วฒั นธรรมและประเพณขี องแต่ละภาค
แต่ละประเทศ
คานา
จดุ ประสงค์
เป็นกิจกรรมท่ีมกี ารปฏิบตั ิสืบเนื่องกนั มา เป็นเอกลกั ษณ์และมคี วามสาคญั ต่อสงั คม เช่น การแต่ง
กาย ภาษา วฒั นธรรม ศาสนา ศลิ ปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อนั เป็นบ่อเกดิ ของวฒั นธรรม
ของสงั คมเช้ือชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจาชาติและถา่ ยทอดกนั มาโดยลาดบั หากประเพณีน้นั ดีอยู่
แลว้ กร็ ักษาไวเ้ ป็นวฒั นธรรมประจาชาติ หากไมด่ ีกแ็ กไ้ ขเปลย่ี นแปลงไปตามกาลเทศะ
ผูจ้ ดั ทา
น.ส บุษา ฝากบน คต.1/1 เลขที่ 15
สารบญั หนา้
เรื่อง 1
2
ความหมายของประเพณี 3
ความหมายของวฒั นธรรม 4
ท่ีมาของวฒั นธรรมไทย
ความสาคญั ของวฒั นธรรม 5
-หนา้ ที่ของวฒั นธรรม 6
เร่ืองน่ารู้ประเพณีและวฒั นธรมไทย
-ฤดเู ก่ียวขา้ ว 7
-เดือนมาฆะ
วนั ตรุษสินปี 8
-รดน้าสงการนต์
วิสาขบูชา 9
-หล่อเทียนพรรษา
เขา้ พรรษา 10
-โกนจุก
อาทร
-ทอดกระฐิน
ลอยกระทง
-ขนมเป้ื อง
วฒั นธรรม 11
ลกั ษณะภูมิประเทศ 12
วฒั นธรรมลาว 13
วฒั นธรรมมาเลเชีย 14
วฒั นธรรมสิงคโปร์ 15
วฒั นธรรมอินโดนีเซีย 16
วฒั นธรรมเวียดนาม 17
วฒั นธรมฟิ ลิปปิ นส์ 18
ประเพณีไทย-สากล 19
-ข้ึนปี ใหม่
โอลี่ เฟลฟิ วลั 20
วินเทอร์ ไลทื เฟสฟิ วลั 21
เวนิสคาร์นิวลั 22
Up HelluAaFire 23
เทศกาลปามะเขือเทศ 24
เทศกาลบอลลนู นานาชาติ 25
เทศกาลบิร์นนิ่งแบน 26
เทศกาลการ์บา 27
เทศกาลพระอาทิตย์ 28
เทศกาลหิมะที่ซปั โปะโระ 29
เทศกาลชา้ ง 30
เทศกาลโครไฟ 31
เทศกาลอฐู ูเมืองพชุ คาร์ย 32
วนั แห่งความตาย 33
เทศกาลน้าแขง็ เมืองฮาร์บิน 34
วฒั นธรรมและประเพณีของแตล่ ะภาค 35
-ภาคกลาง 36
ภาคอีสาน 37
ภาคเหนือ 38
ภาคใต้ 39
ประเพณียเ่ี ป็ง จ.เชียงใหม่ 40
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ จ.สุโขทยั 41
ประเพณีไหลเรือไฟและงานกาชาด จ.นครพนม 42
ประเพณีแห่ปราสาทผ้งึ และแข่งขนั เรือยาว จ.สกลนคร 43
กินเจหาดใหญ่ จ.สงขลา 44
ไฟประดบั เมืองโตเกียว 45
เทศกาลแห่งความตาย 46
เทศกาล ฮอ็ กมานี 47
ระนิวยอร์ก 48
กินเจ 49
เทศกาลบ้งั ไฟพญานาค
เทศกาลโตะ๊ จีนลิง 50
เทศกาลร่มบอ่ สร้างลตั กรรมกาแพง 51
เทศกาลผีตาโข 52
ประเพณีสงการนต์ 53
ฟลอริเอด – ออสเตรเลีย 54
55
ชิมบรู ิยาดา – บอสเนีย 56
โนรูส – เอเชียกลาง 57
วนั วสนั ตวิษุวตั ในเตโอตอิ วั กนั – เมก็ ซิโก 58
โฮลี – อินเดียตอนเหนือ 59
ประเพณีกล้ิงไข่วนั อีสเตอร์ – สหรัฐอเมริกา 60
อา้ งอิง
ความหมายของประเพณี
พระยาอนุมานราชธน ไดใ้ ห้ความหมายของคาว่าประเพณีไวว้ า่ ประเพณี คอื ความ
ประพฤติที่ชนหมูห่ น่ึงอยใู่ นที่แห่งหน่ึงถือเป็นแบบแผนกนั มาอยา่ งเดียวกนั และสืบตอ่ กนั มา
นาน ถา้ ใครในหมูป่ ระพฤติออกนอกแบบก็ผดิ ประเพณี หรือผดิ จารีตประเพณี [1]
คาว่าประเพณี ตามพจนานุกรมฉบบั บณั ฑิตยสถาน ไดก้ าหนดความหมายประเพณีไวว้ ่า
ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซ่ึงสามารถแยกคาตา่ งๆ ออกไดเ้ ป็น ขนบ มีความหมายวา่ ระเบียบ
แบบอยา่ ง ธรรมเนียมมีความหมายว่า ท่ีนิยมใชก้ นั มา และเม่ือนามารวมกนั แลว้ กม็ ีความหมายวา่
ความประพฤติท่ีคนส่วนใหญ่ ยดึ ถอื เป็นแบบแผน และไดท้ าการปฏิบตั ิสืบตอ่ กนั มา จนเป็น
ตน้ แบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปไดป้ ระพฤติปฏิบตั ิตามกนั ตอ่ ไป
โดยสรุปแลว้ ประเพณี หมายถึง ระเบียบแบบแผนท่ีกาหนดพฤติกรรมในสถานการณ์
ต่างๆ ที่คนในสงั คมยดึ ถือปฏิบตั ิสืบกนั มา ถา้ คนใดในสงั คมน้นั ๆฝ่ าฝื นมกั ถกู ตาหนิจากสงั คม
ลกั ษณะประเพณีในสงั คมระดบั ประเทศชาติ มีท้งั ประสมกลมกลืนเป็นอยา่ งเดียวกนั และมีผิด
แปลกกนั ไปบา้ งตามความนิยมเฉพาะทอ้ งถิ่น แตโ่ ดยมากยอ่ มมีจุดประสงค์ และวิธีการปฏิบตั ิ
เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั มีเฉพาะส่วนปลีกยอ่ ยท่ีเสริมเติมแตง่ หรือตดั ทอนไปในแต่ละทอ้ งถ่ิน
สาหรับประเพณีไทยมกั มีความเกี่ยวขอ้ งกบั ความเชื่อในพระพทุ ธศาสนาและพราหมณ์มาแต่
โบราณ
-1-
ความหมายของวฒั นธรรม
วฒั นธรรม โดยทว่ั ไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษยแ์ ละโครงสร้างเชิงสญั ลกั ษณ์ท่ี
ทาให้กิจกรรมน้นั เดน่ ชดั และมีความสาคญั วิถีการดาเนินชีวิต ซ่ึงเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนใน
หม่ผู ลิตสร้างข้ึน ดว้ ยการเรียนรู้จากกนั และกนั และร่วมใชอ้ ยใู่ นหมูพ่ วกของตน ซ่ึงสามารถ
เปลี่ยนแปลงไดต้ ามยคุ สมยั และ ความเหมาะสม แต่ถา้ เป็นในวิชาหนา้ ที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่
มนุษย์ เปล่ียนแปลงเพ่ือความเจริญงอกงาม และสืบต่อกนั มา
วฒั นธรรมส่วนหน่ึงสามารถแสดงออก
ผา่ น ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แมบ้ างคร้ังอาจมีผู้
กลา่ วว่าวฒั นธรรมคือเรื่องท่ีวา่ ดว้ ยการบริโภคและสินคา้ บริโภค เช่น วฒั นธรรม
ระดบั สูง วฒั นธรรมระดบั ต่า วฒั นธรรมพ้ืนบา้ น หรือวฒั นธรรมนิยม เป็นตน้ แต่นกั
มานุษยวิทยาโดยทว่ั ไปมกั กลา่ วถึงวฒั นธรรมว่า มิไดเ้ ป็นเพียงสินคา้ บริโภค แตห่ มายรวมถึง
กระบวนการในการผลิตสินคา้ และการใหค้ วามหมายแก่สินคา้ น้นั ๆ ดว้ ย ท้งั ยงั รวมไปถึง
ความสมั พนั ธ์ทางสงั คมและแนวการปฏิบตั ิที่ทาใหว้ ตั ถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่
ดว้ ยกนั ในสายตาของนกั มานุษยวิทยาจึงรวมไปถงึ เทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมท้งั ระบบ
ศีลธรรม
วฒั นธรรมในภูมิภาคตา่ ง ๆ อาจไดร้ ับอิทธิพลจากการติดตอ่ กบั ภมู ิภาคอื่น เชน่ การเป็น
อาณานิคม การคา้ ขาย การยา้ ยถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกท้งั ระบบความเชื่อ ไม่
ว่าจะเป็นเร่ืองศาสนามีบทบาทในวฒั นธรรมในประวตั ิศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอด
-2-
ทม่ี าของวฒั นธรรมไทย
ส่ิงแวดลอ้ มทางภมู ิศาสตร์ เน่ืองจากสงั คมไทยมีลกั ษณะทางดา้ นภมู ิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่ม
และอุดมสมบูรณ์ดว้ ยแม่น้าลาคลอง คนไทยไดใ้ ชน้ ้าในแม่น้า ลาคลอง ในการเกษตรกรรมและ
การอาบ กิน เพราะฉะน้นั เม่ือถึงเวลาหนา้ น้า คือ เพญ็ เดือน 11 และเพญ็ เดือน 12 ซ่ึงอยใู่ นหว้ ง
เวลาปลายเดือนตุลาคมและปลายเดือนพฤศจิกายน อนั เป็นระยะเวลา ท่ี น้าไหลหลากมาจากทาง
ภาคเหนือของประเทศ คนไทยจึงจดั ทากระทงพร้อม ดว้ ยธูปเทียนไปลอย ในแมน่ ้าลาคลอง เพื่อ
