The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-02 02:39:46

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords: การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม,ความเชื่อและพิธีกรรม,คติชนวิทยา,บายศรีสู่ขวัญ



บทคัดย่อ

งานวิจัยเล่มนี้ได้ศึกษาเรื่อง การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม ในกรณีศึกษา งานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด
ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีวัตถุประสงค์
การศึกษา คือ ศึกษาการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม ในกรณีศึกษา งานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกดิ จากการศึกษาพบว่า
งานสุขีมั่น สูข่ วัญวนั เกิดเป็นการประดิษฐ์สร้างข้นึ จากความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการให้ความสำคัญต่อ
บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนงึ ถึงเร่ืองความแตกต่างด้านชาตพิ นั ธุ์และศาสนา โดยมีการนำวฒั นธรรม
ไทยและวฒั นธรรมต่างชาตมิ าประกอบเข้าด้วยกันจนเกิดเป็นวัฒนธรรมใหม่ สามารถจำแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่
ๆ ได้แก่ 1.วัฒนธรรมไทย และ 2.วัฒนธรรมต่างชาติ เกี่ยวข้องกับคติชนวิทยาในด้านคติชาวบ้าน ความเชื่อและ
พธิ ีกรรม

วฒั นธรรมไทย ไดแ้ ก่ การไหว้, เคร่ืองแตง่ กาย, อาหาร, การเพ้นท์ร่ม, การรำอวยพร, การแสดงศิลปะพื้น
ถ่นิ อสี าน หมอลำ, การตกแตง่ สถานท่ดี ้วยเอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรม : ตุงหรือ ธงุ และ ขนั กะหยอง, บายศรสี ่ขู วัญ,
ผูกขอ้ ต่อแขน และศาสนพธิ ี ความเช่ือและพธิ กี รรม ของแตล่ ะวฒั นธรรมมีความคลา้ ยคลึงกันในดา้ นการเช่ือเร่ือง
เหนือธรรมาติ และวฒั นธรรมเหลา่ นน้ั มอี ทิ ธพิ ลต่อการดำรงชวี ติ และเกยี่ วข้องกับวถิ ีชีวิตของคนในสงั คมไทย

วัฒนธรรมต่างชาติ ได้แก่ วัฒนธรรมลาว คือ การเต้นบาสโลบ และ วัฒนธรรมต่างชาติ ได้แก่ เพลง
Happy birthday และการเปา่ เคก้ ของชาวตะวนั ตก

งานสุขีมน่ั สู่ขวญั วนั เกิด จงึ เปน็ งานทไ่ี ดส้ ร้างความแปลกใหม่ทางวัฒนธรรมการจัดงานวันเกิดที่เป็นของ
ส่วนบุคคลให้กลายเป็นงานส่วนรวม และเป็นการประดิษฐ์วัฒนธรรมใหม่ให้เกิดขึ้นอย่างสร้างสรรค์ ด้วยการ
ผสมผสานทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำรงไว้ซึ่งความดั้งเดิมทางคติความเชื่อ และความงดงามของขนบธรรมเนียม
ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย

คำสำคญั : การประดษิ ฐส์ ร้างวัฒนธรรม ความเชอื่ และพธิ ีกรรม คตชิ นวทิ ยา บายศรสี ขู่ วัญ



กิตตกิ รรมประกาศ

วจิ ยั เลม่ นส้ี ามารถสำเร็จสมบูรณไ์ ด้ด้วยความกรุณาและความชว่ ยเหลอื อย่างดีย่งิ จากผู้ชว่ ยศาสตราจารย์
ดร. อรทัย เพยี ยรุ ะ หัวหน้าสาขาวชิ าภาษาไทย

กราบขอบพระคุณอาจารย์วิทยา วุฒิไธสง นักวิชาการวัฒนธรรม และ นางสาวบุญยืน เปล่งวาจา
นักวิชาการบริหารงานทั่วไป ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้ให้ความรู้ในการระเบียบวิธีการวิจัย
ให้คำแนะนำและให้ขอ้ มลู แก่ผู้วิจัย และเจ้าหน้าทีท่ ุกคนของศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่มิได้กล่าวถึง
ท่ไี ดเ้ มตตา ใหค้ วามอนุเคราะห์ ชว่ ยเหลอื ใหก้ ำลงั ใจ และสนบั สนุนดว้ ยดีตลอดมา

กราบขอบพระคุณบิดามารดาและพี่สาวผู้คอยให้กำลังใจในยามเหนื่อยล้าท้อแท้และแนะนำส่ิ งต่าง ๆ
ที่ช่วยให้ผ่านอุปสรรคไปได้ด้วยดี ขอบคุณญาติพี่น้องของข้าพเจ้าที่คอยลุ้นและให้กำลังใจแก่ข้าพเจ้าเสมอมา
ขอบคุณนางสาวธนัชชา สีสองชั้น นายธีรนันท์ วันโยศิริทรัพย์ นางสาวกานต์ธิดา นะธี ตลอดทั้งผู้มีพระคุณ
ทุกท่านที่ไม่ได้เอย่ นาม ซึ่งให้ความชว่ ยเหลอื ให้กำลังใจ ไถ่ถาม และให้คำแนะนำท่ีเป็นประโยชน์เสมอมา จนทำให้
งานวิจัยสำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี

คณุ ค่าและประโยชนข์ องวิจยั เลม่ นี้ ผวู้ ิจัยขอมอบเป็นเครือ่ งบชู าพระคุณอันย่ิงใหญข่ องบดิ า มารดา พีส่ าว
ผูใ้ หค้ วามรกั กำลงั ใจ ความเมตตา ความหว่ งใยและสนบั สนนุ ให้ไดร้ บั การศกึ ษาเปน็ อยา่ งดมี าโดยตลอด รวมทั้งครู
อาจารย์ทุกท่านที่ได้รับการอบรมสั่งสอน ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ แก่ผู้วิจัยจนกระทั่งประสบความสำเร็จใน
การศึกษาครั้งนี้ได้

ปราณพชิ ญ์ ปรุ ัมพกา

สารบญั หนา้

บทคดั ยอ่ ก
กติ ติกรรมประกาศ ข
บทที่ 1 บทนำ 1
1
1. ทมี่ าและความสำคัญของการวจิ ัย 4
2. คำถามการวิจัย 4
3. วตั ถุประสงค์ 4
4. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 4
5. ขอบเขตของการวจิ ยั 5
6. สมมตฐิ านการวิจยั 5
7. คำนิยามศพั ท์เฉพาะ 5
8. กรอบแนวคดิ การวิจยั 6
บทท่ี 2 ทบทวนวรรณกรรม 6
13
1. แนวคดิ เกย่ี วกบั วฒั นธรรม 18
2. แนวคดิ เกี่ยวกบั การผสมผสานทางวฒั นธรรม 22
3. แนวคิดและทฤษฎเี กี่ยวกับการปรบั ตัวทางวัฒนธรรม 25
4. แนวคดิ เกยี่ วกบั ประเพณปี ะดิษฐ์ 37
5. แนวคดิ เกย่ี วกับความเชอ่ื และพธิ กี รรม 47
6. แนวคิดเก่ยี วกับคติชนวทิ ยาและคติชนสรา้ งสรรค์ 54
7. เอกสารงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง 54
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการวิจยั 54
55
1. สำรวจและศกึ ษาเอกสารทเี่ กี่ยวขอ้ ง 55
2. เกบ็ รวบรวมข้อมลู 57
3. จดั กระทำกบั ขอ้ มูล
4. นำเสนอผลการวิจัย
บทท่ี 4 วัฒนธรรมทปี่ รากฏในงานสขุ ีมน่ั ส่ขู วญั วันเกิด

สารบญั (ต่อ) หนา้

1. สภาพท่ัวไปของศนู ย์วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 57
2. การประดิษฐส์ ร้างวฒั นธรรมในงานสขุ มี น่ั สขู่ วัญวนั เกดิ 58
58
2.1 วฒั นธรรมไทย 65
2.2 วฒั นธรรมตา่ งชาติ 67
บทที่ 5 สรปุ 65
1. ขอ้ เสนอแนะ 69
บรรณานุกรม 72
ภาคผนวก

สารบญั ตาราง หนา้
77
ตารางท่ี 1 กำหนดการ งานสุขมี ่นั ส่ขู วัญวนั เกิด

1

การประดิษฐส์ ร้างวฒั นธรรม กรณีศึกษางาน“สขุ มี ั่น สูข่ วัญวันเกดิ ”
ในโครงการสรา้ งทานบารมี หนุนชวี ี มคี วามสขุ

บทท่ี 1
ที่มาและความสำคญั

“วัฒนธรรม” คอื มรดกแห่งสงั คม ซง่ึ สงั คมปรับปรงุ และรกั ษาไว้ใหเ้ จริญ งอกงาม วัฒนธรรมเกดิ จากการ
ประพฤติปฏิบัติรว่ มกัน เป็นแนวเดียวกันอย่างต่อเน่ืองของสมาชิกในสังคม สืบทอดเปน็ มรดกทางสังคมต่อกนั มา
จากอดีต หรืออาจเป็นสิ่งประดิษฐ์คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ หรืออาจจรับเอาสิ่งที่เผยแพร่มาจากสังคมอื่น ๆ
ท้งั หมดนห้ี ากสมาชกิ ยอมรบั และยึดถือเป็นแบบแผนประพฤติปฏบิ ตั ิร่วมกัน กย็ ่อมถือว่าเป็นวัฒนธรรมของสังคม
นน้ั วัฒนธรรมจงึ เป็นเครอ่ื งประสานความสามัคคีของคนในชาติ ช่วยให้เกดิ ความมั่นคงมีความแตกต่างกันไปตาม
สภาพภูมสิ งั คมแตล่ ะแห่ง สงั คมใดมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมถือเปน็ ความมั่นคง เป็นต้นทุนทางสังคมท่ีล้ำ
ค่า (สุวไิ ล เปรมศรีรตั น์, 2548) เป็นความเจริญงอกงาม ซึ่งเป็นผลจากระบบความสมั พันธ์ระหว่างมนษุ ยก์ ับมนุษย์
มนุษย์กับสงั คม และมนุษย์กับธรรมชาติ มกี ารสง่ั สมและสืบทอดจากรุ่นหนึ่งไปส่อู กี รุ่นหนึ่งจากสงั คมหนึ่ง ไปสู่อีก
สังคมหนึ่งจนกลายเป็นแบบแผนที่สามารถเรียนรู้ทำให้ก่อเกิดผลิตกรรมและผลผลิต ท้ังที่เป็นรูปธรรมและ
นามธรรม (สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2540 : 53-54) และที่สำคัญวัฒนธรรม ประเพณีความ
เชอื่ และพิธีกรรมต่าง ๆ มีบทบาททำให้คนมีความมั่นคงในจิตใจและเห็นคุณค่าในการดำรงชีวิตร่วมกันอย่างเสมอ
ภาค (ศรศี กั ร วลั ลิโภดม, 2554 : 141) นอกจากวฒั นธรรมท่เี ป็นแนวทางในการดำเนนิ ชีวติ ของคนในสงั คมแลว้ แต่
ละภูมิภาคก็มีแนวทางปฏิบัติที่ได้รับการสืบทอดและส่งต่อมาจากโบราณจนถึงปัจจุบัน โดยสิ่งเหล่านั้นเป็น
เครือ่ งมอื ที่สะทอ้ นความเชอื่ ด้งั เดิมของแต่ละชาติพนั ธ์ุ ซ่งึ ได้รบั การยอมรบั วา่ ถกู ต้องดีงามและมคี วามเกี่ยวข้องกับ
วิถีชีวิตของคนในพ้นื ท่ีนั้น ๆ ในภาคอีสานของไทยจงึ มีปนะเพณี และจารตี หรอื ฮีตสิบสองซ่งึ เปน็ ประเพณีท่ีปฏิบัติ
ในรอบปี จำนวน 12 ประเพณีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมอนั ทรงคณุ คา่ ที่ผูกพันอยกู่ บั วิถีชีวติ ของชาวอีสานเป็นจารตี
ชุมชนท่ี ชาวอีสานยดึ ถือคูก่ บั คองสิบส่ีซึง่ เป็น แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี 14 ประการโดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ใหช้ ุมชนม่ันคงเกดิ

2

ความ สามคั คีสรา้ งแบบแผนทด่ี ีงามใหเ้ ป็นบรรทดั ฐานเดยี วกนั มีหลกั ศลี ธรรมจริยธรรมทเ่ี ปน็ แนวปฏิบัติให้ทุกคน
อยู่ รว่ มกนั อย่างเปน็ สขุ (พลับพลึง คงชนะ และคณะ, 2549, น. 69) ฮตี สิบสองที่คนอสี านยึดถอื น้ันมาจากคําสอง
คําได้แก่ฮีต คือคําว่า จารีต หมายถึงความประพฤติ ธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติท่ีดี ดังนั้นฮีตสบิ สองจงึ
หมายถึงประเพณีทีประชาชนในภาคอีสาน ปฏิบัติกันมาในโอกาสต่าง ๆ ทั้งสิบสองเดือนของแต่ละปีเป็นการ
ผสมผสานพธิ ีกรรมท่ีเกี่ยวกับเรื่องผีและพิธีกรรมทางการเกษตรเข้ากับพธิ ีกรรมทางพุทธศาสนา (ปรีชา พินทอง.
2534 : 738-742)

วฒั นธรรมประเพณี และ ฮีตคองลว้ นมคี วามเก่ียวขอ้ งกับชวี ิตของมนุษย์ในทกุ เร่ืองต้งั แต่การเกิดไปจนถึง
การตาย มนษุ ย์สามารถรู้วนั เกดิ ของตวั เองได้แตไ่ มอ่ าจรวู้ ันตาย ในสังคมไทยไดร้ บั อทิ ธพิ ลดา้ นศาสนามาจากประ
เทสอินเดยี โดยนบั ถือพทุ ธศาสนา จงึ มีความเชอ่ื เร่ืองการทำบุญ การทำความดี ทำจติ ใจใหบ้ ริสุทธิ์และละเวน้ ความ
ช่วั ทงั้ ปวง ท้ังคนไทยและชาวอีสานจงึ นิยมเขา้ วดั ทำบุญ โดยเฉพาะในวันสำคัญทางศาสนา เช่น วันเขา้ พรรษา วัน
ออกพรรษา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา วันเกิด เป็นต้น ดังนั้นการทำบุญในวันเกิดหรือจัดงานวันเกิดจึงเปน็
เหมือนเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงคุณค่าของชีวิต ความยินดีปรีดา และจุดกำเนิดของชีวิต และเป็นสัญญาณท่บี ่ง
บอกวา่ มอี ายุเพม่ิ ขึ้นอีก 1 ปี นอกจากน้ยี ังเป็นการระลึกถงึ ผูใ้ หก้ ำเนดิ ท้ังบิดาและมารดาท่ียอมแลกชีวิตและความ
เจบ็ ปวด เพื่อมอบชวี ิตใหก้ บั ลกู น้อยท่ลี มื ตามาดูโลกเปน็ คร้งั แรกวันนนั้ จึงกลายเปน็ วนั เกดิ ของทุกคน

ในอดีตวันเกิดถอื เปน็ ความลับส่วนบคุ คลไม่สามารถพูดคุยหรือบอกเล่าต่อสาธารณะชนได้ โดยเฉพาะผู้ที่
เปน็ หวั หนา้ เจ้านาย หรือกษัตรยิ ์เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเองถงึ ชีวติ การบิดเบอื นและปิดบังความจริง
เร่ืองวนั เดือน ปีเกิดจึงเป็นสิง่ ท่ีสำคัญมากทสี่ ดุ เหน็ ได้จากบนั ทึกเร่อื งการกลา่ วถึงวันเกดิ ของ เพม่ิ ศักดิ์ วรรลยางกลู
ในหนังสือ เมืองไทยในอดีต

“ชะรอย เจ้าแผ่นดินเก่าที่เปน็ ต้นตำรานั้นจะประสูติในเดือน 9 หรือสมเด็จพระเจา้ รามาธิบดีท่ี 1 อู่ทอง
เอง จะประสูติในเดือน 9 จึงวางพิธีตลุ าภารไว้ในเดือน 9 ก็จะเป็นได้ วิสัยคนแต่ก่อนย่อมปิดบงั วนั เดือนปที ่เี กิด
ด้วยเชื่อว่าผไู้ ดร้ ู้วนั เดือนปแี ล้ว อาจจะไปประกอบเวทมนต์ ทำอนั ตรายไดต้ า่ ง ๆ จงึ มไิ ด้ให้ปรากฏว่าเปน็ การเฉลิม
พระชนมพ์ รรษา ครัน้ ผตู้ ้ังตำราเดิมนนั้ ลว่ งไปแลว้ ผู้ทีบ่ ัญชาการชนั้ หลงั ไมร่ ู้ถึงมูลเหตุ จึงไม่ไดย้ ้ายพระราชพิธีมาให้
ตรงกับวนั ประสตู ขิ องของพระเจ้าแผ่นดินชน้ั หลงั ซึ่งดำรงราชสมบัตอิ ยู่ ถา้ การคาดคะเนนีถ้ ูก กค็ วรจะว่าพระราช
พิธตี ุลาภารนน้ั เป็นพระราชพธิ ีเฉลิมพระชนมพรรษาอย่างโบราณ แต่ข้าพเจา้ ไม่ยนื ยันเป็นแนว่ ่าถูกตามนี้”

ประเพณีทำบุญวันเกิดนี้ แต่เดิมมาน้ัน สำหรับในเมืองไทย ไม่เป็นแบบฉบับที่แน่นอนเหมือนอย่างเมอื งจนี
หรอื เมืองฝรงั่ เพราะไม่คอ่ ยจะมีใครถอื วา่ จะต้องทำอะไรบ้างในวันเกิดของตนเอง ส่วนมากก็นงิ่ ๆ เฉย ๆ กนั ไปเสยี
(เพิ่มศกั ดิ์ วรรลยางกลู , เมืองไทยในอดตี , 2503)

3

ปัจจบุ ันวันเกิดไม่ถอื ว่าเป็นความลบั โดยเฉพาะวันเกดิ ของผู้ทีม่ ีชื่อเสียงต่างยิ่งเปน็ สิ่งทีค่ นส่วนมากอยากรู้
และพวกเขาสามารถเปิดเผยได้ ผู้คนในปัจจบุ นั มกี ารจัดงานเฉลมิ ฉลองวนั เกิดกันอยา่ งสนุกสนานตามสถานท่ตี า่ งๆ
เช่น ในโรงแรม โรงเรียน ท่ีทำงาน ที่บา้ น กิจกรรมภายในงานวนั เกดิ มกั เปน็ การรับประทานอาหารรว่ มกันกับ พ่อ
แม่ เพอื่ น พน่ี อ้ ง เครือญาติ หรอื เพื่อนร่วมงาน มกี ารมอบของขวัญ ขอพรและการอวยพรจากครอบครัว เพื่อนฝูง
บางครั้งอาจมกี ารด่ืมสังสรรค์ การร้องเพลง happy birthday และเป่าเค้กซ่ึงเป็นวัฒนธรรม และธรรมเนียมจาก
ต่างชาติซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในประเทศไทย ตามวัฒนธรรมไทยแล้วเมื่อถึงวันสำคัญหรือวันเกิดคนไทย
มักจะไปทำบุญท่ีวัด หรือใส่บาตรในตอนเชา้ ของวนั คล้ายวนั เกดิ เพ่ือสร้างบุญบารมีให้แกต่ นเอง และส่งผลบญุ ทต่ี น
กระทำให้แกค่ รอบครวั เจา้ กรรมนายเวร และ ผู้ที่ล่วงลบั ไปแลว้

มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ (องั กฤษ: Khon Kaen University; อกั ษรยอ่ : มข., KKU.) เปน็ สถาบนั อุดมศึกษาแหง่
แรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ก่อตั้งขึ้นตามนโยบายการขยายการศกึ ษาระดับอุดมศึกษาสู่ส่วนภูมิภาคตาม
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ ฉบับที่ 1 ของประเทศ โดยมจี ดุ ม่งุ หมายเพอื่ พัฒนากำลังคนและองคค์ วามรู้เพือ่ การแกป้ ัญหา
ให้กบั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ซงึ่ เปน็ ภูมภิ าคท่มี ีพ้นื ท่ขี นาดใหญ่ และมีประชากรเปน็ 1 ใน 3 ของประเทศ ในแต่
ละปีตอ้ งเผชญิ กับปญั หาภยั แหง้ แลง้ และผลผลติ ทางภาคการเกษตรไม่ดอี ย่างต่อเน่ือง อีกท้งั ยงั มีประชากรทยี่ ากจน
อาศัยอยูเ่ ป็นจำนวนมาก (มหาวิทยาลยั ขอนแก่น สบื คน้ เมอื่ วันท่ี 3 มีนาคม 2563)

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดมหาวิทยาลัยขอนแก่นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20
ธนั วาคม พุทธศักราช 2510 และไดพ้ ระราชทานพระราชดำรสั ความตอนหนึ่งวา่

“การตั้งมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ เพิ่มข้ึนอกี แห่งหนึง่ น้ันเป็นคุณอย่างยิ่ง เพราะทำให้การศึกษาชัน้ สงู ขยาย
ออกไปถงึ ภมู ิภาคทีส่ ำคญั ที่สุดส่วนหนง่ึ ของประเทศ ซงึ่ ต่อไปจะเปน็ ผลดีแกก่ ารพัฒนา ยกฐานะความเป็นอยู่ของ
ประชาชนในภมู ภิ าคนเ้ี ปน็ อย่างยิ่ง ความสำเร็จในการต้ังมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น จงึ เปน็ ความสำเร็จทที่ กุ คนควรจะ
ยนิ ด”ี (พระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมอื่ ครง้ั เสด็จพระราช
ดำเนินมาทรงเปิดมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 20 ธนั วาคม พทุ ธศกั ราช 2510)

ปัจจบุ นั มหาวิทยาลยั ขอนแก่นก่อตั้งมาแล้วกว่า 56 ปี มีบคุ ลากร และนักศึกษารวมกันมากกว่าส่ีหม่ืนคน
ซึ่งในจำนวนนี้มีทั้งคนไทยและชาวต่างชาติจากหลายประเทศ ทำให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นเปรียบเสมือนอู่แหง่
ประเพณี และวัฒนธรรม เกิดการรับ เข้าส่งออก และแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอยู่ตลอดเวลา ก่อให้เกิดกิจกรรม
ภายในมหาวิทยาลัยทีแ่ สดงออกทางชาติพันธ์ุและสง่ เสริมด้านวัฒนธรรมอยู่เสมอ ซ่งึ กิจกรรมเหลา่ นั้นถกู จดั ขึน้ โดย
ศูนย์วัฒนธรรม รวมถึงงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกดิ ที่จัดข้ึนสำหรับบุคลากรที่มวี นั เกิดภายในเดือนนั้น ๆ โดยเฉพาะ
ในการจัดงานแตล่ ะครงั้ จะมกี ารทำหนังสือเชญิ สง่ ถึงบุคลากรท่ีเกิดในแต่ละเดือนมากกวา่ 900 คน และเมื่อถึงวัน
งานจะมบี ุคลากรเขา้ ร่วมงานมากกวา่ 100 คน

4

จากปรากฏการณ์ข้างต้นทำให้ผู้วิจัยต้องการที่จะศึกษาวฒั นธรรมท่ีปรากฏในกิจกรรม สุขีมั่น สู่ขวัญวนั
เกดิ อันนำมาสู่การประดษิ ฐส์ ร้างวฒั นธรรม ทม่ี ีจำนวนบคุ ลากรมาเข้าร่วมงานในแตล่ ะเดือนมากกว่าหนึ่งร้อยคน
และยังได้รับการสนับสนุนและได้รับความร่วมมือจากหลายองค์กร เช่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ สมาคมหมอลำ
อีสาน องค์กรนักศึกษาลาว ชาวบ้านจากหมู่บ้านสาวะถี จังหวัดขอนแก่น นักศึกษาจิตอาสา ชมรมถ่ายภาพ
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เครอื ข่ายวฒั นธรรม โดยใชแ้ นวคดิ คติชนวทิ ยา เข้าช่วยในการอธิบาย การประดิษฐ์สร้าง
วฒั นธรรม งาน สุขีมน่ั ส่ขู วัญวันเกดิ

ผลการศกึ ษานจ้ี ะมปี ระโยชนต์ อ่ ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
2. คำถามการวจิ ัย

การประดิษฐส์ ร้างวฒั นธรรมในงานสขุ มี ั่น สขู่ วญั วันเกิด ประกอบดว้ ยวัฒนธรรมใดบ้าง
3. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

เพ่ือศึกษาการประดษิ ฐส์ รา้ งวัฒนธรรมในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวนั เกดิ

4. ประโยน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ

เพื่อใหท้ ราบการประดิษฐ์สรา้ งวัฒนธรรมในงานสุขีม่นั สูข่ วญั วันเกิด

5. ขอบเขตการศึกษา

ขอบเขตของพื้นทีศ่ กึ ษา

ศูนย์วัฒนธรรม เป็นพ้ืนท่ีแรกในมหาวิทยาลัยขอนแก่นทีม่ กี ารจัดงานวันเกดิ ทีเ่ ดิมเป็นงานส่วนบคุ คลมา
จดั เป็นงานของกลมุ่ คนที่มวี นั เกดิ ภายในเดือนนั้น ๆ พื้นท่ีการศกึ ษาวจิ ยั ครัง้ น้ี จงึ เป็นการศึกษาเฉพาะพืน้ ท่ี อาคาร
พทุ ธศิลปส์ ถาน ในเขตศูนยว์ ฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ขอบเขตดา้ นแหล่งข้อมูล

เนื่องจากการวิจัยเร่ือง “การประดิษฐ์สรา้ งวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด ในโครงการ
สร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข”เป็นการศึกษาที่มีขอบข่ายกว้างขวางในแง่ของประเด็นศึกษา ซึ่งผู้วิจัยมงุ่
นำเสนอผลการวิจัยเชิงวิเคราะหเ์ พอื่ ให้เหน็ “ภาพรวม” ของการประดิษฐ์สร้างวฒั นธรรมในงานสุขีม่ัน สู่ขวัญวัน
เกดิ

5

6. สมมตฐิ านการวจิ ยั

การวิจัยคร้ังน้ี ได้ตั้งสมมติฐานการวิจัยดงั นี้ ความหลากหลายทางชาตพิ นั ธ์ุและประเพณีวัฒนธรรมของ
บุคลากรในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการประดิษฐ์สร้างสรรค์วัฒนธรรมใหม่ คืองานสุขีมั่น
สู่ขวัญวันเกิด ซึ่งเปน็ กจิ กรรมท่ีแสดงออกถงึ การใหค้ วามสำคัญตอ่ บคุ ลากรโดยไม่คำนึงถงึ ความแตกต่างด้านชาติ
พันธ์ุ และศาสนา

7. คำนิยามศัพทเ์ ฉพาะ

1.การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม หมายถึง การคิดค้นหรือสรา้ งวัฒนธรรม
ใหม่ขน้ึ มาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เพื่อตอบสนองความโหยหาอดตี และเป็นประโยชน์ตอ่ สังคมมนษุ ย์ อาจจับต้องได้
หรือจบั ต้องไม่ได้

2.สู่ขวัญ หมายถึง ลักษณะของการกระทำของผู้ทำการหรือ ผู้ทำขวัญในการประกอบพิธีการสู่ขวัญ
บายศรี หรือเรียกตามภาษาไทยกลางวา่ เรยี กขวญั คำว่า สู่ เป็นคำกริยา หมายถงึ ให้ , ถงึ

3.วันเกิด หมายถงึ วันแรกที่มีสภาพของการมีชีวิต หรือวันแรกท่ีถือกำเนิดจากครรภ์มารดาถือว่าวันน้ัน
เป็นวันเกิด

4.คติชนสร้างสรรค์ หมายถึง คติชนที่มีการสร้างใหม่หรือผลิตซ้ำในบริบททางสังคมไทยปัจจุบันใน
ลักษณะของการสืบทอดคติชนในบรบิ ทใหม่ การประยุกต์คติชน การ “ต่อยอด” คติชน การตีความใหม่การสร้าง
ความหมายใหม่ หรือการนำคตชิ นไปใช้เพื่อ “สรา้ งมลู คา่ เพิม่ ” หรือเพอ่ื สร้างอัตลักษณข์ องท้องถ่ินหรืออัตลักษณ์
ชาติพันธุ์ (ศิราพร ณ ถลาง, 2559 )

8. กรอบแนวคิดการวิจยั

ศูนยว์ ัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น การประดิษฐส์ รา้ งวฒั นธรรมในงาน
สุขมี น่ั สขู่ วัญวันเกดิ

คติชนวิทยา
1.วัฒนธรรม

2.ความเช่อื และพิธีกรรม

6

บทท่ี 2

ทบทวนวรรณกรรม

ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเร่ืองต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกบั การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมใน
กจิ กรรมสุขีม่ัน สู่ขวญั วนั เกิด ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ดงั น้ี

