The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือท้องถิ่นรวมเล่ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library Bsru, 2020-08-03 00:54:47

คู่มือท้องถิ่นรวมเล่ม

คู่มือท้องถิ่นรวมเล่ม



คานา

คู่มือข้อมูลท้องถ่ินธนบุรี จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่
องค์ความรู้ที่มีอยู่ในชุมชนท้องถิ่นเขตพื้นท่ีธนบุรี และเผยแพร่ต่อ
สาธารณชน ซึ่งเป็นข้อมูลพ้ืนฐานท่ีทําให้ประชาชนและผู้สนใจสามารถนํา
ความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ บคุ คลและสังคม ขอ้ มลู ในคู่มือข้อมูล
ท้องถ่ินธนบุรี ประกอบด้วย สถานท่ีสําคัญเขตธนบุรี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
เขตธนบุรี แหล่งท่องเท่ียวเขตธนบุรี ประเพณีและวัฒนธรรม และของฝาก
ย่านเขตธนบรุ ี เพ่อื ใช้เปน็ คมู่ อื ในการท่องเท่ยี วและเป็นแหลง่ บรกิ ารความรู้ที่
ย่ังยนื ได้ต่อไปในอนาคต

สํานกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา

สารบญั ข

คานา หน้า
สารบญั ก
ค่มู อื ข้อมลู ท้องถิ่นธนบรุ ี ข
ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 1
พืน้ ท่กี ารปกครอง 1
ชมุ ชนในเขตธนบุรี 5
สถานท่สี าคัญเขตธนบรุ ี 5
6
วดั กัลยาณมติ รวรมหาวิหาร 6
วดั ประยรุ วงศาวาสวรวิหาร 11
วัดจนั ทารามวรวิหาร 13
วดั ราชคฤห์วรวิหาร 14
วัดบุปผารามวรวิหาร 16
วัดอินทารามวรวหิ าร 19
วดั โพธินิมิตรสถติ มหาสมี าราม 21
วดั เวฬุราชนิ 23
วัดกระจบั พินิจ 24
วัดใหญศ่ รสี ุพรรณ 25
วดั ประดษิ ฐาราม 26
วัดหิรัญรูจวี รวหิ าร 27
วัดบุคคโล 30
วดั บางสะแกนอก 31
วัดบางสะแกใน 32
วัดบางไสไ้ ก่ 33
วัดบางนํา้ ชน 34

สารบัญ (ตอ่ ) ค

วดั ดาวคนอง หน้า
วัดกลางดาวคนอง 36
วัดสทุ ธาวาส (วดั ใหม่ตาสุต) 37
วดั ขุนจนั ทร์ (วดั วรามาตยภันฑสาราราม) 37
วดั สนั ตธิ รรมาราม 38
วดั ใหม่ยายน้ยุ 39
วดั กันตทาราราม 40
วดั ราชวรินทร์ 41
มสั ยดิ บางหลวง (กุฏขี าว) 42
มัสยดิ สวนพลู 43
มัสยิดนรู้ ูลมูบ่ นิ (บา้ นสมเด็จ) 46
วดั ซางตาครสู้ 49
คริสตจักรที่ 1 สําเหร่ 50
ภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ เขตธนบรุ ี 51
ขลยุ่ บา้ นลาว 53
บา้ นศิลปะไทย 53
บา้ นปพ่ี าทยต์ ระกลู พาทยโกศล 53
เทศนโ์ ลส้ ําเภา 54
ปลาสม้ บา้ นลาว 55
หมูกระดาษออมสนิ บา้ นหมูกระดาษ 60
ขนมฝรัง่ กุฎีจนี 60
ขนมกสุ รงั หรือกดุ สลัง 61
ปลาตะเพียนสานใบลาน 62
ชุมชนศนู ย์ฝกึ อาชพี หตั ถกรรมของจวิ๋ ธนบุรี 62
63

สารบญั (ต่อ) ง

แหลง่ ท่องเทีย่ วเขตธนบุรี หน้า
ศาลเจา้ เกียนอันเกง 64
บา้ นวนิ ด์เิ ซอร์ สถาปัตยกรรมเรือนไม้แบบขนมปงั ขิง 64
เรือนจันทนภาพ 65
พพิ ิธภณั ฑท์ ้องถ่นิ กรุงเทพมหานครเขตธนบรุ ี 66
พิพิธภณั ฑ์บา้ นกฎุ จี ีน 66
พิพธิ ภณั ฑพ์ ระประยูรภณั ฑาคาร 67
แหลง่ เรยี นร้กู รงุ ธนบุรีศึกษา 68
พระบรมราชานุสาวรยี ์สมเดจ็ พระเจา้ กรุงธนบรุ ี 68
สถานรี ถไฟวงเวยี นใหญ่ 69
71
ประเพณีและวัฒนธรรม 72
ประเพณศี าสนาพุทธ 72
ประเพณศี าสนาคริสต์ 75
ประเพณขี องศาสนาอสิ ลาม 76
80
ของฝากยา่ นเขตธนบรุ ี 80
ขนมฝรง่ั กุฎจี ีน 80
ขนมบดิน 81
ปลาทนู ่งึ วดั ขนุ จนั ทร์ 82
ขนมหวานตลาดพลู 83
กุยชา่ ยตลาดพลู 84
หม่กี รอบจีนหลี 85

บรรณานกุ รม

1

คู่มอื ข้อมูลท้องถนิ่ ธนบุรี

ขอ้ มูลพ้ืนฐาน
เขตธนบุรีเดิมมีฐานะเป็นอําเภอชั้นในข้ึนกับกรมนครบาล ต้ังที่วําการ

อําเภอในพื้นท่ีของวัดราชคฤห๑ จึงเรียกอําเภอน้ีวํา อําเภอราชคฤห๑
(ป๓จจุบันสํานักงานเขตย๎ายมาตั้งอยูํบริเวณวัดเวฬุราชิณ) ตํอมาเม่ือวันที่
11 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ไดม๎ พี ระบรมราชโองการเปลยี่ นชื่ออําเภอราชคฤห๑
เป็น อําเภอบางย่ีเรือ จงั หวดั ธนบรุ ี เนื่องจากมีทต่ี ั้งอําเภออยํใู นเขตตําบลบาง
ย่ีเรือในวันท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2482 สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็น
นายกรฐั มนตรี ได๎มกี ารยุบจงั หวดั ธนบรุ รี วมกับจงั หวัดพระนครให๎มีฐานะเป็น
นครหลวงกรุงเทพธนบุรี ดังน้ัน เพ่ือรักษาคําวํา "ธนบุรี" ซึ่งเคยเป็นเมือง
หลวงและเพ่ือเฉลิมพระเกียรติของสมเด็จพระเจ๎ากรุงธนบุรี (สมเด็จพระเจ๎า
ตากสินมหาราช) ประกอบกับอําเภอบางย่ีเรือน้ีเคยเป็นศูนย๑กลางการ
ปกครองของจังหวดั ธนบรุ ีดว๎ ย จึงได๎มีพระราชกฤษฎีกาเปล่ียนชื่ออําเภอบาง
ยี่เรือเป็น อําเภอธนบุรี ข้ึนกับนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และได๎รับการ
เปลยี่ นแปลงฐานะเป็น เขตธนบุรขี ึ้นกบั กรุงเทพมหานครในเวลาตอํ มาคร้ันใน
วันท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2546 ได๎มีประกาศกรุงเทพมหานครเปล่ียนแปลง
พนื้ ที่แขวงและตัง้ แขวงใหมํในเขตธนบรุ ี เนอ่ื งจากผบู๎ ริหารกรงุ เทพมหานครมี
นโยบายให๎แบํงแขวงขนาดใหญํให๎ยํอยลง เพื่อความชัดเจนในการให๎บริการ
ของสาํ นกั งานเขต โดยได๎เปลีย่ นแปลงพืน้ ทีแ่ ขวงบุคคโล แขวงบางยี่เรือ และ
แขวงตลาดพลู นํามาจดั ตัง้ เปน็ แขวงสาํ เหรแํ ละแขวงดาวคะนอง

สํานักงานเขตธนบุรี เลขท่ี 160 ถนนเทอดไท แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600

อาชีพ ประชากรสํวนใหญํ ประกอบอาชีพรับจ๎าง ค๎าขาย และอุตสาหกรรม
ในครวั เรอื น

2

ถนนสายหลกั มี 12 สาย คือ
1. ถนนสมเดจ็ พระเจา๎ ตากสิน ระยะทาง 3,755.00 เมตร
2. ถนนเทอดไท ระยะทาง 2,465.00 เมตร
3. ถนนเจรญิ นคร ระยะทาง 1,981.00 เมตร
4. ถนนรัชดาภเิ ษก ระยะทาง 1,715.50 เมตร
5. ถนนประชาธปิ ก ระยะทาง 1,229.00 เมตร
6. ถนนวุฒากาศ ระยะทาง 1,155.00 เมตร
7. ถนนอรุณอมั รินทร๑ ระยะทาง 900.00 เมตร
8. ถนนอิสรภาพ ระยะทาง 886.00 เมตร
9. ถนนอนิ ทรพิทกั ษ๑ ระยะทาง 781.30 เมตร
10. ถนนมไหสวรรย๑ ระยะทาง 304.00 เมตร
11. ถนนกรงุ ธนบุรี ระยะทาง 250.00 เมตร
12. ถนนราชพฤกษ๑ อยํใู นความรบั ผดิ ชอบของกรมทางหลวงชนบท

ถนนสายรอง มี 2 สาย
1. ถนนเทศบาลสาย 1
2. ถนนเทศบาลสาย 2

สะพานขา้ มแม่น้ําเจ้าพระยา มี 4 สะพาน คอื
1. สะพานพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลก
2. สะพานพระปกเกล๎า
3. สะพานกรงุ เทพฯ
4. สะพานพระราม 3

เสน้ ทางคมนาคมเขตธนบุรี
คู คลอง รวม 68 แหงํ
สะพานลอยคนข๎าม รวม 33 แหงํ
ทําเทยี บเรอื และโปะ๊ เทยี บเรือ รวม 19 แหํง
ริมแมนํ า้ํ เจา๎ พระยา 8 แหํง
รมิ คลองบางกอกใหญํ 11 แหํง

3

สถานทใี่ นเขตธนบรุ ี
จํานวนโรงเรยี นในพ้นื ท่ีเขตธนบุรมี ี 17 แหงํ
วัดในพืน้ ทีเ่ ขตธนบุรีมี 25 แหํง
มสั ยดิ ในพนื้ ทเ่ี ขตธนบุรีมี 3 แหํง
โบสถ๑ครสิ ตจักรในพืน้ ทเ่ี ขตธนบุรมี ี 4 แหงํ
ศาลเจ๎าในพืน้ ท่เี ขตธนบรุ ีมี 9 แหํง
หนวํ ยงานภาครัฐและเอกชนในพน้ื ทีเ่ ขตธนบุรมี ี 34 แหงํ
มูลนิธิในพ้ืนที่เขตธนบุรีมี 75 มูลนิธิมูลนิธิที่สําคัญ ได๎แกํ มูลนิธิ

สมเด็จพระเจ๎าตากสิน จํานวนสมาคมในพ้ืนท่ีเขตธนบุรีมี 101 สมาคม
สมาคมท่สี ําคัญ ไดแ๎ กํ สมาคมศิษย๑เกําสถาบันราชภัฏธนบุรี สมาคมนักเรียน
เกําบ๎านสมเดจ็ เจ๎าพระยา สมาคมผู๎ปกครองและครโู รงเรียนศึกษานารี

สภาพทางภมู ิศาสตร์ เขตธนบรุ ี มีอาณาเขตติดตํอ ดงั น้ี
ทิศเหนอื จรดคลองบางกอกใหญํ ตดิ ตอํ กบั เขตบางกอกใหญํ และตดิ
แมํนา้ํ เจา๎ พระยา ฝ่ง๓ ตรงข๎ามคอื เขตพระนคร
ทศิ ตะวนั ออก จรดคลองบางไสไ๎ กํ และถนนประชาธปิ ก ตดิ ตอํ กบั เขต
คลองสาน
ทิศตะวนั ตก จรดคลองบางสะแก คลองวดั ใหมํยายนยั คลองบางหลวง
ตดิ ตํอกบั เขตจอมทองและเขตภาษีเจรญิ
ทศิ ใต้ จรดคลองดาวคะนอง และแมนํ า้ํ เจ๎าพระยา ตดิ ตอํ กบั เขตราษฎร๑
บรู ณะ

4

5

พ้นื ที่การปกครอง
มีพื้นทท่ี ้ังหมด 8,551 ตารางกโิ ลเมตร แบงํ พน้ื ทีก่ ารปกครองออกเป็น

7 แขวง และมี 44 ชุมชน ดงั น้ี

1. แขวงวัดกัลยาณ๑ พื้นที่ 0.785 ตารางกโิ ลเมตร
2. แขวงหริ ัญรูจี พื้นท่ี 0.691 ตารางกิโลเมตร
3. แขวงบางยี่เรือ พื้นท่ี 1.523 ตารางกโิ ลเมตร
4. แขวงตลาดพลู พื้นที่ 1.823 ตารางกิโลเมตร
5. แขวงบุคคโล พนื้ ท่ี 1.21 ตารางกิโลเมตร
6. แขวงสําเหรํ พ้ืนที่ 1.23 ตารางกโิ ลเมตร
7. แขวงดาวคะนอง พื้นที่ 1.289 ตารางกิโลเมตร

ชุมชนในเขตธนบุรี
(1) แขวงวดั กัลยาณ๑ ประกอบดว๎ ย 6 ชมุ ชน ได๎แกํ ชุมชนกัลยาณ๑ ชุมชน

กุฏีขาว ชุมชนกุฎีจีน ชุมชนวัดบุปผาราม ชุมชนวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร
และชุมชนโรงคราม

(2) แขวงหิรัญรูจี ประกอบด๎วย 9 ชุมชน ได๎แกํ ชุมชนศรีภูมิ ชุมชนบาง
ไส๎ไกํบ๎านสมเด็จ ชุมชนหิรัญรูจี ชุมชนสามัคคีศรีสุพรรณ ชุมชนมัสยิดบ๎าน
สมเด็จ ชุมชนวัดใหญํศรีสุพรรณ ชุมชนประสานมิตร ชุมชนสี่แยก
บา๎ นแขก และชมุ ชนวดั ประดิษฐาราม

(3) แขวงบางย่ีเรือ ประกอบด๎วย 9 ชุมชน ได๎แกํ ชุมชนโรงเจ1 ชุมชน
โรงเจ 2 ชุมชนสวนพลู ชุมชนข๎างสถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญํ ชุมชนตากสิน
สัมพนั ธ๑ ชมุ ชนวัดอินทราราม ชุมชนตรอกเทวดา ชุมชนพัฒนาบ๎านลําง และ
ชมุ ชนหลังศนู ย๑จนั ทรฉ๑ ิมไพบูลย๑

(4) แขวงตลาดพลู ประกอบด๎วย 4 ชุมชน ได๎แกํ ชุมชนวัดบางสะแกใน
ชุมชนบางคลองบางสะแก ชุมชนสามัคคีธรรม และชมุ ชนวัดใหมํยายนุย๎

