The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การส่งเสริมคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การส่งเสริมคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม

การส่งเสริมคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา สร้างคนดีสู่สังคม

จิตอาสา...ตามคำ�พอ่ : เรียนรู้ตามรอยพระบาท

‘กระป๋องคนจน’ เป็นกุศโลบายท่ีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงฝึกให้พระราชโอรสและพระราชธิดา รู้จักวิธีการประหยัด อดออม และการ
เสียสละเพอ่ื ผู้อ่นื

โดยพระองค์จะตั้งกระป๋องออมสินไว้กลางท่ีประทับ หากพระราชโอรส
และพระราชธิดาทรงน�ำเงินไปท�ำกิจกรรมแล้วมีก�ำไร อาทิ พระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร สมัยทรงพระเยาว์ พระองค์
ทรงไดร้ บั คา่ ขนมสปั ดาห์ละคร้ัง

แต่แม้จะได้ค่าขนมทุกสัปดาห์ ก็ยังทรงรับจ้างเก็บผักและผลไม้ไปขาย
เมอื่ ได้เงินมากน็ ำ� ไปซอ้ื เมลด็ ผักมาปลูกเพิ่มและส่วนหนง่ึ จะถูกหยอดใส่กระปุกนี้
10 เปอร์เซ็นต์เหมอื นการเก็บภาษี

พอถึงส้ินเดือน สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีจะทรงประชุม
ท้ังสามพระองคว์ า่ จะนำ� เงนิ กอ้ นนไ้ี ปทำ� ประโยชนอ์ ยา่ งไร หรอื ทำ� กจิ กรรมเพอื่ คน
ยากจนอยา่ งไร

การหลอ่ หลอมเรอื่ ง ‘การให’้ ของสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนไี ด้
เป็นท่ีประจักษ์ของปวงชนชาวไทยตลอดระยะเวลาทรงครองสิริราชสมบัติ 70 ปี
ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
พระองค์ทรงเป็นผู้ให้และแบบอย่างของการให้ ท้ังยังทรงสอนคนไทยผ่าน
พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัสมานบั คร้ังไมถ่ ้วน อาทิ

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 99

“พระพุทธเจ้าก็ตรัสไว้ว่า บุคคลใดประกอบความดี
คณุ ความดีน้ันยอ่ มตอ้ งสนองตอบ ข้าพเจา้ จงึ ขอชักชวนแต่ละทา่ น
ให้พยายามบ�ำเพ็ญความดีด้วยน�้ำใจอันบริสุทธ์ิ แม้บางโอกาส
อาจจะต้องเสียสละบ้างก็จงมานะอย่าท้อถอย จงสมัครสมาน
สามัคคีร่วมใจกันให้ม่ันคงด้วยดี ท้ังน้ีเพ่ือความสุขสวัสดีของท่าน
และเพ่ือความวัฒนาถาวรของประเทศชาติอันเป็นที่รักของเรา
ทั้งหลาย”

พระราชด�ำรสั พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย
ในโอกาสขน้ึ ปใี หม่ พุทธศกั ราช 2497
วนั ที่ 31 ธันวาคม 2496

100 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

“หลักการส�ำคัญ คือ ต้องร่วมกันท�ำงานเพื่อชาติ นี่เป็น
หลักส�ำคัญส�ำหรับทุกคนในประเทศไทยท่ีจะต้องร่วมกันสร้าง
ความม่ันคงของส่วนรวมด้วยความขะมักเขม้น ด้วยความต้ังใจ
และดว้ ยความเสียสละเพือ่ ส่วนรวม”

พระราชดำ� รสั พระราชทานแกผ่ ้แู ทนมลู นิธิทว่ั ราชอาณาจกั ร
ณ พระตำ� หนกั จติ รลดารโหฐาน วันท่ี 20 มนี าคม 2512

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 101

“การท�ำเพ่ือประโยชน์ส่วนรวมน้ันได้ประโยชน์มากกว่าท�ำ
เฉพาะประโยชน์ส่วนตัว และบอกได้ว่าคนไหนท�ำเพ่ือประโยชน์
ส่วนตัวแท้ๆ ล้วนๆ เชื่อว่าประโยชน์นั้นจะไม่ได้ เท่ากับรวบรวม
ของหนักมาวางบนหัว แบกเอาไว้ตลอดเวลา ซงึ่ ก็ไม่สบาย ก็หนกั
ก็เหนื่อย แต่ถ้าผู้ใดท�ำเพื่อส่วนรวม ยิ่งมาก ย่ิงดี ยิ่งคล่องแคล่ว
วอ่ งไว และยง่ิ มีความสุข”

พระราชดำ� รสั พระราชทานแกน่ ักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์
ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี
วนั ที่ 11 กันยายน 2523

102 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

“จติ อาสา” ช่วยสร้างคนดี สงั คมดี อยา่ งไร

จิตอาสา เป็นคุณธรรมสากลที่ช่วยให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
ซ่ึงจิตอาสาจะเช่ือมโยงกับคุณธรรมอื่นๆ เป็นคุณธรรมพ้ืนฐานของผู้ท่ีมี
จติ อาสา คือ เป็นผทู้ ม่ี คี วามรกั ความเอือ้ เฟ้อื เผ่อื แผ่ มีเมตตากรณุ า อยากชว่ ย
ให้คนอื่นพ้นทุกข์หรือมีความสุข การเป็นผู้มีจิตอาสาย่อมมีใจที่เป็นผู้ให้
หรือ ทาน ซึ่งการให้น้ันมิได้หมายเพียงการให้เงินทองส่ิงของเท่านั้น แต่
หมายรวมถึงการให้ความคิด ใหค้ �ำปรกึ ษาและใหเ้ วลาดว้ ย

อกี ระดบั หนงึ่ ของจติ อาสา คอื จติ สาธารณะ คอื มคี วามใสใ่ จตอ่ สงั คม
หมายถงึ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ช่วยแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น
แม้ไม่ใช่งานในหนา้ ที่ เมอื่ คนในสงั คมมจี ติ อาสา จติ สาธารณะกนั มากขน้ึ กจ็ ะ
เกดิ การทำ� งานรว่ มกนั ท�ำให้เกิดความสามัคคีปรองดอง ช่วยลดความเหล่ือมล้�ำ
และน�ำไปสูส่ ันตสิ ุขได้