1. แนวคิดเก่ียวกับวฒั นธรรม
2. แนวคดิ เก่ียวกบั การผสมผสานทางวฒั นธรรม
3. แนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกับการปรบั ตวั ทางวัฒนธรรม
4. แนวคิดเกยี่ วกับความเชอื่ และพิธีกรรม
5. แนวคดิ เก่ียวกับประเพณปี ระดิษฐ์
6. แนวคดิ เก่ียวกับคตชิ นวิทยา และคติชนสร้างสรรค์
7. งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง

1. แนวคิดเกย่ี วกับวฒั นธรรม

ความหมายของวัฒนธรรม

วัฒนธรรม ( culture ) มีการให้คำนิยามที่หลากหลายเพื่อสะท้อนความแตกต่างทางทฤษฎีจึงมี
ความหมายครอบคลุมว่าเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเกี่ยวข้องกบั วิถีชีวิตมนุษย์สืบตอ่ และตกทอดกันมา เพื่อใช้เปน็
แนวทางในการดำเนินชีวิต หรือเป็นรูปแบบของการดำรงชีวิตของมนุษย์ให้เป็นไปตามครรลองคลองธรรม
นอกจากนวี้ ัฒนธรรมยังรวมไปถงึ ประเพณี ขนบธรรมเนียม ความเชือ่ คา่ นิยม อันเปน็ ทั้งนามธรรมและรปู ธรรม

เมื่อกล่าวถึงความหมายของวัฒนธรรม ได้มีผู้ให้ความหมายของคำว่าวัฒนธรรม ไว้อย่างหลากหลาย
ดงั ต่อไปนี้

อมรา พงศาพิชญ์ (2534: 1) อธิบายวา่ วัฒนธรรม คอื รปู แบบพฤตกิ รรม วิถีชวี ิตและระบบ สัญลักษณ์
ทีม่ นุษย์สร้างขนึ้ เพอื่ ใชใ้ นสงั คม วัฒนธรรมในแตล่ ะสงั คมจะเกิดจากการสัง่ สมประสบการณ์ และถ่ายทอดสรู่ ุ่นต่อ
รนุ่ ในสงั คมโดยมีทง้ั วัฒนธรรมในเชงิ นามธรรมซง่ึ ได้แก่ ภาษา ความเช่อื กริยา มารยาท และวัฒนธรรมในเชงิ
รปู ธรรมซง่ึ ได้แก่ อาคารบ้านเรือน วดั และศิลปกรรม ประตมิ ากรรมต่าง ๆ ตลอดจนสงิ่ ของเครอื่ งใช้

สุวิไล เปรมศรีรัตน์ กล่าวว่า“วัฒนธรรม” คือ มรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมปรับปรุงและรักษาไว้ให้เจริญ
งอกงาม วัฒนธรรมเกิดจากการประพฤตปิ ฏิบตั ริ ว่ มกนั เป็นแนวเดียวกันอยา่ งต่อเนือ่ งของสมาชิกในสงั คม สืบทอด
เป็นมรดกทางสังคมต่อกันมาจากอดีต หรืออาจเป็นสิ่งประดิษฐ์คิดค้นสร้างสรรค์ขึ้นใหม่ หรืออาจจรับเอาสิ่งท่ี

7

เผยแพรม่ าจากสังคมอน่ื ๆ ทง้ั หมดนี้หากสมาชกิ ยอมรบั และยึดถอื เป็นแบบแผนประพฤตปิ ฏิบตั ิร่วมกนั ก็ย่อมถือ
ว่าเป็นวัฒนธรรมของสงั คมนั้น วัฒนธรรมจงึ เปน็ เคร่อื งประสานความสามัคคีของคนในชาติ ช่วยให้เกดิ ความม่ันคง
มคี วามแตกตา่ งกันไปตามสภาพภมู ิสงั คมแตล่ ะแห่ง สังคมใดมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมถือเป็นความม่ันคง
เป็นต้นทนุ ทางสังคมทลี่ ้ำคา่

นติ ยา บญุ สงิ ห์ ( 2554 : 12-13 ) กล่าววา่ วฒั นธรรม แปลตามตวั อกั ษร หมายความว่า สภาพอันเปน็
ความเจรญิ งอกงาม วฒั นธรรมเป็นเรื่องเกย่ี วกบั พฤติกรรม วาจาท่าทาง กจิ กรรม และผลิตผลของกิจกรรมทม่ี นุษย์
ในสงั คมผลติ หรือปรบั ปรงุ ขน้ึ จากธรรมชาติและเรยี นรู้ซึ่งกนั และกนั โดยผ่านการคัดเลือก ปรับปรุงและยึดถือสืบ
ทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน วัฒนธรรมเป็นทั้งลักษณะนิสัยของคนหรือกลุ่มคนในชาติลัทธิความเชื่อ ภาษา
ขนบธรรมเนียม ประเพณี อาหารการกิน เครื่องใช้ไม้สอย ศิลปะต่าง ๆ ตลอดทั้งการประพฤติปฏิบัติของคนใน
สังคม

วีระ บำรุงรักษ์ (2538 : 4) ได้ให้ความหมายคำว่า วัฒนธรรมไว้ว่า เป็นส่วนประกอบท่ี สลับซับซ้อน
ทั้งหมดของลักษณะอันชัดเจนของจิตวิญญาณ วัตถุ สติปัญญาและอารมณ์อันประกอบกันข้ึนเป็นสังคมหรือหมู่
คณะวัฒนธรรมจึงมไิ ดห้ มายถงึ เฉพาะเพียงศลิ ปะและวรรณกรรมเท่าน้ัน แต่หมายถงึ ฐานนยิ มต่าง ๆ ของชวี ิต สิทธิ
พื้นฐานตา่ ง ๆ ของมนุษยร์ ะบบค่านยิ ม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณแี ละความเชือ่ ต่าง ๆ

พระยาอนุมานราชธน (2500 อ้างถึงใน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2538, หน้า
54) ไดอ้ ธิบายความหมายของวัฒนธรรมไว้ว่า วัฒนธรรม คือ ส่ิงที่มนุษย์เปล่ียนแปลง ปรับปรุงหรือผลติ สร้างข้ึน
เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตมนุษย์ในส่วนรวมที่มนุษย์ไดเ้ รียนรู้จากคนรุ่นก่อน สืบต่อจนเปน็ ประเพณี
ตลอดจนความคิดเห็น ความรสู้ ึก ความประพฤติและกริยาอาการหรอื การกระทำใด ๆ ของมนุษย์ในสงั คมส่วนรวม
มีความเป็นพมิ พ์เดียวกันและสำแดงออกมาให้ปรากฏในรูปภาษาศลิ ปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ ประเพณี เป็นตน้
เป็นมรดกทางสังคม ยอมรับและรักษาไว้ใหเ้ จริญงอกงาม

Buchner (1998 อ้างอิงใน ศุภลักษณ์ อังครางกูร, 2547 : 128 ) กล่าวว่าวัฒนธรรม อาจอยู่ใน

รูปแบบที่สัมผัสได้ หรืออยู่ภายใต้ในตวั บุคคล (Material and non-material culture ) สิ่งที่ สัมผัสได้เช่น การ
แต่งกาย ภาษาและส่ิงทอี่ ยูภ่ ายใน เชน่ ทศั นคตคิ วามเชอื่ คุณค่า การรับรู้ รูปแบบของวฒั นธรรมอาจถูกแบ่งตาม
การสอื่ สาร กล่าวคอื วฒั นธรรมทส่ี ามารถส่อื ออกมาได้ดว้ ย เสยี ง เช่น ภาษา และการหัวเราะ รอ้ งไห้ นำ้ เสยี งและ
วฒั นธรรมท่ีสื่อออกมาโดยไมใ่ ช้เสียง เช่น ทา่ ทาง สีหนา้ การเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลในการสนทนา

เซอร์ เอ็ดเวิรด์ บี ไทเลอร์ (Sir Edward B. Tylor) นักมานษุ ยวิทยาชาวอังกฤษ ใหค้ วามหมายของคำ
ว่า “วัฒนธรรม” เมื่อ ค.ศ. 1871 ว่า “วัฒนธรรม คือ มวลรวมที่ซบั ซ้อนซึ่งรวมความรู้ ตลอดจนนิสัย ความเช่อื

8

ศิลปะ กฎหมาย ศีลธรรม ประเพณี ตลอดจนความสามารถอื่น ๆ ซึ่งมนุษย์ได้มาในฐานะการเป็นสมาชิกของ
สงั คม”

คลักคอห์น ( Kluckhohm ) และ แคลลี่ (Kelly) ได้ให้ความหมาของคำว่า วัฒนธรรม ไว้ว่า
“วัฒนธรรม”คือทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างข้ึนมาเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตของมนุษย์ อาจจะเป็นสิ่งที่มีเหตุผล
หรอื ไมม่ เี หตุผลในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เพือ่ เป็นแนวทางปฏิบัติหรอื พฤตกิ รรมของมนุษย์

เสฐียรโกเศศ กลา่ ววา่ “วัฒนธรรมเปน็ สว่ นสำคัญของคน เพราะเข้าไปแทรกซึมและประกอบเป็นรูปวิถี
ชีวิตของคนตั้งแตเ่ กิดมาโดยไม่มีใครรูต้ วั ” อาจเรยี กได้ว่าเป็น “วิถีชีวิตของสงั คม” มนุษย์จะมีวิถชี ีวิตอย่างไร จะ
เป็นไปตามแบบวัฒนธรรมของชุมชนท่ีแวดล้อมอยู่ และแบบแผนนีจ้ ะเป็นมรดกตกทอดกันมาเปน็ ประเพณี จึงอาจ
เรยี กชอื่ ว่า “ปรัมปราประเพณี” หรอื Tardition (เสฐียรโกเศศ, 2524 : 6-8)

สพุ ตั รา สุภาพ (2518 : 119) ไดใ้ หค้ วามหมายของวฒั นธรรมไว้ว่า“วฒั นธรรมมีความหมายครอบคลุม
ถึงทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งทแี่ สดงถงึ ชีวติ ของมนษุ ย์ในสงั คม ของกลมุ่ ใดกลุ่มหนึ่ง หรอื สังคมใดสงั คมหน่งึ มนษุ ย์ได้คิดสร้าง
ระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีในการปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบความเชื่อ ความนิยม ความรู้ และเทคโนโลยี
ต่าง ๆ ในการควบคมุ และใชป้ ระโยน์จากธรรมชาติ”

สรปุ ได้ว่า วัฒนธรรม หมายถงึ ทกุ ส่งิ ทุกอย่างของมนุษย์แทรกซมึ อยกู่ ับมนษุ ยม์ าตัง้ แตเ่ กิดโดยท่ีไม่มีใคร
รตู้ ัว วัฒนธรรมคอื ความเจรญิ งอกงามที่มนษุ ยส์ รา้ งข้ึน เป็นมรดกทางสังคมที่ไม่หยุดน่งิ มกี ารเปล่ียนแปลงอยูเ่ สมอ
เปน็ ทงั้ แบบนามธรรมและรปู ธรรม รวมถึงเปน็ รปู ธรรมแบบวัตถุสิง่ ตา่ ง ๆ ทีม่ นษุ ยส์ ร้างขึน้ วฒั นธรรมไมไ่ ดห้ มายถงึ
แค่ศิลปะและวรรณกรรม แต่รวมถึงฐานนิยมต่าง ๆ ของชีวิต สิทธิพื้นฐานต่าง ๆ ระบบค่านิยม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ความเชอื่ ภาษา อาหารการกิน เครอ่ื งใช้ไมส้ อย อกี ท้ังเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนในสังคมให้
ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเปน็ ไปตามครรลองคลองธรรมอกี ดว้ ย

ลักษณะของวัฒนธรรม

ณรงค์ เส็งประชา (2532 : 5-6) กล่าวว่า ทุกสังคมต้องมวี ัฒนธรรม และวัฒนธรรมของแต่ละสงั คม
ย่อมมีลักษณะเฉพาะทีแ่ สดงออกให้ปรากฏ จนทำให้บางท่านใช้เขตของวัฒนธรรมเป็นเครื่องแบ่งอาณาเขตของ
ประเทศชาตไิ ด้ ลกั ษณะเดน่ ของวัฒนธรรมจะประกอบด้วย

1. วฒั นธรรมคอื สิง่ ที่มนุษย์สรา้ งขนึ้ เพือ่ ใชเ้ ป็นสง่ิ ชว่ ยในการดำเนนิ ชีวิต ทกุ สิง่ ทกุ อย่างที่มนุษย์วร้างขึ้น
ลว้ นเปน็ วฒั นธรรม

2. วฒั นธรรม เป็นผลรวมของหลายส่งิ หลายอย่าง (Integrative) เช่น ความรู้ ความเชอ่ื วถิ ีในการดำเนิน
ชีวิต สิ่งของเครื่องใช้ตา่ ง ๆ

9

3. วัฒนธรรมมีลักษณะเปน็ แนวทางพฤติกรรมทีม่ กี ารเรียนรู้กนั ได้ (Learned ways of behavior) มิใช่
เกิดขึ้นเองโดยปราศจากการเรียนรู้มาก่อน และลักษณะของข้อนี้เองที่ทำให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์ กล่าวคอื
พฤติกรรมส่วนใหญ่ของสัตว์ปราศจากการเรยี นร้มู ากอ่ น หรอื กล่าวได้อกี นยั หนงึ่ ว่าพฤตกิ รรมส่วนใหญข่ องสตั ว์เกดิ
จากการเร้าสัญชาตญาณ (Instinct) ส่วนมนุษยน์ ั้นมีสมองอันทรงคุณภาพ จึงสามารถร้จู ักคิด ถ่ายทอด และเรียนรู้
ขบวนการดังกล่าวเกิดข้นึ จากการทบ่ี ุคคลมกี ารติดตอ่ กบั บคุ คลอ่ืนในฐานะทเี่ ป็นสมิกของสงั คม ดังน้ันการเรียนรูจ้ ึง
เป็นลักษณะท่สี ำคัญย่งิ ของวัฒนธรรม

4. วัฒนธรรมมีลักษณะเป็นมรดกแห่งสังคม วัฒนธรรมเป็นผลของการถ่ายทอดและการเรียนรู้ และ
เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในขบวนการดงั กล่าว ก็คือ การสอื่ สารโดยใชส้ ญั ลักษณ์ (Symbolic Communication) ไดแ้ ก่ การที่
มนุษย์มีภาษาท่ีแน่นอน ซึ่งมีส่วนช่วยให้การถา่ ยทอดวัฒนธรรมจากคนรุน่ ก่อน ๆ ดำเนินสืบต่อเนือ่ งกนั มามิขาด
สาย ดังนัน้ วฒั นธรรม จึงมีลักษณะเปน็ “มรดกแหง่ สังคม” (Social Heritage)

5. วัฒนธรรมมีลักษณะเป็น (Super Organic) หมายถึงสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์อย่างเดียวกันในทาง
กายภาพ หรือชวี ภาพนนั้ อาจเปน็ ปรากฏการณ์ทแี่ ตกตา่ งกันไปในแงข่ องวฒั นธรรม กล่าวคือ ของสิ่งหนง่ึ อาจนำเอา
มาใช้ในความหมายทีต่ า่ งกันออกไปในแต่ละสงั คม ท้งั ๆ ท่ีก็คือสิ่งเดียวกนั นน่ั เอง ตัวอย่างเชน่ ลิ้น เปน็ อวัยวะส่วน
หนึ่งของทุกคน ชาวทิเบตนำมาใช้ในการแสดงออกซ่ึงความเคารพนบั ถือดว้ ยการแลบล้นิ สว่ นชาวไทยกลับถือเป็น
อาการแสดงที่ไม่สุภาพ เปน็ ต้น

6. วฒั นธรรม เปน็ วถิ ีชีวิต(ways of life)หรอื แผนดำเนินชีวิต(design for living)ของมนษุ ย์

พทั ยา สายหู (2514 : 2) ได้กล่าวไวว้ ่า วัฒนธรรมเป็นแบบอยา่ งการดำเนินชีวติ ของกลมุ่ สมาชิกเรยี นรับ
ถา่ ยทอดกันไปดว้ ยการสง่ั สอนท้ังทางตรงและทางอ้อม

7. วัฒนธรรม เป็นผลจากการช่วยกนั สร้างสรรค์ของมนุษย์ และได้มีการปรบั ปรุง ดัดแปลง สิ่งใดที่ไมด่ ี
หรือลา้ สมัยกเ็ ลกิ ใช้ไป สิง่ ใดท่ีดกี ็ยังคงเอาไว้ใช้ตอ่ ไป เน การเพาะปลกู เดมิ ใชแ้ รงสตั ว์ ต่อมาเห็นว่าเป็นวธิ ที ี่ลา้ และ
ลา้ สมยั จงึ ประดิษฐห์ รือซอื้ เครอื่ งมือเคร่อื งจกั รมาใชใ้ นงานเพาะปลูกทำใหไ้ ด้ผลผลติ มากขึ้น

วัฒนธรรมยอ่ มมกี ารเปล่ยี นแปลง (Chang) และมีการปรบั ตัว (Adaptive) ได้

8. วฒั นธรรมมใิ ช่เป็นของบุคคลใดบคุ คลหนง่ึ แต่เป็นของส่วนรวมส่งิ ทีจ่ ะถอื เป็นวฒั นธรรมได้จะต้องเป็น
ส่งิ ที่สังคมยอมรบั ถือปฏบิ ตั ิ มิใชเ่ ฉพาะคนใดคนหน่ึงยอมรับถอื ปฏบิ ัติเทา่ น้ัน

10

สมศกั ดิ์ ศรีสันติสขุ (2544 : 13-15) แบ่งลักษณะทส่ี ำคญั ของวัฒนธรรมในสงั คม ไวด้ ังนี้
1. วฒั นธรรมเปน็ ส่ิงจำเปน็ หมายถงึ วัฒนธรรมมคี วามจำเป็นถึงการดำเนนิ ชวี ิตในสังคมมนุษย์ เน่อื งจาก

สงั คมไม่สามารถแยกกนั ได้
2. เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น หมายถึง วัฒนธรรมไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นมาเอง หรือติดตัวมาแต่กำเนิด หรือ

ถ่ายทอดทางพันธุกรรม และความสามารถต่าง ๆ ของมนุษย์ได้สร้างวัฒนธรรมขึ้นมาแล้วกำหนดความหมาย
สญั ลักษณ์ หน้าท่ี ของสิ่งทส่ี ร้างขนึ้ มาจนสมาชิกไดย้ อมรบั เป็นลกั ษณ้เฉพาะของสงั คม

3. วัฒนธรรมมีการยอมรับรว่ มกนั เมื่อมนุษย์ได้สรา้ งวัฒนธรรมขึ้นในสังคมตามความจำเปน็ และความ
เหมาะสมของสงั คมน้นั ๆ แล้ววฒั นธรรมนั้นต้องเปน็ ที่ยอมรบั เห็นพ้องตอ้ งกนั ของสมาชกิ สว่ นใหญ่ในสังคม เพราะ
จะทำใหว้ ัฒนธรรมอยูย่ ง่ั ยนื ตอ่ ไป

4. วฒั นธรรมเป็นสิง่ ท่ีต้องเรยี นรู้ หมายถึงการที่มนุษย์รจู้ ักวฒั นธรรมหรอื ปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมน้ันเกิด
การเรยี นรู้ ไม่ใช่เกดิ จากสญั ชาติญาณ

5. วัฒนธรรม หมายถึงวัฒนธรรมที่มนุษยไ์ ด้สรา้ งข้ึนมานั้นจะดำรงอยู่ในสังคมมนษุ ย์ได้ นอกจากการ
เรยี นรขู้ องสมาชิกแล้วมนษุ ยม์ ีวิธีการถ่ายทอดวฒั นธรรมไปสู่สมาชกิ รนุ่ หลัง ๆ ไดป้ ฏิบัติสืบตอ่ กนั มา

6. วัฒนธรรมของแต่ละสังคม มีความแตกต่าง หมายถึงความแตกต่างที่เกิดขึ้นไม่สามารถที่จะนำมา
เปรยี บเทยี บ ว่าวฒั นธรรมของสังคมใดดีกวา่ กัน ท้ังนีเ้ น่อื งจากแต่ละวัฒนธรรมมีความเหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม
ของแต่ละสังคม ซี่งสมาชิกส่วนใหญ่ในสังคมนัน้ เป็นผู้สร้างขึ้นและยอมรับนำมาปฏบิ ัติ แนวคิดที่ว่าวฒั นธรรม มี
ส่วนเหมาะสมในสังคมนั้น เรียกว่า วัฒนธรรมสัมพัทธ์ (Culteral Relatvism) ส่วนใหญ่สมาชิกบางคนในสังค
อาจจะเห็นว่า วัฒนธรรมของตนดกี ว่าวัฒนธรรมของสงั คมอืน่ โดยยึดเอาชาติพนั ธุข์ องตนเป็นใหญ่ เรียกสมาชิกท่มี ี
แนวคิดแบบนีว้ ่า ความหลงชาตพิ ันธุ์ (Ethnocentrism)

7. วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่เปลีย่ นแปลงได้ หมายถึงวัฒนธรรมจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามความเหมาะสม
ของสภาพแวดล้อมของแต่ละสังคม เนื่องจากสังคมไมไ่ ด้อยู่นิ่ง วัฒนธรรมก็มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตาม
กาลเวลา เน การโดยทว่ั ไป การเปลย่ี นแปลง ที่มาจากนอกสงั คม

8. วัฒนธรรมอาจสลายไปได้ หมายถึง วฒั นธรรมในสงั คมนั้นเมอ่ื ไม่มกี ารถา่ ยทอดสบื ตอ่ แล้ววัฒนธรรม
นั้นจะสลายไปหรือตายไป (Dead Culture) ทั้งนี้เนื่องจากวัฒนธรรมจะมีชีวิตอยู่ เมื่อยังมีมนุษย์และสังคมอยู่
บางครั้งเราไม่ทราบว่า วัฒนธรรม ในสมัยนั้นเป็นอยา่ งไรเพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไม่คอ่ ยสมบูรณ์ หรอื
บางครัง้ เราอาจเหน็ ว่าวัฒนธรรมหน่ึงอาจถกู กลนื จากวัฒนธรรมอนื่ ที่เข้มแข็งกว่า หรือรับเอาวฒั นธรรมมาท้ังหมด
ทำใหว้ ัฒนธรรมเดิมไมค่ ่อยเหน็ มี หรอื หมดไป

9. วัฒนธรรมเป็นผลรวมของหลายสิ่ง หลายอย่าง หมายถึง วัฒนธรรมของสังคมหนึ่งเป็นผลรวมของ
แบบแผนหรอื แนวทางการดำเนินชวี ติ เขา้ ดว้ ยกนั หรือเรยี กว่าแบบแผนวัฒนธรรมซงึ่ ประกอบข้นึ จากสว่ นตา่ ง ๆ

11

10. วัฒนธรรมเป็นมรดกทางสังคม หมายถึง วัฒนธรรมไม่ไดเ้ ป็นของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในสงั คม แต่
เป็นส่วนรวม จงึ เป็นสมบัติของสมาชกิ ทกุ คน
ประเภทของวฒั นธรรม

ณรงค์ เส็งประชา (2532 : 6) กล่าวว่า โดยทั่วไปวัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
วฒั นธรรมที่เปน็ วตั ถุ (Material Culture) และ วัฒนธรรมท่ีไม่ใช่วตั ถุ (Nonmaterial Culture)

วัฒนธรรมที่เป็นวัตถุ ได้แก่ สิ่งประดษิ ฐ์ซึ่งมนุษย์ได้คิดสร้างขึ้น เป็นต้นว่า สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรอื น
อาคารบา้ นเรือน รถยนต์ ปากกา นาฬกิ า ฯลฯ

วัฒนธรรมท่ีไมว่ ตั ถุ ได้แก่ แบบแผนในการดำเนินชวี ิต ความคดิ ความเชือ่ ภาษา ศลี ธรรม วิถีการกระทำ
ฯลฯ

นักสังคมวิทยาบางท่านแบง่ ประเภทของวฒั นธรรมออกเป็น 3 ประเภทคือ
1.วัฒนธรรมทางแนวความคิด (Ideas Thinking)
2.วัฒนธรรมทางบรรทดั ฐาน (Norms-Doing)

1. วฒั นธรรมทางวตั ถุ (Material-Having)

วัฒนธรรมทางแนวความคดิ หมายถงึ วัฒนธรรมท่ีเกี่ยวกบั ความคดิ เหน็ ความเอหรอื ความรสู้ กึ นึก
คิด ซง่ึ อาจถกู หรือผดิ กไ็ ด้ ความเชื่อว่าคนตายแล้วเกดิ การทำบุญ ทำบาป การเช่อื ถือโชคลาง ฯลฯ

วัฒนธรรมทางบรรทัดฐาน ได้แก่ ระเบียบแบบแผนหรือประเพณีที่บุคคลในสังคมยึดถือ หรือ
กฎหมายท่ใี ปฏบิ ัตริ ว่ มกัน ซงึ่ ประกอบด้วย

ก. วิถีชาวบา้ น (Folkways) คือ ระเบียบแบบแผนที่บุคคลในสังคมควรจะปฏิบัติ เช่น การบวช
ของลกู ชายเมื่อมอี ายุครบ 20 ปี เพอื่ ทดแทนคุณบดิ ามารดา การตอ้ นรับแขก เม่ือใครมาเยี่ยมถึงเรือนชานควรจะ
ตอ้ นรับ ถา้ ใครไมป่ ฏิบัตติ ามอาจไดร้ บั การติฉนิ นินทา

ข. กฎหมาย (Laws) ได้แก่ ระเบียบแบบแผนทีท่ กุ คนในสงั คมต้องปฏิบัติตาม หากฝ่าฝนื จะถูก
ลงโทษตามตัวบทกฎหมายหรอื ระเบยี บข้อบงั คบั เน การหยดุ รถเมือ่ มสี ัญญาณไฟแดง ตามจราจร

ค. จารีต (Mores) ได้แก่ ระเบียบแบบแผนทีบ่ ุคคลในสงั คมจะตอ้ งปฏิบัตติ าม หากฝ่าฝนื จะถอื
เป็นการกระทำผิดทางศีลธรรม สังคมอาจรงั เกยี จและอาจถูกตัดออกจากสงั คม ตัวอย่างของจารตี เป็นต้นว่า การ
เล้ยี งดูพ่อแมต่ อบแทนเมือ่ ท่านแกเ่ ฒ่าและเราอยู่ในภาวะทีจ่ ะรับผดิ ชอบได้

วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ วัตถุ สง่ิ ของเครอื่ งใช้ต่าง ๆ ท่ีมนุษยส์ ร้างขน้ึ เพอื่ นำมาใช้ในสงั คม เช่น
เสอ้ื ผ้า อาหาร ยา ทอ่ี ย่อู าศัย

12

ตามประกาศตั้งกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2485 ได้แบ่งประเภทของวัฒนธรรมไว้ 4 ประเภท
ด้วยกนั และถอื วา่ เป็นการแบง่ ประเภทในทางปฏบิ ัติ ซงึ่ แบ่งออกดังนี้

1. คตธิ รรม คอื วัฒนธรรมทเี่ ก่ยี วกับหลักในการดำเนนิ ชีวิต ส่วนใหญเ่ ป็นเร่ืองของจติ ใจและไดม้ า
จากทางศาสนา

2. เนตธิ รรม คือวัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทง้ั ระเบียบประเพณที ย่ี อมรบั นบั ถือว่ามคี วามสำคญั
พอ ๆ กับกฎหมาย

3. วตั ถุธรรม คอื วฒั นธรรมทางวัตถุ เน เครอื่ งนุง่ หม่ บา้ นเรอื น ยารกั ษาโรค เครอื่ งมอื เครื่องใช้
4. สหธรรม คือวัฒนธรรมทางสังคม นอกจากหมายถึงคุณธรรมต่าง ๆ ที่ทำให้คนอยูร่ วมกนั
อย่างผาสุก ถ้อยทีถอ้ ยอาศยั แล้ว ยังรวมท้ังระเบยี บมารยาททจี่ ะติดตอ่ เก่ียวข้องกบั สังคมทกุ ชนิด เช่น การแสดง
ความเคารพ การแต่งกายในโอกาสตา่ ง ๆ
จากการแบง่ วัฒนธรรมไม่ว่าจะแบ่งได้กี่ประเภท โดยใช้เกณฑ์ใดในการแบ่งกต็ าม สิ่งสำคัญคอื
เม่อื แบง่ แล้วเราสามารถนำวัฒนธรรมในสงั คมจดั แจงลงไดใ้ นวฒั นธรรมประเภทใดประเภทหน่งึ ไดค้ รบถ้วนหรือไม่
หากทำได้ตรงตามวตั ถุประสงค์ ถอื ไดว้ า่ วฒั นธรรมถูกแบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ตามจุดประสงคน์ แ้ี ลว้

