The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-02 02:39:46

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด

การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่นสู่ขวัญวันเกิด ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Keywords: การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม,ความเชื่อและพิธีกรรม,คติชนวิทยา,บายศรีสู่ขวัญ

46

3. บริบทความเป็นสังคมในยุคข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีการนำเสนอคติชนใน
สงั คมประเพณีผา่ นส่ือสมยั ใหม่ ในรปู แบบของส่อื สง่ิ พิมพ์ เชน่ หนังสอื นทิ าน การต์ ูนนทิ าน หรอื วีดโิ อการละเล่น
การแสดง ประเพณีพิธีกรรมในสอื่ อินเทอรเ์ นต็ ในโลกออนไลน์ โลกไซเบอร์ สอื่ สมยั ใหม่เหล่านี้จึงทำหน้าท่ีผลิตซ้ำ
และสบื ทอดคติชนประเพณใี หม้ อี ายุยืนยาวตอ่ ไปโดยนำเสนอให้เหมาะสมกบั บรบิ ททางสงั คม

4. บริบทแห่งความเปน็ สงั คมเปดิ ที่ทำให้เกิดการเดินทางข้ามพรมแดน จึงเกิดความหลากหลาย
ชาติพนั ธ์ุในสังคมไทย เชน่ แรงงานข้ามชาติ เกดิ ภาวการณ์แสดงอัตลกั ษณ์ชาติพันธ์ุ ผ่านกลไกทางวัฒนธรรมของ
คนแตล่ ะกลุ่มเม่ือมโี อกาส เวลา และพ้นื ท่ีทางสงั คมในบริบทขา้ มพรมแดน

ส่วนแนวคิดในการวิเคราะห์ข้อมลู คตชิ นที่มีการปรับใช้ในบริบทสังคมร่วมสมัยเหลา่ นั้น ศิราพร
ณ ถลาง ได้นำเสนอแนวคิดต่าง ๆ ไว้ในบทความ “คติชนสร้างสรรค์” : บทปริทศั น์บรบิ ททางสังคมและแนวคิดที่
เกี่ยวขอ้ ง (2556) ดงั น้ี

1) แนวคิดเรื่อง Folklore vs Fakelore ศิราพร ณ ถลาง เห็นว่าแนวคิดเรื่อง Folklore vs
Fakelore หรือ คติชนแท้ กับ คติชนเทียม ที่ Richard Dorson เสนอไว้ เกี่ยวข้อกับการวิเคราะห์ปรากฏการณ์
คติชนสร้างสรรค์ เพราะการนำเอาคติชนแท้ทีส่ บื ทอดมาแตเ่ ดิมมานำเสนอใหม่ให้ต่างไปจากลักษณะท่ีเคยมีมาใน
อดีตจนทำให้คนในวฒั นธรรมเชือ่ ว่าเปน็ คติชนแท้นั้น Richard Dorson เห็นวา่ เป็นลกั ษณะของคติชนเทียม แล้ว
คติชนเทียมตามข้อมสังเกตของ Richard Dorson ก็นำมาให้เพื่อการพาณิชย์ ซึ่งตรงกับประเด็น “เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์” นอกจากนี้ ศริ าพร ณ ถลาง ยงั ไดอ้ ธบิ ายเพมิ่ ว่า Alan Dundes เหน็ ว่าตอ่ ไปถ้าคติชนเทียม “ขายได้”
ก็จะกลายเปน็ สง่ิ ท่ีครอบครองตลาดท่องเทยี่ วและตลาดส่งออก เมอ่ื กาลเวลาผา่ นไปจึงเป็นไปได้วา่ จากคตชิ นเทยี ม
จะกลายเปน็ คติชนแท้ในท่สี ดุ

2) แนวคิดเรื่อง Authenticity ศิราพร ณ ถลาง เห็นว่าในขณะที่มีการพูดเร่ืองคติชนแท้คติชน
เทียมก็มีคำว่า “Authenticity” ที่มีนัยยะถึงมรดกทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต หรือคติชนที่เป็น “ของแท้” “ของ
ดั้งเดิม” หรือ “ของโบราณ” ตามมา แนวคิดนี้เก่ียวข้องกับการวิเคราะห์คติชนสร้างสรรค์เพราะคนไทยในสงั คม
สมัยใหมไ่ ดส้ ูญเสียหรืออาจเกิดไม่ทันวิถีชีวิตแบบ “โบราณ” การได้ประสบการณ์ “ย้อนยุค” ไปสู่อดีตจึงเป็นส่วน
หนง่ึ ของการท่องเทยี่ วท่ชี ่วยใหเ้ กดิ ความตน่ื เต้นในการไดเ้ ทย่ี วชมและสมั ผัสของทีแ่ ปลกไปจากชีวิตจริงในปัจจุบัน
และเป็นไปได้ว่า “โบราณ” มีนัยยะว่าเป็น “ของดี” ที่มีคุณค่าน่าชื่นชม ซึ่ง “ของแท้” ที่นักท่องเที่ยวได้เสพย์
เหลา่ นั้นอาจเป็นภาพของ “ของแท”้ ม่ผี ่านกระบวนการสร้างปละประดษิ ฐ์ในระดับหนึง่ เพราะฉะน้ันนักวิชาการ
จะตอ้ งตง้ั สตใิ นการวเิ คราะห์ว่า “ของแท้” ท่ีเหน็ อยนู่ ี้เปน็ ของดงั้ เดมิ จริง ๆ หรอื เป็น “ของเทยี ม” รวมท้ังต้องตั้ง
คำถามกับวิธกี ารสร้างของเหล่าน้ันดว้ ย

47

3) แนวคดิ เร่ือง Representation แนวคดิ น้ศี ิราพร ณ ถลาง สรุปไวว้ ่าเกยี่ วขอ้ งกับการวิเคราะห์
ปรากฏการณ์คติชนสร้างสรรค์เพราะในบริบทของการท่องเที่ยว ภาพถ่าย การแสดง สินค้าที่ระลึก กลายเปน็
“ภาพแทน” หรือ “สิ่งแทน” ประสบการณ์จากการท่องเที่ยวและทำหน้าที่เหมือน “ภาษา” ในการ “สร้าง
ความหมาย” สร้างคณุ คา่ ในใจให้แก่นักทอ่ งเที่ยว ดังน้ัน ในความเปน็ จรงิ การแสดง ของทีร่ ะลึก จะเป็น “ของแท”้
หรอื ไม่ก็ไมส่ ำคัญเทา่ กบั ความคดิ ความรสู้ ึกทนี่ กั ท่องเทย่ี วมีเกี่ยวกับประสบการณน์ ้นั ๆ ภาพถ่าย การแสดง รวมทัง้
สินคา้ ที่ระลึก จึงเป็น “ภาพแทน” หรอื “สิง่ แทน” ทมี่ คี วามหมายในตัวเอง

4) แนวคิดเรื่อง Invented Tradition ศิราพร ณ ถลาง ได้สรุปแนวคิดนี้ไว้ว่า เป็นแนวคิดท่ี
ครอบคลมุ ทงั้ ประเพณที่ “ถกู ประดิษฐ์” ข้ึน และสบื ทอดมาในสงั คมนานแล้ว และประเพณที ี่ “เพง่ิ ประดิษฐ์” ข้ึน
ประเพณีประดิษฐ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคมสมัยใหม่มักมีที่มาจากนโยบายของรัฐชาติ ภาครัฐหรือราชการได้สร้าง
“ประเพณีประดิษฐ์ทางราชการ” ต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย นับเป็นประเพณีที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์การเมือง
นอกจากน้ีประวัตศิ าสตร์สมัยใหม่ก็ยังเป็นสาเหตุของการสร้างประเพณีประดิษฐ์ได้เช่นกัน โดยเฉพาะสังคมไทย
ภาครัฐ เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และภาคประชาชนเข้ามาอยู่ในขอบเขตของการศึกษา “คติชน
สร้างสรรค์” ได้ เพื่อจะวิเคราะห์ถึงวิธีการประดิษฐ์ประเพณีต่าง ๆ ในปัจจุบัน รวมไปถึงวิธีคิดในการประดิษฐ์
ประเพณีว่าอยู่บนพ้นื ฐานของความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม ในอดีตมากนอ้ ยเพียงใด และอยอู่ ยา่ งไร

5) แนวคิดเรื่อง Identity ศิราพร ณ ถลาง ได้สรุปความสำคัญไว้ว่า ในสมัยก่อนการนิยมอัต
ลกั ษณ์ชาติพนั ธ์ุเป็นสิ่งง่ายและเห็นไดช้ ดั ผา่ นคตชิ นของแต่ละกล่มุ ที่ใช้ในวถิ ชี ีวติ แตใ่ นบริบททางสงั คมปจั จุบันท่ีมี
บรบิ ทการท่องเที่ยว บริบทเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ หรอื บริบทข้ามพรมแดน การนำเสนออัตลกั ษณช์ าตพิ นั ธจ์ุ ึงมคี วาม
ซับซ้อนขึ้น อีกทั้งยงั เปน็ อัตลักษณ์ท่ีสร้างใหม่ (constructed identity) หรือประดิษฐ์ใหม่ (invented identity)
ในบริบทใหม่ ๆ ทงั้ การเมอื ง เศรษฐกจิ และสังคมในปัจจบุ นั แนวคิดดังกล่าวนจี้ ึงเกย่ี วข้องกับปรากฏการณ์คติชน
สรา้ งสรรค์

เอกสารงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง
ชาญยุทธ สอนจนั ทร์ (2560) ได้ศกึ ษาเร่ือง การผลติ ซ้ำและการสรา้ งใหม่ในประเพณบี ุญข้าวจี่ อำเภอโพธ์ิ

ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด ผลการศกึ ษาพบวา่ ประเพณีบญุ ข้าวจี่ ของอำเภอโพธิ์ชัย มีการผลิตซ้ำในประเพณีบุญขา้ วจี่
โดยมีการสืบทอดจากประเพณีเดิมที่เคยปฏิบัติมาแล้วนำมาผลิตซ้ำใหม่ ได้แก่ มีการผลิตซ้ำด้วยวิธีการสื่อสาร
เร่อื งราวนทิ านในประเพณีบุญข้าวจี่ มีการผลิตซ้ำด้วยวธิ กี ารปฏิบตั ิในพิธกี รรมทางพุทธศาสนา และมีการผลิตซ้ำ
วิธีการทำขา้ วจ่ีแต่เดิมเป็นขา้ วจ่แี บบชาวบ้านเปล่ียนมาเป็นข้าวจบ่ี นพ้นื ท่ีของรฐั สำหรบั การสร้างใหม่ในประเพณี
บุญข้าวจี่ มีการหยิบยืมเอาประเพณีบุญข้าวจี่มาสร้างอุดมการณ์ทางการเมือง มีการสร้างใหม่ด้วยการ นำเอา
ประเพณีบุญข้าวจี่มาสร้างอัตลักษณ์ของชาวอำเภอโพธิ์ชัย และมีการสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP ผลิตสินค้า

48

การเกษตรผ่านประเพณีบุญข้าวจี่ และมีการนำเอาประเพณีบญุ ขา้ วจ่ีมาเป็นเครื่องมือในการสร้างเครือข่ายทาง
สังคม ไดอ้ ยา่ งน่าสนใจ

อาหมดั อัลซารยี ์ มเู กม็ (2559) การวิจัยเฉพาะเร่ืองประเพณี พิธีกรรม ความเช่ือ ทีม่ คี วามสัมพันธ์ต่อวิถี
ชีวิตของชน กลุ่ม ชาติพันธุ์เขมรบน ศึกษา ประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อ ที่มีความสัมพันธ์ต่อวิถีชีวิตของคนใน
ชมุ ชน ภายใตบ้ รบิ ทความเปน็ กลุ่มชาติพนั ธุ์ เขมรบน พบว่า ประเพณี พิธกี รรม และความเชอ่ื มคี วามสมั พนั ธ์ต่อวิถี
ชวี ติ ของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก ซ่ึงมีความสมั พนั ธ์ต่อวถิ ีชวี ิตใน 3 ด้านหลักของคนในชมุ ชน คือ ด้านการทำมา
หากนิ ดา้ นความสมั พนั ธ์ทางสังคม และด้านความเปน็ อยู่

เมธาวี ศริ ิวงศ์ (2556) ไดศ้ ึกษาเรอื่ ง ประเพณีประดิษฐ์กับการจัดการทรพั ยากรวัฒนธรรม ผลการศึกษา
พบวา่ การจดั การของกลุม่ คนที่เกี่ยวขอ้ งยงั มงุ่ เนน้ การสรา้ งภาพลกั ษณ์เพ่ือนำเสนอตัวตนต่อสาธารณะชนมากกว่า
การสรา้ งกระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกนั ของกลมุ่ คนในท้องถน่ิ ทำใหเ้ ป้าหมายของกิจกรรมท่ีเปลยี่ นไปจากการสง่ เสริม
คุณค่าทางวัฒนธรรมและมูลค่าด้านเศรษฐกิจร่วมกันของชุมชน กลายเป็นการช่วงชิงบทบบาทเพื่อผลประโยชน์
ระหวา่ งกล่มุ คนแทนการร่วมมอื ระหว่างกลุ่มคนท้องถิ่น

อรอมุ า เมอื งทอง ไดศ้ กึ ษาเร่ือง บุญบง้ั ไฟบ้านนาทรายผา่ นกระบวนการสรา้ งประเพณี ผลการศกึ ษาพบวา่
ประเพณีบุญบั้งไฟบ้านนาทรายมีกระบวนการสร้างประเพณีผ่านระบบ ความเชื่อเรื่องผีเจ้าพ่อ เจ้าแม่ และยงั
ดำรงอยู่จากอดตี จนถงึ ปจั จุบัน ผา่ นหว่ งเวลา 3 ยุคสมัยคอื บุญบ้ังไฟในยคุ กอ่ ต้ังชุมชน เกดิ จากการนำวัตถุดิบทาง
วัฒนธรรม ได้แก่ความเชอ่ื ตำนานเรื่องผีบรรพบุรุษหรือเจ้าพอ่ เจ้าแม่ในเชงิ ปาฏหิ าริย์มาเปน็ ตัวก่อสร้างประดิษฐ์
ประเพณีขึ้นมาแบบเรียบง่ายไม่ซับซ้อน ยุคพัฒนาเกิดการประดิษฐ์วัตถุดิบทางวัฒนธรรมขึ้นมาใหม่ สืบ
เนอ่ื งมาจากการเปลย่ี นแปลทางสังคม “ศาสนา” ถูกนำมาใช้เป็นเครอื่ งมือในการทำใหบ้ ญุ บั้งไฟสามารถดำรงอยู่ได้
และ ในยุคปัจจุบัน บุญบ้ังไฟถกู นำมาใช้เป็นเคร่ืองมือในการต่อสู้ชว่ งชิงอำนาจอันชอบธรรมระหว่างกลุ่มอำนาจ
เก่า (เจ้าพ่อ เจ้าแม)่ และกลมุ่ อำนาจใหม่ (ภาครฐั ) และบุญบ้ังไฟยังถกู ใช้เป็นพ้ืนท่ีในการต่อรองเพื่อการแสวงหา
ผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ เพียงแต่การต่อรองในงานบุญบ้ังไฟบ้านนาทรายเกิดจากความขัดแย้งที่เกิดข้ึนใน
ความสัมพันธ์

