The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by strategy.hpc6, 2023-03-29 03:07:18

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

ให้ความส าคัญสูงสุดต่อโครงการพระราชด าริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ 1. ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง • ยกระดับระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ และ อสม. ให้คนไทยทุกครอบครัวมีหมอประจ าตัว 3 คน • พัฒนาระบบบริการทุติยภูมิให้เป็นจุดีประสิทธิภาพ 2. เศรษฐกิจสุขภาพ เพิ่มพูนนวัตกรรมผลิตภัณฑ์/บริการทางสุขภาพ มุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 3. สมุนไพร กัญชา กัญชง สนับสนุน ส่งเสริมสมุนไพรไทย กัญชา กัญชง ให้เป็นพืชเศรษฐกิจที่มีคุณค่าทางการแพทย์ ประชาชนเข้าถึง และใช้เพื่อสุขภาพได้ 4. สุขภาพดีวิถีใหม่ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสู่ New Normal อาหาร ออกก าลังกาย Health Literacy 6. ระบบบริการก้าวหน้า • ผลักดัน 30 บาท รักษาทุกที่ • New Normal Medical Care, Digital Health • Innovative Healthcare Management 8. ธรรมาภิบาล ยึดหลักธรรมาภิบาล สุจริต โปร่งใส่ ประโยชน์ของประชาชน 9. องค์กรแห่งความสุข พัฒนาองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ งานได้ผล คนเป็นสุข ปลอดภัย สร้างผู้น ารุ่นใหม่ 7. ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม • ดูแลสุขภาพกลุ่มวัยอย่างเป็นระบบ มุ่งเน้นเด็กปฐมวัย และ ผู้สูงอายุ • พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิตเชิงรุก 5. COVID-19 เพิ่มศักยภาพความมั่นคงทางสุขภาพในการจัดการกับโรคอุบัติใหม่ เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการ สร้างระบบสาธารณสุข ที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทยละทุกคนที่อยู่ในประเทศไทย ประชาชนเข้มแข็ง เศรษฐกิจแข็งแรง ประเทศไทยแข็งแรง นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข


รายงานประจ าปีงบประมาณ 2565 จัดท าขึ้นเพื่อใช้สื่อสารผลการด าเนินงานของ ศูนย์อนามัยที่ 6 ให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วน และศูนย์วิชาการเขตสุขภาพที่ 6 ทั้ง 8 จังหวัด ได้แก่ สมุทรปราการ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว โดยยึดหลักธรรมาภิบาลที่มีความเป็นเลิศ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม และตามภารกิจในการป้องกันและควบคุมการ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การส่งเสริมสุขภาพการสร้างความรอบรู้ Health Literacy เข้าถึง เข้าใจ โต้ตอบ/ซักถาม ตัดสินใจ บอกต่อ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ รวมถึงสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชน เพื่อป้องกันภัยสุขภาพให้ประชาชนสามารถดูแลจัดการสุขภาพของ ตนเองได้ ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 โอกาสนี้ ขอขอบคุณผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ คณะผู้บริหาร นักวิชาการ และเจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 ทุกท่าน รวมถึงภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและศูนย์วิชาการเขตสุขภาพที่ 6 ที่ให้การ สนับสนุนศูนย์อนามัยที่ 6 ด้วยดีมาโดยตลอด หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประจ าปีฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาและขับเคลื่อนการด าเนินงานร่วมกันเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดี ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ค าน า


• การปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2565 • ผลการด าเนินงานตัวชี้วัดตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข กรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 6 ประจ าปี งบประมาณปี พ.ศ. 2565 สารบัญ • ผู้บริหารศูนย์อนามัยที่ 6 • วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร • ค่านิยมกระทรวงสาธารณสุข และกรมอนามัย • โครงสร้างองค์กร • อัตราก าลังระดับการศึกษาบุคลากร • งบประมาณ ปี 2565 • ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 1 ข้อมูลหน่วยงาน ส่วนที่ 2 การพัฒนาระบบราชการ 4.0 ค าน า สารบัญ 1 16 • ยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดีศรีอนามัยดีเด่น ประจ าปี 2565 • รายชื่อผู้ที่ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดีศรี อนามัยดีเด่น ประจ าปี 2560 - 2565 ส่วนที่ 3 ยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดี ศรีอนามัยดีเด่น 21 • การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมกลุ่มด้อยโอกาส และเปราะบาง ตามแนวทางโครงการพระราชด าริ และ โครงการเฉลิมพระเกียรติ • การส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก • การส่งเสริมสุขภาพวัยเรียนวัยรุ่น • การส่งเสริมสุขภาพวัยท างาน • การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ • การสร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อ สุขภาพ • การยกระดับบุคลากรเป็นมืออาชีพและมีธรรมาภิบาล • การยกระดับระบบการเงินการคลังให้เป็นองค์กร สมรรถนะสูง 4.0 • การบริหารจัดการภาครัฐ ส่วนที่ 4 ผลการด าเนินงานส่งเสริม สุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ส่วนที่ 5 รายงานผลการด าเนินงานโครงการ 30 91 122 ส่วนที่ 6 รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ • กลุ่มแม่และเด็ก • กลุ่มวัยเรียน • กลุ่มวัยรุ่น • กลุ่มวัยท างาน • กลุ่มผู้สูงอายุ • กลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อม • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - ผลงานเด่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ส่วนที่ 7 แนวทางการด าเนินงาน ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2566 126 บรรณานุกรม


ผู้บริหารศูนย์อนามัยที่ 6 นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 นางยุพา ชัยเพ็ชร รองผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 นางศิริพร จริยาจิรวัฒนา รองผู้อ านวยการด้านส่งเสริมสุขภาพ นางสาวภูริภัคพ์ พรหมมินทร์ รองผู้อ านวยการด้านบริหารยุทธศาสตร์ และพัฒนาก าลังคน แพทย์หญิงพลอย กองกูต รองผู้อ านวยการด้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวเพ็ญศรีกองสัมฤทธิ์ รองผู้อ านวยการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม นางศิริพร พูลสมบัติ รองผู้อ านวยการด้านอ านวยการ แพทย์หญิงสุณีย์เชื้อสุวรรณชัย รองผู้อ านวยการด้านวิชาการ 2


วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักของเขตสุขภาพที่ 6 ในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพ และระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อประชาชนสุขภาพดี ท าหน้าที่ในการสังเคราะห์ใช้ความรู้และดูภาพรวม เพื่อก าหนดนโยบาย และออกแบบระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยการประสานงาน สร้างความร่วมมือและก ากับดูแลเพื่อให้เกิด ความรับผิดชอบต่อการด าเนินงาน 1. เราชาวศูนย์อนามัยที่ 6 จะต้องเป็น Unity เดียวกัน เราจะรวมใจเป็นหนึ่งเดียวเพื่อ การก้าวสู่ Leader Organization of Health Promotion and Environmental Health 2. เราชาวศูนย์อนามัยที่ 6 จะเข้าร่วมโครงการเพื่อการพัฒนาศูนย์ ฯ ของเรา 3. การมาปฏิบัติราชการ เราจะมาท างานก่อนและไม่เกินเวลา 8.30 น. 4. เมื่อพบกันตอนเช้า เราจะทักทายและสวัสดีกัน 5. ในเวลาปฏิบัติราชการ (08.30-12.00น. และ 13.00-16.30น.) เราจะใช้เวลาในการปฏิบัติ ราชการมากกว่าใช้เวลาในเรื่องส่วนตัว 6. เราจะให้บริการผู้มาติดต่อราชการให้ได้รับความสะดวกรวดเร็วเป็นอย่างดี 7. เราจะต้องสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารได้ 8. เราจะแต่งกายให้ถูกต้องตามวันที่ศูนย์ฯ เราได้ก าหนด 9. เราจะรักษาศีลห้า 10. เราจะร่วมออกก าลังกายอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์และมีกีฬาประจ าตัวอย่างน้อย 1 ชนิด 11. เราจะร่วมประชุมทุกครั้งที่ศูนย์ ฯ ของเราจัดประชุม เพื่อพบปะเจ้าหน้าที่ทุก 2 เดือน 12. ถ้าเราเห็นว่าศูนย์อนามัยที่ 6 ควรปรับปรุงในเรื่องอะไร เราจะช่วยกันแสดงความคิดเห็น พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร 3