ความสำคญั ของวัฒนธรรม

ประเวศ วะสี (2548 : 28) ได้กลา่ ววา่ วัฒนธรรม เป็นฐานของการพัฒนาใน ทกุ เร่ืองกลา่ วคอื โครงสร้าง
ของสัมมาพฒั นา ซ่ึงหมายถึงการพฒั นาทถ่ี ูกต้อง อนั พงึ ประกอบด้วย 3 สว่ น คอื ส่วนฐาน สว่ นกลาง และสว่ นยอด
ฐานมคี วามสำคญั มาก เพราะถา้ ฐานถกู ต้องแขง็ แรง โครงสร้างท้งั หมดจะมน่ั คง ฐานเจดีย์ คือฐานวฒั นธรรม ยอด
เจดีย์ คือ ศาสนธรรมหรือการเป็น สังคมที่เข้าถึงความดี ส่วนกลางคือ มัชฌิมาปฏิปทาหรือการพัฒนาที่เชื่อม
ระหวา่ งฐานกับยอดท่ถี ูกต้อง

ณรงค์ เส็งประชา (2532 : 18-19) ไดส้ รุปความสำคัญของวัฒนธรรมไว้ ดังนี้
1. วัฒนธรรมช่วยแก้ปัญหาและสนองความต้องการต่าง ๆ ของมนุษย์ มนุษย์พ้นจากอันตราย

สามารถเอาชนะธรรมชาตไิ ดเ้ พราะมนษุ ยส์ ร้างวัฒนธรรมเข้ามาชว่ ย
2. วัฒนธรรมช่วยเหนี่ยวรั้งสมาชิกในสังคมให้มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และสังคมที่มี

วฒั นธรรมเดียวกันก็ย่อมมคี วามรูส้ กึ ผูกพันเปน็ พวกเดียวกนั
3. เป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ ชาติที่มีวัฒนธรรมสูงย่อมได้รับการยกย่องและเป็น

หลกั ประกนั ความมัน่ คงของชาติ
4. เป็นเครือ่ งกำหนดพฤติกรรมของคนในสังคม ช่วยให้ผู้คนอยู่รว่ มกันอย่างสันตสิ ุข วัฒนธรรม

ทางบรรทัดฐานชว่ ยจัดระเบยี บความสมั พันธข์ องผคู้ นในสงั คม

13

5. ช่วยใหป้ ระเทศชาติมีความเจริญรุง่ เรอื งถาวร โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงถา้ ชาตินนั้ มวี ัฒนธรรมท่ีดี มี
ทศั นคตใิ นการดำเนินชีวติ ที่เหมาะสม ยดึ ม่นั ในหลกั ขยนั ประหยัด อดทน ความมรี ะเบียบวินัยท่ดี ี ฯลฯ สังคมนน้ั ก็
จะเจริญรงุ่ เรือง

วัฒนธรรมเป็นปจั จัยสำคัญในการดำเนนิ ชีวติ ของมนุษย์ เป็นฐานในการพฒั นาในทกุ เร่ือง นอกจากน้ียัง
ช่วยใหม้ นุษยแ์ ละสงั คมพัฒนาขึ้นตามลำดบั อย่างไม่มีทีส่ ้นิ สุด ขนึ้ อยูก่ บั ความสามารถและการมีระเบียบวินัยของ
มนษุ ยใ์ นการรับเอา หรอื สร้างสรรคว์ ัฒนธรรมที่เหมาะสมขน้ึ มาใช้ หากวัฒนธรรมมคี วามเหมาะสมมากจะสง่ ผลให้
สังคมพัฒนา เจรญิ ก้าวหนา้ และกอ่ ให้เกิดประโยน์ต่อการกำรงชีวติ ในสังคม

ทมี่ าของวัฒนธรรม

ทฤษฎี Parallelism ทฤษฎีนม้ี แี นวคิดวา่ วฒั นธรรมนั้นเกดิ ขึ้นในทต่ี า่ ง ๆ พร้อมกัน เนื่องจากธรรมชาติ
ของมนุษย์คล้ายกันมาก ฉะนั้นจึงมีความคิดท่ีคล้ายกัน มนุษย์ที่อยู่ในสถานที่ต่าง ๆ ย่อมสามารถก่อสร้าง
วฒั นธรรมของตนขนึ้ มาได้ จะเหน็ ได้จากการประดษิ ฐ์ส่งิ ของอยา่ งเดียวกนั ในสถานที่ต่างกนั จะแตกตา่ งกันเฉพาะ
ในรปู ลกั ษณะของการประดิษฐ์สงิ่ น้ัน ๆ เช่น ชมุ ชนท่ีอยรู่ ิมแม่น้ำก็มักจะสรา้ งเรือเปน็ พาหนะในชวี ิตประจำวันของ
ตน รูปร่างของเรืออาจจะแตกต่างกัน แต่ประโยชน์ใชส้ อยเหมือนกัน

ทฤษฎี Diffusionism ทฤษฎีนีม้ แี นวความคิดว่าวฒั นธรรมเกิดจากศนู ย์กลางท่ีใดที่หนึ่งเพียงแห่งเดียว
และแพรก่ ระจายไปในชุมชนต่าง ๆ อาจเปน็ กระบวนการคอ่ ยเปน็ ค่อยไปหรอื แพร่กระจายไปอยา่ งกว้างขวาง โดย
จากการประดษิ ฐ์สง่ิ ใหม่ ๆ หรือเกิดสถาบนั ใหม่ โดยทีส่ ถานทท่ี ่อี ยใู่ กลเ้ คยี งหรืออย่หู ่างไกลได้นำวัฒนธรรมนั้นไป
ดดั แปลงใชจ้ นกระท่ังวัฒนธรรมน้นั แพรห่ ลายครอบคลุมไปท่วั โลก กลไกลของการแพร่กระจายวัฒนธรรมนี้ได้แก่
การอพยพลา่ อาณานิคม การทำสงคราม การเผยแพรศ่ าสนา การติดต่อการค้าขาย เปน็ ต้น

จาก ทฤษฎี Parallelism และ ทฤษฎี Diffusionism จะเห็นว่าวฒั นธรรมลว้ นเกดิ มาจากการกระทำเพ่ือ
หาทางออกในการตอบสนองความต้องการของมนุษยใ์ นสังคม ซึ่งมสี ภาพแวดลอ้ มท่ีคลา้ ยคลึงกนั หรืออยูใ่ นบริเวณ
ใกล้เคียงวัฒนธรรมจึงมีความคล้ายกัน หรืออาจเกิดจากการแพรก่ ระจายของวัฒนธรรมผ่านทางการทำสงคราม
การเผยแผ่ศาสนา การตดิ ตอ่ คา้ ขาย การอพยพล่าอาณานิคม จนทำให้วัฒนธรรมมกี ารแพร่หลายไปท่ัวโลก

2. แนวคิดเกี่ยวกบั การผสมผสานทางวฒั นธรรม
การผสมผสานทางวฒั นธรรม (Acculturation)

1) ความหมาย การผสมผสานทางวัฒนธรรม หมายถึง วิธีการที่จะรับเอา วัฒนธรรมของสังคมอืน่ มา
ประพฤติปฏิบัติ เช่น เมื่อเราอยู่สังคมใด เราก็ต้องเอา วัฒนธรรมนั้นมาปฏิบัติ ถ้าหากวัฒนธรรมที่เรารับเอามา
กลายเปน็ สิ่งหน่ึงที่เราปฏิบัติ สืบต่อกันมา การผสมผสานก็จะเกิดขึ้น เช่น คนไทยไปอยู่ตา่ งประเทศนาน ๆ ก็ติด

14

นสิ ยั ด่มื น้ำชา กาแฟ เม่อื กลับประเทศไทย กย็ ังปฏิบัติอยูเ่ ชน่ นนั้ อีก กเ็ ท่ากบั นำเอาวฒั นธรรมดังกลา่ วมาปฏิบัติจน
กลายเป็นสว่ นหนงึ่ ของพฤตกิ รรมทท่ี ำตามปกติ

การผสมกลมกลืน (assimilation ) ที่หมายถึง การดูดซึมทางวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยให้เข้าไปสู่
วัฒนธรรมหลักในสังคม อีกความหมายหน่ึงของการผสมกลมกลืนหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่ทำให้ความ
แตกต่างทางวัฒนธรรมมีแนวโน้มที่จะหมดสิ้นไป (คิวเบอร์ อ้างถึงใน เสาวนีย์ จิตต์หมวด, 2561 : 67) และการ
ผสมกลมกลนื นา่ จะหมายถงึ การทก่ี ลุ่มสงั คมที่มวี ัฒนธรรมต่างกนั รบั เอาวฒั นธรรมทีไ่ ม่ใช่ของตนเขา้ มาปฏิบัติหรือ
พยายามทำให้เกิดการรบั เอาวัฒนธรรมของตนไปปฏิบตั ิเปน็ ส่วนหน่งึ ในวัฒนธรรมเดมิ ของสงั คมอื่น (เสาวนีย์ จิตต์
หมวด, 2561 : 266-267)

สุเทพ สนุ ทรเภสัช (2555 : 556 – 557) กลา่ วไว้ว่า การผสมผสานทางวฒั นธรรมเป็นกระบวนการทำ ให้
เกิดการเคลื่อนไหวและปรากฏการณ์ต่าง ๆ จำนวนหนึ่งไม่มีที่สิ้นสุดและมีหลายขั้นตอน ซึ่งไม่เป็นเพียงแต่การ
ถ่ายทอดลักษณะเดิม ๆ ระหว่างวัฒนธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นกระบวนการของการสร้างสรรค์ที่สืบเนื่องกันไป
ระหว่างกลุ่มทม่ี วี ัฒนธรรมต่างกนั ด้วย อนั เป็นกระบวนการสองทาง (two – ways process)

แฮมมอนด์ (Peter W. Hammond, 1972 : 203) ได้กลา่ วถึงการเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรมและสงั คมซงึ่
จะทำใหเ้ กิดเป็นวัฒนธรรมใหม่ว่าพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ ท่ีสำคญั คือความเชื่อของมนษุ ย์ท่ีมตี อ่ สิ่งต่าง ๆ ซงึ่ จะทำให้ทราบ
ถึงความต้องการของมนุษย์ ความเชื่อจะทำใหเ้ กดิ การปรับตวั ให้เข้ากับวัฒนธรรมที่อยูแ่ วดล้อมและจะเป็นผลให้
เกดิ การเปล่ยี นแปลงในทส่ี ุด ( แฮมมอนด์ อา้ งใน สเุ ทพ สุนทรเภสชั , 2555 : 203)

2) กระบวนการผสมผสาน การผสมผสานทางวัฒนธรรมจะมีมากเมอื่ สงั คมหนงึ่ ถกู รกุ รานหรอื อีกฝ่าย
หน่ึงชนะ พวกทชี่ นะจะพยายามบังคบั พวกทแ่ี พใ้ ห้ปฏบิ ตั ติ ามแบบอย่างการดำรงชีวติ ของตน เชน่ องั กฤษ ฝร่ังเศส
เม่อื ยดึ ครองดนิ แดนตะวนั ออกและแอฟรกิ าใตไ้ ด้ กใ็ ห้ชาวพ้นื เมอื งเรียนภาษาของตน อนิ เดีย พม่า มาเลเซีย จึงพูด
ภาษาอังกฤษไดด้ ี อยา่ งไรกต็ าม การถา่ ยทอดทางวัฒนธรรมนีไ้ ม่จำเป็นเสมอไปทฝ่ี ่ายแพจ้ ะ รับเอาวัฒนธรรมฝ่าย
ชนะ ถา้ ฝา่ ยชนะมีวัฒนธรรมด้อยกวา่ อาจจะรับเอาวฒั นธรรม ฝา่ ยแพ้ก็ได้

กล่าวไดว้ า่ บุคคลอยใู่ นวัฒนธรรมใดก็มักจะปฏบิ ตั ติ ามวฒั นธรรมนน้ั และจะมีพฤติกรรมคล้าย ๆ กับคนอื่น
ในสังคมนัน้ เป็นเพราะผลของการเรียนรูท้ ี่ได้รับการอบรมส่ังสอนมา ไม่ว่าจะโดยแบบรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม แสดงวา่
วฒั นธรรมมอี ิทธพิ ลเหนอื ความคดิ และพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนนั้ ๆ เชน่ ถา้ จะรบั เอาเด็กฝรง่ั มาอบรม เลีย้ ง
ดูแบบไทย เดก็ ก็จะมีลกั ษณะเหมือนคนไทย

กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมไม่ใช่เรื่องง่ายดายเสมอไป บางคนอาจจะถ่ายทอดและรบั งา่ ยกวา่
บุคคลอื่น หรอื บางคนอาจจะต่อต้าน เชน่ ชาวไอริสในสหรฐั มไิ ด้ถูกกลนื หายไปในสังคมอเมริกนั เหมือนชาติอ่ืน ๆ
อย่างไรก็ตาม การผสมผสานทางวัฒนธรรมมักจะเกิดขึ้นเมื่อสมาชิกของวัฒนธรรมหนึ่งเกิดติดต่อเกี่ยวข้องกับ
สมาชิกของอีกวัฒนธรรมหนึ่งเป็นเวลานาน ชาวอังกฤษจะแต่งตัวเต็มเกียรติเต็มยศ กินอาหารในป่าของไทย
แตเ่ ขาจะต้องทำตามประเพณไี ทยบางอย่าง เช่น ขบั รถทางซ้าย เข้าโบสถ์ถอดรองเทา้ ซ้อื ของต้องใช้เงินไทย เป็น

15

ตน้ โดยท่ัวไป เราจะรับเอาวฒั นธรรมของเราจากการอบรมส่งั สอน แตเ่ ราจะรบั เอาวฒั นธรรมคนอื่นจากการติดตอ่
จากการเดนิ ทาง จากการอยตู่ ่างแดน จากหนังสือหรือขอ้ เขยี น และจากวธิ ีการอ่ืน ๆ อีก
2.1 ความสำคัญของการผสมผสานทางวฒั นธรรม

การผสมผสานทางวฒั นธรรม (Acculturation) เป็นการผสมผสานวัฒนธรรมระหว่าง 2 กลุ่ม ที่มีสงั คม
และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน มามีปฏิสัมพันธ์กัน โดยต่างฝ่ายต่างจะทำการรับวัฒนธรรมของอีกฝ่ายมา โดยจะ
พบวา่ ระหว่างวฒั นธรรม 2 กลุ่มนจี้ ะมฝี ่ายใดฝ่ายหนง่ึ ทเี่ ปน็ วัฒนธรรมทีเ่ ข้มแข็งและมพี ลงั มากกวา่ แต่ก็จะมีการ
แลกเปลี่ยนกันจนในที่สุดกลายเป็นการรวมวัฒนธรรมจากทั้ง 2 กลุ่ม ผสมผสานกันเป็นกลุ่มเดียวกัน เป็นการ
ผสมผสานกันทางวัฒนธรรมโดย ศรีสมพร สุขวงศา (2551 : 17) ได้ให้ความหมายของ “การผสมผสานทาง
วัฒนธรรม” ไว้ว่าเป็นการเชื่อมต่อและทอดแทรกทางวัฒนธรรม ที่ต่างมีการทำปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในบคุ คล
กลุ่มคนชุมชน โดยในทา้ ยท่สี ดุ แตล่ ะ่ ฝ่ายต่างมีการเปลีย่ นแปลงทางวัฒนธรรม กลายมาเปน็ วฒั นธรรมใหม่ท่ีเป็นท่ี
ยอมรับและใช้ร่วมกัน โดยการผสมผสานนี้เป็นกระบวนการที่เกิดข้ึน อย่างค่อยเป็นคอ่ ยไป ทำให้ความแตกต่าง
และการแขง่ ขนั ระหว่างวฒั นธรรมของทั้ง สองฝา่ ยค่อย ๆ กลนื หายไป

งามพิศ สัตย์สงวน (2555 : 22, อ้างใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 17) “การผสมผสานทางวัฒนธรรม”
เป็นรูปแบบหนง่ึ ของการติดต่อทางวัฒนธรรม เปน็ ผลมาจากปัจเจกชนหรือกล่มุ คนต่าง ๆ รับเอาวฒั นธรรมอื่น ๆ
มาเป็นของตนเองปรากฏการณ์เช่นน้ีเกิดขึ้นแล้วและกำลังเกิดข้ึน และจะเกดิ ข้ึนในอนาคต เช่น นักศึกษาไทยใน
ประเทศสหรฐั อเมริกา ถ้ามีการตดิ ต่อกับวัฒนธรรมอเมริกันไปเรือ่ ย ๆ การแต่งงานข้ามวฒั นธรรมอาจเกิดขึ้นได้
นอกจากการแต่งงานข้ามวัฒนธรรมแล้วอาจมีการเปลี่ยนสัญชาติและการกระทำอื่น ๆ ที่ทำให้กระบวนการ
ผสมผสานทางวัฒนธรรมเกิดเร็วขึ้น กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมเกิดขึ้นเหมือนกัน ถึงแม้ปัจจัยที่ช่วย
เสริมหรือช่วยกีดกันกระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมแตกต่างกันไปตามสถานการณ์ต่าง ๆ กระบวนการ
ดังกล่าวจะเกิดขึ้นในวัฒนธรรมย่อยด้วย เนื่องจากการติดต่อระหว่างกลุ่มต่าง ๆ สำหรับในสังคมกระบวนการ
ดังกล่าวเกดิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็วเมื่อรฐั บาลเร่งรัดพฒั นาชนบท และกลุ่มชาตพิ ันธุก์ ลุ่มตา่ ง ๆ และรัฐบาลใชน้ โยบาย
ผสมผสานทางวัฒนธรรมคือใช้จิตสำนึกความเป็นรัฐชาติ สร้างค่านิยมในวัฒนธรรมรวมหรอื วัฒนธรรมของชาติ
การผสมผสานทางวฒั นธรรมของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์ต่าง ๆ อาจเกดิ เร็วข้นึ เมื่อมคี วามกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีและการ
คมนาคม

Teske and Nelson (1973, อ้างใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 17) มโนทัศน์ การผสมผสานทาง
วัฒนธรรม ซึ่งมกั จะเกดิ ขึ้น เมือ่ กลุ่มท่ีเก่ยี วข้องมีทศั นคตทิ ี่ดตี อ่ กนั และในการผสมผสานวฒั นธรรมนั้น ตา่ งก็มีการ
ปรบั เปล่ียนความหมายใหเ้ ข้ากบั วฒั นธรรมเดมิ ของแต่ละกลุม่ อย่างไรกต็ ามมคี วามเป็นไปได้ว่าการผสมผสานทาง
วัฒนธรรมอาจเกดิ ขึน้ ในสภาพที่ถูกบงั คับ

คายส์ (1979, อ้างใน ศรสี มพร สุขวงศา, 2551 : 17) ระบุว่าการดำรงอยูข่ องกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุนน้ั ขึ้น อยู่กับ
หลายเงื่อนไข เช่น ความแตกต่างทางวัฒนธรรมและความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง ซึ่งอาจเป็นเรื่องของการเข้าถงึ
ทรัพยากรในการผลิตอำนาจความรู้ สิทธิกฎหมาย และผู้หญิง เป็นต้นและอัตลักษณ์ชาติพันธ์ุ จึงมีหน้าที่และ

16

ความหมายในการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมแบบใหม่ แต่เมอื่ สถานการณ์บางอยา่ งในสงั คมมีการเปล่ยี นแปลง เช่น กล่มุ
ชาตพิ นั ธุก์ ลมกลืนทางวัฒนธรรมจนยากจะหาสญั ลักษณ์ความแตกตา่ งหรือสภาวะความขดั แยง้ เชงิ โครงสรา้ งสลาย
ไป นอกจากน้ีมีปัจจัยอ่ืนอีกหลายอยา่ งท่ีมีผลตอ่ ความยาก-ง่ายในการรับวฒั นธรรใหม่ เช่น อายุ เพศ การศึกษา
อาชีพ การอยู่ใกล้หรือไกลตัวเมือง การคมนาคม สื่อสาร การเผยแพร่ ผู้เผยแพร่ความคิดสิ่งใหม่ๆหรือที่เรียกว่า
“นวัตกรรม”

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2554 : 38, อ้างใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 27) กล่าวถึงการผสมผสานทาง
วัฒนธรรม หมายถึง การรับเอาวัฒนธรรมของสังคมอืน่ มาปฏิบัติและกลายเป็นวัฒนธรรมที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา
การผสมผสานวัฒนธรรมจะทำใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงข้นึ ได้
2.2 ทฤษฎกี ารผสมผสานทางวัฒนธรรม

เรดฟิวด์ (Redfield, 1960 : 30 – 32) กล่าวว่าการผสมผสานทางวัฒนธรรมเป็นพื้นฐานของการผสม
กลมกลนื เม่อื คนเรามาอยรู่ ว่ มกันในสงั คมเดียวกนั ย่อมมีการกำหนดแนวทางระเบียบข้อบงั คบั ต่าง ๆ เพ่ือใหส้ ังคม
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยและมีการกระทำ ที่เป็นไปในแนวทางอันเดียวกัน การทีส่ ังคมยอมรบั ในข้อกำ หนด
เหล่าน้ันย่อมถือได้ว่าเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ข้ึนอันเกิดจากการท่ีกลุม่ คนแตกต่างกนั มีความสัมพันธก์ ัน จน
เกิดการผสมผสานทางวฒั นธรรม และเป็นการผสมกลมกลนื กนั ที่เหมาะสมด้วย

ทฤษฎีการผสมผสานทางวฒั นธรรม แบ่งออกเปน็ สองกลมุ่ คือ กลมุ่ ทีเ่ ชอ่ื ว่าการผสมผสานทางวัฒนธรรม
ในทา้ ยท่ีสดุ จะนำ ไปส่ภู าวะสุดท้ายทเ่ี รียกวา่ “สภาพชวี ติ วัฒนธรรมรว่ มกนั ” คือไม่มีความแตกต่างระหว่างคนส่วน
น้อยกับคนส่วนใหญ่หลงเหลืออยู่เลย กลุ่มที่เชื่อแนวความคิดนี้ถูกขนานนามว่า “ทฤษฎีวัฒนธรรมผสมผสาน”
(melting pot theory) (ชาญชัย จริ วรรณธนกจิ , 2559 : 18) ส่วนอีกกลมุ่ หนึ่งมีความเหน็ ตรงกันขา้ มคอื ไม่เช่อื วา่
กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมจะนำไปสู่ภาวะการสลายตัวของวัฒนธรรมเดิมของชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ จน
หมดสิ้น หากแต่เชื่อว่าการผสมผสานทางวัฒนธรรมจะดำเนนิ ไปถงึ ภาวะที่ก่อให้เกดิ การยอมรับในความแตกต่าง
ของวฒั นธรรมระหวา่ งกลุ่มชนทมี่ ารวมกันเข้าเปน็ สมาชิกของประเทศเดียวกัน การยอมรบั เช่นนแี้ สดงให้เห็นว่ามี
การลดอคติและการถือเขาถือเราลงไดบ้ ้างแต่จะไมม่ ีวนั หมดไปทีเดียวอย่างไรก็ดคี นต่างวฒั นธรรมกันเหล่านี้ก็อยู่
ร่วมกันภายในสังคมเดียวกันและปฏิบัติหน้าที่ต่อสังคมใหญ่ตามกฎหมายเท่าเทียมกันเป็นการยอมรับว่า
“วัฒนธรรมย่อย” (subculture) ยังมีอยู่และก็คงจะมีอยู่เรื่อยไป กลุ่มที่มีความเชื่อเช่นนี้ถูกเรียกว่า “ทฤษฎี
วัฒนธรรม” (cultural pluralism theory) (สนทิ สมคั รการ, 2555 : 26 – 27) อน่งึ สำหรบั ปจั จยั ท่ีมีส่วนให้เกิด
การเปลยี่ นแปลงในวัฒนธรรมเดมิ ของตนเปน็ ผลทำ ให้การปรบั ตวั เข้ากับวฒั นธรรม หรือเป็นเรอ่ื งของการยอมรับ
วัฒนธรรมใหม่ไปปฏิบัติในเร่ืองใด เร่อื งหนึ่งนัน้ มีปัจจัยที่สรุปได้ คอื

1. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change agent) ต้องมีความสามารถในการวางแผนคาดคะเนมี
ความสามารถในการถ่ายทอดข่าวสาร มคี วามรูค้ วามชำ นาญในเรอื่ งทีจ่ ะนำ ไปเผยแพรแ่ ละมีความสามารถในการ
เลือกส่อื กลางในการติดตอ่

17

2. สง่ิ ปฏบิ ัตใิ หม่ ๆ หรือความคดิ ใหม่ (innovation) ที่จะนำ ไปเผยแพร่เพ่อื ใหเ้ กิดการยอมรับสงิ่ ใหม่
หมายความว่าส่งิ น้นั ต้องนำ ไปปฏบิ ตั ไิ ด้จริง ไมย่ ่งุ ยาก ประหยดั และเหมาะสมกับสง่ิ ท่มี ีอยแู่ ล้วในสังคม

3. ผู้รับการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะขึ้นอยู่กบั ลักษณะพื้นฐานโดยทั่วไปความสามารถในการรับข่าวสาร
ตลอดจนทัศนคตทิ ม่ี ตี ่อสิง่ ใหม่ตอ่ ผนู้ ำ การเปล่ยี นแปลงและตอ่ ตนเอง

4. สภาพสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่สภาพสังคมและวัฒนธรรมเดิมจะเอื้ออำนวยต่อ การยอมรับ
วัฒนธรรมใหม่ได้แค่ไหน อย่างไร เช่นระบบการถือครองที่ดิน องค์การทางสังคม สภาพทางภูมิศาสตร์และ
ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนความเชอ่ื บางประการของคนในสังคม

5. สมรรถภาพในการดำเนินงานของสถาบนั ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะทำ ให้
กลมุ่ คนนั้น ๆ เห็นถึงผลประโยชนห์ รอื เสียผลประโยชนใ์ นการยอมรบั วฒั นธรรมใหม่ได้แค่ไหน

การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม เป็นส่วนหนง่ึ ของจุดเริ่มตน้ การผสมกลมกลืนทางวฒั นธรรมสรุปได้
ว่าการให้และการรับวัฒนธรรมนั้นมักจะเกิดขึ้นโดยการไม่จงใจ ไม่รู้ตัว ไม่มีการบังคับหรือไม่มีข้อกำหนดใด ๆ
อย่างแน่ชัด โดยจะมีลักษณะเป็นการเรียนรู้โดยจิตใต้สำนึกทั้งผู้ให้และผู้รับทางวัฒนธรรมต่างก็พยายามที่จะ
ปรับตัว หรอื ท่ีตนใหห้ มาะสมกบั วัฒนธรรมในขณะนั้น ในระยะเวลาต่อมาย่อมจะมกี ารผสมกลมกลืนกันข้ึนเพราะ
ต่างฝา่ ยต่างกพ็ ยายามทจี่ ะปรับตัวเขา้ หากนั (บรรพต วีระวิไล, 2554 : 36 )
2.3 การบรู ณาการทางวฒั นธรรม (Culture Integration)

Hess et al. (1988, อ้างใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 22) ได้กล่าวว่า กระบวนการบูรณาการของกลุ่ม
ชาติพันธุ์ต่าง ๆ ปรากฏว่ามีแนวคิดอยู่ 2 รูปแบบคือ The Melting Pot และ Culture Pluralism รูปแบบแรกที่
เรียกว่า The Melting Pot หมายถงึ กลุ่มชาติพนั ธน์ุ ัน้ ๆ จะสูญเสียอตั ลกั ษณข์ องตนเองไปในท่ีสุดเมื่อเวลาผา่ นไป
และผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมใหญ่ ส่วนอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า Culture Pluralism (พหุทางวัฒนธรรม)
หมายถงึ การยอมรับความแตกต่างทางวฒั นธรรมของกล่มุ ชาตพิ ันธ์ตุ ่าง ๆ ในสังคมนัน้ ๆ โดยแต่ละกลุ่มชาติพันธ์ุ
จะพยายามรักษาอัตลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของตนไว้ และมีความรู้สกึ ภาคภูมิใจในวฒั นธรรมของตนและเพ่ิมความ
ตระหนักถึงความเป็นกลุ่มชาติพันธเ์ุ ดียวกนั ยิ่งข้นึ

