The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by golfkonthai1803, 2018-08-26 22:39:59

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

แผนการสอนเขียนแบบสมบูรณ์

5.2 ใหท้ าขอ้ 4-8 ต่อ และสง่ ภายใน 35 นาที
5.3 ใหท้ าข้อ 9 ตอ่ และส่งภายใน 45 นาที
5.3 ใหท้ าข้อ 11 ต่อ และสง่ ภายใน 30 นาที
6. ครูตรวจสอบการเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบของนกั เรยี นทกุ คน
7. ครเู ดินดูนักเรยี นสังเกตการทาแบบฝกึ หัด ห้ามไม่ใหล้ อกซงึ่ กนั และกัน
8. ให้นกั เรยี นสง่ แบบฝกึ หดั ตามเวลาท่กี าหนด
(ขัน้ ตรวจประเมิน 60 นาที)
9. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั และทาการตรวจประเมนิ หลังจากนักเรยี นออกจากหอ้ งเรยี น
แล้ว
10. ครูบนั ทกึ คะแนน เพอื่ เตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในช่วั โมงเรียนตอ่ ไป

งานท่มี อบหมาย

ก่อนเรยี น ให้นกั เรยี นจัดเตรยี มอปุ กรณ์เขยี นแบบประจาตวั และหนังสือเขียนแบบเทคนิคให้พรอ้ ม
ขณะเรียน ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 10 ส่งในชั่วโมงเรยี น

สื่อการเรยี นการสอน

1. สอื่ สิง่ พิมพ์
หนังสือเขยี นแบบเทคนิคเบื้องตน้

2. สอ่ื โสตทัศน์
แผน่ โปร่งใส เร่ือง การเขยี นภาพตดั คร่ึง

การประเมินผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรับปรงุ
เรอ่ื ง การเขยี นภาพตดั ครงึ่ 321
ขอ้ ท่ี 1 ถึงข้อท่ี 3
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี

รายการประเมิน

1. ความถูกต้องของเสน้ ขอบรปู
2. ความถกู ต้องของเส้นลายตัด

หมายเหตุ ถ้าเขียนภาพฉายเปน็ ภาพตดั คร่งึ ไมถ่ ูกตอ้ ง จะไม่ตรวจประเมนิ ข้อนน้ั

ข้อท่ี 4 ถงึ ขอ้ ที่ 8 ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มเี กณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี 321

รายการประเมนิ

1. ความถกู ต้องของภาพตดั
2. ความชัดเจนของเส้นขอบรปู

ข้อท่ี 9 ถึงข้อท่ี 10
มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดงั น้ี

การประเมินเร่ือง กฎการบอกขนาด

รายการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
4321

1. ความถกู ตอ้ งของเส้นบอกขนาด 0.25

(หา่ งขอบรปู 10 ห่างซงึ่ กนั และกัน 7 )

2. ความถูกตอ้ งของเส้นช่วยบอกขนาด 0.25

(ปลายเส้นช่วยฯ เขียนเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถกู ตอ้ งของตวั เลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สูง 3.5 )

4. ความถกู ตอ้ งของลูกศรบอกขนาด

(ระบายทบึ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

การประเมนิ เร่อื งภาพตัด ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั นี้ 4321

รายการประเมนิ
1. เขยี นภาพฉายถูกตอ้ ง

2. ความถกู ต้องของเส้นขอบรปู
3. ความถกู ตอ้ งของเสน้ ลายตัด

แผ่นโปรง่ ใส

เรื่อง ภาพตดั คร่งึ

แผน่ โปร่งใส 1 เร่ือง ภาพตดั คร่ึง

ภาพตดั ครึ่ง

ภาพแสดงการตดั เตม็ ตามจนิ ตนาการ

แผน่ โปร่งใส 2 เร่ือง ภาพตดั คร่ึง

ภาพตดั ครึ่ง

เส้ นประไม่มี

ภาพฉาย ภาพตดั ครึ่ง

แผน่ โปร่งใส 3 เร่ือง ภาพตดั คร่ึง

กฎการเขยี นภาพตดั ครึ่ง

การบอกขนาดขอบรูปท่ี
เห็นเพยี งข้างเดยี ว

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 12
วิชา เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งตน้ สอนคร้งั ที่ 12 สปั ดาหท์ ี่ 15
ช่ือหนว่ ย ภาพตดั ย่นระยะและภาพตดั เฉพาะสว่ น ชว่ั โมงรวม 4
เร่อื ง ภาพตัดยน่ ระยะและภาพตดั เฉพาะสว่ น จานวนช่วั โมง 4

หวั ขอ้ เร่อื ง
1. ภาพตดั ยน่ ระยะ (Reduction Length Section)
2. ภาพตัดเฉพาะส่วน (Partial Section)

สาระสาคัญ
ภาพตดั ย่นระยะ ใชส้ าหรบั การเขียนตัดส่วนกลางของชน้ิ งานออก ย่นระยะความยาวของช้นิ งาน
ทีย่ าวมาก โดยทรี่ ายละเอียดตรงสว่ นบรเิ วณกลางชิ้นงานนัน้ ไม่มีรายละเอียดใด ๆ เลย เพ่อื ชว่ ย
ประหยัดเวลาในการเขยี นภาพฉาย
ภาพตดั เฉพาะสว่ น เป็นการเขยี นภาพตดั เฉพาะตาแหน่งทต่ี อ้ งการแสดงรายละเอยี ดส่วนทีถ่ ูกบงั
เท่านั้น ส่วนอนื่ ทไ่ี ม่จาเป็นก็ไม่แสดงภาพตัด ทาใหป้ ระหยดั เวลาในการเขยี นแบบลงได้มาก