ค่านิยม MOPH to HEALTH M O P H MASTERY เป็นนายตนเอง ORIGINALITY เร่งสร้างสิ่งใหม่ PEOPLE CENTERED ใส่ใจประชาชน HUMILITY ถ่อมตน อ่อนน้อม - H (HEALTH MODEL) เป็นต้นแบบสุขภาพ - E (ETHICS) มีจรรยาบรรณ - A (ACHIEVEMENT) มุ่งผลสัมฤทธิ์ - L (LEARNING) เรียนรู้ร่วมกัน - T (TRUST) เคารพและเชื่อมั่น - H (HARMONY) เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน - T (TRUST) เคารพและเชื่อมั่น - H (HARMONY) เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน 1. ร่วมกิจกรรมสม่ าเสมอ 2. ตรงต่อเวลา 3. เสาะแสวงหาความรู้ 4. ซื่อสัตย์ ยืนหยัดในความถูกต้อง 5. มีทักษะถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพ 1. ร่วมกิจกรรมทางวิชาการอย่างสม่า เสมอ 2. มีข้อเสนอใหม่น ามาเสนอ 3. กล้าแสดงออก กล้าน าเสนอ 4. ท างานอย่างมีระบบและมีเป้าหมาย 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 1. รับฟังความคิดเห็นของประชาชน/ลูกค้า/ภาคีเครือข่าย 2. ให้บริการด้วยความเสมอภาคไม่เลือกปฏิบัติ 3. กระตือรือร้นในการบริการประชาชน/ภาคีเครือข่าย 4. มีทักษะการท างานกับภาคีเครือข่าย 5. สื่อสารสร้างแรงจูงใจให้เพื่อนร่วมงานและคนรอบข้างดูแลแก้ปัญหาตนเองได้ 1. มีสัมมาคารวะ ถ่อมตน อ่อนน้อม 2. พร้อมรับผิดชอบ พร้อมให้อภัย 3. ชื่นชมและยกย่อง เห็นคุณค่าตนเองและผู้อื่น 4. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับองค์กร 5. มีความรัก ความผูกพันซึ่งกันและกัน 4


กลุ่มอ ำนวยกำร โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ ผู้อ านวยการศูนย์ พัฒนำรูปแบบและ นวัตกรรมสุขภำพ ภำรกิจสนับสนุน วิจัยพัฒนำและสนับสนุน เขตสุขภำพ รองผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 รองผู้อ านวยการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม รองผู้อ านวยการด้านส่งเสริมสุขภาพ รองผู้อ านวยการด้านอ านวยการ รองผู้อ านวยการด้านยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน รองผู้อ านวยการด้านวิชาการ รองผู้อ านวยการด้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มพัฒนำอนำมัยแม่และเด็ก กลุ่มพัฒนำอนำมัยวัยเรียนและวัยรุ่น กลุ่มพัฒนำอนำมัยวัยท ำงำนและผู้สูงอำยุ กลุ่มพัฒนำกำรส่งเสริมสุขภำพ กลุ่มพัฒนำอนำมัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ และพัฒนำก ำลังคน วางแผนและประเมินผล องค์กรคุณธรรม จริยธรรม กรรมการบริหาร CHRO กรรมการพัฒนาวิชาการ โครงสร้างองค์กร 5


ศูนย์อนามัยที่ 6 มีจ านวนบุคลากรทั้งสิ้น 101 คน (หญิง 75 คน ร้อยละ 74.26, ชาย 26 คน ร้อยละ 25.74) ประกอบด้วยข้าราชการ 77 คน (ร้อยละ 76.24) พนักงานราชการ 11 คน (ร้อยละ 10.89) ลูกจ้างประจ า 8 คน (ร้อยละ 7.92) และจ้างเหมาบริการ 5 คน (ร้อยละ 4.95) กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน ศูนย์อนามัยที่ 6 ณ วันที่30 กันยายน 2565 ศูน ย์ อน า มั ยที่ 6 มี ผู้ อ าน ว ย ก า ร 1 คน (ร้อยละ 0.99) รองผู้อ านวยการจ านวน 5 คน (ร้อยละ 4.95) กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จ านวน 34 คน (ร้อยละ 33.66) กลุ่มพัฒนาการ ส่งเสริมสุขภาพ จ านวน 26 คน (ร้อยละ 25.74) กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม จ านวน 6 คน (ร้อยละ 5.94) กลุ่มอ านวยการ จ านวน 17 คน (ร้อยละ 16.83) และกลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และ พัฒนาก าลังคน จ านวน 12 คน (ร้อยละ 11.88) จ ำนวนบุคลำกรแยกตำมประเภทกลุ่มงำน ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจ า จ้างเหมาบริการ ภาพรวม เพศชาย 14 6 5 1 26 เพศหญิง 63 5 3 4 75 รวม 77 11 8 5 101 14 6 5 1 26 63 5 3 4 77 75 11 8 5 101 0.99% 4.95% 33.66% 25.74% 5.94% 16.83% 11.88% ผู้อ านวยการ รองผู้อ านวยกการ กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม กลุ่มอ านวยการ กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ อัตราก าลังศูนย์อนามัยที่ 6 6


• สายงานอ านวยการ ระดับอ านวยการจ านวน 1 คน (ร้อยละ 0.99) • สายงานวิชาการ แบ่งเป็น ระดับเชี่ยวชาญ 2 คน (ร้อยละ 1.98) ระดับช านาญการพิเศษ 11 คน (ร้อยละ 10.89) ระดับช านาญการ 21 คน (ร้อยละ 20.79) และระดับปฏิบัติการ 32 คน (ร้อยละ 31.68) • สายงานทั่วไป แบ่งเป็น ระดับช านาญงาน จ านวน 6 คน (ร้อยละ 5.94) และระดับปฏิบัติงาน 4 คน (ร้อยละ 3.96) • พนักงานราชการ 11 คน (ร้อยละ 10.89) • ลูกจ้างประจ า 8 คน (ร้อยละ 7.92) • จ้างเหมาบริการ 5 คน (ร้อยละ 4.95) 0.99% 1.98% 10.89% 20.79% 31.68% 5.94% 3.96% 10.89% 7.92% 4.95% ระดับอ านวยการ เชี่ยวชาญ ช านาญการพิเศษ ช านาญการ ปฏิบัติการ ช านาญงาน ปฏิบัติงาน พนักงานราชการ ลูกจ้างประจ า จ้างเหมาบริการ บุคลำกรศูนย์อนำมัยที่ 6 มีจ ำนวนบุคลำกรทั้งหมด 101 คน สำมำรถจ ำแนกตำมระดับ ดังต่อไปนี้ จ ำนวนบุคลำกรของศูนย์อนำมัยที่6 จ ำแนกตำมประเภทระดับ กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน ศูนย์อนามัยที่ 6 ณ วันที่30 กันยายน 2565 7


สายวิชาการ 68 คน ร้อยละ 67.33 สายสนับสนุน 33 คน ร้อยละ 32.67 บุคลากรทั้งหมดจ านวน 101 คน ระดับการศึกษาบุคลากร ระดับการศึกษาของบุคลากรในศูนย์อนามัยที่ 6 แบ่งเป็น ปริญญาเอก 3 คน (ร้อยละ 2.97) ระดับปริญญาโท 17 คน (ร้อยละ 16.83) ปริญญาตรี 68 คน (ร้อยละ 67.33) ระดับอนุปริญญา/ปวส. 10 คน (ร้อยละ 9.90) และระดับต่ ากว่าอนุปริญญา/ปวส. 3 คน (ร้อยละ 2.97) ประเภททั่วไป ระดับการศึกษา ปริญญาเอก ปริญญาโท ปริญญาตรี อนุปริญญา/ ปวส. ต่ ากว่า อนุปริญญา/ปวส. ข้าราชการ 3 15 54 5 0 พนักงานราชการ 0 2 8 1 0 ลูกจ้างประจ า 0 0 4 2 2 จ้างเหมาบริการ 0 0 2 2 1 รวม (คน) 3 17 68 10 3 ร้อยละ 2.97 16.83 67.33 9.90 2.97 67.33% 32.67% วิชาการ สนับสนุน จ ำนวนบุคลำกรจ ำแนกตำมประเภทสำยงำน กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน ศูนย์อนามัยที่ 6 ณ วันที่30 กันยายน 2565 8


