The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by strategy.hpc6, 2023-03-29 03:07:18

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

ประเทศไทยมีประชากรวัยแรงงานหรือผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 58.66 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในก าลังแรงงาน ร้อยละ 68.34 และเป็นผู้อยู่นอกก าลังแรงงาน ร้อยละ 31.66 โดยผู้อยู่่ในก าลังแรงงาน ประกอบด้วยผู้มีงานท า ร้อยละ 98.70 และผู้ว่างงาน ร้อยละ 1.23 ประชากรวัยท างานเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศ มีบทบาทส าคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศ เป็นผู้น าครอบครัว เป็นผู้ดูแลประชากรกลุ่มวัยต่าง ๆ ภายใน ครอบครัว ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพประชากร กลุ่มวัยท างาน จึงเป็นสิ่งส าคัญ โดยเฉพาะการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ วัยผู้สูงอายุตั้งแต่เนิ่น ๆ เพื่อการเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุอย่าง มีคุณภาพ และสุขภาพแข็งแรง ในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีการด าเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพวัยท างาน เพื่อให้ประชาชนวัยท างาน ได้รับการดูแลที่ครอบคลุมและมีสุขภาพดีโดยปี2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 ประชาชนวัยท างาน อายุ30 – 44 ปีมี ค่าดัชนีมวลกายปกติร้อยละ 53.06 ประชาชนวัยท างาน อายุ30 – 44 ปีมีเส้นรอบเอวปกติร้อยละ 63.75 รวมถึงมี การมีการด าเนินงานส่งเสริมและส ารวจพฤติกรรมพึงประสงค์ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย การกินผัก 5 ทัพพีการมี กิจกรรมทางกาย การแปรงฟันก่อนอน การเติมเครื่องปรุงรสเค็ม การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระดับ อันตราย กลุ่มวัยท างาน 44


ประชำชนวัยท ำงำน อำยุ 30 – 44 ปี มีค่ำดัชนีมวลกำยปกติ สถานการณ์ประชาชน อายุ30 – 44 ปีมีดัชนีมวลกายปกติเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี2558 - 2565 พบว่า ประชาชนวัยท างาน อายุ30 – 44 ปีทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มีค่าดัชนีมวลกายปกติมีแนวโน้มลดลง อย่างต่อเนื่องมาทุกปีแต่สถานการณ์ของเขตสุขภาพที่ 6 ยังคงมีประชาชนวัยท างาน อายุ30 – 44 ปีมีดัชนีมวลกายปกติ สูงกว่าระดับประเทศมาโดยตลอด โดยในปี2565 ประชาชนท างาน อายุ30 – 44 ปีเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มี ดัชนีมวลกายปกติร้อยละ 53.06 และ 50.15 ตามล าดับ ร้อยละของประชาชนวัยท างาน อายุ 30 - 44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 - 2565 58.08 56.69 56.73 56.11 54.56 55.01 54.09 53.06 52.56 51.53 51.78 52.8 51.93 52.04 51.13 50.15 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ประชำชนวัยท ำงำน อำยุ 30 – 44 ปี มีเส้นรอบเอวปกติ สถานการณ์ประชาชน อายุ30 – 44 ปีมีเส้นรอบเอวปกติเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี2558 - 2565 พบว่า ประชาชนวัยท างาน อายุ 30 – 44 ปีทั้งเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มีรอบเอวปกติมีแนวโน้มลดลงอย่าง ต่อเนื่องมาทุกปีแต่สถานการณ์ของเขตสุขภาพที่ 6 ยังคงมีประชาชนวัยท างาน อายุ 30 – 44 ปีมีรอบเอวปกติสูงกว่า ระดับประเทศมาโดยตลอด โดยในปี2565 ประชาชนวัยท างาน อายุ 30 – 44 ปีเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ มีรอบเอวปกติร้อยละ 63.75 และ 58.91 ตามล าดับ ร้อยละของประชาชนวัยท างาน อายุ 30-44 ปี มีเส้นรอบเอวปกติ เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 – 2565 83.91 83.73 83.13 82.6 81.74 63.78 63.46 63.75 79.49 78.98 79.08 79.3 78.96 58.41 58.24 58.91 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 ที่มา : HDC กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 24 มกราคม 2566 45