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. เขียนภาพตดั ยน่ ระยะได้
2. เขยี นภาพตดั เฉพาะส่วนได้
3. เขยี นบอกขนาดในภาพตัดได้

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
(ขน้ั สรปุ 20 นาที)
1. ครสู ่งคนื ใบแบบฝกึ หัดท่ี 11 แก่นักเรยี น เฉลย สรุปและซักถามขอ้ สงสยั
(ข้ันสอน 20 นาที เร่ือง ภาพตัดย่นระยะ)
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนด้วยการฉายแผ่นโปรง่ ใส 1 เรอื่ ง ภาพตดั ยน่ ระยะ พรอ้ มอธิบายประกอบ
3. ครอู ธบิ ายวิธีการเขยี นภาพตัดยน่ ระยะ พร้อมดว้ ยการสาธติ บนกระดานดา
4. ครูอธิบายกฎการเขียนภาพตดั ย่นระยะ ประกอบแผน่ โปร่งใส 2
(ข้นั ประเมินผล 40 นาที)
5. ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 12 ตอนที่ 1 เรอื่ ง ภาพตดั ย่นระยะ
6. ครูเดินดูนกั เรียนสงั เกตการทาแบบฝกึ หดั หา้ มไมใ่ หล้ อกซึง่ กนั และกัน

7. ใหน้ ักเรยี นส่งแบบฝกึ หัด ตามเวลาทก่ี าหนด
8. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หัด และรอการตรวจประเมนิ
(ขัน้ สอน 20 นาที เร่ือง ภาพตดั เฉพาะสว่ น)
9. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วย การเขยี นภาพฉายเพลาทม่ี กี ารบอกขนาดรเู จาะที่ถูกบงั บรเิ วณปลาย
เพลา และถามวา่ ผดิ กฎการบอกขนาดหรือไม่
10. ครูสาธิตการเขียนภาพตัดรเู จาะท่ีถูกบงั โดยเขียนเปน็ ภาพตดั เฉพาะส่วน
11. ครูอธิบายกฏการเขียนภาพตดั เฉพาะสว่ น
(ขั้นประเมนิ ผล 90 นาที)
12. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหัดที่ 12 ตอนท่ี 2 ขอ้ 1 และ 2
13. ครูเดินดนู กั เรยี นสงั เกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ หล้ อกซ่ึงกันและกนั
14. ใหน้ กั เรยี นสง่ แบบฝึกหดั ตามเวลาทก่ี าหนด
(ข้นั ตรวจประเมนิ 50 นาที)
15. ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัด และรอการตรวจประเมิน หลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรียน
ไปแลว้
16. ครบู นั ทกึ คะแนน เพือ่ เตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชัว่ โมงเรียนตอ่ ไป

งานทีม่ อบหมาย
ก่อนเรียน ใหน้ กั เรียนจดั เตรยี มอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนังสอื เขยี นแบบเทคนิคให้พรอ้ ม
ขณะเรยี น
ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 12 ตอนที่ 1 เร่อื ง ภาพตดั ย่นระยะ ข้อ 1 ถึง 4 ส่งในช่ัวโมงเรียน
ตอนท่ี 2 เรื่อง ภาพตดั เฉพาะสว่ น ข้อ 1 และ 2 สง่ ในช่ัวโมงเรยี น

สอ่ื การเรยี นการสอน
1. สอ่ื สิง่ พิมพ์
หนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ เบือ้ งต้น
2. ส่ือโสตทัศน์
แผ่นโปร่งใส เรอ่ื ง การเขียนภาพตดั ย่นระยะและภาพตัดเฉพาะสว่ น

การประเมินผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
1. เร่อื ง ภาพตัดย่นระยะ 210
มเี กณฑก์ ารให้คะแนนดงั นี้

รายการประเมิน

1. เขยี นภาพฉายถูกต้องตามมาตราส่วน
2. ความถูกต้องของเสน้ ขอบรูป
3. ความถูกต้องของเส้นลายตดั

2. เรือ่ งภาพตดั เฉพาะส่วน ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
มีเกณฑ์การให้คะแนนดงั นี้ 3210

รายการประเมนิ ……….. ……….. ……….. ………..
……….. ……….. ……….. ………..
1. เขยี นภาพตัดถกู ต้อง ……….. ……….. ……….. ………..
ภาพตดั เฉพาะส่วนรูเจาะ 8……………...
ภาพตดั เฉพาะส่วนรเู จาะมุม 60…………
ภาพตัดเฉพาะสว่ น R8…………………..

