The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

5. ผลประโยชน์ทบั ซ้อน (Conflict of interest)
ผลประโยชนทับซอนหรือการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชน

สวนรวม หมายถึง การท่ีเจาหนาที่ของรัฐไดตกอยูในฐานะเปนผูมีสวนไดเสียในรูปแบบตางๆ
ตามท่ีกฎหมายบัญญัติหามไว และเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นยังไดเขาไปพิจารณาดําเนินการ
ในกิจการสาธารณะที่เปนการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ในกิจการของรัฐเพ่ือประโยชน
ของรัฐแตเม่ือเจาหนาท่ีของรัฐผูพิจารณาไดมีผลประโยชนสวนตนเขาไปแอบแฝงหรือไดนํา
ประโยชนสวนตนเขาไปมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ ซึ่งรวมถึงการมีสวนไดเสียในรูปแบบตางๆ
หรอื การมผี ลประโยชนแ อบแฝงหรอื การนาํ ความสมั พนั ธส ว นตนเขา ไปเกยี่ วขอ งในการตดั สนิ ใจ
ในการดําเนินการใดๆ ตามอํานาจหนาท่ีของการดําเนินงานท่ีเปนกิจการสวนรวมของรัฐ เชน
การบรหิ ารงานภาครฐั หรือในการจดั ทําบริการสาธารณะของรฐั แลว การพิจารณาดาํ เนินการ
ดงั กลา วขา งตน ของเจา หนา ทขี่ องรฐั ทไี่ ดน าํ ประโยชนสว นตนเขามาเกย่ี วขอ งกบั การตดั สนิ ใจใน
การดําเนินการใดๆ ที่เปนงานในอํานาจหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐ การดําเนินการท่ีกลาวมา
ขางตนจึงเปนการกระทําที่เปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวม

เครดิต: สํานักขา วเจา พระยา

42 สุจริต คดิ ฐานสอง

เครดติ : สาํ นกั งานนวตั กรรมแหง ชาติ

สจุ รติ คิดฐานสอง 43

44 สจุ รติ คิดฐานสอง เครดติ : สาํ นกั งานนวตั กรรมแหงชาติ

6. รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน (Conflict of interest)
1. การรับผลประโยชนตางๆ (Accepting Benets) คือ การรับสินบนหรือ

รับของขวัญและผลจากการรับผลประโยชนน้ัน สงผลตอการตัดสินใจในการดําเนินการ
ตามอาํ นาจหนา ที่ เชน การรบั เงนิ หรอื บรกิ ารตา งๆ จากบรษิ ทั เอกชนทเ่ี ขา รว มประมลู งานจาก
ภาครัฐ หรือการรับของขวัญจากผูประกอบธุรกิจที่เปนลูกคาของหนวยงานเพ่ือเกิดประโยชน
ตอ ตนเอง

2. การทาํ ธรุ กิจกับตวั เอง (Self – Dealing) หรอื เปน คูส ญั ญา (Contracts) คอื
การหาประโยชนใ หก บั ตนเอง ครอบครัว พวกพองจากตําแหนง หนา ท่ี เชน ผบู ริหารของหนวย
งาน ทาํ สญั ญาจา งบรษิ ทั ทภี่ รรยาของตนเองเปน เจา ของมาเปน ทปี่ รกึ ษาของหนว ยงาน หรอื ทาํ
สัญญาจัดซื้อรถตูจากบริษัทที่ตนเองมีหุนสวนอยู หรือทําสัญญาใหหนวยงานจัดซื้อท่ีดิน
ของตนเอง

3. การทํางานหลังจากออกจากตําแหนงสาธารณะหรือหลังเกษยี ณ
(Post – Employment) คอื การไปทํางานหลงั ออกจากงานเดิม โดยใชค วามรู ความสมั พนั ธ
ประสบการณ อิทธิพลจากท่ีเคยดํารงในหนวยงานเพ่ือหาประโยชนหรือเอาประโยชน
ใหก บั ตนเองหรอื พวกพอ ง เชน การใชอ าํ นาจหรอื อทิ ธพิ ลเดมิ ในการฝากบคุ คลเขา ปฏบิ ตั หิ นา ที่
เจาหนาท่ีธุรการในหนวยงาน การใชอิทธิพลจากท่ีเคยดํารงตําแหนงในหนวยงานรัฐรับเปน
ท่ีปรึกษาใหบ ริษทั เอกชนเพอ่ื ใหติดตอกบั หนว ยงานเดิมของตนอยา งราบร่นื เปน ตน

4. การทํางานพิเศษ (Outside Employment or Moonlighting) คือ
การเปนท่ีปรึกษาและการจางงานใหแกตนเอง รวมถึงการใชตําแหนงสถานภาพการทํางาน
สาธารณะ ในการทจี่ ะเขา เปน นายจา งของภาคเอกชน ตลอดจนการใชเ ครอื่ งมอื เครอื่ งใชข องรฐั
ในการทํางานพิเศษภายนอก โดยอาศัยตําแหนงหนาท่ีราชการสรางความนาเช่ือถือ เชน
เจาหนาที่ท่ีมีหนาที่ตรวจสอบบัญชี รับงานเปนท่ีปรึกษาหรือเปนผูทําบัญชีใหกับบริษัท
ทต่ี อ งถูกตรวจสอบบญั ชี เปน ตน

สจุ ริต คิดฐานสอง 45

5. การรูขอมูลภายใน (Inside Information) คือ รูขอมูลของทางราชการและ
นาํ ขอ มลู ไปเปด เผยเพอ่ื รบั สง่ิ ตอบแทนทเ่ี ปน ประโยชนใ นรปู ของเงนิ หรอื อนื่ ๆ ใหก บั ตนเองหรอื
ผูอ ่นื เชน ผูบ ริหารของหนว ยงานรูข อมลู ภายในโครงการกอสรางถนนแลว ตนเอง ใหเ ครอื ญาติ
ไปกวานซ้ือท่ีดินตามแนวถนนตัดผานไวลวงหนาเพ่ือมาขายใหกับหนวยงานในราคาที่สูง เจา
หนาที่พัสดุของหนวยงานเปดเผยหรือขายขอมูลท่ีสําคัญของฝายที่มาย่ืนประมูลไวกอนหนาให
แกผูป ระมลู

6. การใชบคุ ลากรหรอื ทรพั ยส นิ ของหนวยงานเพือ่ ประโยชนส วนตน
(Using Employer, Property for Private advantage) คือ การมอบหมายบุคลากร
ของหนว ยงานไปปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ในเรอ่ื งตนหรอื การเอาทรพั ยส นิ ของหนว ยงานมาใชเ พอ่ื ประโยชน
สว นตน อันเปน การสรางความเสยี หายแกหนว ยงานหรือรัฐ เชน การนาํ วสั ดคุ รภุ ณั ฑของหนว ย
งานมาใชท บี่ า น ใชโ ทรศพั ทข องหนว ยงานตดิ ตอ ธรุ ะสว นตน นาํ รถยนตร าชการไปใชธ รุ ะสว นตน
นําน้าํ มนั ของราชการมาเตมิ รถยนตสว นตน นาํ รถสว นตนมาลา งทห่ี นว ยงาน เปน ตน

7. การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพ่อื ประโยชนทางการเมอื ง
(Pork-Barrelling) คอื การใชอ ทิ ธพิ ลทางการเมอื งเพอ่ื เรยี กผลตอบแทนหรอื ประโยชนต อ พนื้ ท่ี
ที่ตนรับผิดชอบ เชน ผูดํารงตําแหนงทางการเมืองอนุมัติโครงการลงในพื้นที่เขตเลือกตั้งหรือ
บา นเกดิ ของตนเอง การใชงบประมาณสาธารณะเพ่ือหาเสยี ง การใสชอื่ ผูด ํารงตาํ แหนงทางการ
เมืองแสดงความเปนเจา ของสิ่งสาธารณะ เปนตน

8. การใชอทิ ธพิ ล (Inuence peddling) คอื การใชต ําแหนง หรืออาํ นาจหนาทซ่ี ่งึ
ตนมอี ยโู ดยทจุ รติ ไปมอี ทิ ธพิ ลตอ การตดั สนิ ใจโดยอสิ ระในการใชอ าํ นาจตามตาํ แหนง หนา ทข่ี อง
เจา หนา ทขี่ องรฐั ซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง อน่ื ไมว า ทางตรงหรอื ทางออ ม เพอ่ื ใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั นน้ั กระทาํ
หรอื ไมก ระทําการอยา งหนง่ึ อยางใด เชน การบรรจุ แตง ตงั้ เลอ่ื นขัน้ เงนิ เดือน โอน ยา ย ดาํ เนิน
การทางวินัยหรือเจาหนาท่ีของรัฐในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของเจาหนาท่ีของรัฐดํารง
ตําแหนง อน่ื ดังกลาว พน จากตําแหนงหรือพน จากการปฏบิ ตั หิ นาที่ เปนตน

9. ความสมั พันธท างเครอื ญาติ (family relationship) คือ ความสมั พนั ธร ะหวา ง
บุคคลที่ไดจากความสัมพันธทางสายเลือดหรือการแตงงานกับเจาหนาท่ีของรัฐไมวาจะมีความ
เก่ียวพันโดยทางนิตินัยหรือพฤตินัยเพื่อแสวงหาประโยชนท่ีไมควรไดโดยชอบดวยกฎหมาย
สําหรับตนเองหรือผูอื่น เชน การใหรางวัล การลดหน้ีหรือปลดหนี้ใหเปลา การใหยืมเงินโดย
ไมค ิดดอกเบ้ยี เปนตน

46 สุจรติ คิดฐานสอง

เครดิต : สาํ นกั งานนวตั กรรมแหงชาติ

เครดิต : สาํ นกั งานนวตั กรรมแหง ชาติ สจุ รติ คิดฐานสอง 47

แนวทางการพฒั นาโรงเรียนสุจริต “ระบบคิดฐานสอง”
โครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา

“ป้องกันการทุจรติ ” (โครงการโรงเรียนสุจรติ )
การพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ ตามนโยบายของรฐั บาล ซงึ่ ไดใ หค วามสาํ คญั กบั การปอ งกนั
และปราบปรามการทจุ รติ มาเปน เวลานานจนปจจุบัน รัฐบาลไดกาํ หนดยทุ ธศาสตรช าตวิ าดว ย
การปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564) ตามความเห็นชอบ
ของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 11 ตุลาคม 2559 ซ่ึงทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของจะตอง
แปลงแนวทางและมาตรการตามยุทธศาสตรชาติไปสูการปฏิบัติโดยกําหนดไวในแผนปฏิบัติ
ราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติราชการประจําป ทั้งน้ีรัฐบาลไดมีแผนงานบูรณาการปองกัน
ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยมีการกําหนดไวในยุทธศาสตรท่ี 6
การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกัน การทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาล
ในสังคมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 และมีเปาหมายลดปญหา
การทุจริตในสังคมไทย ซึ่งไดมีการกําหนดแนวทางไว 3 ประการคือ 1) สรางกลไก
การปอ งกนั การทุจริตใหเขม แข็งและมปี ระสทิ ธิภาพ 2) สรางความตระหนักรูในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต 3) เสริมสรางความเขมแข็งในการปราบปรามการทุจริต โดยมี
ความคาดหวงั วา คา ดชั นชี ว้ี ดั ภาพลกั ษณค อรร ปั ชนั (CPI) เพมิ่ ขนึ้ ในสว นของสถานศกึ ษาทงั้ ภาค
รัฐและเอกชนตองปลูกฝงใหนักเรียนมีทัศนคติและคานิยมไมยอมรับการทุจริต ไมทนตอการ
ทจุ รติ มจี ติ สาํ นกึ สาธารณะ สามารถแยกระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส ว นรวม
ไดอยางชดั เจน สรา งเครอื ขายหรือรวมกลุมสมั พนั ธทตี่ อ ตา นการทจุ ริตทกุ รปู แบบ สง เสรมิ หรือ
ยกยองบุคคล หรอื อาคารที่ทํางานดว ยความโปรงใสยตุ ิธรรม
อยา งไรกด็ ี แมจ ะมกี ฎหมายบา นเมอื งกาํ หนดบทลงโทษของการทาํ ผดิ ไวอ ยา งชดั เจน
แตในสังคมทมี่ ีการอะลมุ อลวยหรือการสมยอมกัน ทาํ ใหภ าพลักษณก ารตอตานการคอรร ปั ชนั
ของประเทศไทยไมด ใี นสายตาชาวโลก สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน โดยสาํ นกั
พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา ไดดําเนินโครงการโรงเรียนสุจริต ซึ่งสอดคลองกับ
แผนบูรณาการยุทธศาสตรท่ี 6 มาตั้งแตป พ.ศ.2556 ทําใหเกิดผลสําเร็จท่ีนาพอใจ
ในระดับหนึง่ ในป พ.ศ.2559 นี้
48 สจุ ริต คดิ ฐานสอง

คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติเสนอวิธีแกทุจริตดวยการ
คิดฐานสองเพื่อใหคนไทยสามารถแยกแยะเร่ืองประโยชนสวนตนกับประโยชนสวนรวม
ออกจากกนั ใหไ ดอ ยา งชดั เจน เพราะเปนการปรบั เปลย่ี นฐานความคดิ จากการเหน็ แกประโยชน
สวนตน เครือญาติ และพวกพอง เปนเห็นแกประโยชนชาติเปนหลักการคิด แกทุจริต
“คดิ ฐานสอง” นส้ี อดรบั และสมั พนั ธก นั ไดอ ยา งดกี บั โครงการเสรมิ สรา งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) ท่ีมีเปาหมาย
ใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะ 5 ประการ คือ 1) มีทักษะกระบวนการคิด 2) มีวินัย
3) มีความซ่ือสัตย 4) อยอู ยางพอเพียง และ 5) จิตสาธารณะ

แนวทางการพัฒนาโรงเรียนสุจริต “ระบบคดิ ฐานสอง” ตามยุทธศาสตรช าติ วา ดว ย
การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560 - 2564) นี้ สํานกั พฒั นานวตั กรรม
การจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีแนวทางในการพัฒนาตาม
การปรับกระบวนการทางความคิด (Mind Set) การขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและ
ประโยชนสวนรวมหรือผลประโยชนทับซอน (Conict of Interrest) และแกทุจริต
“คิดฐานสอง” (ชุดความรูการเฝาระวังการทุจริตของหนวยงานภาครัฐ ชุดที่ 3 : ป.ป.ช.)
ทกี่ ลา ววา ระบบการคดิ ทสี่ รา งปญ หาใหแ กส งั คม คอื ระบบการคดิ ทไ่ี มส ามารถแยกเรอ่ื งประโยชน
สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมออกจากกันใหไดอยางชัดเจน โดยมักจะนําประโยชนสวน
บคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั นาํ ประโยชนส ว นรวมมาเปน ประโยชนส ว นบคุ คล เหน็
แกประโยชนสวนบุคคลเปนหลัก เห็นแกประโยชนของเครือญาติ และพวกพองสําคัญกวา
ประโยชนข องประเทศชาติ ระบบการคดิ ดงั กลา วจึงเปนตน เหตสุ าํ คัญทีจ่ ะนาํ ไปสูการทุจรติ นนั้

แนวคดิ การพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” เปน แนวคดิ ในการสรา งคณุ ธรรม
จริยธรรมและธรรมาภิบาลใหบังเกิดแกบุคคล คือ การที่เจาหนาที่ของรัฐมีระบบ
การคดิ ที่สามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนาทก่ี บั เรื่องสวนบคุ คลออกจากกนั ดงั นี้

1. มีทักษะการคิดในการแยกประโยชนส วนบคุ คลออกจากประโยชนส วนรวม
2. การเหน็ ประโยชนสาธารณะมากอ นประโยชนสว นบุคคล
3. การไมย อมรบั การทุจริต

สจุ ริต คดิ ฐานสอง 49

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รว มกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั
และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ ดาํ เนินงานการพฒั นา โรงเรยี นสจุ ริต “ระบบคดิ ฐานสอง”
โดยกําหนดแนวทางแบบบูรณาการสําหรับทุกสวน ไดแก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผูปกครอง และชุมชน โดยใหทุกสวนพัฒนา
ตามแนวทางทง้ั รูปแบบและวธิ ีการตามความเหมาะสม ตามกรอบการพัฒนาดงั น้ี

การกําหนดนโยบาย
การสรา งความเขา ใจ

คิดได คดิ ดี คดิ เปน

การพัฒนาบุคลากร

ปราบ ปอ ง ปลูก

การติดตาม
การประเมิน
การแลกเปลยี่ นเรยี นรู
สรุปรายงานผล
แนวทางการพฒั นา

50 สจุ ริต คิดฐานสอง

การกําหนดนโยบาย
เพื่อใหการดําเนินงานบรรลเุ ปาหมาย สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

และสาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ จงึ ดาํ เนนิ กรอบแนวทาง
โดยการกําหนดใหมีการกําหนดนโยบายในทุกระดับและทุกภาคสวน เพ่ือเปนทิศทางหรือ
เปา หมายในการดาํ เนนิ การและใหถ อื วา เปน “หลกั และวธิ ปี ฏบิ ตั ซิ ง่ึ จะถอื เปน แนวดาํ เนนิ การ”
ตามขน้ั ตอน ดังนี้

1 การสํารวจขอมลู ขององคก รดา นการพฒั นาโรงเรียนสจุ รติ “ระบบคิดฐานสอง”

2 การกาํ หนดนโยบายขององคก รดา นการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง”

3 การกําหนดนโยบายดานการพัฒนาโรงเรียนสุจริต “ระบบคิดฐานสอง”
ใหสอดคลอ งกับความเปนจรงิ ขององคกรและสังคม

4 นโยบายดา นการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” ทกี่ าํ หนดขน้ึ ตอ งปฏบิ ตั ิ
ไดจ รงิ

สุจรติ คดิ ฐานสอง 51

การสรางความเขาใจ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดําเนินการสรางความเขาใจโดย

ระบบการคดิ ฐานสอง ไดแ ก “คิดได คดิ ดี คดิ เปน ” ดังแผนภาพ

คิดแบบไหน ?.....ไมทจุ รติ

คดิ ได คิดดี คิดเปน

- คิดกอนทํา (กอนกระทาํ การ - คิดตามคุณธรรม กฎระเบยี บ - คดิ แยกเรื่องประโยชนสวนบุคคล
ทุจรติ ) - คดิ ไมเ บยี ดเบียนตนเอง ไม และประโยชนสว นรวมออกจาก
กันอยางชัดเจน
- คดิ ถึงผูไดร ับบทลงโทษจากการ เบยี ดเบยี นผอู นื่ และไมเ บยี ดเบยี น
กระทาํ การทจุ ริต (เอามาเปน บท ประเทศชาติ - คดิ แยกเรื่องตําแหนงหนา ทก่ี บั
เรียน) - คิดแบบพอเพยี ง เร่อื งสวนตัวออกจากกัน
- คดิ อยา งรบั ผิดชอบตามบทบาท
- คดิ ถงึ ผลเสยี ผลกระทบทจี่ ะเกดิ หนา ท่ี - คดิ ทจี่ ะไมน าํ ประโยชนส ว นบคุ คล
ขนึ้ กบั ตนเอง (จะตอ งอยกู บั ความ - คิดวา “ทาํ ดีไดดี ทําช่วั ไดช ว่ั ” กบั ประโยชนส ว นรวมมาปะปน
เสีย่ งทจ่ี ะถูกรอ งเรียนถกู ลงโทษ กนั มากา วกายกนั
ไลออกและตดิ คกุ )
- คดิ ท่จี ะไมเอาประโยชนสว นรวม
- คิดถึงคนรอบขาง (เสื่อมเสยี ตอ มาเปนประโยชนส ว นบุคคล
ครอบครวั และวงศต ระกลู )
- คิดท่จี ะไมเอาผลประโยชนส วน
- คิดถึงผลเสียผลกระทบตอ รวมมาตอบแทนบญุ คณุ สว น
ประเทศชาติ (ความเสยี หายทเี่ กดิ บุคคล
ขนึ้ กบั ประเทศในทุกๆ ดา น)
- คดิ เห็นแกประโยชนสว นรวม
- คดิ อยางมีสตสิ ัมปชญั ญะ มากกวา ประโยชนสว นบคุ คล
เครือญาติ และพวกพอง

- คดิ ฐานสอง และท้งิ ฐานสิบ

52 สจุ รติ คิดฐานสอง

การพฒั นาบคุ ลากร

การพัฒนาบุคลากร สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีแนวทางการ
พัฒนาบุคลากร เพอ่ื สรางจติ สํานึกและแกไขปญหาการทุจรติ โดยหลัก 3 ป. (ปราบ ปอ ง และ
ปลูก)

ปราบ

เมอื่ เกดิ เหตขุ ึน้ แลว

การพัฒนา
บคุ ลากร

ปลกู ฝง ปองกัน

ระบบคดิ ฐานสอง ไมใหเ กดิ ลด ขจัด

“ปราบ” คอื การปราบปรามการทุจรติ เปนกรณีทม่ี ีเหตเุ กดิ ขึ้นแลว เปนการดาํ เนิน
คดีอาญากับเจาหนาที่ของรัฐท่ีกระทําความผิดฐานทุจริตตอหนาที่ ซ่ึงประเทศไทย
มกี ฎหมายท่ีกาํ หนดลกั ษณะการกระทําความผดิ ฐานทจุ รติ ตอ หนา ท่ี

“ป้อง” คอื การปอ งกนั การทจุ รติ เปน มาตรการทใ่ี ชเพอื่ ลดโอกาสในการกระทาํ การ
ทจุ ริตใหยากข้นึ หรอื ไมใ หเ กิดขึ้น

“ปลูก” คือ การปลูกฐานความคิดใหคนในสังคมไทยในทุกภาคสวน โดยเฉพาะ
อยา งยง่ิ ในกลมุ เจา หนา ทขี่ องรฐั มี “ระบบคดิ ฐานสอง” สามารถแยกไดว า เรอ่ื งใดเปน ประโยชน
สว นบุคคลเรอ่ื งใดเปน ประโยชนส วนรวม แยกเรือ่ งตําแหนง หนาทีก่ ับเร่อื งสวนบคุ คลออกจาก
กนั ได ไมน าํ ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั ไมน าํ มากา วกา ยกนั ไมน าํ
ประโยชนส ว นรวมไปตอบแทนบญุ คณุ สว นบคุ คล ไมเ อาประโยชนส ว นรวมมาเปน ประโยชนส ว น
บุคคล เห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล เครือญาติและพวกพอง

สจุ ริต คิดฐานสอง 53

การตดิ ตาม

การตดิ ตาม (Track Status) เปน เคร่ืองมือสาํ คญั ของผดู าํ เนนิ งานที่จะสรา งความ
ม่ันใจไดวาการปฏิบัติงานขององคกรเปนไปในทิศทางท่ีถูกตอง และสามารถสรางผลงาน
ท่ีสอดคลองตามเปาประสงคหรือจุดมุงหมายที่วางเอาไว การติดตามผลการดําเนินงาน
จะชวยใหผูติดตามทราบขอมูลท่ีเปนตัวบงช้ีปญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น ซ่ึงจะเปนขอมูลแก
ผูติดตามในการปรับเปล่ียนการทํางานใหสอดรับกับสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงไป
การติดตามผลการดําเนินงานน้ีหมายความรวมถึงการรวบรวมผลการดําเนินงานในแตละชวง
เวลาของกิจกรรม งานโครงการตางๆ สอดคลองตามตัวช้ีวัด ผลสําเร็จของการดําเนินงาน
ในระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษาและโรงเรียน ดังน้ี

การตดิ ตามระดบั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา

การพฒั นาระดับเขต ติดตามระหวา งดําเนินงาน รายงานผลการติดตาม

การติดตามในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ใหเขตพ้ืนท่ีดําเนินการตามรูปแบบ คือหลัง
จากการสรางความเขา ใจในดานการคิดสุจริตโดยระบบการคิด ไดแ ก “คดิ ได คดิ ดี คิดเปน”
และพัฒนาบุคลากรตามแนวทางการพัฒนาบคุ ลากรเพื่อสรา งสาํ นกึ และแกไ ขปญหาการทจุ ริต
โดยหลกั 3 ป. (ปราบ, ปอ ง และปลกู ) แลว ระหวา งการดาํ เนนิ งานใหเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาทาํ การ
สรา งเครือ่ งมอื เพอ่ื ตดิ ตามตามแนวทางท่ีกลาวมาและรายงานผล

การตดิ ตามระดับโรงเรียน

การพฒั นาระดับโรงเรยี น ติดตามระหวา งดําเนินงาน รายงานผลการติดตาม

การตดิ ตามในระดบั โรงเรยี น ใหเ ขตพนื้ ทด่ี าํ เนนิ การตามรปู แบบ คอื หลงั จากการสรา ง
ความเขาใจในดานการคิดสุจริตโดยระบบการคิด ไดแก “คิดได คิดดี คิดเปน” และพัฒนา
บคุ ลากรตามแนวทางการพฒั นาบคุ ลากรเพ่อื สรางสาํ นึกและแกไขปญหา การทุจริต โดยหลัก
3 ป. (ปราบ ปอง และปลูก) แลว ระหวา งการดําเนินงาน ใหเขตพ้ืนที่การศึกษาทําการสราง
เครื่องมือเพือ่ ติดตามตามแนวทางท่กี ลา วมาและรายงานผล