6

(5) แขวงบุคคโล ประกอบด๎วย 6 ชุมชน ได๎แกํชุมชนสายสัมพันธ๑ ชุมชน
รวมพลัง ชุมชนปู่ศุข ชุมชนสองร๎อยห๎อง ชุมชนสนามแดง และชุมชนแซํซ้ิม
สวนบน

(6) แขวงสาํ เหรํ ประกอบดว๎ ย 5 ชุมชน ได๎แกํ ชมุ ชนหลังไปรษณีย๑สําเหรํ
ชุมชนวัดราชวรินทร๑ ชุมชนเก้ือวิทยา ชุมชนวัดบางนํ้าชน และชุมชน
สทุ ธาราม

(7) แขวงดาวคะนอง ประกอบด๎วย 5 ชุมชนได๎แกํชุมชนเจริญนคร 66
ชมุ ชนวดั ดาวคะนอง ชุมชนมะนาวหวาน ชมุ ชนสะพานยาว และชมุ ชน
โกวบอ๏ พฒั นา (สํานกั งานเขตธนบรุ ี, 2558)

สถานทส่ี ําคัญเขตธนบรุ ี

1.วัดกลั ยาณมิตรวรมหาวิหาร
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล๎าเจ๎าอยูํหัวรัชกาลที่ 3 เจ๎าพระยา

นิกรบดินทร๑ (เจา๎ สวั โต) ตันสกลุ กลั ยาณมติ ร บตุ รพระยาชัยวารี (มัน่ แชอึ้ง)
เม่อื คร้ังยังเปน็ พระยาราชสุภาวดี เจา๎ กรมพระสุรสั วดกี ลาง ได๎อุทิศบ๎านเรือน
และซื้อที่ดินสร๎างวัดข้ึนในปีระกา จ.ศ.1187 ตรงกับ พ.ศ.2368 ถวายเป็น
พระอารามหลวง พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกล๎าเจ๎าอยูํหวั พระราชทานนามอัน
เป็นสิริมงคลวํา "วัดกัลยาณมิตร" เน่ืองมาจากความสัมพันธ๑สํวนพระองค๑ท่ี
ทรงมตี อํ เจ๎าพระยานิกรบดนิ ทรผ๑ ๎สู รา๎ งวดั นี้ ไมํเพียงแตํพระองค๑ทํานเทํานั้นที่
ทรงพระเมตตาตํอวัดกัลยาณมิตรเป็นเอนกประการ พระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว เม่ือเสด็จข้ึนครองราชย๑โปรดเกล๎าฯ สร๎างหอ
พระธรรมมณเฑียรเถลิงพระเกียรติขึ้น ณ วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ในปี
พ.ศ.2408 เพอ่ื เฉลิมพระเกยี รติแดํสมเด็จกรมพระศรีสุดารักษ๑ (แก๎ว) ซ่ึงทรง
เป็นพระเชษฐภคินใี นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ
พระบรมมาตามหัยยกาธบิ ดี (เจ๎าขรวั เงิน พระภัสดาในสมเดจ็ กรมพระศรสี ุดา
รักษ๑) พระชนนีและพระชนก ในสมเด็จกรมพระศรีสุริเยนทรามาตย๑
(เจ๎าฟา้ บุญรอด) พระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว ซ่ึง
ทรงเคยประทบั ในเรอื นแพ ตรงบรเิ วณหอพระธรรมมณเฑยี รเถลิงพระเกียรติ

7

(เดิมเป็นสํวนหนึ่งของแมํนํ้าเจ๎าพระยา ตํอมาต้ืนเขินจนกลายเป็นแผํนดิน)
การสร๎างคร้งั นัน้ เพ่อื ประกอบการกุศลตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล๎า
เจ๎าอยูํหัว พระบรมเชษฐาธิราชและเป็นการปูนบําเหน็จ ความชอบแกํ
เจ๎าพระยานกิ รบดินทรซ๑ ่งึ ในรชั กาลของพระองคท๑ รงพระเมตตา พระราชทาน
บรรดาศักดิ์ให๎เป็นเจ๎าพระยานิกรบดินทรมหินทรามหากัลยาณมิต รวําที่
สมุหนายกและพระราชทานนามพระโตวํา "พระพุทธไตรรัตนนายก"

ปชู นียวัตถสุ าํ คัญของวดั
พระวิหารหลวง รูปแบบสถาป๓ตยกรรมเป็นอาคารประธานท่ีสร๎างข้ึนใน
แนวแกนประธานของเขตพุทธาวาส โดยตั้งอยูํระหวํางพระอุโบสถและ
การเปรียญ หันด๎านสกัดออกทางหน๎าวัด รัชกาลท่ี 3 ทรงโปรดเกล๎าฯ ให๎
สรา๎ งขึ้น ผงั อาคารเป็นรูปสีเ่ หลย่ี มผนื ผ๎าสถาปต๓ ยกรรมแบบประเพณี หลงั คา
ประดบั เคร่ืองลํายอง ชอํ ฟ้า ใบระกา หางหงส๑ ไมํมีทวยรับชายคา หลังคาเป็น
หลังคาชั้นลดหน๎าหลัง 4 ตับ 2 ซ๎อน ซ๎อนสุดท๎ายเป็นพะไลคลุมรอบเฉลียง
พระวิหารหลวงเสาพะไลกํออิฐถือปูนฉาบเรียบทาสีขาวไมํมีบัวหัวเสา หน๎า
บันแกะสลักปิดทองประดบั กระจกสเี ป็นลายดอกพุดตานสํวนฐานอาคารเป็น
ฐานป๓้นปูนฐานป๓ทม๑สองชั้น ตัวอาคารมีทางเข๎าด๎านสกัดทั้งหน๎าและหลัง
ด๎านละ 2 ประตู มีหน๎าตํางด๎านละ 5 บาน ทั้ง 2 ด๎าน ประตูหน๎าตํางเป็น
ซุ๎มปูนป๓้นแบบซุ๎มบันแถลงยอดปราสาท บานประตูหน๎าตํางภายนอกเขียน
ลายรดน้ําปิดทองเป็นลายอัษฎาวุธ ภายในเขียนสีเป็นลายดอกไม๎รํวง ฝา
เพดานภายในฉลุลายดาวเพดานปดิ ทองบนพ้นื สแี ดง

พระประธาน ภายในวิหารหลวงเป็น
พระพุทธรูปปางมารวิชัย องค๑พระประทาน
กํออิฐถือปูนลงรักปิดทอง ขนาดหน๎าตักกว๎าง
ประมาณ 11.75 เมตร สูง 15.44 เมตร
รัชกาลที่ 3 ทรงเสด็จพระราชดําเนินไปกํอ
พระฤกษ๑ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2380
ชาวบา๎ นเรยี กพระประธานองค๑นี้วํา “พระโต”

8

ตํอมาในสมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงพระราชทานนามใหมํวํา “พระพุทธไตรรัตน
นายก”

พระอุโบสถ วัดกัลยาณมิตรเป็นสถาป๓ตยกรรมรูปแบบพระราชนิยมใน
รชั กาลท่ี 3 คือลกั ษณะของอาคารนําเอาศิลปะจีนเข๎ามาตกแตํง มีพะไลรอบ
พะไลมีเสาทั้งหมด 30 ต๎น เสาพะไลไมํมีบัวหัวเสา ลบมุมเสาด๎วยบัวเล็บมือ
เฉลียงด๎านสกดั มคี วามกว๎างทั้งสองด๎านเทาํ กัน หลังคาพระอโุ บสถเปน็ หลังคา
ชั้นลด หลังคา 3 ตับ 2 ซ๎อน ตับสุดท๎ายเป็นพะไลคลุมเฉียงรอบ หน๎าบัน
พระอุโบสถเป็นแบบกระเทเํ ซร ใช๎การประดับกระเบ้ืองเคลือบสีเป็นลายแผง
ตัวอาคารดา๎ นสกัดท้งั สองดา๎ นของพระอุโบสถ เจาะชํองประตูด๎านละ 2 ชํอง
ผนงั ด๎านยาวเจาะชํองหน๎าตํางแบบบานแผละด๎านละ 5 ชํอง ประตูหน๎าตําง
ป้๓นปูนเป็นซุ๎มเรือนแก๎วประดับกระจก เสารวมด๎านในเขียนลายประจํายาม
ตอนลํางเขยี นลายกรวยเชิง ฝาผนังภายในเขียนลายจิตกรรมฝาผนังเรื่องการ
ดาํ เนนิ ชีวิตในสมัยนนั้ พระประธานเปน็ พระพุทธรปู ปางปาลิไลย๑

ซุ้มเสมา ลักษณะเป็นแบบฝร่ัง มีท้ังหมด 8 ซุ๎ม ต้ังอยูํโดยรอบ
พระอุโบสถตามทิศท้ัง 8 ตามคติการใช๎เสมาท่ัวไป ทําด๎วยหินทรายจีน
แกะสลัก แผนผังซุ๎มเป็นรูปสีเหล่ียมลบมุมฐานซ๎ุมเป็นฐานป๓ทม๑ ตัวเรือนซ๎ุม
ทั้งสี่มุมแกะสลักเป็นเสาอิงเจาะชํองวงโค๎ง ภายในซ๎ุมประดิษฐานใบเสมาคํู

9

แกะสลักจากหินแกรนิต มีลักษณะใบเสมาเอวคอดยอดใบเสมาทําเป็นทรง
ปรกิ บาํ เสมาแกะสลักบัวคอเส้อื เปน็ กระจัง ตาเสมาท้งั สองขา๎ งแกะสลกั เป็นวง
แหวน ใบเสมาทง้ั อยํบู นฐานบัวซ๎อนอยบูํ นฐานสิงห๑

หอระฆัง พระสุนทรสมาจารย๑ (พรหม)
สร๎างข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2476 ตั้งอยูํทางเหนือ
พระวิหารหลวง หน๎าหอพระธรรมมณเฑียรเถลิง
พระเกียรติ ฐานรูปสี่เหลยี่ มกวา๎ ง 8 เมตร สูง 30
เมตร ช้ันบนประดษิ ฐานพระพุทธรูปยืนปางลีลา
ยอดหอระฆังป๓้นเป็นรูปพรหมพักตร๑ ช้ันลําง
แขวนระฆังใบใหญํที่สุดในประเทศไทย มี
เส๎นผําศูนย๑กลาง 192 ซม. ระฆังใบนี้หลํอโดย
ชาํ งญีป่ นุ่ ชอ่ื นายยฟี ูยี วารา

เจดีย์ทรงกลม ขนาดเล็กทรงระฆังคว่ํา 2 องค๑ ต้ังอยํูหน๎าพระวิหาร
หลวงขนาดศาลาตรีมุข องค๑เจดีย๑ประดับด๎วยหินอํอน เจดีย๑ตั้งอยูํบนฐานสูง
8 เหล่ียม มีขนาดเทํากันทั้ง 2 องค๑ ตั้งอยํูทางด๎านซ๎ายและขวาของศาลาตรี
มุข

ซ้มุ ประตโู ขลนทวารศิลาแกะสลัก ซุ๎มประตูเป็นรูปแบบสถาป๓ตยกรรม
แบบจีนใช๎หินแกะแกรนิตสลัก ตั้งอยูํระหวํางด๎านหน๎าของพระวิหารหลวง
และประตศู าลาตรีมขุ

เจดีย์บรรจุอัฐิเจ้าพระยารัตนบดินทร์ (รอด กัลยาณมิตร) ปลัดทูล
ฉลองมหาดไทย พระยากลั ยาณมิตรนิกรวงศ๑ (คง กัลยาณมิตร) สร๎างขึ้นเม่ือ
พ.ศ. 2442 เป็นเจดยี ๑ทรงระฆังคว่าํ หินอํอนสีขาวประดษิ ฐานอยขํู ๎างพระวิหาร
หลวง

เจดีย์เหล่ียมย่อมุม เจดีย๑ยํอมุมไม๎สิบสอง องค๑เจดีย๑ทําด๎วยหินแกรนิต
แกะสลัก ฐานกํออิฐถือปูนยกสูงตั้งอยํูข๎างเจดีย๑บรรจุอัฐิเจ๎าพระยา
รัตนบดนิ ทร๑ ฝง่๓ พระวหิ ารหลวง ไมํปรากฏประวตั กิ ารสรา๎ ง

10

เจดีย์บรรจุอัฐิเจ้าพระยานิกรบดินทร์ (โต กับยาณมิตร) เป็นเจดีย๑
เหลี่ยมยอํ มมุ ไม๎ 12 ตัง้ บนฐานแปดเหล่ียมประดับหินอํอน มีกําแพงล๎อมรอบ
มบี ันไดขนึ้ ลงสองด๎าน มีถะปรางคห๑ นิ แบบจีนประดับสมี่ มุ กําแพง

เจดียถ์ ะจนี ถะทสี่ รา๎ งขึ้นดว๎ ยหินแกรนติ จนี เปน็ ถะแปดเหลีย่ มแบบยอด
ห๎าช้ัน ยกฐานสูง มีกําแพงแก๎วล๎อมรอบ ยอดถะแกะสลักมีลักษณะเป็นยอด
ปรางค๑ มีถะขนาดเล็กล๎อมรอบทั้งส่ีมุมเหมือนเจดีย๑บรรจุอัฐิของเจ๎าพระยา
นกิ รบดนิ ทร๑

ศาลาเก๋งจีน เป็นศาลาเก๐งจีนขนาดเล็กเดิมเป็นศาลาโถงโลํง มีแผนผัง
เป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ๎า 2 หลัง ศาลาเก๐งทั้งสองตั้งขนาบทางเดินจากศาลา
ทํานํ้าไปพระวิหารหลวง การประดับตกแตํงศาลาเก๐งจีนเป็นการประดับ
ตกแตงํ ด๎วยปูนป้น๓ แบบจีน

ศาลาการเปรียญ อาคารต้ังอยํูในเขตพื้นท่ีลานพุทธาวาส ตั้งอยูํทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ เดิมสร๎างด๎วยไม๎ป๓จจุบันรื้อศาลาการเปรียญเดิมออก
แล๎วสร๎างเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ณ ตําแหนํงเดิมเป็น
สถาปต๓ ยกรรมในรูปแบบประเพณี

ศาลาท่าน้าํ ศาลาทํานํ้ามีจํานวน 3 หลัง เป็นศาลาโถงโลํง กํออิฐถือปูน
ศาลาทํานํ้าหลังกลางต้ังตรงกับเส๎นทางไปสํูพระวิหารหลวงเป็นศาลาจัตุรมุข
โดยมขุ หนา๎ และมุขข๎างเปน็ หลังคาแบบสถาปต๓ ยกรรมไทย คอื มชี ํอฟ้าใบระกา
สํวนมุขท่ีหันหน๎าไปทางพระวิหารหลวงเป็นหลังคาแบบเก๐งจีนสํวนศาลาทํา
นา้ํ อีก 2 หลงั เป็นศาลาแบบไทยประเพณคี อื มชี ํอฟา้ ใบระกา

สถานท่ีตัง้ เลขท่ี 656 ถนนเทศบาลสาย 1 แขวงวัดกัลยาณ๑ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (นพรัตน๑ ถาวรศิรภิ ัทร, 2551)