เป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และขอพรจากแม่คงคา เพราะไดอ้ าศยั น้ากิน น้าใช้ ทาใหเ้ กิด
"ประเพณีลอยกระทง" นอกจากน้นั ยงั มีประเพณีอ่ืน ๆ อีกในส่วนที่เกี่ยวกบั แม่น้าลาคลอง เช่น
ประเพณีแขง่ เรือ
ระบบการเกษตรกรรม สงั คมไทยเป็นสงั คมเกษตรกรรม (agrarian society) กลา่ วคือ
ประชากรร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงไดว้ ่า คนไทยส่วนใหญ่มี
วิถีชีวิตผกู พนั กบั ระบบการเกษตรกรรม และระบบการเกษตรกรรมน้ีเอง ไดเ้ ป็น ท่ีมาของ
วฒั นธรรมไทยหลายประการ เชน่ ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก และการละเล่น เตน้ การา
เคียว เป็นตน้
คา่ นิยม (Values) กล่าวไดว้ า่ "คา่ นิยม" มีความเก่ียวพนั กบั วฒั นธรรมอยา่ งใกลช้ ิด และ
"ค่านิยม" บางอยา่ งไดก้ ลายมาเป็น "แกน" ของวฒั นธรรมไทยกล่าวคือ วิถีชีวิตของคนไทยโดย
ส่วนรวมมีเอกลกั ษณ์ซ่ึงแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ
การเผยแพร่ทางวฒั นธรรม (Cultural diffusion) วฒั นธรรมทาง หน่ึง ยอ่ ม แตกต่างไปจาก
วฒั นธรรมทางสงั คมอ่ืน ๆ ท้งั น้ีเพราะวฒั นธรรมมิไดเ้ กิดข้ึนมาใน ภาชนะ ที่ถกู ผนึกตราบเทา่ ท่ี
มนุษย์ เช่น นกั ท่องเที่ยว พอ่ คา้ ทหาร หมอสอนศาสนา และผอู้ พยพยงั คง ยา้ ยถิ่นที่อยจู่ ากแห่ง
หน่ึงไปยงั แห่งอ่ืน ๆ เขาเหล่าน้นั มกั นาวฒั นธรรมของพวกเขาติดตวั ไปดว้ ย เสมอ ซ่ึงถือไดว้ า่
เป็นการเผยแพร่ทางวฒั นธรรม เป็นไปไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วและกวา้ งขวาง ประจกั ษ์ พยาใน
เร่ืองน้ีจะเห็นไดว้ า่ น้าอดั ลมช่ือตา่ ง ๆ มีอยทู่ วั่ ทกุ มุมโลก
-3-
ความสาคญั ของวฒั นธรรม
วฒั นธรรมเป็นเร่ืองท่ีสาคญั ยิ่งในความเป็นชาติ ชาติ
ใดท่ีไร้เสียซ่ึงวฒั นธรรมอนั เป็นของตนเองแลว้ ชาติน้นั จะคงความเป็นชาติอยไู่ มไ่ ด้ ชาติที่ไร้
วฒั นธรรม แมจ้ ะเป็นผพู้ ิชิตในการสงคราม แตใ่ นท่ีสุดก็จะเป็นผถู้ กู พิชิตในดา้ นวฒั นธรรม ซ่ึง
นบั ว่าเป็นการถูกพิชิตอยา่ งราบคาบและส้ินเชิง ท้งั น้ีเพราะผทู้ ่ีถกู พิชิตในทางวฒั นธรรมน้นั จะ
ไม่รู้ตวั เลยวา่ ตนไดถ้ กู พิชิต เช่น พวกตาดท่ีพิชิตจีนได้ และต้งั ราชวงศห์ งวนข้ึนปกครองจีน แต่
ในท่ีสุดถูกชาวจีนซ่ึงมีวฒั นธรรมสูงกว่ากลืนจนเป็นชาวจีนไปหมดสิ้น
หน้าทข่ี องวฒั นธรรม
วฒั นธรรมเป็นตวั กาหนดรูปแบบของสถาบนั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกต่าง กนั ไปในแต่ละสงั คม เช่น
วฒั นธรรมอิสลามอนุญาตใหช้ าย (ท่ีมีความสามารถเล้ียงดแู ละ ให้ความ ยตุ ิธรรมแก่ภรรยา) มี
ภรรยาไดม้ ากกว่า 1 คน โดยไม่เกิด 4 คน แตห่ า้ มสมสู่ ระหว่าง เพศเดียว กนั อยา่ งเดด็ ขาด
ในขณะที่ศาสนาอื่นอนุญาตใหช้ ายมีภรรยาไดเ้ พียง 1 คน แตไ่ ม่มีบญั ญตั ิหา้ ม ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งเพศเดียวกนั ฉะน้นั รูปแบบของสถาบนั ครอบครัวจึงอาจแตกต่างกนั ไป
วฒั นธรรมเป็นสิ่งท่ีกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ พฤติกรรมของคน จะเป็นเชน่ ไรกข็ ้ึนอยกู่ บั
วฒั นธรรมของกลุ่มสงั คมน้นั ๆ เช่น วฒั นธรรมในการพบปะทกั ทายของ ไทย ใชใ้ นการสวสั ดี
ของชาวตะวนั ตกทว่ั ไปใชใ้ นการสมั ผสั มือ ของชาวทิเบตใชก้ ารแลบล้ิน ของชาว มุสลิมใชก้ าร
กล่าวสลาม เป็นตน้
วฒั นธรรมเป็นส่ิงท่ีควบคุมสงั คม สร้างความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ให้แก่สงั คม เพราะใน
วฒั นธรรมจะมีท้งั ความศรัทธา ความเช่ือ ค่านิยม บรรทดั ฐาน เป็นตน้ ตลอดจน ผลตอบแทนใน
การปฏิบตั ิและบทลงโทษเมื่อฝ่ าฝืน
-4-
เรื่องน่ารู้ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย
มกราคม ฤดูเกบ็ เก่ียว
เดือนยเี่ มือ่ การเกบ็ เกี่ยวขา้ วในนาเเละนวดขา้ วเสร็จส้ินลง เกษตรกรชาวนาซ่ึงทางานหนกั เพราะตอ้ ง
ทางานตรากตรา กลางเเดดฝนอยใู่ นโคลนตมเป็นเวลานานๆ เมอ่ื ไถหว่านปักดา จนตน้ ขา้ วงอกงามเติบโต
เเละออกรวง ไดเ้ ก็บเก่ียวพชื ผลที่ลงเเรงไว้ เมอ่ื นวดขา้ วเเละเก็บขา้ วข้ึนใส่ยงุ้ ฉางเรียบร้อยเเลว้ เสร็จสิ้น การ
ทางานอีกคร้ังหน่ึง ก็ร่วมกนั ทาบุญใหท้ านเพื่อความเป็นสิริมงคล เเก่ตนเอง ครอบครัวเเละ หม่บู า้ น
กมุ ภาพนั ธ์ เดือนมาฆะ
"มาฆะ" เเปลวา่ เดือน ๓ ทางจนั ทรคติเรียกว่า มาฆมาส หรือ มาฆบูชาจาตรุ งคสนั นิบาต วนั
มาฆบูชากาหนดตรงกบั วนั เพญ็ เดือน ๓ ของทกุ ๆปี พระราชพิธีกุศลวนั มาฆบูชาน้ี เกิดเมื่อคร้ัง
รัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี ๔ ทรงมีพระราชดาริว่า วนั เพญ็
กลางเดอื น ๓ เป็นวนั พระจนั ทร์เสวยมาฆฟกษ์ มีเหตุการณ์สาคญั ยิง่ จึงไดพ้ ระกรุณาโปรดเกลา้
-5-
มนี าคม วนั ตรุษสิ้นปี
พิธีทาบญุ วนั ตรุษเดือน ๔ หรือประเพณีการทาบญุ วนั ตรุษสิ้นปี เริ่มต้งั เเต่วนั เเรม ๑๔ ค่า เดือน ๔
ไปจนถึง วนั ข้ึน ๑ ค่า เดือน ๕ รวม ๓ วนั ตรุษน้ีบอกกาหนดส้ินปี มีการทาบญุ ใหท้ าน เพื่อระลกึ
ถึงสงั ขารที่ล่วงมา ดว้ ยดีอีกปี เเลว้ มีการยิงปื นใหญ่ จุดประทดั ดอกไมไ้ ฟ ตีกลอง เคาะระฆงั
เพ่ือขบั ไล่ สิ่งชว่ั ร้ายต่างๆ ออกจากเมือง ชาวบา้ นต่างก็ทาความสะอาด เคหะสถาน เพื่อเตรียม
ตวั รับปี ใหม่ ที่กาลงั จะมาถึง
เมษายน รดนา้ วนั สงกรานต์
ในวนั เเละเวลาท่ีพระอาทิตยย์ กข้ึนสู่ราศีเมษ เฉพาะในเดือน ๕ เรียกว่าวนั
มหาสงกรานต์ เพราะถือว่าเป็นวนั เเละ เวลาต้งั ตน้ ปี ใหมค่ ือ วนั ท่ี ๑๓ เป็นวนั ตน้ คือวนั
สงกรานต์ วนั ท่ี ๑๔ วนั กลาง คือวนั เนา เเละ วนั ที่ ๑๕ วนั สุดทา้ ย คือวนั เถลิงศก วนั สงกรานต์
เป็นประเพณีท่ีผคู้ นมีความ สนุกสนานกนั หลงั งานเกบ็ เก่ียววา่ งเวน้ จากการทาไร่ทานา เป็นเวลา
ที่ ชาวเกษตรกร ไดพ้ กั ผอ่ น เวลาที่จะหาความสนุกใส่ตน ก่อนที่เวลา ท่ีจะตอ้ งไปทาการ
เพาะปลกู อีกคร้งั ผคู้ นสาดน้าใส่กนั ซ่ึงหมายถึงอวยพร ให้เเก่กนั เเละขอให้โชคดี ในปี ใหม่ที่
จะยา่ งกลายเขา้ มา
-6-
พฤษภาคม วสิ าขบูชา
"วิสาขะ" เเปลวา่ เดือนที่ ๖ หรือ เรียกวา่ "วิสาขมาส" ในรัชกาลที่สอง พระบาทสมเดจ็
พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั หรงโปรดเกลา้ ให้ทาพิธี ถวายพระพร เน่ืองในวนั วิสาขบูชา เป็นคร้ัง
เเรกเม่ือ พศ 2360 (ในราชวงศร์ ัตนโ์ กสินทร์ตอนตน้ ), ซ่ึงเป็นประเพณีนิยมของชาวไทย มาคร้ัง
ต้งั เเตใ่ นสมยั กรุงสุโขทยั ในวนั เพญ็ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ น้ี ชาวบา้ นร่วมกนั ประดบั ตกเเตง่
บา้ นเรือน เเละ วดั วาอาราม ดว้ ยโคมไฟ พูก่ ลิ่น พวงดอกไมส้ ด พวงดอกไมเ้ เหง้ เเละจุดเทียน
สว่างไสว
มถิ ุนายน หล่อเทยี นพรรษา