ธนวรรธน์ นิธิปภานันท์ (2557) ศึกษาแนวคิดเรื่องประเพณีประดิษฐ์ในฐานะที่เป็นปรากฏการณ์ทาง
สังคมว่ามีองค์ประกอบและกระบวนการในการประกอบสร้างอย่างไร ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มทุนที่เป็นชนชั้น
กลางนน้ั เรม่ิ เข้ามามีบทบาทสำคญั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นท่ีหัวหนิ โดยการลงทนุ และสร้างสถานที่ ประดิษฐ์
หลายแห่ง อาทิ เพลินวาน ตลาดน้ำหัวหิน เพลินวาน ถูกประกอบสร้างขึ้นภายใต้วิธีคิดของการ ผสมผสาน
(Hybrid) อนั เป็นการรวมกนั ของบรบิ ททอ้ งถ่ิน(Local)และบรบิ ทโลก(Global) จนทำให้การประดิษฐ์ ดังกล่าวเป็น
ที่ดึงดูดและน่าสนใจของนักท่องเที่ยว นอกจากน้ียังค้นพบว่า นักท่องเที่ยวเปน็ กลุ่มสำคญั ท่ีมีผลต่อการประกอบ
สรา้ งของเพลนิ วาน โดยเฉพาะกล่มุ นักท่องเที่ยวที่มีอายตุ ่ำกวา่ 30 ปี

49

อย่างไรก็ตามการท่องเที่ยวดูจะเป็นสิ่งที่ประเทศไทยมีความโดดเด่นและสร้างรายได้เข้าสูป่ ระเทศมาก
ที่สุด ดังนั้นการตื่นตัวในการพัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละที่จึงเป็นสิ่งที่มีความส ำคัญและมีความ
จำเป็นอย่างยิ่ง งานวิจัยช้นิ นี้ เป็นงานวจิ ัยทกี่ ่อให้เกดิ ประโยชน์ในแง่ของการผลิตชดุ ความรเู้ กี่ยวกบั เรื่อง ประเพณี
ประดิษฐ์ ซึ่งเรื่องดังกล่าวพบเห็นได้น้อยมากในแวดวงวิชาการศึกษาของไทย วิธีการ ประดิษฐ์ประเพณี ที่พบ
ในปัจจุบันเป็นการนำมาประยุกต์ใช้เป็นส่วนใหญ่ โดยมีการประดิษฐ์ในรูปแบบที่แตกต่างกันไป การประดิษฐ์
ดังกล่าวลว้ นแตเ่ ปน็ การนำเอาสิ่งที่เคยมมี าก่อนแล้วนำมาประกอบสร้างขึน้ ใหม่ อาทิ ตลาดน้ำ ซงึ่ ก็ สามารถสร้าง
ความต่ืนตาตืน่ ใจ(Exotic)ใหก้ ับนกั ทอ่ งเที่ยวไดเ้ ป็นอย่างดี ซึ่งสง่ิ เหล่านเี้ ป็นส่ิงสำคัญในด้านการทอ่ งเท่ยี ว กลา่ วคอื
ส่งิ ต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ ใหม่ย่อมเปน็ สิง่ ท่นี ่าสนใจและมกั จะถูกกลา่ วถึงในบรบิ ทโลก (ผ่านโซเชียล มีเดยี ) ซง่ึ หวั หิน เอง
ก็กำลงั กา้ วเขา้ สบู่ รบิ ทดังกลา่ วเชน่ กัน

ธนวรรธน์ นธิ ปิ ภานนั ท์ (2558) ศกึ ษากระบวนการสรา้ งพนื้ ทท่ี างวฒั นธรรมเพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว: ศึกษากรณี
เพลินวาน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธจ์ ากการศึกษาพบว่า 1) เพลินวานมีกระบวนการสร้างพื้นที่ (เชิง
กายภาพ) ทมี่ ีความแตกตา่ งจากพ้ืนท่ที ่วั ไป กลา่ วคือ เปน็ การสร้างพนื้ ทีแ่ บบนาํ อดตี มา ตัดแปะ มกี ารคดั เลอื กอดตี
ในช่วงเวลาที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป เป็นการสร้างอดีตด้วยข้อมูลที่มาจาก การผสมผสาน เป็นการสร้าง
ความหมายใหม่ และเปน็ การสรา้ งพืน้ ทท่ี ่ีไมต่ อ้ งการอา้ งอิงบรบิ ทของ ประวัตศิ าสตร์และวฒั นธรรม ทงั้ น้ีสิง่ ทีส่ ำคญั
ในกระบวนการสร้างพืน้ ท่ีคือ เร่ืองของการออกแบบและ ใช้องคค์ วามรูท้ างด้านสถาปตั ยกรรมท่ีเปน็ การผสมผสาน
ทง้ั ศาสตรแ์ ละศิลป์เขา้ ดว้ ยกัน 2) การสร้างความหมาย ท่ีเกิดขนึ้ นัน้ มีความแตกต่างกัน โดยผผู้ ลติ สรา้ งความหมาย
ข้นึ มาชดุ หนงึ่ ด้วยการลงรหสั ในขณะที่ผูบ้ รโิ ภคมกี ารถอดรหัสความหมายขน้ึ มาอกี ชุดหนง่ึ ความแตกต่างดังกล่าว
แสดงให้เหน็ ว่า ความหมายท่เี กิดขนึ้ ไมไ่ ดถ้ กู สรา้ งข้นึ จากผู้ผลติ แต่เพยี งฝา่ ยเดยี ว แต่ความหมายดังกลา่ วยงั ถกู สรา้ ง
ขน้ึ จากผู้บริโภคได้เชน่ กนั

ท้ังนจ้ี ากการศกึ ษากลุ่มตวั อย่างของนกั ทอ่ งเทีย่ วกล่มุ ต่าง ๆ ทง้ั 5 กลุ่ม พบว่านกั ท่องเที่ยว ทม่ี อี ายุตำ่ กวา่
20 ปีส่วนใหญ่มกี ารถอดรหสั พืน้ ที่โดยการสรา้ งความหมายหรอื ใหน้ ิยามของเพลิน วาน ผา่ นการรับรู้ (perceived)
จากทางโลกสัญญะหรือโลกเสมือนซึ่งไม่ใช่การสร้างความหมายท่ี เกิดขึ้นจากความเข้าใจ (conceived) อย่าง
แท้จริง ในขณะทก่ี ลมุ่ อายุ 20-40 ปนี ั้นมีการรบั รู้ (perceived) และความเขา้ ใจ (conceived) แบบการผสมผสาน
เริ่มใช้ตรรกะและความเป็นเหตุเปน็ ผล เริ่มมีเสียงตอ่ รองและมกี ารวิจารณม์ ากขึน้ ส่วนกลุ่มท่ีอายุมากกว่า 40 ปี
การรบั รู้ (perceived) ของนักทอ่ งเทย่ี ว (2) กล่มุ นี้เปน็ เพยี งส่วนหน่งึ ของการสรา้ งความหมายท่เี กิดข้นึ การสร้าง
ความหมายท่แี ทจ้ ริงมาจาก ความเขา้ ใจ (conceived) ทเี่ กิดข้นึ ผ่านประสบการณ์ในการเดินทางไปในสถานท่ีต่าง
ๆ บนโลก ความเปน็ จริง ดงั น้นั จึงกลา่ วโดยสรุปไดว้ ่ามโนทศั นท์ างความคิดเร่อื ง พนื้ ที่ ของ Lefebvre นน้ั เปน็ มโน
ทัศน์ที่สามารถสร้างคำอธิบายในเรื่องพื้นทีต่ ่องานชิ้นนี้ได้เพยี งบางส่วนแต่ไม่สามารถอธิบายถึง ปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นดังกล่าวของเพลินวานไดท้ ั้งหมด โดยเฉพาะในกรณีของการสร้างความหมายท่ี เกิดขึน้ การเคลือ่ นตวั ของ

50

คำอธบิ ายดังกล่าวไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ว่า พ้ืนท่ี ถูกคำอธิบายชดุ หนง่ึ กำกบั ไว้ ในขณะทก่ี ารใหค้ วามหมายนัน้ มคี วามเป็น
อิสระและมีความหลากหลายมากกว่าจงึ สามารถถอดรหสั ทางความหมายของพนื้ ท่ีได้อย่างไม่รจู้ บ ท้ังน้ีความหมาย
ที่เกิดขึ้นจากการถอดรหัสของผู้บริโภคนั้น เป็นความหมายที่มีความหลากหลาย ซึ่งขึ้นอยู่กับการรับรู้และความ
เขา้ ใจของแต่ละคนท่ีมอี ยอู่ ย่างไม่ เท่าเทยี มกนั

ภัทรานิษฐ์ ทิพย์สุมาลัย (2557) ศึกษากระบวนการฟื้นฟูและการประดิษฐ์สร้างเชิงวัฒนธรรมและการ
สื่อสารอัตลักษณ์กรณีศึกษาอุตสาหกรรมสปาล้านนาของจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์ไทย
ลา้ นนาสปาคือ สงิ่ ประดิษฐ์ทางวัฒนธรรมจากการผลิตสร้างภาพ แทน "ความเปน็ ลา้ นนา" และถกู นำเสนอผ่านใน
บริบทของอุตสาหกรรมสปาเพือ่ สุขภาพ เป็นส่ิงผลติ ทางวัฒนธรรม (Cultural Production) ภายใต้กระบวนการ
เปลี่ยนวัฒนธรรมให้กลายเป็นสินค้า (Commoditization of Culture) ซ่ึงสิ่งสำคัญอย่างหนึ่งของการสร้างภาพ
ตัวแทนนั่นก็คือ การดึงสิ่งหน่ึงออกจากบริบทเดิมที่เป็นอยู่แล้วใส่บริบทใหม่พร้อมกับความหมายใหม่เข้าไป
โดยเฉพาะเมือ่ กลไกทางวฒั นธรรมภายใต้ของอำนาจรฐั และอำนาจทุน สามารถเคล่ือนย้ายบริบทและสร้างภาพ
ตัวแทนได้อย่างหลากหลาย วัฒนธรรมแห่งอำนาจจากผลิตผลสว่ นหนึ่งในฐานะเครื่องมือรองรับ อุดมการณ์ทาง
การเมอื งในเชิงสัญลักษณท์ ่ีคอยทำหนา้ ที่เข้าแทรกซมึ จัดการระบบคุณค่าและจิตสำนกึ ร่วมของผู้คนในสังคม เพ่ือ
การสืบทอดและจรรโลงไว้ซึ่งสถานะทางอำนาจ ดังเห็นได้จากความพยายามในการกุมอำนาจการปกครองของ
รฐั บาลกลางแบบรวมศูนย์และเพ่อื การตอ่ ต้านลัทธิล่าอาณานคิ มในอดีต แต่ในโลกสมัยใหม่วัฒนธรรมไดก้ ลายเป็น
ผลิตผลที่มีมูลค่าในเชิงเศรษฐกิจ กล่าวคือเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน มักอิงอยู่บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมเปน็ อย่างมาก
อัตลักษณ์จึงไม่ได้ ดำรงอยู่ในรูปของสารัตถะหรือแก่นแท้(essences) หากแต่มีการปรับเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา
ภายใต้ บรบิ ทหรอื สถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ส่งิ ท่เี ราเหน็ เปน็ เอกภาพและมีความตอ่ เนือ่ งของอัตลกั ษณ์
ต่าง ๆ แท้จริงแล้วเป็นเพียงการคัดสรรและเชื่อมร้อยองค์ประกอบของวาทกรรมใน สถานการณ์เฉพาะหนึ่งๆ
เทา่ น้ัน เม่ือบริบทเปลีย่ นไปคา นยิ ามอัตลักษณก์ ย็ ่อมสามารถเปล่ียนแปลง ไปดว้ ยเชน่ กัน

วัชราภรณ์ ดษิ ฐปา้ น (2556) ศึกษาปรากฏการณ์การสืบทอดและการผลิตซ้ำคตคิ วามเชื่อเรอ่ื งพระอปุ คุต
ปราบมารที่เกิดขึ้นในสังคมไทยปจั จุบัน อนั มีความหลากหลายท้ังรปู แบบและพ้นื ท่ี ผลการวจิ ยั พบวา่ การสบื ทอด
คติความเชือ่ เร่อื งพระอุปคุตปราบมารปรากฏในพิธกี รรมอัญเชิญพระอุปคตุ มาคมุ้ ครองงานพธิ ีทางพทุ ธศาสนา
พธิ ีกรรมดังกลา่ วยังคงมกี ารสบื ทอดอยา่ งต่อเน่ืองในวฒั นธรรมของคนไทยภาคเหนอื และภาคอสี าน ในปัจจบุ ันยงั
พบว่ามีการผลติ ซ้ำความเชื่อเรอ่ื งพระอปุ คตุ ปราบมารผ่านการนำพิธีกรรมการอัญเชิญพระอปุ คุตไปใช้ในบริบทอื่น
ที่มิใช่งานพธิ ที างพทุ ธศาสนารปู แบบเดมิ นอกจากน้ยี ังมกี ารสรา้ งพระอุปคตุ เพ่อื ป้องกันภัยพบิ ตั ิในบรเิ วณชายฝงั่
ทะเลของจงั หวดั ในภาคตะวนั ตกและภาคใต้ด้วย ปรากฏการณเ์ หล่านแ้ี สดงใหเ้ ห็นพลวตั ของความเช่อื ตำนานและ
พิธกี รรมเรอ่ื งพระอปุ คตุ ปราบมารท่ดี ำรงอยใู่ นสังคมไทยปจั จุบนั อันมที ง้ั รปู แบบทม่ี กี ารสบื ทอดและการผลิตซำ้ ใน
บริบทใหม่ท่แี ตกต่างจากเดมิ

51

สุเทพ สุนทรเภสชั (2551 : 75) ไดศ้ กึ ษา ความเช่อื เรอ่ื งผีป่ตู า ในหมู่บา้ นภาคะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า
ความเชื่อเร่ืองผีปู่ตา ในหมู่บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้นเชื่อว่า ผีปูต่ า เป็นผีบรรพบรุ ุษประจำหมู่บา้ น จะให้
ความคุ้มครองลูกหลานในหมู่บ้านให้มีความสันติสุขปราศจาก ภยันตรายใดๆทั้งปวง แม้กระทั่งสัตว์เลี้ยงข้อง
ชาวบา้ นอีกด้วย นอกจากน้ี ยังแดงอำนาจศักด์สิ ิทธิ์ให้เป็นไปตามปรารถนาของผบู้ นบาน และจะลงโทษผูไ้ มป่ ฏิบัติ
ตามฮิตคลองของหมบู่ า้ น

จิราภรณ์ ภทั ราภานุภทั ร (2558 : 85) ไดศ้ ึกษา สถานภาพคติความเชือ่ ของคนไทย พบวา่ สถานภาพคติ
ความเชื่อของคนไทย ประกอบไปดว้ ย ความเชือ่ ดั้งเดมิ และความเชื่อทไี่ ดร้ บั จากศาสนาทงั้ ยงั ได้กลา่ วถงึ พธิ ี
กรรมการรักษาความเจบ็ ปว่ ย ของชาวบ้านมว่ งขาว อำเภอโคกปบี จงั หวัดปราจีนบุรีชาวบา้ นมว่ งขาว เปน็ ชาวลาว
ที่อพยพเขา้ มาอยูใ่ นที่แหง่ นีเ้ ปน็ เวลาหลายร้อยปี ในการประกอบพธิ ีกรรมการรกั ษาความเจบ็ ป่วย จะอาศยั ผอี ยู่ 2
ประเภทคือ ผีฟา้ และผเี จา้ พอ่ ผฟี า้ น้นั เปน็ ภูตหญงิ อาศัยตามตน้ ไม้หรอื บนทอ้ งฟา้ เม่อื ใครในหมู่บา้ นเกดิ ความ
เจ็บป่วย หมอผีกจ็ ะประกอบพธิ ีโดยการรอ้ งเชญิ และมหี มอแคน เป่าแคนประกอบ คนป่วยที่รกั ษาก็เขา้ เป็นพวก
ของผฟี า้