รบั ผิดชอบ เสียสละ จติ สาธารณะ ความสามัคคี
เอ้ือเฟื้อเผื่อแผ่ จิตอาสา
เมตตากรุณา

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 103

พลงั จิตอาสา สรา้ งสงั คมไทยให้นา่ อยู่

โดยพื้นฐานคนไทยส่วนใหญ่มีความเอื้อเฟื้อ ชอบช่วยเหลือคนอื่นและ
สังคม โดยผ่านการบริจาคเพื่อการกุศล ช่วยเหลือคนทุกข์ยากหรือด้อยโอกาส
ช่วยเหตุวิกฤตภัยพิบัติต่างๆ เช่น เหตุการณ์สึนามิ น้�ำท่วม ไฟไหม้ ซึ่งการ
ให้มิได้จ�ำกัดเฉพาะภายในประเทศ หลายครั้งยังขยายไปยังประเทศต่างๆ ที่
ประสบภัยพิบตั ิ
พลังจิตอาสาของคนไทยยิ่งใหญ่มาก โดยเฉพาะเม่ือจิตอาสาหรือ
การให้น้นั เกดิ มาจาก “ศรทั ธา” ดงั เหน็ ไดจ้ ากปรากฏการณใ์ นชว่ งพระบาทสมเดจ็
พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร เสดจ็ สวรรคต ไดม้ ผี คู้ นออกมา
เป็นจิตอาสาท�ำดีเพ่ือพ่อหลายล้านคน และทุกคนต่างสัญญาว่าจะท�ำดีต่อไป
หวั ใจสำ� คญั ของการเปน็ จติ อาสาอยทู่ ไี่ ดล้ งมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ จงึ จะทำ� ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
สัมผัสกับความรู้สึกที่หยั่งลึกไปสู่จิตใจ และเม่ือท�ำอย่างต่อเน่ืองจนเคยชินก็จะ
กอ่ ใหเ้ กดิ เป็นนสิ ยั ดังนน้ั ไมว่ ่าคณุ เป็นใครกเ็ ป็นจิตอาสาได้

104 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

ความคดิ
กำ� ลังใจ

แรงกาย/ สง่ิ ของ ความรู/้ ขอ้ มลู /
แรงงาน ความเชีย่ ว ขา่ วสาร

ชาญ

เงิน

เวลา

การให้

รูปแบบของจติ อาสา คอื “การให้” แลว้ เราจะให้อะไรได้บ้าง

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 105

การเป็นจติ อาสาย่อมทำ� เพื่อคนอืน่ แลว้ เราจะใหก้ ับใครได้บ้าง

• คณุ ธรรมความดี • พัฒนาใหย้ ่งั ยืน
• การพฒั นายง่ั ยืน • ฟน้ื ฟู ลดการท�ำลาย
• สร้างความเสมอภาค
• ลดความเหล่ือมล�้ำ

สงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม
อาสาเพื่อใคร

องค์กร บคุ คล

• องค์กรทสี่ รา้ งปัญญา • คนทกุ ขย์ าก/ด้อยโอกาส
พัฒนาคน • คนตกอยใู่ นภาวะวิกฤต/
• ชุมชนทอ้ งถิ่น
• องคก์ รสาธารณกศุ ล มหนั ตภัย
• คนท่เี สยี สทิ ธถิ ูกเอาเปรยี บ
• คนทตี่ ้องการพัฒนาตนเอง

106 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

จิตอาสาสรา้ งประโยชน์แก่ผใู้ หแ้ ละผูร้ บั

ผลู้ งมือท�ำจติ อาสาได้ ผู้รับได้

• สุขใจได้ชว่ ยคนอื่น • สังคมเขม้ แขง็ อย่เู ยน็ เปน็ สขุ ร่วมกนั
• เสยี สละดว้ ยการให้ • ความรักสามคั คขี องคนในสังคม
• บม่ เพาะความเมตตา • ปญั หาสงั คมสง่ิ แวดลอ้ มไดร้ บั การแกไ้ ข
• สรา้ งส�ำนกึ รับผดิ ชอบ • คนพน้ ทกุ ข์ เพมิ่ สุข มคี ุณค่า
• พลงั พลเมอื ง

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 107

ดังน้ัน แต่ละคนสามารถเป็นจิตอาสาได้ตามความชอบ ความถนัด
ตามสถานะ และเง่ือนไขของแต่ละคน โดยไม่ต้องรอความพร้อม จิตอาสา
สามารถท�ำได้ทนั ที จะทำ� อะไรใหใ้ คร ดว้ ยอะไร ใหเ้ กดิ ผลระดับไหน คณุ เลือกได้
อย่างไรก็ตามควรมีการยกระดับของความเป็นจิตอาสาก็จะท�ำให้จิตอาสาเป็น
พลงั สรา้ งสงั คมให้นา่ อยู่ได้มากมาย

108 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

สง่ เสรมิ สรา้ งจิตอาสาท�ำได้ง่าย
การอยู่ร่วมกันในสังคมปจั จุบันและอนาคต จติ อาสาและจติ สาธารณะมี
ความสำ� คญั อย่างยิง่ จงึ ตอ้ งปลกู ฝังจิตอาสาในคนรนุ่ ใหม่โดย

การบม่ เพาะปลูกฝัง การสรา้ งการเรยี นรู้ การส่งเสรมิ จติ อาสา สร้างวฒั นธรรมใหม่
ในครอบครวั /ชุมชน ในสถานศกึ ษา ในองค์กร ในสงั คม
• ปลกู ฝังความ
• สอดแทรกใน • กำ�หนดเปน็ • นโยบายรัฐส่ง
เมตตา วชิ าการ คณุ ธรรม เสริมมาตรการ
• บม่ เพาะความรบั เปา้ หมาย ทางสังคม
• เรียนรู้จากการ
ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ิ • พัฒนานโยบาย • การเผยแพร่โดย
• ฝกึ ประสบการณ์ • ประกาศเจตนารมณ์ สอ่ื
• วดั ผลจาก • ปฏิบตั ิการจริง
จรงิ พฤติกรรม
• พ่อแมท่ ำ�เป็น
• ตอกยำ้ �เร่อื ง
ตัวอยา่ ง คณุ คา่
• ให้กำ�ลงั ใจ/ชืน่ ชม

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 109

คณุ สมบัติของจิตอาสาท่ีดี

1. ม•คี วคามดิ รดับี ผพดิูดชดอี แบลตะ่อทตำ� นดเีองและรับผิดชอบตอ่ ผู้อน่ื
• จัดการชีวติ ตนเองได้
• ไมท่ �ำให้คนอื่นและสงั คมเดือดรอ้ น