กอ่ นเขา้ พรรษา ๑ เดือน ประมาณเดือน ๗ ชาวบา้ นจดั การเรี่ยไรข้ึผ้ึง เเละ ร่วมกนั ทา
พิธีหลอ่ เทียน เเละ เเกะสลกั ปิ ดทองอยา่ งสวยงาม เเห่ขบวน เทียนประกวดเเข่งขนั กนั
สนุกสนาน ในสมยั หรุงตั นโกสินทร์ มีพระราชพิธี ถวายเทยี นพรรษาไปตามพระอารามหลวงที่
สาคญั ๆ ซ่ึงไดป้ ฏิบตั ิสืบทอด มาจนปัจจุบนั เเละ เนื่องจากเป็นเดือนที่มีผลไมต้ ่างๆ ออกผล
บริบูรณ์มาก จึงจดั ให้มีงานบญุ สลากภตั ไปถงึ วันเขา้ พรรษา
-7-
กรกฎาคม เข้าพรรษา
พรรษา เเปลว่า ฝน หรือ ฤดฝู น ฤดเู ขา้ พรรษาเร่ิมตน้ เเต่วนั เเรม ๑ ค่า เดือน ๘ ราวกลางเดือน
กรกฎาคมของทกุ ๆปี จนถึงวนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ รวมเป็นเวลา ๓ เดือน เรียกวา่ ไตรมาส
ตลอดเวลาเขา้ พรรษาน้ี ชาวบา้ น ต้งั ใจละเวน้ อบายมุขท้งั ปวง ทาจิตใจใหผ้ อ่ งเเผว้ เยอื กเยน็ เป็น
การสร้าง กุศล ซ่ึงพระราชพิธีกุศล เขา้ พรรษาถือ เป็นพระราชพิธีเเห่งราชสานกั มาต้งั เเต่คร้งั กรุง
สุโขทยั เป็นราชธานี สืบเน่ืองมาจนปัจจุบนั
สิงหาคม โกนจุก
"โกนจุก" เป็นประเพณีไทยเเต่โบราณ เม่ือเดก็ อายคุ รบเดือนไดท้ าขวญั เดือน เเละโกนผม
ไฟ เม่ือผมมีผมข้ึนใหม่กจ็ ะเอารัดจุกไวต้ รงกลางศรีษะ ทาท้งั เดก็ หญิงเเละชาย, ซ่ึงมีความหมาย
ว่าเดก็ ท่ีมีผมจุกน้นั เป็นผบู้ ริสุทธ์ิ ไร้เดียงสา ก็จะไดร้ ับความเมตตากรุณาตามสภาวะที่เป็นเดก็
เมื่อเดก็ ผหู้ ญิงอายไุ ด้ ๑๑ ปี เเละ เดก็ ผชู้ าย ๑๓ ปี บิดามารดากจ็ ะจดั งาน เเละตดั ผมจุกออก หรือ
ปล่อยผมลงมา เรียกว่า พิธีโกนจุก ซ่ึงหมายความ วา่ เดก็ น้นั ไดเ้ ติบโตยา่ งเขา้ สู่วยั ผใู้ หญ่เเลว้
-8-
กนั ยายน สารท
"สารท" เเปลว่า ฤดใู บไมร้ ่วง ประเพณีทาบุญในวนั สารทน้ี กาหนดตรงส้ินเดือน ๑๐
ชาวบา้ นจะนาโภชนาหาร ทานวตั ถใุ นพิธี เช่น ขา้ วมทุปายาท ขา้ วยาคู ขา้ วทิพย์ กระยาสารท
เเละ กลว้ ยไข่ ซ่ึงพอดเี ป็นหนา้ กลว้ ยไขส่ ุก ไปตกั บาตรธารณะ เสร็จเเลว้ กจ็ ะเเจกจ่าย ใหป้ ัน
กระยาสารททเี่ หลือเเก่เพ่อื นบา้ น พิธีสารทเป็นระยะท่ีตน้ ขา้ วออกรวง เป็นน้านมจึงจดั ทาพิธีข้ึน
เพือเป็นการรับขวญั รวงขา้ ว เเละ เป็นฤกษสิริมงคล เเก่ตน้ ขา้ วในนาอีกดว้ ย
ขา้ วมทุปายาท ซ่ึงทาจากขา้ วท่ีเป็นน้านมขา้ งใน ซ่ึงจาไดจ้ ากการเรียนวิชา ศาสนาพทุ ธ
พระพุทธเจา้ เสวยขา้ วมทปุ ายาท ก่อนท่ีจะตรัสรู้
ตุลาคม เทศกาลทอดกระฐิน
ประเพณีทอดกระฐินน้ีไดถ้ ือปฏิบตั ิมาต้งั เเต่สมยั กรุงสุโขทยั เเละสืบทอด มาถึงปัจจุบนั
ระยะเวลาที่ใหม้ ีการทอดกระฐิน คือ ต้งั เเตว่ นั เเรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ไปจนถึงวนั ข้ึน ๑๕ ค่าเดือน
๑๒ เทศกาลทอดกระฐินเป็นงานรื่นเริง ของชาวบา้ นในโอกาสท่ีจะไดท้ าบุญควบคู่ไปกบั ความ
สนุกสนาน ดว้ ยเป็นระยะท่ีหวา่ น เเละ ดาขา้ วเเลว้ อกี ไมช่ า้ กจ็ ะเกบ็ ได้ จึงเป็นชว่ งที่ จะได้
พกั ผอ่ นก่อนงานเกบ็ เกี่ยว การเลือกไปทอดกระฐินที่ต่างถิ่น เพือเป็นการท่องเที่ยว เย่ียมเยียน
เเละ เช่ือมสมั พนั ธ์ระหว่างกนั ดว้ ย ซ่ึงเปิ ดโอกาศให้ผเู้ ขา้ ร่วมได้ ไปเปิ ดหูเปิ ดตา ไดเ้ รียนรู้จกั คน
ใหมๆ่ เเละ ไดเ้ ท่ียวในสถานท่ีอ่ืนดว้ ย
-9-
พฤศจิกายน ลอยกระทง
ลอยกระทง คือวนั เพญ็ เดือน ๑๒ ฤดนู ้าหลาก อากาศปลอดโปร่งเเจ่มใส ดว้ ยหมดฤดู
ฝนเเลว้ ชาวบา้ นไดป้ ระดิษฐป์ ระดอยกระทงดว้ ยใบตอง ตกเเตง่ ดว้ ยดอกไม้ เมื่อพระอาทิตยต์ ก
ดิน ผคู้ นก็เเต่งกายสวยงาม เเละนากระทงออกไปดว้ ย จุดธูปเทียนในกระทงสว่างสวยงาม ลอย
ไปตามลาน้าอยา่ งสวยงาม เพ่ือเป็นการขอขมาตอ่ พระเเมค่ งคา จุดประสงคข์ องประเพณีลอย
กระทงก็คือ เปิ ดโอกาศให้ประชาชนไดน้ ึกถึง พระคณุ ของน้า เเละขออภยั พระเเม่คงคาที่ตนได้
ใชน้ ้ามาตลอด ในการดารงชีพของตน ในช่วงน้ีเป็นช่วงที่อุดมสมบรู ณ์ หนา้ ขา้ ว หนา้ ปลา จะ
เห็นผคู้ นส่วนใหญ่พูดกนั วา่ ในน้ามีปลาในนามีขา้ ว หรือ มีขา้ วในนา มีปลาในหนอง ชาวบา้ น
ควรจะทาบุญใหท้ าน เเละพกั ผอ่ น สนุกสนาน กนั เสียทีหน่ึง
ธันวาคม ตรุษ เลยี้ ง ขนมเบื้อง
ขนมเบ้ือง คืออาหารชนิดหน่ึงท่ีมีใส่ใสด้ ว้ ยกุง้ พิธีเล้ียงขนมเบ้ือง เดอื นอา้ ย นบั เป็นตรุษ
อยา่ งหน่ึง เฉพาะตอ้ งเป็น หนา้ หนาว ตรุษเล้ียงขนมเบ้ืองจะตอ้ งเป็นฤดูหนาว เป็น เวลา ที่น้าลด
มีกงุ้ ชุกชมุ เเละ ยงั เป็นฤดูทกี่ งุ้ มีมนั มากน่า จะทาขนมเบ้ืองไสก้ ุง้ เเตก่ ่อนน้นั การละเลงขนม
เบ้ืองน้ีนบั เป็นคณุ สมบตั ิท่ีไดร้ ับความนิยมชมเชยดว้ ย อยา่ งหน่ึงของหญิงสาวในความสามารถ
ถึงในสมยั รัชกาลที่ ๔ ยงั ถือกนั ว่าหญิงใดละเลงขนมเบ้ืองได้ จีบขนมจีบได้ ปอกมะปรางริ้วได้
จีบใบพลไู ดย้ าว คนน้นั มีค่าถึง ๑๐ ชง่ั ในสมยั น้นั ๑๐ ชง่ั = 800 บาท, ซ่ึงหมายความวา่ ผูห้ ญิง
คนน้นั มีคุญสมบตั ิที่ดี
-10-
วฒั นธรรม
หมายถึง ลกั ษณะที่แสดงถงึ ความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ ความกา้ วหนา้ ของ
ประเทศชาติ และศีลธรรมอนั ดีของประชาชน หรือ ทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งที่มนุษยค์ ิด และสร้างข้ึนเพื่อ
การดารงชีวิต
วฒั นธรรมไทย จึงหมายถึง ทกุ ส่ิงอยา่ งทคี่ นไทยคิด และสร้างข้ึน เพ่ือการดารงชีวิตร่วมกนั เป็น
สิ่งท่ีมีระเบียบแบบแผน มีรูปแบบเป็น ท่ียอมรับกนั ภายในสงั คมไทย และเป็นสิ่งท่ีเปล่ียนแปลง
ไดอ้ ยตู่ ลอด ตามเวลาและสถานท่ี
วฒั นธรรมไทยในภาคตา่ งๆ ของไทย อาจแบง่ เป็นสาขาใหญๆ่ ได้ ดงั น้ี
1.มรดกทางวฒั นธรรม คือ หลกั ฐานเกี่ยวกบั การดารงชีพของบรรพบุรุษในอดีต ไดแ้ ก่
โบราณสถาน โบราณวตั ถุ และเอกสารตานาน
2.วฒั นธรรมทว่ั ไป คือ เอกลกั ษณ์และรูปแบบในการดารงชีพของภาคน้นั ๆ เช่น การทามาหากิน
ความเป็นอยู่ ภาษา กิริยามารยาท ศาสนาและความเช่ือต่างๆ ศิลปกรรม รูปแบบทางสงั คม เชน่
ครอบครัว เป็นตน้
3. ภมู ิปัญหาและเทคโนโลยี คือ ความรู้ความสามารถของคนในสงั คม ท้งั ดา้ นการประดิษฐ์
คิดคน้ สร้างสรรค์ เพื่อใหค้ ณุ ภาพชีวิตดีข้ึน เชน่ ศิลปะการตอ่ สู้ การใชส้ มุนไพรรักษาโรค เพลง
พ้ืนบา้ น หรือการประดิษฐเ์ ครื่องมือเครื่องใช้ เป็นตน้
ความเหมือนหรือความแตกต่างของวฒั นธรรมในแตล่ ะภาคของประเทศไทย ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั
หลายประการ เช่น
-11-
ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ
อิทธิพลเรื่องความเชื่อของแตล่ ะทอ้ งถิ่น
แตไ่ มว่ ่าเป็นวฒั นธรรมของภาคใด ลว้ นเป็นสิ่งท่ีบรรพบรุ ุษคิดคน้ และถ่ายทอดเป็นมรดก เพ่ือ
คณุ ภาพ ชีวิตท่ีดีข้ึน วฒั นธรรมอาจเปลี่ยนแปลงไปไดต้ ามความเหมาะสมของยคุ สมยั แต่