บุคลากรศูนย์อนามัยที่ 6 ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง Generation X (อายุระหว่าง 38-53 ปี) จ านวน 46 คน ร้อยละ 45.54 Generation Y (อายุระหว่าง 24-37 ปี) จ านวน 45 คน ร้อยละ 44.55 และ Generation BB (อายุระหว่าง 54-60) ปี) จ านวน 10 คน ร้อยละ 9.90 จ ำนวนบุคลำกรจ ำแนกตำมกลุ่มอำยุ 44.55 % 45.54 % 9.90 % Generation Y (24-37 ปี) Generation X (38-53 ปี) Generation BB (54-60 ปี) กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน ศูนย์อนามัยที่ 6 ณ วันที่30 กันยายน 2565 9


ประเภทงบ ปี 2565 ใช้ไปร้อยละ งบที่ได้รับจัดสรร (บาท) งบที่ใช้ไป (บาท) งบด าเนินงาน 7,883,583.00 7,883,583.00 100 งบลงทุน 420,000.00 420,000.00 100 งบกลาง 139,500.00 139,500.00 100 รวมทั้งสิ้น 8,443,038.00 8,443,038.00 100 ปีงบประมาณ 2565 ศูนย์อนามัยที่ 6 ได้รับงบประมาณจากกรมอนามัย จ านวนทั้งสิ้น 8,443,038.00 บาท แบ่งเป็นงบด าเนินงาน จ านวน 7,883,583.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 93.37 งบลงทุน จ านวน 420,000.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 4.98 งบกลาง จ านวน 139,500.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.65 แสดงการใช้เงินงบประมาณประจ าปี 2565 จากตาราง สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณ รวมทั้งสิ้น 8,443,038.00 บาท แบ่งเป็นงบด าเนินงาน จ านวน 7,883,583.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบลงทุน จ านวน 420,000.00 บาท คิดเป็น ร้อยละ 100 งบกลาง จ านวน 139,500.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณ ปี 2565 (ข้อมูลจากระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ณ วันที่ 30 กันยายน 2565) 93.37 4.98 1.65 ร้อยละของงบประมาณที่ได้รับจัดสรร งบด าเนินงาน งบลงทุน งบกลาง 93.37 4.98 1.65 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ งบด าเนินงาน งบลงทุน งบกลาง 10


ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัด ชลบุรี ติดชายฝั่งทะเล 160 กิโลเมตร จังหวัดระยองติด ฝั่งทะเล 100 กิโลเมตร จังหวัดจันทบุรี ติดชายฝั่งทะเล 80 กิ โ ล เ ม ต ร ร ว ม มี พื้ น ที่ ติ ด ช า ย ฝั่ ง ท ะ เ ล 340 กิโลเมตร พื้นที่ชายแดนตะวันออกติดกับประเทศ กัมพูชา ซึ่งมีสภาพเป็นที่ราบสูง ได้แก่ จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่ติดชายแดน 170 กิโลเมตร จังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ ติดชายแดน 70 กิโลเมตร และจังหวัดตราดมีพื้นที่ ชายแดน 130 กิโลเมตร รวมทั้งสิ้น 370 กิโลเมตร พื้นที่ราบลุ่มประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมด มีแหล่งน้ าส าคัญ ได้แก่ แม่น้ าบางปะกง แม่น้ าปราจีนบุรี แม่น้ าจันทบุรี และแม่น้ าเวฬุ พื้นที่ราบสูงและภูเขา เป็น เขตต้นน้ า ล าธาร และเขตอนุรักษ์ ซึ่งมีอุทยานแห่งชาติ หลายแห่ง บริเวณตอนเหนือของจังหวัดปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี และระยอง ข้อมูลทั่วไป 11 พื้นที่รับผิดชอบ ศูนย์อนามัยที่ 6 ประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ สมุท รป ร าก า ร ชลบุ รี ร ะยอง จันทบุ รี ต ร าด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแก้ว มีพื้นที่ทั้งหมด 37,417 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 6,265,604 คน เป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่ส าคัญ ภายใต้โครงการเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor (EEC) มุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อต่อ ยอดการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก และมี พื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) ให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ Special Economic Zone (SEZs) 2 จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว ตราด ในโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเล ภาคตะวันออก มีแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งทรัพยากร ที่ส าคัญของประเทศ อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย ทิศ ตะวันออกติดกับประเทศกัมพูชา และทิศตะวันตกติด กับภาคกลาง


แบ่งเขตการปกครองเป็น 69 อ าเภอ 530 ต าบล 4,816 หมู่บ้าน มีการบริหารแบบองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เทศบาลนคร จ านวน 4 แห่ง เทศบาลเมือง 29 แห่ง เขตปกครองพิเศษ เมืองพัทยา 1 แห่ง และเทศบาลต าบล 189 แห่ง องค์การบริหารส่วนต าบล จ านวน 356 แห่ง และมีพื้นที่ทั้งหมด 35,384.59 ตารางกิโลเมตร จังหวัด อ าเภอ ต าบล หมู่บ้าน เทศบาลนคร/ เทศบาลเมือง เขตการ ปกครอง พิเศษ เทศบาล ต าบล อบต. พื้นที่ (กม2) สมุทรปราการ 6 50 399 1/6 - 14 27 1,004.09 ชลบุรี 11 92 656 2/10 เมืองพัทยา 35 50 4,.363.00 ระยอง 8 58 441 1/2 - 27 37 3,552.00 จันทบุรี 10 76 728 0/5 - 42 34 6,338.00 ตราด 7 38 216 0/1 - 13 29 2,819.00 ฉะเชิงเทรา 11 93 892 0/1 - 33 74 5,351.00 ปราจีนบุรี 7 65 708 0/1 - 12 56 4,762.36 สระแก้ว 9 58 731 0/3 - 13 49 7,195.41 รวม 69 530 4,816 4/29 1 189 356 35,384.59 เขตกำรปกครอง ในปี พ.ศ. 2565 ประเทศไทยมีประชากรเพิ่มขึ้นประมาณ 66,090,475 คน ในเขตสุขภาพที่ 6 มีประชากรเพิ่มขึ้นประมาณ 6,265,604 คน ประกอบด้วยประชากรกลุ่มเด็ก 0 - 14 ปี จ านวน 1,070,969 คน ร้อยละ 17.09 มีจ านวนเพิ่มขึ้นจากปี 2564 (ร้อยละ 16.98) ประชากรกลุ่มวัยท างานเพิ่มขึ้น จ านวน 4,127,598 คน ร้อยละ 65.88 เมื่อเทียบจ านวนประชากรทั้งหมด มีแนวโน้มลดลงจาก ปี 2564 (ร้อยละ 66.57) เนื่องจากการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อประชากรเป็นวงกว้างมีการย้ายกลับภูมิล าเนาเปลี่ยนรูปแบบวิถีชีวิตเป็นรูปแบบ New normal และลดกิจกรรมทางเศรษฐกิจลง ผลการส ารวจในปี 2565 พบว่า ผู้ย้ายถิ่น มีจ านวน 8.09 แสนคน เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมา 1.42 แสนคน และเมื่อคิดเป็นอัตราการย้ายถิ่น เท่ากับ ร้อยละ 1.2 ของประชากรทั้งประเทศ และ ประชากรกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จ านวน 1,067,036 คน ร้อยละ 17.03 มีจ านวนเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 16.45) ซึ่งมีแนวโน้มใกล้เคียงและเป็นไปตามข้อมูลระดับประเทศ ปัจจุบันประเทศไทยก าลังเข้าสู่สถานการณ์การเกิดที่ลดลงทุกปี ข้อมูลจากส านักงานสถิติแห่งชาติใน ปี พ.ศ. 2555 มีจ านวนเด็กเกิดประมาณ 8 แสนคน และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ในปี 2565 มีเด็กเกิดลดลง เหลือเพียง 5 แสนคน และเขตสุขภาพที่ 6 เด็กเกิดลดลงเหลือเพียง 6 หมื่นคน ส่งผลให้อัตราการเจริญพันธุ์รวมลดลง กรมอนามัยร่วมกับหน่วยงานหลายภาคส่วนจัดท านโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2565) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ โดยมีนโยบายว่า “รัฐบาลสนับสนุน และส่งเสริมการเกิดเพิ่มขึ้นด้วยความสมัครใจ เพื่อเพียงพอส าหรับทดแทนประชากร และการเกิดทุกรายมีการวางแผน มี ความตั้งใจและมีความพร้อมในทุกด้านน าไปสู่การคลอดที่ปลอดภัย ทารกแรกเกิดมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมที่จะ เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ” ในปี 2565 ประเทศไทยเข้าสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ โดยจะมีสัดส่วนประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ใน อัตราร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าในปี 2576 จะเข้าสู่การเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” คือมี สัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปในอัตราร้อยละ 28 และในปี 2583 อัตราร้อยละ 31.4 ของประชากรทั้งประเทศ ความท้าทายของการก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุที่มีความส าคัญอย่างมากในอนาคต คือการก้าวเข้าสู่ “สังคมไร้บุตรหลาน” จากข้อมูลการส ารวจภาวะการท างานฃองประชากรของส านักงานสถิติแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 - 2561 พบว่า โครงสร้างของครัวเรือนที่ “ไร้บุตรหลาน” มีสัดส่วนที่สูงขึ้น และเขตสุขภาพที่ 6 พบผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ปี 2562 - 2565 ร้อยละ 15.22, 15.82, 16.45 และ 17.03 ตามล าดับ โดยกรมอนามัยมีบทบาทและภารกิจหลัก ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุในทุกระดับ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย (GOAL) “ผู้สูงอายุสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” พร้อมทั้งก าหนดตัวชี้วัดและมาตรการส าคัญ เขตกำรปกครอง สถำนกำรณ์ประชำกร 12