2. เสนอตัวทำ� งานเพื่อผอู้ ืน่

• ชว่ ยเหลอื คนอ่นื เม่อื มโี อกาส
• ด้วยความสมัครใจและเต็มใจ
• ไมค่ �ำนงึ ถึงผลตอบแทน ท�ำดีเพื่อความดี

3. ใส่ใจต่อสังคม

• ไมน่ ง่ิ ดูดายต่อปัญหาสงั คม
• เขา้ รว่ มแกไ้ ข ไม่วิจารณอ์ ย่างเดยี ว
• รบั ฟังและเคารพต่อความเหน็ ท่แี ตกตา่ ง
• เรยี นรทู้ า่ มกลางการปฏบิ ตั ิ

110 > บทที่ 2 พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา : สร้างคนดีสู่สังคม

“พอเพียง วนิ ัย สจุ ริต จิตอาสา” เพือ่ สร้างคนดีสสู่ ังคม

เม่ือท่านได้เข้าใจสาระส�ำคัญของคุณธรรม พอเพียง วินัย สุจริต
จิตอาสา แล้วจะพบว่าคุณธรรมท้ังส่ีมีความส�ำคัญต่อ “การสร้างคนดีสู่สังคม”
อย่างยิ่ง และคุณธรรมแต่ละข้อจะมีความสัมพันธ์กัน และเชื่อมโยงกับ
คุณธรรมอ่ืนๆ อีกหลายข้อ ดังน้ัน การส่งเสริมคุณธรรม ผู้เกี่ยวข้องอาจ
พิจารณาเลือกให้เหมาะสมกับสภาพความจริงของแต่ละองค์กร ซึ่งอาจส่งเสริม
พรอ้ มกันท้ัง 4 ขอ้ หรอื เลอื กส่งเสรมิ บางข้อกอ่ นก็ได้ เพราะอย่างไรก็ตาม เม่อื
มีการส่งเสริมอย่างจริงจังแล้ว ย่อมเช่ือมโยงและขยายไปสู่คุณธรรมข้ออื่นๆ ได้
ตามภาพท่ีแสดงดา้ นล่างน้ี

จิตอาสา

เมตตากรณุ า
สามัคคี เสียสละ เอื้อเฟือ้

สุจริต สตริ ู้ผิดชอบช่ัวดี พ่ึงตนเอง พอเพียง

รบั ผดิ ชอบ อดทน
ขยัน

วินัย

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 111

พอเพยี ง
วินัย
สจุ รติ
จติ อาสา

บทท่ี 3

ร่วมสรา้ งคนดีส่สู งั คม

การสร้างคนดีสู่สังคมด้วยคุณธรรมพอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา ให้
เกิดผลเชิงประจักษ์ว่า คนไทยมีคุณธรรมเป็นรากฐานส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิต
มีการประพฤติปฏิบัติที่สะท้อนการมีคุณธรรมมากข้ึนนั้น มีองค์ประกอบของ
ปัจจัยความสำ� เรจ็ หลายประการ ได้แก่

• หลักการระเบดิ จากขา้ งใน
• การสรา้ งศรทั ธา
• การปฏิบัตดิ ว้ ยตนเอง
• มีความรู้ วิธีการท่ีเหมาะสมกบั คนไทย
• ขับเคล่ือนด้วยพลงั เครือข่ายทางสงั คม
• รัฐมีนโยบายชัดเจน

หลกั การระเบดิ จากข้างใน

เป็นหลักการส�ำคัญของการปลูกฝังสังคมคุณธรรม คือ จะต้องท�ำให้
บุคคล องค์กร หรือชุมชนนั้น เกิดความเข้าใจ ตระหนัก ถึงคุณค่าของการ
มีคุณธรรม คิด วิเคราะห์ ว่า “อะไรคือปัญหาท่ีอยากแก้ ความดีที่อยากท�ำ”
และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การพูดชี้ชวน การสั่งหรือบังคับ การมอบหมาย
นโยบาย ไม่สามารถทำ� ใหม้ ีคุณธรรมหรอื เป็นคนดไี ด้

114 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

การสรา้ งศรทั ธา

คนจะดีมีคุณธรรมต้องมีความศรัทธาต่อความดีน้ันก่อนจึงจะน�ำไปสู่
การปฏบิ ตั ิ ในสังคมไทยมฐี านของความศรทั ธาในความดีมาจากต้นทนุ คุณธรรม
3 ดา้ น คอื

◼ สถาบนั ศาสนา
• คนไทยมีศรัทธาต่อศาสนา เพราะนอกจากเป็นสถาบันที่มีบทบาท

ส�ำคัญในการปลูกฝัง บ่มเพาะคุณธรรมให้ประชาชนเป็นคนดีมี
ศีลธรรม อยู่ร่วมกันอย่างสุขสงบแล้ว ยังเป็นที่พึ่งทางใจช่วยให้
คนมสี ติและก�ำลงั ใจในการเผชญิ กบั ปัญหาต่างๆ ในชวี ติ

• ประเทศไทยเปิดกว้างในการนับถือศาสนา ท�ำให้มีความหลาก

หลายทางศาสนา อาทิ พทุ ธ อสิ ลาม คริสต์ พราหมณ-์ ฮินดู และ
ซิกข์ ฯลฯ ซ่ึงหลักธรรมค�ำสอนของทุกศาสนานั้น ล้วนสอนให้
เป็นคนดีมีศีลธรรม คุณธรรม และจริยธรรม หลักธรรมค�ำสอน
เป็นรากฐานการสร้างระเบียบของสังคมอันดีงาม และการมีชีวิต
อยู่ร่วมกันด้วยความรักอย่างสันติสุขในสังคม ไม่เบียดเบียนซึ่ง
กันและกัน นักบวชแต่ละศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ต่างท�ำ
หน้าท่ตี ่อศาสนกิ ชนในศาสนาของตน

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 115

◼ สถาบนั พระมหากษตั ริย์

สถาบันพระมหากษัตริย์ของไทย เป็นศูนย์รวมจิตใจของปวงชน
ชาวไทย และยังมีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมคณุ ธรรมใหก้ บั ประชาชน โดยเริ่ม
จากการปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่าง ดงั เห็นได้จาก