พฤติกรรมพึงประสงค์วัยท ำงำน สถานการณ์พฤติกรรมพึงประสงค์วัยท างาน เขตสุขภาพที่ 6 ปี2565 พบว่า วัยท างานมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ด้านต่าง ๆ ดังนี้ ประชาชนอายุ 25 - 59 ปี กินผัก 5 ทัพพี ประชาชนอายุ 25 - 59 ปี มีกิจกรรมทางกาย 47.32% 27.92% 23.63% 1.14% กินทุกวัน 4-6 วัน/สัปดาห์ 1-3 วัน/สัปดาห์ ไม่ทานเลย 40.21% 54.79% 5% น้อยกว่า 150 นาที/สัปดาห์ มากว่าหรือเท่ากับ 150 นาที/สัปดาห์ ไม่ได้ท า ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยท างาน ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 ประชาชนอายุ 25 - 59 ปี เติมเครื่องปรุงรสเค็ม 73.11% 21.17% 4.47% 1.25% แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน นานอย่างน้อย 2 นาที แปรงฟันก่อนนอนทุกวัน นานน้อยกว่า 2 นาที แปรงฟันก่อนนอนบางวัน 9.35% 57.15% 33.48% เติมทุกครั้ง เติมบางครั้ง ไม่เติมเลย ประชาชนอายุ 25 - 59 ปี แปรงฟันก่อนนอน ประชากรอายุ 25 - 59 ปี สูบบุหรี่ ประชากรอายุ 25 - 59 ปี ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในระดับอันตราย 91% 5.81% 3.19% ไม่สูบ สูบมวนแรกหลัง 1 ชั่วโมงขึ้นไป หลังตื่นนอน สูบมวนแรกในช่วง 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง หลังตื่นนอน 77.43% 18.54% 4.03% ไม่เคยดื่มเลย ดื่ม 1-4 ครั้ง/เดือน ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 46


การสูงวัยของประชากรเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลกในรอบทศวรรษนี้ ในขณะที่ประเทศพัฒนาแล้วได้ กลายเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์เกือบทั้งหมด ประเทศก าลังพัฒนามีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากอัตราเกิด ลดต่ าลงและผู้คนมีชีวิตยืนยาวขึ้น ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 2564 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุคิดเป็น ร้อยละ 19 ของประชากรทั้งหมด และคาดการณืในอีก 20 ข้างหน้า ประชากรของประเทศไทยจะเพิ่มช้าลง แต่ ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งที่ส าคัญที่ต้องด าเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ดังกล่าว ในปี2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีการด าเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ ครอบคลุมและมีสุขภาพดี โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 พบผู้สูงอายุติดสังคม ร้อยละ 69.41 มีต าบลที่มีระบบการ ส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) ร้อยละ 99.62 มีการจัดท า Care Plan ร้อยละ 98.07 มี Care Manager และ Care Giver ที่ลงทะเบียนในระบบ 3C จ านวน 1,145 และ 6,799 ราย และมี Care Manager ที่ได้รับการอบรมฟื้นฟูรวม 5 ครั้ง ตั้งแต่ปี 2562 – 2565 ทั้งหมด 849 คน 47