ศรีสมพร สุขวงศา (2551 : 27) หลังจากวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างกนั สองวัฒนธรรมมาพบกันสมั ผัสกัน และ
เกิดการหยิบยืมแลกเปลีย่ นกนั ใช้ในระยะเวลาทส่ี ม่ำเสมอและยาวนานพอสมควรวฒั นธรรมท้ัง สองจะผสมผสาน
กันปะปนกันไปหมด แต่ก็ยังรู้ว่าวัฒนธรรมของใครไม่ถึงกับปะปนกันจนแยกไม่ออกเม่ือผู้หยิบยมื วฒั นธรรมผู้อื่น
กลับเข้ามาสู่ชนเดิมของตน วัฒนธรรมเดิมนั้นก็จะดำรงรูปแบบเดิมได้ดีอยู่บุคคลผู้นั้นก็ยังประพฤติปฏิบัติตาม
วัฒนธรรมเดิมของตนไปตามเดิม แต่เม่ือมาพบปะหรือเผชิญกับคนจากวัฒนธรรมอื่นอีกเขาก็จะผสมผสาน
วัฒนธรรมของเขาเข้ากับวัฒนธรรมใหม่ที่มาสัมผสั กันอีก การรับวัฒนธรรมใหม่อิงใสก่ ารปลูกฝังวัฒนธรรมอย่าง
มากตรงที่ถ้าบุคคลได้รับการปลูกฝังวัฒนธรรมมาอย่างดีมาก ประพฤติยึดมั่นกับวัฒนธรรมที่ตนปลูกฝังมาแล้ว
การรับวัฒนธรรมใหม่จะเป็นไปได้ค่อนข้างยาก ในทางตรงกันข้ามถ้าบุคคลถูกปลูกฝังวัฒนธรรมเดิมอย่าง
หละหลวม ไม่ใคร่อยู่ในกรอบของระเบียบกฎเกณฑข์ องสังคมเท่าใดนกั การรบั วัฒนธรรมจะเป็นไปได้โดยง่าย ใน

18

เรื่องของชาติพนั ธุ์สัมพันธ์แลว้ ปรากฎการณข์ องระดับปฏิบัตริ ะหว่างคนสองวัฒนธรรมส่วนใหญ่จะเน้นหนักอยู่ที่
การผสมผสานมากกว่าการกลืนกลายทางวัฒนธรรม และสงั คม “หลากหลาย” วัฒนธรรม หรือ “สังคมพหุ” ก็คือ
สังคมท่ีมคี นจากหลายๆ วัฒนธรรมมาอยู่รวมกันและต่างคนต่างปฏิบัติตามวัฒนธรรมเดิมของตนไป ไม่สนใจกัน
เช่น สงั คมอเมรกิ ัน เป็นต้น การผสมผสานวฒั นธรรมย่อมเกิดแนน่ อนในเวลาผา่ นไป แต่กไ็ มถ่ งึ กบั มกี ารกลืนกลาย
มากนกั แม้ชนผวิ ดำ (นิโกร) ซึ่งอยกู่ บั คนผวิ ขาวมานานนบั ร้อยปีขึน้ ไปก็ยังดำรงวัฒนธรรมผิวดำได้อย่างดี

ทำใหเ้ หน็ วา่ ผสมผสานทางวัฒนธรรมและการบรู ณาการทางวฒั นธรรม มไี ดห้ ลายรูปแบบ มีท้ัง ทีเ่ ปน็ การ
ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมแลว้ ทำให้วัฒนธรรมดัง้ เดมิ ของตนเองหายไปซ่ึงอาจเกิดได้จากการย้ายถิ่นฐาน เช่น
เมือ่ กล่มุ บุคคลไดม้ ีการย้ายถิ่นฐานแบบถาวร เม่อื เกดิ ทายาทร่นุ ตอ่ ๆ มา วัฒนธรรมดัง้ เดิมท่ตี ิดตวั มานน้ั ไม่ได้รับ
การถ่ายทอดตอ่ ๆ ไปดว้ ย หรือรปู แบบที่แม้จะมีการผสมผสานทางวัฒนธรรมกย็ ังคงพยายามรักษาวฒั นธรรมเดิม
ของตนเองไว้อยู่ จะเห็นได้จากกลุม่ คนจนี ทแ่ี ม้จะมีการยา้ ยถน่ิ ฐาน ก็ยงั คงเห็นวัฒนธรรมจนี ที่มกี ารถา่ ยทอดจากรนุ่
สูร่ นุ่ ซง่ึ การผสมผสานทางวัฒนธรรมนก้ี เ็ กดิ จากการที่กลุ่มบคุ คลทมี่ าจากหลากหลายวัฒนธรรมทำการสอ่ื สารและ
มีปฏสิ มั พันธ์ระหว่างกัน รวมท้ัง มีการพยายามปรบั ตวั เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั การดำรงชีวติ
3. แนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกบั การปรับตวั ทางวัฒนธรรม

ตั้งแต่อดตี สงั คมมีการเปล่ยี นแปลงไมห่ ยดุ นิ่งอยู่ตลอดเวลา เมือ่ สงั คมมีการเปลี่ยนแปลงตวั มนุษย์เอง
ย่อมต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ดังนั้น มนุษย์จะต้องรูจ้ กั การปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมและสังคมที่อาศัยอยู่
เพื่อช่วยใหไ้ ดเ้ ขา้ ไปเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คม และเป็นท่ียอมรบั ของสงั คมวัฒนธรรมนน้ั ได้ สำหรบั แนวคิดและทฤษฎี
เก่ยี วกบั การปรับตัวขา้ มวัฒนธรรม ขอกลา่ วถึง
ความหมายของการปรับตัว ดังน้ี

ความหมายของการปรบั ตวั
ก่อนทจ่ี ะศึกษาถึงการปรับตวั ขา้ มวฒั นธรรมจะขอทำการศึกษาถงึ ความหมายของการปรบั ตวั โดยได้มี

ผใู้ หค้ วามหมายของการปรับตวั ไว้ ดงั นี้
Gilmer (อา้ งใน ชอ่ ลดั ดา โรจนด์ ำรงฤทธิ์, 2553 : 12) กล่าวว่า การปรับตวั เป็นกระบวนการทมี่ นษุ ยม์ ี

ปฏกิ ิรยิ าโตต้ อบกับส่ิงแวดลอ้ มรอบตัวเป็นการปรบั ตัวเขา้ กับปัญหารวมถึง การปรบั สภาพปญั หาท่ีเป็นอยใู่ หเ้ ข้ากับ
ความตอ้ งการด้วย

Throp and Schumuller (อ้างใน ชอ่ ลัดดา โรจน์ดำรงฤทธิ์, 2553 : 9) ได้แบง่ การปรับตวั ของบุคคล
ออกเปน็ 2 ลักษณะ คอื การปรบั ตัวดา้ นส่วนตัว (Personal Adjustment) ซึ่งหมายถงึ ความคดิ ความรสู้ ึกที่บคุ คล
มีต่อตนเอง และการปรับตัวทางสังคม (Social Adjustment) หมายถึง ความคิดความรู้สึกหรือพฤติกรรมของ
บุคคลที่มีต่อบุคคลอื่น และเห็นว่าบุคคลที่มีสุขภาพจิตดี คือผู้ที่สามารถทำให้การปรับตัวด้านส่วนตัวและการ
ปรับตัวทางสังคมอยู่ในลกั ษณะสมดลุ กัน

กลอยกลม ขวัญเยื้องพันธุ์ (2556, อ้างใน Ren Zhiyuan, 2555 : 12) ได้อธิบายความหมายของการ
ปรบั ตวั ทางวฒั นธรรมว่า มคี วามสัมพันธก์ ับทางด้านจิตใจอยา่ งเห็นได้ชัด เนอื่ งจากเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลง

19

อย่างชา้ ๆ ของอตั ลกั ษณ์เดมิ ไปสูอ่ ตั ลกั ษณใ์ หม่ กล่าวคือ การทบ่ี คุ คลตอ้ งเข้าไปอยู่ในสภาพแวดล้อมท่มี วี ัฒนธรรม
ต่างไปจากเดิม หรอื เขา้ สู่วฒั นธรรมใหม่ เป็นเหตุใหบ้ ุคคลเกดิ ความตึงเครยี ดและสง่ ผลกระทบตอ่ อาการทางจิตใจ
และรา่ งกายได้ อีกนัยหนง่ึ คือ การเกดิ สภาวะต่ืนตระหนกทางวัฒนธรรม (Culture Shock) เมื่อตอ้ งเผชิญกบั สง่ิ ไม่
คุ้นเคย สัญลักษณ์ต่างๆ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้บุคคลนั้น รู้ว่าควรปฏบิ ตั ิอย่างไรเมื่อตอ้ งอยู่ในสถานที่ หรือ
วัฒนธรรมใหม่

Irving (อ้างใน เกตุแก้ว จินคาโรจน์, 2556 : 9) ให้ความหมายของการปรับตัวว่าเป็นความสัมพันธ์
ระหว่างคนกบั สิ่งแวดล้อม โดยวดั ระดับความพึงพอใจในความตอ้ งการพ้ืนฐานและพฤตกิ รรมต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุ
เปา้ หมายของตน การปรบั ตัว หมายถงึ ความสามารถในการเผชิญปญั หาตา่ ง ๆ ความเป็นอยู่โดยต้องคำนึงถงึ ความ
เป็นจริงต่าง ๆ นอกจากนี้ยังต้องเป็นผู้ที่อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขภายใตก้ ฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของสังคมที่เข้าไป
เกย่ี วขอ้ ง

โสภชา จันทร์ และสรุ างค์ จันทร์เอม (อ้างใน กุลนรี หาญพัฒนชยั กูร, 2558 : 10)ให้ความหมายของ
การปรับตัววา่ เป็นการทีบ่ คุ คลแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ให้บรรลเุ ปา้ หมายปลายทางในสภาพแวดล้อมของตน มนษุ ย์
ต้องมีการปรับตัว โดยแต่ละคนจะมีแบบแผนในการปรับตัวแตกต่างกันเพื่อสนองความต้องการ ซึ่งนอกจาก
ตอบสนองความต้องการของรา่ งกายแล้วยงั ตอบสนองความต้องการทางอารมณ์สงั คมด้วย

นิภา นิธยายน (2559 : 11, อ้างใน ปัทมาภรณ์ ธรรมทัต, 2552 : 7) กล่าวถึงการปรับตัวว่าใน
ชีวติ ประจำวันของมนษุ ยต์ อ้ งเผชญิ กับส่งิ แวดล้อมท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเปน็ การเปล่ียนแปลง
ท่เี กดิ ขนึ้ ในตวั บุคคล หรอื จากสภาพธรรมชาติทอี่ ยรู่ อบ ๆ ตัว สง่ิ ท่กี ลา่ วนจ้ี ะรบกวนดุลยภาวะของบุคคลเป็นเหตุ
ให้บุคคลต้องปรับตัวเพื่อดำรงไว้ซึ่งความมั่นคงของชีวิต หากไม่มีการปรับตัวจะทำให้เกิดความคับข้องใจ
ความขัดแย้ง วิตกกังวล เป็นผลให้บุคคลมีความตึงเครียดทางจิตใจและอารมณ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มนุษย์จึง
จำเปน็ ตอ้ งหาทางออกหรอื หาวิธแี กป้ ัญหาตา่ ง ๆ ทเี่ รียกว่า กระบวนการปรบั ตัว

พัทยา สายหู (2559 : 18, อ้างใน ปัทมาภรณ์ ธรรมทัต, 2552 : 21) กล่าวว่า การปรับตัวให้เข้ากับ
สิง่ แวดล้อมเป็นคณุ ลกั ษณะหนงึ่ ของส่งิ มีชวี ิตทง้ั หลายไม่ว่าจะเปน็ พืช สัตว์ หรือมนษุ ยโ์ ดยเฉพาะอย่างยิ่งมนุษย์ที่
อยู่กับเป็นสังคมมีปฏิกิริยาระหว่างกันตลอดเวลาเพื่อสนองผลประโยชน์ของกันและกัน สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิด
ความรู้สกึ เป็นกลมุ่ เดยี วกัน

ประเสริฐ แย้มกล่นิ ฟุง้ (2558 : 3; อ้างใน อบุ ล เสถียรปกริ ณกร, 2551 : 30) กลา่ วว่า สงั คมจะย่งั ยนื
อยู่ได้ก็เพราะสมาชิกของสงั คมยึดถอื วฒั นธรรมเป็นหลักในการดำรงชีวิต การปรบั ตวั ให้เขา้ กับสภาพแวดล้อมทาง
สังคมและวฒั นธรรมจงึ เป็นสง่ิ จำเป็นท่ีมนษุ ยท์ กุ คนตอ้ งประสบอยตู่ ลอดเวลา หากใครสามารถปรับตวั ได้ดีก็จะเป็น
ผูท้ สี่ ามารถดำรงชวี ติ อยใู่ นโลกน้ไี ดอ้ ย่างปกติสุข

สรุปได้ว่า การปรับตัว คือ การที่มนุษย์ในสงั คมต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงทางสภาพแวดลอ้ มอยู่
ตลอดเวลา ทำให้มนุษย์ต้องเรยี นรูท้ ี่จะปรับตัวใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดล้อมนั้น เพ่ือสนองตอ่ ความตอ้ งการของตนเอง
โดยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความคิด หรืออาจจะเป็นความรู้สึกเพื่อให้กลมกลืนไปกับสถานการณ์และ

20

สภาพแวดล้อมทีอ่ ยู่ ทำให้เป็นท่ียอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคมนั้น ๆ หากไม่มกี ารปรับตัวจะทำใหเ้ กดิ ความตงึ
เครียดทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจรู้สกึ แตกแยกจากสงั คมและใครที่สามารถปรับตัวใหเ้ ข้ากับสภาพแวดลอ้ มนนั้ ได้ ก็
จะสามารถดำรงอยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

3. กระบวนการ แนวคดิ และทฤษฎีในการปรับตวั
ในเรอื่ งทีเ่ กยี่ วกับกระบวนการปรับตัวนั้น Heyns (อ้างใน จุฑาทพิ ย์ บญุ รอด, 2555 : 13) ได้กล่าวว่า

กระบวนการปรับตัวเป็นผลที่เกิดขึ้น จากความต้องการ ความตึงเครียด หรือแรงขับที่ถูกกระตุ้นเร้าจนกระทง่ั
ความต้องการนน้ั จะไดร้ ับการตอบสนอง จนทำให้ความตงึ เครียดลดลง หรอื แรงขบั นน้ั ได้หมดไป

นอกจากนี้ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ (2550 : 23, อ้างใน จุฑาทิพย์ บุญรอด, 2555 : 30) ก็ได้แบ่ง
กระบวนการในการปรบั ตัวออกเปน็ 2 ระดบั คือ

1. การปรับตวั ท่เี รารตู้ ัว (Conscious Attempt of Adjustment) โดยสามารถทำได้ 2 ทาง คอื
1.1 การที่มนุษย์เพิ่มความพยายามให้มากขึ้น เพื่อที่จะเอาชนะอุปสรรค รวมถึงความยุ่งยาก

ตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น ซ่งึ ท้ังหมดน้กี เ็ พ่อื ให้สามารถบรรลุเปา้ หมายทว่ี างไว้
1.2 เม่ือตง้ั เป้าหมายไว้จนสูงเกนิ ไป และไมส่ ามารถท่ีจะบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีตง้ั ไวน้ ้ัน ได้ก็ทำ

การปรับตวั เพือ่ เปล่ยี นเปา้ หมายทีต่ ง้ั ไว้
2. การปรับตัวที่กระทำไปโดยไม่รู้ตัว (Unconscious Attempt of Adjustment) กล่าวคือเม่ือ

มนษุ ยเ์ กิดปญั หา และไมส่ ามารถแกป้ ัญหานั้น ได้ ก็จะทำให้จิตใจเกดิ ความเครียด เกดิ ความคับข้องใจ และความ
ขดั แย้งในใจ ทำใหจ้ ิตใจของมนุษยห์ าทางออกบางอย่างให้กับตนเอง ส่งิ น้นั
คอื วิธกี ารปรับตัวที่เรียกกนั ว่า กลไกทางจิตหรอื กลไกปอ้ งกันตวั เอง ซงึ่ เป็นสิ่งที่มนษุ ย์สรา้ งขน้ึ มา
เพื่อให้ตนเองเกิดความรสู้ ึกสบายใจ ไร้ความวิตกกังวล

ทางด้าน Hoffsommer (1958, อ้างใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 20) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
กระบวนการปรับตัว ซึ่งมีอยู่ 2 ประการ คือ 1) การดัดแปลง (Adaptation) ซึ่งหมายถึงการปรับตัวทางชีวภาพ
หรอื ทางรา่ งกาย เปน็ การปรบั ตัวเพื่อความอยู่รอดในสังคม โดยเป็นผลมาจากการทีผ่ ู้คนยา้ ยถิน่ เข้ามาอยู่ในสังคม
ใหม่ๆ ต้องทำการปรับตัวเองเพื่อให้เกิดความสมดลุ ทางชีวภาพ และถ่ายทอดกันด้วยวิธีการทางชีวภาพ และ 2)
การปรับเปลี่ยนทางสังคม (Social Adjustment) หมายถึง เป็นการปรับตัวเพื่อทำให้สามารถอยู่ในภาวะท่ี
เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ เกิดจากผลความขัดแย้งทั้ง ผู้ย้ายถิ่นใหม่และผู้ย้ายถิ่นเดิม เนื่องจากการ
ปรับตวั ทางสังคมจะมกี ารถ่ายทอดโดยทางวัฒนธรรมและประเพณีทำใหต้ อ้ งปรับตวั เขา้ หากนั โดยทางฝ่ายไหนจะ
เปน็ ผทู้ ีต่ ้องปรับตวั มากหรอื น้อยกว่ากนั นั้น กจ็ ะข้นึ อยูก่ บั เง่ือนไขของสภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นอยูน่ น้ั

แนวความคดิ ของ Roy (1962, อา้ งใน ศรีสมพร สุขวงศา, 2551 : 13) ใน เร่ืองกระบวนการปรบั ตวั นนั้
ได้มีการแบง่ ออกเป็น 3 ขั้น ตอน คอื

ขัน้ ตอนที่ 1 เรียกว่า “การผสมกลมกลนื ทางวัฒนธรรม” (Assimilation) เกิดข้นึ โดยการที่บุคคล
รับวฒั นธรรมซึง่ กันและกนั มา

21

ข้ันตอนท่ี 2 เรยี กว่า “การบรู ณาการทางวฒั นธรรม” (Cultural Integration) เปน็ การยอมรับและ
ไมค่ รอบงำซง่ึ กนั และกัน

ขั้นตอนท่ี 3 เรียกว่า “การบูรณาการทางวฒั นธรรมอยา่ งถาวร” (Amalgamation) ยกตัวอยา่ งเชน่
การแต่งงาน โดยจะเป็นการปรับตัวที่เกิดจากการเรียนรู้ผ่านทางสังคม มากกว่าที่จะเกิดจากการถ่ายทอดทาง
พนั ธกุ รรม

โดยศึกษาเพิ่มเติมแนวคิดของ Roy (1962, อ้างใน Banyat Yongyuan, 2001 : 223) เกี่ยวกับการ
แบง่ กระบวนการปรับตัวมี 3 ขนั้ ตอน ดังนี้

1. Acculturation คือ การที่ผูย้ ้ายถ่ินพยายามทีจ่ ะปรับตนเองในเรอ่ื งของ เศรษฐกิจและสังคมให้
เหมือนกับกลุ่มของผูท้ ่ีตนย้ายไปอยู่ โดยมีเครื่องบง่ ชี้ 3 ระดับ กล่าวคือ ระดับการศึกษาระดบั การอยู่อาศยั และ
ระดับของอาชีพ

2. Social Integration คอื จะเกดิ ขน้ึ เม่ือผู้ยา้ ยถน่ิ ได้เขา้ ไปมสี ่วนรว่ มกจิ กรรมในสังคมด้วยกันกับ
ผู้ท่อี ยูอ่ าศัยในถิน่ ทีต่ นย้ายไปอยู่ โดยปราศจากความรสู้ ึกแปลกและแตกต่าง ตวั บ่งชีท่สี ำคญั คอื การเป็นสมาชิก
ของกลมุ่ สมาคม และระดับการมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมของสมาคม

3. Amalgamation คือ จะเกดิ ข้นึ เมอื่ ผ้ยู ้ายถิน่ สามารถปรบั ตัวได้ดีในข้ัน ตอนที่ 1 และข้ันตอนท่ี
2 และมคี วามปรารถนาที่จะอาศัยอยถู่ ่นิ ที่ตนยา้ ยไปอยอู่ ย่างถาวร โดยตวั บ่งชท้ี ส่ี ำคัญ คือ การเปลย่ี นสญั ชาตขิ องผู้
ยา้ ยถนิ่ และการแต่งงานกับบุคคลทีอ่ ยใู่ นถน่ิ ใหมท่ ีต่ นยา้ ยไปอยู่

ซึ่งแนวคิดเร่ือง Amalgamation นีส้ อดคล้องกับ จุฑาพรรธ์ (จามจุรี) ผดุงชีวิต (2551 : 22) เก่ียวกับ
การกลืนกลายทางวัฒนธรรม (Assimilation) ที่หมายถึง การทิ้ง เอกลักษณ์ ละทิ้งวัฒนธรรมเดิมของตน และ
ยอมรับวัฒนธรรมใหม่อย่างเต็มตัว ซึ่งกระบวนการกลืนกลายลักษณะนี้จะเป็นระยะยาว กล่าวคือ เมื่ออยู่ใน
วฒั นธรรมใหม่ กลุ่มคนรุ่นแรกอาจไม่มกี ารกลืนกลายอยา่ งชดั เจน แต่เม่ือเวลาผา่ นไปจนถงึ ร่นุ ลกู -หลานก็จะมีการ
ดำเนนิ ชวี ติ ตามแบบวฒั นธรรมใหม่เท่านัน้

Lysgaard (1955, อ้างใน จุฑาทิพย์ บุญรอด, 2555 : 33) ได้ศึกษากระบวนการในการปรับตัวทาง
วฒั นธรรมแบบทฤษฎเี สน้ โค้ง U (U-Curve Model) โดยจะแบ่งการปรับตวั ออกเปน็ 3 ชว่ ง คือ

1. Initial Adjustment เป็นชว่ งทม่ี องวฒั นธรรมใหมใ่ นแงบ่ วก
2. Crisis เป็นชว่ งท่เี กดิ ความเครียด
3. Regained Adjustment เปน็ ช่วงทีส่ ามารถจดั การกบั ความเครียดได้อย่างดี
Kim (1989, อ้างใน จุฑาทิพย์ บุญรอด, 2555 : 27) ได้เสนอขั้น ตอนการปรับตัวทางวัฒนธรรมของ
Sojourner ตามแนวคดิ ของ Oberg ไว้ 4 ขนั้ ตอน คอื
1. Honeymoon Stage เปน็ ชว่ งท่ีบุคคลรู้สึกตนื่ ตาตืน่ ใจกับสภาพแวดลอ้ มใหมๆ่
2. Hostility Stage เป็นช่วงทีบ่ คุ คลรู้สกึ ไม่ดตี ่อวัฒนธรรมใหม่ทีต่ นไปอยู่ และเร่ิมคบหากนั เองใน
กลมุ่ คนท่มี าจากตา่ งวฒั นธรรมด้วยกัน

22

3. Recovery Stage เป็นช่วงที่บุคคลเริ่มเข้าที่เข้าทาง กล่าวคือ บุคคลมีความรู้ด้านภาษาและ
วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ เพ่มิ มากขึน้

4. Final Stage เป็นชว่ งท่ีบคุ คลปรบั ตวั ได้มากที่สุด ความวติ กกังวลต่าง ๆ ลดลงและรู้สกึ
สนุกสนานท่ีได้อยู่ในวัฒนธรรมใหม่สำหรับกระบวนการและทฤษฎีในการปรับตวั เป็นเรื่องทีเ่ กิดจาก
การที่คนพยายามเปล่ยี นแบบแผนในการดำเนินชีวติ เพื่อให้เข้ากบั วัฒนธรรมใหมท่ ตี่ นเองไปอยู่ เนื่องจากเมื่อไปอยู่
ในสภาพแวดล้อมใหมๆ่ มนุษยจ์ ะเกิดจากความตรงึ เครียด ความไมส่ บายใจท่ีเป็นแรงกดดันและแรงขับให้ต้องทำ
การปรบั ตนเองให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมใหม่นั้น ๆให้ได้ ทั้ง นี้ระยะเวลากเ็ ปน็ สิ่งหนึ่งมีผลอย่าง
มากท่ีจะช่วยให้มนษุ ยส์ ามารถปรับตัวได้อยา่ งเหมาะสมด้วย
3. แนวคิดเก่ียวกบั ประเพณปี ระดษิ ฐ์
ความหมายของประเพณี

นกั วิชาการหลายทา่ นไดใ้ ห้คำอธบิ ายคำว่า ประเพณี ไว้หลากหลาย เพ่อื ต้องการอธบิ ายประเพณี
ใหม้ ีความัดเจน ครอบคลุม ดังต่อไปนี้

ดนัย ไชยโยธา (2546 : 117) ประเพณี หมายถึง แบบความคิด ความเชื่อ การกระทำ ค่านิยม ทัศนคติ
ศีลธรรม จารีต ระเบียบแบบแผนท่ีกระทำในโอกาสต่าง ๆ ลักษณะสำคัญของประเพณี คือ สิ่งที่ปฏิบัติเชื่อถอื มา
นานจนกลายเป็นแบบอย่างความคิดหรือการกระทำที่ได้สืบต่อกันมาและยังมีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่
ยอมรบั ของสว่ นรวม สิ่งใดเม่อื ประพฤตซิ ้ำ ๆ กันอยบู่ อ่ ย ๆ จนเปน็ ความเคยชนิ ก็เกดิ เป็นนิสยั ข้นึ มาความประพฤติ
เหมือน ๆ กันเป็นส่วนใหญ่ในหมู่คณะ เรียกว่าประเพณีหรือนิสัยสังคม หรืออาจกล่าวได้ว่า ประเพณีคือความ
ประพฤติของคนส่วนรวมทีถ่ ือกนั เป็นธรรมเนียม หรือเปน็ ระเบียบแบบแผนและสบื ตอ่ กันมาจนเป็นพิมพ์เดียวกัน
และยังคงอยู่ไดเ้ พราะมสี ่ิงใหมเ่ ข้ามาช่วยเสริมสรา้ งส่ิงเก่าอยูเ่ สมอและกลมกลืนเข้ากันได้ดี จนทำให้ประเพณีเดิม
ยงั คงอยตู่ ่อไปได้ ถา้ ใครฝ่าฝนื อาจได้รบั การตำหนิจากสงั คม ลกั ษณะประเพณใี นสังคมระดับประเทศชาตจิ ะประสม
กลมกลืนเป็นอย่างเดียวกัน และผิดแผกกันไปบา้ งตามความนิยมส่วนในท้องถิน่ และในสว่ นปลีกย่อย ประเพณีไทย
มักจะมพี ธิ กี รรมทางศาสนาดว้ ย ปัจจัยทท่ี ำให้ประเพณีของแต่ละท้องถิ่นแตกต่างกันนน้ั มเี หตุผลสำคญั อย่างนอ้ ย 3
ประการ คอื สงิ่ แวดล้อมทางภูมศิ าสตร์ ส่งิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรม สิง่ แวดล้อมทางสังคม บางครัง้ ประเพณีอาจถูก
มองวา่ เป็นเร่อื งของความเชื่อที่เหลวไหล แต่ในขณะเดยี วกันประเพณตี ่าง ๆ เปน็ เครอ่ื งบอกความเจริญของชาตนิ น้ั
ๆ และถอื เป็นสมบตั ขิ องชาติ เปน็ การรักษาสืบทอดความเช่อื ตามบรรพบรุ ุษ

ประเพณแี บง่ ออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่

1. จารีตประเพณี เป็นประเพณีที่มีศีลธรรมเข้ามาร่วมด้วย ถือเป็นกฎที่มีความสำคัญตอ่ สวัสดิภาพของ
สังคมและมลี กั ษณะบังคบั ใหส้ มาชิกตอ้ งถอื ปฏบิ ัติ ถอื เป็นความผดิ หากไมป่ ฏิบัติตาม บคุ คลต้องปฏิบัติตามจารีต

23

ประเพณีเพอื่ ผลประโยชนข์ องสงั คม อาจแปรเปลี่ยนเป็นกฎหมายได้ในบางสังคม อาทิ การแตง่ กายของสตรมี สุ ลิม
ในภาคใต้ หากไมป่ ฏบิ ัตติ ามถือว่าขดั หลักศาสนา และได้รับการประณามจากคนในสังคมเดียวกนั

2. ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นประเพณีที่มีการวางระเบียบแบบแผนสำหรับปฏิบัติในสังคมไว้อย่าง
ชัดเจน อาทิ การไหว้ครูมีรูปแบบปฏิบตั ิท่ีเป็นแบบแผนขณะเดียวกันกเ็ ป็นประเพณีทีร่ ูจ้ ักกนั โดยทั่วไป ไม่มีแบบ
แผนกฎเกณฑแ์ นน่ อน ปฏิบตั เิ พราะมีการบอกเลา่ และสืบต่อกนั มาตั้งแต่อดีต เน การแหน่ างแมว พิธีแต่งงานโดย
แห่ขันหมาก เปน็ ตน้