2. ความถกู ต้องของเส้นขอบรปู
3. ความถูกต้องของเสน้ ลายตดั

การประเมินเรอ่ื ง กฎการบอกขนาด

รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรงุ
210

1. ความถกู ตอ้ งของเสน้ บอกขนาด 0.25

(ห่างขอบรปู 10 หา่ งซึ่งกันและกัน 7 )

2. ความถกู ต้องของเส้นช่วยบอกขนาด 0.25

(ปลายเส้นช่วยฯ เขียนเลยปลายลกู ศร1…2)

3. ความถูกตอ้ งของตัวเลขบอกขนาด

(ดาชดั เจน สงู 3.5 )

4. ความถกู ต้องของลูกศรบอกขนาด

(ระบายทบึ มมุ 15o ยาว 2.5 …..3 )

แผน่ โปรง่ ใส

เรื่อง ภาพตดั ยน่ ระยะและภาพตัดเฉพาะส่วน

แผน่ โปร่งใส 1 เรื่อง ภาพตดั ยน่ ระยะ

ภาพตดั ยน่ ระยะ

ตวั เลขบอกขนาดยัง
เขียนเหมอื นเดมิ

ภาพตดั ยน่ ระยะ

แผน่ โปร่งใส 2 เรื่อง ภาพตดั ยน่ ระยะ

ภาพตดั ยน่ ระยะ

ระยะห่าง

เพลาตนั

เพลากลวง

เพลากลวง
งานแท่งเหลย่ี ม

ภาพตดั เฉพาะสว่ น แผน่ โปร่งใส 3 เรื่อง ภาพตดั เฉพาะส่วน

ภาพตดั เฉพาะ
ส่ วน

แสดงรูเจาะ

ภาพตดั เฉพาะส่วน
ท่อกลวง

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 13 และ14

วชิ า เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งต้น สอนครง้ั ที่ 13 สปั ดาห์ท่ี 16

ชอ่ื หนว่ ย ภาพตดั เย้ืองแนว ชว่ั โมงรวม 4
ภาพตัดเคลือ่ น และภาพตดั หมุน

เรื่อง ภาพตดั เย้ืองแนว, ภาพตดั เคลอ่ื น และภาพตัดหมนุ จานวนชั่วโมง 4

หัวข้อเรื่อง
1. ภาพตดั เย้อื งแนว (Offset Section)
2. ภาพตดั เคล่ือน(Removed Section)
3. ภาพตดั หมนุ (Rotate Section)

สาระสาคัญ
ภาพตัดเยอ้ื งแนว ลักษณะภาพตัดเขียนคล้ายภาพตดั เตม็ แตจ่ ะใชก้ บั ชิน้ งานท่ไี มม่ คี วาม
สมมาตร ซงึ่ ไมส่ ามารถตดั เตม็ แนวเส้นศนู ยก์ ลางได้
ภาพตดั เคล่อื น เปน็ การเขียนภาพฉายของหนา้ ตดั ชน้ิ งาน ทห่ี มนุ ออกมาแสดงทีต่ าแหนง่ ดา้ นขา้ ง
หรือบรเิ วณใตข้ องภาพฉายนัน้ โดยเสน้ ขอบรปู ของภาพตดั จะตอ้ งแสดงด้วยเส้นเต็มหนา
ภาพตัดหมนุ เป็นการเขยี นภาพฉายของหนา้ ตดั ชนิ้ งาน ที่หมุนแสดงไปบนตาแหนง่ ที่ตดั ของภาพ
ฉายนั้น ใชก้ ับช้นิ งานทส่ี ามารถหมนุ หนา้ ตัดตรงบริเวณตาแหน่งท่ตี ัดไดท้ ันที ทาใหส้ ะดวกรวดเร็วในการ
แสดงภาพตดั

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. เขยี นแบบภาพตัดเย้อื งแนวได้
2. เขยี นแบบภาพตัดหมนุ ได้
3. เขยี นแบบภาพตดั เคลอ่ื นได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(ขั้นสรุป 30 นาที)
1. ครูสง่ คนื ใบแบบฝกึ หัดที่ 12 แกน่ กั เรียน เฉลย สรปุ และซกั ถามข้อสงสัย
(ข้ันสอน 30 นาที เรอื่ ง ภาพตัดเยื้องแนว)
2. ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นด้วยการฉายแผ่นโปรง่ ใส 1 เรอื่ ง ภาพตดั เยอื้ งแนว พร้อมอธบิ ายประกอบ

กบั แบบจาลองภาพตดั เยอื้ งแนว

3. ครูอธบิ ายวธิ กี ารเขยี นภาพตดั เยอื้ งแนว ด้วยการสาธิตบนกระดานดา และฉายแผ่นโปร่งใส 1
เรื่อง ภาพตดั เย้ืองแนว ประกอบการบรรยาย