54 สุจรติ คิดฐานสอง

การประเมนิ
การประเมินผลการปฏิบัติงานเปนกระบวนการประเมินคาของการปฏิบัติงาน
ในดานตางๆ ทั้งผลงานและคุณลักษณะอ่ืนๆ ท่ีมีคุณคาตอการปฏิบัติงานภายในระยะเวลา
ที่กําหนดไวอยางแนนอน ภายใตการสังเกต จดบันทึกการกระทําหรือเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง
โดยอยูบนพื้นฐานของความเปนระบบและมีมาตรฐานแบบเดียวกัน มีเกณฑการประเมินที่มี
ประสิทธิภาพในทางปฏิบัติใหความเปนธรรมโดยทั่วกัน โดยสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพน้ื ฐานกาํ หนดรปู แบบในการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านไว ดงั น้ี

ระดบั ปฐมวัย

การประเมิน ระดบั ประถมศึกษา (ป.1 – 3)
ระดับประถมศึกษา (ป.4 – 6)

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน (ม.1 – 3)

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4 – 6)
1. การประเมนิ ระดบั ปฐมวยั ใชแ บบสงั เกตพฤตกิ รรมเบอ้ื งตน เกยี่ วกบั ระบบความคดิ
ของเดก็ ปฐมวัย โดยครเู ปน ผสู งั เกตและบนั ทกึ พฤติกรรมการพฒั นาในแบบสังเกตทก่ี าํ หนด
2. การประเมนิ ระดับประถมศึกษา (ชั้น ป.1 – 3) ใชแบบทดสอบเบอ้ื งตน เก่ยี วกับ
ระดบั ความคดิ ของนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 1 – 3
3. การประเมนิ ระดับประถมศกึ ษา (ชั้น ป.4 – 6) ใชแ บบทดสอบเบ้ืองตนเก่ยี วกบั
ระดบั ความคดิ ของนกั เรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 4 – 6
4. การประเมินระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ชั้น ม.1 – 3) ใชแบบทดสอบเบื้องตน
เกี่ยวกบั ระดบั ความคดิ ของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 – 3
5. การประเมนิ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ช้นั ม.4 – 6) ใชแบบทดสอบเบอ้ื งตน
เก่ียวกบั ระดบั ความคดิ ของนกั เรยี น ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 – 6

สจุ รติ คิดฐานสอง 55

การแลกเปล่ียนเรยี นรู
การแลกเปลีย่ นเรียนรู (Knowledge Sharing) คอื การที่กลมุ คนท่มี คี วามสนใจใน

เร่ืองใดเรื่องหนึ่งรวมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู ดวยความสมัครใจเพื่อรวมสราง
ความเขาใจหรือพัฒนาแนวปฏบิ ตั ิในเร่ืองนน้ั ๆ

องคป ระกอบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู
1. คน (People) ถือวาเปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีสุด เพราะเปนแหลงศูนยรวม

ของความรทู สี่ มควรนาํ ออกมาแบง ปน เปน อยา งยง่ิ โดยกค็ วรจะเปน คนทมี่ คี วามรจู ากการปฏบิ ตั ิ
จริง และอยากจะมาแบง ปนและแลกเปลยี่ นความรนู น้ั ดว ยความเตม็ ใจ

2. สถานที่และบรรยากาศ (Place) เปนองคป ระกอบที่สําคญั อกี ประการหนง่ึ ทจี่ ะ
ทําใหการแลกเปลยี่ นเรียนรมู ีชวี ติ ชีวาและนา สนใจ เพราะสถานที่และบรรยากาศทด่ี ี (สบายๆ
ผอนคลาย) มีความเหมาะสมกับแตละกลุมคน จะทําใหคนเหลาน้ันมาเจอกันพูดคุย ปรึกษา
วเิ คราะหป ญหา แบง ปน และแลกเปล่ยี นเรียนรูซึ่งกันและกันอยางสบายใจ

3. สิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ (Infrastructure) เปนองคประกอบท่ีสําคัญ
ทช่ี ว ยใหก ารแบง ปน และแลกเปลย่ี นเรยี นรเู กดิ ไดง า ยและสะดวกขนึ้ เชน กระดานสาํ หรบั เขยี น
คอมพวิ เตอรส าํ หรบั การสรปุ และจดั เกบ็ ความรรู วมถงึ การแบง ปน (Share) หรอื การสง ตอ ขอ มลู

56 สุจริต คดิ ฐานสอง

แนวทางการดาํ เนนิ งานการแลกเปลยี่ นเรียนรู แกทจุ ริต “ระบบคดิ ฐานสอง”
1. หลังจากโรงเรียนสุจริตในสังกัด สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมตางๆ เชน

การพฒั นาบคุ ลากร ป.ป.ช. สพฐ.ชมุ ชน ป.ป.ช.สพฐ.นอ ย คาย “เยาวชนคนดขี องแผนดิน”
บริษทั สรา งการดี ฯลฯ และเสนอตอ สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา

2. สาํ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาแจง ผบู รหิ ารโรงเรยี นสจุ รติ ตน แบบ โรงเรยี นเครอื ขา ย
สจุ ริต ประชุมวางแผนการจดั กจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรรู ะดับสาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา

3. สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ดาํ เนินการจัดกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรใู นรูปแบบ
ประชุมสมั มนา (workshop / symposium) การจดั นทิ รรศการ แสดงผลงานกิจกรรมตางๆ
หรอื จดั คาราวาน แสดงผลงานเคล่อื นท่ไี ปตามกลมุ โรงเรียน สหวทิ ยาเขต หรืออาํ เภอ

4. เผยแพรผลงาน มอบเกียรติบตั รใหโรงเรยี นสจุ ริตตน แบบ เครอื ขายโรงเรียนสจุ รติ
ทรี่ วมกิจกรรม แกทจุ รติ “ระบบคิดฐานสอง”

การรายงานผลการพฒั นา
เม่ือดําเนินการพัฒนาตามแนวทางการพัฒนา โรงเรียนสุจริต “ระบบคิดฐานสอง”

เสร็จเรียบรอยแลว สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหมีการแสดง
ผลการดําเนินงานการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวม ท้ังระบบ
ในองคกรของหนวยงาน โดยการรายงานผลเพื่อแสดงการปฏิบัติตนจากระบบ Analog
(ระบบคดิ ฐาน 10) สู Digital (ระบบคดิ ฐาน 2) โดยการรายงานผลใหดําเนนิ การ ดังน้ี

1. ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใหรายงานผลการดําเนินงานตามแนวทางการพัฒนา
ระดับเขตพ้ืนท่ีไปยังสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเม่ือเสร็จสิ้นโครงการ
(ปงบประมาณ) ตามรูปแบบทีก่ าํ หนด

2. ระดบั โรงเรยี น ใหร ายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแนวทางการพฒั นาระดบั โรงเรยี น
ไปยังสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาเมื่อเสร็จส้นิ โครงการ (ปง บประมาณ) ตามรูปแบบทก่ี ําหนด

สจุ รติ คดิ ฐานสอง 57

ตัวอยา งผลการพฒั นาโรงเรียนสุจรติ “ระบบคดิ ฐานสอง”
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา

การขัดกันระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

1. การรับผล 1. เจา หนา ทส่ี าํ นกั งานหรอื 1. เจา หนาที่สํานกั งานหรอื
ประโยชนต างๆ ผมู สี ว นเกี่ยวของรับสนิ บนคา ผูม ีสวนเกยี่ วขอ งไมร ับสินบน
Accepting แปะเจ๊ยี ะในการแตงตง้ั หรือ คา แปะ เจย๊ี ะ ในการแตง ต้งั หรอื
โยกยายบคุ ลากร โยกยายบคุ ลากร
Benets 2. รบั เงินสินบนในการสอบเขารบั 2. ไมร ับเงินสินบนในการสอบเขา

ราชการ/อตั ราจาง/พนักงาน รบั ราชการ/อัตราจาง/พนกั งาน
ราชการ ราชการ
3. การรับเงินหรอื บริการตางๆ 3. ไมรับเงนิ หรือบรกิ ารตา งๆ
จากบริษัท/หางรานเอกชนท่ี จากบรษิ ทั /หางรานเอกชน
จดั ซื้อ จดั จาง และเขารว ม ท่ีจัดซือ้ จัดจาง และเขารวม
ประมลู งานจากสาํ นกั งานเขต ประมูลงานจากสํานักงานเขต
พืน้ ท่ีการศึกษา พื้นทีก่ ารศกึ ษา
4. การรับของขวญั จากผูป ระกอบ 4. ไมรบั ของขวญั จากผปู ระกอบ
ธรุ กิจที่เปน ลกู คา ของสํานกั งาน ธุรกิจที่เปนลูกคา ของสาํ นกั งาน
เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
5. ใชเ ครือขายโรงเรยี นเปน 5. ไมใชเ ครอื ขายโรงเรยี นเปน
ตัวกลางในการเรยี กรบั ผล ตัวกลางในการเรียกรบั ผล
ประโยชน จากบรษิ ัท/หางรา น ประโยชน จากบรษิ ทั /หางราน

58 สุจริต คดิ ฐานสอง

การขัดกนั ระหวา่ ง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์ส่วนรวม

1. การรับผล 6. ซ้ือของทมี่ ีคุณภาพตาํ่ หรอื 6. ไมซ้อื ของทมี่ ีคุณภาพตาํ่ หรือ
ประโยชนตางๆ ปรมิ าณต่าํ ในราคาสูง ปรมิ าณตํา่ ในราคาสงู
Accepting 7. ซ้อื ของในราคาแพงกวา ปกติ 7. ไมซอ้ื ของในราคาแพงกวา
หรือแพงกวา ทอ งตลาด ปกตหิ รอื แพงกวาทองตลาด
Benets 8. รับของรางวลั จากเจาหนาท่ี 8. ไมรบั ของรางวัลจากเจา หนา ที่

ของรัฐหนวยงานอนื่ ทีม่ าตดิ ตอ ของรฐั หนว ยงานอ่ืนท่มี าติดตอ
งานซึ่งตนเองไดท าํ ไปโดยหนาที่ งานซึง่ ตนเองไดทําไปโดยหนาที่
9. กระทาํ โดยการจงใจหรอื ตั้งใจ 9. ไมกระทาํ โดยการจงใจหรือ
ในการแกไ ขหรือกรอกขอความ ตัง้ ใจในการแกไขหรอื กรอก
ทําใหเกิดความผดิ พลาดของ ขอ ความทําใหเ กดิ ความผิดพลาด
ขอความในเอกสารการทํางาน ของขอความในเอกสารการ
10. รับเชิญงานเล้ียง หรอื รบั ทํางาน
เชญิ ไปรับประทานอาหารจากผู 10. ไมร ับเชิญงานเลี้ยง หรอื รบั
ทม่ี าติดตอ งานดว ย เชญิ ไปรับประทานอาหารจากผู
11. รบั ของขวัญจากผทู มี่ าตดิ ตอ ท่ีมาติดตองานดวย
งานดวย ไมวา ดวยเหตุผลใดหรอื 11. ไมร ับของขวัญจากผูทม่ี า
งานเลย้ี งสังสรรค ตามเทศกาล ติดตองานดวย ไมวา ดว ยเหตุผล
ใดกต็ าม ใดหรืองานเลย้ี งสังสรรค ตาม
12. รบั จางหรอื รบั คาตอบแทน เทศกาลใดก็ตาม
การจางงานเปน คา ลว งเวลา 12. ไมรบั จา งหรอื รับคาตอบแทน
โดยไมไ ดร บั ความเห็นชอบจาก การจางงานเปน คา ลวงเวลา
ผมู อี ํานาจ โดยไมไ ดรบั ความเห็นชอบจาก
ผมู อี ํานาจ

สุจรติ คดิ ฐานสอง 59

การขัดกันระหวา่ ง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

1. การรบั ผล 13. รบั คาธรรมเนียม คาบรกิ าร 13. ไมรับคา ธรรมเนียม
ประโยชนตา งๆ จากผใู ด จากการใหบริการ คา บรกิ ารจากผูใด จากการให
Accepting ตามหนาทขี่ องตนเอง บริการตามหนา ท่ีของตนเอง
14. รบั เงนิ คาตอบแทน หรอื 14. ไมรับเงินคาตอบแทน หรือ
Benets คาชดเชยใดๆ จากผูร ับสญั ญา คาชดเชยใดๆ จากผรู บั สัญญา