3. ธรรมเนยี มประเพณี เป็นประเพณีท่เี กยี่ วกับการวางตนในสงั คมไมม่ รี ะเบียบแบบแผนเป็นเพยี งบรรทัด
ฐานที่ปฏบิ ัติกันจนเป็นประเพณี เป็นแนวทางปฏิบัติที่ทุกคนปฏิบัติกันจนเกิดความเคยชิน ใครฝ่าฝืนก็ไม่ถือเป็น
เร่ืองสำคัญ แต่ถือเป็นผู้ที่ขาดการศกึ ษาอบรมและขาดคณุ สมบัตผิ ดู้ ี

นอกจากนีป้ ระเพณยี ังแบ่งย่อยออกเป็น ประเพณีภายในครอบครวั ประเพณสี ่วนรวมตามเทศกาล

บรรเทงิ พาพิจิตร (2549 : 78) โดยเนอื้ หาสาระแลว้ ประเพณี คือส่งิ ท่ีคนในสังคมสว่ นรวมร่วมสรา้ งขึ้นมา
ใหเ้ ปน็ มรดกที่ผ้เู ปน็ ทายาทจะต้องรับไว้ และปรบั ปรงุ แก้ไขใหด้ ยี ่ิง ๆ ขน้ึ ไป รวมทงั้ มกี ารเผยแพร่แก่คนในสังคมอนื่
ดว้ ย รูปลักษณ์สำคัญ ๆ ของประเพณี เท่าทีเ่ ราพอจะมองเห็นได้ มีดงั น้ี

1. เปน็ ส่งิ ที่ยดึ ถอื รว่ มกนั ของกลุ่มชน
2. มกั เปน็ พธิ ีการ
3. มักเปน็ การกระทำที่มีการแสดงออกทางอารมณ์ ทำกันอยา่ งเอิกเกริก หรือทำอย่างตงั้ ใจมาก
4. มกั เป็นสิง่ ท่ีทำให้คนรู้สกึ วา่ ตนมีขอ้ ผูกมดั ตอ่ สงั คม หรือคนมีความรบั ผิดชอบชวั่ ดี
5. มกั เกีย่ วกับความเชอื่ ของกลุ่มคน
6. มกั เป็นพธิ ีการขอความช่วยเหลอื หรือการบูชาคณุ ทกี่ ลุ่มคนนบั ถือ

ประเพณปี ระดิษฐ์
แนวคิดประเพณีประดิษฐ์ (Invented Tradition) เป็นปรากฎการณ์ทางสังคมที่เกิดข้ึน เด่นชัดในปลาย

ศตวรรษท่ี 19 ในยุโรปและประเทศอาณานิคมของยุโรปเพื่อตอบรับ การจัดระเบียบโลกใหม่ ในขณะที่นัก
ประวัติศาสตรอ์ ยา่ ง อรี คิ ฮอบสบอวม์ (Eric Hobsbawm) กับ เทอเรนซ์ เรนเจอร์(Terence Ranger) ไดก้ ล่าวถึง
ประเพณีประดษิ ฐ์ไว้อย่างนา่ สนใจ ประเพณีประดษิ ฐ์ (Invented Tradition) หมายถงึ “ชดุ ของวิถีปฏิบตั ”ิ (A set
of practices) อันเป็นระเบียบทางสังคมที่ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของกฎระเบียบ และข้อปฏิบัติท่ีมี
กฎเกณฑ์ของพิธีกรรมหรือสัญลักษณ์ที่มีการตอกย้ำคุณค่าหรือสร้างบรรทัดฐานขึ้นมาชุดหนึ่ง โดยแสดงถึงการ
อ้างอิงความต่อเนื่องกับประวัติศาสตร์ใน “อดีต” ของสังคมมาสร้าง “ประเพณีประดิษฐ์” จนเกิดการปฏิบตั ิซำ้

24

(Repetition) การ ปฏิบัติอย่างเปน็ ทางการ (Formalization) และทำใหเ้ ป็นแบบอย่างในการปฏิบัติอย่างเป็นพธิ ี
การ (Ritualization) ด้วยการอ้างองิ การสบื ทอดกันมาตง้ั แต่บรรพบรุ ุษจนเปน็ ยอมรบั โดยปรยิ าย (Automatically
Implies) อาทิเชน่ ศาสนา ความเชอ่ื พิธีกรรม เรือ่ งเลา่ ตำนาน คติชน ประวตั ิศาสตร์และสัญลกั ษณ์อันมีลักษณะ
เชิงพิธีกรรมหรือสัญลักษณ์ที่ ต้องมีการสืบทอดคา่ นิยมและแบบแผนความประพฤติทีแ่ น่นอน โดยการกระทำซำ้
แบบเดมิ เพ่อื แสดงถึงความตอ่ เนอ่ื งกับ “อดตี ” โดยเปน็ อดีตเชิงประวตั ศิ าสตรท์ ี่ “ประเพณใี หม่” ได้จัดวางตัวเอง
ลงไป โดยไมจ่ ำเป็นต้องเป็นอดตี ทย่ี าวนานและ ขณะเดียวกันประเพณีประดษิ ฐก์ อ็ าจอยใู่ นรปู แบบการประยุกต์ใช้
ภายใตเ้ งอื่ นไขบรบิ ทต่าง ๆ ดว้ ยการอ้างอิงใหมไ่ ด้เช่นกนั เพอื่ รบั ใชส้ ถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
ในช่วงเวลาน้ัน ๆ ทกี่ ำลงั เผชิญหน้ากับการเปล่ียนแปลง (Hobsbawm 1983 :1-6 อ้างถงึ ใน เอกรินทร์ พึง่ ประชา,
2545และ นิชธิมา บุญเฉลียว, 2552 ) ขณะเดียวกัน Terrence Ranger (1983) จากงานศึกษาเรื่อง The
Invention of tradition in Colonial Africa ได้เสนอแนวคิด “ประเพณี ประดิษฐ์” ของลัทธิจักวรรดินิยมใน
ดินแดนแอฟริกาช่วงค.ศ.1870-1890 ที่ถูกจัดการผ่านสถาบันหลักทางสังคม เช่น ศาสนา การศึกษาและการ
ปกครอง ในรปู แบบต่าง ๆ โดยชาวยโุ รปเพื่อนำไปสู่รูปแบบการปกครองใหม่และในขณะเดียวกันสถาบันท่ีเกิดขึ้น
น้ันกลับถกู มองว่าเป็นการจัดการโดยรฐั หรือกลุ่ม “คนขาว” ที่ต้องการแสวงหาผลประโยชน์ให้กับกลุ่มตนมากวา่
สร้างขึ้นจากความต้องการแท้จรงิ ของประชาชน ซ่ึงเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดย เรนเจอร์ มอง “ประเพณี
ประดิษฐ์” เช่นน้ีว่า เป็นการบิดเบือนข้อเทจ็ จริงทางสังคมหรือก่อตัวข้ึนจากความไม่สอดคล้องกับวิถีชวี ิตดง้ั เดิม
ของคนพื้นเมอื ง หากทว่า “ประเพณีประดิษฐ์” ดังกลา่ วกลับกลายเปน็ ความจริงที่ถูกนำมาปฏบิ ัตใิ นสังคมเพราะ
การ “ประดิษฐ์” ตกอยู่ในกลุ่มผู้มีอำนาจทางสังคม แต่ในขณะเดียวกัน “ประเพณีประดิษฐ์” จะประสบ
ความสำเรจ็ ไม่ได้หากปราศจากความร่วมมือจากคนในท้องถิน่ ดังกรณกี ารนำคริสต์ศาสนาเข้ามาเผยแพรก่ ารสรา้ ง
โรงเรียนหรือการบรหิ ารประเทศภายใต้กรอบแนวคิดคนอื่น (Others) ที่มีคนพ้ืนเมืองบางกลุม่ ได้ผลประโยชน์ตอ่
การสร้าง “ประเพณีประดิษฐ์” ดังกล่าวแต่ทั้งน้ีท้ังน้ันก็ไม่ได้หมายความว่าคนพ้ืนเมืองท้องถิ่นจะเพิกเฉยต่อ
ปรากฎการณท์ ี่เกิดขึ้นนำไปส่กู ารร้ือฟื้นประเพณีขึ้นมาใหมจ่ ากการนำ “อดตี ” ของตนมาสรา้ งเป็นเกราะกำบงั เพอื่
ปอ้ งกันผู้บกุ รกุ ทางวัฒนธรรมด้วยการพยายามร้ือฟ้ืนอัตลกั ษณ์ชนเผ่า เพ่อื ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื ในการปกป้องกลุ่มชน
เมอ่ื ต้องเผชญิ กับการถูกริดรอนสทิ ธิทางอาณาเขตจาก“คนขาว” และกลุม่ คนท้องถน่ิ ด้วยกันเอง เปน็ ต้น(เอกรนิ ทร์
พ่ึงประชา, 2545) นอกจากนเี้ ทอเรนซ์ เรนเจอร์(Terence Ranger) ช้ีใหเ้ หน็ ว่าประเพณี ประดิษฐ์เปน็ กลไกสำคญั
ในการบริหารจดัการสิ่งแปลกๆ ใหม่ ๆ ที่เกิดข้ึนประเพณีเป็นตัวจักรสำคัญในการก่อให้เกิดความทันสมัย
เมื่อประเพณีประดิษฐ์เป็นกลไกสำคัญในการสรา้ งความสมัยใหม่ก็ทำให้ประเพณปี ระดษิ ฐ์เป็นกลไกสำคัญในการ
เปลีย่ นแปลงในโลกของอาณานคิ ม ในดนิ แดนอาณานิคมประเพณปี ระดิษฐท์ ถี่ ูกนำเขา้ มาโดยเจ้าอาณานิคมกลบั ทำ
ให้ประเพณตี า่ ง ๆ เหลา่ น้ีมคี วามลึกลับและมเี สน่ห์มากขึ้น โดยพิธีกรรมตา่ ง ๆ เหล่านี้ไม่ไดม้ ีความหมายแบบเดิม
พิธีกรรมของราชสำนักโมกลุ ที่เคยเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างคนใกล้ชดิ เพ่ือนพ้องข้าราชบริพารกับกษัตริย์เท่านั้น

25

ไดเ้ ปลีย่ นมาเป็นการสร้างสายสัมพันธร์ ะหวา่ งกษัตรยิ ก์ ับพวกที่อยู่ต่ำกวา่ พธิ กี รรมจงึ มคี วามหมายเพยี งแค่คนท่ีอยู่
ต่ำกว่ากับคนที่อยู่สูงกว่า (Bernard S. Cohn, 1983 ; p.172) พิธีกรรมขยายสำนึกของความไม่เท่าเทียมกันให้
เปน็ รปู ธรรมมากข้ึนไปพร้อมกับการขยายตวั ของรัฐในการ “รวบรวม” เอาประชาชนเข้ามาไวใ้ นอาณัติ (ธเนศ วงศ์
ยาน นาวา, 2556 ; 277-278)

แนวคิดเกีย่ วกบั ความเชอ่ื และพธิ กี รรม
ความเชอื่ เปน็ วฒั นธรรมอย่างหนึง่ ของมนษุ ย์ มนษุ ย์มีความในเรอ่ื งต่าง ๆ มากมาย เม่ือมนุษยเ์ ชื่อในส่ิงใด

จะมีพฤตกิ รรมท่ีตอบสนองความเชอื่ น้นั จนเกิดประเพณแี ละพิธีกรรมมากมาย เช่น เช่อื ในคำสอนของพระพทุ ธเจา้
หรอื พระไตรปิฎก เชอื่ ว่าการทำบุญจะชว่ ยให้ไดข้ ้นึ สวรรค์ เช่ือเรื่องเวรกรรม เชอื่ เร่ืองฤกษ์ยาม ดงั นนั้ ความเชอื่ กบั
พิธีกรรมจงึ มีความสัมพันธก์ ันอย่างมาก ยากที่จะแยกจากกนั ได้ เมอื่ มีการกลา่ วถงึ ความเชือ่ ก็ต้องกล่าวถงึ พิธกี รรม
ดว้ ยเสมอ

1.ความเช่อื
คติความเช่ือเปน็ แนวคิดทเ่ี กิดมาจากจติ ของมนุษย์ในเร่ืองทเี่ กยี่ วกับสง่ิ ท่ีอย่ภู ายใน หรอื อยู่เหนือธรรมชาติ

ทม่ี นุษยต์ อ้ งสรา้ งสง่ิ น้ขี ้ึนมาก็เพอื่ เปน็ แนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิตอ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตัวเรา ไม่ว่าจะเป็นธรรมชาติ
หรือตัวมนษุ ยด์ ว้ ยกนั เอง จนกลายมาเป็นระบบความเช่อื และจรรยามารยาทหรอื คณุ ธรรมในสงั คม ที่ผกู พนั อยกู่ บั
วิถีชวี ติ ของคนในทอ้ งถน่ิ น้ัน ๆ เปน็ บรรทัดฐานในการแสดงถึงความมีคณุ ธรรมตามกรอบของความเช่ือท่ียดึ ถอื
ความคดิ ในการเชอื่ ถือของคนในชุมชนและมสี ว่ นให้เกดิ วฒั นธรรม ประเพณี และพธิ กี รรมต่าง ๆ เกย่ี วกบั ความเชอื่
นั้น ๆ ขนึ้ มาแมว้ า่ โดยตวั คตคิ วามเชอ่ื เองจะเป็นนามธรรม แต่การแสดงความเชือ่ ผา่ นออกมาทางวัฒนธรรม
ประเพณี และพิธกี รรม ทำให้คติความเชื่อเป็นรปู ธรรม สามารถเขา้ ใจและเรียนรู้ได้จากการมีสว่ นร่วมกบั วัฒนธรรม
ประเพณี และพธิ กี รรมน้ัน ๆ คติความเชือ่ จงึ เป็นสว่ นประกอบท่ไี มส่ ามารถจะละเลยได้เมอ่ื กลา่ วถึงเรอ่ื งวฒั นธรรม
ผ้วู จิ ยั จงึ ได้ศกึ ษารายละเอียดเก่ียวกับเรอื่ งนี้ไว้ดังน้ี
1.1 ความหมายของความเชอ่ื คำว่า ความเช่อื เปน็ อีกคำท่มี มี คี วามหมายกวา้ ง และอาจมคี นใหค้ วามหมายไว้
หลายแขนง แตจ่ ะไม่แตกตา่ งกนั มากนัก การใหค้ วามหมายของคำว่า ความเชือ่ ซงึ่ เปน็ คำท่ีบง่ บอกถึงนามธรรมนั้น
ไดม้ ผี ้รู ู้ทงั้ หลายใหค้ วามหมายไวห้ ลายทา่ นดงั ตอ่ ไปนี้

อุดม เชยกวี งษ์, อ้างถงึ ใน พนดิ า บุญเทพ, 2548, น.2 กล่าวว่า ความเชอ่ื (Belief) เป็นความรู้สึกเชื่อมั่น
ศรทั ธาของมนุษย์ทมี่ ตี อ่ สิ่งตา่ ง ๆ ว่าจะบันดาลให้เกดิ สุขหรือทุกข์ไดห้ ากกระทำหรอื ปฏิบตั ติ ่อความเชื่อในทางท่ถี กู
ทีค่ วร ความสุขก็จะเกดิ ตามมา ในทางตรงกันขา้ มหากกระทำหรือปฏบิ ตั สิ ิง่ ทีไ่ ม่ถูกตอ้ งหรอื ละเลย ความทุกข์ร้อน
อาจจะเกดิ ข้ึนได้

26

ทศั นีย์ ทานตวณิช (2523 : 224) ไดใ้ หค้ วามเหน็ วา่ ความเชื่อ หมายถึงการยอมรบั นบั ถือหรอื ยดึ ม่ันในส่ิง
ใดสิ่งหนึ่ง ทั้งที่มีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ตามว่าเป็นความจริงหรือมีอยู่จริงการยอมรับหรือการยึดมั่นน้ี อาจมี
หลักฐานที่จะพิสจู นไ์ ด้หรือไม่มีหลกั ฐานท่จี ะพิสจู นส์ งิ่ นน้ั ใหเ้ ห็นจริงก็ได้

ธวชั ปุณโณทก (2528 : 350) กลา่ วว่า ความเชือ่ หมายถงึ การยอมรับอันเกดิ อยูใ่ นจติ สำนกึ ของมนุษย์ต่อ
พลังอำนาจเหนือธรรมชาติที่เป็นผลดีหรือร้ายต่อมนุษย์หรือสังคม แม้ว่าพลังอำนาจเหนือธรรมชาติเหล่านี้ไม่
สามารถจะพิสูจนไ์ ดว้ า่ เปน็ ความจรงิ แตม่ นุษย์ในสงั คมหน่ึงยอมรับและใหค้ วามยำเกรง

ดนัย ไชยโยธา กล่าวว่า ความเชือ่ หมายถงึ การยอมรับว่าสง่ิ ใดส่ิงหนึ่งมอี ยจู่ รงิ และมีอำนาจที่จะบันดาล
ให้เกิดผลดีหรือร้ายต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ แม้ว่าสิ่งนั้นจะไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นความจริง แต่เป็นท่ี
ยอมรบั ในกล่มุ ชน

อภิชาต จันทร์แดง (2546) ได้กล่าวไว้ว่า ความเชื่อและพิธีกรรมนั้นนอกจากจะเป็น ส่วนหนึ่งของภูมิ
ปญั ญาท้องถน่ิ เป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมชมุ ชน เป็นส่วนหน่ึงของชมุ ชนแล้ว ยังมี การเรยี นรู้ถา่ ยทอดสืบต่อกัน
มา และเปน็ ส่วนท่ีสำคญั อยา่ งมากในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชนให้มี ศักยภาพ มคี วามเข้มแขง็ และสามารถดำรง
อยไู่ ดอ้ ยา่ งปกตสิ ุข ฉะน้นั ความเช่อื และพิธีกรรมไม่ไดเ้ ปน็ เร่ืองไร้สาระหรือเป็นเร่อื งความงมงาย หากแต่เปน็ ระบบ
คุณค่าท่ีสำคัญทางสงั คมของชมุ ชน เพราะ ความเชอื่ และพธิ กี รรมเกดิ ขึน้ พร้อมกับการมีมนุษย์มสี งั คมมนุษย์ข้ึนมา
และไม่เคยปรากฏว่ามีสงั คมมนษุ ย์ใดในโลกน้ีทีไ่ ม่มีความเช่ือและพิธีกรรม จงึ กล่าวไดว้ ่าความเชอ่ื และพิธีกรรมเป็น
สว่ นหนึ่งของความเปน็ มนษุ ย์อยา่ งมอิ าจแยกออกจากกันได้

แสงอรุณ กนกพงศ์ชยั (2545) กล่าวว่า การมีความคดิ ความเชอื่ ในส่งิ เดยี วกันยอ่ ม หมายถงึ ความเปน็ น้ำ
หนง่ึ ใจเดยี วกัน ความกลมเกลยี วทจ่ี ะทำกจิ กรรมต่าง ๆ ไปดว้ ยกนั ซ่ึงส่งผลถึงความเปน็ ปกึ แผ่น ความเข้มแข็งของ
สงั คมในท่ีสุด ดงั นนั้ ความเชื่อในสง่ิ นอกเหนอื ธรรมชาติ โดยเฉพาะเร่ืองผี เรื่องวญิ ญาณ จึงเป็นสิ่งทจ่ี ะอยู่คู่มนุษย์
ต่อไป เพราะเมือ่ ถึงจุดหนึ่งที่ความคิดทางวิทยาศาสตร์ไม่สามารถตอบข้อสงสัยของมนุษย์ได้ เราก็จําเป็นจะต้อง
พง่ึ พาระบบความเช่อื ดงั นั้น สงั คมในอดตี จึงจดั ระบบความเชอ่ื เร่อื งผไี ว้อยา่ งสลบั ซับซ้อนมเี หตุมีผล ประกอบด้วย
ผดี ีที่ให้คณุ และผีร้ายทใ่ี ห้โทษเมอื่ ทำผิดต่อกฎเกณฑ์ของสังคม ความเชื่อในเรอ่ื งนีจ้ งึ กลายเปน็ กลไกควบคุมสังคม
ทีส่ ำคัญ (ศรีศักร วัลลโิ ภดม, 2539. น. 34)

ชะลอ บุญช่วย (2532 : 17) ได้ให้ความหมายของความเชื่อไว้ในงานวิจัย เรื่องความเชื่อที่ปรากฏใน
พิธีกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลาว่า ความเชื่อหมายถึงการยอมรับที่แสดงถึงความ
จงรกั ภักดี ความศรทั ธาและการยอมรบั ในอำนาจเรน้ ลับอ่ืน ๆ

ประจกั ษ์ ประภาพทิ ยากร และคณะ (2539 : 92) ได้ให้ทัศนะเก่ียวกบั ความเช่ือว่าความเชื่อหมายถงึ การ
กระทำสิ่งหนึ่งส่ิงใดหรือละเว้นทำสิ่งใดทีเ่ ชือ่ ว่า จะนำความเปน็ สิริมงคลมาให้เป็นความเช่ือถือเกี่ยวกับโชคลางท่ี
ยดึ ถอื กันมาแตโ่ บราณ ความเช่อื เหลา่ น้ฟี งั เผนิ ๆ ก็เหน็ ว่าเปน็ เรือ่ งเหลวไหลไร้สาระไมม่ ีเหตุผลท่ีจรงิ ถ้าไม่เปน็ เรื่อง

27

ทป่ี ระกอบด้วยเหตผุ ลมาก่อนก็คงไม่เชอ่ื ถอื กันอย่างน้นั หรอื เกดิ ขนึ้ จากการสงั เกตข้อมูลอยา่ งสถิตอิ ยา่ งในปัจจบุ ัน
ก็เป็นได้ แต่ว่าบางเรื่องก็เป็นเรื่องที่พ้นสมัยแล้ว แต่ก็ยังมีเชื่อถือกนั อยู่บา้ งและเมื่อไม่มขี ้อเสียหายจนถึงกับนำ
ความลม่ จมมาส่ปู ระเทศกค็ วรรู้ไว้บา้ ง เพราะความร้สู ึกเหลา่ นี้แม้จะไมเ่ ปน็ ความคดิ อนั หนึง่ อนั เดียวกนั ของชนชาติ
หนึ่งๆ แต่กพ็ อจะสะทอ้ นถงึ บคุ ลกิ ลักษณะแหง่ ความเป็นชาติ เมอ่ื เราไดเ้ รียนรูก้ ็เท่ากับผดุงรกั ษาบุคลิกลักษณะไว้
ไมใ่ ห้ขาดตอนไป แทนทจ่ี ะคดิ ว่าเขาเบาปญั ญา เขาอาจจะคดิ ว่าเราไม่ประสปี ระสา ดงั น้ันเรารไู้ วบ้ า้ งเพ่ือประโยชน์
ในด้านเอาใจบำรุงขวัญไม่ทำลายน้ำใจของอีกฝ่ายหนึ่งจากทัศนะของนักวิชาการ ชี้ให้เห็นว่าความเชื่อเป็น
แบบอย่างหรือแนวทางใหเ้ กิดการยอมรบั นับถอื อนั เกดิ อยูภ่ ายใต้จติ สำนึกของมนุษยไ์ ม่วา่ สง่ิ นน้ั จะมจี รงิ หรอื ไม่ แต่
มนุษย์ในสังคมใหก้ ารยอมรบั และยังมคี วามยำเกรงอยู่

สรุปได้วา่ ความเชือ่ หมายถึง การยอมรับนับถือในสิง่ ใดส่งิ หนึ่งว่ามีอยู่จรงิ แม้จะพสิ จู นไ์ ด้หรือไม่ก็ตามแต่
เปน็ ทยี่ อมรับในกล่มุ คน ความเช่ือเปน็ สว่ นหนงึ่ ของมนษุ ยย์ ากต่อการแยกออกจากกนั การทีค่ นในสงั คมเชือ่ ในเรือ่ ง
เดยี วกันจะส่งผลใหเ้ กดิ ความเปน็ น้ำหนงึ่ ใจเดยี วกันโดยเฉพาะความเช่ือเรอื่ งเหนือธรรมชาติ ผี วญิ ญาณ ซ่งึ เช่ือว่ามี
ทง้ั ผแี ละผีทีใ่ ห้โทษมพี ลงั อำนาจบันดาลให้เกดิ เร่ืองดแี ละเร่อื งรา้ ยต่อมนุษยไ์ ด้
1.2 มูลเหตุของความเชอ่ื

สาเหตุทีก่ อ่ ให้เกิดคตคิ วามเช่ือนนั้ มมี ากมายหลายประเดน็ ทนี่ า่ สนใจดังทน่ี กั วิชาการทัง้ หลายไดใ้ ห้ทัศนะ
ไวเ้ ป็นแนวทางดงั ตอ่ ไปน้ี

พระยาอนมุ ารราชธน (2515 : 38–39) กลา่ วถึงมูลเหตุของความเชือ่ สรุปไดว้ า่ ความเชื่อของมนุษย์ เกิด
จากความไมร่ ู้ ทำให้เกดิ ความกลวั และเกดิ เป็นสทิ ธ์ิความเช่ือขึ้น นกั มานษุ ยวทิ ยากล่าวไว้วา่ ความเช่ือคร้ังดั้งเดิม
ของมนษุ ยก์ ่อนท่จี ะคลคี่ ลายออกมาเป็นศาสนาตา่ ง ๆ นั้นแบง่ ออกเปน็ 2 ระยะคือ ระยะแรกมนุษย์มีความเชื่อว่า
สงิ่ ต่าง ๆ จะเป็นสิ่งมชี วี ิตหรือไมก่ ต็ ามย่อมมอี ะไรอยา่ งหน่งึ เปน็ แรงอำนาจอยใู่ นตัวของสงิ่ น้นั เอง อาจให้คุณให้โทษ
แก่คนได้ คติความเชื่อเร่ืองนี้ภาษาอังกฤษเรียกว่า Animalism ในภาษาไทยใช้ชื่อวา่ ความเชื่อ ความขลัง ความ
ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิระยะต่อมามคี วามเช่ือวา่ คนตลอดจนสิง่ อ่ืนท่ีมชี ีวิตหรือไมม่ ชี ีวิตก็ตามย่อมมีสิง่ หนึ่งทมี่ องไม่เห็นตัวสิงอยู่
ในนนั้ ส่ิงน้ีคอื ผหี รอื วิญญาณซงึ่ พวั พนั กนั อย่อู ย่างไกลช้ ิดจนแยกออกจากกันได้ยากความเชื่ออย่างน้ีภาษาอังกฤษ
เรยี กวา่ Animism ในภาษาไทยใช้ชอื่ วา่ คติความเช่อื เร่ืองผีสางเทวดาความเช่ือนีไ้ ม่ได้ปรากฏเฉพาะมนุษย์ในสมัย
แรกเท่านัน้ แมม้ นุษยใ์ นปัจจุบันกย็ ังคงมีความเชื่อน้ีสบื ต่อกันมาไมม่ ากก็นอ้ ย

คึกฤทธิ์ ปราโมช (2521 : 7) ไดเ้ ขียนเกีย่ วกบั มลู เหตุของความเชอ่ื สรปุ ไดว้ า่ การสรา้ งความเชอื่ ของมนุษย์
เมื่อได้พบเหตุการณ์ทางธรรมชาติ เชน่ ฟ้าผ่าคนตายและแผ่นดินถล่ม เปน็ ตน้ กเ็ กดิ จากความคิดวา่ จะต้องมีส่ิงใดสงิ่
หนึ่งอยู่เบื้องหลังบงั คับให้เป็นอยา่ งนี้จงึ พากันสรา้ งผี วิญญาณ เทพารักษ์ข้ึนเป็นการสมมุติวา่ เทพเจ้าหรือผจี ะมี
รูปร่างอยา่ งนัน้ อย่างนต้ี ามจนิ ตนาการของตนและทำพิธกี รรมต่าง ๆ บชู า สกั การะ เซ่นสรวง เพ่ือใหส้ ่งิ ท่ตี นคิดว่ามี
อยู่จริงนั้นผ่อนคลายความรุนแรงและมีเมตตากรุณา ไม่ทำร้ายและบันดาลความสุขมาให้ เมื่อแรกเป็น
ขนบธรรมเนยี มประเพณี ภายหลังเกิดเป็นวัฒนธรรมขึ้นโดยเฉพาะวัฒนธรรมทางศาสนา คือแนวทางปฏิบัตกิ าร
ประพฤติตนตามศาสนา เกิดคัมภีร์ที่สำคัญขึ้นในศาสนา สำหรับทางพระพุทธศาสนาเกิดพระธรรมคำสั่งสอน

28

จำแนกบุญบาปว่า คนทำดีมีบุญย่อมจะประสบผลเป็นความสุขสมบูรณ์ได้เกิดในสวรรค์และจะหมดกิเลสตัณหา
เข้าสู่นพิ พานคนช่วั ทำช่ัวคือบาปไดร้ บั ทกุ ขท์ รมานตกนรกไม่มีวนั หมดสิ้นคนท่ีเชื่อในคำสอนก็ประพฤติปฏิบัติตาม
ดว้ ยความหวังไดพ้ บกบั ความสขุ ในชวี ิตของตน