อยา่ งไรกต็ ามเราควร อนุรักษว์ ฒั นธรรมท่ีดีงามเอาไว้ พร้อมกบั การเลอื กสรรวฒั นธรรมตา่ ง ชาติ
ท่ีหลง่ั ไหลเขา้ มาในดินแดนประเทศไทยในปัจจุบนั
วฒั นธรรมเป็นส่ิงที่เกี่ยวขอ้ งกบั ภูมิปัญญา เพราะวา่ ภมู ิปัญญา หมายถึงความรู้ ทกั ษะผลงานท่ี
มนุษยป์ ระดิษฐค์ ิดคน้ หรือดดั แปลง ข้ึน เพ่ือดารงชีวิตและถา่ ยทอดความรู้สู่คนรุ่นต่อมา
วฒั นธรรมและ ภูมิปัญญาเป็นส่ิงท่ีเปลี่ยนแปลงได้ ถา้ วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาใด ไมเ่ หมาะสม
กบั สภาพสงั คมกบั ดารงชีวิตในขณะน้นั ก็อาจไม่ไดร้ ับ การปฏิบตั ิหรือสูญหายไป
วฒั นธรรมมีพ้ืนฐานจากส่ิงแวดลอ้ ม ท้งั สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง
ขนบธรรมเนียมประเพณี และศาสนา ความเชื่อ ซ่ึงสะทอ้ นใหเ้ ห็นวิถีชีวิตของผคู้ นในแต่ละ
ภมู ิภาค วฒั น ธรรมที่เก่ียวขอ้ งกบั การดารงชีวิตมีท้งั วฒั นธรรมดา้ นวตั ถุ เช่น สิ่ง ของเคร่ืองใช้
บา้ นเรือน การแตง่ กาย อาหารการกิน ภาษาและวฒั น ธรรมดา้ นจิตใจ เชน่ ความเชื่อแลศาสนา
วฒั นธรรมที่เก่ียวกบั การดารงชีวิตของคนในภูมิภาคตา่ งๆ มีท้งั ที่เหมือนกนั คลา้ ยคลึงกนั และ
แตกต่างกนั ซ่ึงเกิดจากปัจจยั ทางภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ การประกอบอาชีพ ความเช่ือ การนบั ถือ
ศาสนาการรับวฒั นธรรม จากต่างถ่ิน การสร้างสมวฒั นธรรมในทอ้ งถิ่น ซ่ึงเราควรเรียนรู้ถงึ
วฒั นธรรมในทอ้ งถ่ินของเรา เพื่อใหเ้ กิด ความรัก ความภาคภูมิใจของตนเอง และช่วยกนั
อนุรักษว์ ฒั นธรรมท่ีดีงามเอาไว้ รวมท้งั เรียนรู้ถึงความแตก ต่างทางวฒั นธรรม และการ
ดารงชีวิตของผคู้ นในภูมิภาคต่างๆ เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั
-12-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องลาว
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณของลาววฒั นธรรมของลาวจะมีความคลา้ ยคลงึ กบั
วฒั นธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก ดา้ นดนตรีแคน ถือเป็นเครื่องดนตรีประจาชาติ โดยมี
วงดนตรีคือ วงหมอลา และมีราวงบดั สลบ (Budsiob) ซ่ึงเป็นการเตน้ ที่มีทา่ ตามจงั หวะเพลง โดย
จะเตน้ พร้อมกนั ไปอยา่ งเป็นระเบียบถือเป็นการร่วมสนุกกนั ของชาวลาวใน งานมงคล
ต่างๆ การตกั บาตรขา้ วเหนียว ถือเป็นจุดเดน่ ของเมืองหลวงพระบางซ่ึงโดยปกติแลว้ นิยมใส่
บาตรดว้ ยขา้ วเหนียวเพียงอยา่ งเดียว เพราะเมื่อ ถึงเวลาฉนั ชาวบา้ นจะยกสารับกบั ขา้ วไปถวายท่ี
วดั เรียกว่า “ถวายจงั หนั ” โดยเวลาใส่บาตรจะนง่ั คุกเข่าและผหู้ ญิง ตอ้ งนุ่งซ่ิน ส่วนผชู้ ายนุ่ง
กางเกงขายาว และมีผา้ พาดไหล่ไวส้ าหรับเป็นผา้ กราบพระเหมือนกนั
-13-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องมาเลเซีย
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของมาเลเซีย ดว้ ยเหตุที่มีหลายชนชาติอยรู่ วมกนั ทาให้
ดินแดนแห่งน้ีเตม็ ไปดว้ ยวฒั นธรรมที่แตกตา่ งหลากหลายผสมผสานกนั ซ่ึงมี ท้งั การผสาน
วฒั นธรรมจากชนชาติอื่น และการรักษาวฒั นธรรมประเพณีของชนแตล่ ะกลมุ่ ในแต่ละพ้ืนที่ *
การราซาบิน (Zabin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซ่ึงเป็นศิลปะพ้ืนเมืองของชาวมาเลเซีย โดย
เป็นการ ฟ้อนราท่ีไดร้ ับอิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผแู้ สดงเป็นหญิงชายจานวน 6
คู่ เตน้ ตามจงั หวะของกีตาร์ แบบอาระเบียน และกลองเลก็ สองหนา้ ท่ีบรรเลงจากชา้ ไปเร็ว*
เทศกาลทาเดา คาอามาตนั (Tadau Kaamatan) เป็นเทศกาลประจาปี ในรัฐซาบาห์ จดั ในช่วงสิ้น
เดือน พฤษภาคม ซ่ึงเป็นช่วงสิ้นสุดของฤดกู ารเกบ็ เก่ียวขา้ วและเริ่มฤดกู าลใหม่ โดยจะมี
พิธีกรรมตามความเช่ือในการ ทาเกษตร และมีการแสดงระบาพ้ืนเมือง และขบั ร้องบทเพลง
ทอ้ งถ่ินเพ่ือเฉลิมฉลองดว้ ย
-14-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องสิงคโปร์
สิงคโปร์เป็นประเทศที่มีประชากรหลากหลายเช้ือชาติหลากหลายศาสนา ทาใหป้ ระเทศ
น้ี มีศิลปวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย สาหรับเทศกาลที่สาคญั ของสิงคโปร์กจ็ ะเป็นเทศกาล
เกี่ยวขอ้ งกบั ความเชื่อทางศาสนาเช่น* เทศกาลตรุษจีน เทศกาลปี ใหม่ของชาวจีนที่จดั ข้ึนใน
เดือนกมุ ภาพนั ธ์ * เทศกาล Good Friday จดั ข้ึนเพื่อระลึกถึงการสละชีวิตของพระเยซู บนไม้
กางเขนของชาวคริตส์ใน เดือนเมษายน * เทศกาลวิสาขบูชา จดั ข้ึนเพื่อระลึกถึงการประสูติ ตรัส
รู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจา้ ของชาวพุทธในเดือนพฤษภาคม * เทศกาล Hari Raya Puasa
เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมท่ีจดั ข้ึนเม่ือส้ินสุดพิธีถือศิลอดหรือ รอมฏอนในเดือน
ตลุ าคม * เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็นงานข้ึนปี ใหม่ของชาวฮินดู
ท่ีจดั ข้ึนเดือน
-15-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของอนิ โดนีเซีย
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีของอินโดนีเซีย มีชนพ้ืนเมืองหลายชาติพนั ธุก์ ระจายกนั อยู่
ตามเกาะ ทาใหว้ ฒั นธรรมประเพณีในแต่ละทอ้ งท่ีแตกตา่ งกนั ไป * วายงั กลู ิต (Wayang
Kilit) เป็นการแสดงเชิดหุ่นเงาที่เป็นเอกลกั ษณ์ของอินโดนีเซีย และถือเป็นศิลปะการ แสดงที่
งดงามและวิจิตรกว่าการแสดงชนิดอ่ืน เพราะรวมศิลปะหลายดา้ นไวด้ ว้ ยกนั โดยฉบบั ด้งั เดิมใช้
หุ่นเชิดที่ทาดว้ ย หนงั สตั วน์ ิยมใชว้ งดนตรีพ้ืนบา้ นบรรเลงขณะแสดง* ระบาบารอง (Barong
Dance) ละครพ้ืนเมืองด้งั เดิมของเกาะบาหล มีการใชห้ นา้ กากและเชิดหุ่นเป็นตวั ละคร โดยมีการ
เล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เรื่องราวเป็นการต่อสูก้ นั ของ บารอง คนคร่ึงสิงห์ ซ่ึงเป็น
ตวั แทนฝ่ ายความดี กบั รังดา พ่อมดหมอผตี วั แทนฝ่ ายอธรรม โดยฝ่ ายธรรมะจะไดร้ ับชยั ชนะใน
ที่สุด * ผา้ บาติก (Batik) หรือ ผา้ ปาเต๊ะ เป็นผา้ พ้ืนเมืองของอินโดนีเซียท่ีมีวิธีการทาโดยใชเ้ ทียน
ปิ ดส่วนท่ีไมต่ อ้ งการ ให้ติดสี และใชว้ ิธีการแตม้ ระบาย หรือ ยอ้ มในส่วนท่ีตอ้ งการใหต้ ิดสี ผา้
บาติกนิยมใชเ้ ป็นเครื่องแต่งกายของหนุ่มสาว
-16-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องเวยี ดนาม
ศิลปวฒั นธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะไดร้ ับอิทธิพลจากจีนและฝร่ังเศส
เวียดนามมีเทศกาลที่สาคญั ไดแ้ ก่ * เทศกาลเตด็ (Tet) หรือ “เตด็ เหวียนดาน (Tet
Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกาลแห่งรุ่งอรุณแรกของปี ถือเป็น เทศกาลทางศาสนาท่ี
สาคญั ที่สุดดข้ึนในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงตน้ เดือนกุมภาพนั ธเ์ ป็นการเฉลิมฉลอง
ความเชื่อ ในเทพเจา้ ลทั ธิเต๋าขงจื๊อ และศาสนาพุทธรวมท้งั เป็นการแสดงความเคารพ
ต่อบรรพบุรุษดว้ ย * เทศกาลกลางฤดใู บไมร้ ่วง จดั ข้ึนในวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 8 ของทกุ ปี
ชาวบา้ นจะประกวดทาขนมเปี๊ ยะโก๋ญวนหรือบนั ตรงั ทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถว่ั และไส้
ผลไม้ และมีการจดั ขบวนเชิดมงั กร เพ่ือแสดงความเคารพต่อพระจนั ทร์ จะมีการเฉลิม
ฉลองดูดวงจนั ทร์
-17-
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณขี องประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์
วฒั นธรรมของฟิ ลิปปิ นส์เป็นวฒั นธรรมผสมผสานกนั ระหว่างตะวนั ตกและตะวนั ออก ซ่ึงส่วน
ใหญจ่ ะไดร้ ับอิทธิพลจาก สเปน จีน และอเมริกนั ฟิ ลิปปิ นส์มีเทศกาลที่สาคญั ไดแ้ ก่ *อา
ติหาน (Ati – Atihan) จดั ข้ึนเพื่อราลึกและแสดงความเคารพตอ่ “เอตาส (Aetas)” ชนเผา่ แรก
ที่มาต้งั รกรากอยบู่ นเกาะ แห่งหน่ึงใน ฟิ ลิปปิ นส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสตใ์ นวยั เดก็ โดยจะ
แต่งตวั เลียนแบบ *เทศกาลอาติชนเผา่ เอตาส แลว้ ออกมารารื่นเริงบนทอ้ งถนนในเมือง คาลิบู
(Kalibu) * เทศกาลซินูลอ็ ก (Sinulog) งานน้ีจะจดั ข้ึนในวนั อาทิตยท์ ่ี 3 ของเดือน
มกราคมทุกปีี เป็นงานท่ีจดั ข้ึนเพื่อราลึกถึงนกั บุญซานโต นินอย (Santo Nino)โดยจะจดั แสดง
ดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซี ทว่ั เมือง
-18-
ประเพณไี ทย-สากล
ขนึ้ ปี ใหม่
สาหรับวนั ปี ใหมใ่ นประเทศไทยน้นั แต่เดิมเราถือเอาวนั แรม 1 ค่า เดือนอา้ ย ซ่ึงตรงกบั
เดือนมกราคม เป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั คติแห่งพระพทุ ธศาสนา ท่ีถือชว่ งเหมนั ต์
หรือหนา้ หนาวเป็นการเร่ิมตน้ ปี ตอ่ มาไดเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณ์ คือถือเอาวนั ข้ึน 1 ค่า
เดือน 5 เป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ ซ่ึงตรงกบั วนั สงกรานต์ ดงั น้นั ในสมยั โบราณเราจึงถือเอาวนั สงกรานต์
เป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ของไทย
แต่การนบั วนั ปี ใหม่หรือวนั สงกรานตต์ ามวนั ทางจนั ทรคติ เม่ือเทียบกบั วนั ทางสุริยคติ
ยอ่ มคลาดเคล่อื นกนั ไปในแต่ละปี ดงั น้นั ในวนั ข้ึน 1 ค่า เดือน 5 ปี พ.ศ. 2432 (ร.ศ. 108) ซ่ึงตรง
กบั วนั ที่ 1 เมษายน พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงให้ถือเอาวนั ที่ 1 เมษายนเป็นวนั
ข้ึนปี ใหมข่ องไทยนบั แตน่ ้นั มา เพื่อวนั ปี ใหมจ่ ะไดต้ รงกนั ทกุ ปี เมื่อนบั ทางสุริยคติ (แมว้ ่าวนั ข้ึน
1 ค่า เดือน 5 ปี ตอ่ ๆ มาจะไมต่ รงกบั วนั ท่ี 1 เมษายน แลว้ กต็ าม) ดงั น้นั จึงถือเอาเดือนเมษายน
เป็นเดือนแรกของปี นบั แต่น้นั มา อยา่ งไรกด็ ีประชาชนส่วนใหญโ่ ดยเฉพาะตามชนบทยงั คง
ยึดถือเอาวนั สงกรานตเ์ ป็นวนั ข้ึนปี ใหม่อยู่
-19-
โฮล่ี เฟสตวิ ลั
เทศกาล Holi หรือ Festival of Colours จดั ข้ึนเป็นประจาทกุ ปี ในอินเดยี และประเทศทวั่
โลกท่ีมีชาวฮินดูอาศยั อยู่ เพ่อื เป็นการตอ้ นรับฤดใู บไมผ้ ลิและเป็นการเฉลิมฉลองชีวิตใหม่
แมว้ า่ จะไมม่ ีพิธีกรรมทางศาสนาเขา้ มาเก่ียวขอ้ งมากนกั แต่ดเู หมือนว่าชาวฮินดแู ละ
นกั ทอ่ งเที่ยวทุกคนจะพร้อมใจกนั มาสาดผงสีใส่กนั อยา่ งสนุกสนาน ที่สาคญั มนั ยงั เป็น
เทศกาลท่ีไมแ่ บง่ แยกชนช้นั วรรณะกนั ดว้ ย นบั เป็นอีกหน่ึงสีสนั ของประเทศอินเดียท่ี
นอกจากจะสร้างความคร้ืนเครงใหผ้ คู้ นในประเทศแลว้ ยงั ดึงดูดนกั ตท่องเท่ียวไดม้ ากทีเดียว
-20-
วนิ เทอร์ ไลท์ เฟสตวิ ลั
เทศกาล Winter Light Festival จดั ข้ึนเป็นประจาทุกปี ท่ีเมืองคนุ าวะ จงั หวดั มิเอะ ประเทศ
ญ่ีป่ นุ จุดเดน่ อยทู่ ี่แสงไฟจากหลอดไฟ LED กว่า 7 ลา้ นดวง ท่ีส่องประกายหลากสีสนั ในสวน
พฤกษาศาสตร์ Nabana no Sato ท่ีสาคญั ยงั เป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ มดว้ ยการใชพ้ ลงั การ
แสงอาทิตย์ สมกบั เป็นประเทศแห่งเทคโนโลยจี ริง ๆ ซ่ึงเทศกาล Winter Light Festival จะจดั
ข้ึนเป็นเวลากว่า 4 เดือน โดยเริ่มต้งั แตก่ ลางเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม ใครที่มา
ญี่ป่ ุนกอ็ ยา่ ลืมแวะเวยี นมาเท่ียวกนั บา้ งนะคะ รับรองว่ามนั จะเป็นอีกเทศกาลที่จะทาให้คณุ ต่ืนตา
ตื่นใจแน่นอน
-21-
เวนิสคาร์นิวลั
ในปี ค.ศ. 1162 เวนิสไดร้ ับชยั ชนะจากการสูร้ บ ประชาชนจึงไดร้ วมตวั กนั เฉลิมฉลอง
บริเวณจตั รุ ัสซานมาร์โค (San Marco Square) กระทง่ั ทกุ วนั น้ีท่ีไดถ้ ือเป็นเทศกาลเฉลิมฉลองสุด
ยง่ิ ใหญเ่ ป็นประจาทุกปี และมีจุดเดน่ ที่ขบวนพาเหรดที่ทุกคนในขบวนจะตอ้ งสวมหนา้ กากและ
การแต่งกายที่เตม็ ไปดว้ ยสีสนั นบั เป็นเทศกาลร่ืนเริงในอิตาลีที่จะทาให้คุณเพลิดเพลินไปกบั
ขบวนพาเหรดสุดตระการตา ดนตรีสด และกิจกรรมต่าง ๆ
-22-
Up Helly Aa Fire
เทศกาล Up Helly Aa Fire เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองการส้ินสุดเทศกาลคริสตม์ าสอยา่ ง
ยง่ิ ใหญ่ นอกจากน้ียงั แฝงไปดว้ ยการเฉลิมฉลองทางดา้ นประวตั ิศาสตร์ดว้ ย โดยการเฉลิมฉลอง
จะเร่ิมจากการเดินขบวนในช่วงระหวา่ งวนั ส่วนในช่วงกลางคืนจะมีการจุดคบเพลิงแลว้ โยนใส่
เรือไวก้ิงจาลอง ซ่ึงสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเป็นมาของชาติในสมยั ก่อนดว้ ย
-23-
เทศกาลปามะเขือเทศ
ตามตานานเลา่ วา่ ในปี ค.ศ. 1945 มีชาวบา้ นไดข้ วา้ งปาผกั เขา้ ไปในป่ าแตเ่ กิดพลาดโดน
กนั เอง จึงกลายเป็นความสนุกสนานกระทง่ั เกิดเป็นเทศกาลสาคญั อยา่ งทกุ วนั น้ี โดยเทศกาลปา
มะเขือเทศจดั ข้ึนเป็นประจาทกุ ปี ในวนั พธุ สุดทา้ ยของเดือนสิงหาคมที่ Bunol ในเมืองบาเลนเซีย
-24-
เทศกาลบอลลนู นานาชาติ
งานร่ืนเริงน้ีเร่ิมคร้ังแรกในปี ค.ศ. 1972 ซ่ึงเป็นการปล่อยบอลลูน 13 ลกู ข้ึนเพ่ือเป็นการ
เฉลิมฉลองครบรอบสถานีวิทยุ 770 AM KOB Radio ซ่ึงเป็นที่น่าต่ืนใจไปทว่ั ท้งั เมือง จนกระทง่ั
มนั ไดก้ ลายเป็นเทศกาลที่สร้างความบนั เทิงใหก้ บั ผมู้ าเยือนไม่นอ้ ย การไดแ้ ชะภาพบอลลนู
ขนาดใหญห่ ลากสีสนั จานวน 750 ลูก คอ่ ย ๆ ข้ึนสู่ทอ้ งฟ้า ความงดงามตระการตาแบบน้ีจะทา
ให้คณุ ลืมไปเลยวา่ หลงั จบงานคุณจะมีอาการปวดเมื่อยตน้ คอแน่นอน !!