สุรัตน์ วรางคร์ ตั น์ (2558 : 70) ไดศ้ กึ ษา ประเพณวี ฒั นธรรมของชาวผไู้ ทและชาวโซ่ พบว่าพธิ กี รรมรกั ษา
หรือบำบดั โรคภัยไขเ้ จ็บของชาวผูไ้ ท และชาวโซ่ เรียกวา่ หมอลำผฟี า้ โดยมคี นทรงเรียกวา่ กก ซึ่งเป็นผหู้ ญงิ และ
มผี ูร้ ่วมคณะเรียกวา่ ศษิ ยห์ รอื นางเทยี ม ซง่ึ เคยผา่ นการรักษามาแล้วนอกจากน้ียังมหี มอแคนเป่าประกอบพิธีกรรม
และคนไขร้ ว่ มอยดู่ ้วย การรกั ษาอาศยั การร้องลำ การฟ้อนทส่ี วยงาม และวาทศลิ ป์ทอี่ ่อนหวาน เพื่อทจ่ี ะใหผ้ ีท่ีสงิ
อย่ใู นร่างของผู้ป่วยเป็นพวกเดยี วกนั กบั ตนหรอื ออกจากผปู้ ว่ ยไป

จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเพณีประดิษฐ์ และการผลิตซ้ำทางวัฒนธรรม สรุปได้ว่า
ผลงานวิจัยดังกล่าวได้สร้างมุมมองใหม่ในประเพณีและวัฒนธรรมเดิมที่มีอยู่ให้เกิดความน่าสนใจต่อคนท้องถิน่
และนกั ท่องเท่ยี ว ซงึ่ การประดิษฐ์ และการผลติ ซ้ำ มบี ทบาทในดา้ นเศรษฐกจิ ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับพื้นที่นั้น
ๆ ในขณะเดยี วกันกระบวนการทางประเพณี และวฒั นธรรมไดถ้ กู ประดิษฐ์สร้างขนึ้ มาด้วยวัตถปุ ระสงค์ที่แตกต่าง
กัน ทั้งในฐานะการสืบทอด การฟื้นฟู การสร้างพื้นที่ทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หรือการแสดงตัวตนต่อ
สาธารณะชน ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือและความสามัคคีของคนในท้องถิ่น ภาครัฐ และเอกชนไปพร้อมกัน
อกี ท้ังแนวคิดการประดษิ ฐ์ และผลติ ซ้ำน้ันยังสง่ ผลใหป้ ระเพณี และวัฒนธรรมยังสามารถดำรงอย่ใู นสงั คมได้ และมี
การสบื ทอดพฒั นาต่อไปอยา่ งไมม่ สี ้ินสดุ

กณั ณิกา บวั จีน ผู้บริหารศูนย์หตั ถกรรมร่มบอ่ สร้าง จงั หวดั เชียงใหม่ กลา่ วว่า ปัจจบุ นั ศูนย์หตั ถกรรมร่ม
บอ่ สร้าง จงั หวัดเชยี งใหม่ผลติ ร่มบอ่ สร้างรวมทกุ ขนาดปีละประมาณ 500,000 คันต่อปี โดยสง่ ออกไปยังประเทศ
ต่าง และในประเทศใหแ้ กน่ กั ทอ่ งเทยี่ วท่มี าเชยี งใหม่ ซ่ึงเอกลักษณ์ของ ร่มบอ่ สรา้ งน้นั อยทู่ ี่ รูปทรงทโี่ ดดเด่น การ
วาดลายที่เปน็ เอกลักษณ์และขัน้ ตอนการทำโดยเฉพาะโครงร่มไม้ไผ่ทีท่ ำ ด้วยมือทุกชิ้น “ศูนย์หัตถกรรมร่มบ่อ
สร้างมคี วามพยายามในการปอ้ งกนั ความปลอดภัยให้ผู้บรโิ ภค ผทู้ ่ีซ้ีอร่มจากทีศ่ นู ยไ์ ปจะตอ้ งมัน่ ใจได้ว่า ร่มจะต้อง

52

ไมม่ มี อดกินไม้ และไมม่ ีสารเคมีตกค้าง เนอ่ื งจากรม่ กนั ฝนจะมกีารเคลือบน้ำมันผสมสลีงไปบนผา้ หรือกระดาษทใ่ี ช้
บุตัวร่มเพือ่ ป้องกนั นำ้ จงึ มีกลน่ิ สีติดอยู่ด้วยซ่ึงลกูคา้ โดยเฉพาะกลุ่มต่างประเทศจะค่อนขา้ งกังวลในเร่ืองของสาร
ตะก่วั ตกค้าง ทางศูนย์จึงต้องพยายามหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ช่วยกันนำ้ ได้มาแทนท่ีการใช้น้ำมัน และยังลดต้นทุน
การผลติ ได้ เพราะนำ้ มนั ผสมทใ่ี ชม้ าจากน้ำมนั มะเยาหินทปี่ จั จบุ ันมีปลูกในไทยน้อยมาก ตอ้ งนำเข้ามาจากประเทศ
เพ่อื นบ้านทำให้เสียค่าขนส่งคอ่ นขา้ งแพง นาโนเทคโนโลยีจึงเปน็ ทางเลือกหนง่ึ ท่ีศูนยห์ ตั ถกรรมรม่ บอ่ สร้างสนใจ”

“นาโนเทคโนโลยีเป็นเทคโนโลยที ี่เราสนใจทจี่ ะนำมาประยกุ ต์ใช้กบั ร่มบ่อสรา้ ง เมื่อนำตวั ผ้าหรือ กระดาษ
ที่เคลือบนาโนมาประกอบกับตวั ก้านร่ม จะทำให้ร่มมคี ุณสมบตั ิเพิม่ ข้ึนมากกว่าเดิมในเรือ่ งการป้องกันการซึมผ่าน
ของนำ้ การเคลอื บกันยวู ีเพือ่ ปอ้ งกนั สีซดี จางและการเสอื่ มของเสน้ ใยภายใต้แสงแดด การเคลือบต้านเชื้อโรคเพื่อ
ลดการเจริญเตบิ โตของเชอ้ื ราและแบคทีเรยี ในกรณีร่มชืน้ เพอื่ ให้ร่มบอ่ สรา้ งเป็นร่มที่ใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพใน
ชวี ติ ประจำวนั ไม่ใชเ่ พียงรม่ ตั้งโชว์เพอื่ ความสวยงามเพียงอย่างเดยี ว และผลพลอยไดจ้ ากการเคลอื บนาโนจะทำให้
รม่ บ่อสร้างไม่มีกล่ินเหมน็ ของสนี ำ้ มนั ที่อาจมีสารตกคา้ งจากตะก่วั ร่มจะมีนำ้ หนักเบาลงประมาณ 100 กรมั ต่อคัน
เพราะไมต่ ้องลงยางไมแ้ ละสีน้ำมันทบั ”

พระครูสุเทพสารคุณ (สุนันท์ เพชรเลื่อน) และคณะ ได้ แสดงทัศนะ เกี่ยวกับมูลเหตุของการจัดทำพิธี
บายศรีสู่ขวญั ในหนังสือมรดกไทยอีสาน ฉบับสมบูรณ์ ไว้ว่า คนไทย โดยเฉพาะคนอีสานท่ีสืบเชื้อสายจากคนเผา่
ลาวมีความเชื่อว่า คนเราจะไดค้ วามสำเร็จในชีวิตถึงขั้นอยู่ดีมีสุขมาก น้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับขวัญของคน ๆ นั้น
และยังเชื่ออีกว่า ในโอกาสที่จะเกิดเหตกุ ารณ์ หรือจะมีการเปลี่ยนแปลง ที่สำคัญในชีวิตของบุคคลในครอบครวั
ขวญั จะเป็นกำลังใจเป็นสริ ิมงคลให้คน ๆ นัน้ ได้รับความสำเรจ็ ในชีวิตการ งาน ดงั นนั้ การบายศรสี ขู่ วญั จึงถูกนำมา
ประกอบไว้ในงาน โดยมีหมอพราหมณ์เป็นผู้นำในการประกอบพิธี การ บายศรสี ู่ขวญั ในงานวันเกดิ บทสตู รขวญั
นัน้ มี 3 ประเภทใหญ่ ๆ หมายถงึ เม่ือพิธีบายศรสี ู่ขวญั สง่ิ ใด กจ็ ะต้องมี บทสูตรขวญั สงิ่ น้นั ด้วย คือ บทสูตรขวัญ
คน บทสูตรขวญั สตั ว์ และ บทสตู รขวญั ส่งิ ของ ตามแต่วัตถุประสงค์ท่ีใช้ ในกรณีนใี้ ชบ้ ทสตู รขวัญคน

(Natthavut Chantalum, บายศรีสู่ขวัญ วัฒนธรรม แห่งชีวิต, 2556) การผูกแขนจะผูกที่ข้อมือซ้าย
เพราะ แขนซ้ายถือว่าเป็นแขนขวัญ เป็นแขนที่อ่อนแอใช้งานหนักไม่ได้ ในเวลาผูกนั้นทุกคนจะต้องยื่นมือขวา
ออกไปพยุงแขนของเจา้ ของขวัญที่กำลังทำพิธีผูกข้อมือ พิธีกรรมดังกล่าวเปน็ การแสดงออกถงึ ความสัมพนั ธท์ าง
กายและใจเปน็ อย่างย่ิง ผู้ทผี่ ูกข้อมอื ให้ผูอ้ ื่นจะตอ้ งต้ังจติ อธฐิ านใหเ้ จ้าของขวญั มคี วามสขุ ความเจริญ เม่อื ผูกข้อมือ
เสรจ็ แลว้ ผู้เปน็ เจา้ ของขวัญประนมมือไหวผ้ ใู้ ห้พร เป็นการรับเอาพร

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม เรื่อง ศาสนพิธีและมารยาทไทย(2561) ให้ความหมายของ คำว่า
ศาสนพธิ ี คือ พธิ ีทางศาสนาหรือแบบแผนแนวทางการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ทางศาสนา ในทาง

53

64

พระพุทธศาสนา พิธีกรรมเป็นสิ่งที่ช่วยหล่อเลี้ยงศาสนธรรมอันเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาไว้ ดังนั้นการ
กระทำศาสนพธิ หี รอื พิธกี รรมต่าง ๆ ในทางพระพทุ ธศาสนา ควรที่จะตอ้ งมกี ารแนะนำและให้ผรู้ ว่ มพิธี ไดศ้ กึ ษาทำ
ความเข้าใจเกี่ยวกับพิธีต่าง ๆ ให้ถ่องแท้ตามหลักการทางพธิ ีกรรมของพระพทุ ธศาสนาเพื่อผู้ปฏบิ ัติ จะได้นำไป
ปฏิบัติได้อย่างถูกตอ้ งตามจุดมุ่งหมายในศาสนพิธีนัน้ ๆ เนื่องจากศาสนพิธีจัดเปน็ วฒั นธรรม และจารีตประเพณี
ของชาติที่มีการสืบสานกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน การปฏิบัติศาสนพิธีจะต้องทำให้ มีความเป็นระเบียบ
เรียบร้อยสวยงามเป็นไปในแนวทางเดยี วกัน เพ่ือก่อใหเ้ กดิ ความเลื่อมใสศรัทธาในการดำเนนิ กจิ กรรมดา้ น พิธกี รรม
ของศาสนพิธี ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญของพุทธศาสนิกชนและเป็นก้าวแรกที่มีความเป็นรูปธรรมของการก้าวเข้าสู่
หลักการของพระพุทธศาสนาที่เป็นการเสริมสร้างคุณค่าทางด้านจิตใจ รวมทั้งการธำรงรกั ษาเอกลักษณข์องชาติ
และพุทธศาสนา ผ้ทู ำหน้าทีเ่ ป็นผ้นู ำในการปฏิบตั ิงานศาสนพิธจี ะตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถและความเข้าใจอย่าง
ถูกต้อง เนื่องจากศาสนพิธีเป็นการสร้างระเบียบแบบแผนแบบอย่างที่พึงปฏิบัติในศาสนานั้น ๆ ตามหลักการ
ความเชื่อในศาสนาที่ตนนับถือ เมื่อนามาใช้ในทางพระพุทธศาสนาย่อมหมายถึง ระเบียบ แบบแผน และ
แบบอย่างทพ่ี งึ ปฏบิ ตั ใิ นพระพทุ ธศาสนา ซึ่งบางทา่ นเรยี กว่า “พทุ ธศาสนพธิ ”ี

54

บทที่ 3
วธิ ีดำเนนิ การวจิ ยั

การศึกษาการประดษิ ฐ์สรา้ งวฒั นธรรม กรณศี ึกษา งานสขุ ีมัน่ สูข่ วญั วันเกดิ ในโครงการสร้างทานบารมี
หนุนชีวีมีความสุข ของศูนย์วัฒนธรรมหาวิทยาลยั ขอนแก่น โดยใช้กรอบแนวคิด คติชนสร้างสรรค์ เป็นกรอบใน
การศกึ ษาการ การวจิ ยั คร้ังนีผ้ วู้ ิจยั ระเบยี บวธิ วี ิจัยเชงิ คณุ ภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนามด้วยวิธกี าร
สังเกตและเข้าไปมีส่วนร่วมในสนามการวิจัย เพื่อศึกษาการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมในงานดังกล่าว โดยมี
วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัยตามลำดับ ดังน้ี

1.ขั้นสำรวจและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นการสำรวจและศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ให้ความรู้
เกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาจากแหล่งเอกสารต่าง ๆ เพื่อเป็นฐานความรู้ในการกำหนดกรอบความคิด และเป็นข้อมลู
ประกอบในการเขยี นเคา้ โครงวิจยั

การวิจยั ครงั้ นี้ม่งุ ศกึ ษาเฉพาะการประดิษฐ์สร้างวฒั นธรรมในงาน สขุ ีมั่น ส่ขู วัญวนั เกิด ในโครงการสรา้ ง
ทานบารมี หนุนชวี มี ีความสขุ ของศูนยว์ ัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น คร้งั ที่ 8 วันท่ี 30 ประจำเดอื น มกราคม
และ ครัง้ ที่ 9 วนั ที่ 27 ประจำเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศักราช 2563

แหลง่ ขอ้ มูลเอกสาร เปน็ เอกสารทเ่ี ป็นผลงานวิจัย หนังสือ และบทความทางวิชาการทม่ี เี น้ือหาเกย่ี วกบั
วัฒนธรรม ความเช่อื และพิธีกรรม และคตชิ นสรา้ งสรรค์

2.ข้ันเก็บรวบรวมขอ้ มลู เปน็ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลภาคสนามในพนื้ ทศี่ กึ ษาทีก่ ำหนดไวด้ ้วยวิธกี ารสังเกต
การถ่ายภาพนงิ่ การสมั ภาษณ์ การสนทนากลมุ่ และการมสี ่วนรว่ มในงาน เป็นหลัก เพือ่ ให้ไดข้ ้อมูลทต่ี รงกบั สภาพ
ความเป็นจริงและสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการสนทนากลุ่มจะสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมภายในงานที่ได้
จัดเตรียมไว้ และถ่ายภาพนิ่งขณะที่กำลังทำกิจกรรม ประกอบกับเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่มีเนื้อหา
เกี่ยวขอ้ งกับประเด็นและพืน้ ทศี่ ึกษา