11

2.วดั ประยุรวงศาวาสวรวหิ าร
เป็นพระอารามหลวงชั้นโทชนิดวรวิหาร ฝ่ายมหานิกายผู๎สร๎างวัดน้ีคือ

สมเด็จเจ๎าพระยาบรมหาประยุรวงศ๑ (ดิศ บุนนาค) ท่ีเรียกวํา สมเด็จ
เจ๎าพระยาองค๑ใหญํ เม่ือยังเป็นเจ๎าพระยาพระคลัง วําท่ีพระคลังและวําท่ี
สมุหพระกลาโหมด๎วยอุทิศที่สวนกาแฟสร๎างขึ้นเม่ือ พ.ศ.2371 ถวายเป็น
พระอารามหลวงในรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล๎าเจ๎าอยํูหัว
พระราชทานนามวัดวํา"วัดประยุรงศาวาส" และได๎รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา มีเน้ือท่ีกว๎าง 28 เมตร ยาว 35 เมตรด๎วย ในการฉลองวัด
ประยุรวงศ๑ เม่ือวันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2379
ซ่ึงชาวบา๎ นเรียกกนั วํา "วดั รัว้ เหลก็ " เพราะมี
ร้ั ว เ ห ล็ ก แ ว ด ล๎ อ ม เ ป็ น กํ า แ พ ง อ ยูํ ต อ น ห น๎ า
พระอุโบสถ วิหารและศาลาการเปรียญ
รั้วเหล็กสูง 3 ศอกเศษ ทําเป็นรูปอาวุธ คือ
หอก ดาบ และขวาน มีสัณฐานเป็นกําแพง
และซ๎ุมประตูเล็กๆ เป็นตอนๆ ร้ัวเหล็กน้ี
สมเด็จเจ๎าพระยาบรมมหาประยุรวงศ๑ส่ังมาจากประเทศอังกฤษ เพื่อ
ทูลเกล๎าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล๎าเจ๎าอยูํหัวจะได๎ใช๎ล๎อมเป็น
กําแพงในพระราชวัง แตํไมํทรงโปรด จึงขอรับพระราชทานมาใช๎ล๎อมเป็น
กําแพงในวดั

โดยเอานํา้ ตาลทรายแลกทาํ สัญญากนั วาํ เหล็กหนักเทําใด น้ําตาลทรายก็
หนักเทาํ น้ัน

ปูชนียวัตถุสาํ คญั ของวดั
พระอุโบสถ เป็นแบบสถาป๓ตยกรรม โครงสร๎างกํออิฐถือปูน มีลวดลาย
หน๎าบัน หลังคามุงกระเบ้ืองเคลือบ มีเสาส่ีเหล่ียมแข็งแรง พระบาทสมเด็จ
พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล๎ า เ จ๎ า อ ยูํ หั ว เ ค ย เ ส ด็ จ ม า พ ร ะ ร า ช ท า น ผ๎ า พ ร ะ ก ฐิ น มี
พระบรมราชโองการตรัสแนะนําวํา เสาภายในพระอุโบสถหํางนํากลัว
อนั ตราย สมเด็จเจ๎าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ๑ จึงกํอเสารายในพระอุโบสถ
เติมข๎างละ 2 ต๎นพระประธานในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปหลํอ

12

ปางมารวิชัย หน๎าตัก ตามพระราชนิยมกว๎าง 199 เมตร ไหลํกว๎าง 1.25
เมตร สูงประมาณ 2.59 เมตร สมเด็จเจ๎าพระยาบรมมหาประยุรวงศ๑ให๎หลํอ
ขึน้ เพอื่ เป็นพระประธานในพระอโุ บสถ

พระวิหาร มีขนาดใหญํลักษณะใกล๎เคียงกับพระอุโบสถ เป็นที่
ประดิษฐานของ "พระพทุ ธนาคน้อย" พระพุทธรูปปางมารวิชัย ซึ่งได๎มาจาก
สุโขทัย เม่ือพ.ศ.2374 มีหน๎าตักกว๎าง 425 เมตร ไหลํกว๎าง 1.83 เมตร
สูง 560 เมตร

พระเจดีย์ พระเจดียอ๑ งคใ๑ หญํสูง 60.525 เมตร ฐานลํางรอบนอกโดยรอบ
50 เมตร มีชํองคูหา 54 ชํอง ข๎างบนมีพระเจดีย๑องค๑เล็กเรียงกันเป็นลําดับ
18 องค๑ เว๎นดา๎ นหน๎าดา๎ นหนา๎ มมี ขุ และประตทู างเขา๎ สวํ นในมชี านเดนิ ได๎

โดยรอบกว๎าง 2 วา 2 ศอก (5 เมตร) พ.ศ.2414 ถูกสายฟ้าฟาดครั้งหน่ึง
ยอดพระ เจดีย๑ใหญํหัก ตํ อมาก็ถูกอีกจึงได๎ซํอมเ ม่ือ พ. ศ.2461
ยคุ พระเทพโมลี (อย)ูํ เปน็ เจา๎ อาวาส

ศาลาการเปรยี ญ หลงั เดมิ ไดถ๎ กู ลกู ระเบิดในสงครามคร้ังท่ี 2 จึงสร๎างข้ึน
ใหมํเป็น 2 ช้ัน ภูเขา ภายในภูเขามีปูชนียวัตถุ เชํนพระพุทธรูปปางสําเร็จ
พระอริ ยิ าบถตําง ๆ คอื นอน นงั่ และมพี ระแทํนศลิ าจําลอง เปน็ ต๎น

บริเวณภูเขาตดิ อยกูํ ับกําแพงวดั 2 ด๎าน คือ ด๎านเหนอื และดา๎ นตะวนั ออก
ยาว 48 เมตร สํวนในมีสระน้ําล๎อมรอบ ริมสระมีศาลาเป็นตอนไปโดยรอบ
นับท้ังศาลาและมณฑป ท่ีเจ๎าพระยาภาสกรวงศ๑สร๎างเพิ่มเติม เป็นศาลา
8 หลัง วิหาร 1 หลัง มณฑป 1 หลัง สําหรับนั่งพักบ๎าง ประดิษฐาน

13

พระพุทธรปู บ๎าง ศาลาด๎านตะวันออกประดิษฐานพระแทํนศิลาจําลอง กลาง
สระมภี ูเขากอํ ด๎วยศลิ ามถี ้าํ และคหู า มีทางนํ้าเดินลอดใต๎เข๎าไปได๎ บนยอดเขา
มีพระสถปู หลํอด๎วยทองเหลอื ง ลงรักปิดทอง บรรจพุ ระพุทธรูปไว๎ในนั้น และ
มีวิหารเล็กบนนั้น 1 หลัง หอระฆัง ตั้งอยูํค๎นหน๎าโรงเรียนสํงเสริม
พระพุทธศาสนา

พระสถูป ต้ังอยูํข๎างหอระฆัง ทีฐานยกพ้ืนสูง ทําเป็นอนุสรณ๑ท่ีอยํูของ
อาจารย๑แก๎ว อาจารย๑สอนหนังสือไทย และมีความรู๎ทางโหราศาสตร๑เป็น
พเิ ศษ

สถานท่ีตงั้ เลขท่ี 24 ถนนประชาธิปก แขวงวดั กลั ยาณ๑ เขตธนบรุ ี
กรงุ เทพมหานคร 10600 (ไหว๎พระขอพร 99 วัด, 2546, น.176-178)

3.วดั จันทารามวรวิหาร
วัดจนั ทารามวรวิหาร ต้ังอยํูบนถนนเทอดไท เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี

ชนิดวรวิหาร เป็นวัดโบราณสร๎างข้ึนตั้งแตํสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมช่ือ
วัดบางยี่เรือกลาง หรือวัดกลาง ตํอมาในรัชสมัยรัชกาลท่ี 3 พระยาสุรเสนา
(ขุนเณร) ไดบ๎ ูรณะขน้ึ ใหมแํ ละได๎รบั พระราชทานนามเป็น วดั จันทาราม และ
ตอํ มาภายหลังไดย๎ กขึน้ เปน็ พระอารามหลวงชนิดวรวิหาร

ปชู นยี วัตถสุ ําคัญของวดั
พระอุโบสถ เดิมเป็นโครงสร๎างด๎วยการกํออิฐถือปูน ตํอมาได๎ทําการ
บูรณะในปี พ.ศ. 2517 แล๎วเสร็จในปี พ.ศ. 2520 โดยเปล่ียนเป็นคอนกรีต
เสริมเหลก็ เป็นศิลปกรรมแบบจนี ภายในประดษิ ฐานพระประธาน หลํอด๎วย
ทองเหลืองปางมารวิชัย และยังมีพระพุทธรูปปางห๎ามสมุทรแบบคร่ึงซีกทํา
ด๎วยไมส๎ ัก
พระวิหาร
ลักษณะศิลปะแบบจีน ไมํมีชํอฟ้าใบระกา โครงสร๎างเดิมกํออิฐถือปูน
เชํนเดยี วกบั พระอุโบสถ และได๎รับการบูรณะใหมํเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กใน
คราวเดียวกันกบั พระอุโบสถภายในเปน็ ทปี่ ระดิษฐานพระพทุ ธรูปเกาํ

14

หอระฆัง สรา๎ งเมอื่ พ.ศ.2517 โครงสร๎างคอนกรีตเสรมิ เหลก็ 2 ชนั้
ช้ันลาํ งทําเปน็ ทีอ่ ยูขํ องพระภิกษุและสามเณร

ศาลาบําเพ็ญกุศล สร๎างเป็นแถวเดียวกันกั้นระหวํางเขตพุทธาวาส และ
สังฆาวาสจํานวน 5 หลัง เป็นศาลาช้ันเดียว คอนกรีตเสริมเหล็กหลังคามุง
กระเบอื้ งรางเคลือบ สรา๎ งในสมยั พระวสิ ุทธวิ ราภรณ๑จ๎าอาวาสรปู ปจ๓ จุบนั

สถานทตี่ ้งั ซอยเทอดไท 10 ถนนเทอดไท ยํานตลาดพลู แขวงบางยี่เรอื
เขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร 10600 (ไหวพ๎ ระขอพร 99 วดั , 2546, น.174-175)

4.วดั ราชคฤห์วรวหิ าร
วัดราชคฤห๑วรวิหาร หรือ วัดบางย่ีเรือเหนือ เม่ือแรกตั้งมีชื่อเรียกวํา

วัดบางย่ีเรือมอญ และยังมีอีกชื่อวํา วัดวังนํ้าวนอาจเป็นเพราะวัดตั้งอยํูติด
คลองนา้ํ สามสาย คือ คลองบางกอกใหญํ อยดูํ ๎านทิศเหนือของวัด คลองบาง
น้าํ ชน อยดูํ ๎านทิศตะวันตก และ คลองทําพระ อยูํด๎านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ
คลองสามสายนี้มาบรรจบกันท่ี วัดราชคฤห๑ เมื่อเวลาน้ําทะเลหนุน นํ้าเค็มก็
จะไหลมาจากคลองบางกอกใหญํบ๎าง คลองบางน้ําชนบ๎าง แตํตามปกติแล๎ว
จะมนี าํ้ จดื มาจากคลองบางกอกใหญํมาเจอกับน้ําเคม็ ทําใหเ๎ กดิ นา้ํ วน

ปูชนยี วัตถุสําคัญของวัด
พระอุโบสถ สร๎างประมาณปลายรัชกาลที่ 3 สร๎างด๎วยอิฐถือปูนแบบ
อยุธยามีผนังช้ันเดียว โดยรอบกํอริมข่ือเครื่องบนทําด๎วยไม๎เนื้อแข็งโบกปูน
หน๎าบันปูนป้๓น ติดถ๎วยชามโบราณ ชักระเบียงหน๎าพระอุโบสถ พระอุโบสถ

15
คลุมพัทธสีมารับระเบียงหน๎า - หลัง ด๎านละ 4 ตัน มีกําแพงแก๎วชักแนวเสา
เวน๎ ประตูทางขนึ้ ลง ทงั้ ดา๎ นหนา๎ และดา๎ นละ 3 ชํอง

พระวิหารใหญ่ เดิมเป็นพระอุโบสถ กํออิฐถือเป็นผนังโดยรอบขื่อเครื่อง
บนไมํมีเสา มุงกระเบื้องมอญ มีชํอฟ้าใบระกา หน๎าบันสลักไม๎เป็นท่ี
ประดิษฐานพระพทุ ธรูปโบราณของวัด

พระวหิ ารเล็ก สร๎างสมยั เดียวกับพระวหิ ารใหญํ ลักษณะแบบเดยี วกัน
เจดยี ใ์ หญ่ สร๎างสมัยเดียวกับพระวิหารใหญํ พระอุโบสถเกําแบบอยุธยา
กอํ อิฐถือปนู ยอํ เหลยี่ มซอ๎ นเป็นชั้น เรียงตามลาํ ดบั จนถึงยอดแหลม
สถานที่ต้ัง เลขท่ี 434 ถนนเทอดไท แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (ไหวพ๎ ระขอพร 99 วดั , 2546, น.182-184)

16

5.วดั บุปผารามวรวิหาร
วัดบุปผารามวรวิหาร เป็นพระอาราม

หลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร เดิมเป็นวัด
โบราณซง่ึ สร๎างมาแตํครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา
ชื่อวํา “วัดดอกไม๎” ไมํปรากฏหลักฐานวํา
ใครเป็นผู๎สร๎าง ตํอมาเป็นวัดร๎าง ในยุคต๎น
กรุงรัตนโกสินทร๑ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลท่ี 3
ทํานผู๎หญิงจันทร๑ ภรรยาเอกของสมเด็จเจ๎าพระยาบรมมหาประยูรวงศ๑
(ดิศ บุนนาค) ซึ่งเป็นมารดาของสมเด็จเจ๎าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ๑
(ชํวง บุนนาค) ได๎ทําการปฏิสังขรณ๑ เนื่องจากเป็นวัดที่อยูํใกล๎บ๎านของทําน
ตํ อ ม า ป ล า ย ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 3 พ . ศ . 2 3 9 1 ส ม เ ด็ จ เ จ๎ า พ ร ะ ย า
บรมมหาศรีสุริยวงศ๑ เมื่อครั้งยังเป็นจม่ืนไวยวรนาถ และเจ๎าพระยาทิพากร
วงศ๑ (ขํา บุนนาค) เม่ือคร้ังยังเป็นจม่ืนราชามาตย๑ ได๎ทําการบูรณปฏิสังขรณ๑
ในการบูรณปฏิสังขรณ๑วัดครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล๎าเจ๎าอยํูหัว
รชั กาลท่ี 4 ทรงชวํ ยในการบรู ณปฏิสงั ขรณ๑ดว๎ ย แล๎วพระราชทานนามใหมํวํา
“วัดบปุ ผาราม”