-25-
เทศกาลเบริ ์นนิ่งแมน
เทศกาลเบิร์นน่ิงแมนจดั ข้ึนเป็นประจาทกุ ปี บริเวณท่ีโลง่ กวา้ งในรัฐเนวาดา ท้งั น้ีกเ็ พื่อ
เป็นการเฉลิมฉลองดา้ นความเจริญของศิลปะและวฒั นธรรม โดยจะมีศิลปิ นไดส้ ร้างรูปป้ัน
ขนาดยกั ษก์ วา่ 12 รูป แตล่ ะรูปมีความสูงกวา่ 100 ฟตุ ทีเดียว และเมื่อถึงเวลาค่าคืนขณะที่ดนตรี
บรรเลงกไ็ ดม้ ีการเร่ิมจุดไฟเผารูปป้ันเหลา่ น้นั ซ่ึงแตล่ ะปี จะมีผเู้ ขา้ ชมเทศกาลดงั กลา่ วถงึ 50,000
คน
-26-
เทศกาลการ์มา
เทศกาลการ์มา จดั โดยชนเผา่ Yolngu ของประเทศออสเตรเลีย โดยไดร้ ับการสนบั สนุน
อยา่ งดีจากทางการ ท้งั น้ีก็เพื่อเป็นการสืบสานและอนุรักษว์ ฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน โดยเทศกาลการ์
มาจะเป็นการแสดงการเตน้ ขบั ร้อง ศิลปะ และทว่ งทา่ การราธงบนพ้ืนทราย นอกจากน้ียงั มี
การแบง่ ปันความรู้และวฒั นธรรมของชนเผา่ ดว้ ย แต่กใ็ ช่ว่าจะสามารถเขา้ ชมกนั ไดท้ กุ คนนะ
คะ เพราะผทู้ ี่จะเขา้ ร่วมงานไดจ้ ะตอ้ งเป็นผทู้ ่ีถกู เชิญเทา่ น้นั
-27-
เทศกาลพระอาทติ ย์
ชนเผา่ อนิ คาไดม้ กี ารเดินขบวนพาเหรดเพอ่ื บูชาเทพแห่งดวงอาทิตย์ ซ่ึงถือเป็นอกี เทศกาลสาคญั
ของชนเผา่ นอกจากน้ียงั ถอื เป็นการราลึกถงึ บรรพบรุ ุษท่ีร่วมก่อต้งั ชนเผา่ อนิ คาดว้ ย ซ่ึงคุณจะตื่นตาตื่นใจไป
กบั การแต่งการตามแบบฉบบั ของชนเผา่ ท่ีจดั มาแบบเตม็ ๆ และยงั มกี ารแต่งเป็นเทพเจา้ แบบจาลองดว้ ย
-28-
เทศกาลหิมะทซ่ี ัปโปะโระ
เทศกาลหิมะเร่ิมต้งั แต่ปี ค.ศ. 1950 โดยเดก็ มธั ยมชาวญี่ป่ นุ ไดช้ ่วยกนั ป้ันหิมะจน
กลายเป็นประติมากรรมสุดย่ิงใหญ่ที่สวนโอโดะริจนผคู้ นใหค้ วามสนใจอยา่ งมากและมนั ก็
กลายเป็นเทศกาลอนั น่าสนใจในเวลาตอ่ มา แตท่ วา่ เทศกาลดงั กล่าวก็ไดถ้ กู ระงบั ไปพกั หน่ึง
ในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ีสอง แต่หลงั จากสงครามสิ้นสุดกพ็ บว่า
เหลา่ ทหารและประชาชนไดร้ ่วมกนั ป้ันและแกะสลกั หิมะให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ อยา่ งสนุกสนาน
และเพ่ิมความอลงั การมากข้ึนดว้ ยขนาดและรูปร่างท่ีสวยงาม และมนั ก็กลบั มาเป็นเทศกาลสุด
ร่ืนเริงอกี คร้ังกระทงั่ ทกุ วนั น้ี
-29-
เทศกาลช้าง
ชา้ งถือเป็นสตั วค์ ู่บา้ นคู่เมืองและเป็นสตั วส์ าคญั ของประเทศอินเดีย ซ่ึงในทุก ๆ ปี ก็จะมกี ารจดั
เทศกาลชา้ งข้ึนในช่วงเดือนมีนาคม โดยมกี ารแต่งองคท์ รงเครื่องชา้ งดว้ ยผา้ และเคร่ืองประดบั จากน้นั กเ็ ป็น
การเดินขบวนของชา้ งไปตามจดุ ต่าง ๆ ยงั ไม่หมดเพยี งเท่าน้นั เพราะคณุ จะไดห้ วั เราะไปกบั การแข่งขนั
โปโลน้าของชา้ ง การชกั กะเยอ่ และการแข่งขนั อ่ืน ๆ ดว้ ย
งานรื่นเริงน้ีเริ่มคร้ังแรกในปี ค.ศ. 1972 ซ่ึงเป็นการปล่อยบอลลูน 13 ลกู ข้ึนเพื่อเป็นการเฉลมิ ฉลองครบรอบ
สถานีวทิ ยุ 770 AM KOB Radio ซ่ึงเป็นท่ีน่าตื่นใจไปทว่ั ท้งั เมือง จนกระทง่ั มนั ไดก้ ลายเป็นเทศกาลที่สร้าง
ความบนั เทิงใหก้ บั ผมู้ าเยอื นไมน่ อ้ ย การไดแ้ ชะภาพบอลลนู ขนาดใหญ่หลากสีสนั จานวน 750 ลกู ค่อย ๆ
ข้ึนสู่ทอ้ งฟ้า ความงดงามตระการตาแบบน้ีจะทาใหค้ ุณลมื ไปเลยว่า หลงั จบงานคุณจะมีอาการปวดเมื่อยตน้
คอแน่นอน
-30-
เทศกาลโคมไฟผงิ ซี
ใครกร็ ู้กนั ดีว่าเทศกาลที่ยง่ิ ใหญข่ องชาวจีนก็คือ “เทศกาลตรุษจีน” และท่ีกรุงไทเป
ประเทศไตห้ วนั ก็จะมีการปลอ่ ยโคมลอยหลายพนั ดวงข้ึนไปสว่างไสวอยกู่ ลางทอ้ งฟ้ายามค่าคืน
พร้อมใจเขียนคาอธิษฐาน และส่งความปรารถนาดีของพวกเขาสู่สวรรค์ เช่ือกนั ว่าโคมลอย หรือ
ที่รู้จกั กนั ในชื่อ “โคมขงหมิง” ถกู ประดิษฐข์ ้ึนโดยขงเบง้ ท่ปี รึกษาดา้ นการทหารคนสาคญั ใน
ประวตั ิศาสตร์ยคุ สามก๊ก เพ่ือใชเ้ ป็นเครื่องมือส่ือสารของกองทพั โดยในเขตผิงซีน้นั ประเพณี
การปลอ่ ยโคมลอยเริ่มข้ึนเม่ือหลายร้อยปี ก่อนหนา้ น้ี เม่ือมีกลุ่มโจรปรากฏตวั ข้ึนบนภูเขา โดย
ชาวบา้ นจะซ่อนตวั อยใู่ นบา้ น และจะปลอ่ ยโคมลอยเพื่อเป็นสญั ญาณบอกวา่ ปลอดภยั แลว้ หลงั
กลมุ่ โจรจากไป
-31-
เทศกาลอฐู เมืองพชุ คาร์ย
นี่คือเทศกาลหน่ึงซ่ึงจะทาใหเ้ ราไดพ้ บกบั “การชุมนุมคร้ังยงิ่ ใหญ่ที่สุดของชนเผา่ ของอนิ เดีย”
เพราะวา่ เป็นเทศกาลที่จะมีอูฐกวา่ 20,000 ตวั บนทะเลทรายราชาสถาน (Rajasthan dessert) เป็นงานรื่นเริง
ของเมอื งพชุ คาร์ ซ่ึงรวบเขา้ กบั เทศกาลคา้ อฐู (Camel Fair) ท่ีสาคญั และยงิ่ ใหญ่ระดบั ประเทศของอนิ เดีย
โดยจะเป็นการเดนิ ทางมาพบกนั ระหว่างพ่อคา้ และคนขายอฐู นอกจากน้ียงั มผี แู้ สวงบุญท่ีเดินทางมาอาบน้า
และใชน้ ้าในทะเลสาบท่ีถือกนั วา่ ศกั ด์ิสิทธ์ิอกี ดว้ ย
-32-
วนั แห่งความตาย
ใครท่ีชอบความสยองหน่อยๆ ตอ้ งมางานเทศกาลน้ีเลย “วนั แห่งความตาย (Los Dias de
los Muertos)” ในวนั ท่ี 1-2 พฤศจิกายน มีข้ึนในประเทศเมก็ ซิโก เป็นเทศกาลตอ่ จากเทศกาล
ฮาโลวีน ซ่ึงฉลองใหก้ บั คนตาย สาหรับผทู้ ี่ยงั อยู่ จะเชิญดวงวิญญาณ (ญาติสนิทเทา่ น้นั ) ให้มา
เย่ียมครอบครัว อยา่ งนอ้ ยๆ ท้งั คนเป็น และคนตาย ทุกคนกจ็ ะไดร้ ับประทานขนม และอาหาร