4. ครูอธบิ ายกฎการเขียนภาพตัดเยอื้ งแนว ประกอบกบั แผน่ โปรง่ ใส
(ขั้นประเมนิ ผล 40 นาที)
5. ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 13 เรือ่ ง ภาพตดั เย้ืองแนว
6. ครตู รวจสอบการเตรียมอปุ กรณเ์ ขยี นแบบของนกั เรยี นทกุ คน
7. ครเู ดินดูนกั เรยี นสงั เกตการทาแบบฝึกหดั หา้ มไมใ่ หล้ อกซง่ึ กันและกัน
8. ให้นกั เรียนสง่ แบบฝกึ หดั ตามเวลาทกี่ าหนด
9. ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั และรอตรวจประเมนิ หลงั จากสอนเร่อื งต่อไป
(ขน้ั สอน 40 นาที เรื่อง ภาพตดั หมนุ และภาพตดั เคลื่อน)
10. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนเรื่องภาพตดั เคล่อื น ดว้ ยการฉายแผน่ โปรง่ ใส เรอ่ื งภาพตดั เคลอื่ น
พร้อมอธบิ ายประกอบ
11. ครอู ธบิ ายพรอ้ มสาธติ วิธีการเขียนภาพตัดเคลื่อน บนกระดานดา
12. ครอู ธิบายกฎการเขยี นภาพตัดเคล่อื น ตามมาตรฐาน ISO 128-1982 ด้วยการฉายแผ่น
โปรง่ ใส 1 เร่อื งภาพตดั เคลอื่ น
13. ครอู ธบิ ายเรื่องการเขยี นภาพตดั หมุน ต่อทันที และเน้นย้าข้อแตกต่างกับภาพตัดเคล่ือน ที่
เห็นชดั เจน
(ขน้ั ประเมินผล 40 นาที)
14. ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 14 เรอ่ื ง ภาพตดั เคลอื่ นและภาพตดั หมุน
15. ครเู ดินดนู ักเรียนสงั เกตการทาแบบฝึกหดั ห้ามไมใ่ หล้ อกซง่ึ กันและกนั
16. ใหน้ กั เรียนส่งแบบฝึกหดั ตามเวลาทกี่ าหนด
(ขั้นตรวจประเมิน 60 นาที)
17. ครูเก็บรวบรวมใบแบบฝึกหัด และตรวจประเมินหลังจากนักเรยี นออกจากห้องเรยี น
18. ครูบันทกึ คะแนน เพื่อเตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชั่วโมงเรยี นตอ่ ไป

งานทมี่ อบหมาย

กอ่ นเรยี น ให้นกั เรียนจดั เตรยี มอปุ กรณเ์ ขยี นแบบประจาตวั และหนงั สอื เขียนแบบเทคนิคใหพ้ ร้อม
ขณะเรียน ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั ที่ 13 และแบบฝึกหดั ที่ 14 ส่งในชวั่ โมงเรียน

ส่ือการเรยี นการสอน

1. สื่อสง่ิ พิมพ์

หนังสอื เขียนแบบเทคนิคเบอ้ื งตน้
2. สือ่ โสตทศั น์

แผน่ โปรง่ ใส เรอ่ื ง ภาพตดั เยื้องแนว, ภาพตดั เคลอ่ื น และภาพตัดหมุน

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
เรื่อง ภาพตัดเยือ้ งแนว 321
มเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้
ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
รายการประเมิน 321

1. เขยี นภาพตัดไดส้ มบรู ณ์
1. ความถกู ตอ้ งชัดเจนของเส้นขอบรปู
2. ความถูกตอ้ งชดั เจนของเส้นลายตัด
สาหรบั ขอ้ 1
เขียนเส้นแสดงการตดั ไดถ้ กู ต้อง

เรือ่ ง ภาพตดั เคลื่อนและภาพตัดหมนุ
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี

รายการประเมนิ

1. เขียนภาพตัดไดส้ มบูรณ์
2. ความชดั เจนของเสน้ ขอบรปู
2. ความถกู ต้องของเส้นลายตัด

แผ่นโปร่งใส

เร่ือง ภาพตดั เยื้องแนว

แผน่ โปร่งใส 1 เรื่อง ภาพตดั เย้อื งแนว

ภาพตดั เย้อื งแนว

ภาพตดั เยอื้ งแนวทีไ่ ด้

แผน่ โปรง่ ใส

เร่อื ง ภาพตดั เคล่อื น และภาพตัดหมุน

แผน่ โปร่งใส 1 เร่ือง ภาพตดั เคลื่อนและภาพตดั หมนุ

ภาพตดั เคล่อื น (มาตรฐาน ISO 128-1982)

แผน่ โปร่งใส 2 เร่ือง ภาพตดั เคล่อื นและภาพตดั หมนุ

ภาพตดั หมนุ

แผน่ โปร่งใส 3 เรื่อง ภาพตดั เคลื่อนและภาพตดั หมนุ

คานตัวไอ แสดงเป็ นภาพฉาย
คานตวั ไอ แสดงเป็ นภาพตัดหมนุ

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 15
วชิ า เขยี นแบบเทคนคิ เบอื้ งต้น สอนครั้งท่ี 14 สปั ดาหท์ ี่ 17
ชือ่ หน่วย เขียนแบบด้วยการสเกตซ์ ช่วั โมงรวม 4
เร่อื ง การเขียนแบบด้วยการสเกตซ์ จานวนช่ัวโมง 4

หัวขอ้ เรอื่ ง

1. ความหมายการสเกตซ์
2. การสเกตซเ์ ส้นตรง
3. การสเกตซว์ งกลม

สาระสาคัญ
การสเกตซ์ หมายถงึ การใช้ปากกาหรอื ดินสอขีดเขยี นเส้นดว้ ยมอื เปลา่ โดยไม่มีบรรทดั , วง
เวียน หรอื อปุ กรณช์ ว่ ยในการเขียนอ่นื ๆ ชว่ ยในการเขียน ซงึ่ มปี ระโยชนใ์ นการออกไปเขยี นแบบ
ภาคสนาม เชน่ การลอกแบบชน้ิ ส่วนกลไกต่าง ๆ ของเครอ่ื งจักร

จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1. เขียนสเกตซ์เสน้ ตรงได้
2. เขียนสเกตซ์วงกลมได้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
(ข้ันสรุป 30 นาที)
1. ครสู ง่ คนื ใบแบบฝึกหดั ท่ี 13 และ14 แกน่ ักเรียน เฉลย สรุปและซกั ถามข้อสงสยั
(ขน้ั สอน 30 นาที)
2. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี นเร่ืองการเขยี นแบบด้วยการสเกตซ์ ด้วยการกาหนดปญั หา เมอ่ื อุปกรณ์