ปชู นยี วัตถุสําคญั ของวดั
พระอุโบสถ มีลักษณะตามแบบสถาป๓ตยกรรมทรงไทย หลวงวิศาล
ศิลปกรรม เป็นผ๎ูออกแบบ มีขนาดยาว 27 เมตร กว๎าง 14 เมตร ประดับ
ชํอฟ้า ใบระกา หางหงส๑ หน๎าบันตรงกลางเป็นรูปตรามหาสุริยมณฑล
แบบไทย คือ ตราราชสหี เ๑ ทยี มรถ อนั เปน็ ตราประจาํ ตวั ของสมเดจ็ เจา๎ พระยา
บรมมหาสรุ ิยวงศ๑ ถัดลงมาเป็นรูปพระพทุ ธเจา๎ 5 พระองค๑ พน้ื ประดบั กระจก
สี ซ๎ุมประตูหน๎าตํางเป็นซ๎ุมทรงมหาพิชัยมงกุฎ อันเป็นสัญลักษณ๑ใน
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลที่ 4 ภายในพระอุโบสถ
ประดิษฐานพระประธานสูงราว 2 เมตรพระประธานเป็นพระหลํอโบราณ
ปางมารวิชัย ลงรกั ปิดทอง หนา๎ ตกั กว๎าง 1.15 เมตร สูงถงึ ยอดพระรัศมี 1.75
เมตร ที่ฐานช้ันลํางมีรูปพระอัครสาวก(พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ)

17

เป็นพระหลํอลงรักปิดทอง น่ังพับเพียบประนมมือบนแทํงตํ่าอยูํข๎างซ๎ายข๎าง
ขวาของพระประธาน

ศาลาสมเด็จฯ (ศาลาการเปรียญ) สร๎างข้ึนใหมํพร๎อมกับพระอุโบสถ
เนอ่ื งจากศาลาการเปรียญเดิมถูกระเบิดทําลาย เม่ือครั้งสงครามโลกคร้ังท่ี 2
ตั้งอยูํใกล๎กับพระอุโบสถทางทิศตะวันออก ชื่อวํา ศาลาสมเด็จเจ๎าพระยา
บรมมหาศรีสุริยวงศ๑ เรียกส้ันวํา “ศาลาสมเด็จ” เป็นศาลาการเปรียญ
อเนกประสงค๑ท่ีมีช่ืออยํางน้ีเพราะวําเจ๎าจอมเลียม ในรัชกาลท่ี 5 ผู๎เป็นธิดา
ของพลโท เจ๎าพระยาสุรวงศ๑วัฒนศักด์ิ (โต บุนนาค) กับทํานผู๎หญิงตลับ
(สกุลเดิม โอสถานนท๑) สร๎างอุทิศสมเด็จเจ๎าพระยาฯ ลักษณะของศาลา
สมเด็จ มีลักษณะสถาป๓ตยกรรมทรงไทย มีประดับชํอฟ้า ใบระกา หางหงส๑
หน๎าบันเป็นรูปตรามหาสุริยมณฑลแบบฝรั่ง คือ รูปอาทิตย๑มีรูปหน๎าคนอยูํ
ตรงกลาง ทาด๎วยสีทอง พื้นสีขาวพระประธาน เป็นพระพุทธรูปหลํอแบบ
พระพุทธชินราช เจ๎าจอมเลียม ในรัชกาลท่ี 5 สร๎างอุทิศเจ๎าพระยาสุรวงศ๑
วัฒนศักด์ิ (โต บุนนาค) ผู๎เป็นพํอ ทํานได๎จารึกแผํนทองเหลืองไว๎ที่ฐาน
พระประธาน

18

พระเจดีย์พระเจดีย๑ท้ัง 4 องค๑นั้น 3 องค๑ประดิษฐานอยูํภายในเขต
พุทธาวาส อีก 1 องค๑ ประดิษฐานอยํูในเขตสังฆาวาส รูปลักษณะของ
พระเจดีย๑นั้น เป็นลักษณะพระเจดีย๑ทรงลังกา คือเป็นรูประฆังคว่ํา 2 องค๑
และอีกลักษณะหน่ึงเป็นเจดีย๑ทรงสี่เหลี่ยมยํอมุม 2 องค๑ ทั้งสองลักษณะนี้
เป็นพระเจดีย๑ที่นิยมสร๎างกนั มากในประเทศไทย

19

กฎุ ี เต็ม สุรยิ วงษ์
กุฎีนี้ นางพิศ อดิศักด์ิอภิรัตน๑ ได๎มีจิตศรัทธาสร๎างถวายไว๎ใช๎กิจของสงฆ๑
และอุทศิ แกํ พ.ต.ต.พระอดศิ ักด์อิ ภริ ัตน๑ (เตม็ สรุ ยิ วงษ๑ บุนนาค)

สถานท่ีต้ัง เลขท่ี 293 ถนนเทศบาลสาย 1 แขวงวัดกัลยาณ๑ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร10600 (วัดบปุ ผาราม วรวหิ าร, 2562)

6.วดั อินทารามวรวิหาร
ประวตั ิวัดอนิ ทารามวรวิหาร เป็นวดั พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร

เป็นวดั โบราณมีมาตง้ั แตสํ มยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาเดมิ เรยี กวาํ วัดบางยเี่ รอื นอก และ
วัดสวนพลู หรือ วัดบางย่ีเรือไทย สมเด็จพระเด็จพระเจ๎าตากสินมหาราช
ได๎ทรงสร๎างและปฏิสังขรณ๑ใหมํท้ังหมด แล๎วได๎สถาปนาข้ึนเป็นพระอาราม
หลวงชั้นเอกพิเศษ พระองค๑ทรงโปรดเสด็จมาทรงโปรดเสด็จมาทรงศีล
บําเพ็ญกรรมฐาน และประทับแรม ณ วัดน้ี ถือได๎วําเป็นวัดใหญํและมีความ
เจริญรงุํ เรืองมากในสมยั น้ัน

20

ตํอมาเมื่อสมเด็จพระเจ๎าตากสินมหาราชสวรรคต เมื่อ พ.ศ. 2325 ได๎เป็นท่ี
ประดษิ ฐานพระบรมศพถวายพระเพลิง และบรรจพุ ระบรมอัฐใิ นสมยั รชั กาล
ท่ี 1 ยังเป็นพระอารามหลวงอยูํ เพราะวํามีพระราชาคณะปกครองวัด
ถึง 3 รูป หลังจากนั้นแล๎ววัดก็ขาดการปฏิสังขรณ๑และชํารุดทรุดโทรมลง
ตามลาํ ดบั เรอื่ ยมาจนถึงรชั กาลที่ 3 พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) ได๎บูรณะขึ้น
ใหมํเสรจ็ แล๎วนอ๎ มเกล๎าฯ ถวายเป็นพระอารามหลวงอีกคร้ัง แตํได๎รับการลด
ฐานะลงเป็น พระอารามหลวงช้ันตรี และได๎รับพระราชทานนามวํา
วัดอนิ ทาราม

ปูชนียวตั ถุสําคัญของวัด
พ ร ะ อุ โ บ ส ถ ห ลั ง ใ ห มํ เ ป็ น ท่ี ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น " พ ร ะ พุ ท ธ ชิ น ว ร "
พระประธานของวัด ปางมารวิชัย ศิลปะสุโขทัย ซึ่งพระยาศรีสหเทพ
(ทองเพ็ง)ได๎อัญเชิญมาประดิษฐานที่วัด เม่ือคร้ันบูรณปฏิสังขรณ๑วัดใหมํ
พระอุโบสถหลังเดิม สร๎างข้ึนด๎วยศิลปะแบบธนบุรี แตํเดิมไมํมีหน๎าตําง
ภายในมีพระพุทธรูปฉลองพระองค๑ของสมเด็จพระเจ๎ากรุงธนบุรี เป็น
พระประธานภายในพระอุโบสถหลังเดิม ปางตรัสร๎ู ภายในองค๑
พระประดิษฐานพระบรมราชสรีรังคารของสมเดจ็ พระเจ๎ากรงุ ธนบุรี

21

พระ เจ ดี ย์กู้ ช าติ 2 อ ง ค์ เ ป็ น ท่ี
ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ บ ร ม อั ฐิ ข อ ง ส ม เ ด็ จ
พระเจ๎ากรุงธนบุรี และพระอัครมเหสีของ
พระองค๑ มีจุดสังเกตคือ เจดีย๑ที่มียอดเป็น
ลักษณะบัวกลุํมเถา 7 ช้ัน เป็นเจดีย๑ท่ี
บรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จ พระเจ๎าตาก
สินมหาราช สํวนเจดีย๑องค๑ถัดไปท่ีมียอด
ลกั ษณะเปน็ ปล๎องไฉน 13 ปล๎อง เป็นเจดยี ๑
ท่ีบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จกรมหลวง
บาทบริจา (พระนางสอน) ผู๎เป็นพระอัคร
มเหสขี องพระองค๑

สถานท่ีต้ัง เลขที่ 256 ถนน เทอดไท แขวง บางยี่เรือ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (คณะมนุษยศาสตรแ๑ ละสังคมศาสตร๑ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั บา๎ นสมเดจ็ เจ๎าพระยา, ม.ป.ป.)

7.วดั โพธินิมิตรสถติ มหาสมี าราม
เดิมสถานที่วัดเป็นกรรมสิทธ์ิ ของนายโผ นางมิ บิดามารดาของสมเด็จ

พระวันรัต (แดง สีลวฑฒโน) วัดสุทัศน๑เทพวนาราม เมื่อบิดามารดาถึงแกํ
กรรม สมเด็จพระวันรัตได๎อุทิศสร๎างเป็นพระอารามเพื่ออุทิศสํวนกุศลแกํ
บิดา มารดาเปน็ พทุ ธบชู า ธรรมบชู า สังฆบูชา และสร๎างถึงศรัทธาอันแนํวแนํ
ในพระพทุ ธศาสนา ที่จะไมํกลับไปครองชีวิตฆราวาสอีก โดยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยํูหัว รัชกาลท่ี 5 ได๎พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ
วันท่ี 12 มีนาคม พ. ศ. 2417 มีเขตวิสุงคามสีมากว๎าง 7 วา ยาว 10 วา
พร๎อมกับพระราชทานนามวํา "วัดโพธินิมิตร" และได๎ประกอบพิธีผูก
มหาสมี า เม่อื วันท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ.2433 ซ่ึงวัดโพธินิมิต จึงเป็นวัดเดียวและ
วดั แรกในคณะสงฆไ๑ ทย (มหานิกาย) ท่มี เี ขตกาํ หนดทาํ สังฆกรรมเป็นมหาสีมา
สมเด็จ พระวันรัต (แดง) ได๎สร๎างปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุหลายอยําง เชํน
พระอุโบสถ พระประธานในพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ๑ เป็นต๎น

22

และได๎มกี ารปฏิสังขรณใ๑ นสมัยเจ๎าอาวาสของวัดโพธินิมิตแตํละยุคมาเรื่อย ๆ
จนถึงป๓จจบุ ัน

ปูชนียวัตถสุ ําคญั ของวดั
พระอุโบสถ สร๎างเมื่อ พ.ศ.2417 ลักษณะรูปทรงไทย กํออิฐฉาบปูน
รชั กาลท่ี 5 เสด็จมาทรงทอดผ๎าพระกฐิน พ.ศ.2932 ทางชลมารค และโปรด
ให๎ชํางแดงเขียนภาพประเพณีตําง ๆ ไว๎ภายในพระอุโบสถ พระประธานใน
พระอุโบสถเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หลํอลงรักปิดทอง มีพระสาวก
4 องคค๑ ุกเขําประนมหัตถอ๑ ยทํู ้งั 4 ดา๎ น

พระวิหาร สร๎างเม่ือ พ.ศ.2521 กํออิฐฉาบปูน เป็นท่ีไว๎พระพุทธรูปและ
รปู หลํอสมเดจ็ พระวันรัต (แดง) ลักษณะเป็นตรีมขุ

พระมหาเจดีย์ กํออิฐถือปูน เป็นเจดีย๑ทรงลังกา ทางเข๎าเป็นวิหารเล็ก
ประดิษฐานพระปฏิมาและรอยพระบาท และเป็นทางเข๎าทั้ง 4 ทิศ ภายใน
เจดยี บ๑ รรจุอฐั ิสมเด็จพระวันรัต (แดง) สร๎างเม่ือ พ.ศ.2510

ศาลาการเปรียญ สมเด็จพระเจ๎าบรมวงศ๑เธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ
สร๎างศาลาการเปรียญหลังนี้ แตํใน พ.ศ.2458 ถูกไฟไหม๎จนหมด คร้ัน
พ.ศ.2497 ในสมัยพระโพธิสังวรเถร (ฑูรย๑รัตนวราภรณ๑) ได๎ซํอมศาลา
การเปรียญ ลักษณะรูปทรงไทย ช้ันลํางกํออิฐถือปูน ช้ันบนเป็นเครื่องไม๎
พลับพลารับเสด็จ สร๎างเมื่อ พ.ศ.2521 ลักษณะทรงไทยชั้นเดียวฐานกํออิฐ

23

ถือปูน เคร่ืองบนเป็นไม๎สร๎างไว๎เป็นอนุสรณ๑เมื่อครั้งรัชกาลที่ ๕ ได๎เสด็จมา
ทรงทอดผ๎าพระกฐนิ เมอื่ พ.ศ.2432

สถานท่ีต้ัง เลขท่ี 96 ซอยเทอดไท 19 แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (ไหว๎พระขอพร 99 วัด, 2546, น.179-181)

8.วดั เวฬุราชนิ
วัดเวฬุราชินเป็นพระอารามหลวงช้ันตรี ชนิดสามัญ เจ๎าพระยาพลเทพ

(เอย่ี ม ชูโต) เปน็ ผ๎สู ร๎างในสมยั รตั นโกสนิ ทร๑ ตอนปลายรัชกาลท่ี 3 โดยนําเงนิ
คาํ ภาษีไม๎ไผํสีสุกที่ทํานเป็นเจ๎าภาษีรับสัมปทานผูกขาดการเก็บอยํูมาใช๎เป็น
คาํ สร๎างวัด เมื่อแรกสร๎างเรียกช่ือวัดตามสภาพภูมิศาสตร๑ท่ีต้ังวัดที่เป็นคุ๎งนํ้า
ใหญใํ นคลองบางกอกใหญํวํา วัดใหมํท๎องคุ๎ง สร๎างเสร็จบริบูรณ๑ในต๎นรัชกาล
ที่ 4 เจ๎าพระยาพลเทพจึงน๎อมเกล๎าฯ ถวายเป็นพระอารามหลวง ได๎รับ
พระราชทานนามวําวัดเวฬุราชิน ตามปฐมเหตุของการสร๎างวัด
แปลความหมายได๎วําวัดซึ่งเกิดจากหน้ีภาษีไม๎ไผํของพระราชา ตํอมาสมัย
รัชกาลท่ี 5 พระยาพิศาลศุภผล (ชื่น พิศาลบุตร) และขุนตาลวโนชากร
(นิ่ม แสนวัต) ได๎รํวมกันปฏิสังขรณ๑วัดใหมํท้ังหมด เป็นการปฏิสังขรณ๑คร้ัง
ใหญํเทํากบั เปน็ การสรา๎ งวดั ใหมํ ตํอมาพระไพโรจนธ๑ รรมาภรณเ๑ ปน็ เจา๎ อาวาส
ได๎บูรณะวดั ใหอ๎ ยใูํ นสภาพที่งดงามเปน็ ทช่ี นื่ ชอบของประชาชนทว่ั ไป