ผู้สูงอำยุติดสังคม สถานการณ์ผู้สูงอายุติดสังคมของเขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี2558 – 2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศมีแนวโน้มผู้สูงอายุติดสังคมใกล้เคียงกัน และมีแนวโน้มลดลงมาตั้งแต่ปี2563 จนถึงปี2565 โดยในปี 2565 เขตสุขภาพที่ 6 มีผู้สูงอายุติดสังคม ร้อยละ 69.96 ซึ่งต่ ากว่าระดับประเทศ ที่มีผู้สูงอายุติดสังคม ร้อยละ 76.41 ร้อยละของผู้สูงอายุติดสังคม เขตสุขภาพที่ 6 และระดับประเทศ ปี 2558 - 2565 ต ำบลที่มีระบบกำรส่งเสริมสุขภำพดูแลผู้สูงอำยุระยะยำว (Long Term Care : LTC) 49.59 45.1 72.52 82.37 84.61 82.58 78.86 69.96 42.61 60.31 75.49 84.94 87.8 84.55 81.3 76.41 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ผลการด าเนินงานต าบลที่มีระบบส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยาว (Long Term Care : LTC) เขตสุขภาพที่ 6 ปี2565 พบว่า มีต าบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) ร้อยละ 99.62 ซึ่ง สูงกว่าระดับประเทศ ที่มีผลการด าเนินงาน ร้อยละ 98.19 เมื่อแยกผลการด าเนินงานรายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 6 พบว่า จังหวัดที่มีผลการด าเนินงานต าบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) ร้อยละ 100 ได้แก่จังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราด จังหวัดสระแก้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง 100 100 100 98 100 100 98.46 100 99.62 98.19 จันทบุรี ตราด สระแก้ว สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี ระยอง เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ ร้อยละต าบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care : LTC) ในชุมชนผ่านเกณฑ์ เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 48


กำรจัดท ำ Care Plan ผลการด าเนินงานการจัดท า Care Plan เขตสุขภาพที่ 6 ปี2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 มีการจัดท า Care Plan ร้อยละ 98.07 ซึ่งสูงกว่าระดับประเทศที่มีผลการด าเนินงาน ร้อยละ 93.44 เมื่อแยกผลการด าเนินงานรายจังหวัดในเขต สุขภาพที่ 6 พบว่า จังหวัดที่มีการจัดท า Care Plan มากที่สุดคือ จังหวัดระยอง ร้อยละ 99.74 รองลงมาเป็น จังหวัด จันทบุรีและจังหวัดสระแก้ว ร้อยละ 99.03 ส่วนจังหวัดที่มีการจัดท า Care Plan น้อยที่สุดคือ จังหวัดฉะเชิงเทรา ร้อยละ 92.6 รองลงมาคือ จังหวัดตราด และจังหวัดสมุทรปราการ ร้อยละ 97.53 และ 98.2 ตามล าดับ ร้อยละการจัดท า Care Plan เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 จ ำนวน Care Manager และ Care Giver ที่ลงทะเบียนในระบบ 3C ผลการด าเนินงานของเขตสุขภาพที่ 6 ปี2565 พบว่า เขตสุขภาพที่ 6 มีจ านวน Care Manager ทั้งหมด 1,145 ราย โดยแบ่งเป็น Care Manager ที่อยู่ในหน่วยบริการ จ านวน 1,098 ราย และอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน 47 ราย และมีCare Giver ทั้งหมด 6,799 ราย โดยแบ่งเป็น Care Giver ที่อยู่ในหน่วยบริการ จ านวน 6,541 ราย และ อยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน 258 ราย จ านวน Care Manager และ Care Giver ที่อยู่ในระบบ เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 98.98 99.74 99.03 97.53 98.2 92.6 98.49 99.03 98.07 93.44 ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว เขตสุขภาพที่ 6 ประเทศ จังหวัด CM รวม CM CG รวม CG CM หน่วยบริการ CM อปท. CG หน่วยบริการ CG อปท. ชลบุรี 173 13 186 1,085 37 1,122 ระยอง 139 14 153 648 34 682 จันทบุรี 131 3 134 941 18 959 ตราด 81 3 84 484 2 486 สมุทรปราการ 126 5 131 631 4 635 ฉะเชิงเทรา 182 2 184 846 42 888 ปราจีนบุรี 124 1 125 977 8 985 สระแก้ว 142 6 148 929 113 1,042 รวม 1,098 47 1,145 6,541 258 6,799 ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 49