• ทศพิธราชธรรม จริยวัตร 10 ประการ หรือเรียกอีกอย่างว่า

‘ราชธรรม 10’ เปน็ คุณธรรมที่พระเจา้ แผ่นดนิ ทรงประพฤติเปน็ หลักธรรมประจำ�
พระองค์ หรือคุณธรรมประจ�ำตนของผู้ปกครองบ้านเมืองให้มีความเป็นไป
โดยธรรม คือ การให้ความเพียร ประพฤติดีงาม สุขุมจิตใจม่ันคง เสียสละ
ความไม่เบียดเบียน ความซื่อตรง ความอดทน ความอ่อนโยน มีกิริยาสุภาพ
ความเทย่ี งธรรม

• ศาสตร์พระราชา โดยเฉพาะในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา

ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อให้ชีวิตและการปฏิบัติงานด�ำเนินไปในทางสายกลาง
ท่ีเหมาะสม สอดคล้องกับวิถีความเป็นอยู่ของแต่ละคน แต่ละองค์กร โดยมี
องค์ประกอบสำ� คัญ คอื ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และภมู ิคุ้มกันในตัว
ที่ดี ภายใต้ 2 เงื่อนไขหลกั คือ

116 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

เงอื่ นไขความรู้ และเงอ่ื นไขคณุ ธรรม
หลักการทรงงานหลายข้อที่สะท้อนการน�ำเอาคุณธรรมมาเป็น
หลักในการท�ำงานเพ่ือความสุขของประชาชน และประโยชน์
ของชาติ เชน่

- ระเบิดจากข้างใน ประหยัด ประโยชน์ส่วนรวม เสียสละ
พงึ่ ตนเอง พออยพู่ อกิน

- ซ่อื สัตย์สจุ รติ ความเพยี ร

◼ วฒั นธรรมประเพณีและความเปน็ ไทย

สงั คมไทยมที นุ ทางวฒั นธรรมประกอบดว้ ยศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี
และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีงาม ท่ีคนรุ่นก่อนใช้เป็นกุศโลบายในการบ่มเพาะ
หล่อหลอมให้คนไทยมีค่านิยมและการด�ำเนินชีวิตท่ีแสดงออกถึงการมีคุณธรรม
ความดีที่โดดเด่น ได้แก่ การเคารพผู้ใหญ่ ความกตัญญู ความมีน้�ำใจไมตรี
ความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ คอยช่วยเหลือผู้อื่นในยามทุกข์ยาก การให้ทาน ความ
สามัคคี แม้ว่าวัฒนธรรมน้ีจะลดน้อยไปบ้าง จากผลของการเปลี่ยนแปลงด้าน
ต่างๆ แตย่ งั คงเปน็ ตน้ ทนุ ท่ีจะน�ำมาเสริมสร้างคุณธรรมสงั คมไทยได้ดี

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 117

การปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง : สังคมดีเร่ิมต้นท่ีตัวเรา

เมอื่ ทกุ คนปรารถนา “คนดี สังคมด”ี อยากมีความสขุ ในชวี ติ ...
แต่ “สงั คมดีไม่มขี าย อยากไดต้ ้องรว่ มสรา้ ง”

ดงั นั้นคนไทยทุกคนตอ้ งเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการสร้าง
“คนดี สังคมดี สังคมคุณธรรม”

118 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

สังคมคุณธรรมจะเกิดข้ึนได้คนในสังคมต้องได้รับการปลูกฝังบ่มเพาะ
ให้เป็นคนดี มีคุณธรรม คิดดี พูดดี ท�ำดี ในการด�ำเนินชีวิต การเป็นคนมี
คุณธรรมไม่เพียงแต่มีความรู้ความเข้าใจว่าคุณธรรมคืออะไรเท่าน้ัน แต่ต้อง
ผ่านการปลูกฝังบ่มเพาะและการปฏิบัติจริงด้วยตนเองอย่างสม่�ำเสมอจนเคยชิน
เป็นการระเบิดจากข้างในของแต่ละคน คุณธรรมไม่สามารถเกิดได้จากการ
ทอ่ งจำ� การถูกบังคับ หรือการปฏบิ ัติทไ่ี มไ่ ดเ้ กดิ จากจิตส�ำนกึ ภายใน

การเป็นคนดีมีคุณธรรมไม่ได้หมายถึงการเปล่ียนจากคนไม่ดีให้กลาย
เป็นคนดีสมบูรณ์เพียงข้ามคืน แต่หมายถึงการท�ำความดีเพ่ิมข้ึนจากที่เคยท�ำ
อย่างสม�่ำเสมอ จนเป็นเรื่องปกติของการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันและเม่ือตนเอง
เปน็ คนมคี ุณธรรมแลว้ ก็ขยายการทำ� ความดีไปสู่คนในครอบครัว ชมุ ชน องค์กร
และสังคม ระดับการท�ำความดีมีคุณธรรมก็จะขยายจากการท�ำความดีเพื่อ
ตนเอง เป็นท�ำความดเี พอ่ื คนอนื่ ครอบครวั ชุมชน และสังคม เม่อื สงั คมมีคน
ดีเพิ่มข้ึนๆ สังคมก็จะดีขึ้นเป็นครอบครัวคุณธรรม ชุมชนคุณธรรม องค์กร
คณุ ธรรม และสงั คมคุณธรรมท่ีทุกคนปรารถนา

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 119

คนดมี ี ครอบครวั องคก์ ร ชุมชน สังคม ประเทศ
คณุ ธรรม คุณธรรม คุณธรรม คณุ ธรรม คุณธรรม คุณธรรม

สรา้ ง

ทำ� ดเี พ่อื ท�ำดเี พื่อ ท�ำดีเพ่ือ ทำ� ดีเพอื่ ทำ� ดเี พ่อื ท�ำดีเพื่อ
ตนเอง ครอบครัว องคก์ ร ชุมชน สังคม ประเทศ

ทกุ คนเป็นส่วนหนึง่
ของการสร้างสงั คมคุณภาพ

120 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

สังคมไทยมีความรู้ วิธกี ารปลกู ฝังคุณธรรมอย่างไร

การก่อเกิดคุณธรรมจะมีความม่ันคงยั่งยืนได้ จะต้องเกิดจากการ
ระเบิดจากข้างในของคนๆ น้ัน แต่ไม่ได้หมายถึงจะเกิดข้ึนได้เองกับทุกคน
การปลูกฝังบ่มเพาะส่งเสริมท่ีดีจะช่วยให้เกิดคุณธรรมในบุคคลและสังคมได้ดี
จากรายงานการวิจัยเร่ือง “คุณลักษณะและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมในประเทศไทย” ของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม
ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ได้ค้นพบว่า
คุณธรรมจริยธรรมท่ีควรเร่งปลูกฝังให้กับประชาชนไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงเด็ก
และเยาวชน มี 10 ประการ คอื