จ ำนวนประชำกรเขตสุขภำพที่6 พ.ศ. 2559 – 2565 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง วันที่ 3 มีนาคม 2566 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง วันที่ 3 มีนาคม 2566 300,000 200,000 100,000 0 100,000 200,000 300,000 0-4 ปี 5-9 ปี 10-14 ปี 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40-44 ปี 45-49 ปี 50-54 ปี 55-59 ปี 60-64 ปี 65-69 ปี 70-74 ปี 75-79 ปี 80-84 ปี 85-89 ปี 90-94 ปี 95-99 ปี 100 ปีขึ้นไป Male Female 5.9 5.92 5.99 6.05 6.1 6.13 6.2 0.05 1.05 2.05 3.05 4.05 5.05 6.05 7.05 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ล้านคน ประชำกรเขตสุขภำพที่6 ปีงบประมำณ 2565 13


จ ำนวนประชำกรไทย ปี 2560 – 2565 จ ำนวนประชำกรไทย ตำมช่วงอำยุ ปี 2558 – 2565 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง วันที่ 3 มีนาคม 2566 จ ำนวนประชำกร เขตสุขภำพที่6 ตำมช่วงอำยุ ปี 2558 – 2565 66.18 66.41 66.55 66.18 66.17 66.09 65.8 65.9 66 66.1 66.2 66.3 66.4 66.5 66.6 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ล้านคน 18 17.75 17.49 17.21 16.86 16.88 16.1 16.05 67.28 67.03 66.69 66.34 65.99 65.3 65.32 64.74 14.72 15.22 15.82 16.46 17.15 17.81 18.58 19.21 0 20 40 60 80 100 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 0-14 ปี 15-59 ปี 60 ปี ขึ้นไป 18.63 18.41 18.15 17.82 18 16.98 17.09 67.72 67.45 67.19 66.96 66.17 66.57 65.88 13.65 14.14 14.66 15.22 15.82 16.45 17.03 0 20 40 60 80 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 0-14 ปี 15-59 ปี 60 ปี ขึ้นไป 14


ประชากร เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ 2565 ปี 2545 ปี 2565 กลุ่มอายุ 0-14 ปี 23.3 17.09 16.05 กลุ่มอายุ 15-59 ปี 67.7 65.88 64.74 กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป 9.0 17.03 19.21 ประชำกรตำมกลุ่มอำยุ อัตรำเกิด อัตรำตำยและอัตรำเพิ่มประชำกร เขตสุขภำพที่6 ปี 2549 – 2565 ที่มา : - จ านวนการเกิด และจ านวนการตาย : ส านักงานสถิติแห่งชาติ วันที่ 3 มีนาคม 2566 - อัตราการเกิด อัตราการตาย และอัตราการเพิ่มธรรมชาติ เขต 6 : ศูนย์อนามัยที่ 6 วันที่ 3 มีนาคม 2566 ที่มา : ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง วันที่ 3 มีนาคม 2566 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 อัตราเกิด 16.0 15.6 15.5 15.1 14.5 15.3 15.5 14.7 15.0 14.0 13.7 13.6 12.8 11.9 11.3 10.7 9.7 อัตราตาย 6.0 6.0 6.0 5.9 6.0 6.1 7.0 6.7 7.0 6.9 7.5 7.3 7.1 7.5 7.4 8.9 8.9 อัตราเพิ่มธรรมชาติ 10.0 9.6 9.5 9.2 8.5 9.2 8.5 8.0 8.0 7.1 6.2 6.3 5.7 4.4 3.8 1.8 0.8 0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 16.0 18.0 15


กำรปฏิบัติรำชกำรตำมค ำรับรอง กำรปฏิบัติรำชกำร ปีงบประมำณ 2565 ศ ู นย์อนำมัยที่6 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 ศูนย์อนามัยที่ 6 จัดพิธีลงน ามค า รับรองกา รปฏิบัติราชกา ร ประจ าปี 2565 โดยมีนายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 ประธานลงนามค า รับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างผู้อ านวยการ ศูนย์อนามัยที่ 6 กับหัวหน้ากลุ่มงานตามภารกิจ พร้อมทั้งมอบนโยบายและแนวทางการด าเนินงาน ปี 2565 ในการปฏิบัติงานตามค ารับรองภายใต้ เป้ าหม ายเดี ย วกัน และก า ร ถ่ ายทอดก า ร ด าเนินงานในระดับหน่วยงานสู่ระดับกลุ่มงาน และการถ่ายถ่ายระดับกลุ่มงานสู่ระดับบุคคล รวมถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ประชุมก ากับ ติดตาม ผลการ ด าเนินงานการปฏิบัติราชการตามค า รั บ ร อ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ปีงบประมาณ 2565 ศูนย์อนามัยที่ 6 รอบ 5เดือนแรก (เดือนตุล าคม 2565 – เดือนกุมภาพันธ์ 2566) มี การรายงานติดตามการด าเนินงาน ตัวชี้วัดตามค ารับรองฯ ทุกเดือนและ น าขึ้นเว็บไซต์ของหน่วยงาน และ ระบบศูนย์ปฏิบัติการกรมอนามัย (DOC 4.0) ภายในวันที่ 10 ของทุก เดือน 17