ในแบบสยองขวญั ดว้ ยกนั ท้งั ครอบครัว
-33-
เทศกาลนา้ แขง็ เมืองฮาร์บนิ
ฮาร์บิน (Harbin) เมืองหลวงของมณฑลเหยหลงเจยี ง (Heilongjiang) อยทู่ าง
ตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศจีน และเป็นเจา้ ภาพจดั เทศกาลน้าแขง็ และหิมะอนั เยน็ ยะเยอื ก
น้ี ส่วนไฮไลทข์ องงาน คือ การแกะสลกั น้าแขง็ มหึมา มโหฬาร ตดิ ไฟประดบั ประดาปราสาท
น้าแข็งให้ส่องแสงสวยหลากสีสันในตอนกลางคืน นอกจากน้ียงั มีการแสดงตะเกียงน้าแขง็ เล่ือน
น้าแขง็ เรือใบน้าแขง็ ฮอ็ กก้ีน้าแขง็ ฟตุ บอลน้าแขง็ และอื่นๆ
-34-
วฒั นธรรมและประเพณขี องแต่ละภาค
วฒั นธรรมและประเพณที ้องถ่นิ ภาคกลาง
ภาคกลางเป็นภาคท่ีมีประชาการสูงสุด โดยรวมพ้ืนท่ีอนั เป็นที่ต้งั ของจงั หวดั มากกวา่
ภูมิภาคอื่น ๆ ใชภ้ าษากลางในการสื่อความหมายซ่ึงกนั และกนั วฒั นธรรมไทยทอ้ งถ่ินภาคกลาง
ประชาชนประกอบอาชีพทานา การต้งั ถิ่นฐานจะหนาแน่นบริเวณท่ีราบลมุ่ แม่น้า มีวิถีชีวิตเป็น
แบบชาวนาไทย คือ การรักพวกพอ้ ง พ่ึงพาอาศยั กนั มีความเช่ือ และเคารพบคุ คลสาคญั ผลู้ ว่ งลบั
ไปแลว้ มีการใชเ้ คร่ืองป้ันดินเผาตามชุมชนและหมู่บา้ นในชนบท การละเลน่ พ้ืนบา้ นที่เป็น
ลกั ษณะเดน่ ไดแ้ ก่ มงั คละราเตน้ เตน้ การาเคียว เพลงปรบไก่ เพลงลาตดั เป็นตน้
นอกจากน้ีในทอ้ งที่จงั หวดั เพชรบุรี มีเอกลกั ษณ์ท่ีโดดเดน่ คือมี ความสามารถในการปลกู สร้าง
เรือนไทย ความเป็นชว่ งฝีมือท่ีประณีตในการตกแตง่ วดั และชา่ ง ประดิษฐต์ ่าง ๆ เช่น ช่างทอง
ชา่ งแกะสลกั ลายไทย ลวดลายปนู ป้ันประดบั พระสถปู เจดียช์ นกลุ่มนอ้ ยในทอ้ งถิ่นภาคกลาง มี
หลายเผา่ พนั ธุ์ อาทิ ลาวโข่ง กระเหร่ียง ในพ้ืนท่ีจงั หวดั เพชรบรุ ี ลาวพวน ในอาเภอบา้ นหมี
จงั หวดั ลพบรุ ี คนลาว ในเขต จงั หวดั เพชรบุรี ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา มอญ ในอาเภอพระ
ประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ
-35-
วฒั นธรรมและประเพณที ้องถิ่นภาคอสี าน
ประเพณีบุญบ้งั ไฟ กาเนิดจากไหนน้นั ยงั ไม่ปรากฏหลกั ฐานชดั เจน แตก่ ย็ งั ปรากฏ
ประเพณีน้ีในภาคเหนือ (เรียกวา่ ประเพณีจิบอกไฟ)ส่วนหลกั ฐานเอกสารในภาคอีสาน ปรากฏ
ใน วรรณกรรมทอ้ งถ่ินเร่ือง ผาแดง-นางไอ่ ซ่ึงกล่าวถึงตานานบญุ บ้งั ไฟบา้ ง ส่วนความเป็นมา
และตานานเก่ียวกบั บุญบ้งั ไฟมีหลายประการ ดว้ ยผรู้ ู้หลายท่านไดก้ ล่าวไว้ เชน่ สิริวฒั น์ คาวนั
สา ไดใ้ ห้ขอ้ สนั นิษฐานเกี่ยวกบั ตน้ เหตุความเป็นมาของประเพณีบุญบ้งั ไฟ ในแง่ต่างๆไวว้ า่ ดา้ น
ศาสนาพราหมณ์ มีการบูชาเทพเจา้ ดว้ ยไฟเป็นเครื่องบชู าเทพเจา้ บนสวรรค์ การจุดบ้งั ไฟ เป็น
การละเล่นอยา่ งหน่ึงและเป็นการบูชาเพ่ือใหพ้ ระองคบ์ นั ดาลในสิ่งท่ีตนเองตอ้ งการดา้ นศาสนา
พุทธ เป็นการฉลองและบชู าเนื่องในวนั วิสาขบูชามีการนาเอาดอกไมไ้ ฟแบบต่างๆ บ้งั ไฟ น้ามนั
ไฟธูปเทียนและดินประสิว มีการรักษาศีล ให้ทาน การบวชนาค การฮดสรง การนิมนตพ์ ระ
เทศน์ ใหเ้ กิดอานิสงส์ ดา้ นความเช่ือของชาวบา้ น ชาวบา้ นเชื่อว่ามีโลกมนุษย์ โลกเทวดา และ
โลกบาดาล มนุษย์ อยภู่ ายใตอ้ ิทธิพลของเทวดา การราผีฟ้า เป็นตวั อยา่ งแห่งการแสดงความนบั
ถือเทวดา เทวดา คือ "แถน" "พญาแถน" เมื่อถือว่ามีพญาแถนกถ็ ือว่ามีฝน ฟ้า ลม เป็นอิทธิพล
ของพญาแถน หากทาใหพ้ ญาแถน โปรดปรานหรือพอใจแถนก็จะบนั ดาลความสุข จึงมีพิธีบูชา
แถน การใชบ้ ้งั ไฟเชื่อว่าเป็นการบชู าพญาแถน ซ่ึงแสดงความเคารพและแสดงความจงรักภกั ดี
ตอ่ แถน ชาวอีสานส่วนใหญจ่ ึงเช่ือว่าการจุดบชู าบ้งั ไฟเป็นการ ขอฝนพญาแถน และมีนิทาน
ปรัมปราลกั ษณะน้ีอยทู่ ว่ั ไป
-36-
วฒั นธรรมและประเพณที ้องถน่ิ ภาคเหนือ
ตงุ เป็นภาษาถ่ินประจาภาคเหนือซ่ึงตรงกบั คาวา่ ธง ในภาษาไทยภาคกลางและตรงกบั
คาว่า ธุง ในภาษาทอ้ งถิ่นอีสาน มีลกั ษณะเป็นแผน่ วตั ถุ ส่วนปลายแขวนติดกบั เสาหอ้ ยเป็นแผน่
ยาวลงมา ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ ห้คาจากดั ความของคาว่า ธง
ไวว้ ่า “ ธง น. ผืนผา้ โดยมากเป็นสีและบางอยา่ งมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทาดว้ ยกระดาษหรือ
สิ่งอื่น ๆ ก็มีสาหรับใชเ้ ป็นเคร่ืองหมายบอกชาติ เครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เครื่องหมาย
เดินทะเล อาณตั ิสญั ญาณ ตกแต่ง สถานท่ีในงานร่ืนเริงหรือกระบวนแห่ …” การใชต้ งุ ทาง
ภาคเหนือ ไดป้ รากฏหลกั ฐานในตานานพระธาตุดอยตงุ ซ่ึงกล่าวถึง การสร้าง พระธาตุไวว้ ่า เม่ือ
พระมหากสั สปะเถระไดน้ าเอาพระบรมสารีลิกธาตุพระรากขวญั เบ้ืองซ้ายของพระพทุ ธเจา้ มา
ถวายแดพ่ ระยา อชุตราชกษตั ริยแ์ ห่งราชวงศส์ ิงหนวตั ิพระองคไ์ ดท้ รงขอท่ีดินของพญาลาวจก
(ราชวงศล์ วจงั คราช) ในหมเู่ ขาสามเส้าเป็นท่ีก่อ ร้างพระมหาสถปู น้นั ทาใหท้ าตุงตะขาบยาวถึง
พนั วา ปักไวบ้ นยอดดอยป่ เู จา้ ถา้ หางตงุ ปลวิ ไปเพียงใดกาหนดใหเ้ ป็นรากฐานสถูป
-37-
วฒั นธรรมและประเพณที ้องถน่ิ ภาคใต้
.