ทเี่ ขา มารับโครงการในหนวยงาน ที่เขา มารับโครงการในหนว ยงาน
15. รับคา ตอบแทน 15. ไมรบั คา ตอบแทน
(commission) หรือเงนิ สว น (commission) หรือเงนิ สวน
แบงโดยทุจรติ (kickback) อ่นื ๆ แบง โดยทุจรติ (kickback) อืน่ ๆ
จากผูรับสัญญาที่เกิดจากการให จากผูรับสัญญาทเี่ กิดจากการให
บรกิ าร หรอื สง่ิ ของใดๆ บริการ หรอื สง่ิ ของใดๆ
16. รับขอ เสนอหรือรับบริการ 16. ไมร ับขอ เสนอหรือรับบริการ
โดยไมคิดเงนิ เชน คาใชจา ย โดยไมคิดเงิน เชน คา ใชจา ย
ในการเดินทาง คา บริการในการ ในการเดนิ ทาง คาบริการในการ
ตกแตง สถานที่จากผูใดที่ติดตอ ตกแตงสถานท่ีจากผูใดท่ตี ดิ ตอ
งานอยดู ว ย งานอยูดวย

60 สจุ รติ คิดฐานสอง

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

2. การทําธรุ กิจ 1. ผบู ริหาร/เจา หนาที่ผรู ับผิด 1. ผูบริหาร/เจา หนา ท่ผี ูร ับผิด
กบั ตัวเอง ชอบงาน ทําสญั ญาจางบรษิ ทั ชอบงาน ไมทาํ สัญญาจางบริษทั
(Self – Dealing) ที่บดิ า - มารดา ภรรยา หรือ ที่บิดา - มารดา ภรรยา หรือบตุ ร
หรือ เปนคูส ัญญา บตุ รของตนเองเปนเจา ของ ของตนเองเปน เจา ของ
(Contracts) 2. ผบู ริหาร/เจาหนาท่ี 2. ผูบ ริหาร/เจาหนาที่
ผูรับผิดชอบ จางบดิ า มารดา ผรู ับผิดชอบ ไมจ า งบิดา มารดา
ภรรยา หรือบุตรของตนเองมา ภรรยา หรอื บุตรของตนเองมา
เปน ที่ปรึกษาของหนว ยงาน เปนท่ปี รึกษาของหนวยงาน
3. เจา หนา ทพ่ี สั ดุของสํานกั งาน 3. เจาหนา ท่พี สั ดุของสํานักงาน
เขตพ้นื ที่การศกึ ษาเปดรา นขาย เขตพืน้ ที่การศึกษาไมเปดรา น
วัสดุสาํ นกั งาน ขายวัสดุสํานกั งาน
4. เจาหนา ทพี่ ัสดุของสํานกั งาน 4. เจาหนาที่พสั ดขุ องสํานกั งาน
เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามคี วาม เขตพืน้ ท่ีการศึกษาไมมีความ
สมั พนั ธเ กีย่ วกับผสู ญั ญาจา ง/ สมั พันธเ กี่ยวกับผสู ัญญาจาง/จดั
จัดจา งกับสาํ นกั งาน จางกับสํานักงาน
5. ผูบริหาร/เจา หนา ท่ีผูร บั ผดิ 5. ผบู รหิ าร/เจาหนาทผี่ รู บั ผดิ
ชอบ ทําสญั ญาจัดซื้อรถตูจาก ชอบ ไมทําสญั ญาจัดซอ้ื รถตจู าก
บริษัททตี่ นเองมหี นุ สวนอยู บริษทั ที่ตนเองมีหนุ สว นอยู
6. ทําสญั ญาใหหนวยงาน 6. ไมท าํ สัญญาใหห นวยงาน
จดั ซือ้ ทด่ี นิ ของตนเองในการ จัดซอื้ ท่ีดินของตนเองในการสราง
สรา งสํานกั งานอาคารสถานท่ี สาํ นกั งานอาคารสถานท่แี หงใหม
แหงใหม

สุจริต คดิ ฐานสอง 61

การขัดกนั ระหวา่ ง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์สว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

2. การทาํ ธุรกจิ 7. ใชเ วลาราชการไปดูแลธรุ กิจ 7. ไมใชเ วลาราชการไปดูแลธรุ กจิ
กับตัวเอง สว นตวั สวนบุคคล
(Self – Dealing) 8. ใชเ วลาราชการ ใชเครอ่ื ง 8. ไมใ ชเ วลาราชการ ใชเครอ่ื ง
หรอื เปนคสู ญั ญา คอมพิวเตอร และระบบ คอมพิวเตอร และระบบ
(Contracts) อินเตอรเ นต็ ของหนว ยงาน อินเตอรเ น็ตของหนว ยงาน
แสวงหาประโยชนสวนบุคคล แสวงหาประโยชนสว นบุคคล
ดว ยการติดตอ ซ้ือ/ขายสนิ คา ดว ยการติดตอซื้อ/ขายสนิ คา
9. เขา เปนคูสญั ญากับหนว ยงาน 9. ไมเขา เปน คสู ญั ญากับหนวย
ไมวาทางตรงหรอื ทางออ ม งานไมว า ทางตรงหรอื ทางออม
10. รับคา ต๋ัวชมฟุตบอล 10. ไมรบั คาต๋ัวชมฟุตบอล
ภาพยนตร หรอื อนื่ ๆ จากผรู ับ ภาพยนตร หรืออื่นๆ จากผูร ับ
สัญญาของหนวยงาน สัญญาของหนว ยงาน
11. จดั ประชุมอยา งเปน ทางการ 11. ไมจดั ประชมุ อยางเปน
หรือเพ่ือจัดการตอ รองกบั ผรู บั ทางการหรือเพือ่ จดั การตอ รอง
สัญญาในสถานที่ของหนว ยงาน กับผูร ับสัญญาในสถานท่ขี อง
หรอื ใชส ถานท่ที าํ งานของผรู บั หนว ยงาน หรอื ใชส ถานทท่ี ํางาน
สญั ญา ของผูรับสญั ญา

62 สจุ รติ คิดฐานสอง

การขดั กนั ระหวา่ ง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

3. การทํางานหลงั 1. รับจา งทําผลงานทางวชิ าการ 1. ไมร ับจา งทาํ ผลงานทาง
จากออกจาก 2. ใชอ ทิ ธพิ ลหรอื ความสัมพนั ธ วชิ าการ
ตําแหนง สาธารณะ จากท่เี คยดาํ รงตําแหนงในหนวย 2. ไมใชอทิ ธิพลหรอื ความสมั พันธ
หรอื หลังเกษยี ณ งานน้นั หาประโยชนจาก จากทเ่ี คยดํารงตําแหนงในหนวย
Post หนว ยงาน งานนัน้ หาประโยชนจ าก
Employment 3. ไปดาํ รงตําแหนงในบริษัททีม่ ี หนวยงาน
ความเกีย่ วของกับการเสนองาน 3. ไมไ ปดํารงตําแหนงในบรษิ ทั ที่
ในหนว ยงานเดิม มคี วามเกีย่ วของกับการเสนองาน
ในหนวยงานเดิม

4. การทํางานพิเศษ 1. ใชตาํ แหนง หนา ทขี่ ายของ/ 1. ไมใ ชตําแหนงหนาท่ีขายของ/
Outside ประกันชีวติ ใหกับครู/ผูบรหิ าร ประกันชวี ติ ใหก ับคร/ู ผบู รหิ าร
Employment 2. ใชต าํ แหนง หนาทรี่ าชการ 2. ไมใ ชต ําแหนง หนา ทร่ี าชการ
or Moonlighting สรา งความนา เช่ือถือใหผมู า สรา งความนาเช่ือถือใหผูมาตดิ ตอ
ติดตอเสนองาน เสนองาน
3. รับเปน เจา หนาที่ มหี นาที่ 3. ไมร บั เปนเจา หนา ท่ี มีหนาที่
ตรวจสอบการเงิน บัญชแี ละ ตรวจสอบการเงนิ บญั ชแี ละพสั ดุ
พสั ดุ รับงานเปน ที่ปรกึ ษาใหก ับ รับงานเปน ที่ปรึกษาใหก บั ผูเสนอ
ผเู สนองานกับหนวยงาน งานกับหนวยงาน
4. รบั เปน ผทู าํ บัญชีใหกับบริษัท 4. ไมรบั เปน ผูทําบัญชใี หกับ
ทีต่ องถูกตรวจสอบบญั ชีและ บรษิ ทั ทตี่ องถกู ตรวจสอบบญั ชี
ผเู สนองาน และผเู สนองาน

สุจรติ คดิ ฐานสอง 63

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ่วนบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

5. การรูขอ มูล 1. บอกขอ มลู ในการจดั ทํา 1. ไมบอกขอมลู ในการจัดทาํ
ภายใน โครงการตางๆ ตอเครือญาตเิ พอ่ื โครงการตางๆ ตอเครือญาตเิ พือ่
Inside ใหมารับการจัดซอ้ื - จัดจา ง ให มารบั การจัดซือ้ - จัดจา ง
โครงการตา งๆ โครงการตา งๆ
Information 2. เจาหนา ท่ีพสั ดุของหนวยงาน 2. เจา หนาทีพ่ สั ดขุ องหนว ยงาน

เปด เผยหรอื ขายขอมลู ที่สําคญั ไมเปด เผยหรอื ขายขอ มูลทีส่ ําคัญ
ของฝา ยทม่ี าย่ืนประมลู ไวก อ น ของฝา ยที่มายื่นประมลู ไวกอน
หนา ใหแ กผ ปู ระมูลรายอ่นื ทใี่ ห หนา ใหแกผ ปู ระมูลรายอน่ื ท่ใี หผ ล
ผลประโยชน ทําใหฝา ยท่ีมาย่ืน ประโยชน ทาํ ใหฝ ายท่ีมายืน่
ประมลู ไวก อ นหนาเสียเปรยี บ ประมูลไวก อนหนา เสยี เปรียบ
3. นาํ ขอ มูลใหเ ครอื ญาติไป 3. ไมนาํ ขอมลู ใหเ ครือญาตไิ ป
ดําเนนิ การ ตามแผนงาน/ ดําเนนิ การ ตามแผนงาน/
โครงการ ไวลวงหนา เพ่อื มา โครงการ ไวล วงหนา เพื่อมาเสนอ
เสนองานใหก ับหนว ยงาน งานใหกบั หนว ยงาน
4. นําขอ มลู ทเี่ ปน ความลับของ 4. ไมนําขอ มูลท่เี ปนความลบั ของ
หนว ยงานไปเปด เผย เพื่อรับ หนว ยงานไปเปด เผย เพือ่ รับ
ส่ิงตอบแทนทีเ่ ปนประโยชนใน สิ่งตอบแทนทเี่ ปนประโยชนใ นรปู
รปู ของเงินหรือประโยชนอ ื่นใด ของเงนิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดหรือ
หรอื นาํ ขอมูลไปเปดเผยแกญาติ นาํ ขอมูลไปเปดเผยแกญาตหิ รอื
หรือพวกพองและแสวงหา พวกพองและแสวงหาประโยชน
ประโยชนจ ากขอ มูลเหลาน้นั จากขอมูลเหลานัน้ เชน ขอมลู
เชน ขอมลู การสอบบรรจบุ ุคคล การสอบบรรจบุ คุ คลเขารับ
เขา รบั ราชการในตําแหนง ตางๆ ราชการในตําแหนง ตางๆ ขอ มูล
ขอ มูลการจดั ซื้อจัดจาง การจดั ซอื้ จดั จาง

64 สจุ ริต คิดฐานสอง

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ่วนบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชน์ส่วนรวม

5. การรขู อ มลู 5. ทาํ ลายหรือสรา งความเสอ่ื ม 5. ไมทําลายหรอื สรา งความเสอื่ ม
ภายใน เสยี แกห นว ยงาน เชน ใหค าํ เสียแกหนว ยงานเชน ใหคาํ ช้แี นะ
Inside ชีแ้ นะ แกผูรบั สัญญาในทางที่ แกผูรบั สญั ญาในทางทตี่ กั ตวง
ตักตวงประโยชน หรอื ชแี้ นะชอง ประโยชน หรอื ชแ้ี นะชองโหวใน
Information โหวใ นสัญญาใหผรู ับสญั ญา ทงั้ นี้ สัญญาใหผูรบั สัญญา ท้ังน้ี ไมว า
ไมว า จะไดร บั รางวัลตอบแทน จะไดรบั รางวลั ตอบแทนหรอื ไม
หรอื ไมไดร างวัลตอบแทนกต็ าม ไดรางวัลตอบแทนกต็ าม