1.การเก็บข้อมลู ภาคสนาม
1.1 การเตรยี มตวั ก่อนไปเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม
ผู้วจิ ยั ศกึ ษาขอ้ มลู วัฒนธรรม ขนบมธรรมเนยี มประเพณี จากหนงั สือ งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้องและสื่อออนไลน์
ประเภทตา่ ง ๆ เพอื่ เปน็ พืน้ ฐานในการเกบ็ ขอ้ มูลภาคสนาม
1.2 การเกบ็ ข้อมลู ภาคสนาม
ผวู้ จิ ยั ได้เขา้ รว่ มงาน สขุ มี น่ั สขู่ วัญวันเกิด ครั้งที่ 8 วันพฤหสั บดีที่ 30 ประจำเดือน มกราคม 2563 และ
ครั้งที่ 9 วันพฤหัสบดีที่ 27 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2563 เห็นรูปแบบการจัดงานใหญ่ขึ้น มีกิจกรรมมากมาย
โดยเฉพาะกิจกรรมด้านวฒั นธรรมท่มี ีความหลากหลาย จึงเร่มิ เกบ็ ขอ้ มูล โดยใช้วิธี

55

การสำรวจ (Servey) ลงพ้ืนทีส่ ำรวจทรพั ยากรวัฒนธรรมท่ีปรากฏในงาน สขุ ีมัน่ สู่ขวัญวันเกิด
เกบ็ บนั ทกึ ข้อมลู ด้วยภาพถา่ ย

การสังเกตการณ์ แบ่งออกเป็นการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non – participant
Observation) และการสังเกตการณ์แบบมสี ว่ นร่วม (Participant Observation)

การสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณแ์ บง่ ออกเป็น 2 กลุ่มหลกั คือ
1. กล่มุ ผู้มีส่วนรว่ มในการจัดงานสุขีมนั่ สู่ขวัญวันเกดิ อาทิ เจ้าหนา้ ท่ีหนว่ ยงานราการที่เกี่ยวข้อง
และเครอื ข่ายวฒั นธรรม ซงึ่ ได้แก่ ศูนยว์ ัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น นกั ศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชมรม
นกั ศึกษาลาว ชาวบา้ น หมู่บา้ นสาวะถี จงั หวดั ขอนแกน่ จำนวน 9 คน
2. กลุ่มบคุ ลากรภายในมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย บุคลากรที่มวี นั เกดิ ในเดอื น มกราคม
ที่เข้าร่วมงาน สุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด จำนวน 20 คน โดยใช้กลการวิธีสัมภาษณ์ ดังนี้ การสัมภาษณ์แบบไม่เป็น
ทางการ และ การสมั ภาษณแ์ บบเปน็ ทางการ

3.ขัน้ จดั กระทำกบั ขอ้ มลู ผูว้ จิ ัยจะดำเนินตามลำดบั ดงั น้ี
3.1 นำข้อมูลท่เี กบ็ รวบรวมไดจ้ ากการ วิธีการสงั เกต การถ่ายภาพนิ่ง การสมั ภาษณ์ การสนทนากลุ่ม

และการมสี ่วนรว่ มในงานได้ และทเี่ ก็บรวบรวมไดจ้ ากเอกสารมาจำแนกหมวดหม่แู ละจัดระบบตามวัตถุประสงค์
และขอบเขตของเน้อื หาทก่ี ำหนดไว้

3.2 ตรวจสอบความชดั เจนและความสมบูรณข์ องขอ้ มลู เพ่อื เก็บขอ้ มลู เสรมิ ในเนอื้ หาส่วนที่ยังไม่
ชัดเจน และขาดความสมบูรณ์

3.3 นำข้อมูลทงั้ หมดมาศึกษาวิเคราะห์ตามประเดน็ ศึกษาทีก่ ำหนดไว้
4. ขน้ั นำเสนอผลการวิจัย ผวู้ จิ ัยจะนำเสนอรายงานผลวิจัยดว้ ยวธิ ีพรรณนาวเิ คราะห์

การนำเสนอผลงานวจิ ัย
การวจิ ยั เรอ่ื งการประดษิ ฐส์ ร้างวฒั นธรรม กรณศี ึกษา งานสขุ ีมั่น ส่ขู วญั วันเกิด ในโครงการสร้าง

ทานบารมี หนนุ ชีวีมีความสขุ ของศูนยว์ ัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ผ้วู จิ ัยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื ตอ้ งการทจ่ี ะ
ศึกษาการประดิษฐส์ ร้างวัฒนธรรมในงานดงั กล่าววา่ มีวฒั นธรรมใดบ้าง โดยมงุ่ นำเสนอผลการวิจยั ในลกั ษณะที่เปน็
ภาพรวม มิได้มุง่ นำเสนอในลกั ษณะท่ีแยกกล่าวถึง วฒั นธรรม ของแตล่ ะพื้นท่ี และ พิธีกรรม แตล่ ะอย่างอย่าง
ละเอียด หากแตจ่ ะมีการนำเอาวัฒนธรรมและพิธีกรรมบางอยา่ งมากล่าวถึงบา้ งกจ็ ะกล่าวถึงเพยี งสังเขปเพียงเพือ่
เปน็ ตัวอยา่ งประกอบในการศึกษาวเิ คราะหเ์ ท่านนั้ ในการนำเสนอผลการวิจยั ครง้ั นี้ผ้วู จิ ยั จงึ จำแนกเปน็ บทตา่ ง ๆ
ดงั ตอ่ ไปนี้

56

บทที่ 1 บทนำ : เป็นการนำเสนอส่วนเค้าโครงวิจัย ซึ่งประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ ที่สำคัญ ๆ ได้แก่
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ความสำคญั ของการวิจัย กรอบแนวคิดทฤษฎี
ขอบเขตของการวจิ ัย นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ และ การนำเสนอผลการวจิ ยั

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม: เป็นการนำเสนอผลการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่วิจัย เพื่อให้เกิด
ความร้คู วามคิดอนั จะทำให้ผูว้ ิจยั เกิดมโนทศั น์ ท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อการวิจยั คร้งั นี้ ซึง่ ในบทนี้จะจำแนกเป็นประเด็น
ตา่ ง ๆ ได้แก่ วฒั นธรรม ความเชอื่ และพิธกี รรม และคติชนวทิ ยา

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย : เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยจะลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลโดยการถ่าย
ภาพนงิ่ การสัมภาษณ์ สนทนากล่มุ จดบนั ทึก สงั เกตการณ์ และมีสว่ นร่วมในงาน

บทที่ 4 การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมในงานสุขีมัน่ สู่ขวัญวันเกิด : เป็นการนำเสนอผลการศึกษาการ
ประดษิ ฐ์สรา้ งวฒั นธรรมในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวนั เกดิ ของศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ในลักษณะที่เป็น
“ภาพรวม” เนอื้ หาในบทนจี้ ำแนกเป็นประเดน็ ใหญ่ ๆ ได้แก่ วฒั นธรรมไทย วฒั นธรรมต่างชาติ

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ : เป็นการนำเสนอบทย่อของเค้าโครงวิจัยเฉพาะในส่วนของ
วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดำเนินการวิจัย ตลอดจนเป็นการสรุปผลจากการวิจยั ซึ่งเปน็ การสรุปสาระสำคัญ
จากผลวจิ ัยทป่ี รากฏในบทที่ 4 ตอนสุดท้ายจึงเปน็ การนำเสนอขอ้ เสนอแนะ ที่เป็นข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัย

57

บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา

การศึกษาเรื่อง การประดิษฐ์สรา้ งวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกดิ ในโครงการสร้างทาน
บารมี หนุนชีวี มีความสุข ของศูนย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยทำการศึกษาเฉพาะเรื่องการประดิษฐ์
สรา้ งวฒั นธรรม ในงาน สุขมี ่นั สู่ขวญั วนั เกิด ผู้วจิ ยั เกบ็ ข้อมลู โดยใช้วธิ ีการวิจัยเชงิ คุณภาพ โดยสมั ภาษณ์เจ้าหนา้ ที่
ศนู ยว์ ัฒนธรรม และ เครอื ขา่ ยวฒั นธรรมทมี่ ีส่วนในการจดั งาน และได้รวบรวมขอ้ มลู จากเอกสารต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้อง
กบั พนื้ ท่ีศึกษา ผลการศกึ ษามีดงั น้ี

4.1 ศึกษาการประดษิ ฐ์สรา้ งวัฒนธรรม กรณีศกึ ษา งานสขุ ีมัน่ สูข่ วัญวันเกิด ในโครงการสร้างทานบารมี
หนุนชวี ี มีความสุข ของศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่

ส่วนท่ี 1 สภาพทั่วไปของศูนย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
สว่ นที่ 2 การประดษิ ฐส์ รา้ งวัฒนธรรมในงาน สุขมี ั่น ส่ขู วัญวันเกิด
สว่ นท่ี 1 สภาพท่วั ไปของศนู ย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
ข้อมลู ทั่วไปของผู้ให้สมั ภาษณ์
ส่วนใหญม่ ีอายุระหว่าง 30 – 45 ปี มสี ถานภาพ สมรส มรี ะดับการศึกษาอยทู่ ี่ปรญิ ญาตรี ประกอบอาชีพ
พนักงานมหาวทิ ยาลัย ส่วนใหญร่ ายได้มากกวา่ 15,000 บาท ซงึ่ ศูนย์วัฒนธรรม ตั้งอยใู่ น มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้รับการสนับสนนุ
จากภาครฐั อนุมัติงบประมาณในการจดั ต้ัง เริ่มแรกใช้ช่ือว่า สำนักวัฒนธรรม และเปลี่ยนเปน็ ศูนย์วัฒนธรรม ใน
ปจั จุบัน ซ่งึ มีความมุ่งหมายที่จะสรา้ งสรรค์ พฒั นา สบื สาน ฟืน้ ฟู และอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรม เพื่อให้สอดคล้องกับ
แผนยุทธศาสตรข์ องมหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ในการเปน็ ศูนยก์ ลางดา้ นศิลปวัฒนธรรมอสี านและอนุภมู ภิ าคลมุ่ นำ้ โขง
มีสำนักงาน 2 แห่งคือ 1. สำนักงานหลักตั้งอยู่ที่คุ้มสีฐาน และ 2.สำนักงานที่อยู่ภายในหอศิลปวัฒนธรรม
นอกจากนี้ยังมีสถานที่สำหรับเรียนรู้ด้านพุทธศาสนา ใกล้ชิดธรรมชาติ และมีพื้นที่ไว้สำหรับ จัดกิจกรรมทาง
ศาสนาดงั ต่อไปนี้
1.พพิ ธิ ภณั ฑ์พระไม้
2.อาคารพทุ ธศิลป์สถาน
3.หลวงพอ่ พระศรีปัญญาสภรู ิฐาน
4.หลวงพ่อไทรขาว
5.สะพานธรรมชาติ
(ศูนยว์ ัฒนธรรมขอนแกน่ สืบค้นเม่อื วนั ท่ี 4 มนี าคม 2563)

58

ส่วนที่ 2 การประดิษฐส์ ร้างวัฒนธรรมในงาน สุขีมัน่ ส่ขู วญั วันเกิด
การประดษิ ฐส์ รา้ งวฒั นธรรม

การประดษิ ฐ์สรา้ งวัฒนธรรมมกี ารประกอบสร้างจากวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้
1 วฒั นธรรมไทย

การไหว้

(ภาพที่ 1 การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา)

การไหว้เป็นภาษาท่าทางทใ่ี ชแ้ สดงการทักทาย ความเคารพนับถอื โดยการยกมือสองขา้ งประนม
พร้อมกับยกข้ึนไหว้ในระดบั ตา่ ง ๆ ภายในงานสุขมี ่ัน สขู่ วญั วันเกดิ ใช้การไหวใ้ นบริบทการกลา่ วทักทายซึ่งกันและ
กันจะพบเห็นการไหวต้ ัง้ แตโ่ ตะ๊ ลงทะเบียนจากผมู้ าร่วมงาน กับ เจ้าหนา้ ที่ประจำโตะ๊ ลงทะเบียน เมื่อกล่าวคำว่า
“สวัสดคี ่ะ/ครบั ” และการกลา่ วลา “กลับกอ่ นนะคะ/ครับ” กล่าวพร้อมกับยกมือขึน้ ไหว้ นอกจากน้ียังพบการใช้
การประนมมือไหวใ้ นการทำพิธีทางศาสนา เน่ืองจากได้รบั ไดร้ ับอทิ ธิพลศาสนามาจากประเทศอินเดยี ทีม่ กี ารปรนม
มอื ไวท้ ี่ทรวงอกเปน็ การกระทำทส่ี ำคัญอยา่ งหนึ่งของการประกอบพธิ กี รรม

การแต่งกายด้วยชุดผา้ ไทย พืน้ เมอื ง

(ภาพประกอบที่ 2 บริการใหย้ มื ชุดพ้ืนเมือง)

จากการสังเกตการณข์ องผูว้ ิจัยพบว่า สว่ นใหญผ่ ูท้ ม่ี ารว่ มงานจะแต่งกายด้วยชดุ สุภาพ หรือเครื่องแบบ
ของหน่วยงานที่สังกัด เนื่องจากงานจัดในช่วงหลังเวลาเลิกงาน จึงทำให้ผู้มาร่วมงานเดินทางมาหลังจากเลิกงาน

59

โดยไมไ่ ด้เปลี่ยนชุด มีบางส่วนทแ่ี ตง่ กายด้วยผ้าไทย หรือชุดพื้นถิน่ อีสาน และบางสว่ นทัง้ กลมุ่ ทแี่ ต่งกายชดุ สุภาพหรือ
ผ้าไทย /อีสาน อาจเพราะทางผู้จัดงานมีบริการให้ยืมชุดพื้นเมืองเพื่อเปลี่ยนใส่ถ่ายรูป จึงสะดวกต่อบุคลากรที่มา
ร่วมงานมากกวา่ การกลับบ้านเพื่อไปเปลี่ยนชดุ โดยชุดพื้นเมืองที่ทางศูนย์วัฒนธรรมไดจ้ ัดเตรียมไว้ให้นั้นเป็นชุดพื้น
เมืองไทยภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ได้แก่ เสือ้ แขนกระบอกสตี ่าง ๆ ผา้ ซ่ินสำเรจ็ รปู และเคร่อื งประดบั ซึง่ ผูเ้ ข้ารว่ มงาน
สามารถเลอื กชดุ ท่ตี นพอใจและเข้าไปเปล่ียนชุดภายในหอ้ งเปลยี่ นชดุ ท่ไี ด้จัดเตรยี มไวใ้ ห้ดา้ นขา้ ง หลงั จากน้ันจงึ เข้าแถว
เพ่อื ถา่ ยรปู กับฉากทีจ่ ดั ไว้ให้ เม่อื ถา่ ยรูปเสร็จจึงเปลยี่ นชดุ พร้อมเคร่ืองประดับคืนให้เจ้าหน้าท่ี