ผลกำรด ำเนินงำนกำรปฏิบัติรำชกำรตำมค ำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำร ปีงบประมำณ 2565 ศูนย์อนำมัยที่6 ล าดับ ตัวชี้วัด รอบ 5 เดือนแรก รอบ 5 เดือนหลัง ก่อนอุทธรณ์ หลังอุทธรณ์ ก่อนอุทธรณ์ หลังอุทธรณ์ 1.1 ระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 3.9807 4.1907 4.2164 4.2164 1.2 ระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่น 3.9471 3.9471 4.1400 4.1400 1.3 ระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยท างาน 4.9790 4.9790 4.5900 4.5900 1.4 ระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ 4.9800 4.9800 4.5104 4.5104 1.5 ระดับความส าเร็จของการขับเคลื่อนการด าเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อม 4.8342 4.8342 4.8571 4.8571 2.1 ระดับความส าเร็จของการควบคุมภายในและแผนบริหาร ความต่อเนื่อง (BCP) 5.0000 5.0000 5.0000 5.0000 2.2 ระดับความส าเร็จของการพัฒนาสถานที่ท างานน่าอยู่ น่า ท างาน มีชีวิตชีวา และเสริมสร้างคุณภาพชีวิต 4.5500 4.5500 4.4000 4.4000 2.3 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณ 4.8734 4.8734 4.9705 4.9705 2.4 ระดับความส าเร็จของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) 5.0000 5.0000 4.7500 4.7500 2.5 ร้อยละการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการระดับหน่วยงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 4.8500 5.0000 5.0000 5.0000 2.6 ระดับความส าเร็จของการด าเนินงานคุณธรรมและความ โปร่งใส (Integrity and Transparency Assessment : ITA) 4.8000 4.8000 5.0000 5.0000 รวม 4.7086 4.7413 4.6759 4.6759 กำรขับเคลื่อนองค์กรสู่ระบบรำชกำร 4.0 18


ศูนย์อนามัยที่ 6 ด าเนินงานปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ ทั้งหมด 11 ตัวชี้วัด จากผล การด าเนินงาน สรุปผลการด าเนินงานปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศูนย์อนามัยที่ 6 ด าเนินการในรอบ 5 เดือนแรก มีแนวโน้มการด าเนินงานผ่านค่าเป้าหมายตามเกณฑ์ที่ กรมอนามัยก าหนดได้ลดลง และหลังจากการอุทธรณ์ไม่ได้คะแนนเพิ่มขึ้น เนื่องจากเจ้าภาพตัวชี้วัดแจ้งปรับ เกณฑ์การประเมินผ่านการประชุม แต่ไม่ปรับรายละเอียดใน Template และแจ้งให้ผู้รับผิดชอบระดับภูมิภาค รับทราบ จึงไม่สามารถด าเนินการตามเกณฑ์ได้ครบถ้วน ทั้งนี้จากสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้พื้นที่ได้รับผลกระทบในการด าเนินงานตัวชี้วัดตามเกณฑ์เป้าหมายที่กรมอนามัย ก าหนดลดลง ผลการด าเนินงานปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการ ตั้งแต่ ปี 2561 – 2565 มีการ วิเคราะห์ระบบการด าเนินงานที่ผ่านมาวางแผน/ปรับระบบการด าเนินงานและการด าเนินงานตามนโยบาย กพร. 4.0 สามารถใช้ข้อมูลออนไลน์เป็นหลักฐานประกอบการรายงานและสามารถรายงานผลการก ากับ ติดตามการ ด าเนินงานรายเดือนได้ครบถ้วน ถูกต้อง ทันตามเวลาที่ก าหนดทุกเดือน ท าให้ระบบการด าเนินงานการปฏิบัติ ราชการได้ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากปี2562 - 2565 รอบ 5 เดือนแรก และรอบ 5 เดือนหลัง การ ด าเนินงานตัวชี้วัดได้ตามค่าเป้าหมายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ในปี 2565 ได้คะแนนลดลง รอบ 5 เดือนแรก 4.7413 คะแนน รอบ 5 เดือนหลัง 4.6759 คะแนน เนื่องจากการรายงานใช้การวัดผลจากการด าเนินงานของ พื้นที่ ผ่านระบบ Health Data Center : HDC และรายงานในระบบ DOC ไม่ครบถ้วน ขาดการตรวจสอบ ความถูกต้อง รวมถึงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ศูนย์อนามัยที่ 6 และพื้นที่ได้รับผลกระทบในการด าเนินงานตัวชี้วัดตามเกณฑ์เป้าหมายที่กรมอนามัยก าหนดได้ลดลง โดยเฉพาะ ตัวชี้วัดนโยบายส าคัญ เร่งด่วน ยุทธศาสตร์ ภารกิจหลักกรมอนามัย และภารกิจหลักสายวิชาการ (Core Function) 4.3877 4.395 4.6896 4.8543 4.7413 4.1340 4.2986 4.8039 4.6616 4.6759 0 1 2 3 4 5 6 2561 2562 2563 2564 2565 คะแนน รอบ 5 เดือนแรก รอบ 5 เดือนหลัง ที่มา : ศูนย์ปฏิบัติการกรมอนามัย (DOC 4.0) วันที่ 23 สิงหาคม 2565 19


ผลงานรายตัวชี้วัด รอบที่ 1 : ประเด็นที่ 4 สุขภาพกลุ่มวัย และสุขภาพจิต ผลงานรายตัวชี้วัด รอบที่ 2 : ประเด็นที่ 4 สุขภาพกลุ่มวัย และสุขภาพจิต ล าดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน 1. สุขภาพเด็ก 1.1 เด็กไทยสุขภาพแข็งแรง พัฒนาการสมวัย มี IQ เกิน 100 100 105.38 2. ผู้สูงอายุคุณภาพ 2.1 ประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50 67.55 2.2 ต าบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 98 99.62 2.3ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลและส่งเสริมดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care Plan) ร้อยละ 90 94.39 3. สุขภาพดีวิถีใหม่ 3.1 ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคพึงประสงค์ ร้อยละ 80 65.25 3.2 จ านวนประชากรที่เข้าร่วมกิจกรรมก้าวท้าใจ 5 ล้านบัญชี 468,319 คน 310,486 คน 3.3 กิจการ/กิจกรรม/สถานประกอบการปฏิบัติตามมาตรการ ร้อยละ 90 98.3 4. Obesity war 4.1 ร้อยละประชากรวัยท างานอายุ 18 - 59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 51 51.35 4.2 ร้อยละประชาชนวัยท างานอายุ 18 - 59 ปี มีรอบเอวปกติ ร้อยละ 55 60.76 ผลกำรด ำเนินงำนตัวชี้วัดตรวจรำชกำรกระทรวงสำธำรณสุข กรมอนำมัย ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปีงบประมำณปี พ.ศ. 2565 ล าดับ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน 1. สุขภาพเด็ก 1.1 เด็กไทยสุขภาพแข็งแรง พัฒนาการสมวัย มี IQ เกิน 100 100 105.38 2. ผู้สูงอายุคุณภาพ 2.1 ประชากรสูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 50 67.55 2.2 ต าบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 98 99.62 2.3 ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลและส่งเสริมดูแลสุขภาพรายบุคคล (Care Plan) ร้อยละ 90 94.39 3. สุขภาพดีวิถีใหม่ 3.1 ประชาชนมีพฤติกรรมป้องกันโรคพึงประสงค์ ร้อยละ 80 65.25 3.2 จ านวนประชากรที่เข้าร่วมกิจกรรมก้าวท้าใจ 5 ล้านบัญชี 468,319 คน 310,486 คน 3.3 กิจการ/กิจกรรม/สถานประกอบการปฏิบัติตามมาตรการ ร้อยละ 90 98.3 4. Obesity war 4.1 ร้อยละประชากรวัยท างานอายุ 18 - 59 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ ร้อยละ 51 51.35 20


ยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดีศรีศูนย์อนำมัยดีเด่น ประจ ำปี 2565 โดยการคัดเลือกคนดีศรีอนามัยดีเด่นระดับหน่วยงาน ศูนย์อนามัยที่ 6 ได้ประชุมคณะกรรมการ ด าเนินงานและชี้แจงเกณฑ์การคัดเลือกเจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 6 ดังนี้ 1. คัดเลือกรายชื่อบุคลากร ผู้ที่มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์การคัดเสือกคนดีศรีอนามัยดีเด่น โดยแบ่ง ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ข้าราชการประเภทวิชาการ กลุ่มที่ 2 ข้าราชการประเภททั่วไป กลุ่มที่ 3 ลูกจ้างประจ าหรือพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กลุ่มที่ 4 พนักงานราชการ 2. ด าเนินการคัดเลือกคนดีศรีอนามัยดีเด่น โดยแบ่งเป็น 2 รอบ ได้แก่ รอบที่ 1 คัดเลือกจากการให้คะแนนแบบ 360 องศา ได้แก่ คะแนนร้อยละ 70 มาจากคะแนนโหวตของเจ้าหน้าที่ทุกคน ด าเนินการตัดเลือกด้วยระบบออนไลน์ และคะแนนร้อยละ 30 มาจากการประเมินคะแนนของหัวหน้างาน ให้คะแนนตาม เกณฑ์ ดังนี้ - การประพฤติปฏิบัติตนตามหลักครองตน ครองคน ครองงาน - การประพฤติปฏิบัติตน ตามค านิยมกระทรวงสาธารณสุข (MOPH) และวัฒนธรรมองค์กรกรมอนามัย (HEALTH) - การประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณข้าราชการกระทรวงสาธารณสุขและข้อบังคับกรมอนามัยว่าด้วยจรรยา ข้าราชการกรมอนามัย พ.ศ. 2563 - การประพฤติปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม ความโปร่งใสเพื่อป้องกันความทุจริตและประพฤติมิชอบ - ผลงานหรือการปฏิบัติราชการที่ได้รับการยกย่องโดดเด่นและเป็นที่ยอมรับ ย้อนหลัง 3 ปี รอบที่ 2 น าผลการการคัดเลือกบุคลากรตามประเภทของบุคคลมาจัดล าดับ 3 ล าดับ และน าเข้าที่ประชุมผ่านคณะ กรรมการฯ ของศูนย์อนามัยที่ 6 เพื่อคัดเลือกตัวแทนแต่ละกลุ่ม ได้แก่กลุ่มที่ 1 ข้าราชการประเภทวิชาการ จ านวน 2 คน กลุ่มที่ 2 ข้าราชการประเภททั่วไป จ านวน 1 คน กลุ่มที่ 3 ลูกจ้างประจ าหรือพนักงานกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 1 คน และกลุ่มที่ 4 พนักงานราชการ จ านวน 1 คน นำงศิริพร จริยำจิรวัฒนำ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ นำงสำวภูริภัคพ์พรหมมินทร์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ นำงสำวปำนฝัน ลูกฟัก เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข นำยอนุชำ เผยฉวี นักวิชาการพัสดุ นำงอรอนงค์ พวกเกำะ พนักงานพิมพ์ ส3 22


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 คนดีศรีอนำมัย ประจ ำปีงบประมำณ 2560 คนดีศรีอนำมัย ประจ ำปีงบประมำณ 2561 23 นายณรงค์กร อัศพันธ์ เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวเสาวลักษณ์ ท้วมเจริญ นักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวดลนภัส ทองนพคุณ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาช านาญงาน กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 24 นางสาวภูริภัคพ์พรหมมินทร์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน นางศิริพร จริยาจิรวัฒนา นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2565 นางสาวปานฝัน ลูกฟัก เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นายอนุชา เผยฉวี นักวิชาการพัสดุ กลุ่มอ านวยการ นางอรอนงค์ พวกเกาะ พนักงานพิมพ์ ส3 กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ


นางสาวพลอย กองกูต นายแพทย์ช านาญการ กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางศิริพร พูลสมบัติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ กลุ่มอ านวยการ รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 25 คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2564 นางสาวเกสรี สัจจกุล เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน กลุ่มอ านวยการ นายสมพล ทองค า พนักงานขับรถยนต์ ส2 กลุ่มอ านวยการ นายอนุชา เผยฉวี นักวิชาการพัสดุ กลุ่มอ านวยการ


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 26 นางนงลักษณ์ สุขเอี่ยม นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ นางศิริพร พูลสมบัติ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ กลุ่มอ านวยการ คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2563 นางสาวเกสรี สัจจกุล เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน กลุ่มอ านวยการ นายสหัสส์ค้าสุวรรณ พนักงานขับรถยนต์ ส2 กลุ่มอ านวยการ นายอนุชา เผยฉวี นักวิชาการพัสดุ กลุ่มอ านวยการ


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 27 นางศิริพร พูลสมบัติ นักจัดการงานทั่วไปช านาญการ กลุ่มอ านวยการ คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2562 นางสาวเกสรี สัจจกุล เจ้าพนักงานธุรการช านาญงาน กลุ่มอ านวยการ นายขรรชัย โพธิ์ทอง พนักงานขับรถยนต์ ส2 กลุ่มอ านวยการ นางสาวปภาวดี สามพิมพ์ นักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน นางศิริพร จริยาจิรวัฒนา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 28 นางสาวดลนภัส ทองนพคุณ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาช านาญงานกลุ่ม ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2561 นายสมทรง จูสวัสดิ์ พนักงานพิมพ์ ส3 กลุ่มอ านวยการ นางสาวเสาวลักษณ์ ท้วมเจริญ นักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวพลอย กองกูต นายแพทย์ช านาญการ กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ


รำยชื่อผู้ที่ได้รับกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นคนดศีรีอนำมัยดีเดน่ ศูนย์อนำมัยที่6 ประจ ำปี 2560 - 2565 29 คนดีศรีศูนย์อนำมัยประจ ำปีงบประมำณ 2560 นายณรงค์กร อัศพันธ์ เจ้าพนักงานเภสัชกรรมปฏิบัติงาน กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวเสาวลักษณ์ ท้วมเจริญ นักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางสาวพลอย กองกูต นายแพทย์ช านาญการ กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ นางวรรณดี จันทรศิริ นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ(ด้านสาธารณสุข) กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ


เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่ส าคัญของประเทศชาติเป็นพลังส าคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้า และมั่นคง ในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรในวัยเด็กลดน้อยลงแต่มีประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น เด็กช่วงวัยนี้จะมี พัฒนาการการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเด็กที่เกิดมาจะต้องเป็นเด็กที่มีความพร้อมทั้งทางด้านสติปัญญาและ ความฉลาดทางอารมณ์การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพนั้น เด็กจะต้องมีพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจึงมีความจ าเป็นที่เด็กจะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาอย่างต่อเนื่อง ไปจนถึงวัยรุ่น โดยเฉพาะพัฒนาการด้านสติปัญญาและอารมณ์ ซึ่งเป็นทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตทั้งในปัจจุบัน และอนาคต งานสตรีและเด็กปฐมวัยเป็นต้นน้ าของการดูแลสุขภาพตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ ต่อเนื่องจนถึงเด็กอายุ 5 ปี โดยมี กลุ่มเป้าหมายหญิงชายที่เตรียมพร้อมก่อนมีบุตร หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ซึ่งมีการ ส่งเสริมสุขภาพในแต่ละมิติทั้งทางด้านร่างกาย ด้านโภชนาการ ด้านออกก าลังกาย และด้านสุขภาพช่องปาก จากการด าเนินงานอนามัยแม่และเด็กของเขตสุขภาพที่ 6 ตั้งแต่ปี 2553 – 2565 พบว่า สภาวะสุขภาพของ แม่และเด็กมีแนวโน้มดีขึ้นเรื่อย ๆ โดยผลการด าเนินงานอนามัยแม่และเด็กปี2565 ของเขตสุขภาพที่ 6 มีอัตราส่วน การตายมารดาไทยคิดเป็น 31.66 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 74.81 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 67.72 หญิงหลังคลอด ได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 67.7 ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 17.01 ทารกแรกเกิดน้ าหนัก น้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 6.21 เด็กแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 61.5 เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับ การคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ 85.34 พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 24.14 พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการ ติดตาม ร้อยละ 91.13 และเด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 63.58 31