6. การใชบุคลากร 1. ใชนาํ้ ประปาหลวงลา งรถ 1. ไมใ ชน้ําประปาหลวงลา งรถ
หรือทรพั ยสนิ ของ สว นบคุ คล 2. ไมน าํ รถยนตห ลวงมาใชธุระ
หนวยงานเพอื่ 2. นํารถยนตห ลวงมาใชธ ุระ สวนบคุ คล
ประโยชนส วน สว นบคุ คล 3. ไมนําอปุ กรณไ ฟฟาสวนบคุ คล
บคุ คล 3. นาํ อปุ กรณไ ฟฟา สว นบคุ คล มาชารต ท่ีทาํ งาน
Using Employer, มาชารต ทีท่ ํางาน 4. ไมนําวสั ดุ ครุภัณฑหลวงไปใช
Property for 4. นําวสั ดุ ครุภัณฑห ลวงไปใช สว นบุคคล
Private สวนบคุ คล 5. ไมใชโ ทรศัพทหลวงไปใชสว น
advantage 5. ใชโทรศัพทหลวงไปใช บคุ คล
สว นบคุ คล 6. ไมนาํ วสั ดคุ รภุ ณั ฑข องหนวย
6. การนําวสั ดคุ รภุ ณั ฑข อง งานไปใชท บี่ า น
หนวยงานไปใชที่บาน 7. ไมใ ชโ ทรศพั ทของหนวยงาน
7. ใชโทรศัพทข องหนวยงาน ตดิ ตอธุระสวนบคุ คล
ติดตอ ธุระสว นบุคคล 8. ไมแสดงความเปนเจาของที่
8. แสดงความเปน เจา ของที่จอด จอดรถในสถานทรี่ าชการ
รถในสถานท่รี าชการ

สจุ รติ คดิ ฐานสอง 65

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

6. การใชบ คุ ลากร 9. นํานาํ้ มันของราชการมาเตมิ 9. ไมน าํ นํา้ มนั ของราชการมาเตมิ
หรอื ทรัพยสินของ รถยนตสว นบคุ คล รถยนตสว นบคุ คล
หนวยงานเพอื่ 10. ใชความสัมพันธเอาอก 10. ไมใ ชค วามสมั พันธเอาอก
ประโยชนส ว น เอาใจแกผ ทู ม่ี าตดิ ตอ งานดว ยจน เอาใจแกผทู ี่มาติดตอ งานดว ยจน
บคุ คล Using เกนิ เหตุอนั ควร ดวยการปฏิบตั ิ เกินเหตุอนั ควร ดวยการปฏบิ ัตใิ น
Employer, ในเชิงใหอภสิ ทิ ธิ์ หรอื ชอบพอ เชิงใหอภิสทิ ธิ์ หรือชอบพอ
Property for เปน พเิ ศษ เปนพิเศษ
Private 11. เดินทางไปหา เย่ียมเยียน 11. ไมเ ดินทางไปหา เยยี่ มเยยี น
advantage สถานท่ที ํางานหรอื บา นของผูรบั สถานท่ีทาํ งานหรือบานของผรู ับ
สัญญาท่ีตดิ ตองานกันอยู สญั ญาทต่ี ิดตองานกันอยู

66 สจุ รติ คิดฐานสอง

การขัดกันระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์สว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

7. การนาํ โครงการ 1. ผูดํารงตําแหนงทางการเมอื ง 1. ผดู ํารงตําแหนงทางการเมือง
สาธารณะลงในเขต จัดสรรงบประมาณ เพอ่ื พัฒนา จัดสรรงบประมาณ เพ่ือพฒั นา
เลอื กตงั้ เพือ่ คณุ ภาพการศกึ ษา โดยหวงั ผล คุณภาพการศึกษา โดยไมหวงั ผล
ประโยชนท างการ ทางการเมอื ง ทางการเมอื ง
เมอื ง 2. ผูด าํ รงตาํ แหนง ทางการเมือง 2. ผดู ํารงตําแหนง ทางการเมอื ง
Pork - Barrelling จดั สรรงบประมาณพฒั นาอาคาร จัดสรรงบประมาณพฒั นาอาคาร
สถานที่โดยหวงั ผลทางการเมือง สถานท่ีโดยไมหวงั ผลทาง
3. ผดู าํ รงตาํ แหนงทางการเมอื ง การเมอื ง
อนุมัติโครงการลงในพ้นื ท่ี 3. ผูดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง
เขตเลือกต้ังหรือบา นเกิด อนมุ ัตโิ ครงการลงในพื้นที่
ของตนเอง โดยหวังผลทางการ เขตเลือกต้งั หรือบา นเกิดของ
เมือง ตนเอง โดยไมห วังผลทาง
4. การใชง บสาธารณะเพือ่ การเมอื ง
หาเสียง 4. ไมใ ชงบสาธารณะเพอ่ื หาเสยี ง
5. การใสชื่อผดู าํ รงตําแหนง 5. ไมใสช อื่ ผูดาํ รงตาํ แหนง
ทางการเมอื งแสดงความเปน ทางการเมืองแสดงความเปน
เจาของสิง่ สาธารณะ เจา ของสิง่ สาธารณะ

สุจริต คิดฐานสอง 67

ตวั อยา งผลการพฒั นาโรงเรียนสุจรติ “ระบบคิดฐานสอง”
ผูบริหารโรงเรยี น

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

1. การรับผล 1. ผูบ ริหารโรงเรียนเรียกรบั 1. ตอ งไมให ตองไมร ับสินบน
ประโยชนตางๆ สนิ บนคา แปะเจี๊ยะในการสมคั ร 2. ไมเ รยี กรับเงนิ หรอื บริการ
Accepting เขาเรียน การแตงต้ัง หรอื ตา งๆ จากบริษทั เอกชนท่ีเขา รว ม
โยกยายบคุ ลากร ประมูลงานของโรงเรียน
Benets 2. การรับเงนิ หรอื บรกิ ารตางๆ 3. ไมรับของขวัญจากผูประกอบ
จากบรษิ ัทเอกชนท่เี ขา รว ม ธุรกิจทเ่ี ปนลูกคา ของโรงเรยี น
ประมลู งานจากโรงเรยี น 4. ไมใ ชเครือขายโรงเรียนเปน
3. การรับของขวญั จาก ตัวกลางในการเรยี กรับ
ผปู ระกอบธุรกิจทีเ่ ปนลูกคา ผลประโยชน เชน สมาคม
ของโรงเรียน ผปู กครอง คณะกรรมการสถาน
4. ใชเครอื ขา ยโรงเรยี นเปน ศกึ ษา สมาคม/ชมรมศษิ ยเ กา
ตวั กลางในการเรียกรบั 5. ไมซ ือ้ ของท่คี ณุ ภาพตา่ํ หรอื
ผลประโยชน เชน สมาคม ปริมาณตํา่ ในราคาสูง
ผูปกครอง คณะกรรมการ 6. ไมซ ื้อของในราคาแพงกวาปกติ
สถานศกึ ษา สมาคม/ หรือแพงกวาทอ งตลาด
ชมรมศิษยเกา 7. ไมรบั รางวลั จากเจา หนาที่รัฐ
5. ซอื้ ของที่คณุ ภาพต่าํ หรือ อน่ื ท่มี าตดิ ตอ งานซ่ึงตนเองได
ปริมาณตาํ่ ในราคาสูง ทําไปโดยหนา ท่ี
6. ซอ้ื ของในราคาแพงกวาปกติ
หรือแพงกวาทองตลาด

68 สุจริต คดิ ฐานสอง

การขัดกนั ระหวา่ ง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

1. การรบั ผล 7. รับรางวลั จากเจาหนาทร่ี ัฐอนื่ 8. ไมร บั รางวลั จากผูใด ในการ
ประโยชนตางๆ ทีม่ าติดตอ งานซ่ึงตนเองได ละเวนการกระทําตามหนาทข่ี อง
Accepting ทําไปโดยหนา ที่ ตน ซึ่งควรตองกระทาํ ตามหนา ท่ี
8. รบั รางวลั จากผูใด ในการ 9. ไมร ับรางวัลใดๆ ที่เปน
Benets ละเวนการกระทําตามหนา ท่ี การแสดง หรือการโนม นาวให

ของตน ซ่ึงควรตองกระทาํ ตาม ละเวนการเลือกไมป ฏิบตั ติ อ
หนาท่ี บคุ คลใดท่เี กิดจากการทําหนาท่ี
9. รบั รางวัลใดๆ ทเ่ี ปน ของตนเอง
การแสดง หรือการโนม นา วให 10. ไมก ระทาํ โดยการจงใจหรอื
ละเวนการเลอื กไมปฏิบัติตอ ตั้งใจในการแกไขหรอื กรอก
บุคคลใดทเ่ี กดิ จากการทําหนา ท่ี ขอความทําใหเกดิ ความผดิ พลาด
ของตนเอง ของขอความในเอกสารการ
10. กระทําโดยการจงใจหรอื ทํางาน
ตัง้ ใจในการแกไขหรอื กรอก 11. ไมร ับเชิญงานเล้ียง หรอื
ขอความทาํ ใหเ กิดความผิด รับเชญิ ไปรับประทานอาหาร
พลาดของขอ ความในเอกสาร จากผูใดทมี่ าติดตอ งานดวย
การทํางาน เพ่อื ปอ งกันการถกู กลาวหา
11. รบั เชิญงานเลยี้ ง หรอื 12. ไมรับของขวัญจากผใู ดทม่ี า
รับเชิญไปรบั ประทานอาหาร ตดิ ตอ งานดว ย ไมว า ดว ยเหตุผล
จากผูใดทมี่ าติดตองานดวย ใดหรืองานเล้ียงสงั สรรค
12. รบั ของขวัญจากผใู ดทม่ี า ตามเทศกาลใดกต็ าม
ตดิ ตอ งานดวย ไมว าดวยเหตุผล 13. ไมเชญิ ผูใดท่มี าติดตอ งาน
ใดหรืองานเลยี้ งสังสรรค ดว ย เขามาเก่ียวของในงาน
ตามเทศกาลใดกต็ าม จดั เลีย้ งท่ตี นดําเนนิ การอยู

สุจริต คิดฐานสอง 69

การขดั กันระหวา่ ง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

1. การรับผล 13. เชิญผใู ดท่ีมาตดิ ตอ งานดวย 14. ไมร บั จางหรือรับคาตอบแทน
ประโยชนตางๆ เขา มาเกย่ี วขอ งในงานจดั เล้ียง การจางงาน เปนคา ลวงเวลา
Accepting ท่ตี นดําเนนิ การอยู เวน แตไดร บั ความเห็นชอบจาก
14. รับจางหรือรับคาตอบแทน ผมู อี าํ นาจ
Benets การจางงานเปนคา ลวงเวลา 15. ไมร ับคาธรรมเนยี ม

เวนแตไดรับความเหน็ ชอบจาก คา บริการจากผูใด จากการให
ผมู ีอาํ นาจ บริการตามหนา ท่ีของตนเอง
15. รบั คา ธรรมเนยี ม คา บรกิ าร 16. ไมรบั เงินคาตอบแทน หรอื
จากผูใ ด จากการใหบริการ คาชดเชยใดๆ จากผรู ับสัญญา
ตามหนาท่ีของตนเอง ท่เี ขามารบั โครงการในหนว ยงาน
16. รบั เงนิ คาตอบแทน หรือ 17. ไมร บั คาตอบแทน
คาชดเชยใดๆ จากผรู ับสญั ญา (commission) หรอื เงนิ สวนแบง
ที่เขา มารบั โครงการในหนว ยงาน โดยทจุ รติ (kickback) อน่ื ๆ
17. รับคา ตอบแทน จากผรู ับสญั ญาที่เกิดจากการให
(commission) หรอื เงนิ สว น บรกิ ารหรอื ส่งิ ของใดๆ
แบง โดยทุจริต (kickback) อืน่ ๆ 18. ไมรับขอเสนอหรอื รบั บรกิ าร
จากผรู บั สัญญาท่ีเกดิ จากการให โดยไมค ิดเงนิ เชน คา ใชจ า ย
บรกิ ารหรอื ส่ิงของใดๆ ในการเดินทาง คา บริการในการ
18. รบั ขอเสนอหรือรบั บริการ ตกแตง สถานท่ี จากผูใดทีต่ ิดตอ
โดยไมค ิดเงนิ เชน คาใชจาย งานอยดู วย
ในการเดนิ ทาง คาบริการในการ
ตกแตง สถานที่ จากผใู ด
ท่ีติดตอ งานอยูดวย