อาหาร

(ภาพประกอบท่ี 3 ข้าวจ่)ี

อาหาร ที่นำมาจัดเตรียมใหผ้ ู้เข้าร่วมงานและคณะผู้จัดงานได้รบั ประทานล้วนแต่เป็นอาหารพื้นถ่ิน
อีสาน อาทิ ส้มตำ ผัดหมี่ ขนมจีน น้ำยาลาวใส่ตีนไก่ ข้าวจี่ทาไข่ นอกจากนี้ยงั มีขนมไทยที่เปน็ ขนมที่รู้จักกันดี เชน่
ขนมชั้น วนุ้ มะพร้าว ฝอยทอง ทองหยอด วนุ้ เผือก หมอ้ แกง ในแต่ละรอบเดือนจะมกี ารสบั เปลี่ยนหมนุ เวียนชนิดของ
ขนมเพ่ือใหเ้ กดิ ความแปลกใหม่ต่อผูท้ ี่รับประทาน ในส่วนของน้ำหวานในงานจัดให้มี น้ำมะตมู และนำ้ อญั ชัน ซึ่งเป็น
สมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณช่วยแก้กระหาย คลายร้อนได้เปน็ อย่างดี มีรสชาติท่ีไมห่ วานจนเกินไปเหมาะสำหรับทกุ เพศ
ทุกวัย ผู้เข้าร่วมงานมีความสนใจต่อข้าวจี่ และส้มตำเป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นอาหารท้องถิ่นของชาวอีสาน และ
บุคลากรส่วนมากเป็นคนอสี าน ทำให้รสชาตถิ ูกปาก และมีการทำสดใหมต่ ลอดเวลา

การเพน้ ทร์ ่ม

(ภาพประกอบที่ 4 กจิ กรรมเพ้นท์รม่ บ่อสร้าง)

60

การเพน้ ท์รม่ เปน็ หน่ึงในกิจกรรมของงานทไี่ ดร้ ับความนยิ มอย่างมาก เน่ืองจากเปน็ งานที่ใชค้ วามคิด
สร้างสรรคแ์ ละเป็นงานฝมี อื ทีม่ ีช้นิ เดยี วในโลกจากฝีมอื ของตนเอง และที่สำคญั ไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่ายใด ๆ ในการทำกจิ กรรม
ผู้เข้าร่วมงานรวมถึงผู้ติดตามจึงมักร่วมกิจกรรมเพ้นท์ร่มอย่างไม่ขาดสาย อีกทั้งบรรยากาศขณะทำกิจกรรมไมร่ ้อน
จนเกินไป ประกอบกบั ได้รบั ฟังการร้องลำของหมอลำท่สี รา้ งความสนกุ สนานย่งิ ทำใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ ในการสร้าง
งานศิลปะ ร่มทนี่ ำมาเพน้ ท์คือรม่ ที่เปน็ ของที่ระลกึ ซ่งึ มอบให้เฉพาะบุคลากรทม่ี าลงทะเบยี นเขา้ ร่วมงานตามกำหนดการ
เท่านน้ั วิธีการเพ้นท์ทำได้โดยการใชพ้ ่กู ันและสที ี่จดั เตรยี มไว้ให้ในจานสีระบาย หรือวาดลวดลายลงไปบนรม่ ใช้แม่พิมพ์
ในการระบายโดยการวางแม่พิมพ์รูปดอกไม้ลงไปบนตัวร่มจากนั้นนำพู่กันจุ่มสีที่ต้องการและระบายสีลงไปภายใน
แม่พิมพ์ วาดหรือ เขยี นขอ้ ความตามแตค่ วามพอใจของเจา้ ของรม่ การเพน้ ท์รม่ ถือ เป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมทาง
ศิลปะของภาคเหนือที่ตกทอดกันมาหลายยุคสมัยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน การเพ้นท์ร่ม จึงเป็นการผสมผสานทาง
วฒั นธรรมของภาคเหนอื ทเ่ี ข้ามาปรากฎในภาคอีสานในงานสุขมี ่ัน สขู่ วญั วันเกิดและเกดิ การปรบั ปรงุ อย่างเหมาะสมจน
ทำใหส้ ามารถอยู่ร่วมกนั ได้

การรำอวยพร ของนกั ศึกษาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์

(ภาพประกอบท่ี 5การรำอวยพร ของนักศกึ ษาคณะศลิ ปกรรมศาสตร์)

การฟ้อนรำ ถือเป็นวัฒนธรรมไทยในด้านศิลปะ การรำอวยพรในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิดนัน้
ได้รับความรว่ มมือจาก นักศึกษาคณะสิลปกรรมศาสตรช์ ัน้ ปที ่ี 1-4 สาขานาฏศิลป์มาแสดงการฟ้อรรำอวยพร ซ่ึง
เปน็ การแสดงออกด้านนาฏศิลป์การรำ ท่ีกลา่ วอวยพรแก่บุคลากรทกุ คนผา่ นการแสดงศลิ ปะแทนการกล่าวอวยพร
รายบุคคลซ่ึงช่วยลดระยะเวลาและ และกอ่ ใหเ้ กดิ ความจรรโลงใจ ความสวยงาม ออ่ นชอ้ ย และสะท้อนอัตลักษณ์
ชาวอสี านผ่านทางเครอ่ื งแต่งกายของผูร้ ำแกผ่ ู้ที่พบเห็นท้งั ผมู้ ารว่ มงาน และบคุ คลภายนอกทไี่ ด้พบเห็นผา่ นทางสื่อ
ต่าง ๆ เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อศูนย์วัฒนธรรม และมหาวิทยาลัย การฟ้อนรำอวยพรในแต่ละเดือนจะมีการ
ปรับเปลี่ยนผู้รำตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ไปจนถึง ชั้นปีที่ 4 และปรับเปลี่ยนเครื่องแต่งกายบ้างตามแต่ความสะดวก
เพ่อื สรา้ งความแปลกใหม่ ความนา่ สนใจตอ่ ผ้รู บั ชม ยกเว้นบทเพลง เนอ้ื หา ท่ารำในการรำอวยพร และสงั กัดของผู้
รำจะคงเดิมทุกเดอื น

61

การแสดงศิลปะพื้นถน่ิ อสี านร้องหมอลำ

(ภาพประกอบท่ี 6 การรำอวยพรจากสมาคมหมอลำจงั หวดั ขอนแก่น)

สมาคมหมอลำจังหวดั ขอนแกน่ นำโดย หมอลำวนั ดี พลทองสถิต ไดร้ อ้ งและลำกลอนต่าง ๆ เพ่ือ
สร้างความสนุกสนานความบนั เทิงให้ผชู้ มไดร้ บั ฟัง อาทิ ลำเสยี วสหวาด ลำพ้ืนและลำอวยพร โดยกลอนลำในแตล่ ะ
รอบเดอื นจะมกี ารปรบั เปลี่ยนไปตามสถานการณ์เพือ่ ไมใ่ ห้ผูฟ้ ังเบื่อหน่าย ยกเว้นกลอนลำอวยพรท่จี ะมกี ารปรับคำ
ท่ีใชใ้ นการลำบ้าง มูลเหตุทีน่ ำการรอ้ งหมอลำมาร่วมในงานด้วยเน่อื งจาก จังหวดั ขอนแกน่ มหี มอลำท่ีมีช่อื เสยี งโดง่
ดังเป็นทร่ี จู้ กั หลายทา่ น ซึง่ หมอลำเปน็ วฒั นธรรมพื้นถน่ิ ของชาวอสี าน ที่มพี ัฒนาการมาอย่างยาวนานจากการเล่า
นิทานจนมาส่กู ารร้องลำใสเ่ สยี งแคน และยงั คงไว้ซึ่งความดง้ั เดิมในการรอ้ งการลำในทำนองของแตล่ ะพื้นท่ี สมาคม
หมอลำจังหวัดขอนแก่นเป็นเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญเครือข่ายหนึ่งของมหาวิทยาลัยขอนแก่นด้านการ
สบื สานและอนรุ ักษศ์ ิลปะของชาวอสี าน ดังน้นั การที่ไดม้ โี อกาสทำการแสดงร้องหมอลำเปน็ ประจำทุกเดือนให้แก่
บุคลากรที่มาร่วมงานได้ฟังนั้นก็ถือเป็นการอนุรักษ์และเผยแพร่ความงดงามของศิลปวัฒนธรรมอีสานที่อยู่ใน
วฒั นธรรมไทยได้เปน็ อยา่ งดี และเปิดโอกาสใหห้ มอลำหนา้ ใหม่ได้แสดงความสามารถและพัฒนาตัวเองตอ่ ไป

การตกแตง่ สถานท่ีด้วยเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรม : ตงุ หรือ ธงุ และ ขนั กะหยอง

(ภาพประกอบที่ 7การตกแต่งสถานท่ีดว้ ยเอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรม : ตงุ หรอื ธงุ และ ขันกะหยอง )

จากการมีส่วนรว่ มในการจัดเตรยี มสถานที่การจัดงานพบวา่ มีการประดบั และตกแตง่ สถานท่ดี ้วย ตุง หรอื
ธงุ ทงั้ แบบ ใยแมงมุม มลี ักษณะเหมือนใยแมงมุม และ แบบผ้า มลี ักษณะการทกั ดว้ ยเส้นด้าย ค่นั ดว้ ย ไม้ไผ่ เป็น

62

แนวยาวแบบสเ่ี หล่ยี มผนื ผ้า ตงุ หรือ ธุง เป็นลักษณ์รว่ มทางวฒั นธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคเหนือ
ซึ่งทางภาคเหนือจะเรียกว่า ตุง ส่วนภาคอีสานเรียกว่า ธุง มีความเชื่อในทางเดียวกันนัน่ คือ เชื่อว่า เป็นส่งิ ที่คร้งั
หน่ึงในชีวิตควรนำไปถวายวดั และใชป้ ระดับในงานทางศาสนาต่าง ๆ เพ่ือปกป้องไมใ่ หค้ วามชัว่ ร้ายเข้ามาก่อความ
วุ่นวายในงาน ตุง การนำ ตุง หรือ ธุง มาตกแต่งในงาน สะท้อนกิจกรรมภายในงานว่ามีศาสนพิธีร่วมอยู่และ
สะท้อนคติความเชื่อในเรื่องการปกป้องและปัดเป่าความชั่วร้ายออกไป การตกแต่งด้วยตุง หรือ ธุง และ ขัน
กะหยองน้ันเน่ืองจากเปน็ วสั ดุทท่ี างศนู ย์วัฒนธรรมมเี ปน็ จำนวนมากอยู่แลว้ เพราะกอ่ นหนา้ น้ไี ดม้ กี ารจดั ทำ จัดหา
เพอ่ื นำมาในงานตามเทศกาลตา่ ง ๆ อยู่เปน็ ประจำ อกี ทงั้ เปน็ สัญลักษณ์ของงานด้านวฒั นธรรมประเพณี บ่งบอกถงึ
ความเปน็ อีสานไดเ้ ปน็ อย่างดี นอกจากนี้ยงั เปน็ ฉากในการถ่ายรปู ของผมู้ ารว่ มงานดว้ ยสสี นั ทส่ี วยงาม หลากหลาย
ชว่ ยเพม่ิ ความสดใสใหแ้ กง่ านไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ในส่วนของขนั กะหยอง เป็นเคร่อื งจกั รสานทนี่ ยิ มใช้ในงานศาสนพิธี ใน
งานสุขมี น่ั สู่ขวัญวันเกิด ถูกนำมาใชเ้ ป็นฐานในการวางขันเงินหลายไทยบรรจนุ ำ้ ครงึ่ หนึง่ และลอยหน้าด้วยดอกไม้
ต้งั ไวบ้ นแครไ่ ม้ไผ่ สร้างความสวยงามแกผ่ ู้ท่ีมาน่งั รบั ประทานอาหารและชมการแสดงบนแคร่ไม้

พธิ ีบายศรสี ู่ขวญั

(ภาพประกอบที่ 8 พิธบี ายศรีสูข่ วญั )

ในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด หลังจากประธานในพธิ ีเดินทางมาถึงงานแล้วจะมีพิธีการบายศรีสู่
ขวญั ให้แก่บุคลากรทุกคน เน่ืองในวาระการเปลยี่ นแปลงของชีวติ ในวาระน้คี อื วันเกดิ หมายความวา่ มีอายุเพิ่มข้ึน
อกี 1 ปี ซง่ึ พิธกี รรมน้ีเปน็ ความเช่ือทางศาสนาทไี่ ดร้ บั อทิ ธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์ เปน็ ทร่ี ู้จกั กนั ดีในสงั คมไทย
เพราะยังได้รับความนิยมและจัดทำกันอยู่ทั่วไป มีความผสมผสานระหว่างศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนา
นอกจากน้ยี ังมีอทิ ธพิ ลต่อการดำรงชวี ิตของคนในสังคมไทย โดยเชื่อวา่ หากไดท้ ำการบายศรสี ่ขู วญั แล้วจะส่งผลให้มี
ความสุขสบายในชวี ิต หนา้ ทก่ี ารเจริญก้าวหน้า แคล้วคลาดปลอดภยั จากอันตรายต่าง ๆ การบายศรสี ู่ขวัญในงาน
สุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด จะประกอบไปด้วย พานบายศรี 3 ชั้น ทำด้วยใบตองสังเคราะห์เพื่อให้เก็บได้นานขึ้น
ในพานบายศรีมีดา้ ยสายสินจ์พนั รอบตวั พานบายศรี และวางบนพานดา้ นข้างสำหรับใชใ้ นการผขู้ อ้ มือ ด้านลา่ งพาน
บายศรีมถี าดใส่อาหาร กระติบข้าวเหนยี ว เหลา้ ขาว นำ้ เปล่า และขนั หา้ เมื่อผ้เู ขา้ รว่ มงานรวมถึงประธานในพธิ ีเขา้

63

ไปนั่งล้อมวงในอาคารพุทธศิลป์ครบแล้ว หมอพราหมณ์จงึ เริ่มดำเนินพิธีบายศรีสู่ขวญั โดยใช้บทสูตรขวัญคน ใน
การทำพธิ ี เมื่อเสรจ็ สิ้นการบายศรสี ู่ขวัญแล้วลำดบั ตอ่ ไปเปน็ การผกู ข้อต่อแขนใหแ้ ก่บุคลากรทกุ คนตามลำดบั

ผูกขอ้ ตอ่ แขน

(ภาพประกอบที่ 9 พราหมณ์ผูกข้อมือใหแ้ ก่บคุ ลากร)

หลังจากหมอพราหมณ์สูตรขวัญจบและเสร็จพิธีบายศรีแล้วจะมีการผูกข้อต่อแขน โดยหมอ
พราหมณ์จะเป็นผผู้ ูกใหป้ ระธานในพิธีกอ่ นหลังจากน้ัน ประธานในพธิ ี ผอู้ าวโุ สและผเู้ กษยี ณ ผูกให้กับบุคลากรทุก
คนที่มารว่ มงาน การผูกแขนจะผูกท่ขี อ้ มอื ซ้าย เพราะแขนซา้ ยถือวา่ เปน็ แขนขวญั ในเวลาผูกนนั้ ทุกคนจะต้องยื่น
มือขวาออกไปพยุงแขนของเจ้าของขวัญที่กำลังทำพธิ ีผูกข้อมือ สาเหตุท่ีต้องมีการผูกข้อมือใหก้ นั เชื่อว่าเกี่ยวกบั
ความสัมพันธ์ทางด้านร่างกายและจิตใจ กรณีงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิดนั้นอาจหมายถึงการเติมเต็มด้าน
ความสมั พันธท์ ี่ดซี ึง่ กันและกนั ของบุคลากรด้วยกนั เอง และผบู้ รหิ ารกบั บคุ ลากร

ศาสนพธิ ี

(ภาพประกอบท่ี 10 บคุ ลากรถวายเครื่องไทยธรรมแกพ่ ระสงฆ์)