เขียนแบบอนื่ ๆ ไม่มี นอกจากดนิ สอหรือปากกาดา้ มเดียว และต้องการลอกแบบช้ินส่วนกลไกทีอ่ ยใู่ น
ภาคสนาม เพ่ือนามาเขยี นในหอ้ งเขยี นแบบ

3. ครอู ธิบายพร้อมสาธติ วิธีการเขียนแบบด้วยการสเกตซ์ บนกระดานดา
(ข้ันประเมนิ ผล 120 นาที)
4. ให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 15 เรอ่ื ง การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์
5. ครเู ดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการทาแบบฝกึ หดั ห้ามไม่ใหล้ อกซึง่ กันและกนั
6. ใหน้ ักเรียนส่งแบบฝึกหัด ตามเวลาทก่ี าหนด

(ขั้นตรวจประเมิน 60 นาที)
7. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝกึ หัด และตรวจประเมนิ หลงั จากนักเรียนออกจากหอ้ งเรียน
8. ครูบนั ทกึ คะแนน เพ่อื เตรยี มไวส้ รปุ ผลภายในชัว่ โมงเรยี นตอ่ ไป

งานท่มี อบหมาย

กอ่ นเรยี น ใหน้ กั เรยี นจดั เตรียมอุปกรณเ์ ขยี นแบบประจาตัว และหนงั สอื เขยี นแบบเทคนคิ ให้พร้อม
ขณะเรียน ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหดั ท่ี 15 เรอื่ ง การเขียนแบบด้วยการสเกตซ์ สง่ ในชั่วโมงเรียน

ส่อื การเรียนการสอน

1. สื่อสิง่ พิมพ์
หนงั สือเขยี นแบบเทคนิคเบอื้ งต้น

2. ส่ือโสตทศั น์
แผ่นโปร่งใส เรอ่ื ง การเขียนแบบดว้ ยการสเกตซ์

การประเมินผลแบบฝกึ หัด ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
321
เร่อื ง การเขยี นแบบด้วยการสเกตซ์
มเี กณฑ์การให้คะแนนดงั นี้

รายการประเมิน
1. ความคงที่ของเสน้
2. ความชัดเจนของเส้น

แผ่นโปรง่ ใส

เร่อื ง การเขยี นแบบดว้ ยการสเกตซ์

การสเกตซ์เสน้ ตรง

การสเกตซว์ งกลม

การสเกตซ์ภาพสามมติ ิ

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 16
วิชา เขียนแบบเทคนิคเบอื้ งตน้ สอนครง้ั ที่ 15 สัปดาห์ที่ 18
ชอื่ หน่วย สัญลกั ษณ์เบ้ืองต้นในงานช่างอตุ สาหกรรม ช่วั โมงรวม 4
เรอื่ ง สญั ลกั ษณ์เบอื้ งตน้ ในงานชา่ งอุตสาหกรรม จานวนชว่ั โมง 4

หัวขอ้ เรอื่ ง

1. เกลยี ว
2. ความละเอียดผิวงาน
3. งานเช่ือม

สาระสาคัญ
1.เกลียว เปน็ ช้นิ ส่วนมาตรฐานท่ีสาคญั ของการจบั ยึดงานเข้าด้วยกัน ในทางวศิ วกรรม เปน็
การยดึ แบบช่ัวคราว ซงึ่ สามารถถอดออกและประกอบใหมไ่ ด้ โดยช้ินงานประกอบจะไมม่ กี ารเสียหาย
2. ความละเอียดผิวงาน ในงานเขียนแบบทางด้านเครอื่ งกล การเขียนบอกความละเอียดผวิ
งานมคี วามสาคัญมาก มบี ทบาทต่อระบบการผลติ ผวิ งานของชน้ิ สว่ นแตล่ ะชิ้นจะมีความละเอยี ดไม่
เหมอื นกัน ผวิ ทีล่ ะเอยี ดมากจะผลติ ยากและราตาแพง ดังนน้ั การเขยี นแบบเบอ้ื งตน้ ควรเรยี นรู้
ความหมายของสัญลกั ษณค์ วามละเอียดผิวเบื้องต้นและวธิ กี ารเขียนสญั ลกั ษณ์ลงในแบบ
3.งานเชือ่ ม ในงานประกอบช้นิ ส่วนโครงสร้าง ที่นาชิน้ งาน 2 ชนิ้ มาประกอบเชื่อมประสานเขา้
ด้วยกนั จะตอ้ งเขยี นแบบสง่ั งานแสดงใหท้ ราบถึงคาสงั่ วา่ ต้องเชือ่ มประสาน ดังนนั้ การเขยี นสญั ลกั ษณง์ าน
เชอื่ มลงในแบบจงึ มคี วามจาเปน็

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
1. เขยี นสัญลกั ษณเ์ บอ้ื งตน้ ของเกลียวในงานเขยี นแบบได้
2. เขียนสญั ลักษณพ์ ืน้ ฐานของความละเอยี ดผิวงานในงานเขยี นแบบได้
3. เขียนสัญลกั ษณเ์ บอื้ งต้นของงานเช่ือมในงานเขียนแบบได้

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
(ขั้นสรุป 20 นาที)
1. ครูสง่ คนื ใบแบบฝกึ หัดที่ 15 แก่นกั เรยี น เฉลย สรปุ และซกั ถามข้อสงสยั