อัตรำส่วนกำรตำยมำรดำไทย สถานการณ์อัตราส่วนการตายมารดาไทย เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ พบว่า ตั้งแต่ปี2553 – 2561 เขตสุขภาพที่ 6 มีแนวโน้มอัตราส่วนการตายมารดาน้อยกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด แต่ในปี 2562 – 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีอัตราส่วนการตายมารดาสูงกว่าระดับประเทศ โดยปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 และ ระดับประเทศ พบอัตราส่วนการตายมารดา 31.66 และ 25.86 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตามล าดับ 10.3 8.9 17.6 10.8 14.5 8.3 4.98 10.58 17.37 21.22 28.65 38.98 31.66 16.6 9.5 18.2 26.7 23.3 24.6 26.6 21.8 19.9 19.8 23.1 36.9 25.86 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ อัตราส่วนการตายมารดาไทย เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ 2553 - 2565 40.1 45.1 46.5 51.6 37 38 44.9 49.5 60.9 71.27 77.36 73.89 74.81 47.2 47.4 51.2 57.8 48 47.5 45.7 66.1 74.4 80.59 82.87 78.88 80.73 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 กำรฝำกครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ำกับ 12 สัปดำห์ สถานการณ์หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง เขตสุขภาพที่ 6 กับระดับประเทศ พบว่า ตั้งแต่ปี2553 – 2565 ร้อยละการด าเนินงานของเขตสุขภาพที่ 6 ต่ ากว่า ระดับประเทศ แต่ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้มการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น ซึ่งในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 74.81 และ 70.83 ตามล าดับ ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2553 - 2565 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 32


กำรดูแลครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตำมเกณฑ์ สถานการณ์หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ พบว่า ตั้งแต่ปี 2559 – 2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานใกล้เคียงกัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานการดูแลครรภ์ก่อนคลอด 5 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 67.72 และ 73.77 ตามล าดับ ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ เขตสุขภาพที่ 6 กับประเทศ ปี 2557 – 2565 หญิงหลังคลอดได้รับกำรดูแลครบ 3ครั้งตำมเกณฑ์ ร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2557 – 2565 39.61 42.2 49.8 43.2 37.3 49.7 60.98 70.34 66.02 67.72 28.87 48.1 46.5 60 52.8 62.9 70.28 75.71 71.19 73.77 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ สถานการณ์หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ปี2556 - 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และ ระดับประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปี2563 แต่ลดลงเล็กน้อยในปี2564 และในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานเพิ่มขึ้นจากปี2565 โดยเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานหลัง คลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 67.7 และ 71.66 ตามล าดับ 23.63 38.57 38.07 36.52 38.02 58.85 61.82 70.95 62.46 67.7 22.64 46.15 49.23 49.74 51.8 63.11 70.87 74.91 69.11 71.66 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 33


สถานการณ์ภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ในเขตสุขภาพที่ 6 ตั้งแต่ปี2553 – 2560 มีแนวโน้มคงที่ และต่ ากว่า ระดับประเทศ และตั้งแต่ปี2561 – 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ยังคงมีแนวโน้มคงที่ แต่มีความใกล้เคียงกับระดับประเทศ เนื่องจากผลการด าเนินงานชองระดับประเทศมีแนวโน้มภาวะโลหิตจากในหญิงตั้งครรภ์ลดลง โดยในปี2565 เขตสุขภาพ ที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 17.01 และ 15.56 ตามล าดับ ร้อยละหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2553 - 2565 16.6 18.1 18.2 22.7 22.9 16.2 17.2 16.96 17.51 18.27 16.71 16.04 17.01 20.6 45.2 41.3 39 40 20 18.6 17.85 16.03 16.47 15.14 14.69 15.56 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ทำรกแรกเกิดน ้ำหนักน้อยกว่ำ 2,500 กรัม ผลการด าเนินงานทารกแรกเกิดน้ าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ตั้งแต่ปี 2553 – 2565 พบว่า ผลการด าเนินงาน ของเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้มใกล้เคียงกัน โดยในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีทารก แรกเกิดน้ าหนักน้อยกว่า 2,500 ร้อยละ 6.21 และ 6.45 ตามล าดับ ซึ่งมีแนวโน้มลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละทารกแรกเกิดน้ าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2553 - 2565 9.3 9.1 8.6 8.7 8.7 8.5 8.4 6.3 6.1 6.81 6.98 6.43 6.21 8.7 8.4 8.4 7.6 8.4 8.5 8.6 6.2 6.2 6.35 6.6 6.39 6.45 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ภำวะโลหิตจำงในหญิงตั้งครรภ์ 34


สถานการณ์พัฒนาการเด็กเขตสุขภาพที่ 6 ปี2559 – 2565 เด็กอายุ 0 – 5 ปีได้รับการคัดกรองพัฒนาการ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจนถึงปี2562 และมีแนวโน้มคงที่จนถึงปี2565 โดยในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีผลงานการคัดกรอง พัฒนาการ ร้อยละ 85.34 พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 24.14 และเด็กพบสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการติดตาม ร้อยละ 91.13 เด็กแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่ำงเดียว สถานการณ์เด็กแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ตั้งแต่ปี2553 - 2565 มีแนวโน้มค่อนข้างคงที่มาโดยตลอด โดยปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีผลการด าเนินงานทารกแรกเกิด จนถึงอายุต่ ากว่า 6 เดือน ร้อยละ 61.1 และ 61.55 ตามล าดับ ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ ากว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว เขตสุขภาพที่ 6 และประเทศ ปี 2553 – 2565 55.5 58 61 61.3 59.4 64.9 62.1 62.2 55.2 56.75 62.3 60.6 61.5 45.4 60 54 58.8 58.3 73.9 62.8 64.9 57.8 57.86 61.93 62.21 61.55 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ พัฒนำกำรเด็ก ร้อยละการคัดกรองพัฒนาการ พัฒนาการสงสัยล่าช้า และได้รับการติดตาม เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2559 – 2565 24.9 76.6 80.8 83.4 85.94 84.87 85.34 9 10.1 13.9 19.6 22.4 27.25 24.14 39.8 65.4 73.3 88.7 88.67 91.44 91.13 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 คัดกรอง สงสัยล่าช้า ติดตาม ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 35


สถานการณ์สูงดีสมส่วน ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี2558 – 2565 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเขตสุขภาพที่ 6 มีแนวโน้มสูงกว่าระดับประเทศเล็กน้อย โดยในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มีผลการ ด าเนินงานเด็กอายุ0 – 5 ปีสูงดีสมส่วน ร้อยละ 63.58 และ 62.61 ตามล าดับ ร้อยละของเด็กอายุ 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 – 2565 48.77 48.51 50.88 53.91 60.92 62.03 62.99 63.58 47.09 47.01 49.05 50.81 58.87 58.84 61.32 62.61 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 กำรเจริญเติบโตของเด็กอำยุต ่ำกว่ำ 5 ปี 36


การส่งเสริมสุขภาพวัยเรียนที่ผ่านมา กรมอนามัยได้ด าเนินการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนวัยรุ่น ควบคู่กับ สถานศึกษา ตามแนวทางโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และ โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยด าเนินงานด้านส่งเสริม ป้องกัน แก้ไขปัญหาสุขภาพแบบองค์รวม ใช้กลยุทธ์การพัฒนา ความรอบรู้และพฤติกรรมสุขภาพเป็นส าคัญ รวมทั้งการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีเป้าประสงค์ เพื่อให้ เด็กวัยเรียนวัยรุ่น เข้มแข็ง แข็งแรงและฉลาด ผลการด าเนินงานเด็กวัยเรียนของเขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 พบว่า เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 55.08 เด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 14.2 เด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 10.43 เด็กวัยเรียนมีภาวะผอม ร้อย ละ 4.58 เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) ร้อยละ 83.37 เด็กวัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 36.46 37


เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน สถานการณ์เด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ปี2558 - 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้มในทิศทาง เดียวกัน โดยในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ พบเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 55.08 และ 54.88 ตามล าดับ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างเขตสุขภาพที่ 6 กับระดับประเทศ ปี2558 - 2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 มีเด็ก วัยเรียนสูงดีสมส่วนสูงกว่าระดับประเทศทุกปี ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน ภาคการศึกษาที่ 2 เปรียบเทียบเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 – 2565 เด็กวัยเรียนมีภำวะอ้วนและเริ่มอ้วน สถานการณ์เด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ปี 2558 - 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ พบเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ร้อยละ 14.2 และ 13.74ตามล าดับ และเมื่อเปรียบเทียบเขตสุขภาพที่ 6 กับระดับประเทศ พบว่า ตั้งแต่ปี2558 - 2565 เขตสุขภาพที่ 6 เด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วนสูงกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน ภาคการศึกษาที่ 2 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 – 2565 48.77 48.51 50.88 53.93 60.92 62.03 62.99 55.08 47.09 47.01 49.05 50.81 58.87 58.84 61.32 54.88 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ 10.09 11.2 11.64 12.01 13.61 13.07 12.15 14.2 9.23 10.31 10.11 11.13 12.89 12.75 11.18 13.74 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 38


