ค่ายกิจกรรมภาษาไทย 20 20 20 2. ค่ายกิจกรรมภาษาต่างประเทศ 22 1 21 22 รวม 42 1 41 42 5.2 เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการ จ านวน 42 คน มีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาอาชีพ และสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ สร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะด้านการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการขาย และภาษาไทย ใน ชีวิตประจ าวันได้ถูกต้อง สามารถน าภาษาไทย ไปใช้ในการสร้าง ข้อความใน TikTok เพื่อใช้ในการน าเสนอขาย สินค้าได้ ค่ายกิจกรรมภาษาต่างประเทศ ค่ายภาษาไทย ( สแกน และดาวน์โหลด) ( สแกน และดาวน์โหลด)


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /70 17. โครงการบริหารศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง ......................................... 1. โครงการบริหารศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง 2. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานส านักงาน กศน.ปีงบประมาณ 2566 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบริการภาครัฐ 3. หลักการและเหตุผล จากยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาบุคลากรและการบริหารจัดการเพื่อให้กิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย มีคุณภาพ และมีการพัฒนา นั้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง จึงจัดท าโครงการบริหารศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอมะนัง เพื่อให้การ ด าเนินงานของสถานศึกษา เป็นไปตามโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจที่รับผิดชอบ บุคลากรได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและสามารถปรับยุทธวิธีในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับผู้รับบริการได้อย่างเหมาะสม เครือข่าย สามารถเข้าใจบริบทการท างานของ สกร.เพิ่มขึ้น เป็นไปตามที่ก าหนดไว้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า ให้มีคุณภาพ และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา 4.2 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับสายงาน 5. ผลส าเร็จของโครงการ 5.1 เชิงปริมาณ : ที่ โครงการ/หลักสูตร เป้าหมาย (คน) ผลการด าเนินงาน(คน) ชาย หญิง รวม 1 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานด้านการศึกษานอกระบบ 7 2 5 7 2 โครงการกีฬา “กศน.เกมส์ 2566” ระดับประเทศ 3 1 2 3 3 โครงการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 7 2 6 7 4 โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานในจังชายแดนภาคใต้ 6 1 5 6 5 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการด าเนินงาน ความปลอดภัยในสถานศึกษา 6 1 5 6 6 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรด้านสันทนา การเพื่อการศึกษา สกร.อ าเภอมะนัง 6 1 5 6


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /71 5.2 เชิงคุณภาพ ครูและบุคลากร จ านวน 6 คน มีความรู้ มีทักษะในเรื่องที่เข้ารับการอบรม การศึกษาดูงาน เช่น ด้าน สันทนาการ น าไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การเข้าค่ายได้ สามารถเขียนแผนสถานศึกษาปลอดภัยได้ เป็นต้น


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /72


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /73


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /74


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /75


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /76


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /77


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /78


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /79


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /80


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /81


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /82


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /83


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /84


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /85


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /86


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /87


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /88 ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 1/2566 เรื่อง การแบ่งกลุ่มงานของกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 2/2566 เรื่อง มอบหมายข้าราชการพลเรือนสามัญ พนักงานราชการและ ลูกจ้างประจ าปฏิบัติหน้าที่ ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 3/2566 เรื่อง มอบอ านาจให้ ผอ.สกร.จังหวัด/ ผอ.สกร.กรุงเทพมหานคร ปฏิบัติราชการแทน ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 7/2566 เรื่อง มอบหมายให้ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาปฏิบัติหน้าที่ ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 8/2566 เรื่อง มอบหมายให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาปฏิบัติหน้าที่ ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 87/2566 เรื่อง แก้ไขแปลงแปลงค าสั่ง (ค าสั่งที่ 3/2566) ค าสั่งกรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ 88/2566 เรื่อง ยกเลิกค าสั่งมอบอ านาจ ผอ.สกร.อ าเภอ/ ผอ.สกร.เขต ปฏิบัติราชการแทน


รายงานผลการด าเนินงาน ประจ าปีงบประมาณ 2566 /89


รายงานผลประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สกร.อ าเภอมะนัง /90 คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา นางวาสนา อนุสรณ์ประเสริฐ ผู้อ านวยการส านักงาน สกร.จังหวัดสตูล นายดนัย สุวรรณโณ ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้จัดท า นางสาวจตุพร ทหารไทย ครูช านาญการ นางนฤมล ช่วยด า ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวกูรอม๊ะ ราเหม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวดวงกมล ประทุมมณี ครู กศน.ต าบล นายนภัทร จันทวิลาศ ครู กศน.ต าบล นางสาวนริศรา พงศ์หลง บรรณารักษ์ห้องสมุด ผู้พิมพ์/จัดท ารูปเล่ม นางสาวจตุพร ทหารไทย ครูช านาญการ


Click to View FlipBook Version