เร่ืองการเขยี นสัญลักษณเ์ กลียว

(ขน้ั สอน 30 นาที)
2. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนเรอื่ งการเขียนสญั ลักษณเ์ กลยี ว ด้วยการแสดงของจรงิ คือ สลกั เกลียวตัว
ใหญ่ ท้งั ชุด และใหน้ ักเรยี นตอบวา่ นี่คอื อะไร
3. ครูอธบิ ายเรอ่ื งสว่ นประกอบของเกลยี ว และชนดิ ของเกลยี ว พร้อมฉายแผ่นโปร่งใส
4. ครูอธิบายพรอ้ มสาธติ วิธีการเขียนแบบสัญลกั ษณ์เกลียว บนกระดานดา และฉายแผ่นโปร่งใส
เรื่องสญั ลกั ษณเ์ กลยี ว พร้อมไปดว้ ย
5. ประเมินผล

5.1 ใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ 16 ตอนที่ 1 เร่อื ง การเขียนสญั ลักษณ์เกลยี ว
5.2 ใหเ้ วลาทา 40 นาที
5.3 ครเู ดินดูนกั เรียนสงั เกตการทาแบบฝึกหดั หา้ มไม่ใหล้ อกซึง่ กนั และกนั
5.4 ให้นักเรียนสง่ แบบฝึกหดั ตามเวลาทกี่ าหนด
6. ครเู กบ็ รวบรวมใบแบบฝกึ หดั และรอตรวจประเมนิ หลงั จากนักเรียนออกจากหอ้ งเรยี น
เรือ่ งการเขยี นสัญลกั ษณ์ความละเอยี ดของผวิ งาน
(ขั้นสอน 30 นาที)
7. ครูนาเข้าสูบ่ ทเรียนเรือ่ งการเขยี นสญั ลักษณค์ วามละเอยี ดของผิวงาน ดว้ ยการแสดงของจรงิ
คอื ฉากเหลก็ ผวิ เจียรนัย , เพลาเหล็กผวิ กลึง หรอื ตัวอยา่ งงานตะไบ
8. ครอู ธบิ ายเรอื่ ง การเขียนสญั ลักษณค์ วามละเอยี ดของผวิ งาน พร้อมฉายแผ่นโปรง่ ใส
9. ครูอธิบายพรอ้ มสาธิตวธิ กี ารเขียนแบบสญั ลกั ษณ์ความละเอยี ดของผวิ งานบนกระดานดา
10. ประเมนิ ผล
10.1 ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดท่ี 16 ตอนที่ 2 เร่อื ง การเขยี นสัญลกั ษณ์ความละเอยี ด
ของผิวงาน
10.2 ให้เวลาทา 30 นาที
10.3 ครเู ดนิ ดูนกั เรยี นสงั เกตการทาแบบฝกึ หดั หา้ มไมใ่ หล้ อกซ่ึงกนั และกนั
10.4 ใหน้ ักเรยี นส่งแบบฝึกหัด ตามเวลาที่กาหนด
11. ครเู ก็บรวบรวมใบแบบฝึกหดั และรอตรวจประเมินหลงั จากนกั เรียนออกจากห้องเรยี น
เรื่องการเขียนสัญลกั ษณ์งานเช่อื ม
(ขน้ั สอน 30 นาที)
12. ครูนาเขา้ ส่บู ทเรียนเรอ่ื งการเขยี นสญั ลักษณง์ านเชอื่ ม ด้วยการแสดงของจริง คือ ตวั อย่าง
งานเช่อื มเหล็ก
13. ครูอธบิ ายเร่อื ง การเขยี นสญั ลักษณ์งานเชอ่ื ม พร้อมฉายแผน่ โปร่งใส
14. ครอู ธบิ ายพร้อมสาธิตวิธกี ารเขียนแบบสญั ลกั ษณง์ านเชอื่ ม บนกระดานดา
15. ประเมนิ ผล

15.1 ให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดที่ 16 ตอนท่ี 3 เรื่อง การเขยี นสญั ลกั ษณง์ านเชอ่ื ม
15.2 ให้เวลาทา 20 นาที

15.3 ครูเดินดูนักเรยี นสังเกตการทาแบบฝึกหัด หา้ มไมใ่ หล้ อกซงึ่ กนั และกนั
15.4 ใหน้ ักเรียนสง่ แบบฝกึ หดั ตามเวลาทกี่ าหนด
16. ครูเกบ็ รวบรวมใบแบบฝึกหดั และรอตรวจประเมนิ หลังจากนักเรียนออกจากห้องเรยี น
(ขั้นสรุป 40 นาที)
17. ครูสรปุ โดยเฉลยทีละเรอื่ ง ฉายแผ่นใสเฉลยประกอบการอธบิ าย

งานทีม่ อบหมาย
ก่อนเรียน ให้นกั เรยี นจดั เตรียมอุปกรณ์เขียนแบบประจาตวั และหนังสือเขียนแบบเทคนคิ ใหพ้ รอ้ ม
ขณะเรียน ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดท่ี 16 เรอ่ื ง สัญลกั ษณเ์ บ้ืองตน้ ในงานชา่ งอุตสาหกรรม สง่ ใน