ประเพณีชกั พระหรือลากพระน้นั เป็นประเพณีทอ้ งถ่นิ ของชาวใต้ ท่ีไดม้ ีการสืบทอดกนั
มาต้งั แต่สมยั ศรีวิชยั โดยสนั นิษฐานว่าไดเ้ กิดมีข้ึนคร้ังแรกในประเทศอินเดีย ซ่ึงเป็นประเพณี
ความเช่ือของพราหมณ์ศาสนิกชนและพทุ ธศาสนิกชน มีพุทธตานานเล่าขานสืบทอดกนั มาว่า
หลงั จากท่พี ระพุทธเจา้ ทรงไดท้ รงกระทายมกปาฏิหารยป์ ราบเดียรถีย์ ณ ป่ ามะม่วง กรุงสาวตั ถี
และไดเ้ สดจ็ ไปทรงจาพรรษา ณ ดาวดึงส์ เพ่ือทรงโปรดพระพทุ ธมารดา จนพระพุทธมารดาได้
ทรงสิ้นพระชนมล์ ง จึงทรงไดเ้ สดจ็ กลบั มายงั โลกมนุษย์ เมื่อพระอินทร์ทรงทราบจึงไดน้ ิมิต
บนั ไดนาค บนั ไดแกว้ และบนั ไดเงินทอดลงมาจากสรวงสวรรค์ เมื่อพุทธศาสนิกชนไดท้ ราบจึง
พร้อมใจกนั มาเฝ้ารับเสดจ็ ที่หนา้ ประตูนครสงั กสั สะ ในตอนเชา้ ของวนั แรม 1 ค่า เดือน 11
พร้อมกบั ไดจ้ ดั เตรียมภตั ตาหารเพื่อถวายแด่พระพุทธองค์
-38-
ประเพณยี เ่ี ป็ ง จงั หวดั เชียงใหม่
วนั ท่ีจดั งาน 25 พฤศจิกายน 2558
ประเพณียี่เป็งหรือเทศกาลลอยกระทงลา้ นนา เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ีปฏิบตั ิสืบทอดกนั มา
แต่โบราณ โดยในชว่ งเวลาย่ีเป็งน้ีจะมีการเฉลิมฉลองดว้ ยกนั 3 วนั และจะมีการประดบั ตกแตง่
บา้ นและวดั ดว้ ยโคมแขวน พร้อมท้งั มีการลอยโคมในแม่น้า รวมไปถึงการลอยโคมย่เี ป็งข้ึนสู่
ทอ้ งฟ้า ดว้ ยความเช่ือท่ีว่าจะปลดปล่อยทุกขภ์ ยั และส่ิงชวั่ ร้ายให้พน้ ไป โดยงานประเพณียเ่ี ป็งน้ี
จะจดั เป็นประจาทุกปี ในบริเวณเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ภายในงานจะมีการแห่โคม ขบวนแห่
กระทง และการแสดงศิลปวฒั นธรรมลา้ นนา
-39-
งานประเพณลี อยกระทง เผาเทยี นเล่นไฟ อทุ ยานประวตั ศิ าสตร์สุโขทยั
จงั หวดั สุโขทยั
วนั ท่ีจดั งาน ระหว่างวนั ที่ 21-25 พฤศจิกายน 2558
สถานที่จดั งานลอยกระทงอนั ย่ิงใหญ่ทอี่ ทุ ยานประวตั ิศาสตร์สุโขทยั เมืองตน้ กาเนิดของ
ประเพณีลอยกระทง ในทุกปี ท่ีนี่จะมีการจดั แสดงแสงสีเสียงเก่ียวกบั อาณาจกั รสุโขทยั ขบวนแห่
นางนพมาศแบบโบราณ พิธีชกั โคมและเผาเทียน-เลน่ ไฟ มีการจาลองตลาดโบราณท่จี ะจดั ขาย
สินคา้ อาหารพ้ืนบา้ นและอาหารโบราณมากมายท่ีหาชมหาชิมกนั ไดย้ าก นอกจากน้นั ก็จะมีการ
ประกวดกระทง และการประกวดโคมชกั -โคมแขวน ท้งั น้ีหากใครสนใจจะไปชมงานและการ
แสดงศิลปวฒั นธรรมที่นี่ คงตอ้ งรีบจองบตั รเขา้ ชมงานกนั แต่เน่ินๆ เพื่อรับประกนั ความไม่
ผิดหวงั
-40-
ประเพณไี หลเรือไฟและงานกาชาด จงั หวดั นครพนม
วนั ที่จดั งาน 20-28 ตลุ าคม
งานเทศกาลยงิ่ ใหญ่ของจงั หวดั นครพนมท่ีจะจดั ข้ึนที่บริเวณเลียบริมฝ่ังแมน่ ้าโขง ถนน
สุนทรวิจิตร และบริเวณหนา้ ศาลากลางจงั หวดั ภายในงานจะมีขบวนแห่เรือไฟไปตามลาน้าโขง
ชมความสวยงามของเรือไฟโบราณ งานแสดงศิลปวฒั นธรรมพ้ืนเมืองและการราพระธาตพุ นม
ของ 7 ชนเผา่ งานพาแลงและบายศรี งานออกร้านคา้ โอทอ็ ป รวมไปถงึ งานบญุ ที่วดั พระธาตุ
พนม
-41-
ประเพณแี ห่ปราสาทผงึ้ และงานแข่งขนั เรือยาว จงั หวดั สกลนคร
วนั ที่จดั งาน ระหว่างวนั ที่ 24-27 ตุลาคม
งานประเพณีสาคญั ประจาปี และประจาจงั หวดั สกลนคร ในทุกปี จะมกี ารประดบั ประดาและตกแต่ง
ปราสาทผ้งึ ใหม้ ีความสวยงาม โดยเป็นความเชื่อที่วา่ เป็นการทาบุญคร้ังใหญ่ใหแ้ ก่ผทู้ ่ีล่วงลบั ไปแลว้ ในช่วง
การจดั งานจะมกี ารนาปราสาทผ้งึ ข้ึนขบวนแห่ไปยงั ทอ้ งทต่ี ่างๆ ก่อนจะนาไปต้งั ใหบ้ ูชากนั ท่ีวดั พระธาตุเชิง
ชุมวรวหิ าร นอกจากน้นั ก็จะมกี ิจกรรมการแข่งเรือยาวชิงถว้ ยพระราชทานฯ งานทาบุญตกั บาตร การทา
บายศรีสู่ขวญั การประกวดการทาปราสาทผ้งึ ประยกุ ต์ ประกวดบายศรี การแสดงพ้ืนบา้ น รวมไปถึงการออก
ร้านคา้ ร้านอาหารพ้นื เมือง
-42-
เทศกาลกนิ เจหาดใหญ่ จังหวดั สงขลา
วนั ที่จดั งาน ระหว่างวนั ท่ี 13 -21 ตุลาคม
งานบุญคร้ังใหญ่ประจาปี ของพ่ีนอ้ งชาวไทยเช้ือสายจีนและผมู้ ีจิตศรัทธาในการละเวน้
เน้ือสตั ว์ และบริโภคแต่อาหารท่ีทาจากพืชผกั หรือ “อาหารเจ” เป็นเวลาติดต่อกนั 9 วนั พร้อม
ดว้ ยการรักษาศีลเพื่อชาระร่างกายและจิตใจใหบ้ ริสุทธ์ิ โดยเทศกาลกินเจน้ีแมจ้ ะจดั กนั ทว่ั
ประเทศแต่ที่ยง่ิ ใหญแ่ ละมีช่ือเสียงที่สุดน้นั จะอยทู่ ่ีหาดใหญ่ ในช่วงเวลาการจดั งาน จะมีการออก
ร้านอาหารเจ มีขบวนแห่จากศาลเจา้ ต่างๆ ในหาดใหญ่ การเชิดสิงโต มงั กรเงิน มงั กรทอง การ
แสดงรื่นเริง การประกวดและการสาธิตทาอาหารเจมงคล และกิจกรรมอ่ืนๆ อีกมากมาย
-43-
ไฟประดบั เมืองโตเกยี ว (Tokyo Illumination) โตเกยี ว (Tokyo) ประเทศญปี่ ่ ุน
(Japan)
วนั ที่จดั งาน เริ่มราวเดือนพฤศจิกายน-ตน้ เดือนมกราคม
เทศกาลไฟประดบั เมืองโตเกียวประจาปี ที่จะมีการประดบั ตกแต่งไฟตามตึกและ
สวนสาธารณะในจุดท่องเที่ยวสาคญั และแลนดม์ าร์คต่างๆ ของเมือง และในช่วงใกลเ้ ทศกาล
คริสตม์ าส ก็จะมีการประดบั ไฟพิเศษสาหรับเทศกาลคริสตม์ าส (Christmas Lights Festivals)
และมีตน้ คริสตม์ าสยกั ษส์ ูงกวา่ 20 เมตรที่ประดบั ดว้ ยหลอดไฟสวยงามกว่าสองหมื่นดวง
และไฮไลทอ์ ีกอยา่ งกค็ อื ไฟประดบั ทางชา้ งเผอื ก (Milky Way) ทะเลดวงดาวท่ีโตเกียวโดม ท้งั น้ี
ตีมการประดบั ไฟในแตล่ ะปี อาจมีการปรับเปล่ียนบา้ ง แตท่ ่ีไม่เปล่ียนอยา่ งแน่นอนกค็ ือความ
อลงั การสวยงามของเทศกาลในทุกปี
-44-