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 121

ความ ความเมตตา ความ ความเสียสละ
กตญั ญู กรุณา พอเพยี ง ความ
กตเวที
ความ คุณธรรม รับผดิ ชอบ
ซ่ือสัตย์ จริยธรรม
ซอื่ ตรง ทคี่ วรปลกู ฝงั

ความมวี ินยั ความมสี ติ

ความ ความ
อดทนอดกลน้ั ขยันหม่นั เพียร

122 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

และมีรูปแบบและกระบวนการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมทั้ง 10 ประการของ
7 สถาบันทางสังคม ได้แก่ สถาบัน ครอบครัว การศึกษา ศาสนา การเมือง
การปกครอง ชมุ ชนท้องถนิ่ องค์กรธรุ กจิ สอื่ สารมวลชน คน้ พบว่ามีรปู แบบและ
กระบวนการปลูกฝังคณุ ธรรมในภาพรวม 8 กลมุ่ วิธกี าร ดงั น้ี

1. การสอนดว้ ยวาจา
2. การสอนผา่ นการจัดหาสิ่งทเ่ี หมาะสมใหค้ นได้เรยี นรดู้ ้วยตนเอง
3. การปฏบิ ตั ิใหด้ เู ปน็ แบบอย่าง / ใชค้ นดเี ปน็ แบบอย่าง
4. การสอนโดยสอดแทรกในกิจกรรมทท่ี ำ� ร่วมกนั
5. การสอนโดยการใหร้ างวลั และการลงโทษ
6. การสอนดว้ ยการน�ำเสนอผ่านสอ่ื มวลชนในรูปแบบตา่ งๆ
7. การสอนโดยการกระต้นุ ใหค้ ดิ หาเหตผุ ลว่าทำ� ไมสง่ิ หน่งึ จงึ ดีหรือไมด่ ี
8. การสอนโดยการใหป้ ฏิบัตใิ นสถานการณ์จริง

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 123

124 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม รูปแบบและกระบวนการปลูกฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรมของสถาบนั ทางสงั คม

รปู แบบและกระบวนการปลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม สถาบัน สถาบนั การ สถาบัน สถาบนั การเมือง ชมุ ชน องค์กร สอ่ื สาร
ครอบครัว ศกึ ษา ศาสนา การปกครอง ท้องถิน่ ธุรกิจ มวลชน
1. การสอนด้วยวาจา //
2. การสอนผ่านการจัดหาส่ิงที่เหมาะสม / // / ///
/ / ///
ใหค้ นได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง //
3. การปฏบิ ัติใหด้ เู ปน็ แบบอย่าง / / / //
//
ใชค้ นดีเปน็ แบบอย่าง / / / ///
4. การสอนโดยสอดแทรกในกิจกรรมทท่ี �ำร่วมกนั / // / //
5. การสอนโดยการให้รางวลั และการลงโทษ //
6. การสอนดว้ ยการน�ำเสนอผ่านส่อื มวลชน / //
/
ในรปู แบบต่างๆ / //
7. การสอนโดยการกระตนุ้ ใหค้ ดิ หาเหตผุ ล /

ว่าท�ำไมสงิ่ หนง่ึ จึงดหี รือไม่ดี
8. การสอนโดยการให้ปฏิบตั ิในสถานการณจ์ รงิ

และยงั คน้ พบอีกวา่ ปัจจยั 16 ดา้ นท่ีมอี ทิ ธพิ ลต่อการปลูกฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ของสถานการณต์ า่ งๆ ดังน้ี

ดา้ นการปลกู ฝัง ดา้ นสภาพแวดล้อม
- การมตี ้นแบบทด่ี ีด้านคุณธรรม - ผ้นู ำ� องคก์ รมีจิตสำ� นึกรบั ผิดชอบต่อ
จรยิ ธรรม สังคม
- การมสี มั พนั ธภาพทดี่ ีระหว่างสมาชิก - การมวี สิ ัยทัศน์ปรชั ญาชดั เจน
ในครอบครัว - การกำ� หนดกฎระเบียบ ขอ้ บงั คับ
- การได้รับการสนบั สนนุ ใหก้ ำ� ลงั ใจ หรือประมวลจรยิ ธรรม
ในการท�ำความดี - การจัดการสภาพแวดล้อมให้ลงมอื
- การมีประสบการณก์ ารท�ำงาน ปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ
เพ่อื สังคม

ด้านการปฏบิ ัติ ดา้ นการมสี ่วนร่วม
- รูปแบบและกระบวนการปลกู ฝังมี - การสรา้ งกระแสความต่ืนตัวในการ
ความหลากหลาย ทำ� ความดี
- การสอดแทรกคุณธรรมจรยิ ธรรมไป - การสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือ
ในทุกกจิ กรรม - การรวมตัวกนั ของภาคประชาชน
- บรรยากาศท่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้ฝกึ ฝน - การปลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรมผ่าน
- การให้ความรว่ มมอื จากทกุ ฝ่าย สื่อมวลชน

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 125

ดงั นน้ั กระบวนการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม เพอื่ ใหเ้ กดิ บคุ ลกิ ลกั ษณะ
ของคน เพื่อน�ำไปสู่การเปล่ียนแปลงทิศทางอนาคตของชาติ ผ่านอนาคตของ
บุคคลจากการบ่มเพาะ “วิธีคิด” ควบคู่ไปกับการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
จะได้แผนภาพ ดังนี้

อตั ลกั ษณ์บคุ คล อนาคตและ
ความเจรญิ ของชาติ

บคุ ลกิ ลกั ษณะ คุณลกั ษณะด้าน
นิสัย คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
สอนวิธปี ฏบิ ตั คิ วบคู่ไป
การกระท�ำ กับการปลกู ฝงั คณุ ธรรม
ความคดิ