70 สจุ รติ คดิ ฐานสอง

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

2. การทําธุรกจิ 1. ผูบริหารโรงเรยี นทาํ สัญญา 1. ผบู รหิ ารโรงเรยี นตองไมทํา
กับตวั เอง จางบริษัททีบ่ ิดามารดา ภรรยา สัญญาจางบริษัทท่บี ดิ ามารดา
(Self – Dealing) หรือบตุ ร ของตนเองเปน เจาของ ภรรยา หรอื บตุ ร ของตนเอง
หรอื เปนคสู ัญญา 2. ผบู รหิ ารโรงเรยี นจา งบิดา เปนเจา ของ
(Contracts) มารดา ภรรยาหรอื บุตรของ 2. ไมจ า งบดิ ามารดา ภรรยา หรือ
ตนเองมาเปนทีป่ รกึ ษา บตุ ร ของตนเองมาเปน ทีป่ รึกษา
ของหนวยงาน ของหนวยงาน
3. ผูบ ริหารโรงเรียนทาํ สญั ญา 3. ไมทําสญั ญาจัดซื้อรถตูจาก
จดั ซือ้ รถตูจากบริษทั ที่ตนเอง บริษัทท่ตี นเองมหี นุ สว นอยู
มหี นุ สว นอยู 4. ไมท ําสญั ญาใหห นว ยงาน
4. ทาํ สญั ญาใหหนวยงาน จดั ซ้ือท่ดี นิ ของตนเองในการสราง
จดั ซ้อื ท่ดี นิ ของตนเองในการ สํานกั งาน อาคาร สถานที่
สรางสํานักงานอาคาร สถานที่ แหงใหม
แหง ใหม 5. ไมใ ชเ วลาราชการไปดูแลธรุ กจิ
5. ใชเวลาราชการไปดแู ลธรุ กจิ สวนบุคคล
สว นบคุ คล 6. ไมใชเ วลาราชการ
6. ใชเวลาราชการ เครอื่ ง เคร่อื งคอมพิวเตอรแ ละระบบ
คอมพิวเตอร และระบบ อนิ เตอรเน็ตของหนว ยงาน
อนิ เตอรเ นต็ ของหนว ยงาน แสวงหาประโยชนส ว นบุคคล
แสวงหาประโยชนส ว นบุคคล ดว ยการตดิ ตอ ซอ้ื /ขายสินคา
ดว ยการติดตอ ซ้ือ/ขายสนิ คา 7. ไมเขา เปน คูส ญั ญากับหนวย
7. เขาเปน คูสัญญากับหนวยงาน งาน ไมวา ทางตรงหรือทางออ ม
ไมวาทางตรงหรอื ทางออ ม

สจุ รติ คิดฐานสอง 71

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

2. การทําธรุ กจิ 8. รับคาต๋วั ชมฟุตบอล 8. ไมร ับคาตัว๋ ชมฟุตบอล
กับตัวเอง ภาพยนตร หรืออ่นื ๆจากผูรบั ภาพยนตร หรอื อ่นื ๆจากผรู ับ
สัญญา ของหนว ยงาน สญั ญาของหนว ยงาน
(Self – Dealing) 9. จดั ประชุมอยางเปน ทางการ 9. ไมจัดประชมุ อยางเปน ทางการ
หรอื เปนคูสัญญา หรือเพอื่ จัดการตอ รองกบั ผรู ับ หรือเพ่อื จัดการตอรองกบั ผรู บั
(Contracts) สญั ญาในสถานทขี่ องหนว ยงาน สัญญาในสถานท่ีของหนวยงาน
หรอื ใชสถานท่ที ํางานของผูรบั หรอื ใชสถานที่ทํางานของผรู ับ
สัญญา สัญญา เวนแตมีเหตผุ ลทีจ่ าํ เปน
ตองทาํ เชนน้ัน

3. การทาํ งานหลงั 1. ใชอ ทิ ธพิ ลหรือความสัมพนั ธ 1. ไมใ ชอิทธิพลหรอื ความสมั พันธ
จากออกจาก จากทีเ่ คยดาํ รงตําแหนง จากทเ่ี คยดํารงตาํ แหนง ในหนวย
ตําแหนง สาธารณะ ในหนว ยงานน้นั หาประโยชน งานน้นั หาประโยชน
หรอื หลงั เกษียณ จากหนว ยงาน จากหนว ยงาน
Post 2. ไปดํารงตาํ แหนงในบริษทั ทม่ี ี 2. ไมไ ปดาํ รงตาํ แหนง ในบรษิ ัทท่ี
Employment ความเก่ียวขอ งกับการเสนองาน มคี วามเกย่ี วขอ งกบั การเสนองาน
ในหนวยงานเดมิ ในหนวยงานเดิม

72 สุจริต คดิ ฐานสอง

การขัดกันระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

4. การทาํ งานพเิ ศษ 1. ใชตาํ แหนง หนา ที่ราชการ 1. ไมใชตําแหนงหนา ทรี่ าชการ
Outside สรางความนาเชอื่ ถือใหผ มู า สรา งความนาเช่ือถือใหผมู าตดิ ตอ
Employment or ตดิ ตอ เสนองาน เสนองาน
Moonlighting 2. รับเปน เจา หนา ที่ มหี นาท่ี 2. ไมรบั เปน เจา หนาท่ี มีหนา ท่ี
ตรวจสอบการเงนิ บัญชแี ละ ตรวจสอบการเงิน บัญชแี ละพสั ดุ
พัสดุ รับงานเปน ทปี่ รกึ ษาใหกบั รบั งานเปน ท่ปี รึกษาใหก ับผูเสนอ
ผูเสนองานกบั หนวยงาน งานกบั หนว ยงาน
3. รับเปนผทู ําบัญชีใหก บั บรษิ ทั 3. ไมรบั เปน ผทู าํ บัญชใี หกับ
ที่ตองถูกตรวจสอบบญั ชแี ละ บริษทั ท่ตี องถกู ตรวจสอบบญั ชี
ผูเสนองาน และ ผูเ สนองาน
4. อํานวยความสะดวก 4. อํานวยความสะดวก
เอือ้ ประโยชนใ หม จี ัดการสอน เอ้อื ประโยชนใหม ีจดั การสอน
พิเศษอื่นๆ ในโรงเรยี น พิเศษอนื่ ๆ ในโรงเรียน

5. การรูขอมลู 1. ผบู รหิ ารโรงเรียน รขู อมลู 1. ผูบรหิ ารโรงเรยี น ไมน าํ ขอ มลู
ภายใน ภายในหนวยงานแผนงาน/ ภายในหนว ยงานที่รบั รู
Inside โครงการตางๆ ไปใหผ ูม สี ว นได ตามแผนงาน/โครงการตางๆ
สวนเสยี บางกลุม ไปใหผมู ีสวนไดส ว นเสยี บางกลุม
Information 2. นําขอ มูลใหเครือญาติไป 2. ไมนําขอ มลู ใหเ ครือญาติ
ดําเนินการ ตามแผนงาน/ ไปดาํ เนินการ ตามแผนงาน/
โครงการไวลวงหนา เพื่อมา โครงการไวล ว งหนา เพ่ือมาเสนอ
เสนองานใหก ับหนวยงาน งานใหกับหนว ยงานโรงเรียน

สุจริต คิดฐานสอง 73

การขดั กันระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

5. การรขู อมูล 3. ใหเ จา หนา ทพี่ ัสดุของหนว ย 3. เจา หนา ที่พสั ดขุ องโรงเรยี น
ภายใน งานเปด เผยหรือขายขอ มลู ตอ งไมเ ปดเผยหรอื ขายขอมลู
Inside ท่ีสําคัญของฝา ยทม่ี าย่นื ประมูล ทส่ี าํ คญั ของฝายทีม่ าย่นื ประมลู ไว
ไวก อ นหนา ใหแ กผ ปู ระมูลราย กอนหนา ใหแกผ ปู ระมูลรายอนื่
Information อื่นทใี่ หผลประโยชน ทําใหฝาย ที่ใหผลประโยชน ทําใหฝา ยที่มา

ท่ีมายน่ื ประมูลไวกอ นหนา ยืน่ ประมูลไวก อ นหนาเสียเปรียบ
เสยี เปรียบ 4. ไมนําขอมลู ลบั ของหนวยงาน
4. นําใหขอ มูลลบั ของหนวยงาน ไปเปดเผย เพ่ือรบั สง่ิ ตอบแทน
ไปเปด เผย เพ่อื รบั ส่ิงตอบแทนที่ ทเี่ ปน ประโยชนในรปู ของเงินหรอื
เปนประโยชนในรปู ของเงนิ หรอื ประโยชนอน่ื ใดหรอื นําขอมลู
ประโยชนอนื่ ใดหรอื นําขอมูล ไปเปด เผยแกญ าติหรอื พวกพอ ง
ไปเปด เผยแกญ าติหรอื พวกพอง และแสวงหาประโยชนจากขอมลู
และแสวงหาประโยชน เหลา นน้ั เชน ขอมลู การสอบ
จากขอมลู เหลา น้นั เชน ขอมูล บรรจบุ ุคคลเขา รับราชการใน
การสอบบรรจุบุคคลเขารบั ตําแหนงตา งๆ ขอมูลการ
ราชการในตาํ แหนง ตางๆ จดั ซือ้ จัดจา ง
ขอ มูลการจดั ซ้ือจัดจาง 5. ไมท าํ ลายหรือสรา งความเสือ่ ม
5. ทาํ ลายหรือสรางความเสอ่ื ม เสียแกหนว ยงาน เชน ใหคาํ
เสยี แกห นวยงานเชน ใหค ํา ช้ีแนะแกผูรับสญั ญาในทาง
ชี้แนะแกผูรับสญั ญาในทางที่ ทต่ี ักตวงผลประโยชนห รอื ชแ้ี นะ
ตกั ตวงผลประโยชน หรอื ชแ้ี นะ ชอ งโหว ในสญั ญาใหผ รู บั สัญญา
ชองโหว ในสญั ญาใหผูรบั สญั ญา ทง้ั นี้ ไมว า จะไดร บั รางวัล
ทัง้ นี้ ไมว าจะไดร ับรางวัล ตอบแทนหรือไมไดร างวัล
ตอบแทนหรอื ไมไดรางวลั ตอบแทนกต็ าม
ตอบแทนกต็ าม

74 สจุ รติ คิดฐานสอง

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

6. การใชบ คุ ลากร 1. การนําวัสดคุ รุภณั ฑข อง 1. ไมนาํ วัสดคุ รุภณั ฑข องหนวย
หรอื ทรพั ยสินของ หนวยงานมาใชทบ่ี า น งานมาใชท บี่ า น
หนว ยงานเพอ่ื 2. ใชโ ทรศพั ทของหนว ยงาน 2. ไมใชโทรศัพทข องหนวยงาน
ประโยชนส ว น ติดตอธุระสวนบุคคล ติดตอ ธรุ ะสวนบุคคล
บุคคล Using 3. นํารถยนตร าชการไปใชธรุ ะ 3. ไมนาํ รถยนตร าชการไปใชธ รุ ะ
Employer, สวนบคุ คล สว นบคุ คล
Property for 4. แสดงความเปน เจา ของท่ีจอด 4. ไมแสดงความเปนเจา ของท่ี
Private รถในสถานทรี่ าชการ โดยใช จอดรถในสถานท่ีราชการ โดย
advantage ตําแหนง หนาทโ่ี ดยมิชอบ ใชต าํ แหนงหนาทีโ่ ดยมชิ อบ
5. นํานํา้ มันของราชการมาเติม 5. ไมนาํ นํ้ามนั ของราชการท่เี บิก
รถยนตส ว นบคุ คล จา ยมาเตมิ รถยนตส วนบุคคล
6. นํารถสว นบุคคลมาลาง 6. ไมนาํ รถสวนบุคคลมาลา ง
ทหี่ นวยงาน ทห่ี นวยงาน
7. ใชค วามสัมพันธเ อาอกเอาใจ 7. ไมแ สดงความสัมพนั ธเ อาอก
แกผ ใู ดทต่ี ิดตองานดว ย เอาใจแกผูใดท่ีติดตองานดวย
จนเกนิ เหตอุ นั ควร ดว ยการ จนเกินเหตอุ นั ควร ดวยการ
ปฏิบตั ใิ นเชงิ ใหอ ภสิ ทิ ธ์ิ หรอื ปฏิบัตใิ นเชงิ ใหอ ภสิ ทิ ธิห์ รอื
ชอบพอเปน พเิ ศษ ชอบพอเปน พเิ ศษ
8. เดินทางไปหา เย่ยี มเยียน 8. ไมเ ดนิ ทางไปหา เย่ยี มเยยี น
สถานท่ที ํางานหรอื บานของผรู บั สถานทีท่ าํ งาน หรือบา นของ
สัญญา ท่ีตดิ ตอ งานกันอยู ผรู ับสัญญา ทต่ี ดิ ตองานกนั อยู

สุจรติ คดิ ฐานสอง 75

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์ส่วนบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