จารุวรรณ ธรรมวัตร (2521 : 206–207) กล่าวถึง มูลเหตุแห่งความเชื่อ สรุปได้ว่าความเชื่อ เกิดจาก
มนษุ ย์แตล่ ะท้องถ่ินมีปญั หาในการดำเนนิ ชีวิต มนุษยจ์ งึ คิดวา่ นา่ จะมีอำนาจลึกลับเหนอื ธรรมชาตบิ นั ดาลใหเ้ ป็นไป
เช่นนั้น มนุษย์จึงควรทำให้อำนาจเหนือธรรมชาตินั้นพอใจเมื่อคล่ีคลายปัญหาลงได้หรือพ้นภัยแล้ว ควรแสดงถงึ
ความกตัญญกู ตเวทีดว้ ยการเซน่ สรวงบชู าหรือประกอบพธิ ีกรรมตา่ ง ๆ

ภิญโญ จิตต์ธรรม (2522 : 2) เขยี นเกี่ยวกบั ความเชอ่ื ไว้วา่ ความกลวั และความไม่รเู้ ป็นเหตุใหเ้ กิดความ
เชือ่ ก็เป็นส่วนหนง่ึ ทที่ ำใหเ้ กดิ ศาสนา

มณี พยอมยงค์ (2529 : 178) เสนอว่า ความเชื่อของมนุษย์เกิดจากสิ่งที่มีอำนาจเหนือมนษุ ย์เช่นดินฟ้า
อากาศ ภัยธรรมชาตหิ รือเหตกุ ารณท์ ม่ี นุษยไ์ มส่ ามารถรู้สาเหตุว่าเกิดอะไร จึงเกดิ ความรู้สกึ ยอมรับและเชื่อถือใน
อำนาจของส่งิ เหลา่ น้นั บางครงั้ กว็ งิ วอนขอความชว่ ยเหลือต่อส่งิ ทตี่ นเชอ่ื ถอื

กล่าวโดยสรุปแล้ว ความเชื่อเกิดจากความกลัวและความไม่รู้เหตุให้เกิดความเชื่อซึ่งแสดงออกมาใน
พฤติกรรมตา่ ง ๆ โดยการสรา้ งสง่ิ สมมติขน้ึ เช่น ผีสางเทวดาและส่งิ ศกั ด์สิ ิทธต์ิ ่าง ๆ นานาอาจแสดงออกในรปู แบบ
ข้อห้าม หรือคำสอน เช่น คำสอนในศาสนาหรือลัทธิต่าง ๆ ดังนั้นความเชื่อ จึงมีความสัมพันธ์กับมนุษย์อย่าง
ใกล้ชิด และปรากฏออกมาในรปู แบบของการประพฤติปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจำวนั ขนบธรรมเนียมประเพณี พธิ กี รรม
และวัฒนธรรม ในรูปแบบต่าง ๆ ของสังคมนน้ั ๆ อาจกล่าวได้วา่ ความเช่ือเปน็ ตัวกำหนดวถิ ชี วี ิตของคนในสังคม
1.3 ประเภทของความเชื่อ

เนื่องจากความเช่ือของคนในสังคมไทยที่มีมานานและมีการแสดงออกท่ีแตกต่างกันไปตามแตล่ ะท้องถน่ิ
นกั วชิ าการดา้ นคติชนไดศ้ ึกษาความเช่ือของคนไทยในเรอ่ื งต่าง ๆ และไดแ้ บ่งประเภทของความเชื่อไว้ ดงั น้ี

มณี พยอมยงค์ (2536 : 73) กล่าวว่า “ความเช่อื ” อาจแบง่ ออกเป็นได้ 2 ประเภท คอื
1. ความเช่อื ทงี่ มงายไรเ้ หตผุ ล คือยงั ไมท่ ราบเจตนา
2. ความเชอื่ ท่ีมเี จตนาแฝงอยู่ เพื่ออบรมสั่งสอนใหค้ นประพฤติดีอยูร่ ่วมกบั สงั คมอย่างถูกตอ้ ง

และเกิดสุขแกต่ นเอง
ดนัย ไชยโยธา (2538 : 119-132) กลา่ วถงึ ความเชอื่ ตวั อยา่ งของความเชื่อและ ได้แบง่ ประเภทความเช่อื

ของชาวภาคใต้ สรุปไดว้ า่ ความเชื่อของชาวภาคใตไ้ ด้จำแนกตามมูลฐาน
ท่เี กดิ ได้ 4 ประเภท ดังนี้

1. ความเชอ่ื เกีย่ วกับจรยิ วัตร
2. ความเชอ่ื เก่ียวกบั ยากลางบา้ นและการปัดเป่ารักษา
3. ความเชือ่ ทางไสยศาสตร์
4. ความเชือ่ ทเ่ี ก่ียวกับลัทธิและศาสนา

29

ผาสุก มทุ ธเมธา (2540 : 31) กล่าวถงึ ความเชอ่ื ตัวอย่างของความเช่อื และแบง่ ประเภทของความเช่ือ สรปุ
ได้ 8 ประเภทดงั นี้

1. ความเชื่อเร่อื งธรรมชาติ
2. ความเชอื่ เรอ่ื งความเป็น ความตาย
3. ความเช่อื เรื่องการทำนายทายทัก ฤกษ์ ยาม
4. ความเชือ่ เรื่องคาถา เครอื่ งราง เวทมนตร์ ไสยศาสตร์
5. ความเชอ่ื เร่ืองกสกิ รรม
6. ความเชอ่ื เร่อื งของครอบครัว
7. ความเชอ่ื เรื่องเกีย่ วกบั ยากลางบา้ น
8. ความเชื่อเรื่องโหราศาสตร์
ประเทือง คล้ายสุบรรณ์ (2531 : 115-117) กล่าวว่า ความเชื่อในแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน
ออกไป โดยเฉพาะความเชื่อที่เป็นข้อห้าม ซึ่งเป็นความเชื่อที่สืบต่อกันมาจากบรรพบรุ ุษดว้ ยกันทุกท้องถิ่นและ
ความเชื่อต่างๆ นั้นได้แตกต่างกันออกไปตามสภาพของวัฒนธรรมที่รับมาจากบรรพบุรุษในอดีต โดยจะขอ
ยกตวั อย่างในแตล่ ะท้องถ่นิ หรอื แตล่ ะภาค ดังนี้
1. ภาคกลาง มีส่ิงที่เปน็ ข้อห้ามมากมายเชน่ กนั และเรียกว่า “ต้องหา้ มหรอื เขาหา้ ม” ถา้ ไม่เช่ือ
จะมีผลเสียหายเกดิ ข้นึ ต่าง ๆ ตามมา
2. ภาคเหนอื เรยี กสงิ่ ท่ไี มค่ วรกระทำว่า “มลู ขึด” หากกระทำลงไปจะถูกขดึ คือ สง่ิ ชวั่ รา้ ยไม่ดี
จะ “แพ้” ทำให้เกิดอันตราย เกดิ ความเสยี หายแกล่ ูกหลานในวนั ขา้ งหนา้
3. ภาคอีสาน เรื่องสิ่งท่ีเป็นข้อห้ามหรอื ส่ิงที่ไม่ควรกระทำว่า “ขลำ” ถ้าทำลงไปจะถูก“ขวง”
คือสง่ิ ชวั่ รา้ ยเป็นอันตราย
4. ภาคใต้ เรียกข้อห้ามหรอื สงิ่ ทีไ่ มค่ วรกระทำว่า “ต้องห้าม” ถ้าทำลงไปจะเกดิ ผลเสยี หายเปน็
อปั มงคลหรือเสนียดจัญไร
มารยาท กจิ สุวรรณ (2535 : 137–138) แบ่งประเภทของความเชื่อออกเปน็ 3 ประเภท สรปุ ไดด้ ังนี้

1. ความเชื่อเก่ียวกบั ตัวมนุษยเ์ อง เปน็ ความเชื่อเกยี่ วกบั การดแู ลลักษณะของตวั เองและเพ่ือน
มนุษย์ ทำให้สามารถคาดเดาอุปนสิ ยั และสามารถทำนายอนาคตไดอ้ ีกด้วย ทัง้ นีอ้ าจถอื ว่าเป็นเหมือนการเก็บสถิติ
ของคนโบราณ เพื่อเปน็ การตกั เตือนในการคบหาสมาคมกบั ผอู้ ่นื เช่นความเช่ือเรือ่ งลกั ษณะของบุคคล

2. ความเชื่อของมนุษย์เกี่ยวกับส่ิงธรรมชาติ เป็นความเช่ือที่มองธรรมชาติเปน็ ปรากฏการณ์
ล้อมรอบตนเอง สมยั โบราณคนเราไม่สามารถควบคุมธรรมชาติไดม้ ากชนดิ นกั เมือ่ มคี วามสงั เกตส่ิงรอบตัวก็ทำให้
สามารถป้องกันอันตราย ทั้งยังอาจนำธรรมชาติมาเป็นประโยชน์แก่ตนได้ด้วย เช่น ความเชื่อเรื่องพืช สัตว์ ยา
กลางบ้าน สิง่ แวดล้อมและปรากฏการณธ์ รรมชาติ เป็นตน้

30

3. ความเช่ือของมนุษยเ์ ก่ียวกบั สิ่งธรรมชาติ เป็นความเชอื่ ทีม่ นษุ ยม์ องเหน็ เหตกุ ารณบ์ างอย่าง
วา่ เกดิ ขึน้ และเปน็ ไปเพราะมอี ำนาจเหนอื ธรรมชาติมาบันดาลใหเ้ ปน็ ไป ซง่ึ จะปรากฏออกมาในหลายรปู แบบ เช่น
ความเชื่อเรื่องผีสางเทวดา เครื่องรางของขลงั คาถาอาคมและเวทมนต์ ฤกษ์ยาม และลางสงั หรณ์ ความฝันและ
ขวญั เป็นต้น

สรุปไดว้ า่ ความเชือ่ สามารถแบง่ เปน็ ประเภทใหญๆ่ คอื ความเชื่อเกยี่ วกับวงเวยี นในการดำรงชีวิตอยู่
ของมนุษย์ และความเชอ่ื เกย่ี วกับสิ่งที่แฝงเร้นอยู่ในธรรมชาติ เม่ือมนษุ ย์มีความเชื่อย่อมเกิดความคิด การกระทำ
คา่ นิยม ทศั นคติ ศีลธรรม จารตี ระเบยี บแบบแผน และวธิ กี ารกระทำสงิ่ ตา่ ง ๆ ร่วมกนั ในสังคม เม่ือร่วมกันกระทำ
ร่วมกนั ทุก ๆ ครั้งจึงทำให้เกิดเป็นวัฒนธรรมประเพณีท่ีเป็นตัวสร้างสีสรรคใ์ ห้สังคมดูมีเอกลักษณแ์ ละสร้างสรรค์
มากข้ึนกว่าการมเี พยี งความเช่ืออย่างเดียว
2. พธิ ีกรรม
2.1 ความหมายของพธิ กี รรม

กงิ่ แกว้ อตั ถากร (2525) อธิบายว่า “พธิ ีกรรม คือ วิธีการหน่ึงที่จะนำไปสู่เป้าหมายการทเ่ี ราจะได้มาซึง่ สง่ิ
ทีต่ ้องการ เราจำเปน็ จะต้องมกี ารกระทำ และในแต่ละการกระทำกต็ อ้ งมีวธิ ี” นนั่ คอื การกระทำท่ีต้องมีแบบแผน
ขั้นตอน โดยมุ่งใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ เช่น ชาวนาต้องประกอบพธิ ีกรรมตามขั้นตอนการทำนา ตั้งแต่การไถ การ
หว่าน ดแู ลรักษา เก็บเกย่ี ว นวด และเก็บข้นึ ยุง้ ฉาง ซึ่งอาจจำแนกพิธีกรรมออกเปน็ 3 ประเภทคอื พิธีกรรมตาม
ปฏิทนิ เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน ฮีตสิบสองของชาวอีสาน เปน็ ต้น พิธกี รรมในระยะหัวเลย้ี วหัวตอ่ ของชวี ิต เน
พิธกี รรมเก่ียวกับการตั้งครรภ์ การคลอดบุตร การแตง่ งาน การตาย การเกิด เป็นต้น และพิธีกรรมในการรักษาโรค
เช่น การรกั ษาผ้ปู ว่ ยทถ่ี กู เสกของเขา้ สรู่ ่างกาย เปน็ ต้น (กิง่ แกว้ อัตถากร, 2528 : 1-30)

ประมวล ดิคคินสนั (2521 : 137-183) ได้กลา่ วไวว้ ่า พิธีกรรม คือการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์
ของคนรุ่นก่อนให้แกค่ นรนุ่ ต่อมา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์สำคัญคอื เพ่ือความอยรู่ อดของเผา่ พนั ธุแ์ ละการรวมกลุ่มจิตใจ
อนั เปน็ ความสัมพนั ธท์ ่สี ำคญั ยิง่ ของมนษุ ย์

สุเมธ เมธาวิทยกลุ (2532 : 203) ได้ให้ความหมายและทัศนะของพธิ ีกรรมว่า พิธีกรรม คือการกระทำที่
คนราสมมติขึน้ เป็นข้นั ตอน มีระเบียบวธิ ี เพื่อใหเ้ ป็นสือ่ หรอื หนทางที่จะนำมาซงึ่ ความสำเรจ็ ในสงิ่ ที่คาดหวงั ซึ่งทำ
ให้เกิดความสบายใจ และมีกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป เช่นพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ ก็มีพุทธบริษัทเป็นผู้รว่ ม
ประกอบพิธี โดยแฝงปรัชญาธรรมไว้เปน็ หลักการของพิธีกรรมนั้นด้วย โดยมจี ดุ มงุ่ หมายทีจ่ ะให้คนเขา้ ใจหลักธรรม
โดยไม่รู้ตัว ดังจะเห็นไดจ้ ากพิธีทำบุญงานศพ ก็จะมีหลักคำสอนในพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอดเวลาอกี
ประการหนง่ึ ทา่ นภกิ ขุโพธ์ิ แสนยานุภาพ กลา่ ววา่ “ประเพณีพธิ ีกรรมเปรียบเสมือนเรือที่มไี วใ้ หค้ นน่ังพายเข้ามา
หาฝ่ัง คือศาสนา” แตเ่ มอ่ื ขน้ึ ฝ่งั แล้วจงสละเรอื เสีย อยา่ มัวเมาตดิ อยู่ในเรือน้นั ถ้ายงั ตดิ อย่ใู นเรือก็ไม่ได้ขึ้นฝั่งสักที
ข้อนี้แสดงให้เห็นว่า ประเพณีพิธีกรรมกับเรือนั้นเป็นเครือ่ งมือที่จะนำคนเราไปสู่สุดมุ่งหมายข้างหน้า ซึ่งอยู่นอก
ประเพณพี ธิ กี รรม และนอกเรอื จากทัศนะของนกั วชิ าการ สรุปได้วา่ พิธีกรรม เป็นองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญอย่างหน่ึง

31

ของประเพณีต่าง ๆ ไม่ว่าทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณี จะต้องมีพิธีกรรม หรือวิธีการปฏิบัติอย่างใด
อยา่ งหนงึ่ ตามความคดิ ความเชื่อถือของคนในสงั คม และพธิ ีกรรมเป็นการกระทำทคี่ นเราสมมตขิ ึน้ เปน็ ขน้ั ตอน มี
ระเบียบวิธี เพื่อให้เป็นส่ือหรือหนทางที่จะนำมาซึ่งความสำเร็จในสิง่ ที่คาดหวงั ซึ่งทำให้เกิดความสบายใจ และมี
กำลงั ใจที่จะดำเนินชีวติ ตอ่ ไป

นพนธ์ สัมมา, สายทอง มโนมยั อดุ ม, สุพรรณ ทองคล้อย และสมพร วาร์นาโด (2534) ได้กล่าวถงึ พิธีกรรม
ไว้ว่า พิธีกรรมเปน็ กิจกรรมอย่างหนึ่งทีป่ รากฏอยู่ในสงั คมมนุษย์ มนุษย์ในแต่ละสังคมมีพิธกี รรมไปตามความเชือ่
ของกลุ่มตนเอง และถ่ายทอดความเชอ่ื นัน้ ไปสู่ลกู หลานตลอดจนสังคมอื่นที่อยู่ใกล้เคียง พิธีกรรมบางอย่างจึงเป็น
กิจกรรมทปี่ ฏบิ ตั ิสบื เนอื่ งกนั มานับพันปี จนกระท่ังผู้คนในสมยั ปัจจุบนั ไม่ทราบทีม่ าและวตั ถปุ ระสงค์ของพิธีกรรม
ที่ทำกันอยู่เป็นอันมาก ฉะนั้น เมื่อมองด้วยทัศนะของคนสมัยใหม่ซึง่ อยู่ในยุคของการสือ่ สารทีล่ ้ำหนา้ ไปถึงระบบ
เทเลคอนเฟอเรนซ์ (Teleconference) แล้ว ก็อาจจะเห็นว่าพิธีกรรมเป็นเรื่องของความเชื่อถือแบบโบราณที่ไร้
สาระ อย่างไรก็ตามมนุษย์ส่วนมากก็ยังยึดถือพิธีกรรมเป็นกิจกรรมประจำชีวิต และทุกสังคมมนุษย์ก็ยังคงมี
พิธีกรรมอยู่ พิธีกรรมจึงเป็นวฒั นธรรมอย่างหนงึ่ ของมนษุ ย์ท่คี งจะตอบสนองความต้องการบางอย่างของมนุษย์ได้
มเิ ช่นนัน้ แล้วมนุษยค์ งจะไม่สร้างสรรค์พธิ กี รรมต่าง ๆ ข้ึนมา

พิธีกรรมมีคณุ สมบัติสำคญั อยู่ 2 ประการ คอื

1. เนน้ เรื่องจิตใจ เปน็ การอ้างถงึ บุคลกิ หรือส่งิ ทีป่ ระจกั ษ์ด้วยใจ ซึง่ กค็ อื ภาวะเหนือ ธรรมชาติ หรือภาวะ
เหนอื ปกติวิสัย เช่น อ้างว่าแม่โพสพมจี รงิ แต่เป็นความจรงิ ท่จี ิตใจยอมรับ ไม่ใช่ ความจรงิ ท่ปี รากฏแก่ตา หู จมูก
ลนิ้ และกาย ในการท่ีพิธีกรรมเน้นเรือ่ งจติ ใจน้ี ยงั ให้เกดิ ผลตามมา 3 ประการคือ

1.1 เกิดความสบายใจและความมกี ําลังใจ สร้างความเชื่อม่ัน หล่อเลีย้ งท้ัง ใจและกาย พิธีกรรมจงึ เปน็
อาหารและยาสำหรบั ปลูกฝังอารมณ์อนั พงึ ปรารถนาต่าง ๆ

1.2 เกิดการยอมรับว่าใจมีอิทธิพลต่อกายและวัตถุภายนอก หากใจอ่อนแอ เศร้าหมอง กายก็พลอยป่วย
รบั ประทานอาหารไม่ได้ตามไปด้วย ดงั นนั้ เม่ือใจมคี วามเข้าใจมีความรู้เห็นทถี่ ูกต้อง การแสดงออกทางรูปกายหรือ
วตั ถยุ ่อมถูกต้องไปดว้ ย และพธิ กี รรมคอื สิ่งหนงึ่ ซึ่งสร้างสรรค์ขึ้นเพ่อื การนี้

1.3 เกิดการเห็นว่าวัตถุเป็นสาขาของจิต กล่าวคือ มิได้มองวัตถเุ ป็นเพียงวัตถุ หากแต่ว่าวัตถุนัน้ ๆ เปน็
องค์แห่งการรบั รู้ มีชีวิตจิตใจเยีย่ งมนุษย์ หากเจ้าของรู้สํานึกในคุณค่าของสิ่งใด เขาย่อมแสดงออกซึ่งความสํานกึ
ด้วยการปรนนบิ ัติต่อสิ่งเหล่านน้ั เหมอื นกับว่าส่ิงเหล่าน้ันเป็นสิ่งมีชวี ิตท่อี าจรบั รู้การกระทำของเขาได้

2. เน้นเร่ืองสัญลักษณ์ เป็นการใช้สัญลักษณ์ในรูปของอุปกรณ์ กิริยาท่าทาง ตลอดจน ถ้อยคํา ทั้งน้เี พ่ือ
ช่วยแผ่ขยายพฤติกรรมทางจิต คือช่วยให้จิตเกิดมโนภาพ ความคิดรวบยอด จินตนาการ และเป้าหมายที่ชัดเจน

32

มั่นคง ดังนั้นหากเราต้องการผลทางอารมณ์ เราต้องใช้สัญลักษณ์ “สะกิด” ให้อีกฝ่ายหนึ่งรู้สึก ส่วนการขยาย
จนิ ตนาการและมโนภาพเป็นหน้าทีข่ องเขาหลังจากถกู “สะกิด” แล้ว

ดังนัน้ พธิ กี รรมจงึ หมายถงึ การกระทำใด ๆ หรือหนทางทีน่ ำไปสู่เปา้ หมายและได้มาซึ่งสิง่ ที่ตอ้ งการเมอ่ื ทำ
แล้วเกิดความสบายใจมีระเบียบแบบแผนในการกระทำเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่งคุณสมบัติที่สำคัญอยู่ 2
ประการ คอื 1.จติ ใจ และ 2.สญั ลกั ษณ์ นอกจากน้ีพธิ กี รรมน้ันมคี วามสมั พนั ธ์กับความเชื่อโดยมีการสบื ต่อตกทอด
ด้วยการถา่ ยทอดประสบการณใ์ ห้แกค่ นร่นุ หลงั เพื่อความอยรู่ อดของเผา่ พันธุ์
1.2 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเพณกี บั พธิ กี รรม

ประเพณีกบั พธิ ีกรรม เปน็ ส่ิงที่มาพร้อมกนั แต่เราเรียกองค์รวมวา่ เปน็ ประเพณสี ว่ นพิธีกรรมเป็นส่วนย่อย
ของประเพณีอกี ที ดงั น้ันในแต่ละประเพณีจึงมหี ลายพิธีกรรมร่วมอยแู่ ต่ทงั้ สองอย่างกม็ ีส่งิ ท่ีเหมือนกันคือ เกิดมา
จากรากฐานทางคติความเช่อื ทเี่ หมอื นกัน โดยการนำเอาพิธกี รรมมาร้อยเรียงให้เป็นระเบียบเพือ่ เชอ่ื มโยงคติความ
เชื่อให้เข้ากันได้ กลายเป็นประเพณตี า่ ง ๆ ไป เชน่ ประเพณลี อยกระทง ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีบุญเดอื น 10
เปน็ ตน้ โดยได้มีนกั วิชาการเขียนอธิบายเกย่ี วกับเรอ่ื งนไ้ี วค้ ือ

สมปราชญ์ อัมมะพันธ์ (2536 : 18) กล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีกบั พิธีกรรมว่าประเพณเี กดิ
จากทศั นคติ ค่านยิ มของคนในสังคม ทำใหเ้ กดิ ความคดิ และความเชอื่ ต่อสิง่ ใดสิง่ หน่ึงความเช่ือทำใหเ้ กดิ การกระทำ
ที่คนในสังคมน้ันเข้าใจว่า จะช่วยตนพ้นทุกข์และได้รับความสุข การกระทำต่าง ๆ ก็คือพิธีกรรมนั่นเอง พิธีกรรม
เกิดตั้งแต่มนุษย์มีความเจริญพอสมควรบางอย่างก็เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ แต่เป็นความบังเอิญ หรือไม่รู้จริงเปน็
พื้นฐาน บางอย่างเป็นสิ่งที่ตนบัญญัติขึ้น ซึ่งได้แก่เจ้าของศาสนาหรือเจ้าของลัทธิกำหนดขึ้น และกลายเป็นพิธี
ประจำศาสนาไป เราจงึ แยกพิธกี รรมไดเ้ ปน็ 2 อยา่ ง คือ พิธกี รรมทางศาสนา ซึ่งเป็นเรอ่ื งของพิธโี ดยตรง และพิธี
ของชาติต่าง ๆ ซึ่งเรามักเรียกกันว่า ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งหมายถึง วิธีการปฏิบัติตนของบุคคลในสังคม
เพ่อื ใหถ้ ูกต้องเหมาะสมตามทส่ี ังคมนั้น ๆ ประพฤติปฏบิ ตั ิ หรอื ยอมรับ หรือเปน็ นสิ ัยตา่ ง ๆ ที่มนษุ ย์ได้เรียนรูก้ ันมา
และยดึ ถือปฏบิ ตั ิตอ่ กันมา

พิธีกรรม เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเพณี ประเพณีต่าง ๆ ไม่ว่าทางศาสนาหรือ
ขนบธรรมเนียมประเพณี จะตอ้ งมพี ิธีกรรม หรือวธิ กี ารปฏิบัตอิ ย่างใดอย่างหน่งึ ตามความคดิ ความเชื่อถือของคนใน
สงั คม เม่อื คนในสังคมนนั้ ประพฤติ หรอื กระทำพิธกี รรมอยา่ งนัน้ เหมือนๆ กันโดยสว่ นรวมและกระทำสืบต่อ ๆ กัน
มา พิธกี รรมนัน้ ก็กลายเป็นประเพณขี องชุมชนใดชุมชนหน่ึง เช่นประเพณชี ักพระ พระเพณแี หน่ างแมว ประเพณี
ปอยหลวง และถ้าหากว่าพิธีกรรมนั้นกลายเป็นที่นิยมประพฤติปฏิบัติของคนทั่วไปทั้งประเทศ พิธีกรรมนั้นก็
กลายเป็นประเพณีของคนทั้งประเทศ เชน่ ประเพณลี อยกระทง ประเพณสี งกรานต์ ฯลฯ

33

1.3 การส่งเสรมิ และแกไ้ ขเกยี่ วกบั พิธกี รรม
สเุ มธ เมธาวิทยกลุ (2532 : 211) ไดส้ รุปถึงพธิ ีกรรมไว้ดงั ตอ่ ไปนี้
1. พิธีกรรมเป็นสื่อสัญลักษณ์ ที่แสดงออกถึงความเป็นจริง กล่าวคือ เมื่อผู้ประกอบพิธีกรรม

แสดงออกทางกาย วาจา และการใชอ้ ปุ กรณ์ต่าง ๆ นน้ั ยอ่ มแสดงออกตามท่ีจิตใจสง่ั ใหก้ ระทำตามที่ตอ้ งการ เช่น
การกราบ การไหว้ การกลา่ วคำบูชาพระ เปน็ ตน้ เปน็ ส่อื ใหผ้ ู้ทีไ่ ดพ้ บเห็นไดย้ นิ ไดฟ้ งั ทราบว่าผกู้ ระทำความเคารพ
นอบน้อมย่ำเกรง ต่อส่ิงหรอื บุคคลทก่ี ระทำต่อ

2. พธิ ีกรรมเปน็ เครอื่ งหมายของกล่มุ ชนหนงึ่ ๆ เพราะมีสญั ลักษณ์ทางพธิ กี รรมร่วมกันกลา่ วคอื ผู้
ทแ่ี สดงส่อื สัญลักษณเ์ ชน่ นั้น แม้จะอยหู่ า่ งไกลกันก็ทำใหผ้ ไู้ ด้พบเหน็ เข้าใจว่าเปน็ พวกเดยี วกัน เชน่ พวกท่ีกราบไหว้
พระพุทธรูป ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนของโลก ก็บอกได้ว่าเป็นชาวพุทธ เพราะปฏิบัติวัฒนธรรมแบบพุทธ พิธีกรรม
บางอยา่ งมลี ักษณะโดดเดน่ เป็นเอกลกั ษณข์ องกล่มุ ชนน้ัน จนทำใหเ้ กิดเอกภาพข้ึนในสังคม

3. พิธีกรรมเน้นจิตใจเป็นสำคัญ คือมีจุดมุ่งหมายหลัก อยู่ที่การทำใหเ้ กิดผลทางจิตใจของผู้ท่ี
เกี่ยวข้องทำให้เกิดความสบายใจ เกิดกำลังใจ หายเจ็บไข้ หายวิตกหวาดกลัว เนื่องจากพธิ ีกรรมส่วนใหญ่จัดขึน้
เพราะเชอื่ ว่า วิกฤตการณ์ตา่ ง ๆ ในชวี ิตมนษุ ยเ์ กดิ จากการกระทำของผสี างเทวดา