ปชู นียวัตถุสําคญั ของวัด
พระอุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ลักษณะสถาป๓ตยกรรมทรงไทย หลังคาลด 2 ชั้น
มุงกระเบื้อง ประดับชํอฟ้าใบระกา หางหงส๑ ซุ๎ม
ประตูหน๎าตํางเป็นลายปูนป้๓นงดงาม ภายใน
พระอุโบสถมีภาพจติ รกรรมฝาผนังเลําเร่ืองชาดก
ภาพฝาผนังเหนือหน๎าตํางเป็นภาพเทพพนม
พัดแฉกคนธรรพ๑ และเทพบันเทิงฝาผนังหลัง
พระประธาน เป็นภาพพระพุทธเจ๎าทรงแสดง
พระธรรมเทศนาโปรดพระพทุ ธมารดา

24

พระประธาน ในพระอโุ บสถ เปน็ พระพุทธรูปปางมารวชิ ัย

พระวิหารทิศ 4 หลัง มุมกําแพงแก๎ว ประดับชํอฟ้า ใบระกา ลงรักปิด
ทอง มมี ุขลด หน๎าบนั จาํ หลักไมเ๎ ปน็ รปู พระพุทธเจ๎าแสดงพระธรรมเทศนาแกํ
เหลาํ เทวดา พระพทุ ธสีหไสยาสนป๑ ระดิษฐานในพระวหิ าร

พระเจดีย์ทรงลังกาอยู่หลังพระอุโบสถ ตั้งอยูํบนฐานทักษิณสี่เหล่ียม
ลบมุม สรา๎ งในรัชกาลท่ี 4

สถานที่ตั้ง เลขท่ี 152 ซอย เทอดไท 2 แขวง บางย่ีเรือ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (กรมการศาสนา, 2551, น.195-196)

9.วดั กระจบั พินจิ
วัดกระจับพินิจ สร๎างข้ึนใน

ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 3 ป ร ะ ม า ณ
พ.ศ.2367 ไมํทราบนามและ
ป ร ะ วั ติ ผ๎ู ส ร๎ า ง เ ดิ ม มี น า ม วํ า
"วัดใหม่ กล างคล อง" คงจ ะ
หมายถึงวัดสร๎างใหมํระยะระหวําง
กลางคลอง ครั้นตํอมาได๎ชํารุด
ท รุ ด โ ท ร ม ล ง ต า ม ก า ล เ ว ล า

25

เมื่อปี พ.ศ.2467 คุณหลวงพินิจวิเทศภัณฑ๑ กับคุณนายกระจับ ได๎มาขอ
บรู ณะซอํ มแซมอาคารเสนาสนะตาํ ง ๆ จนเป็นหลักฐานม่ันคงแล๎วขนานนาม
วัดใหมํเป็น "วัดกระจับพินิจ" ตามนามของผู๎บูรณปฏิสังขรณ๑วัด และได๎ใช๎
นามนมี้ าจนตราบเทาํ ทกุ วันนี้

วัดกระจับพินิจได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2370 เขต
วิสุงคามสีมากว๎าง 8.70 เมตร ยาว 15 เมตร และได๎ผูกพัทธสีมา
เม่อื ประมาณ พ.ศ.2375 ในดา๎ นการศึกษาทางวัดจัดให๎มีการสอนพระปริยัติ
ธรรม เริ่มมาตั้งแตํ พ.ศ.2489 นอกจากน้ี ยังได๎ให๎ทางราชการสร๎างโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา สังกดั กรุงเทพมหานครขน้ึ ในทวี่ ัดอกี ด๎วย

ปูชนยี วัตถุสําคัญของวัด
พระประธานสมัยสุโขทัย และพระพุทธรูปอื่นๆ ในพระอุโบสถ คือ
ปางห๎ามญาติ 5 องค๑แบบสมัยทวาราวดี พระพุทธรูปปูนป้๓น หน๎าตัก 2 ศอก
1 องค๑และพระอานนทเถระหลํอดว๎ ยทองเหลอื งหน๎าตัก 2 ศอก
สถานที่ตั้ง เลขท่ี 104 ถนนสายสัมพันธ๑ แขวงบุคคโล เขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร 10600 (WATTHAIวัดเขตธนบรุ ี, 2559)

10.วัดใหญ่ศรีสุพรรณ
เ ป็ น วั ด ร า ษ ฏ ร๑ ส ร๎ า ง ขึ้ น ใ น ส มั ย

กรุ ง ศ รี อ ยุ ธย า ต อ น ป ล า ย ป ร ะ ม า ณ
พ.ศ.2290 โดยทํานผ๎ูมีอํานาจวาสมา
ตระกูลหนึง่ ไมปํ รากฏชอ่ื แนํชัด มีจิตศรัทธา
ในบวรพระพุทธศาสนา เรียกกันวํา วัดใหญํ
ทเ่ี รียกเชนํ น้เี พราะทาํ นผ๎ูเปน็ พ่เี ปน็ ผส๎ู รา๎ งวัด
น้ีข้ึน และทํานผู๎น๎องได๎สร๎างอีกวัดหนึ่ง
เชํนกนั เรยี กกันวาํ วดั นอ๎ ย (วัดหริ ญั รจู )ี

ปูชนียวตั ถสุ ําคญั ของวดั
ภายในวัดมีพระอุโบสถทรงไทยโบราณ เดิมไมํมีชํอฟ้า ตํอมามีการ
ซํอมแซมใหมํให๎มีชํอฟ้า หน๎าบันลายดอกไม๎ พระประธานในพระอุโบสถ

26

ปางสมาธิ และพระพุทธรูปศิลาแดงปางสมาธิฉาบปูนและปิดทอง มีศาลา
การเปรียญ 2 ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบ มีชํอฟ้าหน๎าบันรูปเทพพนม
การบูรณปฏิสังขรณ๑ เร่ิมในปี พ.ศ.2498 สมัยพระครูประสาทธรรมกิจ เป็น
เจา๎ อาวาสเป็นตน๎ มา

สถานท่ีตั้ง เลขท่ี 58 ถนนอินทรพิทักษ๑ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (วดั ใหญํศรีสุพรรณ, 2559)

11.วัดประดษิ ฐาราม
ประวัติความเป็นมา เดิมช่ือวํา "วัดบ๎านสวน" สร๎างข้ึนเมื่อประมาณ

พ.ศ. 2293 กอํ นกรงุ ศรีอยุธยาแตก 17 ปี ไมํปรากฏนามผส๎ู รา๎ งตงั้ อยรํู มิ คลอง
เล็ก ๆ พ้ืนท่ีสํวนใหญํเป็นสวน เชํน สวนมะพร๎าว สวนหมาก สวนผลไม๎
เปน็ ต๎น

ตํอมาบรรพบุรุษชาวบ๎านมอญ
ที่มาสร๎างบ๎านเรือนแตํเดิมได๎เข๎า
เป็นทห ารเรือฝีพายโ ดยกา ร
รวบรวมของสมเดจ็ เจา๎ พระยาบรม
มหาศรีสุริยวงศ๑ (ชํวง บุนนาค)
เรียกวํา ทหารเรือหลวงหรือ
ทหารเรือบา๎ นสมเด็จ ได๎แกํ อาสามอญทหารปืนเล็ก แล๎วได๎ชักชวนชาวมอญ
ที่ปลูกสร๎างบ๎านเรือนอาศัยอยํูใกล๎เคียงกันรํวมกันบูรณะ "วัดบ๎านสวน"และ
เรียกวํา "วัดมอญรามัญ"แตํชาวบ๎านนิยมเรียกวํา"วัดมอญ" ตํอมามีการ
เปลีย่ นแปลงชอ่ื โดยเปล่ยี นเป็น "วัดรามัญประดิษฐ๑"แตํไมํปรากฏหลักฐานวํา
มีการเปล่ยี นแปลงปี พ.ศ.ใด จากนั้นสมัยที่มีการปริวรรตทางภาษา โดยผู๎นํา
ประเทศตอนนั้นคือจอมพลป.พิบูลสงครามได๎เปล่ียนมาเป็นคําไทย ๆ วํา
"วัดประดิษฐาราม" มาจนถึงป๓จจุบัน นอกจากน้ันยังมีโรงเรียนสังกัด
กรงุ เทพมหานคร ต้ังอยใํู นบริเวณวดั ด๎วย

27

ปูชนียวตั ถุสาํ คัญของวัด
พระพทุ ธรูปปางสีหไสยาสน์ หรือพระนอน ไมํปรากฏวําสร๎างในสมัยใด
ประดษิ ฐานอยูใํ นวิหารพระนอน

เจดีย์คู่ เปน็ เจดียท๑ ส่ี ร๎างคูกํ ับวัดมานานแลว๎ เป็นเจดีย๑ทรงมอญ
สถานทต่ี งั้ เลขท่ี 33 ซอย อิสรภาพ 17/1ถนนอิสรภาพ แขวงวัดหิรัญรูจี
เขตธนบุรี กรงุ เทพฯ 10600 (สาํ นักงานเขตธนบุรี, 2549, น.54)

12.วัดหริ ัญรจู ีวรวิหาร
เป็นพระอารามหลวงช้ัน

ตรี ชนิดวรวิหาร เดิมช่ือวัด
น๎อย สร๎างข้ึนในสมัยธนบุรี
เมื่อ พ.ศ. 2321 โดยเจ๎าขรัว
เงิน พร ะบิด าของสม เด็ จ
พระศรีสุริเยนทรา บรมราชินี
( ส ม เ ด็ จ เ จ๎ า ฟ้ า บุ ญ ร อ ด )
พ ร ะ อั ค ร ม เ ห สี ใ น
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล๎านภาลัย รัชกาลท่ี 2 สํวนเหตุที่ช่ือวํา วัด
น๎ อ ย นํ า จ ะ ห ม า ย ถึ ง วั ด ท่ี ผู๎ เ ป็ น น๎ อ ง ไ ด๎ ส ร๎ า ง ไ ว๎ คํู กั บ วั ด ใ ห ญํ
(วดั ใหญศํ รสี พุ รรณ) ซึ่งสรา๎ งโดยเจ๎าขรวั ทอง พ่ชี ายของเจา๎ ขรัวเงิน วัดนี้ ยังมี
ผ๎ูเรียกวาํ วัดน๎อยบางไส๎ไกํ ดว๎ ยตั้งอยูํติดกบั คลองบางไส๎ไกํ ในสมัยรัชกาลที่ 4
ทรงโปรดเกล๎าฯ ให๎พระยาสหี ราช เดโชไชย (แก๎ว) เป็นแมํกองบูรณะวัดแหํง
น้ี และพระยาอนุชิตชาญไชย (อํุน) มีศรัทธาสร๎างอุโบสถใหมํ แล๎วถวายเป็น

28

พระอารามหลวง จึงไดร๎ บั พระราชทานนามวาํ วดั หริ ัญรูจี ซ่ึงมีความหมายวํา
“เงิน” ตามนามของเจ๎าขรวั เงิน พระอยั กา

ปชู นยี วตั ถุสาํ คญั ของวัด
พระอุโบสถ เป็นสถาป๓ตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 3 ศิลปไทยผสมจีน คือ
หลงั คาไมํมชี ํอฟ้าใบระกาหางหงส๑ กอํ อิฐถือปูน ใช๎ฝาผนังทั้งส่ีด๎านรับนํ้าหนัก
แทนเสา หน๎าบันเป็นลายปูนป๓้นรูปดอกไม๎และนก พระอุโบสถได๎รับการ
ปฏิสังขรณ๑ครั้งใหญํในรัชกาลท่ี 4 ตํอมาเมื่อ พ.ศ. 2472 พระวิศษศีลคุณ
(อินทร๑ พุทรสโร) เจ๎าอาวาสองค๑ที่ 7 รํวมกับทายกทายิกาปฏิสังขรณ๑อีกคร้ัง
หนง่ึ และปฏสิ ังขรณค๑ รั้งหลงั สุด เมือ่ พ.ศ. 2520

พระประธานในพระอโุ บสถ เปน็ พระพุทธรปู ปูนป้๓น ปางมารวิชัยปิดทอง
ทั้งองค๑ ขนาดหนา๎ ตักกว๎าง 2 ศอก 22 นิว้ สงู 3 ศอก 20 น้ิว

29

พระวิหาร เติมมีรูปทรงเดียวกับพระอุโบสถ ตํอมาเม่ือ พ.ศ. 2494
พระวิเศษศีลคุณ (อินทร๑ พุทธสโร) ได๎รื้อของเดิมที่ทรุดโทรมออก แล๎วสร๎าง
เปน็ ลกั ษณะทรงไทยกอํ อฐิ ถือปนู

พระเจดยี ์ มเี จดีย๑ใหญํทรงลม หลงั พระอุโบสถ สร๎างเมื่อ พ.ศ. 2480 และ
พระเจดยี ๑ 6 องค๑ ตั้งตามมุมกําแพงแก๎ว เปน็ เจดยี ๑ยํอมมุ ไมส๎ บิ สอง

ศาลาการเปรียญ สร๎างด๎วยไม๎สักทั้งหลัง สันนิษฐานวําคงจะสร๎างต้ังแตํ
สรา๎ งวดั และทําการซํอมแซม
เมอื่ พ.ศ.2470

หลวงพ่อดํา เป็นพระพุทธรูปหลํอปางมาร
วิชัย ขนาดหน๎าตกั กว๎าง 2 ศอก 15 นิ้ว ประทับ
ใตต๎ นั โพธิ์ สรา๎ งเม่ือ พ.ศ. 2515

โรงเรียนปริยัติธรรม จํานวน 2 หลัง
หลงั ที่หนง่ึ สรา๎ งข้ึนเมือ่ พ.ศ. 2481

นอกจ า กนี้ ยั งมี ส่ิ งสํ า คั ญ ซ่ึ งเ ป็ นของ
พระราชทานและเปน็ สมบัติของวัดคือ

1. ธรรมาสน๑ลายทอง ในงานพระเมรุท๎อง
สนามหลวง รัชกาลที่ 5

2. พระไตรปฎิ กฉบบั พิมพ๑ ในรัชกาลที่ 5 มตี ๎ูบรรจุพร๎อม
สถานท่ีต้ัง เลขที่122 ถนนอินทรพิทักษ๑ แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (สาํ นักงานเขตธนบรุ ี, 2549, น.53-54)