126 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

การขับเคล่ือนคณุ ธรรมด้วยพลงั เครือข่ายทางสังคม

การขบั เคลอื่ น “การสรา้ งคนดสี สู่ งั คม” เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ตอ้ งไมต่ า่ งคนตา่ งทำ�
แตต่ อ้ งรวมพลงั ทกุ ภาคสว่ น ทงั้ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน/ธรุ กจิ สถาบนั วชิ าการ
ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน โดยเฉพาะองค์กรศาสนา ต้องส่งเสริม
ปลูกฝงั คณุ ธรรมพอเพยี ง วนิ ยั สุจรติ จติ อาสา ให้แกเ่ ดก็ และเยาวชน ครอบครัว
ชุมชน องค์กร ตามบทบาทหน้าที่ของตน และต้องร่วมมือกันทั้งในระดับ
เป้าหมาย แผนงาน การท�ำงาน และงบประมาณ การตดิ ตาม ประเมนิ ผล ท้ัง
ในระดบั องค์กรและพน้ื ที่

ศาสนา

ภาครัฐ เอภกาชคน กระทรวง คณุ ธรรมตน้ แบบ
จังหวัด คณุ ธรรม
อำ� เภอ
รวมพลงั สง่ เสรมิ พฒั นา องคก์ ร ส่งเสริมคุณธรรม

ปสรังะคชมา วชิ าการ ชุมชน
ครอบครัว

ประชาชน

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 127

คนดีองคก์ รคณุ ธรรม ส่สู งั คม
สร้าง

128 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

นโยบายคณุ ธรรมน�ำ การพฒั นา

การขับเคล่ือนสังคมไทยสู่สังคมคุณธรรม เพ่ือสร้างคนดี สังคมดี
รัฐบาลมีความมุ่งมั่นต้ังใจอย่างย่ิงโดยมีแนวทางการปฏิรูป และพัฒนาประเทศ
ที่สร้างความสมดุลพอดีระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับการสร้างสังคมท่ีดี
ใช้คุณธรรมน�ำการพัฒนา และมียุทธศาสตร์หรือนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริม
คุณธรรม ดงั น้ี

ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี
พ.ศ. 2560-2579
บริหารประเทศดว้ ย
หลักธรรมาภบิ าล สรา้ งทนุ มนษุ ย์
ทุนทางปัญญา
สงั คมปรองดอง ทนุ ทางสงั คม
สามัคคี

ม่ันคง มงั่ ค่งั

ยงั่ ยืน

มงุ่ ประโยชน์สว่ นรวม
ยดึ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

◼ โดยการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพคน
◼ การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มกันทางสังคม

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 129

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12
(พ.ศ. 2560 - 2564)

จุดเนน้ การพฒั นา
“การหล่อหลอมให้คนไทยมีค่านิยม
ตามบรรทัดฐานของสังคม คนไทย
ทุกช่วงวัยเป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี
มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย
มจี ิตส�ำนึกท่ดี ตี อ่ สังคมสว่ นรวม”

เป้าหมาย
คนไทยมคี ณุ ลกั ษณะคนไทยทสี่ มบรู ณ์
เป็นพลเมอื งท่ีตนื่ รู้

ตัวชีว้ ดั
ประชาชนมีการประพฤติปฏิบัติ
ท่ีสะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรม
เพมิ่ มากขนึ้

130 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

แผนแม่บทสง่ เสรมิ คุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ. 2559 - 2564)

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 131

วสิ ัยทัศน์

สังคมไทยมคี ุณธรรมเปน็ รากฐานทส่ี �ำคัญในการดำ� รงชวี ิต สืบสานความเปน็ ไทย อยู่ร่วมกนั ด้วยความ
สนั ตสิ ขุ ในประเทศไทย ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลกอย่างย่ังยืน

พันธกจิ

1 . พั ฒ น า ค น ใ ห ้ มี 2. พัฒนาระบบ 3. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของ 4. ส่งเสริมให้
คุณธรรมตามหลักธรรม การบริหารจัดการ สั ง ค ม ต ร ะ ห นั ก แ ล ะ ร ่ ว ม กั น ประเทศไทย
ทางศาสนา น้อมน�ำหลัก ด้านการส่งเสริม เป็นเครือข่าย มีส่วนร่วมใน เป็นแบบอย่าง
ปรัชญาของเศรษฐกิจ คุ ณ ธ ร ร ม ใ ห ้ มี กระบวนการส่งเสริมคุณธรรม ด ้ า น คุ ณ ธ ร ร ม
พอเพียงมาเป็นหลักใน ประสิทธิภาพใน เพ่ือสร้างสังคมคุณธรรมท่ีอยู่ ในประชาคม
การพัฒนาคุณภาพชีวิต มติ ิตา่ งๆ รว่ มกนั อยา่ งสนั ตสิ ขุ มธี รรมาภบิ าล อ า เ ซี ย น แ ล ะ
และด�ำรงชีวิตตามวิถี มีความสมานฉันท์ และมีความ ประชาคมโลก
วฒั นธรรมไทยที่ดีงาม ย่ังยนื

ยทุ ธศาสตร์

1. วางระบบรากฐานการ 2. สร้างความ 3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ 4. ส่งเสริมให้
เสริมสร้างคุณธรรมใน เข้มแข็งในระบบ ในการสง่ เสริมคณุ ธรรม ประเทศไทย
สงั คมไทย การบริหารจัดการ เป็นแบบอย่าง
ด้านการส่งเสริม ด ้ า น คุ ณ ธ ร ร ม
คุณธรรมให้เป็น ในประชาคม
เอกภาพ อ า เ ซี ย น แ ล ะ
ประชาคมโลก

การบรหิ ารจดั การแผนแม่บทสง่ เสริมคุณธรรมแห่งชาติ โดยกระบวนการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน

ภาครฐั ภาคประชาสงั คม/ ภาคธรุ กิจเอกชน/ ภาควิชาการ/ ประชาชนทวั่ ไป
ภาคชุมชน/ภาคประชาชน ภาควชิ าชพี ภาคสื่อมวลชน

กระบวนการขับเคลื่อนและกำ� กบั ตดิ ตามแผนแม่บทสง่ เสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาตทิ มี่ ปี ระสทิ ธิภาพ

การขบั เคลอ่ื นแผนแม่บทส่งเสรมิ คณุ ธรรมส่กู ารปฏิบัติโดยคณะอนกุ รรมการระดบั กระทรวงและจังหวัด
รว่ มกับภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคส่วน

132 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

ยุทธศาสตร์

• สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต
• ปรบั ฐานคิดคนทุกชว่ งวยั ใหแ้ ยกแยะประโยชนส์ ว่ นตน - สว่ นรวม
• สร้างระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพือ่ ต้านทจุ ริต
• ประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ เคร่อื งมือต้านทุจริต

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 133

ภาคผนวก

134 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

แหลง่ สืบค้นข้อมลู จากหนงั สอื
กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม. (2557). ความรศู้ าสนาเบอื้ งตน้ . พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2.

กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
คณะอนุกรรมาธิการส่งเสริมกิจการศาสนาและศาสนิกสัมพันธ์ คณะกรรมมาธิ

การศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศลิ ปะและวัฒนธรรม วุฒสิ ภา. (2560).
วิถชี ีวติ 5 ศาสนิก ในประเทศไทย. พิมพ์คร้งั ที่ 3. กรงุ เทพฯ : มหาจฬุ า
ลงกรณราชวทิ ยาลยั .
ไทยคูน-แบรนด์เอจ. (2559). เทดิ ไวเ้ หนือเกล้าชาวไทย. พิมพค์ ร้ังท่ี 1. กรงุ เทพฯ
: เลฟิ แอนด์ ลฟิ .
บัณฑิต วิทยาธรสุกุล. (2519). หลักธรรมในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ฉบับของ
องค์การศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. พิมพ์คร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ : กรมการ
ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ.
พระพรหมคุณากรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับ
ประมวลธรรม. พมิ พ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
.(2550). วนิ ยั เรือ่ งใหญ่กวา่ ที่คดิ . พิมพค์ ร้ังที่ 4. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั
พิมพ์สวย จำ� กัด.
รังสรรค์ แสงสขุ และคณะ. (2544). ความรูค้ ่คู ุณธรรม. พมิ พ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ
: มหาวิทยาลยั รามค�ำแหง.
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา.
(2550). หลากหลายวิถี...สร้างคนดีสู่สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
พรกิ หวานกราฟฟิค.
วีรวิท คงศักด์ิ. พลอากาศเอก. (2555). คุณธรรมกับสังคมไทย. พิมพ์คร้ังที่ 1.
กรุงเทพฯ : สำ� นกั พิมพ์ บรษิ ัท แว่นแก้ว เอด็ ดูเทนเมนท์ จำ� กดั .
ศรุต นาควัชระ. พลเอก. (2560). หลักการพนื้ ฐานของคณุ ธรรม. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 6.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพม์ หาวิทยาลยั สยาม.

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 135

ศภุ รตั น์ รตั นมขุ ย.์ รองศาสตราจารย.์ (2553). ระบบการบรหิ ารจดั การงานอาสาสมคั ร
ศกึ ษากรณี : มลู นธิ ิพุทธฉือจ้ี ไตห้ วัน. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรงุ เทพฯ : ห้างหนุ้
ส่วนจำ� กดั เชน ปร้ินติ้ง.

ศูนย์คณุ ธรรม (องคก์ ารมหาชน). (2559). เทดิ 9 ปกเกศ 70 คณุ ธรรมน�ำประชา.
พิมพค์ รง้ั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ : พริกหวานกราฟฟคิ .

ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). (2555). สังคมคุณธรรม. พิมพ์คร้ังท่ี 3.
กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟิค.

แหลง่ สืบคน้ ข้อมลู บทความจากหนังสือ

ณดา จันทร์สม. (2554). การประยุกต์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับ
บคุ คล ใน ณฏั ฐพงศ์ ทองภกั ดี (บรรณาธกิ าร). ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กับสังคมไทย. (หนา้ 139-153). กรุงเทพฯ : ศูนยศ์ ึกษาเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร.์

ณัฐพงศ์ ทองภักดี.(2554). ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกับภาครัฐ ใน ณฏั ฐพงศ์
ทองภักดี (บรรณาธิการ). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. (หน้า
201-226). กรงุ เทพฯ : ศูนยศ์ ึกษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สถาบันบัณฑติ พฒั น
บริหารศาสตร.์

ปรียานุช พิบูลสราวุธ. (2554). วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 และความเป็นมาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ นำ� ไปสู่การพฒั นาที่ย่งั ยืน ใน ณฏั ฐพงศ์ ทองภกั ดี
(บรรณาธิการ). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสังคมไทย. (หน้า 67-102).
กรงุ เทพฯ: ศนู ยศ์ กึ ษาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร.์

พระเมธีธรรมาภรณ์. (2541). พุทธปรชั ญากบั การพัฒนาวนิ ยั และประชาธิปไตย.
ค�ำบรรยายเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่
เน้นความมีวินัยและความเป็นประชาธิปไตย. (หน้า 6-13). กรุงเทพฯ :
กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ.

136 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

สมบูรณ์ สุขส�ำราญ. (2541). แนวความคิดในการพัฒนานัยและอุดมการณ์
ประชาธิปไตยในเยาวชน. ค�ำบรรยายเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีในการ
พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมท่ีเน้นความมีวินัยและความเป็นประชาธิปไตย.
(หน้า 100-121). กรุงเทพฯ : กรมวชิ าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ.

เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2541). ความอยู่รอดของสังคมไทยกับการพัฒนาวินัย
และสร้างเสริมวิถีชีวิตประชาธิปไตย. ค�ำบรรยายเก่ียวกับแนวคิดและ
ทฤษฎีในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมท่ีเน้นความมีวินัยและความ
เป็นประชาธิปไตย. (หน้า 60-91). กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ กระทรวง
ศึกษาธิการ.

แหลง่ สืบค้นขอ้ มูลจากเอกสารประกอบการบรรยาย
เกษม วัฒนชัย (ผู้ปาฐกถา). (22 กรกฎาคม 2555). แก้วกิ ฤตไทย ด้วยใจซอื่ ตรง.

กรุงเทพฯ : ศูนยค์ ณุ ธรรม (องคก์ ารมหาชน) รว่ มกับเครือข่ายองคก์ รภาค.ี
แหล่งสืบค้นจากงานวจิ ัย
สถาบันแห่งชาตเิ พอ่ื การพฒั นาเดก็ และครอบครัว.“คุณลกั ษณะและกระบวนการ

ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย.” รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม ส�ำนักงานบริหารและ
พัฒนาองค์ความรู้ (องคก์ ารมหาชน). 2552.

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 137

แหล่งสบื ค้นข้อมลู จากนิตยสาร
นันทชัย มีชูธน. (2548,พฤศจิกายน-ธันวาคม). การด�ำรงชีวิตอย่างพอเพียง.