ศาสนพธิ ี หรอื พิธที างศาสนาในงานสุขมี ั่น สขู่ วญั วันเกิด ทางผู้จดั งานไดน้ มิ นต์พระสงฆท์ ้ังหมด 9
รูป จากวัดป่าสีตะวัน จังหวัดขอนแก่น มาเป็นผู้ทำพิธีทางศาสนา โดยจะเริ่มทำพิธี เวลา 18.30 น. เริ่มจาก
ประธานในพิธี จุดธูป เทียน บูชาพระรัตนตรัย และกล่าวคำอาราธนาศีล หลังจากนั้นถวายเครือ่ งไทยธรรม ซ่งึ

64

ผูเ้ ขา้ ร่วมงานไดแ้ บง่ กนั ออกไปถวายเครื่องไทยธรรมให้พระสงฆ์จนครบท้งั 9 รูป สุดทา้ ยคือการกรวดน้ำอุทิศส่วน
บญุ ส่วนกศุ ลให้เจ้ากรรมนายเวร และผทู้ ่ีลว่ งลบั ไปแล้ว ผู้เข้าร่วมงานมคี วามตั้งใจและสนใจในพิธีทางศาสนาเป็น
พิเศษเนอื่ งจากเป็นพิธดี ังกล่าวมอี ิทธพิ ลตอ่ การดำเนนิ ชีวติ ของคนในสงั คมไทยและบคุ ลากรสว่ นมากนับถือศาสนา
พุทธซ่ึงเช่อื ว่าการทำบญุ รักษาศีลและการเข้าวัดฟังเทศน์เป็นเร่อื งท่ีดี ช่วยสรา้ งบญุ ให้แก่ตนเอง มีความสุขสบาย
รม่ เย็นในใจ หรือเรียกว่า อิม่ บุญ และเชื่อวา่ เม่อื เสียชีวิตไปแล้วจะได้ขึน้ สวรรค์ หลงั จากเสรจ็ พิธีในอาคารพุทธศิลป์
สถานแล้วลำดับตอ่ ไปคือการเดินเวียนเทียนรอบพุทธศลิ ป์สถาน การกระทำดงั กลา่ วเป็นการระลกึ ถึงพระพทุ ธ พระ
ธรรม และพระสงฆ์

เวียนเทยี น

(ภาพประกอบท่ี 11 บุคลากรร่วมเดินเวยี นเทียน)

พระสงฆทง้ั 9 รูปเป็นผู้นำในการเดนิ เวียนเทียนโดยถือกรวยดอกไม้ ธปู -เทยี น และนำสวด
บทสวดการเวยี นเทียน ส่วนประธานในพิธแี ละผ้เู ขา้ ร่วมงานจะไดร้ บั ขันหมากเบ็งท่ีปกั ธูป-เทียนและจุดเรียบร้อย
แลว้ คนละ 1 อัน หรอื กรวยดอกไมธ้ ูป - เทียน คนละ 1 กรวย เดนิ ตามหลงั พระคุณเจ้า วนขวารอบพพิ ธิ ภณั ฑ์พระ
ไม้เปน็ จำนวน 3 รอบ เม่อื ครบ 3 รอบแลว้ นำขนั หมากเบง็ และกรวยดอกไม้ธูป-เทยี น ไปวางถวายหลวงพ่อพระ
ศรีปญั ญาสภรู ิฐาน ทป่ี ระดษิ ฐานอยดู่ ้านข้างพพิ ธิ ภัณฑ์พระไม้ เปน็ อนั เสรจ็ พิธี ขนั หมากเบ็งถูกนำมาใช้ในพิธีทาง
ศาสนาคือการเวียนเทียนและบูชาพระรัตนตรัย โดยทางศูนย์วัฒนธรรมได้จัดหาขันหมากเบ็งอีสานแบบดั้งเดิม
การใช้ขันหมากเบ็งแบบอีสานด้ังเดมิ นั้นมีความสวยงาม โดดเด่นด้านความเป็นอีสานอยา่ งชดั เจนหาได้ยากและ
จะตอ้ งสั่งทำนอกจากนย้ี ังเปน็ การกระจายรายไดอ้ อกสชู่ มุ ชนในเครอื ขา่ ยศิลปวฒั นธรรมของทางศนู ยว์ ฒั นธรรมอกี
ด้วย โดยชาวบ้านสาวะถี จงั หวัดขอนแก่นจะเปน็ ผรู้ บั ทำขันหมากเบง็ มาส่งให้ตามจำนวนผทู้ ี่ยนื ยันจะเข้าร่วมงาน
ผ่านช่องทางออนไลน์ และโทรศัพท์มายืนยันด้วยตนเองผ่านช่องทางติดต่อที่ให้ไว้ตอนท้ายของหนังสือเชิญเขา้
ร่วมงาน จำนวน 100 – 120 คน

65

2.วฒั นธรรมตา่ งชาติ
บาสโลบ

(ภาพประกอบท่ี 12 นักศึกษาปรญิ ญาเอกจากชมรมนกั ศึกษาลาวนำเตน้ บาสโลบ)

การเต้นบาสโลบ ถือเปน็ วัฒนธรรมของ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว หรอื สปป. ลาว
ภายในงานจะมีนักศึกษาปริญญาเอกจากชมรมนักศึกษาลาวเป็นขบวนนำเต้นบาสโลบ จากนั้นบุคลากรในงาน
รวมถงึ ผู้เข้ารว่ มงานทกุ คนสามารถเข้าไปร่วมเต้นไดอ้ ย่างสนกุ สนาน สรา้ งความหลากหลายในกบั กิจกรรมในงานท่ี
มีทั้งการ เต้น รำ และ ร้องหมอลำ ถือเป็นการออกกำลงั กาย ยืดเส้น ยืดสาย ไม่เป็นอันตรายตอ่ การออกท่วงท่า
ลลี า สร้างความบันเทงิ ใหแ้ ก่ตนเองและผู้อน่ื อกี ทงั้ สะทอ้ นการยอมรับ และรับเอาความแตกต่างทางชาติพันธุ์โดย
นำวฒั นธรรมต่างชาตมิ าประกอบไว้ในงานไดอ้ ยา่ ลงตวั โดยไมใ่ หน้ อ้ ยหน้าไปกวา่ วัฒนธรรมพน้ื บา้ นของตน

เพลง Happy birthday และการเป่าเคก้

(ภาพประกอบท่ี 13 การร้องเพลง Happy birthday และเปา่ เค้ก)

66

จากการสังเกตการณ์ พบว่าหลังจากการผูกข้อต่อแขนเสร็จเรียบร้อยแล้วจะมีการล้อมวงเพือ่
ร้องเพลง Happy birthday ร่วมกัน และให้บุคลากรผู้ท่ีมีวันเกิดตรงกับวันที่จดั งานนีข้ ึน้ เป็นผู้ที่ไดเ้ ป่าเทียนบน
เค้ก หรือ เป่าเคก้ โดยจะมีการรอ้ งเพลง Happy birthday ทัง้ หมด 3 รอบจากนั้น คอ่ ยเปา่ เคก้ ซึ่งเค้กท่ใี ชในงาน
ได้สั่งทำพเิ ศษเฉพาะงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกดิ เท่าน้ัน เป็นเค้กจำนวน 2 ปอนด์ ลักษณะสีเ่ หลียมผืนผา้ ปักเทียน
จำนวน 9 เลม่ บนหนา้ เค้กจะใช้เทคนิคการพร้ินท์รปู ลงบนแผ่นน้ำตาลอาหาร เทคนิคนเี้ รยี กวา่ โฟโตเ้ คก้ (Photo
cake) สำหรับ โฟโตเ้ ค้กที่ใช้ในงานจะพริ้นท์รปู ผหู้ ญิงถือร่มสวมใสผ่ ้าพื้นถนิ่ สนี ้ำเงนิ และเขียนหน้าเค้กว่า สุขีมั่น
สู่ขวัญวนั เกดิ ตามดว้ ย ชือ่ เดือนท่จี ดั งาน เช่น สุขีมั่น สขู่ วัญวนั เกิด เดือน มกราคม ซ่งึ วฒั นธรรมเค้กและการเป่า
เค้กเปน็ วัฒนธรรมฝั่งตะวันตกของชาวยุโรปแต่มีความนยิ มและแพรห่ ลายในแถบเอเชีย ซึ่งการนำเอาวัฒนธรรม
การรอ้ งเพลงอวยพร และการเป่าเค้กมาไว้ในงานด้วยนนั้ ถอื วา่ เป็นการยอมรบั และนำวฒั นธรรมมาปรบั ใช้ได้อย่าง
เหมาะสมเพ่ือใหง้ านมคี วามหลากหลายแต่ไมถ่ กู กลืนกนิ เกิดเป็นการผสมผสานทางวฒั นธรรมท่ที ุกคนยอมรบั ได้

67

บทท่ี 5

สรุปผลการวจิ ยั และ ขอ้ เสนอแนะ

ในบทนี้ ผู้วิจัยเร่ืองการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขมี ั่น สู่ขวัญวันเกิด ของศูนย์
วัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ในหัวข้อ ได้ตั้งประเด็นของการศึกษา 1 ประการคือ เพื่อศึกษาการประดิษฐ์
สรา้ งวัฒนธรรมในงานสุขมี ัน่ ส่ขู วญั วันเกิด มขี ้อสรุปของการวจิ ัย โดยเสนอตามกรอบของวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
มีดังตอ่ ไปน้ี

สรุปผลการวิจัย
การศึกษาเรื่อง การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรม กรณีศึกษา งานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด ของศูนย์วัฒนธรรม

มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ สรุปผลการวจิ ัย มีดังตอ่ ไปนี้
5.1.1 การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด เกิดจากการนำวัฒนธรรมไทย ซึ่งมี

วฒั นธรรมอีสาน และวฒั นธรรมภาคเหนือ รว่ มอยดู่ ว้ ย และวฒั นธรรมต่างชาตมิ าประกอบเข้าดว้ ยกัน จนเกิดเป็น
วัฒนธรรมใหม่ท่ีประกอบไปด้วยวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย ซึ่งเป็นวัฒนธรรมทีเ่ ปน็ ที่รู้จักกันดีอยู่แลว้ รวมถึงความ
เชื่อและพิธีกรรม การประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมนี้มีปัจจัยมาจากความหลากหลายทางชาติพันธุ์และศาสนาของ
บุคลากร วัฒนธรรมหลักจะเป็นของคนไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรืออีสาน โดยเน้น การสร้างบารมีบุญ
ความสุขความเจริญแก่ชีวิต หนา้ ท่กี ารงาน นอกจากน้ยี ังสร้างสัมพนั ธอ์ ันดีซ่งึ กันและกัน สรา้ งความหว่ งใยระหว่าง
บุคลากรด้วยกัน อีกทั้งสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานเพื่อเป็นการขอบคุณตอบแทน แสงดออกถึงการให้
ความสำคญั ต่อบุคลากรโดยไม่คำนึงถงึ ความแตกต่างในด้านใดด้านหนึ่ง นอกจากน้ภี ายในงานสขุ ีมน่ั สู่ขวัญวันเกิด
ยงั ช่วยใหเ้ กดิ การพบปะพดู คุยกนั ของผเู้ กษยี ณ ช่วยเติมเต็มและผอ่ นคลายความเหงา อกี ท้งั เสรมิ สร้างความสุขใจ
กิจกรรมในงานไดส้ อดแทรกความสนกุ สนานไว้เช่น หมอลำ และการฟ้อนรำอวยพร ซึ่งรูปแบบงานเน้นความเป็น
วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมพื้นถิ่นอีสาน ผสมผสานวัฒนธรรมต่างชาติได้อย่างลงตัว ซึ่งผู้วิจัยได้แบ่งประเภท
วัฒนธรรมทีป่ รากฏในการประดิษฐ์สร้างวัฒนธรรมไว้ ดังตอ่ ไปน้ี

1.วัฒนธรรมไทย 1.การไหว้ 2.เครื่องแต่งกาย 3. อาหาร 4. การเพ้นท์ร่ม 5. รำอวยพร 6. การแสดง
ศิลปะพื้นถิ่นอีสานหมอลำ โดยสมาคมหมอลำจังหวัดขอนแก่น 7. การตกแต่งสถานที่ด้วยเอกลักษณ์ร่วมทาง
วัฒนธรรม : ตุง หรือ ธงุ และ ขันกะหยอง 8. บายศรสี ู่ขวัญ 9.ผูกขอ้ ต่อแขน 10. ศาสนาพธิ ี เปน็ พิธที างศาสนาทั้ง
ศาสนาพทุ ธและศาสนาพราหมณท์ ผ่ี สมกันอยู่

2.วฒั นธรรมตา่ งชาติ ไดแ้ ก่ วัฒนธรรมของสาธารณะรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้แก่ บาสโลบ และ
วฒั นธรรมตะวนั ตก ไดแ้ ก่ การร้องเพลง Happy birthday, เคก้ , การจุดเทียนบนเคก้ และการเปา่ เค้ก

68

ด้านความเช่ือและพธิ กี รรม จะเห็นวา่ ในทกุ วฒั นธรรมมที งั้ ความเชื่อท่ีสามารถพสิ ูจนไ์ ด้และพิสูจน์ไม่ได้
จบั ต้องได้ จบั ต้องไมไ่ ด้ และมพี ิธกี รรมกำกับไวเ้ สมออย่างเป็นข้ันตอน วัฒนธรรมไทยจะมคี วามเช่ือเกี่ยวกับเร่ือง
เหนือธรรมชาติและศาสนา โดยวัฒนธรรมนั้นมักจะมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตและสร้างบุ ญให้แก่ผู้กระทำ
วัฒนธรรมบางส่วนได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์ ส่วนวัฒนธรรมต่างชาติ ได้แก่ วัฒนธรรมการเต้นรำ
บาสโลบ จากสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว หรือ สปป. ลาว และวัฒนธรรมตะวันตก เรื่อง เค้กและการ
เปา่ เค้ก โดยมีความเช่อื ในเรื่องการบชู าเทพเจ้า เป็นหนทางการไปส่สู วรรค์ และตดิ ตอ่ กับพระเจ้า

ด้านการผสมผสานทางวฒั นธรรม โดยการรบั เอาวฒั นธรรมของสังคมอ่ืนมาประพฤติปฏบิ ัติจนกลายเปน็
ส่วนหนึ่งของพฤติกรรมที่ทำตามปกติ ในกรณีงานสุขมี ่ัน สู่ขวัญวนั เกิด คือ การร้องเพลง Happy birthday และ
การเป่าเคก้ ซึ่งเปน็ วัฒนธรรมของชาวตะวนั ตก แตไ่ ดร้ ับความนิยมในประเทศไทยมาโดยตลอดจนเกิดความเคยชิน
ในการเปา่ เค้กทุกคร้งั เมื่อจัดงานวันเกิด

ด้านคตชิ นวิทยา คติชนวิทยา เปน็ สว่ นหน่ึงของวัฒนธรรม ซึ่งสามารถสะท้อนวฒั นธรรมบางอยา่ งได้ ใน
กรณีนี้ คติชนวิทยาได้สะท้อนความเชือ่ ของคติชาวบ้านในด้านความเชือ่ และพิธีกรรมที่เป็นเรื่องเหนือธรรมชาติ
ความเชือ่ เรื่องเทพอาเทอร์มิส ความเชอ่ื เร่อื งแสงของเทยี น ความเชื่อการสขู่ วญั ผูกขอ้ ตอ่ แขน เปน็ ตน้
1. ข้อเสนอแนะ

1. ในงานศึกษาวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาวัฒนธรรมที่ปรากฏในงานสุขีมั่น สู่ขวัญวันเกิด ซึ่งเลือกศึกษา
วัฒนธรรมในแบบภาพรวมเท่านั้น ความครบถ้วนในรายละเอียดของแต่ละวัฒนธรรมยังคงมีอีกมากที่ยังไม่ได้
กล่าวถึง เช่น ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมในแถบลุ่มแม่น้ำโขง หรือ บริบททางสังคมที่มีต่อวัฒนธรรมที่นำมา
ประกอบเขา้ ไวใ้ นงานสุขีม่นั สู่ขวญั วนั เกดิ ผู้วิจัยจึงเห็นว่าควรทจี่ ะมีการศึกษาเพอื่ สรา้ งแรงสำนึกในส่ิงเหล่านี้และ
ชว่ ยกนั ฟน้ื ฟู อนุรกั ษ์ สืบสาน เผยแพร่วฒั นธรรมประเพณีซงึ่ เปน็ มรดกทลี่ ำ้ คา่ ของสังคมกอ่ นทจ่ี ะเลือนหายไปกับ
การกลนื กนิ ทางวัฒนธรรมอ่ืน ๆ

2. ควรมีการจัดงานในด้านวัฒนธรรมที่หลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยนำความสดใหม่ของบริบททางสังคม
เขา้ มาผสมผสานเพอ่ื ให้เกดิ ความนา่ สนใจ และดึงดูดให้มผี ้เู ขา้ ร่วมงานมากขน้ึ กวา่ เดิม

69

บรรณานกุ รม

ก่ิงแกว้ อัตถากร. (2519). คติชนวิทยา. เอกสารการนเิ ทศการศกึ ษา ฉบับที่ 184. กรุงเทพฯ: หน่วยศกึ ษานิเทศ
กรมการฝึกหัดคร.ู

______ . (2525). ลักษณะพธิ ีกรรมในสังคมไทย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาไทยศึกษา เลม่ 2. กรุงเทพฯ:
สาขาวชิ าศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

______ และธนรชั ฎ์ ศิริสวสั ด.์ิ (2528). ความเช่อื . ใน เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย 8
(คติชนวทิ ยาสำหรบั ครู). กรงุ เทพฯ: สาขาศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม. (2561). ศาสนพิธีและมารยาทไทย. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด.