7. การนําโครงการ 1. ผูด าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง 1. ตองไมรว มมือกับผดู าํ รง
สาธารณะ ลงใน อนุมัตโิ ครงการลงในพ้ืนท่ีเขต ตําแหนง ทางการเมือง ท่ีอนุมัติ
เขตเลือกต้ัง เลอื กตง้ั หรอื บา นเกิดของตนเอง โครงการลงในพน้ื ทเ่ี ขตเลอื กตัง้
เพื่อประโยชน 2. การใชง บสาธารณะ หรอื บา นเกดิ ของตนเอง
ทางการเมอื ง เพ่ือหาเสยี ง 2. ไมใชง บสาธารณะเพ่ือหาเสียง
Pork-Barrelling 3. การใสช่อื ผูดํารงตาํ แหนง สนับสนุนการเมอื ง ท่กี อใหเ กิด
ทางการเมืองแสดงความเปน ความไมเปนกลางทางการเมอื ง
เจา ของสงิ่ สาธารณะ 3. ตอ งไมสงเสรมิ สนบั สนุน
การใสช ่อื ผูด ํารงตาํ แหนง ทาง
การเมอื งหรือตนเอง แสดงความ
เปนเจาของสิ่งของสาธารณะ

76 สุจริต คดิ ฐานสอง

ตัวอยา งผลการพัฒนาโรงเรยี นสุจรติ “ระบบคิดฐานสอง”

ครู

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์ส่วนรวม

1. การรบั ผล 1. การรบั ของขวญั จากผู 1. ไมร บั ของขวัญจากผปู กครอง
ประโยชนตา งๆ ปกครองเพื่อผลประโยชน เพื่อผลประโยชนตอ ตัวเดก็
Accepting ตอตัวเดก็ 2. ไมใชน ํ้าประปาหลวงลางรถ
2. การใชน า้ํ ประปาหลวงลางรถ สว นบคุ คล
Benets สวนบุคคล 3. ไมนาํ อปุ กรณไ ฟฟาสวนบคุ คล

3. นําอปุ กรณไ ฟฟาสว นบคุ คล มาชารต ท่ที าํ งาน
มาชารต ที่ทํางาน 4. ไมใ ชโ ทรศพั ทของโรงเรยี น
4. การใชโ ทรศัพทของโรงเรียน ในเรื่องสวนบุคคล
ในเร่อื งสว นบคุ คล 5. ไมเ ลอื กปฏบิ ัติกับนกั เรยี นเปน
5. การเลอื กปฏิบตั ิกับนกั เรียน บางคนหรือบางกลุม
เปน บางคนหรอื บางกลมุ

2. การทําธรุ กจิ 1. ครูประกอบธรุ กิจผูกพนั 1. ไมป ระกอบธุรกิจผกู พนั
กบั ตัวเอง การจดั ซือ้ จดั จา งของโรงเรยี น การจดั ซอื้ จดั จา งของโรงเรียน
2. ไมเปน ตัวแทนขายสอ่ื การเรียน
(Self – Dealing) 2. ครเู ปน ตัวแทนขายส่อื การ กับนักเรียน
หรอื เปน คูสญั ญา เรียนกบั นกั เรียน 3. ไมน าํ ของมาขายในโรงเรียน
(Contracts) 3. ครนู ําของมาขายในโรงเรียน 4. ไมใชเวลาราชการขายของทาง
ออนไลน
4. ครใู ชเวลาราชการขายของ
ทางออนไลน

สจุ ริต คดิ ฐานสอง 77

การขัดกันระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม
1. ไมแอบอา งวาฝากเขา เรียนได
3. การทาํ งานหลงั 1. แอบอา งวา ฝากเขา เรยี นได เพราะเคยทํางานอยูโดย
จากออกจาก เพราะเคยทาํ งานอยโู ดย เรียกรับเงนิ
2. ไมแ อบอางขอใชสิทธพิ ิเศษท่ี
ตําแหนงสาธารณะ เรียกรบั เงิน เคยทํางานอยู
หรอื หลังเกษียณ 2. แอบอา งขอใชส ทิ ธิพเิ ศษท่ี

Post เคยทํางานอยู
Employment

4. การทํางานพเิ ศษ 1. การสอนพิเศษในและนอก 1. การสอนพเิ ศษในและนอก
Outside โรงเรยี นโดยเกบ็ คาสอนพิเศษ โรงเรยี นโดยไมเ ก็บคาสอนพิเศษ

Employment or 2. ใชค วามสามารถพเิ ศษของตัว 2. ไมใชค วามสามารถพเิ ศษของ
Moonlighting เองรับจา งทํางานใหโ รงเรยี น ตวั เองรับจางทาํ งานใหโรงเรียน

5. การรขู อมูล 1. นําขอ มลู ภายในไปเปด เผยตอ 1. ไมน าํ ขอมูลภายในไปเปด เผย
ภายใน ชมุ ชนทําใหเกิดผลเสียตอ บุคคล ตอชุมชนทาํ ใหเกิดผลเสยี ตอ
Inside และองคก ร บคุ คลและองคก ร
2. นาํ ขอ มูลภายในไปเปดเผย 2. ไมน ําขอมลู ภายในไปเปดเผย
Information เพื่อประโยชนต อ พวกพอ ง เพื่อประโยชนต อ พวกพอ ง

78 สุจรติ คดิ ฐานสอง

การขัดกนั ระหวา่ ง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

6. การใชบ คุ ลากร 1. นําโตะนกั เรยี นไปท่ีบา นพัก 1. ไมน าํ โตะนักเรยี นไปทบี่ านพัก
หรอื ทรัพยส ินของ เพื่อใชสวนบคุ คล เพ่ือใชสว นบคุ คล
หนวยงานเพื่อ 2. นาํ ส่อื อุปกรณข องโรงเรียน 2. ไมน ําสื่ออปุ กรณข องโรงเรียน
ประโยชน ไปใชใ นงานสว นบคุ คล ไปใชในงานสวนบุคคล
สว นบุคคล 3. ใชเ ครอ่ื งคอมพิวเตอร 3. ไมใชเครอื่ งคอมพิวเตอร
Usin Employer, ปริ้นทเ ตอร ของโรงเรียนทํางาน ปริน้ ทเตอร ของโรงเรียนทํางาน
Property for สวนบุคคล สวนบุคคล
Private
advantage

7. การนําโครงการ 1. ตัวแทนครใู หส ินบนในการ 1. ไมใหห รือรับสนิ บนในการ
สาธารณะ ลงใน เลอื กตั้งคณะกรรมการ เลอื กตั้งคณะกรรมการ

เขตเลือกตั้ง
เพอ่ื ประโยชน
ทางการเมอื ง
Pork-Barrelling

สจุ ริต คดิ ฐานสอง 79

ตัวอยางผลการพฒั นาโรงเรียนสจุ ริต “ระบบคิดฐานสอง”

นักเรยี น

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ่วนบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์ส่วนรวม

1. การรบั ผล 1. จา งใหเ พอื่ นทําเวรให 1. ไมจา งใหเ พอื่ นทําเวรให
ประโยชนต างๆ ทาํ การบา นให (จา งใหท ํา) ทําการบา นให (ไมจ างใหทาํ )
Accepting 2. บังคับเพ่ือนใหทาํ ในสิง่ ที่ 2. ไมบังคบั เพื่อนใหท ําในสิง่ ที่
ไมถูกตอง เชน ชวนเพ่อื นไป ไมถกู ตอง
Benets ทะเลาะกับคูอริจึงจะรับเขา กลมุ 3. ไมห าเสยี งเลือกตัง้ กรรมการ

3. หาเสียงเลอื กต้ังกรรมการ นกั เรยี นโดยใหสญั ญาวา จะแจก
นักเรยี นโดยใหสัญญาวาจะแจก สิ่งของ
สิง่ ของ

2. การทาํ ธุรกจิ 1. นาํ ของมาขายเพอื่ นใน 1. ไมน ําของมาขายเพอื่ นใน
กับตวั เอง หอ งเรยี น หองเรยี น

(Self – Dealing)
หรือเปนคสู ัญญา
(Contracts)

80 สุจริต คิดฐานสอง

การขดั กันระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชน์สว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

3. การทํางานหลัง 1. ใชอิทธพิ ล เปนหวั หนาหอง/ 1. ไมใ ชอ ิทธพิ ล เปน หัวหนา
จากออกจาก พอ แมเปน ผูม ีอิทธิพล/ขม ขูเ พื่อน หอ ง/พอแมเปน ผูม ีอทิ ธพิ ล/
ตําแหนงสาธารณะ ขม ขเู พอื่ น
หรอื หลงั เกษยี ณ
Post
Employment

4. การทาํ งานพิเศษ 1. เลนการพนนั 1. ไมเลนการพนัน
Outside 2. คา และเสพสิ่งเสพติดใหโทษ 2. ไมค าและเสพสิ่งเสพตดิ ใหโ ทษ

Employment or
Moonlighting

5. การรขู อมูล 1. รูคะเเนนสอบของเพือ่ น 1. รูคะเเนนสอบของเพ่ือนแต
ภายใน เเลว นํามาบอกตอ กอ นไดรบั เกบ็ เปนความลับ
Inside อนุญาต 2. รปู ญ หาของเพอื่ นที่ไมอยากให
2. รปู ญ หาท่เี พือ่ นไมอยากให ใครรู แลวเก็บเปนความลับ
Information ใครรู แลว นํามาบอกตอ

สจุ รติ คิดฐานสอง 81

การขัดกนั ระหว่าง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชน์สว่ นรวม

6. การใชบ คุ ลากร 1. ใชโทรศพั ทเคลอ่ื นท่ีชารต 1. ไมใ ชโทรศพั ทเคลอ่ื นที่ชารต
หรอื ทรพั ยสินของ ไฟโรงเรยี น ไฟโรงเรยี น
หนวยงานเพือ่ 2. เปด พดั ลมเปาเฉพาะตนเอง 2. ไมเปด พัดลมเปา เฉพาะตนเอง
ประโยชนสวน 3. ลา งจานชามกอ น โดยใชนํ้า 3. ไมลางจานชามกอน โดยใชน้ํา
มาก เหลอื ไวน อย มาก เหลอื ไวน อ ย
บคุ คล Using 4. แซงคิวผูอืน่ 4. ไมแ ซงควิ ผูอืน่
Employer, 5. เอาสี หนงั สอื ของโรงเรยี น 5. ไมเอาสี หนงั สอื ของโรงเรยี น
Property for เปน ของตนเอง เปนของตนเอง
6. เลน ฟตุ บอลไมแ บง กลุมอ่ืน/ 6. เลนฟุตบอลแบง กลมุ อนื่ /
Private นองๆ เลน บา ง นองๆ เลนบาง
advantagez 7. นําอปุ กรณการเรียนสวน 7. ไมน ําอุปกรณการเรียนสวน
กลาง (ของหอ ง) ไปใชท บ่ี าน กลาง (ของหอง) ไปใชที่บา น
8. ขีดเขยี นฝาผนัง เชน หอ งนา้ํ 8. ไมข ดี เขียนฝาผนงั เชน หอ งน้ํา
หองเรยี น หอ งเรยี น

7. การนาํ โครงการ 1. กรรมการนักเรยี นเขยี น 1. กรรมการนกั เรยี นเขียน
สาธารณะ ลงใน โครงการพัฒนาหอ งน้ําเฉพาะ โครงการพัฒนาหองนํ้าไมเฉพาะ
เขตเลือกตง้ั เพื่อ ช้ันท่กี ลมุ ตนเองอยู ชั้นท่กี ลุมตนเองอยู
ประโยชน 2. จัดสรรเงนิ ใหระดบั ช้ันตนเอง 2. จดั สรรเงนิ ใหร ะดับช้ันตนเอง
ทางการเมอื ง มากกวาชนั้ อ่นื เทาเทียมชั้นอนื่
Pork-Barrelling 3. แผอ าณาเขตทีน่ งั่ ของตนเอง 3. ไมแผอาณาเขตทนี่ งั่ ของ
ใหมากกวา คนอื่น ตนเองใหมากกวา คนอื่น
4. กีดกนั ไมใหเ พอื่ นเขา กลุม 4. ไมก ีดกันไมใ หเพอื่ นเขา กลุม
5. ใหข องขวญั ครูเพื่อใหค รรู ัก 5. ไมใ หข องขวญั ครูเพ่ือใหค รูรัก

82 สจุ ริต คดิ ฐานสอง

ตัวอยางผลการพัฒนาโรงเรียนสุจรติ “ระบบคดิ ฐานสอง”

ผูปกครอง/ชมุ ชน

การขัดกนั ระหวา่ ง ระบบคิด ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบคุ คล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ่วนรวม

1. การรับผล 1. รบั สัญญาฝากนกั เรยี น 1. ไมรับสญั ญาฝากนักเรยี น
ประโยชนตางๆ เขาเรยี น เขาเรียน
Accepting 2. รบั ติดตอ งานโรงเรียน 2. ไมรับติดตองานโรงเรียน
ใหผ ูประกอบการ ใหผปู ระกอบการ
Benets 3. นาํ ของขวญั ไปมอบใหครูและ 3. ไมนาํ ของขวญั ไปมอบใหครู