พระครสิ ตธรรมประทปี สหกจิ ครสิ เตยี นแหง่ ประเทศไทย. 56 (307), 25-32.
วันชัย ตนั ติวิทยาพิทกั ษ์. (2552,ตุลาคม). จิตอาสา. สารคด.ี 25 (296), 64-71.
แหล่งสืบค้นข้อมูลออนไลน์
กรงุ เทพธรุ กจิ . 2559. “เรอื่ งเลา่ จากขา้ ราชบรพิ าร ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ

พ่อหลวงของคนไทย”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://www.
bangkokbiznews.com/news/detail/723111. (19 มิถนุ ายน 2560).
คะลัคคะลยุ . 2551. “ปรชั ญาของความพอเพียง”. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งทีม่ า :
http://www.sunnahstudent.com/forum/archive.php?topic=2483.0.
(19 มถิ นุ ายน 2560).
ชญานุช วีรสาร. ผู้จดั การออนไลน์. 2556. “ความซื่อสัตย์ คอื คุณสมบัติของผู้พยงุ
ความยตุ ธิ รรม”. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า : http://www.manager.co.th/
daily/viewnews.aspx?NewsID=9560000011711. (19 มิถนุ ายน 2560).
ไทยรัฐออนไลน์. 2555. “เสด็จออกมหาสมาคม 5 ธันวาฯ ชมพระบารมีพ่อ
หลวงของปวงชนชาวไทย”. [ระบบออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา : https://www.
thairath.co.th/content/310905. (19 มิถุนายน 2560).
นิรุทธ์ิ จันทร์ก้อน. 2543. “วินัยชีวิต”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://
pastornirut.blogspot.com/2011/03/15-413.html. (19 มถิ นุ ายน 2560).
ปวินท์ มินทอง. 2554. “ศาสนาซิกข์”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://
sameaf.mfa.go.th/th/country/south-asia/tips_detail.php?ID=2292.
(19 มถิ ุนายน 2560).

138 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม

มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . 2559. “พระไตรปิฎกเลม่ ที่ 19 พระสุตตนั ตปฎิ ก
เลม่ ที่ 11 [ฉบบั มหาจฬุ าฯ] สงั ยตุ ตนกิ าย มหาวารวรรค”. [ระบบออนไลน]์ .
แหล่งที่มา : http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item /m_read.
php?B=19&A=16286. (19 มิถุนายน 2560).

อสิ ลามกิ ชนไทยโพสต์. 2554. “หลักค�ำสอนของศาสนาอิสลาม หลกั ธรรมพืน้ ฐาน
ของศาสนาอิสลาม”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งท่ีมา : http://islamhouse.
muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=7&
id=18170 (19 มิถุนายน 2560).

สำ� นกั งานกจิ การยตุ ธิ รรม. “ทศพธิ ราชธรรม”. [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า : http://
govesite.com/uploads/20160915110011 tcs6jsr/20161216101557_1_
AcSx5Ju.pdf. (19 มถิ ุนายน 2560).

อาชวภ์ รู ชิ ญ์ นอ้ มเนยี น. “ศาสนาซกิ ข”์ . [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทม่ี า : http://www.
crs.mahidol.ac.th/news/religious/sikh.pdf. (19 มิถุนายน 2560).

. “ศาสนาฮินดู”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.
crs.mahidol.ac.th/news/religious/hindu.pdf. (19 มิถุนายน 2560).

อาลี เสอื สมิง. 2556. “เศรษฐกจิ พอเพียงกบั หลกั การอสิ ลาม”. [ระบบออนไลน]์ .
แหล่งที่มา : http://www.piwdee.net/islamsoksa/soksa60.html.
(19 มถิ ุนายน 2560).

ฐานข้อมูลจากรายการโทรทัศน์
พิลกริม โปรดักช่ัน. (2555, 2 ธันวาคม). เร่ืองเล่าจากเทศกาล ตอน เทศกาล

ศรทั ธาแห่งซิกข์ [รายการโทรทศั น]์ . กรุงเทพฯ : ไทยพีบเี อส.
หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ และสไมล์ ครีเอทีฟ กรุ๊ป. (2556, 10

กรกฎาคม). พืน้ ทีช่ วี ิต ตอน วิถแี ห่งซิกข์ [รายการโทรทัศน]์ . กรงุ เทพฯ :
ไทยพีบเี อส.

พอเพียง วินัย สุจริต จิตอาสา < 139

แหล่งสืบคน้ ขอ้ มลู คุณธรรม
ศนู ยค์ ณุ ธรรม (องค์การมหาชน)

http://www.moralcenter.or.th
สำ� นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ

https://www.nacc.go.th/main.php?filename=media
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ : การ์ตูน
เศรษฐกิจพอเพยี ง นำ� ส่สู งั คมอย่เู ยน็ เปน็ สขุ ร่วมกัน

http://www.obec.go.th/node/17951
พลังแผ่นดนิ

http://www.palangpandin.com/
สานต่อทีพ่ อ่ ทำ�

https://www.facebook.com/fulfilingfatherslegacy/
ห้องสมดุ ทมี่ ชี วี ิต

http://life-brary.com/
หอ้ งสมดุ วัฒนธรรม กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
http://lib.culture.go.th/library/index.php?lang=thai&jfm=search&
width=1366&height=768ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมีปกติ : แปลง
คณุ ธรรมสูก่ ารปฏิบัติ

140 > บทที่ 3 ร่วมสร้างคนดีสู่สังคม



บนั ทกึ

บนั ทกึ





““...ในบา้ นเมอื งนนั้ มที ้งั คนดีและคนไม่ดี
ไม่มีใครจะทำ� ให้คนทกุ คนเปน็ คนดีได้ทั้งหมด
การท�ำใหบ้ า้ นเมอื งมีความปกติสขุ เรยี บร้อย

จงึ มใิ ช่การทำ� ให้ทุกคนเปน็ คนดี
หากแตอ่ ย่ทู ี่การสง่ เสริมคนดี
ให้คนดไี ดป้ กครองบ้านเมือง
และควบคุมคนไมด่ ี ไมใ่ หม้ ีอ�ำนาจ
ไม่ใหก้ ่อความเดือดรอ้ นวุน่ วายได้...””

พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร
ในพธิ ีเปิดงานชมุ นมุ ลูกเสอื แหง่ ชาตคิ ร้ังท่ี 6

ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำ�เภอศรรี าชา จงั หวัดชลบรุ ี
เม่อื วันท่ี 11 ธันวาคม 2512

(องค์การมหาชน)

คณะกรรมการส่งเสรมิ คณุ ธรรมแหง่ ชาติ


Click to View FlipBook Version