กรงุ เทพธรุ กิจ. (2563). เปิดค่มู อื “เวียนเทียน” ทถ่ี กู ต้องรบั บุญใหญ่ “มาฆบูชา 2563”. กรุงเทพฯ:
สบื ค้นจาก https://bandkokbiznews.com.

กองวฒั นธรรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. เร่ืองวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์การศาสนา, ม.ป.ป.
กานต์ กาญจนพมิ าย. (2553). การศกึ ษาวิเคราะห์พระพทุ ธรูปไมอ้ สี านเชงิ ปรัชญา. (วทิ ยานิพนธ์

ปริญญามหาบัญฑติ ). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จารุวรรณ ธรรมวตั ร. (2538). คตชิ าวบา้ นอีสาน. กรุงเทพฯ: อกั ษรวัฒนา.
ชลติ ชัยครรชิต และคณะ. (2549). สังคมและวฒั นธรรมอสี าน. ขอนแก่น: โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั ขอนแกน่ .
ชอบ ดีสวนโคก. (2547). คำหลายความ รวมบทความเอกสารศึกษาด้านสงั คมวัฒนธรรมอสี าน.

สำนกั ส่งเสรมิ วัฒนธรรม หอศิลป์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . ขอนแก่น: คลงั นานาวิทยา.
ชาญยุทธ สอนจนั ทร.์ (2560). การผลติ ซ้ำและการสรา้ งใหมใ่ นประเพณีบุญขา้ วจ่ี อำเภอโพธช์ิ ัย

จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด. ใน วารสารวถิ สี งั คมมนุษย.์ 5 (2), 167-189. สืบค้นจาก
https://journal.huso.ksu.ac.th.
เติม วิภาคยพ์ จนกจิ . (2542). ประวัตศิ าสตร์อสี าน. ครัง้ ที่ 4. กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
เทพพร มังธาน.ี (2561). “พระศรปี ัญญาสภูรฐิ าน”หลวงพ่อพระศรี 50 ปี มข. ขอนแก่น:
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. สืบค้นจาก https://cac.kku.ac.th/.
ธนวรรธน์ นธิ ปิ ภานันท์. (2560). หวั หนิ กบั ประเพณีประดษิ ฐ:์ ศกึ ษากรณีการประกอบสรา้ งเพลินวาน.
กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สืบคน้ จาก https://kurkr.lib.ku.ac.th/.
ธิดา โมสกิ รตั น.์ (2528). ประเพณีและพธิ กี รรม. ใน เอกสารการสอนชุดวชิ าภาษาไทย 8

70

(คตชิ นวิทยาสำหรับคร)ู . กรงุ เทพฯ: สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.
ธวัช ปณุ โณทกและคณะ. (2532). ความเชอ่ื พืน้ บ้านอันสมั พนั ธ์กบั วิถีชีวิตในสงั คมอีสาน. กรุงเทพฯ:

จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ฌาณญิ า จนิ ดามล. (2549). การศกึ ษาฮตี สิบสองในฐานะเครือ่ งมือเสรมิ สรา้ งความเป็นปกึ แผ่นทางสังคม

ของชุมชนอสี าน. (วทิ ยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรงุ เทพฯ. จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

สืบค้นจาก https://tdc.thailis.or.th/tdc/.

น.ณ ปากน้ำ (นามแฝง). (2525) ประเพณไี ทยต่าง ๆ . กรุงเทพฯ: O.S. Printing House Co., LTD.
ณรงค์ เสง็ ประชา. (2532). พนื้ ฐานวัฒนธรรมไทย. คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: O.S. Printing House Co., LTD.
บุปผา บุญทพิ ย์. (2543). คตชิ าวบ้าน. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
แปลก สนธรักษ์. (2523). พธิ ีกรรมและประเพณี. พิมพ์ครงั้ ที่ 8. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ ย.์
ผ่องพนั ธ์ุ มณรี ัตน์. (2525). มานษุ ยวิทยากับการศึกษาคตชิ าวบ้าน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลยั

ธรรมศาสตร์.
พัทยา สายห.ู (2514). ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม. พระนคร: ไทยวัฒนาพานชิ ย.์
พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว. (2431). พระราชพิธี 12 เดือน. ใน วชริ ญาณ. กรุงเทพฯ.

สบื คน้ จาก https://vajirayan.org/.
พระภัทธชาพงษ์ สริ ภิ ทฺโท (ก่ำชัยภูมิ). (2555). การศึกษาหลักพทุ ธธรรมทีป่ รากฏในบทสูตรขวัญอีสาน

เพือ่ การดำเนินชีวติ . (วทิ ยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑติ ). กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณ์ราวิทยาลยั
สืบค้นจาก https://sb.mcu.ac.th/.
เพม่ิ ศักด์ิ วรรลยางกลู . (2503). เมอื งไทยในอดตี . พระนคร: โรงพมิ พ์วฒั นาพานิชย.์
สบื คน้ จาก https://th.wikisource.org
ภัทรานษิ ฐ์ ทพิ ยส์ ุมาลยั . (2557). การวเิ คราะหว์ ัฒนธรรมประดิษฐ์และการสื่สารอตั ลกั ษณ์ กรณีศกึ ษา
อตุ สาหกรรมสปาล้านนา. (วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑติ ). เชียงใหม.่ วิทยาลยั เชียงใหม่.

สบื ค้นจาก https://cmuir.cmu.ac.th/.

ภริมา วนิ ิธาสถติ กุล และพระมหาจิรฉนั ท์ จิรเมธี(โลวะลุน). (2558). คตชิ นวิทยา : ความเชื่อกับสงั คมไทย
. ใน วารสาร มจร มนุ ษยศาสตรป์ รทิ รรศน.์ 1 (1). 31 – 43.
สบื คน้ จาก https://jmhr.mcu.ac.th/.

เมธาวี ศิริวงศ.์ (2556). ประเพณปี ระดิษฐ์กบั การจดั การทรัพยากรวฒั นธรรม กรณีศึกษา งานเทศกาล
ประเพณีแซนโฎนตา อำเภอขุขนั ธ์ จังหวัดศรสี ะเกษ. กรงุ เทพฯ. มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร

71

สบื คน้ จาก https://thapra.lib.su.ac.th/.
วดั มัชฌันติการาม. (2561). ขนั้ ตอนการกราบพระ อาราธนาศีล อาราธนาธรรม. กรงุ เทพมหานคร: ม.ป.พ.
วทิ ยา วุฒไิ ธสง. (2561). ตุง . ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . สบื คน้ จาก https://cac.kku.ac.th/.
ไววิทย์ ยอดประสิทธ์ิ. (2558). ฉาบนาโนลงรม่ บอ่ สรา้ ง. ปทมุ ธานี:

สำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ. สืบคน้ จาก https://mhesi.go.th/.

สนุ ีย์ เลี่ยวเพ็ญวงษ์. (2543). คตชิ นวิทยา. ขอนแกน่ : โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั ขอนแก่น.
สุนทรียา ไชยปัญหา และ อุรารักษ์ ศรีประเสริฐ. (2559). แนวคิด ทฤษฎวี ัฒนธรรมการจัดการ :

การปรบั ตัวภายใต้ความกแตกต่างทางวัฒนธรรม. ใน วารสารวชิ าการ. มหาสารคาม.
มหาวทิ ยาลยั ราภฎั มหาสารคาม. 1 (2). สืบค้นจาก https://rmufms.com/.
สธุ ิวงศ์ พงศไ์ พบลู ย.์ (2525). วฒั นธรรมพบ้ื า้ น. สงขลา: ทักษณิ คดศี ึกษา.
สำนักงานความรว่ มมือพฒั นาเศรษฐกจิ กับประเทศเพ่อื นบา้ น(องคก์ ารมหาชน). (2557).
สาธารณะรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.. สบื คน้ จาก https://neda.or.th/.
อาหมัดอัลซารีย์ มูเกม็ . (2559). ประเพณี พธิ กี รรม ความเชือ่ ทม่ี ีความสมั พันธ์ตอ่ วถิ ีชวี ิตของชนกลมุ่
ชาตพิ ันธุเ์ ขมรบน พืน้ ทบ่ี า้ นจารย์ อำเภอสังขะ จังหวัดสรุ ินทร์. เชยี งใหม.่ วทิ ยาลัยเชียงใหม่.
สบื คน้ จาก https://ethesisarchive.library.tu.ac.th/.
อญั ชลี เกาะอ้อม. (2560). ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจงู ใจรว่ มกับการออกกำลงั กาย
ตอ่ ความดันโลหิตของกล่มุ เส่ยี งโรคความดนั โลหิตสูง. (วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบญั ฑิต).
กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สืบค้นจาก https://sb.mcu.ac.th/.

72

ภาคผนวก

73

โครงการมหาวทิ ยาลยั แหง่ บุญ : สร้างทานบารมี หนุนชวี ี มีความสุข ประจาปี งบประมาณ 2563
ครง้ั ท่ี 10 -16 ประจาเดือนมีนาคม –กันยายน 63

1. ช่ือโครงการ

2. ลกั ษณะโครงการ เร่ือ(ง “เ)สียโงคแรคงนกมานรเตดเ์ ิมสนห่ ศ์ ิลป(ะวร)รณโคกรรงรกมาสรอใงหฟมา่ กฝงั่ ”
3. หลกั การและเหตผุ ล

ศนู ย์วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ไดด้ ำเนนิ กจิ กรรมโครงการทำบุญวนั คล้ายวันเกิดของบคุ คล

ทีเ่ กดิ ในเดือนเดียวกKนั hoมnาKแaลen้ว–จLำaoนSวtuนdie4s ครั้ง ในเดอื นมิถนุ ายน-กันยายน ซึง่ ถอื เปน็ การปฏิบัติงานตามยทุ ธศาสตร์

ของมหาวทิ ยาลยั และตามพนั ธกจิ ในด้านทำนบุ ำรงุ ศิลปะและวฒั นธรรมตามนโยบายของฝา่ ยศิลปวัฒนธรรมและ

ชุมชนสัมพันธ์ เป็นกิจกรรมที่จัดข้ึนเพื่อใหบ้ ุคลากรได้มสี ่วนร่วมในการช่วยกันทำนุบำรุง อนุรกั ษ์ และเผยแพร่

มรดกทางวัฒนธรรมซง่ึ ถอื เป็นสง่ิ ทีส่ บื ทอดกันมาแตบ่ รรพบรุ ษุ อีกทง้ั การทำนบุ ำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม ได้ปฏิบัติ

สืบทอดกนั มาอย่างตอ่ เนอื่ ง

ท้งั น้ี ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ไดเ้ ลง็ เหน็ ถึงความสำคัญของบคุ ลากร ท่ีเป็นปัจจยั หลกั ของ
ความสำเร็จในการพัฒนาทุกด้านของมหาวิทยาลัย เพราะเป็นผู้มบี ทบาทสำคัญในการทำงาน การบริหารงานโดย
การจัดการให้คนรว่ มกันทำงานอยา่ งมนี ำ้ หนึ่งใจเดียวกันและทำงานดว้ ยความพงึ พอใจ ขวญั และกำลังใจ มีอิทธพิ ล
ต่อประสิทธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านเปน็ อันมาก เพราะขวญั และกำลงั ใจเปน็ สภาพจิตใจและพฤตกิ รรมของบคุ คลซ่ึง
แสดงออกให้เห็นถึงลกั ษณะและความรูส้ กึ ทม่ี ตี อ่ การปฏิบตั งิ าน บคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ความสามารถสงู หากกำลังใจไม่
ดกี ารปฏบิ ัติงานอาจจะไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพดีเทา่ ท่ีควร ในทางตรงกันขา้ มคนทม่ี ีความรู้ความสามารถไมส่ งู นกั แต่ถ้ามี
กำลงั ใจทดี่ ี การปฏบิ ัติงานอาจจะได้ผลมากกว่าบุคลากรทม่ี คี วามรคู้ วามรู้ความสามารถสงู การจดั สวัสดิการต่างๆ
ให้แกบ่ ุคลากร เป็นสว่ นหนงึ่ ในกระบวนการเสริมสรา้ งขวัญและกำลังใจบุคลากรเพ่ือใหบ้ คุ ลากรในมหาวิทยาลัย

เพื่อให้การดำเนนิ กิจกรรมดงั กล่าว มคี วามต่อเนอื่ ง บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ ในการน้ี ศูนย์วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเล็งเห็นความจำเป็นในการ โครงการ “มหาวิทยาลัยแห่งบุญ : สร้างทานบารมี
หนุนชวี ี มคี วามสขุ ” ประจำปงี บประมาณ 2563 ครั้งท่ี 10-16 ประจำเดือน มนี าคม-กันยายน 2563 เพื่อให้
บคุ ลากรทีเ่ กิดในเดือนเดียวกันมีโอกาสรว่ มทำบญุ ในเดือนเกิด โดยจดุ เรม่ิ ตน้ ของโครงการ จะใชโ้ อกาสของ "วัน
เกิด" ซง่ึ เปน็ ช่วงเวลาพิเศษ เปน็ ตวั กระตุ้นและชักชวนใหบ้ คุ คลากรออกไปทำกิจกรรมทำบุญเพื่อช่วยกันสืบทอด
สืบสาน ประเพณี คา่ นยิ ม รวมทง้ั การปลกู ฝังบคุ ลากรให้ชว่ ยกันอนรุ กั ษ์และเผยแพรข่ นบธรรมเนียมประเพณีอันดี
งาม โดยจัดให้มีกิจกรรม การฟังพระธรรมเทศนาร่วมทำบุญถวายเครื่องจตุปัจจัย ไทยธรรมสำหรับพระสงฆ์