4. พธิ ีกรรมทางศาสนามคี วามสำคัญตอ่ ศาสนามาก เสมือนเปลือกกระพ้ีของตน้ ไม้ คือถ้าตัดไม่
ถกู เอาเปลือกออกเสียก็จะตาย แก่นแท้ของศาสนาเปรียบเสมอื นแก่นของต้นไม้ ถ้าขาดพิธีกรรมอนั เป็นเปลือกนอก
เสียแล้ว ตวั ศาสนากย็ อ่ มตั้งอยไู่ ม่ได้ เพราะพธิ ีกรรมเปน็ ดา่ นนอกทป่ี อ้ งกนั ศาสนาไว้ และเป็นสือ่ ทีจ่ ะชักนำคนเข้า
มาหาแก่นแท้ของศาสนาสมัยปัจจุบันยิ่งเห็นได้ชัด เช่น พุทธศาสนาในประเทศไทยถ้าขาดพิธีกรรมเสียแล้ว
ประชาชนจะไมย่ อมเข้าใกลศ้ าสนาพระเณรก็จะดำรงอยไู่ มไ่ ด้ พทุ ธศาสนาก็จะขาดผสู้ ืบต่อ และได้สรุปถึงพิธกี รรม
ตามโอกาสว่าพิธีกรรมตามโอกาสเกิดขึ้นเมื่อถึงเวลาที่มนุษย์มีความจำเป็น มีความต้องการว่าจะต้องประกอบ
พิธีกรรมเพื่อให้เกิดผลดีทางจิตใจตามความเชื่อถือของตน โอกาสหรือเวลาดังกล่าวนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น 2
ประเภท คอื เวลาชีวิตมีความทุกขเ์ ดือดรอ้ นและเวลาชวี ติ มคี วามสุขประสบผลสำเรจ็ ตลอดถึงการเรมิ่ ต้นใหม่ในชวี ติ
ในยามท่ีมนษุ ย์มคี วามทุกข์ความเดือนร้อนตา่ ง ๆ เป็นช่วงเวลาทเ่ี กิดเหตุการณ์วิกฤตขน้ึ ในชวี ติ ประจำวนั เช่น เจ็บ
ไขไ้ ดป้ ่วย ไมส่ บายใจดว้ ยเหตุต่าง ๆ จึงจัดพิธีกรรมขนึ้ ตามความเชือ่ ท่ีวา่ สิ่งศกั ดส์ิ ิทธิ์จะช่วยจดั ปัดเป่าวิกฤตการณ์
เหล่านั้น จึงเรยี กพิธีกรรมประเภทน้วี ่า “พิธีกรรมรกั ษาโรค” ได้แก่พธิ ที ำบญุ เล้ียงพระโดยปรารภเหตุเจ็บป่วยพิธี
สะเดาะเคราะห์ เป็นต้น โรคกายโรคจิตดังกล่าวนั้น มนุษย์เชือ่ วา่ เป็นการกระทำของส่ิงเหนือธรรมชาตคิ ือผีสาง
เทวดา พิธกี รรมรักษาโรคอาจแบง่ ได้เปน็ 2 ลักษณะคอื ขม่ ขู่ ปราบปรามใหข้ ยาดกลัวจนเลกิ เบยี ดเบียนผู้ป่วยและ
ยกย่องบชู า ขอโทษ เพ่อื ให้รบั การขออภยั แล้วเลิกเบียดเบียนผปู้ ว่ ยบางโอกาสทม่ี นุษยม์ คี วามสุข ความเจรญิ มโี ชค
ลาภ รอดพน้ อันตรายได้ที่อยู่ใหม่ เรม่ิ ตน้ ชวี ิตใหม่และเริม่ กิจการใหม่ เปน็ ต้น ก็ประกอบพธิ กี รรมเรยี กวา่ “ทำบุญ”
เช่น ทำบุญวันเกิดฉลองตำแหน่งใหม่ ทำบุญบ้าน ขึ้นบ้านใหม่ ตั้งศาลพระภูมิ และเปิดกิจการใหม่ เป็นต้นเพอื่
ความสบายใจ เปน็ สิริมงคลและเพื่อขจัดปดั เปา่ เสนยี ดจญั ไรในพ้นื ท่จี ะเขา้ ไปอยอู่ าศยั เก่ยี วข้อง

34

สเุ มธ เมธาวิทยกลุ (2532 : 204) ได้กลา่ วถึงการทำนบุ ำรงุ สง่ เสริมและการแก้ไขดังน้ี
1. พิธีกรรมที่เกี่ยวกับการปลูกบ้าน สร้างอาคารเป็นกิจกรรมเพื่อสิรมิ งคล คือสิ่งที่ดีงามทัง้ ส้ิน

เมื่อเป็นสิ่งที่ดีงาม เป็นเอกลักษณ์ไทยประการหนึ่งก็ควรอนุรักษ์ส่งเสริมอย่างยิ่งขณะนี้หน่วยงานที่ทำหน้าท่ี
เก่ียวกบั วัฒนธรรม ยังไม่ไดท้ ำการอนุรักษส์ ง่ เสริมและแก้ไขแต่ประการใดจึงควรจะทำการเผยแพร่ความรู้และวิธี
ปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้องทางสอ่ื มวลชนตา่ ง ๆ และนำเข้าสู่ระบบการศกึ ษาของชาติด้วย เพราะเป็นประเพณีท่ีเกิดจากความ
ต้องการทางจิตใจของคนในชาติ เช่นเดยี วกบั ขนบธรรมเนียมประเพณีอน่ื ๆ

2. สมัยปัจจบุ นั น้ี คนสมัยใหม่บางคนอาจจะละเลยไมป่ ฏิบตั ิพิธีกรรมและการปลูกสร้างอาคาร
บ้านเรือน เช่นคนหัวนอก บริษัทกอ่ สรา้ งอาคารสถานที่ บ้านท่อี ย่อู าศยั เป็นตน้ บางรายไมไ่ ด้ประกอบพิธีกรรมเลย
เพราะเหน็ ว่าทำขายตวั เองกไ็ ม่ได้อยอู่ าศัย ถา้ ผซู้ อ้ื บา้ นหรือตึกแถวทาวเฮ้าส์ แฟลต คอนโดมเิ นยี ม ได้ทำบุญก่อน
โดยการเจริญพุทธมนต์และประพรมน้ำพุทธมนต์ก็จะ“เคลียร์พื้นท่ี” ได้เฉพาะผิวหน้าเท่านั้น ไม่สามารถจะ
ครอบคลมุ ไปถึงโครงสร้างส่วนลึกของตวั อาคาร และพนื้ ท่ขี องอาคารไดส้ ิง่ กอ่ สรา้ ง สิง่ อัปมงคลก็ยงั คงมอี ยู่เช่นเดิม
ผู้อยู่อาศัยก็จะเป็นผู้รับผลกระทบโดยตรง สิ่งที่ควรแกไ้ ขก็คือผู้รับเหมาก่อสร้าง ควรจะเห็นความสำคัญในเรื่อง
สวัสดภิ าพของผอู้ ยู่อาศยั บ้าง อยา่ คดิ เอาแต่ไดฝ้ ่ายเดยี ว ถา้ ผ้รู บั เหมายกเอาเรื่องการประกอบพธิ มี งคลปลูกบ้านน้ี
ข้นึ เปน็ บทโฆษณาขายชาวบา้ นของตน กจ็ ะเป็นทีด่ งึ ดดู ลกู ค้าไม่น้อยและเปน็ การสนองความต้องการทางดา้ นจิตใจ
ของคนไทยดว้ ย
ความเช่ือเรอ่ื งการจัดงานวันเกดิ
1. ความหมายของวนั เกดิ

วันเกดิ หมายถึง วันแรกท่มี ีสภาพของการมชี วี ติ หรอื วันแรกทีถ่ อื กำเนดิ จากครรภม์ ารดาถือว่าวันน้ันเป็น
วันเกิด (พจนานกุ รมภาษาไทย , เขา้ ถึงเม่ือ 2563)

2. การเป่าเคก้ วนั เกิด

2.1 ความหมายและท่ีมาของเคก้

พจนานุกรมราชบณั ฑติ ยสภา (2555) ใหค้ วามหมายคำวา่ เคก้ ไว้ว่า ขนมฝรง่ั ชนดิ หนงึ่ ทำดว้ ยแป้งสาลี
ผสมไข่ เนย น้ำตาล เป็นตน้ แล้วผงิ หรืออบให้สกุ

เค้ก เป็นขนมทมี่ ีกระบวนการทำใหส้ ุกโดยการอบ เป็นขนมทน่ี ิยมบริโภคกนั ทกุ กลมุ่ ชน เค้กมีหลาย
ประเภทและมคี ณุ สมบัตติ ่าง ๆ กนั ซ่งึ ขึน้ อยกู่ ับองค์ประกอบของส่วนผสมคอื แป้งสาลี ผงฟู เกลอื ไขมนั น้ำตาล
ไข่ นม และกลิน่ รส โดยต้องมอี งค์ประกอบเปน็ ตวั เค้กใหม้ ีความสมดุลย์ตา่ งกันไป แล้วแต่ชนดิ ของเค้กท่ีจะทำ
Cake มีรากศัพท์มาจากภาษาของชาวไวกง้ิ (Old Norse word) วา่ "kaka" ปี 1843 อลั เฟรด เบริ ์ด (Alfred Bird
1811-1878) นักเคมีชาวอังกฤษได้ค้นพบ "ผงฟู" หรือ "baking powder" ทำใหเ้ ขาสามารถทำขนมปงั ชนิดทไี่ มม่ ี

35

ยสี ตใ์ ห้กบั ภรรยาของเขา อลซิ าเบธ (Elizabeth) ไดเ้ ปน็ ครงั้ แรกเน่ืองจากภรรยาของเขาเปน็ โรคภมู ิแพเ้ ก่ียวกบั ไข่
และ ยีสต์ ในราวศตวรรษที่ 13 มีการค้นพบหลกั ฐานการอบขนมเคก้ ขน้ั แอดวานซ์ทเี่ ก่าแกท่ ี่สุดจากชาวอยี ิปต์
โบราณโดยมกั จะเปน็ รสชาติของเคก้ ผลไม้ และ Ginger bread รปู แบบเคก้ ทรงกลมทเ่ี ราเห็นกนั ทกุ วันนี้ เรมิ่ ราว
กลางศตวรรษที่ 17 ในยโุ รป ซงึ่ เป็นชว่ งทม่ี พี ัฒนาการของเตาอบ แบบพมิ พข์ นมและนำ้ ตาลทราย รสชาตทิ ่ีนยิ มก็
ยังเปน็ รสผลไม้

2.2 จุดเทียน
2.2.1 ตำนานของชาวกรกี โบราณ มีความเชอ่ื วา่ เทยี นที่ปกั อยู่บนเค้กวันเกดิ นน้ั เอาไว้บูชาเทพีจันทราณ์
บนวิหารอาร์เทอมิส นั้นจึงเป็นที่มาของเค้กที่มีรูปร่างเป็นวงกลมซึ่งคล้ายกับดวงจันทร์นั่นเอง และเทียนที่ปกั
อยู่ เชื่อว่าชาวกรีกจำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากแสงเทียนไขที่มีสีเหลืองนวลให้มีแสงประกายไปทั่ว ๆ ตัวเค้กที่มี
รูปร่างเป็นวงกลม ยิ่งดูคล้ายดวงจันทร์มากยิ่งขึ้นถือว่าเป็นการจะได้เข้ากับพิธีบูชาเทพีจันทราณ์ บนวิหารอาร์
เทอมิส
2.2.2 ตำนานของชาวเยอรมนั ในอดตี เชอื่ กนั ว่าการปกั เทยี น เป็นสือ่ สัญลกั ษณ์ของ “Light of life”
หรือ “แสงแหง่ ชวี ติ ” ยง่ิ ถา้ เทียนทปี่ ักบนเคก้ วนั เกิด มีขนาดใหญ่เทา่ ไหร่ชีวติ จะมคี วามสุขสว่าง มคี วามเจรญิ
รงุ่ เรืองเปรยี บไดก้ บั เป็นแสงเทยี นแหง่ ชวี ิต
2.2.3 ตำนานอ่ืน ๆ มผี ู้เชยี่ วชาญบางกลมุ่ เช่อื ว่าการปักเทยี นไว้บนเคก้ วนั เกดิ อาจจะเรมิ่ ตน้ ขน้ึ โดย
ศาสนาครสิ ต์ เพราะในความเชื่อของครสิ ตเ์ ชอื่ วา่ พระเจ้าของพวกเขาอาศัยอยู่บนสรวงสวรรค์ และมที างเดยี วทีจ่ ะ
สามารถติดต่อกบั พระเจา้ ไดค้ อื ก็ต้องอาศัยแสงสวา่ งจากเทยี นและควนั จากเปลวเทยี น ดังน้ันในทกุ ๆ วันเกิดจงึ มี
การปกั เทยี นเพ่อื ให้พระเจา้ ทรงรบั รู้คำอธฐิ านและการขอพรของเจา้ ของวันเกดิ
2.3 การปักเทยี นบนเค้ก
การปักเทยี นในจำนวนเท่ากบั อายุของเจ้าของวันเกิดนน้ั คาดวา่ มีจุดเรมิ่ ตน้ มาจากชาวเยอรมนั โดยใน ค.ศ.
1746 ทา่ นเคานท์ ลดุ วจิ ฟอน ซนิ เซนดอรฟ์ (Count Ludwig Von Zinzendorf) ไดจ้ ดั งานเล้ียงฉลองวนั เกดิ ท่ี
หรหู รา ย่งิ ใหญ่ ใหญช่ นิดทเี่ รยี กวา่ เป็นงานเทศกาลเลยก็ได้ และแน่นอนว่าในงานนก้ี ็ย่อมมขี นมเคก้ ฉลองวนั เกิด
กอ้ นโต โตท่ีสดุ เทา่ ทจี่ ะหาเตามาอบได้ ซงึ่ เคก้ ก้อนน้ีนเ่ี องทพ่ี บว่ามกี ารปักเทยี นจำนวนเท่ากบั อายุของเจา้ ของวนั
เกดิ เป็นครง้ั แรก และถอื ว่าเปน็ จุดเรมิ่ ต้นของธรรมเนียมการปกั เทียนวนั เกิดใหเ้ ท่ากบั อายุ (ศิลปวัฒนธรรม,
ประวตั ิศาสตร์การเป่าเทียนวันเกิด, 2562)

36

2.4 การเปา่ เทียน

การเป่าเทยี นวันเกดิ มจี ุดเร่มิ ตน้ มาจากความเชอ่ื เกี่ยวกบั “ควัน” พบวา่ ในหลายวัฒนธรรมเก่าแก่ มีความ
เช่ือวา่ ควันเปน็ ส่งิ ท่ีนำพาผู้อธิษฐานไปยงั สรวงสวรรค์ ดงั นัน้ แลว้ การเปา่ เทยี นจงึ เหมอื นเปน็ การเรียกควันให้พาคำ
อธษิ ฐานหรือเจ้าของวันเกิดไปถึงยงั สวรรค์ (ศลิ ปวัฒนธรรม, ประวตั ิศาสตร์การเปา่ เทียนวันเกิด, 2562)
3. วนั เกดิ แบบไทย

การทำบุญวันเกิด หรือพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาที่กำหนดวันแน่ชัดลงไป คือ บรรจบรอบตาม
สุรยิ คติ เพง่ิ มามีข้ึนแผ่นดนิ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 4 แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ เ่ี อง ด้วยทรง
พระราชดำริเห็นว่า

“กาลเวลาท่ีอายุมาบรจบครบรอบอีกปหี นึง่ โดยไม่ตายเสียก่อนนั้นนับว่าเป็นลาภอันอุดมอย่างหนึ่ง ซ่ึง
บุคคลพึงยินดี ควรจะมีการบำเพ็ญกุศล ซึ่งจะเปน็ ทั้งประโยชน์ตนและผู้อื่นด้วย ทั้งเป็นการเตือนใจให้ระลึกวา่
อายุล่วงไปใกล้ความตายเข้าไปอีกก้าวหน่ึงแล้ว จะได้บรรเทาความมัวเมาในชีวิต อันเปน็ ที่ตัง้ แห่งความประมาท
เป็นตัวอกศุ ลกรรมนน้ั เสีย”

เม่อื ทรงพระราชดำรเิ ช่นว่านีแ้ ลว้ จงึ ไดท้ รงบำเพ็ญพระราชกุศลในวันพระราชสมภพมาช้านาน นบั ต้ังแต่
ยังทรงผนวชอยู่ แต่ระหว่างเวลาทีย่ งั ทรงผนวชอยู่นั้น ทรงทำเป็นการอย่างน้อย ๆ และเงียบ การพระราชกุศลที่
ทรงบำเพ็ญน้นั กห็ ามใี ครทจ่ี ะทราบแท้จริงถงึ พระราชดำริดังกล่าวไม่ และการท่ที รงจดั ให้ทำแตล่ ะปนี ัน้ กไ็ ม่มีแบบ
ฉบับอะไรเป็นที่แน่นอน ปหี นึ่งก็มักเปลี่ยนวิธีไปอย่างหนึ่ง เป็นเช่นน้ีเสมอมา แม้จนกระท่ังเสวยราชย์แล้ว (เพม่ิ
ศักด์ิ วรรลยางกลู , เมืองไทยในอดีต, 2503 : 656 ) การท่ีทรงทำในครั้งน้นั ปรากฏวา่ มกี ารสวดมนต์เลีย้ งพระ 10
รปู เปน็ การน้อย ๆ เงยี บๆ ครัน้ ต่อมาก็มีเจ้านายขนุ นางทำบุญวันเกิดกนั ชกุ ชมุ ขึน้ แต่การทำบญุ เกีย่ วกับพระลดลง
เปน็ แค่ประชุมคนแสดงเกยี รตยิ ศใหป้ รากฏว่ามผี นู้ บั ถือมาก ตั้งโรงครวั เลย้ี งกันไปวันยังคำ่ การมหรสพก็มลี ะครเปน็
พนื้ และนำของขวัญไปใหก้ ันมกี ารเล้ียงดกู ันอยา่ งสนุกสนานให้ศลี ให้พรกัน ถา้ เป็นวันเกดิ เจา้ นายขนุ นางช้ันผู้ใหญ่
พระเจ้าแผ่นดินก็พระราชทานพระราชหตั ถเลขาให้พรด้วย พระราชทานของขวัญด้วย สมัยนัน้ การทำบุญถือเปน็
เกยี รติใหญ่ เมอ่ื ถึงวันเกิดของใครก็องึ คนึงเปน็ การใหญ่ต้งั แต่เร่มิ งานจนงานแล้ว และถอื วา่ ถา้ ไมไ่ ปช่วยงานวันเกิด
กันแลว้ เปน็ ไม่ดผู กี ันทีเดียว สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั เมื่อทรงผนวชเป็นสามเณรก็ทรงทำบญุ
วันพระราชสมภพ ตามอย่างพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั วิธีทำก็มี สวดมนต์ เลี้ยงพระและแจกสลาก
สิ่งของต่าง ๆ แก่พระสงฆ์ ทรงทำตลอดมาจนกระทั่งเสวยราชย์และทำเป็นการใหญ่เช่น หล่อพระพุทธรูปอายุ
เรยี กวา่ “หลอ่ พระชนมพรรษา” ทั้งมกี ารตกแตง่ ตามชาลาพระบรมมหาราชวัง ให้เป็นการครกึ ครืน้ สนกุ สนาน ตาม
รมิ น้ำและตามถนนกส็ วา่ งไสวไปด้วยแสงประทีปโคมชวาลา จงึ ไดเ้ กดิ มีการแตง่ ซุ้มไฟประกวดประขันกันขึ้นและมี
เหรียญพระราชทานแก่ผแู้ ต่งซมุ้ ไฟเปน็ รางวลั อน่งึ ในวนั นั้นได้มผี ไู้ ปลงนามถวายพระพร พระบรมวงศานุวงศ์ และ

37

ข้าราชการอ่านคำถวายพระพรอันเปน็ เครื่องหมายแสดงความจงรักภกั ดี จึงถอื เปน็ ประเพณเี นื่องด้วยทำบญุ วันเกดิ
มาจนปัจจบุ ันน้ี (วสิ ุทธนิ ันท์ นลิ พฒั น์, ศาสนพิธี : 2562)

3.1 วิธีปฏบิ ัตใิ นการทำบุญวันเกดิ วิธีปฏบิ ตั ิ ในการทำบุญวันเกิดอาจเลอื กปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย
อยา่ งก็ได้ ดงั นี้

1. ตกั บาตรพระสงฆ์เท่าอายหุ รอื เกินอายหุ รือกร่ี ูปกไ็ ดต้ ามสะดวก
2. บำเพ็ญกุศลอทุ ศิ แกบ่ รรพบุรุษ ที่เรียกวา่ ทักษณิ านุประทานกอ่ นแลว้ จงึ บำเพ็ญกุศลเนอ่ื งในวันเกิด
3. ทำบุญ สวดมนต์ เล้ียงพระ หรอื มพี ระธรรมเทศนาด้วย
4. ถวายสงั ฆทาน
5. ทำทานช่วยชีวิตสัตว์ เช่นปล่อยนก ปลอ่ ยปลา ฯลฯ หรอื ส่งเงนิ ไปบำรุงโรงพยาบาลหรอื กจิ กรรมดา้ น
สงั คมสงเคราะห์อื่น ๆ
6. รักษาศลี หรือบำเพญ็ ภาวนา
7. กราบขอรบั พรจากพอ่ แม่ ปยู่ ่า ตายาย หรือผทู้ ่ตี นเคารพนบั ถอื
8. บำเพ็ญคุณประโยชนอ์ ื่น ๆ โดยมงุ่ ที่การให้ มากกวา่ เปน็ การรู้

3.2 อานสิ งสห์ รอื ผลดีของการทำบุญวนั เกิด
การทำบญุ วนั เกิด คอื การปรารภวนั เกดิ และทำความดีในวันนนั้ เป็นเหตุให้ไดร้ บั ผลดหี รอื อานิสงสต์ อบแทน

ดงั มพี ุทธภาษติ ความว่า “ผ้ใู หอ้ าหาร ช่อื วา่ ใหก้ ำลัง ผู้ใหผ้ ้า ชื่อว่า ใหผ้ ิวพรรณ ผ้ใู ห้ยาน ชื่อว่า ให้ความสุข ผู้ให้
ประทปี ชื่อวา่ ใหด้ วงตา” (พระไตรปิฏก เลม่ ท่ี 15 ขอ้ 138 หน้า 44 ) และพระพุทธภาษิต ความวา่ “ผูใ้ หส้ ง่ิ ท่ีน่า
พอใจ ยอ่ มได้ส่งิ ทีน่ า่ พอใจ ผู้ให้ส่ิงท่ีเลิศ ยอ่ มได้สง่ิ ท่ีเลิศ ผู้ให้สิ่งประเสริฐ ยอ่ มได้ส่ิงทป่ี ระเสรฐิ ผู้ให้สิ่งที่ประเสริฐ
สดุ ย่อมได้สิ่งท่ีประเสริฐสุด “ (พระไตรปฏิ ก เลม่ ท่ี 22 ขอ้ 44 หนา้ 66)

แนวคดิ เกี่ยวกับคติชนวทิ ยา
1.ความหมายของคตชิ นวทิ ยา
คติ หมายถงึ แนวทางวธิ ี
ชน หมายถึง คนในกลุ่มหนึ่ง ชาตหิ นงึ่
วทิ ยา หมายถึง ความรู้
รวมความหมายได้ว่า วิชาความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิต หรือแบบอย่างการดำเนินชีวิตของแต่ละกลุ่มสังคม

ซึ่งเป็นความหมายที่มีขอบเขตกว้างขวางมาก ครอบคลุมความหมายของคำว่า วัฒนธรรม ในสาขาวิชา
มานษุ ยวิทยา

38

นกั วิชาการได้ใหค้ วามหมายคำว่า คตชิ นวทิ ยา ไว้ดังน้ี

สุนีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์ ได้สรุปความหมายของ คติชนไว้ดังนี้ คติชน เป็นวาที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ทาง
วัฒนธรรมของกลุ่มชนและเป็นวชิ าท่ีมีชวี ติ ค่กู ันไปกับกลมุ่ ชนหรือสงั คมมนุษย์ คตชิ นวิทยาจะเกบ็ รกั ษาผลผลิตทาง
วัฒนธรรมในอดตี กาลและจะติดตามทำความเข้าใจรวมทัง้ รวบรวม บนั ทกึ ความเคลอ่ื นไหวต่าง ๆ ทางวัฒนธรรม
ทั้งในอดตี และปจั จบุ ันดว้ ย จึงเปน็ วชิ าการท่ีไม่หยุดน่งิ ก่งิ แกว้ อตั ถากร (2527 : 1)

สติธ ธอมป์สนั (Stith Thompson, 1949 : 403) ผู้ไดร้ บั สมญาว่าเป็นบิดาแห่งคติชน ได้เน้นถึงความ
เกา่ แก่ “ปรมั ปราพิธ.ี ..สิ่งท่ถี ่ายทอดจากคน ๆ หนงึ่ ไปสู่คนอ่นื ๆ และถูกอนุรักษไ์ วใ้ นความทรงจำหรือการปฏิบัติ
มากกว่าการบันทึก มักเกี่ยวข้องกับการเต้นรำ เพลง นิทาน ตำนาน และปรัมปราพิธี ความเ ช่ือ สำนวน ภาษิต
การศึกษาธรรมเนียมประเพณี การเพาะปลกู การปฏิบตั ิในบ้านเรือน การสร้างที่อยอู่ าศยั และเครอื่ งใช้ไม้สอย...”