ช่วั โมงเรียน

สอ่ื การเรียนการสอน
1. สื่อส่ิงพมิ พ์
หนงั สอื เขียนแบบเทคนคิ เบือ้ งตน้
2. สอ่ื โสตทศั น์
แผ่นโปรง่ ใส เร่ือง การเขียนสัญลกั ษณเ์ กลียว
แผน่ โปรง่ ใส เรอ่ื ง การเขียนสญั ลกั ษณ์ความละเอียดของผิวงาน
แผน่ โปรง่ ใส เร่ือง การเขยี นสญั ลกั ษณ์งานเช่อื ม
3. ของจริง
สลกั เกลยี วตวั ใหญ่ 1 ชุด
ฉากเหลก็ ผวิ เจยี รนยั , เพลาเหล็กผิวกลงึ หรอื ตัวอย่างงานตะไบ
ตวั อย่างงานเช่ือมเหล็ก

การประเมนิ ผลแบบฝกึ หดั

เรือ่ ง การเขียนสญั ลกั ษณ์เกลยี ว
มีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั นี้

รายการประเมิน ดี พอใช้ ปรับปรงุ
3 21
1. เขยี นสัญลกั ษณ์เกลียวถกู ตอ้ ง
2. บอกขนาดเกลยี วถูกต้อง พอใช้ ปรับปรงุ
21
เรอื่ ง การเขยี นสญั ลกั ษณ์ความละเอียดของผิวงาน
มีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้ พอใช้ ปรับปรงุ
21
รายการประเมิน ดี
3
1. เขยี นสญั ลกั ษณค์ วามละเอยี ดของผวิ งานลง
ในแบบงานถกู ตอ้ ง
2. เสน้ ถกู ต้อง

เรอ่ื ง การเขยี นสญั ลักษณ์งานเชอื่ ม
มีเกณฑก์ ารให้คะแนนดงั นี้

รายการประเมิน ดี
3
1. เขยี นสญั ลกั ษณง์ านเชอ่ื มลงในแบบงาน
ถูกต้อง
2. เส้นถกู ต้อง

แผ่นโปรง่ ใส

เร่ือง สัญลกั ษณเ์ บือ้ งตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

แผน่ โปร่งใส 1 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

สว่ นประกอบของเกลยี ว

แผน่ โปร่งใส 2 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

ตาราง มาตรฐานการกาหนดขนาดเกลยี วชนิดต่างๆ

ชนดิ ของเกลียว ตัว การกาหนดขนาด ตัวอย่าง
ยอ่ W 28  ¼

เกลียววทิ เวอร์ท - W เส้นผา่ ศนู ย์กลางนอก R 3/4
M 60
ละเอยี ด (เรยี ว) เป็น มม.  ระยะพิตช์ Tr 48  8

เปน็ นวิ้ Rd40  5

เกลยี วทอ่ -วิทเวอรท์ R ขนาดกาหนดของท่อเป็น S70  10

(ทรงกระบอก) น้ิว

(ขนาดกาหนด =  ใน )

เกลียวเมตริก ISO M เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ

เกลียว

เป็น มม.

เกลียวเมตริก ISO ทรง Tr เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ

คางหมู เกลยี ว

เป็น มม.  ระยะพิตช์

เปน็ มม

เกลียวฟนั กลม Rd เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ

เกลยี ว

เป็น มม.  ระยะพิตช์

เปน็ มม

เกลยี วฟนั เลือ่ ย S เส้นผ่าศูนย์กลางนอกของ

เกลียว

เป็น มม.  ระยะพิตช์

เปน็ มม

แผน่ โปร่งใส 3 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

เส้นผ่าศูนย์กลางโคนเกลยี ว = 0.8 x เส้นผ่าศูนย์กลางยอดเกลยี ว

แผน่ โปร่งใส 4 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

ความโตรเู จาะ = ความโตโคนเกลยี วของเกลียวนอก
ความโตของเกลยี ว = ความโตยอดเกลยี วของเกลียวนอก

แผน่ โปร่งใส 5 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

แผน่ โปร่งใส 6 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

เกลยี วนอก เกลยี วรูใน

ถูกต้อง ผดิ

แผน่ โปร่งใส 7 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

ตาราง คา่ และขน้ั ความหยาบละเอยี ดของผิวงาน

คา่ ความหยาบ (Ra) ขน้ั ความ
ไมโครเมตร หยาบ

50 N12
25 N11
12.5 N10
6.3 N9
3.2 N8
1.6 N7
0.8 N6
0.4 N5
0.2 N4
0.1 N3
0.05 N2
0.025 N1

Ra คอื คา่ ความหยาบผวิ เฉลยี่ มหี นว่ ยเป็น ไมโครเมตร

แผน่ โปร่งใส 8 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอตุ สาหกรรม

ขนาดสัญลกั ษณ์พนื้ ฐาน

แผน่ โปร่งใส 9 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่างอุตสาหกรรม

ความหมายของตาแหน่งต่างๆทเ่ี ขยี นลงบนสัญลกั ษณ์กาหนดความหยาบละเอยี ด
ของผิวงาน

a คือ ตาแหน่งที่จะระบุค่าความหยาบ (Ra) เป็นไมโครเมตร หรือขั้น
ความหยาบตั้งแต่ N1 ถงึ N12

b คือ ตาแหน่งที่จะระบกุ ระบวนการทากรรมวธิ ีต่างๆ หรืองานชุบผวิ
c คือ ตาแหนง่ ทจ่ี ะระบคุ วามยาวตัวอย่างตรวจสอบ
d คอื ตาแหนง่ ที่จะระบุทศิ ทางรอยความหยาบ
e คอื ตาแหนง่ ที่จะระบคุ วามเผือ่ เพอ่ื การปรับผวิ ด้วยเครื่องมือกลเป็น
มลิ ลเิ มตร
f คือ ตาแหนง่ ท่ีจะระบคุ า่ ความหยาบอื่นๆ (ระบุในวงเล็บ