74

การเวยี นเทียน ปล่อยปลา พธิ บี ายศรีสู่ขวญั ซง่ึ ชอ่ื ว่าเปน็ การเชิญขวญั ท่หี นีหายไปใหเ้ ขา้ มาอยู่กับตัว และ
ส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาท และการผูกข้อต่อแขนภายใต้บรรยากาศเป็นกันเองระหว่าง
ผู้บริหารและบุคลากร การมีส่วนร่วมในฝึกอบรมทำงานฝีมือ ซึ่งผู้เข้าร่วมงานจะได้ชิ้นงานกลับบ้าน
นอกจากนีย้ ังการการแสดงศลิ ปวฒั นธรรมพืน้ บา้ นและการละเล่น ไดแ้ ก่ หมอลำกลอน การแสดงลาวกระทบไม้
เดนิ ขาโถกเถก การรว่ มรำวงและเต้นบาสโลบ้ ระหว่างผู้บริหารและบคุ ลากร

4. ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั
ยทุ ธศาสตร์ที่ 8 เปน็ ศนู ย์กลางการทำนุ บำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
กลยทุ ธที่ 1 เปน็ ศูนย์กลางดา้ นการอนรุ กั ษ์และสง่ เสรมิ วฒั นธรรมอีสานและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น
5.ตอบตัวชว้ี ัดท่ี 2.2 การดแู ลรกั ษาและพฒั นาสถานท่ีทรงคุณคา่ ทางศิลปวฒั นธรรม ใหเ้ ปน็ แหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ
แกน่ ักศึกษา บคุ ลากร ชมุ ชน และ เยาวชน

5. วัตถปุ ระสงค์
1. เป็นการช่วยกันสืบทอด สืบสาน ประเพณี ค่านิยม รวมทั้งการปลูกฝังบุคลากรให้ช่วยกันอนุรักษ์และ
เผยแพรข่ นบธรรมเนียมประเพณอี นั ดีงามดา้ นการทำนบุ ำรุงศาสนา
2. เพอ่ื เป็นการสร้างขวัญและกำลงั ใจให้แกบ่ ุคลากร
3. เพื่อเป็นการสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดซี ่ึงกนั และกนั ระหวา่ งบุคลากร
4. เพื่อเป็นการสร้างความรัก ความห่วงใยของบคุ ลากร

6. วัน เวลา สถานท่ี
จดั ทกุ วนั พฤหัสบดีสดุ ทา้ ยของเดอื น จำนวนทงั้ สน้ิ 8 ครัง้
ครั้งท่ี 10 วนั พฤหสั บดที ่ี 26/03/2019
คร้งั ที่ 11 วนั พฤหสั บดที ี่ 30/04/2019
ครั้งที่ 12 วันพฤหสั บดที ่ี 28/05/2019
ครง้ั ที่ 13 วันพฤหัสบดที ี่ 25/06/2019
ครัง้ ที่ 14 วันพฤหสั บดที ี่ 30/07/2019
ครง้ั ที่ 15 วันพฤหัสบดที ี่ 27/08/2019
ครัง้ ที่ 16 วันพฤหัสบดที ่ี 24/09/2019
ระหว่างเวลา 16.30 – 19.30 น. ณ พทุ ธศลิ ปส์ ถาน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น

7. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ
1.นางสาวบญุ ยืน เปลง่ วาจา เจ้าหนา้ ทีบ่ รหิ ารงานท่ัวไป

75

8.ตวั ช้วี ัดโครงการและกลุ่มเปา้ หมาย คา่ เปา้ หมาย
8.1 ตัวชี้วดั โครงการ
ท่ี ตวั ชวี้ ดั
1 แบบประเมนิ ผลการจดั งาน เพอ่ื นำไปปรบั ปรงุ พฒั นาโครงการในระยะต่อไป

8.2 กลุ่มเปา้ หมาย

บคุ ลากรและผเู้ กษยี ณท่ีเกิดในเดอื นเดยี วกัน (มีนาคม-กนั ยายน) จำนวน 120 คน /เดอื น จำนวนทง้ั สน้ิ 960
คน
9. ผลที่คาดวา่ ท่ไี ดร้ ับ

1. สืบทอด สืบสาน ประเพณี ค่านิยม รวมทั้งการปลูกฝังบุคลากรให้ช่วยกันอนุรักษ์และเผยแพร่

ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามดา้ นการทำนบุ ำรุงศาสนา

2. สร้างขวญั และกำลังใจให้แกบ่ คุ ลากร

3. สร้างความสัมพนั ธ์อนั ดีซึ่งกนั และกนั ระหว่างบคุ ลากร

4. สร้างความรกั ความห่วงใยของบุคลากร

10. รายละเอยี ดงบประมาณ

งบจากฝา่ ยศลิ ปวฒั นธรรมและชมุ ชนสมั พันธ์ งบจากศูนย์วัฒนธรรม

งบประมาณขออนุมตั ิท้ังสิน …560,000…. บาท

งบประมาณเงินรายได้ ...560,000...บาท

รวมทัง้ ส้นิ ...... 560,000 ...บาท (ห้าแสนหกหมนื่ บาทถ้วน)

มีรายละเอียดคา่ ดำเนนิ การ/ครงั้ มีดังน้ี

ลำดบั รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ า่ ย บาท

๑. ค่าอาหารและอาหารว่าง 130 คน (แขกและคณะทำงาน) 15,000

๒. คา่ จา้ งเหมาสาธติ และจัดทำขันหมากเบง็ จำนวน 100 ชุด (สำหรับแขกเฃญิ ) 3,000

๓. ค่าจา้ งเหมาสาธิตการเขียนรม่ พร้อมอปุ กรณ์ (สแี ละพ่กู นั ) 2,000

๔. คา่ จา้ งเหมาจัดหาปลา 400

๕. คา่ จ้างเหมาการแสดง (2 ชุด) 5,000

๖. ค่าจา้ งเหมาพราหมณพ์ รอ้ มเครอ่ื งคาย 2,000

๗. คา่ จา้ งเหมาประดบั ตกแตง่ สถานท่ี 5,000

๘. ค่าจ้างเหมาเชา่ ขดุ 100 บาท/ชดุ x50 ชดุ 5,000

๙. คา่ จ้างเหมาเคร่อื งเสยี งการแสดง 2,500

76

๑๐. ค่ารม่ ทร่ี ะลกึ ประจำวันเกิด ช้ินละ 185 บาท x 120 ช้นิ 22,200
๑๑. คา่ จ้างเหมาจัดทำฉากถ่ายรูปพร้อมสปอร์ตไลท์ 2,000
๑๒. ค่าจา้ งเหมาถ่ายภาพบคุ คลพร้อมพร้ิน 40 บาท/คนx100 คน 4,000
๑๓. เครื่องไทยธรรม 9 ชดุ 4,500
๑๔. จตุปจั จยั ถวายพระ 9 รปู 3,400
๑๕. คา่ ปฏบิ ตั ิงานนอกเวลา 4,000

รวมเป็นค่าดำเนินการในแต่ละครั้ง 80,000

รวมคา่ ดำเนินการ 7ครงั้ (มีนาคม-กนั ยายน 2563)
เปน็ เงินทง้ั สนิ้ 80,000 บาทx 7 ครงั้ =560,000 บาท (หา้ แสนหกหม่ืนบาทถว้ น)

11. แผนการดำเนนิ โครงการ ระยะเวลาการดำเนนิ การ
ปี 2563
แผนดำเนินการ/ข้นั ตอนดำเนินการ
ม.ี ค เม.ย. พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย
ขออนมุ ตั ิจัดงานและงบประมาณดำเนินงาน . .....
รวบรวมข้อมลู กลุ่มเป้าหมาย สง่ หนงั สือเชิญ
ประสานงานส่วนตา่ งๆทเี่ กยี่ วข้อง
ดำเนินกจิ กรรม
ประเมินสรปุ ผลโครงการ

11. วิธีการประเมนิ ผล
จากแบบสอบถาม
จากแบบสมั ภาษณ์
จากกลอ่ งรับความคดิ เหน็
อน่ื ๆ (ระบุ) ...............................................................

77

ตารางที่ 1 กำหนดการ งานสุขีมนั่ สูข่ วญั วันเกิด
กำหนดการ งานสุขีม่นั สขู่ วัญวันเกิด

เวลา งาน สถานที่
17.00 – 19.30 - รบั ประทานอาหารว่าง ขนมไทย น้ำสมนุ ไพร (ฟร)ี ตลอดงาน ลานด้านหน้าอาคาร

16.30 – 17.00 - ลงทะเบยี นผทู้ ีม่ าร่วมงาน แจกของท่รี ะลกึ ให้ผเู้ ข้ารว่ มงาน พุทธศลิ ป์
16.30 – 17.00 - ใหย้ มื ชดุ สำหรบั ผทู้ ่ีต้องการใสผ่ ้าไทย /ผ้าพื้นเมอื ง พร้อมเคร่อื งประดบั
(ดา้ นหลงั โตะ๊ ลงทะเบยี น) โต๊ะลงทะเบียน
16.30 – 17.00. - จัดเตรยี มปลาตะเพยี นและปลานิลใส่ขัน 3-4 ตัว ไว้สำหรบั ปล่อยในบงึ สี
ฐาน/จดั แบง่ ปลาตวั ใหญ่เฉพาะ อธกิ ารบดี และคณะผู้บริหาร ลานดา้ นข้างอาคาร
16.30 – 17.00 - จดั เตรียมขันหมากเบง็ และกรวยดอกไมจ้ ดุ ธูป เทยี นรอไว้เพือ่ ให้ผมู้ ารว่ มงาน พทุ ธศลิ ปฝ์ ั่งหอศิลป์
นำไปเวียนเทยี นและนำไปสกั การะบชู าหลวงพ่อพระศรี
17.00 – 17. 20 - การแสดงศลิ ปวัฒนธรรมพน้ื บ้านจากหมอลำวนั ดี พลทองสถิต (เวท)ี ลานดา้ นหน้าอาคาร
17.00 – 17. 20 - เพน้ ทร์ ม่ พุทธศิลป์
17.00 – 17. 30 - ทำขันหมากเบง็
17.20 – 17.30 - การแสดงจากนักศกึ ษาคณะสลิ ปกรรมศาสตร์ และการเตน้ บาสโลปจาก ลานด้านหนา้ อาคาร
ชมรมนักศกึ ษาลาว มหาวิทยาลัยขอนแกน่ พุทธศิลป์
17.30
- ประธานในพธิ ี อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยขอนแก่นเดนิ ทางมาถงึ อาคารพทุ ธ ภายในอาคารพทุ ธ
17.30 – 17.35 ศลิ ป์ ศิลป์
17.35 – 17. 45 - อธิการบดมี หาวิทยาลัยขอนแก่นบันทึกภาพรว่ มกบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
17.45 – 18.15 - หมอพราหมณป์ ระกอบพธิ บี ายศรสี ู่ขวัญ พพิ ิธภัณฑ์พระไม้
- ผู้บรหิ ารผกู ข้อตอ่ แขนบคุ ลากร ภายในอาคารพทุ ธ
18.15
18.15 – 18.20 - พระสงฆ์เดินทางมาถงึ พพิ ธิ ภัณฑพ์ ระไม้ ศิลป์
18.20 – 18.30 - ประธานกล่าวอวยพรแดบ่ ุคลากร
- ประธานและบุคลากร ร่วมรอ้ งเพลง happy birthday และเปา่ เคก้
18.30 - พระสงฆ์ 9 รูปเดนิ ทางมาถงึ พิธี
18.30 – 18.40 - ประธานในพธิ ีจดุ ธปู เทยี นบชู าพระรตั นตรัยและประกอบพธิ ีทางศาสนา

18.40 – 18.50 - อาราธนาศลี ถวายจัตปุ ัจจยั ไทยธรรม 78
18.50 – 19.00
19.10 – 19 .20 - พระสงฆอ์ นโุ มทนาและประพรมน้ำพระพทุ ธมนต์ ภายในอาคารพุทธ
- เวยี นเทยี น ผเู้ ขา้ ร่วมงานรับกรวยดอกไม้ หรอื ขนั หมากเบง็ จากโตะ๊ ศิลป์
19.20 – 19.30 ลงทะเบียนพรอ้ มจดุ ธูปเทยี นเดินรอบพิพิธภณั ฑ์พระไม้ 3 รอบ
19.30 - นำขันหมาเบง็ และกรวยดอกไมส้ กั การบชู าหลวงพ่อพระศรี บรเิ วณรอบพพิ ิธภณั ฑ์
- เสรจ็ พธิ ี พระไม้

79

ภาพประกอบที่ 1

(รปู ภาพจาก ศูนย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น)

ภาพหมขู่ องผู้เขา้ ร่วมงานสุขมี ัน่ สู่ขวัญวันเกดิ
ภาพประกอบที่ 3

(รปู ภาพจาก ศูนย์วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น)

เครื่องดม่ื : น้ำมะตมู และน้ำอัญชนั

80

ภาพประกอบท่ี 4

(รปู ภาพจาก ศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น)

อาหาร : ขนมจีนน้ำยาลาว
ภาพประกอบท่ี 5

(รูปภาพจาก ศูนย์วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ )

ขนมหวาน : ขนมไทย

81

ภาพประกอบที่ 6

(ชมรมภาพถ่าย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น)

อาหาร : สม้ ตำ
ภาพประกอบท่ี 7

(รูปภาพจาก ศนู ยว์ ัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น)

ขนั หมากเบ็งอสี านดง้ั เดมิ : ดา้ นขา้ ง

82

ภาพประกอบที่ 8

ขันหมากเบ็งอสี านด้ังเดิม : ดา้ นบน
ภาพประกอบท่ี 9

กรวยดอกไม้ธูป – เทียน

83

ภาพประกอบท่ี 10

หลวงพอ่ พระศรีปญั ญาสภรู ิฐาน
ภาพประกอบที่ 11

เคก้ สงั่ ทำเฉพาะ เดอื นกมุ ภาพันธุ์ งานสุขมี น่ั ส่ขู วญั วนั เกดิ

84

ภาพประกอบท่ี 12

(รูปภาพจาก ศูนย์วัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น)

พระสงฆเ์ ปน็ ผูน้ ำในพิธเี วยี นเทียน
ภาพประกอบที่ 13

(รปู ภาพจาก ศนู ย์วัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น)

จดุ ต้อนรบั และลงทะเบยี นเข้ารว่ มงาน

85

ภาพประกอบท่ี 14

(รูปภาพจาก ศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลยั ขอนแก่น)

ผู้เขา้ ร่วมงานถา่ ยภาพกบั ฉากหลงั สขุ ีมน่ั ส่ขู วัญวันเกิด
โดยชมรมภาพถ่าย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

86

การประดษิ ฐ์สรา้ งวัฒนธรรม กรณศี ึกษา งานสุขีมน่ั สู่ขวญั วันเกิด
ในโครงการสร้างทานบารมี หนุนชวี ี มีความสขุ ศนู ย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

นางสาวปราณพิชญ์ ปรุ มั พกา

วจิ ยั เลม่ นี้เปน็ สว่ นหนึง่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รปรญิ ญาตรศี ลิ ปศาสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย

87

คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
พ.ศ. 2563


Click to View FlipBook Version