ผบู รหิ ารโรงเรยี น และผบู รหิ ารโรงเรียน

2. การทาํ ธุรกิจ 1. เปนผรู ับทาํ สญั ญาจดั ซอ้ื จดั 1. ไมเ ปนผรู บั ทาํ สัญญาจัดซอ้ื จัด
กบั ตวั เอง จา งกบั โรงเรียน จา งกับโรงเรยี น

(Self – Dealing)
หรอื เปนคสู ญั ญา
(Contracts)

3. การทํางานหลงั 1. ใชสถานะเดิมแอบอา งเพ่อื 1. ไมแอบอางในการใชส ถานะ
จากออกจาก เรียกรบั ผลประโยชนก บั ผมู า เดมิ เพอื่ เรยี กรบั ผลประโยชนก ับ
ผมู าติดตองานโรงเรยี น
ตําแหนง สาธารณะ ตดิ ตองานโรงเรยี น
หรอื หลงั เกษียณ

Post
Employment

สจุ ริต คิดฐานสอง 83

การขดั กนั ระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคิด ฐาน 2
ประโยชน์สว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

4. การทํางานพเิ ศษ 1. ชวยสอนนักเรียน รับคา 1. ชวยสอนนักเรียนโดยไมหวงั
Outside ตอบแทนและหวังผลประโยชน คา ตอบแทน/ผลประโยชน
Employment or 2. มาชวยทาํ งานใหโรงเรยี นและ 2. ชว ยทาํ งานใหโรงเรียนโดยไม
Moonlighting รับคาตอบแทน หวังคา ตอบแทน

5. การรูขอ มลู 1. นาํ ขอ มูลของโรงเรยี นไป 1. ไมน าํ ขอมูลของโรงเรียนไป
ภายใน แอบอางเพ่ือหาผลประโยชน แอบอา งเพื่อหาผลประโยชน
Inside 2. นําเสนอขอ มลู ขาวสารของ 2. เขาถึงขอ มลู นาํ เสนอขอมูล
โรงเรยี นไมตรงกับความเปน จรงิ ขาวสารของโรงเรยี นทีเ่ ปนจริง
Information

6. การใชบ คุ ลากร 1. นาํ วสั ดุอปุ กรณในโรงเรียน 1. ไมน าํ วัสดอุ ปุ กรณใ นโรงเรยี น
หรอื ทรพั ยส นิ ของ ไปใชป ระโยชนก บั ตวั เอง ไปใชประโยชนกับตัวเอง
หนวยงานเพ่อื 2. ใชบุคลากรในโรงเรยี นทาํ งาน 2. ไมใ ชบ คุ ลากรในโรงเรยี น
ประโยชนส วน สวนบคุ คล ทาํ งานสวนบุคคล
บุคคล Using
Employer,
Property for
Private
advantage

84 สจุ ริต คิดฐานสอง

การขดั กันระหว่าง ระบบคดิ ฐาน 10 ระบบคดิ ฐาน 2
ประโยชนส์ ว่ นบุคคล (Analog) (Digital)
และประโยชนส์ ว่ นรวม

7. การนาํ โครงการ 1. ผดู ํารงตําแหนงทางการเมอื ง 1. แยกแยะความถูกตอ งเหมาะ
สาธารณะ ลงใน จดั สรรงบประมาณเพอ่ื พัฒนา สมในการเลือกต้ังในระดบั ตางๆ
ชมุ ชน โดยหวังผลทางการเมือง 2. ชมุ ชนไมต ิดปายชือ่ ผูดํารง
เขตเลือกตั้ง 2. ผูดํารงตําแหนง ทางการเมอื ง ตําแหนงทางการเมอื งเพื่อจดั สรร
เพอ่ื ประโยชน จดั สรรงบประมาณพฒั นา งบประมาณพัฒนา
ทางการเมอื ง สาธารณประโยชนในชุมชน สาธารณประโยชนในชมุ ชนโดย
โดยหวงั ผลทางการเมอื ง หวงั ผลทางการเมอื ง
Pork 3. ชมุ ชนตดิ ปา ยชื่อผดู าํ รง
Barrelling ตาํ แหนง ทางการเมืองเพอ่ื
จัดสรรงบประมาณพฒั นา
สาธารณประโยชนในชุมชน
โดยหวังผลทางการเมือง

สุจรติ คดิ ฐานสอง 85

ตัวอยางแนวทางการพฒั นาบคุ ลากร เพือ่ ใหเกดิ ระบบการคดิ ฐานสอง
สําหรับสาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา

1. กําหนดนโยบาย มาตรการ ใหบุคคลดําเนินการตามบนั ทึกขอ ตกลงความรว มมอื
ของหนวยงาน อยางเครงครดั ดวยความเขา ใจท่ีถูกตอง

2. สรางความเขาใจบุคลากรในหนวยงานเก่ียวกับความแตกตางของการคิดฐานสิบ
และการคดิ ฐานสองเพอื่ แกไขปญหาการทจุ ริต

3. รณรงคป ระชาสมั พนั ธก ารแกไ ขปญ หาการทจุ รติ ดว ยการคดิ ฐานสองอยา งตอ เนอ่ื ง
ทัง้ ในระดับหนว ยงานโรงเรยี นและชมุ ชน

4. สอดสองดูแลและตกั เตอื นกรณีเหน็ แนวโนม ท่ีจะเกิดการทุจรติ (สกัดกั้น)
5. จดั กจิ กรรมสง เสรมิ ใหบ คุ ลากรในสถานศกึ ษาเกดิ ระบบฐานคดิ ฐานสองอยา งกวา ง
ขวางและครอบคลุม เชน จดั คาย “คิดฐานสอง” จดั ทาํ คูมอื แผนพบั ใบปลวิ กระตนุ จิตสํานกึ
ในการแกท จุ ริต ฯลฯ
6. ตรวจสอบผลการดําเนนิ งานและสรปุ ผลเพอ่ื การพัฒนาตอไป
7. จัดสมั มนาผลการดาํ เนนิ งาน “การสงเสรมิ แกท จุ รติ ดว ยการคดิ ฐานสอง”

86 สุจริต คิดฐานสอง

แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ เพอื่ สรา งความตระหนกั ใหเ กดิ “ระบบการคดิ ฐานสอง”

สาํ หรบั ผูบรหิ ารโรงเรยี น
1. ผบู ริหารโรงเรยี นเขารับการพฒั นา “ระบบการคิดฐานสอง”
2. กาํ หนดนโยบาย/จดุ เนน/มาตรการ ของผบู ริหารโรงเรียน
3. ผบู รหิ ารปฏบิ ัตติ นเปน แบบอยางในเรื่อง “ระบบการคิดฐานสอง” (ว 11 ประมวล
จรยิ ธรรมขา ราชการพลเรือน)
4. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม คี วามรูค วามเขาใจ ในเรื่อง “ระบบการคิดฐานสอง”
5. ผูบริหารโรงเรยี นจดั ทาํ บันทึกขอ ตกลงความรวมมอื (MOU) (หมวด 6 วนิ ัยและ
การรักษาวินัย)
6. ผบู รหิ ารโรงเรยี นกาํ กบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานการแกปญ หาทจุ รติ
“ระบบการคิดฐานสอง”
7. ผูบริหารโรงเรียนรณรงคประชาสัมพันธการแกปญหาการทุจริตดวยระบบ
การคิดฐานสอง
8. ผบู ริหารโรงเรยี นสรางเครอื ขา ยกับโรงเรยี นอืน่ ๆในเรื่อง“ระบบการคิดฐานสอง”
9. ผูบริหารโรงเรียนรวมพัฒนาการจัดกิจกรรมขับเคล่ือนพัฒนาโรงเรียนสุจริต
โดยใชห ลกั 3 ป (ปราบ ปอ ง ปลกู ) และหลกั 3 คดิ แกท ุจรติ (คิดได คิดดี คดิ เปน ) สู “ระบบ
การคดิ ฐานสอง”

Lorem ipsum dolor sit amet,
consectetur adipiscing elit. Ergo ita:
non posse honeste vivi, nisi
honeste vivatur? Utinam quidem
dicerent alium alio beatiorem! Iam
ruinas videres. Esse enim, nisi eris,
non potes.

สุจรติ คดิ ฐานสอง 87

แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ เพอ่ื สรา งความตระหนกั ใหเ กดิ “ระบบการคดิ ฐานสอง”

สาํ หรบั ครู
1. ครเู ขารบั การพฒั นา “ระบบการคิดฐานสอง”
2. ครรู วมกับผบู ริหารโรงเรยี นกําหนดนโยบาย/จุดเนน /มาตรการ
3. ครปู ฏบิ ัติตนเปนแบบอยางในเรื่อง “ระบบการคิดฐานสอง” แกน กั เรยี น
4. จดั กจิ กรรมพฒั นานกั เรยี นใหม คี วามรคู วามเขา ใจในเรอ่ื ง “ระบบการคดิ ฐานสอง”
5. ครูรว มทําบันทกึ ขอ ตกลงความรวมมอื (MOU) กับผูบรหิ ารโรงเรียน
6. ครูรวมรณรงคประชาสมั พันธก ารแกปญ หาการทจุ รติ ดวยระบบการคิดฐานสอง
7. ครูสรา งเครือขา ยกับโรงเรียนอ่นื ๆ ในเรือ่ ง “ระบบการคิดฐานสอง”
8. ครูรวมพัฒนาการจดั กจิ กรรมขับเคล่ือนพฒั นาโรงเรยี นสุจรติ โดยใชหลัก 3 ป.
(ปราบ ปอ ง ปลูก) และหลัก 3 คิด แกทจุ ริต (คิดได คดิ ดี คดิ เปน) สู “ระบบการคดิ ฐาน
สอง”

แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ เพอ่ื สรา งความตระหนกั ใหเ กดิ “ระบบการคดิ ฐานสอง”

สาํ หรบั นกั เรยี น
1. สภานกั เรยี นรว มกนั กาํ หนดขอ ตกลงการปฏบิ ตั ติ นในเรอ่ื ง “ระบบการคดิ ฐานสอง”
2. นกั เรียนเขา รว มกิจกรรม “ป.ป.ช.สพฐ.นอย”
3. นักเรยี นเขา รว มกิจกรรม “คายเยาวชนคนดขี องแผนดนิ ”
4. นกั เรียนเขารว มกิจกรรม “การสรา งสาํ นึกพลเมือง”
5. นักเรียนเขารวมกิจกรรม “สรา งสรรคตอ ตานการทุจริต ผา นสื่อภาพยนตรส ั้น”
6. นักเรยี นเขารว มกิจกรรม “บริษัทสรา งการด”ี
7. นกั เรยี นเขารวมกิจกรรม “คา ยคดิ ฐานสอง”

88 สจุ รติ คดิ ฐานสอง

แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ เพอื่ สรา งความตระหนกั ใหเ กดิ “ระบบการคดิ ฐานสอง”

สาํ หรบั ผูป กครองและชมุ ชน
1. ผูปกครองและชุมชนเขารับการพัฒนาในเร่ือง “ระบบการคิดฐานสอง”
ผานกิจกรรม ป.ป.ช.สพฐ.ชมุ ชน
2. ผปู กครองและชมุ ชนรว มกาํ หนดแนวทางการปฏบิ ตั ติ นในเรอ่ื ง “ระบบการ
คดิ ฐานสอง”
3. ผปู กครองและชมุ ชนรว มกนั ประชาสมั พนั ธ เผยแพรแ นวทางการปฏบิ ตั ติ น
ในเร่อื ง “ระบบการคิดฐานสอง” ในชุมชนของตนเอง
4. ผูปกครองและชุมชนรวมกันกํากับติดตามการปฏิบัติตนในเรื่อง “ระบบ
การคดิ ฐานสอง” ในชุมชนของตนเอง
5. ผูปกครองและชุมชนรวมแลกเปล่ียนประสบการณการปฏิบัติตนในเร่ือง
“ระบบการคดิ ฐานสอง” ในชมุ ชนของตนเอง
6. ผูปกครองและชมุ ชนนําขอแลกเปลีย่ นประสบการณการปฏบิ ตั ติ นในเรอื่ ง
“ระบบการคิดฐานสอง” ไปปรบั ปรุงในชมุ ชนของตนเอง

สุจริต คิดฐานสอง 89

ภาพความสาํ เรจ็
ของโรงเรยี นสจุ รติ
“ระบบคิดฐานสอง”

90 สจุ รติ คิดฐานสอง

สจุ รติ คิดฐานสอง 91


Click to View FlipBook Version