30

13.วดั บคุ คโล
วัดบุคคโลเป็นวัดท่ีสร๎างขึ้น

ในสมัยกรุงธนบุรี ประมาณ
ปี พ.ศ.2323 ไมํปรากฏนาม
ผ๎ูสร๎างวัด ได๎รับพระราชทาน
วิ สุ ง ค า ม สี ม า ปี พ . ศ . 2 4 2 0
ไ มํ ป ร า ก ฏ น า ม เ จ๎ า อ า ว า ส
จ า ก เ อ ก ส า ร ก ร ม ก า ร ศ า ส น า ไ ด๎ อ๎ า ง ถึ ง ห นั ง สื อ พ ร ะ ร า ช พ ง ศ า ว ด า ร
กรุงรตั นโกสนิ ทร๑ พิมพ๑เผยแพรํในปี พ.ศ. 2477 หน๎า 405 กลําววํา ได๎มีการ
บูรณปฏิสังขรณ๑ครั้ง ใหญํในสมัยรัชกาลที่ 4 โดยเจ๎าฟ้าหญิงอุบลวรรณา
สันนษิ ฐานวําเปน็ พระธดิ าในรัชกาลที่ 4 ทรงเสด็จทางเรือทอดพระเนตรเห็น
วัดบุคคโลทรุดโทรมมากจึงได๎ปฏิสังขรณ๑พระอุโบสถ พระวิหารเละกุฏิ
พระสงฆ๑ เรียบร๎อยจึงมีการเปลี่ยนช่ือวัดใหมํเรียกวํา "วัดอุบลวรรณาราม"
ตง้ั แตํนัน้ เปน็ ตน๎ มาแตโํ ดยท่ัว ๆ ไปยังเรียกตดิ ปากวาํ "วดั บคุ คโล"

ปชู นียวัตถุสาํ คญั ของวัด
วดั บคุ คโล เป็นทีป่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรูปศักดิส์ ิทธ์ิทม่ี ีประวัติความเป็นมา
อันสําคัญ เป็นที่เคารพสักการะบูชาของสาธุชนทั่วไป อาทิ หลวงพ่อแพ
พระพุทธมงคลทศพลมุนี(พระนาคปรก) ฯลฯ ประดิษฐานอยํู ณ ศาลา
จตุรมุขของวัด ภายในอุโบสถของวัดได๎ประดิษฐานองค๑พระประธานท่ี
สวยงามที่สุด พระพักตร๑เปลํงปล่ัง หน๎าตักกว๎าง 73 นิ้ว สูง 92 น้ิว น่ันคือ
หลวงพอํ แพ "หลวงพ่อแพ" ตามท่หี มอํ มราชวงศ๑คึกฤทธิ์ ปราโมช ไดเ๎ ขียนไว๎
ในหนังสือเร่ือง "พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร๑" เกี่ยวกับวัดวาอาราม
"หลวงพ่อแพ เป็นพระพุทธรูปที่ลอยมากับแพ วนมาอยูํหน๎าวัดหลายวัน
ชาวบ๎านได๎ทําพิธีอันเชิญข้ึนมาประดิษฐาน ณ วัดบุคคโล" การคมนาคมใน
สมัยน้ันเดินทางทางเรือสะดวกสบาย ชาวบ๎านนิยมมากราบไหว๎ขอพรหลวง
พํอแพ เพื่อให๎การทํามาค๎าขายมีความเจริญรํุงเรืองสมปรารถนา และยัง
พระพุทธรูปจําลองของพระพุทธรูปท่ีศักด์ิสิทธิ์องค๑อื่นๆ อีกมากมาย เชํน
พระพุทธประทานพร พระพุทธชินราช หลวงพํอพุทธโสธร หลวงพํอวัดไรํขิง

31

พระสีวลีมหาลาภพระสังกัจจายนะ พระพากุละ พระพุทธมงคลทศพลมุนี
(พระนาคปรก) ฯลฯ

สถานทตี่ ั้ง เลขท่ี 142 ถนนเจริญนคร ซอย 63 แขวงบุคคโล เขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร 10600 (วัดบุคคโล, 2559)

14.วดั บางสะแกนอก
วัดบางสะแกนอกสร๎างขึ้นในสมัยอยุธยาประมาณ พ.ศ. 2077 -

พ.ศ. 2090 (ในสมัยของสมเดจ็ พระไชยราชาธิราช พระราชโอรสพระยอดฟ้า
ที่ประสูติแตํแมํอยูํหัวศรีสุดาจันทร๑) ไมํทราบนามและประวัติผู๎สร๎าง
กาลผํานมาได๎กลับกลายเป็นวัดร๎าง ตํอมาได๎มีพระธุดงค๑เดินทางมาพัก
ชาวบ๎านจึงไดน๎ ิมนตใ๑ ห๎อยํจู าํ พรรษาไดท๎ ําการบรู ณะพฒั นาวัด โดยมี อุบาสิกา
จิน, ปาน, เม่ือ, และอุบาสก ศุข, มี เป็นผู๎อุปถัมภ๑ การกํอสร๎างสําเร็จเม่ือ
พ.ศ. 2377 (ในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล๎าเจ๎าอยูํหัวรัชกาลท่ี 3) นาม
วดั ไดเ๎ รียกขานตามช่ือคลองทว่ี ัดต้งั อยํู โดยท่มี ีอกี วัดหน่ึงต้ังอยํูตอนในนามวํา
“วัดบางสะแกใน” วัดนี้จึงได๎มีนามวํา “วัดบางสะแกนอก” เพ่ือไมํให๎ซ้ํากัน
และวัดนไ้ี ด๎รับพระราชทานวสิ ุงคามสีมาแล๎วเม่ือประมาณ พ.ศ. 2377

ปชู นียวัตถุสาํ คญั ของวัด
พระอโุ บสถ เป็นรปู แบบมหาอุต คือ มปี ระตูหน๎าเข๎าเพยี งทางเดียว
(สมยั โบราณจะใช๎โบสถ๑มหาอุตเพ่ือปลุกเสกอาวุธและวัตถุมงคล) ด๎านนอกมี
กาํ แพงแก๎วล๎อมรอบ ภายในอุโบสถผนังหลังองค๑พระประธาน มีรูปพระฉาย
(ปางเปิดโลก)

32

สถานที่ต้ัง เลขท่ี 154 (คลองบางสะแก) ซอยเทิดไท 33 แขวงตลาดพลู
เขตธนบุรี กรงุ เทพมหานครฯ 10600 (วดั บางสะแกนอก, 2559)
15. วัดบางสะแกใน

วัดบางสะแกในสร๎างขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2420 ได๎รับ
พร ะร าชทา น วิสุ งค าม สีม า เม่ื อวันที่ 29 มกรา คม พ.ศ .2490
เขตวิสุงคามสีมากว๎าง 40 เมตรยาว 80 เมตร ด๎านการศึกษาเป็นศูนย๑
การศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย๑
แ ล ะ ท า ง วั ด ยั ง ใ ห๎ ท า ง ร า ช ก า ร
สร๎างโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานครในท่ีดินของวัดเป็น
การสนับสนุนการศึกษาของชาติอีก
ดว๎ ย

สถานที่ต้ัง เลขท่ี 1583 ซอยเทอดไท 33 ถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู
เขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานคร 10600 (สํานกั งานเขตธนบรุ ี, 2549, น.58)

33

16. วัดบางไสไ้ ก่
วดั บางไส๎ไกํหรอื วัดลาวต้ังอยํูริมคลองบางไส๎ไกํ ฝ๓่งธนบุรี เป็นวัดโบราณ

สรา๎ งขน้ึ ในสมัยธนบุรี เม่ือ พ.ศ. 2320 โดยเจา๎ นันทเสน และพระเจา๎ อนิ ทวงศ๑
(พระเจ๎าไชยเชษฐาธิราชท่ี 4) พระราชโอรสในพระเจ๎าสิริบุญสาร
(พระเจ๎าไชยเชษฐาธิราชที่ 3) ผ๎ูครองนครเวียงจันทน๑ เมื่อครั้งถูกนํามาเป็น
องค๑ประกนั พร๎อมกบั ครวั ชาวลาว ในคราวท่สี มเดจ็ เจ๎าพระยามหากษัตริยศ๑ ึก
(พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1) เป็นผ๎ูกรีธา
ทัพไปตีนครเวียงจันทน๑สมเด็จพระเจ๎าตากสินมหาราชโปรดเกล๎าฯ ให๎ครัว
ลาวตั้งถิ่นฐานหลายแหํงในพระนคร รวมถึงริมคลองบางไส๎ไกํเกิดเป็น
“หมูํบ๎านลาวบางไส๎ไกํ”สมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล๎าเจ๎าอยูํหัว
รัชกาลที่ 3 พระยาราชสุภาวดี (สิงห๑ สิงหเสนี ตํอมาเป็นเจ๎าพระยาบดินทร เดชา)
เป็นแมํทัพปราบสมเด็จพระเจ๎าอนุวงศ๑ (พระเจ๎าไชยเชษฐาธิราชท่ี 5) แหํง
เวียงจันทน๑ ได๎ยกครัวลาวเข๎ามาตัง้ ถิน่ ฐานในพระนครและบางสวํ นก็มาสมทบ
ตั้งบ๎านเรือนอยํูที่หมํูบ๎านลาวแหํงนี้ ชาวบ๎านท่ีถูกเทครัวมาได๎นําความรู๎ใน
การทําขลุํยและแคน ซึง่ เป็นเครอ่ื งดนตรพี ื้นบา๎ นติดตวั มาด๎วย แตเํ ดิมคนบ๎าน
ลาวทาํ ขลํุยและแคนเพอื่ เลนํ กนั ในหมบูํ ๎านเทํานนั้ ภายหลังเลิกทําแคนเหลือ
เพยี งขลุยํ และได๎สบื ทอดวชิ าการทําขลํุยจากรนํุ สูํรนํุ เรอ่ื ยมา กระท่ังหนั มายดึ
เปน็ อาชีพจริงจงั เม่ือราวหา๎ ทศวรรษท่ีผํานมาด๎วยความท่ีขลุยํ จากหมบํู ๎านลาว
ข้ึนช่ือเรื่องคุณภาพของเสียงและความสวยงาม จึงทําให๎ชุมชนบ๎านลาว
กลายเป็นแหลํงผลิตขลุํยช้ันดีที่สําคัญแหํงหน่ึงในประเทศไทย เป็นท่ีรู๎จักกัน
อ ยํ า ง แ พ รํ ห ล า ย ใ น ช่ื อ ข ลุํ ย บ๎ า น ล า ว ส มั ย ห นึ่ ง วั ด ล า ว มี ช่ื อ วํ า
วัดราษฏร๑ศรัทธาธรรม ภายหลังเปล่ียนชื่อเป็นทางการวํา วัดคลองบางไส๎ไกํ
ตามช่ือคลองที่ไหลผํานวัด ซึ่งเพ้ียนจากชื่อเดิมวํา “คลองสาวกลาย” หรือ
คลองสะกาํ ย ดงั ปรากฏช่ือในหนังสือนิราศยี่สานของ ก.ศ.ร.กุหลาบ พิมพ๑ใน
สมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล๎าเจ๎าอยูํหัว รัชกาลท่ี 5 พ.ศ. 2428
กลําวถึงคลองนี้วํา คลองสะกําย หมายความวํา มีพวกสาว ๆ มากมายกําย
กองจนสดุ ทา๎ ยเพย้ี นมาเปน็ ช่อื เรียกในปจ๓ จบุ ัน คอื คลองบางไส๎ไกํ

34

ปูชนียวตั ถุสาํ คญั ของวัด
ภายในวัดประกอบด๎วยเสนาสนะ
ตําง ๆ ได๎แกํ อุโบสถซ่ึงประดิษฐาน
หลวงพํอศรีเวียง พระประธานปาง
สมาธิ ศลิ ปะอยุธยา หอสวดมนต๑ ศาลา
การเปรียญ และพระพุทธรูปศิลปะ
อํูทอง

สถานที่ตั้ง เลขที่ 547 ซอยมหาวิทยาลัยราชภัฏบ๎านสมเด็จ
ถนนอิสรภาพ แขวงหิรญั รูจี เขตธนบรุ ี กรุงเทพมหานครฯ 10600 (วัดบางไส๎
ไก,ํ 2559)

17.วัดบางน้ําชน
เป็นวัดราษฎร๑ วัดเกําสร๎างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายมีอายุ

ประมาณ 200 ปี ลักษณะอโุ บสถเปน็ รปู แบบสมยั กรงุ ศรีอยุธยา สมัยนั้นนิยม
สร๎างใช๎อิฐก๎อนใหญํ สํวนชาวบ๎านเดิมเรียกวํา “วัดปากคลอง” เพราะตั้งอยํู
ปากคลองบางน้ําชน ซึ่งสายน้ําจากคลองวัดใหมํจีนกัน (วัดกันตทาราราม)
ไหลมามาชนกันท่ีคลองบางนํ้าชนไหลสูํแมํน้ําเจ๎าพระยา จึงตั้งช่ือตามคลอง
บางน้ําชน ด๎านทิศใต๎ศาลาติดกับบริษัทหวังหลี ด๎านทิศตะวันออกโรงเรียน
ติดกับโรงแรมอนันตา (แมริออท) ด๎านทิศตะวันตกติดกับบริษัทอีซุซุ
(ถนนเจริญนคร) พ้ืนที่แบํงออกเป็น 2 สํวน คือ เขตสังฆาวาส มีเน้ือท่ี 5 ไรํ
ประกอบด๎วยอุโบสถ หอระฆัง กุฏิสงฆ๑ ศาลาและโรงเรียน สํวนธรณีสงฆ๑
มีพนื้ ที่ 2 ไรํ กับ 2 งาน เป็นทอ่ี าศยั ของชุมชน

35

ปชู นยี วัตถสุ าํ คญั ของวดั
พ ร ะ อุ โ บ ส ถ มี รู ป แ บ บ อุ โ บ ส ถ
ช้ันเดียวมีพะไลยื่นหน๎ายื่นหลัง ศิลปะ
สมัยกรุงศรีอยุธยา พระประธานใน
อุโบสถ แบบปูนป้๓น มีไม๎สักเป็น
แกนกลางลําตัว แขน และลงรักษ๑
ปิดทอง สํวนพระพักตร๑มีหน๎าแบบ
เมตตา เป็นรูปแบบศิลปะ 2 สมัย สุโขทัย และอูํทอง สํวนกําแพงอุโบสถกํอ
ด๎วยอิฐกํอนใหญํ ไมํมีเหล็ก ใช๎อิฐก๎อนใหญํเป็นฐานและมีศิลาจารึกเป็นที่
เสมาเกําได๎จารึกไว๎วํา เมือ่ วนั พุธที่ 6 ค่ํา เดอื นย่ี พ.ศ. 2396 นายจินจัวกับท้ัง
สาธชุ น ทั้งปวงไดบ๎ รู ณะอโุ บสถ และใครเปน็ ผสู๎ รา๎ ง พ.ศ. ไหนไมํปรากฏ
พระพุทธจักรศรี (หลวงพ่อโต / หลวงพ่อขอม) เป็นพระพุทธปูนป้๓น
องคใ๑ หญํ ซ่งึ ในสมัยกรุงศรีอยธุ ยานยิ มสร๎าง มไี ม๎สกั เปน็ แกนกลางลําตัวและท่ี
เศียรบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และปิดทองคําแท๎ซ่ึงพระพักตร๑หน๎ายักษ๑
(หน๎าบารมีเมตตา) เป็นลักษณะพระสมัยอํูทองผสมกับพระสมัยสุโขทัย
เพราะสมัยน้ันมีความอุดมสมบูรณ๑ มีความสุข ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธาของ
ชาวบา๎ นและพทุ ธศาสนิกชนท่ีมีความเล่ือมใส ได๎เข๎ามากราบไหว๎ขอพร และ
บนบานสาบานกลําว ขอให๎มีสุขภาพรํางกายแข็งแรง หายจากโรคภัยไข๎เจ็บ
และทําธุรกิจการค๎าใด ๆ ขอให๎เจริญรุํงเรือง มีโชคมีลาภรํ่ารวย ก็สําเร็จ
สมประสงค๑ตามท่ีตนได๎ปรารถนาไว๎
จึงเป็นท่ีเลําขานกัน ปากตํอปากวํา
หลวงพํอโต มีความศักด์ิสิทธ์ิ และ
เม่อื ปี พ.ศ. 2554 ได๎บูรณะลงรักปิด
ทองหลวงพํอโตใหมทํ งั้ องค๑