เด็กวัยเรียนมีภำวะเตี้ย สถานการณ์เด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ย ปี2558 - 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดย ปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศพบเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 10.43 และ 12.37 ตามล าดับ และเมื่อ เปรียบเทียบระหว่างเขตสุขภาพที่ 6 กับระดับประเทศ ปี2558 - 2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 มีเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ยต่ า กว่าระดับประเทศมาโดยตลอด เด็กวัยเรียนมีภำวะผอม สถานการณ์เด็กวัยเรียนมีภาวะผอม ปี2558 – 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่6 และระดับประเทศมีแนวโน้มใกล้เคียงกัน โดยปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศพบเด็กวัยเรียนมีภาวะผอม ร้อยละ 4.58 และ 4.43 ตามล าดับ และเมื่อ เปรียบเทียบเขตสุขภาพที่ 6 กับระดับประเทศตั้งแต่ปี 2558 – 2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 เด็กวัยเรียนมีภาวะ อ้วนและเริ่มอ้วนมากกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด แต่ในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีเด็กวัยเรียนมีภาวะผอมสูงกว่า ระดับประเทศเล็กน้อย ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีภาวะเตี้ย เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 - 2565 ร้อยละของเด็กวัยเรียนมีภาวะผอม เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 - 2565 6.13 6.58 5.23 4.97 8.69 7.24 7.75 10.43 7.47 6.72 6.33 6.92 9.89 9.38 9.86 12.37 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ 4.35 4.46 4.09 3.74 4.04 3.77 3.36 4.58 4.72 4.73 4.44 4.18 4.31 4.24 3.55 4.43 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 39


ร้อยละของเด็กอำยุ 12 ปี ปรำศจำกฟันผุ สถานการณ์เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ ปี2558 - 2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้ม ใกล้เคียงกันมาโดยตลอด โดยปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีเด็กอายุ12 ปีฟันดีไม่มีผุร้อยละ 83.37 ซึ่งสูงกว่าระดับประเทศ ที่มีเด็กฟันดีไม่มีผุร้อยละ 75.74 เด็กวัยเรียนได้รับยำเม็ดเสริมธำตุเหล็ก สถานการณ์เด็กวัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ปี 2561 – 2564 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมี แนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ในปี2565 ทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มีเด็กวัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กลดลง โดย เขตสุขภาพที่ 6 พบเด็กวัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 36.46 ซึ่งสูงกว่าระดับประเทศที่มีเด็กวัยเรียนได้รับยา เม็ดเสริม ธาตุเหล็ก ร้อยละ 21.96 ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 - 2565 ร้อยละเด็กวัยเรียนได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ เดือนตุลาคม – มีนาคม ปี2561 - 2565 36.27 44.34 72.02 83.8 84.57 86.56 82.95 83.37 49.21 58.84 71.74 81.97 83.48 83.49 80.49 75.74 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ 3.37 34.4 48.45 60.81 36.46 3.07 21.5 32.01 36.16 21.96 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 40


ประชากรเด็กและวัยรุ่นไทยลดลงอย่างต่อเนื่องในทศวรรษที่ผ่านมา และมีแนวโน้มยังคงลดลงตามอัตราการ เกิดที่ลดลง ในปี 2563 ประเทศไทยมีประชากรเด็กและวัยรุ่นจ านวน 15.5 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 23.3 ของประชากร ทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบประเทศในอาเซียน ประเทศไทยมีสีดส่วนเด็กและวัยรุ่นต่อประชากรน้อยเป็นอันดับ 2 และมี สัดส่วนผู้สูงอายุมากเป็นอันดับ 2 รองจากสิงคโปร์ ในการติดตามสถานการณ์สุขภาพวัยรุ่นของประเทศไทย ปัจจุบันกรมอนามัยใช้ข้อมูลที่ส าคัญ 3 ตัวชี้วัด คือ 1) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10 - 14 ปี 2) อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 - 19 ปี และ 3) ร้อยละการ ตั้งครรภ์ซ้ าในหญิงอายุต่ ากว่า 20 ปี จากการติดตามสถานการณ์การคลอดในหญิงมีชีพอายุ 10 - 14 ปี และอายุ 15 – 19 ปี ตั้งแต่ปี 2555 – 2565 ของเขตสุขภาพที่ 6 พบว่า มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงสูงกว่าระดับประเทศทั้งกลุ่มอายุ 10 - 14 ปี และอายุ 15 – 19 ปี ส่วนการคุมก าเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ และการคุมก าเนิดด้วยวิธีกึ่งถาวร เขตสุขภาพที่ 6 พบว่า มี การด าเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มสูงขึ้น ส่งผลการให้การตั้งครรภ์ซ้ าในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี มีแนวโน้ม ลดลงมาโดยตลอด โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีผลการด าเนินงานคุมก าเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ ร้อยละ 71.2 และ การตั้งครรภ์ซ้ าในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี ร้อยละ 13.67 41


สถานการณ์อัตราการคลอดในวัยรุ่น 15 - 19 ปีตั้งแต่ปี2555 – 2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมี แนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่เขตสุขภาพที่ 6 ยังคงมีอัตราการคลอดในวัยรุ่นสูงกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีอัตราการคลอดในวัยรุ่น 15 – 19 ปีร้อยละ 22.67 และระดับประเทศ ร้อยละ 19.96 อัตรำกำรคลอดในวัยรุ่น 10 – 14 ปี สถานการณ์อัตราการคลอดในวัยรุ่น 10 - 14 ปีตั้งแต่ปี2555 – 2565 เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มี แนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่เขตสุขภาพที่ 6 ยังคงมีอัตราการคลอดในวัยรุ่นสูงกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีอัตราการคลอดในวัยรุ่น 10 – 14 ปีร้อยละ 1.11 และระดับประเทศ ร้อยละ 0.8 อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15 - 19 ปี เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2550 – 2565 2.5 2.3 2.1 2 1.7 1.7 1.6 1.4 1.6 1.4 1.11 1.8 1.7 1.6 1.5 1.4 1.3 1.2 1.1 1.2 1.2 0.8 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ 69 64.9 61.4 56 52.6 48.9 43.2 39.2 41.7 36.69 53.4 22.67 51.1 47.9 44.8 42.5 39.6 35 31.3 31.52 29.37 19.96 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ อัตรำกำรคลอดในวัยรุ่น 15 – 19 ปี อัตราการคลอดในหญิงอายุ 15 - 19 ปี เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2555 – 2565 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 42


หญิงอำยุน้อยกว่ำ 20 ปี ได้รับบริกำรคุมก ำเนิด ด้วยวิธีสมัยใหม่หลังคลอดหรือหลังแท้ง จากสถานการณ์การตั้งครรภ์ซ้ าในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีการคุมก าเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ และการคุมก าเนิดกึ่ง ถาวร ของเขตสุขภาพที่ 6 ปี2557 - 2565 พบว่า การคุมก าเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 13.37 ในปี2557 เป็น ร้อยละ 71.2 ในปี2565 ส่งผลให้การตั้งครรภ์ซ้ าในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปีลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 23.36 ในปี 2557 เป็นร้อยละ 13.67 ในปี2565 ร้อยละของการคุมก าเนิดด้วยวิธีสมัยใหม่ การคุมก าเนิดกึ่งถาวร และการตั้งครรภ์ซ้ า ในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2557 - 2565 13.37 17.42 30.78 31.17 35.4 47.71 61.85 74.78 71.2 11.39 27.2 58.52 78.2 77.02 80.47 75.13 73.5 0 23.36 21.91 21.39 20.08 16.69 15.02 14.89 13.55 13.67 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 สมัยใหม่ กึ่งถาวร ตั้งครรภ์ซ้ า ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 43


Click to View FlipBook Version