วิลเลียม อาร์ บาสคมั (William R. Bascom, 1949 : 398) กล่าว่า “ในทางมานษุ ยวทิ ยาน้ัน คำว่า
คติชน หมายถึง นิยายปรมั ปรา, ตำนานท้องถิ่น, นิทาน, ภาษิต, ปริศนา, โคลง, กลอน, และรูปแบบตา่ ง ๆ
ของการแสดงออกทางศลิ ปะทเี่ ปน็ ถ้อยคำ”

และมีคำอธิบายของ อลัน ดันดีส (Alan Dundes, 1965 : 3) ซึ่งกล่าวไว้ว่า คติชนรวมไว้ซึ่ง “นิยาย
ปรมั ปรา ตำนานท้องถิ่น นทิ านพ้ืนบา้ น มุขตลก ภาษติ คำพังเพย ปรศิ นา บทสวดมนต์ คำอวยพร คำสาปแชง่ คำ
สาบาน คำทอี่ า่ นยาก (tongue-twisters) คำทกั ทาย และคำอำลาที่เป็นแบบแผน วัฒนธรรมการแตง่ กาย การรอ้ ง
รำทำเพลง ละครพื้นบ้าน ศลิ ปะพ้ืนบา้ น ความเชอื่ เครอื่ งดนตรพี นื้ บา้ น เพลงพน้ื บ้าน คำกลา่ ว คำอปุ มา ช่อื ต่าง ๆ
เช่น ช่อื เล่นและช่อื สถานท่ี กวีนพิ นธ์พื้นบ้าน การเขยี นโคลงและคำขวญั วรรณกรรมฝาผนงั การละเลน่ การออก
ท่าทาง (ภาษาใบ้) การประกอบอาหาร การปักผ้า ออกแบบลวดลายในผา้ การสรา้ งบา้ น ยุง้ ฉาง ร้ัว...เปน็ ตน้ ”

อาร์เซอร์ เทเลอร์ (Archer Taylor, 1965 : 37 ) ให้ความหมายโดยสรุปว่า คตินได้แก่สิ่งที่มีการ
ถา่ ยทอดโดยทางประเพณี วิธีการถายทอดโดยทางคำพดู หรอื โดยขนบธรรมเนียมประเพณี และปฏิบัติสบื ทอดกัน
มาอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ เชน่ เพลงชาวบ้าน นิทานชาวบา้ น ปรศิ นาคำทาย สุภาษิตหรอื เรอื่ งอน่ื ๆ ซ่งึ เก็บรักษาไว้ได้
จากการถา่ ยทอดโดยทางวาจาสืบต่อ ๆ มา ดังนั้น คติชน ก็อาจเป็นเคร่อื งมือเคร่อื งใช้ สิง่ ของ เช่น รูปแบบของร้ัว
ลวดลายต่าง ๆ หรือสัญลกั ษณ์ เช่น สวัสดิกะ นอกจากนี้ยังไดแ้ ก่วธิ ีการทำสิ่งใดสิ่งหน่ึงตามความเชื่อดั้งเดิม เชน่
การรกั ษาโรคตามแบบพ้ืนบ้านกไ็ ด้

สรุปไดวา คติชนวิทยา หมายถึงปรากฏการณที่เกิดขึ้นจากวิถีชีวิตหรือ ความเปนอยูของมนุษย
ตลอดจนผลผลิตหรอื การสรางสรรคตาง ๆ เช่น วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การละเลน่ ท่าทาง สุภาษิต
คำพังเพย เคร่อื งใชไ้ มส้ อย ฯลฯ มกี ารปฏิบตั สิ บื ทอดผ่านทางวาจาและการกระทำ จากอดีตมาจนปจจุบนั

39

ลกั ษณะของคตชิ นวิทยา
1. เป็นมรดกทางวฒั นธรรมทีส่ ืบตอจากคนรุนก่อนมาสู่คนรุ่นหลังหลายชัว่ อายคุ น
2. ไม่มใี ครรูวาผู้ใดเป็นผู้คิดขึน้ มา
3. ขอมูลประเภทมุขปาฐะ (Verbal) ในชวงแรไม่มกี ารจดบันทึกแตจะถายทอด ดวยปากเปนถอยคําบอก
เลาท่เี รยี กวา “มุขปาฐะ”
ความเป็นมาของคติชนวิทยา
คติชนวิทยา เป็นวิชาที่เกิดขึ้นและพัฒนามาตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 19 มีนักโบราณคดี และนักนิรุกติ
ศาสตรชาวองั กฤษและเยอรมัน ไดสนใจเก็บรวบรวมเทพนยิ ายและเร่ืองปรัมปรา ของคนพื้นบานพื้นเมือง เชน
สองพี่นองตระกูลกริมม กได้รวบรวมและตีพิมพนิทานมุขปาฐะ และตีความใหความหมายเทพนิยาย (myth)
ของเยอรมันไวดดว้ ย ผูสนใจอื่น ๆ ก็มีอีกหลายคน ที่ศึกษาเกี่ยวกับเร่ืองโบราณเกาแกจนกระทั่งถึง ค.ศ. 1886
(พ.ศ. 2389) นายวิลเลียม จอหน ธอมส (William John Thoms) ไดบัญญตั คิ ําวา Folklore ข้นึ โดยใชนาม
แฝงวา แอมโบรส เมอรตัน (Ambrose Merton) เขียนจดหมายลงในวารสารช่อื The Anthenaeum เสนอว
าควรใชคําวา Folklore ซึ่งแปลวา “ความรูของปวงชน” แทนคําวา “คติโบราณของ ปวงชน” (popular
anitiquities) คํา Folklore จึงเปน็ ศัพท์ใชทางวชิ าการแต่นน้ั มา ในประเทศไทยมีคําใชอยูหลายคํา ดังน้ี

คติชาวบ้าน เปน็ คำที่พระยาอนุมานราชธนและราชบณั ฑิตยสถานคดิ ขึ้นใชเม่อื ป พ.ศ. 2509

คตชิ นวทิ ยา เปนคาํ ที่ ดร.ก่งิ แกว อตั ถากร ใชในเอกสารเมอ่ื ป พ.ศ. 2519 ใน หนังสือคติชนวิทยาที่
หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู พิมพเผยแพร ซึ่ง ดร.กิ่งแกว อัตถากร ได้ใหเหตุผลวา Folklore ที่
พระยาอนุมานราชธนและราชบัณฑิตยสถาน แปลวา “คติชาวบ้าน” นั้นนาจะใชเรยี กขอมูลบางสวน สวนชอ่ื
วิชาควรใชคําคตชิ นวทิ ยา

วัฒนธรรมพื้นบ้าน เป็นศัพท์ที่ใชในการสัมมนาระดับชาติของทบวงมหาวิทยาลัย ระหว่างวันที่ 1 – 5
พฤศจิกายน 2520 ณ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วิทยาเขต พิษณุโลก และตอมาสำนักงานคณะกรรมการ
วัฒนธรรมแหงชาติไดใ้ ชอยู่ในปจจบุ ันนี้ โดยให ความหมายวา “วฒั นธรรมพื้นบ้าน คอื วถิ ีชีวิตของชาวบา้ น ซ่ึง
ไดป้ ฏบิ ตั ใิ นสงั คมแบบชนบท แสดงใหเหน็ เอกลกั ษณชองชุมชนและทองถิ่น”

คติพนื้ ถ่ิน เปน็ คำที่ ดร.วรรณี วบิ ูลยสวัสด์ิ แอนเดอรสัน เป็นผู้นิยามใชเม่ือป พ.ศ. 2520 โดยใหเหตุ
ผลวาเป็นการศึกษาเรื่องราวอันเป็นของพื้น ๆ ที่เป็นทีร่ ูจักกันดีในกลุมชนถ่ินนัน้ และมีความหมายใกลเคียงกับ
ขอบเขตการศึกษาของสาขาวิชานี้ นอกจากนี้ยังใชคํา ชีวิตพื้นถิ่น แทนคํา Folklore อันเป็นวิชาเกี่ยวกับชีวิต
พ้ืนบา้ นที่เน้นวัฒนธรรมประเภทอื่น ๆ

40

ขอบข่ายของคติชนวิทยา
วชิ าท่ีศกึ ษาเรอื่ ง วัฒนธรรมมีหลายสาขา เชน่ มานษุ ยวิทยา สังคมวทิ ยา และวรรณคดี จงึ ยากที่จะกำหนด

ขอบข่ายของวาคตินวิทยาให้แน่ชัดตายตัว เพราะคติชนวิทยาเป็นเรื่องของมนุษย์ก็ต้องเกี่ยวข้องกับวิชา
มานษุ ยวทิ ยา คติชนวทิ ยาเป็นเรอ่ื งของคนในสังคมกลมุ่ ต่าง ๆ ทม่ี วี ฒั นธรรมเป็นของตัวเองก็ต้องเกี่ยวขอ้ งกบั สงั คม
วิทยา และถ้อยคำที่ชาวบ้านใช้นั้นบางครั้งคล้องจองไพเราะจัดเป็นภาษาวรรณศิลป์ ก็เป็นส่วนที่คล้าย กับวิชา
วรรณคดี ซึ่งอาจสรุปได้ว่า คติชนวิทยาเป็นวิชาที่เกี่ยวขอ้ งกบั วัฒนธรรมและประเพณีของาวบ้านน่ันเอง (คติชน
วิทยา, 2543)

ประเภทของคติชนวิทยา
บรนแวนด์ (Brunvand, อ้างถึงในอารี ถาวรเศรษฐ์ม, 2546 : 5-6) ได้แบ่งคติชนวิทยาออกเป็น 3

ประเภท ใหญๆ่ ดงั นี้
1) คตชิ นวิทยาประเภททใี่ ชภ้ าษา (Verbal folklore) คตชิ นวิทยาประเภทท่ีใช้ภาษาเป็น ตัวกำหนด มี 6

ประเภทยอ่ ย ดงั นี้
1.1) คำพูดของชาวบ้านรวมทง้ั ภาษาถิน่ และการต้งั ชอื่
1.2) สภุ าษติ และคำกล่าวท่ีเป็นภาษิต
1.3) ปริศนาคำทาย
1.4) คำพูดท่ีคล้องจองกนั
1.5) การเล่าเร่อื ง
1.6) เพลงชาวบ้าน

2) คติชนวิทยาประเภทที่ไม่ตอ้ งใช้ภาษา (non-verbal folklore) คติชนวิทยาประเภทที่ ไม่ใช้ภาษาเป็น
ตัวกำหนด มี 7 ประเภทยอ่ ย ดังน้ี

2.1) สถาปตั ยกรรมชาวบ้าน
2.2) ศลิ ปะชาวบ้าน
2.3) งานฝีมือของชาวบ้าน
2.4) การแต่งกายของชาวบา้ น
2.5) อาหารของชาวบ้าน
2.6) อากัปกริ ยิ าของชาวบา้ น
2.7) ดนตรชี าวบ้าน

41

3) คติชนวิทยาประเภทผสม (partly verbal folklore) คติชนวิทยาประเภทที่ใช้ภาษา และไม่ใช้ภาษา
ผสมผสานกัน แบง่ ออกได้ 6 ประเภทยอ่ ย ดังนี้

3.1) ความเชือ่ และคติในเรอื่ งโชคลาง
3.2) การละเลน่ ของชาวบา้ น
3.3) ละครชาวบ้าน
3.4) ระบำของชาวบ้าน
3.5) ประเพณีของชาวบา้ น
3.6) งานมหกรรม งานพธิ ี งานร่ืนเรงิ ของชาวบา้ น
วาสนา เกตุภาค (อ้างถึงใน ขนิษฐา จิตชินะกุล, 2545 : 7-8) ได้แบ่งประเภทของคติชนวิทยา ไว้ 3
ประเภท สรปุ ไดด้ ังน้ี
1) ประเภทใชถ้ ้อยคำ แบง่ ออกได้เปน็ 7 ประเภทยอ่ ย คอื
1.1) เพลงชาวบ้านหรอื เพลงพื้นเมอื ง
1.2) เพลงกล่อมเดก็
1.3) บทกลอนสำหรับเดก็
1.4) ภาษิต
1.5) ปริศนา
1.6) นทิ านชาวบา้ น
1.7) ภาษาถ่ิน
2) ประเภทไมใ่ ชถ้ อ้ ยคำแต่จะถ่ายทอดโดยการประพฤตปิ ฏบิ ัตหิ รอื ทำให้ดู แบง่ ออกเป็น 3 ประเภทย่อย
คือ
2.1) ศิลปะชาวบา้ น
2.2) สถาปัตยกรรม
2.3) งานฝีมอื
3) ประเภทผสม คือ ใชถ้ อ้ ยคำ การกระทำใหด้ ปู ระกอบกนั แบง่ ได้ 5 ประเภทยอ่ ย คือ
3.1) ระบำชาวบ้าน
3.2) ละครชาวบา้ น
3.3) การละเล่นของเดก็
3.4) ความเช่อื
3.5) ขนมธรรมเนยี มประเพณี

42

จากเอกสารที่กล่าวขา้ งตน้ สรุปได้วา่ นกั วิชาการสว่ นใหญไ่ ด้แบ่งประเภทของคติชนวทิ ยาโดยมี เกณฑ์ใน
การจำแนกประเภท คือ คตชิ นทีใ่ ช้ภาษา หรอื ถอ้ ยคำในการถา่ ยทอด คตชิ นทไี่ มใ่ ช้ภาษาและ คติชนทผ่ี สมผสาน
กนั ทง้ั ที่ใชท้ ั้งภาษาและไมใ่ ช้ภาษา
หน้าที่หรือบทบาทของคตชิ นวิทยา

อารี ถาวรเศรษฐ์ (2546 : 10) ได้กล่าวว่า คติชนวิทยามีหน้าที่และบทบาท 5 ประการ คือ ให้ความ
บันเทงิ เป็นกระจกสอ่ งให้เหน็ วัฒนธรรม ให้การศกึ ษากลอ่ มเกลา รักษาแบบแผนพฤติกรรมของ บคุ คล และเป็น
เครอ่ื งบรรเทาอารมณ์ ดงั น้ี

1) ใหค้ วามบนั เทงิ คติชนวิทยาประเภทท่จี ะใหค้ วามบันเทงิ ได้แก่ เพลงชาวบา้ น เพลงกลอ่ มเด็ก นิทาน
ชาวบ้าน การละเล่นพื้นบ้าน ปริศนาคำทาย สิ่งเหล่านี้เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ชาวบ้านเกิดความรู้สึกสนุกสนาน
เพลิดเพลินในการทำงาน ผ่อนคลายความเหน็ดเหนือ่ ยและความตึงเครียดได้ ดังที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชา
นุภาพ ได้กล่าวถึงประเพณกี ารแห่เรอื ของไทย นอกจากน้ียังมีเพลงที่ร้องเพือ่ ความบันเทงิ ผ่อนคลาย ความเหนด็
เหนื่อย ขณะทำงานการเกษตร เช่น เพลงเกี่ยวข้าว เป็นเพลงร้องเล่นในเวลาลงแขกเกี่ยวข้าว เป็นต้น การเลา่
นทิ าน การละเล่นตา่ ง ๆ และการละเลน่ ทายปรศิ นากม็ ีจุดประสงค์เพอ่ื ความบันเทิงเป็น การใช้เวลาวา่ งให้ผา่ นไป
ด้วยความสนุกสนาน แม้คติชาวบ้านจะมีจุดมุ่งหมายแอบแฝงอย่างอื่นแทรกอยู่ เช่น เพื่อให้คำสั่งสอน เพื่อให้
กำลังใจ เร้าอารมณ์ ฯลฯ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาแยกออกเป็นแต่ละประเภทไปก็ตาม แต่หน้าที่หนึ่งของคติ
ชาวบ้านก็คอื ใหค้ วามบนั เทิงและความสนกุ สนาน

2) เป็นกระจกสอ่ งให้เห็นวัฒนธรรม คติชนมีหน้าที่เป็นจารีตธรรมเนียมประเพณีแสดงวัฒนธรรมและ
โครงสรา้ งของสังคมเป็นเสมือน เครื่องนำทางในการดำรงชีวติ เป็นผู้นำทางในเชิงปฏิบัตขิ องคน เช่น พอถึงฤดู
เทศกาลจะมีพิธตี า่ ง ๆ เชน่ เม่ือใกลฤ้ ดกู าลเขา้ พรรษาก็มีการบวชและทอดกฐนิ เมือ่ ออกพรรษา นอกจากน้ี คติชน
ยังช่วยอธิบายหรือให้รายละเอยี ดเก่ียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี สถาบันทางสังคม เป็นการแสดงออกของ
ชาวบ้านในด้านความเชื่อและทัศนคติบางประการ คติชนวิทยาช่วยในการศึกษาวิถีชีวิตของประชาชนและ
ความรู้สึกนกึ คิด ของชาวบา้ น เป็นกุญแจท่ีทำใหผ้ ศู้ กึ ษารู้ถึงเหตุการณ์ ในอดตี และประเพณีสมัยโบราณซึ่งสูญไป
แล้ว สุภาษิต สำนวน คำพังเพย และ ขนบประเพณีต่าง ๆ จะช่วยให้เราเข้าใจรู้วัฒนธรรมต่าง ๆ ของคนใน
สมยั ก่อน การเข้าใจวัฒนธรรมของคนยุคกอ่ น ๆ กจ็ ะทำให้เกิดความช่ืนชมและภาคภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ ในประเทศชาติ
ของตนด้วย

3) ให้การศกึ ษากล่อมเกลา คตชิ นวทิ ยามบี ทบาทในการศึกษาแก่ชนทวั่ ไปในหลายดา้ น โดยเฉพาะอย่าง
ยงิ่ ในสงั คมซึง่ ไมร่ ู้หนงั สือและในสมยั กอ่ นท่ียงั ไม่มีโรงเรยี นเป็นแบบแผนอย่างทุกวันน้ี คตชิ นวทิ ยาได้ให้การศึกษา
แบบนอกระบบในหลายทาง เช่น นทิ านชาวบา้ นประเภทตา่ ง ๆ ของไทยมกั มจี ุดมุ่งหมายช้ใี ห้เห็นค่านิยมในสังคม

43

เช่น การทำดีไดด้ ี ทำชว่ั ไดช้ ่ัว ในเพลงกลอ่ มเดก็ กม็ ีการแทรกคำสัง่ สอนต่าง ๆ เอาไวเ้ ชน่ สอนให้มคี วามกตัญญูต่อ
พ่อแม่หรอื ผทู้ ่เี ล้ยี งดูเรามา คตชิ นวิทยาประเภทปริศนาคำทายฝึกให้รูจ้ กั สังเกต มไี หวพริบ ปฏภิ าณ คติชนวิทยา
ประเภทสุภาษิต สำนวน คำพังเพย เป็นเครื่องวิพากษ์ วิจารณ์ ส่งเสริมให้ปฏิบัติหรือ มิให้ปฏิบัติในบางเรื่อง
สอนในสิ่งที่สังคมยอมรับและสิ่งที่สังคมไม่ยอมรับ แทรกข้อความปฏิบัติผ่านความ เชื่อต่าง ๆ เพื่อให้บุคคลมี
ความสุข มสี ุขภาพดี มคี วามปลอดภัย มศี ีลธรรม มีคุณธรรม มสี จั จะ มีความ กตญั ญู เปน็ ตน้ คติชนวทิ ยาประเภท
ขนบธรรมเนียมประเพณี สอนใหร้ จู้ กั ประพฤตปิ ฏบิ ัติ สง่ิ ที่ควรปฏิบัติ ในกาลเทศะและสถานการณอ์ นั ควร

4) รักษาแบบแผนพฤติกรรมของบุคคล คติชนวิทยาประเภทสุภาษิต สำนวน คำพังเพย ความเช่ือ
พธิ กี รรมและประเพณี เปน็ เคร่ืองชว่ ย ควบคุมสงั คม แสดงมาตรฐานความประพฤติของสงั คม ตลอดจนกติกาของ
สังคมทีจ่ ะกำหนดวา่ ผทู้ ่ีจะปฏบิ ตั จิ ะไดร้ บั การยกยอ่ งจากสังคม ผ้ทู ่ไี ม่ปฏบิ ัตหิ รือปฏิบัตไิ มถ่ กู ตอ้ งจะต้องแก้ไขหรือ
ได้รับโทษจากสังคม คติชนประเภทสุภาษิตต่าง ๆ จะกล่าวเปน็ ทำนองห้ามว่าอยา่ ทำ บางทีกแ็ นะว่าสิง่ ใดควรทำ
เชน่ นทิ าน สุภาษติ ตา่ ง ๆ จะแนะวธิ ปี ระพฤตปิ ฏิบัติใหส้ อดคล้องกบั สังคม สภุ าษติ สำนวน คำพังเพยตา่ ง ๆ ของ
ไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเครื่องเตือนใจให้คนในสังคมประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมและบรรทัดฐานของสังคม
ช่วยควบคุมสังคมทางอ้อม เป็นกลไกที่จะคอยเตือนชาวบ้านให้ระลึกถึงขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม และ
บรรทดั ฐานที่ควรปฏบิ ัติ

5) เป็นเครื่องบรรเทาอารมณ์ คติชนวิทยายังเป็นเครื่องช่วยบรรเทาอารมณ์เกบ็ กดและความคับข้องใจ
ของชาวบ้านให้เบาบางลง ความกดดันที่เกิดขึ้นอาจเป็นกดดันด้านสังคมและวัฒนธรรม ความกดดันทางเพศ
ความกดดันในการ ดำเนินชีวิตทางเศรษฐกิจ ฯลฯ หรือความกดดันจากขอ้ ห้ามต่าง ๆ เช่น ข้อห้ามการแต่งงาน
ระหว่างญาติ สนิท เปน็ ตน้ สิ่งเหล่าน้อี าจแสดงออกมาในรูปของเพลงชาวบา้ น นิทานประเภทเพ้อฝนั เพ่ือเอาชนะ
อุปสรรคบางประการเหล่าน้นั อันเป็นส่งิ ทแี่ สดงถึงความปรารถนาทจ่ี ะขจดั อารมณแ์ ละความคับขอ้ งใจที่ เกิดจาก
เหตกุ ารณ์ในชีวิตจริงน่นั เอง

ดังนั้นหน้าที่ต่าง ๆ ของคติชนวิทยาที่กล่าวมาจะเหน็ ได้ว่าหนา้ ที่ทีส่ ำคญั ที่สดุ คือ การดำรงรักษา ความ
มั่นคงของวัฒนธรรม เนื่องจากคติชนช่วยทำให้ชาวบ้านปฏิบัติพิธีกรรมและขนมธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ได้
เหมาะสมและถูกต้องตามแบบแผนของวัฒนธรรมคติชนทำหน้าที่ควบคุมสังคม ยอมรับผู้ปฏิบัติตามบรรทัดฐาน
ทางสังคมหรือตามแบบแผนของสังคมเปน็ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณขี องคนในท้องถิ่น
และเป็นการใหก้ ารศึกษานอกระบบทส่ี ำคัญในสมัยก่อน สว่ นหนา้ ท่อี ืน่ ๆ นั้น สำคัญรองลงมาคือทำหนา้ ท่ีใหค้ วาม
สนกุ สนานเพลดิ เพลิน ชว่ ยผ่อนคลายความตึงเครียดและความคับขอ้ ง ใจใหช้ าวบา้ นทัง้ ผู้ใหญแ่ ละเดก็ อีกด้วย

44

คุณคา่ ของคตชิ นวิทยา

ขนิษฐา จิตชินะกุล (2545 : 16) ได้กล่าวถึงคติชนวิทยาเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าและ
ความสำคญั ต่อมวลมนษุ ย์ชาติหลายประการ สมควรทจ่ี ะได้ศกึ ษาคน้ คว้า ดงั น้ี

1) เป็นเครื่องมือศกึ ษาสถานะของมนุษย์
เพราะเป็นท่รี วมของความรูส้ กึ นกึ คดิ ความเชอ่ื ความนยิ ม ความบันเทงิ ใจ ระเบยี บแบบแผนและ พิธกี รรม
ต่าง ๆ เหล่านชี้ ่วยให้มนุษย์สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับธรรมชาติและมนุษยด์ ว้ ยกนั ง่ายขน้ึ
2) เปน็ เสมอื นกรอบในการดำรงชวี ติ ของมนุษย์
คติชนวิทยาหรือคติชาวบ้านเป็นเสมือนกรอบในการดำรงชีวิตของมนุษย์ที่สังคมนิยมหรือยอมรับกัน
ว่าดีถูกต้อง แม้กฎหมายบ้านเมืองก็ยังไม่สามารถบังคับจิตใจความรู้สึกของมนุษย์ได้สึกซึ้งกว่าคติชน เนื่องจาก
มนษุ ยไ์ ดย้ นิ ได้เห็น ไดร้ ับรู้ ไดอ้ บรม และอยู่กบั วถิ ชี ีวิตแบบนั้น ๆ มาแต่ออ้ นแต่ออก
3) เป็นมรดกหรอื สมบัตขิ องชาติ
คติชนวทิ ยาหรือคตชิ าวบ้านเป็นมรดกหรอื สมบัติของชาตใิ นฐานะทเี่ ปน็ วัฒนธรรมประจำชาตเิ ป็นเรื่องราว
ท่เี ก่ยี วกับมนษุ ย์แตล่ ะชาติ แต่ละภาษาทม่ี กี ารจดจำถอื ปฏบิ ตั แิ ละถ่ายทอดต่อ ๆ กนั มา
4) มคี ุณคา่ ทง้ั ในดา้ นศิลปะและดา้ นศาสตร์
คติชนวิทยามคี ุณคา่ ทงั้ ในด้านศลิ ปะและดา้ นศาสตรช์ ว่ ยในการศึกษาวชิ าการสาขาอื่น ๆ เช่นมานษุ ยว์ ทิ ยา
การเมืองการปกครองไดก้ ว้างขวางลกึ ซงึ้ ยงิ่ ข้ึน
5) ช่วยให้มนษุ ย์เกิดความนิยมและภาคภูมิใจในทอ้ งถิน่ ของตนเอง
คติชนวิทยาช่วยให้มนุษย์เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้มองเห็นความ
แตกตา่ งและความคลา้ ยคลึงกันกบั สภาพท้องถิน่ อืน่ ๆ ทำใหส้ ามารถเขา้ ใจท้ังสภาพของท้องถิ่นตนเอง และทอ้ งถนิ่
อน่ื เปน็ การสร้างเสริมความสามคั คใี นสงั คมและความเขา้ ใจซง่ึ กนั และกัน ซึ่งจะนำมาซง่ึ ความผาสุกในสังคม
6) เปน็ องค์ความร้ใู นการพฒั นาประเทศ
ความเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสังคมไทยจากสงั คมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรมและก้าวหน้าสู่
ข้อมลู ขา่ วสาร กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ สังคมและการเมอื งอยา่ งรวดเร็วและ ซับซอ้ น มีการนำเขา้
ภมู ิปัญญาใหม่ ไดแ้ ก่ ความรู้ แนวคดิ วิธกี าร ท่ีมีรากฐานมาจากวิทยาการและ เทคโนโลยตี ะวันตก ฯลฯ ซึ่งเป็น
แรงผลัดดนั ให้คนในสังคมละเลยภูมิปัญญาไทย ซึ่งได้ใช้เวลาปรับตัวและปรบั เปลีย่ นเป็นวิวัฒนาการทีเ่ น้นความ
สมดลุ ระหวา่ งธรรมชาติกบั มนษุ ย์ ภาวะวิกฤตดงั กล่าวเปน็ แรงจงู ใจใหม้ ีการสง่ เสริมการศกึ ษาภมู ิปัญญาไทยอย่าง
เปน็ กิจจะลักษณะเพื่อนำไปพัฒนาประเทศได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

45

จะเห็นว่าคติชนวิทยาที่เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านมีบทบาทและหน้าที่สำคัญต่อมนุษย์ ต่อสังคม
เป็นเครื่องมอื ให้ความบนั เทิง การศึกษา อบรมส่ังสอนบตุ รหลาน เปน็ เครื่องมือควบคุมรักษาแบบแผนของ สังคม
ทำให้วัฒนธรรมสมบูรณ์และเข้มแข็งขึ้น ตลอดจน คติชนยังมีอิทธิพลต่อสังคมในด้านการให้ การศึกษาเป็น
ตัวกำหนดพฤติกรรมของตนในสังคม และมอี ิทธิพลตอ่ การรับและเผยแพร่วฒั นธรรมอีกดว้ ย

2. แนวคดิ ทฤษฎี คติชนสร้างสรรค์

ศิราพร ณ ถลาง ได้ประดิษฐ์ศัพท์ที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ดังกล่าวขึ้นว่า “คติชนสร้างสรรค์”
(creative folklore) เพ่อื ลอ้ กับคำว่า “เศรษฐกจิ สร้างสรรค์” (creative economy) ที่อาศัยแนวคิดเรอื่ งการ
พฒั นาเศรษฐกจิ โดยการสร้างมูลคา่ เพ่มิ (value adding) โดยทุนทางวฒั นธรรมท่มี อี ย่เู ดมิ ซึ่งหมายรวมถึงการ
นำเอาระบบคณุ ค่า ระบบความเชอื่ และคตชิ นท่ีมอี ย่เู ดมิ ในสังคมประเพณีมาสร้างสรรค์ใหม่ในสังคมปัจจุบัน
ส่วน “คติชนสร้างสรรค์” น้นั ศิราพร ณ ถลาง ให้ความหมายไว้วา่ หมายถงึ คตชิ นท่มี กี ารสรา้ งใหม่หรือผลิต
ซำ้ ในบรบิ ททางสงั คมไทยปัจจบุ นั ในลักษณะของการสบื ทอดคติชนในบริบทใหม่ การประยุกต์คตชิ น การ “ต่อ
ยอด” คติชน การตีความหมายใหม่และสร้างความหมายใหม่ หรือการนำคติชนไปใช้เพือ่ “สร้างมูลคา่ เพ่มิ ”
หรือ เพอื่ สร้างอตั ลักษณข์ องทอ้ งถิ่นหรอื อตั ลักษณช์ าติพนั ธุ์ (ศริ าพร ณ ถลาง, 2559 : 18-19)

ศิราพร ณ ถลาง ยังชี้ให้เห็นถึงบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อการเกิดปรากฏการณ์ “คติชน
สร้างสรรค์” ซึ่งมีลกั ษณะเป็นพลวตั ของคตชิ นและการนำขอ้ มูลคติชนไปปรับใช้ตามบริบทต่าง ๆ 4 บรบิ ท คือ

1. บริบทโลกาภวิ ัตน์และการท่องเทย่ี ว เปน็ บรบิ ทท่ที ำให้เกดิ การเช่อื มโยงกันได้อย่างเสรีของคน
ทั้งโลก เกิดการเรียนรู้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ส่งผลให้เกิดนโยบายการรณรงค์ส่งเสริมการท่องเที่ยวทั้งการ
รอ้ื ฟ้นื วฒั นธรรมพ้นื บ้านและพิธกี รรมประเพณีเพอ่ื การทอ่ งเทีย่ ว เนื่องจากส่ิงเหลา่ น้ีเป็น ทุนทางวัฒนธรรม
ทำใหว้ ัฒนธรรมพ้นื บ้านกลายเปน็ สนิ คา้ ทข่ี ายได้ และมีมลู ค่าเพิม่ เช่น ผลิตภัณฑ์โอทอ็ ปในแตล่ ะตำบล บรบิ ท
ทางสังคมเชน่ น้ที ำใหม้ กี ารรือ้ ฟ้นื วัฒนธรรม หรือสร้างวัฒนธรรมใหม่เพ่ือสรา้ งอัตลกั ษณ์ท้องถ่ินผ่านข้อมูลคติ
ชน ตลอดจนการปรับประเพณีเดิมหรอื มกี ารสร้างประเพณีใหม่ ๆ เพอ่ื รับใช้การทอ่ งเท่ยี ว

2. บริบทสังคมทุนนยิ มและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ คอื การส่งเสริมการนำทุนทางวัฒนธรรมไปเพิ่ม
มูลค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นผลให้เกิดปรากฏการณก์ ารสร้างสรรค์สินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลติ ภัณฑ์ รวมไปถึง
การส่งเสริมการท่องเท่ียวที่จะเปน็ การสรา้ งรายได้ใหแ้ ก่ประเทศ เพราะฉะนั้นวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น วัฒนธรรม
ของชาตพิ ันธุ์ทงั้ วัฒนธรรมทางวัตถุ ตลอดจนคตชิ นประเภทตา่ ง ๆ ท้งั เรือ่ งเลา่ พื้นบ้าน การละเลน่ การแสดง
พิธีกรรมประเพณี เครื่องจักรสาน อาหาร ผ้าทอ ฯลฯ ต่างก็ถูกพัฒนาให้เป็นสินค้าวัฒนธรรมในบริบทของ
สงั คมไทยปัจจุบนั


Click to View FlipBook Version