สถานท่ีตั้ง เลขที่ 317 ถนนเจริญนคร แขวงบุคคโล เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (วัดบางนาํ้ ชน, 2563)

36

18.วัดดาวคนอง
วัดดาวคนองเป็นวัดท่ีสร๎างมาเมื่อประมาณปี พ.ศ.2310 ปลายสมัย

อยธุ ยา ไมปํ รากฏนามผูส๎ ร๎างวดั ไดร๎ ับพระราชทานวสิ งุ คามสมี า เมื่อประมาณ
พ.ศ. 2325 เดิมชื่อวัด เน่ืองจากพื้นท่ีของ "สะเดาทอง" วัดสํวนหน่ึงตั้งอยํู
ริมแมํนํ้าเจ๎าพระยา ซ่ึงมีผ๎ูคนสัญจรไปมาค๎าขายผํานบริเวณวัดกันมากมาย
และไดถ๎ อื โอกาสจอด เรอื พกั ท่หี นา๎ วดั ซ่งึ มีตน๎ สะเดาอยูตํ น๎ หน่งึ ด๎วยเหตุผลใด
ไมํทราบผ๎ูคนท่ีจอดเรือหน๎าวัดได๎มากราบไหว๎ต๎นสะเดาที่หน๎าวัด และนํา
ทองแผํนมาปิดเต็มไปหมด ชาวบ๎านท่ัวไปจึงเรียกชื่อวัดวํา"วัดสะเดาทอง"
สาเหตทุ ่เี ปลยี่ นชือ่ เปน็ วดั ดาวคะนองนั้นมีชาวบา๎ นเลํากนั ตํอมาวาํ ทีห่ นา๎ วดั
มีจระเข๎ตัวหน่ึงเที่ยวอาละวาดทําลายส่ิงตําง ๆ บริเวณค๎ุงน้ําหน๎าวัดเสมอ
ตํอมามีชายหนุํมคนหน่ึงได๎ตํอสู๎ กับจระเข๎ จนนํ้าฟุ้งกระจายเป็นดาวคะนอง
น้ําไปทั่วแมนํ าํ้ บรเิ วณหน๎าวัดชาวบา๎ นจงึ เรยี กช่อื วดั นใ้ี หมวํ ํา "วดั ดาวคนอง"

สถานที่ตงั้ เลขท่ี 160 ซอยเจริญนคร 65 ถนนเจรญิ นคร แขวงดาวคนอง
เขตธนบุรี กรงุ เทพมหานคร 10600 (สาํ นักงานเขตธนบุรี, 2549, น.53)

37

19. วัดกลางดาวคนอง
วัดกลางดาวคนอง เป็นวัดราษฎร๑ พ้ืนท่ีตั้งวัดทางทิศใต๎ ติดตํอกับคลอง

บ๎านกลาง ซ่ึงเป็นท่ีต้ังของหมูํบ๎านชาวมอญ ในอดีตวัดกลางดาวคนองสร๎าง
ขึ้นประมาณ พ.ศ.2420 สมัยรัชกาลท่ี 5 โดยสันนิษฐานจากเหรียญเงินและ
เหรยี ญทองทใ่ี ช๎ในสมัยนัน้ ซง่ึ ค๎นพบทอี่ โุ บสถ วิหารและเจดีย๑ เก่ียวกับนาม
วัดเดิมเรียกกันวํา “วัดกลาง” เพราะทางทิศใต๎ของวัดติดตํอกับคลองบ๎าน
กลาง ตํอมามีการเพิ่มคําวํา “ดาวคนอง”เข๎าไปตามสถานที่ตั้งของวัดใน
ร ะ ห วํ า ง พ . ศ . 2 4 9 3 –2 5 1 2
เป็นระยะที่วํางเจ๎าอาวาส มี
แ ตํ เ พี ย ง ผู๎ รั ก ษ า ก า ร แ ท น
เจ๎าอาวาส จึงทําให๎เสนาสนะ
ของวัดมีสภาพทรุดโทรมมาก
จนในปี พ.ศ.2513 ได๎มีการ
แ ตํ ง ต้ั ง เ จ๎ า อ า ว า ส ป ร ะ จํ า
วัดข้ึนวัดกลางดาวคนองจึง
ได๎รับการทะนุบํารุงเร่ือยมา
จนมีสภาพดีดังป๓จจุบัน วัดกลางดาวคนอง ได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
ประมาณ พ.ศ.2425 เขตวสิ ุงคามสมี ากว๎าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร

สถานที่ต้ัง เลขที่ 219 เจริญนคร 65 แขวงบุคคโล เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานครฯ 10600 (วัดกลางดาวคนอง, 2559)

20.วดั สุทธาวาส (วดั ใหม่ตาสุต)
สร๎างข้ึนเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2333 ผู๎สร๎างวัดชื่อ "สุต" เป็นทหารของ

สมเด็จพระเจ๎าตากสินมหาราช โดยนายสุตได๎ชํวยรบกับข๎าศึกมาตลอดสมัย
สมเด็จพระเจ๎าตากสินมหาราช เม่ือแผํนดินสงบศึกลงบ๎างเล็กน๎อยแล๎วนาย
สุตได๎ชกั ชวนญาตพิ น่ี อ๎ ง และชาวบา๎ นชวํ ยกนั สรา๎ งวัดขึ้น และเรียกนามวัดวํา
"วัดใหม่ตาสุต" ตํอมาเปลี่ยนช่ือเป็น "วัดสุทธาวาส" ได๎รับพระราชทาน
วสิ ุงคามสมี า เมอื่ วนั ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2455

38

สถานที่ต้ัง เลขท่ี 4 ซอยสมเด็จพระเจ๎าตากสิน 24 ถนนสมเด็จ
พระเจ๎าตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
(สาํ นักงานเขตธนบรุ ี, 2549, น.57)

20.วดั ขนุ จันทร์ (วัดวรามาตยภันฑสาราราม)
ประวัติความเป็นมา สร๎างข้ึนเมื่อ

ปี พ.ศ. 2370 โดยมีพระยามหาอํามาตย๑
(ป้อม) เป็นผ๎ูสร๎าง พระยามหาอํามาตย๑
เป็นบุตรคนท่ี 2 ของหลวงพิพิธสมบัติ
(เอม) เกิดปีฉลู จ.ศ. 1143 (พ.ศ.2324)
ได๎ถวายตัวเป็นมหาดเล็กในรัชกาลที่ 1
และรัชกาลท่ี 2 ตํอมาในรัชกาลท่ี 3 ได๎รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเป็น
พระสุริยภักดีเจ๎ากรมพระตํารวจสนมทหารขวา เมื่อคราวเจ๎าอนุวงศ๑
เวียงจันทน๑ขบถในปี พ.ศ. 2369 ได๎ยกทัพไปปราบตีเวียงจันทน๑แตก ในปี
พ.ศ.2370 พร๎อมกับนําตัวเชลยเวียงจันทน๑มามากมายจึงได๎มาสร๎างวัดขึ้น
เปน็ การสรา๎ งกุศลมนี ามวาํ "วัดขนุ จนั ทร"์ และในปี พ.ศ. 2380 พระสรุ ิยภักดี
ได๎รับพระกรุณาโปรดเกล๎าฯ เล่ือนยศบรรดาศักด์ิเป็นพระยามหาอํามาตย๑
และได๎ถึงแกํอนิจกรรม เม่ือปี พ.ศ.2391 ตํอมาวัดขุนจันทร๑ได๎ทรุดโทรมลง
มากบุตรคนเล็กของพระยามหาอํามาตย๑ ในขณะนั้นได๎รับราชการอยูํในวัง
หลวงสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นท๎าวภัณฑสาร ได๎ทําการบูรณปฏิสังขรณ๑

39

วัดขุนจันทร๑ ให๎งดงามข้ึนอีกคร้ัง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล๎าฯ จึงทรง
พระกรณุ าโปรดเกล๎า ฯ พระราชทานนามให๎เป็นมงคล โดยใช๎ชื่อผ๎ูสร๎างและ
ผู๎ปฏิสังขรณ๑รวมกันเป็นนามวัดใหมํวํา "วัดวรามาตยภัณทสาราราม"
และได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมาประมาณปี พ.ศ. 2440 อยํางไรก็ตาม
ชาวบ๎านยังคงเรียกวดั นีว้ ํา"วัดขุนจันทร์"ตราบเทําทกุ วันน้ี

ปชู นยี วตั ถสุ ําคญั ของวัด
พระพุทธรูปแบบศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลายในพระอุโบสถ และ
พระพุทธรูป "หลวงพ่อโต" ในพระวิหาร พระอุใบสถทรงป๓้นหยา มีกุฏิสงฆ๑
เป็นเรือนไม๎ 2 ข้นั มุงดว๎ ยกระเบ้อื งลอนและมกี ุฏไิ มท๎ รงไทย 2 หลัง

สถานที่ตั้งเลขที่ 1144 ถนนเทอดไท แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (สาํ นักงานเขตธนบุรี, 2549, น.62)

21.วดั สนั ตธิ รรมาราม
วัดสันติธรรมาราม เป็นวัดราษฏร๑ เดิมเรียกวํา “วัดโคก” สร๎างข้ึน

ประมาณสมัยอยุธยาตอนปลายหรือต๎นสมัยกรุงธนบุรีตํอมาไมํมีผู๎ทํานุบํารุง
จึงได๎กลายเป็นวัดร๎าง ตํอมา พ.ศ.2495 ทางคณะสงฆ๑ได๎ดําเนินการบูรณะ
พัฒนาวัดข้นึ มาใหมํ โดยมีพระมหาโพธิวงศาจารย๑เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต
และมีนาวาโทพระศรฤทธ์ิรณชัยเป็ นประธานฝ่ายคฤหัสถ๑ และ
กระทรวงศึกษาธิการได๎ประกาศยกสภาพวัดร๎างเป็นวัดมีพระสงฆ๑ เมื่อ
พ.ศ.2495 ตํอมาได๎เปลี่ยนช่ือจาก “วัดโคก” มาเป็น “วัดสันติธรรมาราม”
เมื่อ พ.ศ.2496 โดยได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งลําสุดนับจากได๎ยก

40

สภาพเป็นวัดมีพระสงฆ๑ เม่ือ พ.ศ.2509 ได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
เมอ่ื วันท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2509

ปชู นียวัตถสุ าํ คัญของวัด
มีพระประธานประจําอุโบสถ ปางมารวิชัย วิหารพระพุทธรูปศิลาแดง
เรียกกันวาํ “หลวงพํอขาว” วหิ ารเจา๎ แมํกวนอิม เปน็ ตน๎

สถานที่ต้ัง เลขที่ 231 ถนนตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานครฯ 10600 (วดั สนั ตธิ รรมาราม, 2559)

22. วัดใหมย่ ายนยุ้
วัดใหมํยายน๎ุยเป็นวัดราษฏร๑ ชาวบ๎านมักเรียกวํา"วัดใหมํยายน๎ุย" สร๎าง

ราวปี พ.ศ. 2434 ในสมัยรัชกาลท่ี 5 โดยมียายน๎ุยและแมํชีจันทร๑ ซ่ึงเป็น
ญาติพ่ีน๎องกัน เป็นผ๎ูขายท่ีดินและดําเนินการสร๎างวัด จึงได๎ขนานนามวํา
"วัดยายนุ๎ย" เพื่อเป็นเกียรติอนุสรณ๑และศักดิ์ศรีแกํยายน๎ุย ตํอมานายนาค
นายจําปาและราษฎรได๎รวํ มกนั ขอพระราชทานวสิ งุ คามสีมาในนามของวัดวํา
"วดั ใหมบํ างนางนอง" ไดร๎ ับพระราชทานเป็นเขตวสิ งุ คามสีมา กว๎าง 15 เมตร
ยาว 20 เมตร เม่ือวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2445 เเตํก็ยังคงใช๎นามวํา
"วัดใหม่ยายนุ้ย" ตลอดมาจนถึงป๓จจุบัน ในด๎านการศึกษาทางวัดสนับสนุน
การศึกษาของชาติ โดยให๎ทางราชการสร๎างโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร ในที่ดนิ ของวัด

41

สถานทต่ี ง้ั เลขท่ี 24 แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
10600 (สํานกั งานเขตธนบรุ ี, 2549, น.63)

23. วดั กนั ตทาราราม
วัดกันตทารารามเป็นวัดราษฏร๑ ต้ังอยูํริมคลองบางน้ําชน ด๎านบางกอก

ใหญํ หํางจากปากคลองถึงวัดประมาณ 1 กิโลเมตร อยูํในแขวงตลาดพลู
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สร๎างบนท่ีดิน ซึ่งแตํเดิมเป็นสวนพลูนามวัดนั้น
ได๎รับพระราชทานมาวํา “กันตทาราราม” นั้น สมัยหน่ึงได๎เพี้ยนเป็น
“กันตยาราม” เม่ือปี พ.ศ. 2470 สมัยนั้นบริเวณน้ีเป็นตําบล กันตยาราม
ภายหลังอําเภอบุคคโลยุบจากอําเภอแ บํงเขตไปข้ึนกับอําเภออ่ืน
ตําบลกันตยารามจึงเป็นตําบล
ตลาดพลู ขึ้นกับเขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร สํวนชื่อวํา
กันตทารารามน้ี เพ่ิงร้ือฟื้น
ขึ้นมาใช๎ใหมํ เรื่องชือ่ วดั น้ี เมื่อ
สมั ย สงค รา ม โ ลกค รั้งที่ 2
ก ร ม ไ ป ร ษ ณี ย๑ โ ท ร เ ล ข
ได๎อพยพข๎าราชการ ครุ–ลหุ
ภัณฑ๑ ทง้ั หลายมาหลบภยั อยทํู ีว่ ัดเป็นเวลานานสมัยนนั้ เจา๎ คณะจงั หวัดเคยมา

