Quick Upload
Explore
Features
Example
Support
Contact Us
FAQ
Help Document
Pricing
Sign In
Sign Up
Quick Upload
Explore
Features
Example
Support
Contact Us
FAQ
Help Document
Pricing
Sign In
Sign Up
Enrichment
Business
Books
Art
Lifestyle
Religion
Home
Science
The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking
here
.
Home
Explore
จากวิกฤตพลังงานโลก: ทราบแล้วเปลี่ยน สู่การบริโภคที่ยั่งยืน
View in Fullscreen
ปัจจุบัน ความเสี่ยงด้านการขาดแคลนแหล่งพลังงานประกอบกับราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง กลายเป็นวิกฤตการณ์ด้านพลังงานโลก (Global Energy Crisis) ที่ทุกประเทศทั่วโลกต้องเผชิญหน้าทั้งในฝั่งอุปทานและฝั่งอุปสงค์ เหตุการณ์ดังกล่าวผลักดันให้ประเทศต้องเร่งเดินหน้าไปสู่การเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน <br>(Energy Transition) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการพลังงานในระยะยาว หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านจากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel-based Energy) ไปเป็นพลังงานสะอาด (Clean Energy) ผ่านการใช้หลากหลายกลยุทธ์ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนเพิ่มในพลังงานทดแทน (Increasing Renewable Energy Investments) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Increasing Energy Efficiency) การปรับใช้กฎหมายหรือนโยบายด้านพลังงานให้มีความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น (Implementing Supportive Policy) หรือแม้แต่การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) การดักจับ ใช้ประโยชน์ และกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture, Utilization, and Storage: CCUS) รวมไปถึงการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles: EVs) เป็นต้น
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Chula Engineering
http://anyflip.com/dfaj/waps/
Download PDF
Share
Related Publications
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by
Chula Engineering
, 2022-06-16 10:17:45
จากวิกฤตพลังงานโลก: ทราบแล้วเปลี่ยน สู่การบริโภคที่ยั่งยืน
ปัจจุบัน ความเสี่ยงด้านการขาดแคลนแหล่งพลังงานประกอบกับราคาน้ำมันที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง กลายเป็นวิกฤตการณ์ด้านพลังงานโลก (Global Energy Crisis) ที่ทุกประเทศทั่วโลกต้องเผชิญหน้าทั้งในฝั่งอุปทานและฝั่งอุปสงค์ เหตุการณ์ดังกล่าวผลักดันให้ประเทศต้องเร่งเดินหน้าไปสู่การเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน <br>(Energy Transition) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจัดการพลังงานในระยะยาว หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นการเปลี่ยนผ่านจากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel-based Energy) ไปเป็นพลังงานสะอาด (Clean Energy) ผ่านการใช้หลากหลายกลยุทธ์ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนเพิ่มในพลังงานทดแทน (Increasing Renewable Energy Investments) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Increasing Energy Efficiency) การปรับใช้กฎหมายหรือนโยบายด้านพลังงานให้มีความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น (Implementing Supportive Policy) หรือแม้แต่การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) การดักจับ ใช้ประโยชน์ และกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture, Utilization, and Storage: CCUS) รวมไปถึงการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles: EVs) เป็นต้น
01
02
03
04
05
06
07
08
09
10
11
12
13
14
15
Click to View FlipBook Version