แผน่ โปร่งใส 10 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อตุ สาหกรรม

ความหมายของสัญลกั ษณท์ ี่ไมม่ ีตวั เลขหรอื ขอ้ ความใดๆ

สญั ลักษณ์ ความหมาย
สญั ลักษณพ์ ืน้ ฐาน จะใช้โดยไมม่ ีการระบเุ พม่ิ เติมได้
ต่อเมอื่ มกี ารอธบิ ายความหมายโดยหมายเหตุ
เทา่ นนั้
ผวิ งานทต่ี ้องการใหม้ คี วามหยาบละเอียดตามที่
กาหนด โดยเอาเน้ือวัสดอุ อกดว้ ยเครอื่ งมอื กลและ
ไมม่ ีการระบุรายละเอยี ดอนื่ ใด
ผิวงานที่ตอ้ งการใหม้ ีความหมายละเอยี ดตามท่ี
กาหนดโดยไมใ่ ห้เอาเนื้อวัสดอุ อกหรือผิวงานที่ถกู
ปล่อยไวใ้ นสภาพเดิม ไม่วา่ สภาพนน้ั ไดผ้ า่ น
กระบวนการทาอยา่ งใดอย่างหนึ่งมาแลว้ กต็ าม

แผน่ โปร่งใส 11 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อตุ สาหกรรม

กฎการเขียนสญั ลกั ษณร์ ะบคุ วามหยาบละเอียดลงในแบบ ตาม
มาตรฐาน ISO 1302

แผน่ โปร่งใส 12 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อุตสาหกรรม

การใชส้ ัญลกั ษณ์กาหนดความหยาบผิวตามมาตรฐานเยอรมัน
DIN 140

สญั ลกั ษณผ์ ิวงาน ลกั ษณะคณุ ภาพของผิวงาน

ผิวดบิ ผิวงานของช้ินงานไม่ต้องการความละเอียดมาก
แต่ต้องการ ความสม่าเสมอของผิวงาน เช่น งานหล่อ
งานรีด งานทุบข้นึ รูป

ผวิ หยาบ รอยปาดผวิ ของเครื่องมอื ท่ีใช้ในการตดั เฉอื น
ยงั มองเห็นได้ชดั เจนดว้ ยตาเปล่า

ผิวละเอียดปานกลาง รอยปาดผวิ ของเคร่อื งมอื ทใ่ี ช้
ตดั เฉือนยงั พอมองเห็นไดบ้ า้ งแต่ไมช่ ดั เจนนกั

ผิวละเอียด รอยปาดผิวของเครือ่ งมือทีใ่ ช้ตดั เฉือนจะ
มองด้วยตาเปลา่ ไม่เหน็

ผิวละเอยี ดทสี่ ุด ผิวของช้นิ งานจะละเอยี ดเงาเปน็ มัน
มาก ซ่งึ ได้แก่ งานเจียระไนและงานขัด

แผน่ โปร่งใส 13 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อตุ สาหกรรม

เขยี นสญั ลักษณแ์ นวเชื่อมอยา่ งง่าย

เส้นโค้งเตม็ บาง

แผน่ โปร่งใส 14 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อตุ สาหกรรม

ตาราง แสดงสญั ลักษณ์งานเช่อื ม

ช่ือรอยตอ่ แนวเช่อื ม ภาพช้ินงาน สญั ลักษณ์
1. การเชื่อมต่อชนระหวา่ งแผ่นทพ่ี บั ขอบ

(ขอบทพ่ี บั จะหลอมละลายไปทั้งหมด)

2. การเชอ่ื มตอ่ ชนแบบหนา้ ฉาก

3. การเชื่อมตอ่ ชนแบบรูป V ดา้ นเดยี ว

4. การเช่อื มต่อชนแบบหน้าเฉยี งด้านเดยี ว

5. การเชอ่ื มตอ่ ชนแบบรปู V ด้านเดยี ว
โดยมีหนา้ ประชดิ กวา้ ง

6. การเช่ือมต่อชนแบบหนา้ เฉยี งดา้ นเดยี ว
โดยมีหน้าประชดิ กวา้ ง

7. การเชือ่ มตอ่ ชนแบบรปู U ดา้ นเดยี ว
(หน้าขนานหรอื หน้าลาดเอียง)

8. การเชื่อมตอ่ ชนแบบรูป J ดา้ นเดยี ว

แผน่ โปร่งใส 15 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อุตสาหกรรม

ช่อื รอยตอ่ แนวเช่อื ม ภาพชิ้นงาน สัญลักษณ์
9. การเชอื่ มเปดิ ด้านหลงั

10. การเช่ือมตอ่ ฉาก

11. การเชอ่ื มอุด

12. การเช่ือมจดุ

13. การเชอ่ื มตะเขบ็

แผน่ โปร่งใส 16 เรื่อง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อตุ สาหกรรม

เสน้ ลกู ศร และเสน้ อา้ งอิง

แผน่ โปร่งใส 17 เร่ือง สญั ลกั ษณ์เบ้ืองตน้ ในงานช่าง
อุตสาหกรรม


Click to View FlipBook Version