42

เย่ียมวัดแล๎วให๎ความเห็นวําไมํควรจะใช๎ชื่อ กันตยาราม เพราะไมํมี
ความหมายแปลไมํได๎ความ ควรเปลี่ยนเป็น กันภยาราม เพราะกันภัยให๎
กรมไปรษณีย๑ ได๎รอดพ๎นจากเหยื่อสงคราม ท่ีตัวกรมไปรษณีย๑หรือที่เรียกวํา
ไปรษณีย๑กลางนัน้ ไมปํ ลอดภยั เคยถูกบอมบแ๑ ตํไมเํ ปน็ อนั ตรายมรี ะเบดิ ลกู หน่งึ
ตกลงไปอยูํข๎างตึก ลึกลงหายไปในดินจนบัดนี้ก็ยังอยํู เอาข้ึนมาไมํได๎ชื่อ
กันภยารามนี้ไมํมีลายลักษณ๑อักษรแตํงตั้งแตํอยํางใด จึงไมํเป็นหลักฐานทาง
ราชการและทะเบียนราษฎร๑ ก็ยังคงใช๎กันตยาราม แตํคณะสงฆ๑ใช๎
กันภยาราม ตํอมาได๎พบหลักฐานชิ้นสําคัญคือได๎พบวิสุงคามสีมา ซึ่ง
พระราชทานชื่อไว๎วํา “กันตทาราราม” จากน้ันจึงนําช่ือนี้ข้ึนเป็นหลักฐาน
โดยมีสําเนาวิสงุ คามสีมาประกอบเป็นชื่อพระราชทานไมํควรใช๎ช่ืออ่ืน ตลอด
ขึ้นไปจนถึงกระทรวงและได๎เป็นท่ียอมรับท่ัวกัน จึงได๎ใช๎ช่ือวํา
วัดกันตทาราราม ตั้งแตํน้ันมา สํวนชื่อกันตยาราม ซึ่งไมํทราบท่ีมาจึงสิ้น
สภาพไป

สถานท่ีตั้ง เลขท่ี 282 ถนนวุฒากาศ 24 แขวงตลาดพลู เขตธนบุรี
กรงุ เทพมหานคร 10600 (วดั กนั ตทาราม, 2560)

24.วัดราชวรนิ ทร์
วัดราชวรินทร๑ สร๎างขึ้นเมื่อ

ประมาณ พ.ศ. 2260 สมัยอยุธยา
ตอนปลาย ไมํทราบนามและ
ประวัติผ๎ูสร๎าง เดิมประชาชน
เรียกช่ือวํา "วัดสําเหรํ" เพราะ
ตั้งอยํตู ิดกบั คลองน้าํ สาํ เหรํ และใน
พ้นื ทีแ่ หํงน้ีในอดตี มีตน๎ ไม๎ชนิดหนึ่ง
เกิดข้ึนอยูํเป็นจํานวนมาก คือ ต๎นสําเหรํ พ้ืนที่เป็นทํุงหญ๎ากว๎างหํางไกล
บา๎ นเรอื นของผู๎คนการสัญจร ในอดีตสามารถสัญจรได๎ท้ังทางน้ําและทางบก
ตํอมาในสมัยกรุงธนบุรีได๎เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดราชวรินทร์" สันนิษฐานจาก
นามวัดแล๎วเข๎าใจวํา วัดได๎รับการบูรณปฏิสังขรณ๑ กํอสร๎างเพิ่มเติมขึ้น

43

ผู๎มียศถาบรรดาศักด์ิ ในตําแหนํง พระราชวรินทร๑ ในกรุงธนบุรีถึงกระนั้น
ชาวบ๎านก็มักเรยี กชอื่ วาํ "วดั สําเหรํ" วัดนี้ได๎รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ
ประมาณ พ.ศ. 2270 วัดราชวรินทร๑ หรือวัดสําเหรํ ได๎รับการพัฒนามา
ตามลําดับ ท้ังในสํวนของอุโบสถ กุฏิสงฆ๑ ศาลาการเปรียญ ศาลาบําเพ็ญ
กุศล และวิหารซ่ึงได๎รับการดูแล และการบูรณะ ทั้งจากเจ๎าอาวาสวัด และ
ชาวบา๎ นผเู๎ ป็นชาวพทุ ธพร๎อมด๎วยประชาชนทัว่ ไป

สถานที่ตั้ง เลขที่ 470 ซอย สมเด็จพระเจ๎าตากสิน 21 เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร 10600 (วดั ราชวรินทร๑, 2560)

25.มัสยดิ บางหลวง (กุฏขี าว)
ประวัตคิ วามเป็นมาจาก

ห ลั ก ฐ า น ใ น ห นั ง สื อ
จุฬาลงกรณ๑มหาวิทยาลัย
2543 หน๎า 62 มีแผนท่ีเป็น
ห ลั กฐ า นวํ า "มั ส ยิ ด บ า ง
หลวง" สร๎างข้ึนในสมัย
รัชกาลท่ี 1 ซึ่งครองราชย๑
ระหวําง พ.ศ. 2325-2352
และ มุสลิมสุหนี ได๎ย๎ายข้ึนมาอยํูบนบกในปีพ.ศ.2328 จึงอนุมานวํามัสยิด
บางหลวงสร๎างข้ึนในระยะน้ันคร้ังนั้น มีพํอค๎ามุสลิมในหมํูบ๎านชื่อโต๏ะหยี ได๎
รวบรวมสมัครพรรคพวกทาํ การกํอสร๎างมัสยิดนี้ขึ้นในหมูํบ๎านเป็นอาคารทรง
ไทยกํออฐิ ถอื ปนู ทัง้ หลงั มหี นา๎ บนั ประดบั ดว๎ ยปนู ป้๓นลายศิลปะ 3 ชาติ คือ

1.กรอบสามเหลยี่ มหนา๎ บนั เป็นศลิ ปะปนู ป๓้น "เครอ่ื งลาํ ยอง" ของไทย
2."ก๎านและใบไม๎" ในกรอบสามเหลี่ยมหน๎าบัน เป็นศิลปะปูนป๓้นของ
ฝรั่งเศส
3.ดอกไม๎ เป็น "ดอกเมาตาน" ศิลปะปูนป้๓น ของจีนลายศิลปะ 3 ชาติน้ี
ได๎นํามาประดับที่กรอบประตูและหน๎าตํางทุกบานของมัสยิด ในสํวนตัว
อาคารและผนงั ทเ่ี ปน็ ปูน ทาสีขาว ทัง้ หมด สํวนที่เป็นไมท๎ าสีเขยี ว และเครอ่ื ง

44

บนท้ังหมด เชํน คาน รอด และแผํนเพดาน จะวางไว๎ในที่บังคับโดยไมํตอก
ตะปูสามารถถอดได๎ เป็นแผํน ๆ ทั้งอาคารมีห๎องกลางห๎องเดียว ฝ่าผนังของ
ห๎อง ทําหน๎าที่แทนเสาค้ํายันเครื่องบนท้ังหมด ห๎องนี้เป็นห๎องละหมาด หน๎า
หอ๎ งละหมาดเป็นหน๎ามุขมีพาไลหรอื เฉลียงโดยรอบห๎อง และถึงแมม๎ สั ยดิ น้ีจะ
สร๎างเป็นทรงไทยท้ังหลังแตํผ๎ูสร๎างก็ได๎บรรจุหลักการสําคัญของศาสนาไว๎
เชํน มีเสาค้ํายันชายคาพาไลโดยรอบจํานวน 30 ต๎น (เทํากับบทบัญญัติใน
คัมภีร๑อัลกุรอาน ท่ีมี 30 บท) ห๎องละหมาด มี 1 ประตู 12 หน๎าตําง รวม
13 ชํอง (เทํากับจํานวน รุกํน หรือกฎละหมาด 13 ข๎อ) ตัวอาคารหันหน๎าไป
ทางทิศ ตะวันออก มีบันไดข้ึนทางหน๎ามัสยิด 2 ข๎างประกอบด๎วยศิลปะไทย
"บังข้ัน" มีหน๎ามุขเข๎าห๎องละหมาดพ้ืนห๎องละหมาดปูด๎วยกระเบ้ืองหน๎าวัวสี
แดงนอกน้ันพนื้ ภายนอกปดู ๎วยกระเบื้องปนู ซีเมนต๑ขนาด ของมสั ยดิ กวา๎ ง 12
เมตร ยาว 24 เมตร สูง 16 เมตร นับได๎วําเป็น "มัสยิดกํออิฐถือปูนทรงไทย
แหํงเดียวในโลก" ทํานโต๏ะหยีผ๎ูนําสร๎างมัสยิดนี้ ทํานทราบดีวํา พระเจ๎ามิได๎
กําหนดให๎สรา๎ งมัสยิดเป็นแบบใด การที่มัสยิด ทวั่ ไปมีรูปเป็นโดมก็เป็นศิลปะ
แบบหนึ่ง ดงั นั้นมสั ยิดท่ีทํานได๎สรา๎ งในเมอื งไทยทํานจงึ สรา๎ งในศลิ ปะไทยเป็น
หลัก และประดับด๎วยปูนป้๓นของอีก 2 ชาติ คือ ฝรั่ง และจีน ซึ่งจาก 200
กวาํ ปี ในป๓จจบุ นั เราไดท๎ ราบกันวํา มัสยดิ ทเ่ี มืองจีนกเ็ ป็นศลิ ปะจีนที่เมืองฝร่ัง
ก็เป็นศิลปะฝรั่ง น่ีคือความเข๎าใจในศาสนาท่ีถํองแท๎และกว๎างไกลเพราะ
จนบัดนี้ประจักษ๑แล๎ววํา มุสลิมมีอยํูท่ัวโลกเป็นรัฐมุสลิม 55 ประเทศ และ
เป็นพลเมือง ของชาติตําง ๆ 30 ประเทศ พระเจ๎ากําหนดไว๎ลํวงหน๎าวํา
"ศาสนาของทํานทํานก็นับถือไป ศาสนาของเรา เราก็นับถือของเรา" และ
มนุษย๑ที่จะต๎องมีรูปรํางแตกตํางกันไป อยํูในสํวนตําง ๆ ของโลก มีชาติ
ประเทศของแตํละเผําพันธ๑ุ ชนิดที่มองเห็นก็รู๎ได๎วําเป็นมนุษย๑เผําพันธ๑ุใด
พระเจ๎าจงึ กําหนดลํวงหน๎าไว๎อีกวํา "มุสลิมเกิดที่แผํนดินใด ต๎องพิทักษ๑รักษา
แผํนดินนั้น แม๎จะต๎องสละชีวิต"ดังจะเห็นได๎วํามุสลิมด๎วยกันเอง ซึ่งเผําพันธ๑ุ
แตกตํางกัน เขาก็รบกันเพื่อชาติของเขา เชํน อิหรํานกับอิรักหรืออิรักโจมตี
คูเวต เป็นต๎น ในเรอื่ งรูปแบบของอาคาร มัสยิดแหํงแรกในโลกน้ัน มีรูปแบบ
ทรงส่ีเหลี่ยมเรียบ ๆ ต้ังอยํูท่ีเมืองเมกกะประเทศซาอุดิอารเบียช่ือวํา

45

อัลกะบะห๑เป็นจุดศูนย๑รวมของมัสยิดทั่วโลกมุสลิม ท่ีละหมาดในทุกมัสยิด
ต๎องหันหน๎าไปทางทิศกิบลัต คือที่ มัสยิด อัลกะบะห๑ทั้งส้ิน ขณะเดียวกัน
ทาํ นโตะ๏ พมิ พ๑เสนไดข๎ อซื้อพระตําหนกั วงั หนา๎ เกํามาทาํ เปน็ ศาลามสั ยิดเป็นไม๎
ทั้งหลัง และ เป็นทรงไทยเชํนเดียวกัน เป็นท้ังศาลาเล้ียง และเก็บวัสดุ
ครุภณั ฑ๑ของมสั ยดิ ต้งั อยูํทางทิศเหนือของมสั ยดิ กับได๎ สรา๎ งหอกลอง เป็นหอ
ไม๎ ตั้งอยูํทางทิศใต๎ของมัสยิด มีสุสานประจําหมูํบ๎านในสุสานมีศาลาสําหรับ
จัดศพกํอนฝ๓งเรียกวําศาลาดิน รวมท้ังขุดสระน้ําสําหรับอาบนํ้าละหมาด อยํู
มุมซ๎ายของมัสยิด โดยนําดินในสระมาถมพ้ืนมัสยิด สูงจากพื้นดิน 1 เมตร
เนอื่ งจากในเวลานนั้ หมูํบา๎ น บางหลวงนา้ํ ทํวมเกอื บ 1 เมตร ทุกปี คร้ันตํอมา
ถึงอิหมํามคนท่ี 3 มิมบัรในมัสยิดชํารุดลง (มิมบัรคือแทํน ยืนแสดงธรรม
สํวนตัวซ๎ุมท้ังหมด เรียกวํา เมี๊ยะหรอบ) เจ๎าสัวพุก ซ่ึงเป็นจีนมุสลิม มาได๎
ภรรยาในหมํบู า๎ นได๎ทําการกํอสร๎างมิมบัรและเม๊ียะหรอบให๎ใหมํเป็น ซ๎ุมทรง
วิมาน 3 ยอด กํออิฐถือปูนปิดทอง ลํองชาดปรับกระจกสีทั้งซ๎ุมโดยนํา
ศิลปะปูนป๓้นของ 3 ชาติที่หน๎าบันมาผสมผสาน ประกอบด๎วยตัวซุ๎มเป็น
ลวดลายศิลปะไทย เกีย่ วกระหวัดดว๎ ย กา๎ น ใบ ฝร่งั เศส ประดบั ด๎วย ดอกเมา
ตานของศิลปะจีนตลอดซ๎ุม โดยเฉพาะท่ีเป็นลายไทย เร่ิมตั้งแตํ ฐานลํางของ
ซุ๎ม,ฐานเทา๎ สิงห,๑ หาบพรหมศร,ดอกประจํายามทัง้ 8 เสา, บวั หัวเสา, รัดเกล๎า
,บันแถลงสํวนท่ีเสาซมุ๎ มศี ิลปะลายไทยทั้งปูนป้๓นและประดับ ด๎วยกระจกสี มี
ลายพํุมข๎าวบิณฑ๑, ลายรักร๎อย, และลายแก๎วชิงดวง สํวนด๎านบน เป็นทรง
วิมาน 3 ยอด ผสมผสานด๎วย ลายปูนป้๓นประดับ กระจกสี เป็นก๎านใบ
ฝรั่งเศส และดอกเมาตานของจีน เต็มทั้ง 3 ยอดกระจกสี ท่ีประดับตลอดตัว
ซ๎ุมน้ันมี 6 สี คือ เขียว ขาว แดง เหลือง น้ําเงิน มํวงที่ผนังซุ๎มมีแผํนไม๎
แกะสลักเป็นอักษรอาหรับ นูน ลอย ประดับกระจกสี เป็นข๎อความใน
อัลกุรอาน และอัลฮาดีสที่สําคัญ เป็นช่ือพระเจ๎า พระศาสดา ผ๎ูนําศาสนาที่
สําคญั เละผลบุญการสร๎างมัสยิด ซ๎ุมมิมบัรและเม๊ียะหรอบน้ี มีผ๎ูทรงคุณวุฒิ
ได๎มาชม และให๎ความเห็นวําต๎องเป็นฝีมือของชํางสิบหมูํ เพราะลวดลายปูน
ปน้๓ ปิดทองลอํ งชาด การประดับกระจกเป็นฝีมือชํางช้ันสูงเพราะกระจกสีนั้น
ชํางกระจกต๎องหุงกระจกเอง ตัดเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียก ปูนเทํากัน แล๎ว


Click to View FlipBook Version