จ ำนวน Care Manager ที่ได้รับกำรฟ้นื ฟู เขตสุขภาพที่ 6 มีจ านวน Care Manager ที่ได้รับการฟื้นฟูทั้งหมด 849 ราย จากการอบรมฟื้นฟูทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่ปี2562 - 2565 จ านวน Care Manager ที่ได้รับการฟื้นฟู เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2562 - 2565 จังหวัด ปีงบประมาณ รวม 2562 2563 2564 2565 อบรมฟื้นฟู ครั้งที่ 1 (6 - 8 ก.พ. 62) อบรมฟื้นฟู ครั้งที่ 2 (27 - 28 พ.ย. 62) อบรมฟื้นฟู ครั้งที่ 3 (29 - 31 ก.ค. 63) อบรมฟื้นฟู ครั้งที่ 4 (23 - 25 พ.ย. 63) อบรมฟื้นฟู ครั้งที่ 5 (14 - 16 ธ.ค. 64) ชลบุรี 33 28 16 12 20 109 ระยอง 55 19 16 36 15 141 จันทบุรี 28 24 11 24 17 104 ตราด 27 27 13 0 18 85 สมุทรปราการ 16 26 16 27 14 99 ฉะเชิงเทรา 41 27 16 25 21 130 ปราจีนบุรี 14 28 7 11 19 79 สระแก้ว 14 28 19 20 21 102 รวม 228 207 114 155 145 849 ที่มา : กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย ข้อมูล ณ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 50


ประเด็นงำนหลัก 1. กำรจัดกำรสุขำภิบำลอำหำร 2. กำรจัดกำรคุณภำพน้ ำบริโภค 3. โรงพยำบำลผ่ำนมำตรฐำน GREEN and CLEAN Hospital 4. กำรจัดกำรขยะติดเชื้อ 5. กำรพัฒนำคุณภำพระบบบรกิำรอนำมัยสิ่งแวดลอ้ม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) 52


กำรจัดกำรสุขำภิบำลอำหำร เขตสุขภำพที่6 การขับเคลื่อนการด าเนินงานสุขาภิบาลอาหารโดยงานขับเคลื่อนงานอาหารปลอดภัยที่มี ประสิทธิภาพ ตั้งแต่ในปีงบประมาณ 2563 ศูนย์อนามัยที่ 6 ได้เปิดตัว Model อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) 3 แห่ง ได้แก่ ถนนคนเดินเทศบาลต าบลแพรกษา อ าเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ตลาดประมง ท่าเรือพลี อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และถนนคนเดินเทศบาลเมืองขลุง อ าเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี โดยมี นายสาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมอนามัย สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 6 พร้อม คณะผู้บริหารกระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ลงพื้นที่ขับเคลื่อนสร้างการมี ส่วนร่วมของเครือข่ายการด าเนินงานถนนคนเดิน เพื่อยกระดับมาตรฐานอาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) เป็นต้นแบบในเขตสุขภาพที่ 6 และขับเคลื่อนการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องพัฒนาสถานประกอบการด้าน อาหาร เช่น ตลอดสด ตลาดนัด ร้านอาหาร แผงลอยจ าหน่ายอาหาร อาหารริมบาทวิถี เป็นต้น รวมทั้งผลักดันเน้น ย้ าข้อปฏิบัติส าหรับรถเร่จ าหน่ายอาหาร การจ าหน่ายและขนส่งอาหารแบบเดลิเวอรี่ การผลักดันการอบรมผู้สัมผัส อาหาร ขับเคลื่อนให้เป็นไปตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จ าหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ให้ สถานที่จ าหน่ายอาหาร กรมอนามัย มีนโยบายในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและน้ า เพื่อให้ประชาชนได้บริโภค อาหารที่สะอาดปลอดภัย โดยมีระบบการดูแล ควบคุม ตรวจสอบคุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร ใน ปีงบประมาณ 2565 ศูนย์อนามัยที่ 6 ยกระดับการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ า และอนามัยสิ่งแวดล้อมรองรับ การท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบพื้นที่ด าเนินงานอาหารริมบาทวิถีสร้างเสริมสุขภาพ (Street Food Good Health) ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market) และร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) สร้าง ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในเขตสุขภาพที่ 6 มีการยกระดับมาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ าในสถาน ประกอบการประเภทสถานที่จ าหน่ายอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว เพื่อพัฒนาและยกระดับการ จัดการสุขาภิบาลอาหารและอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว ผลการด าเนินงานอาหารปลอดภัยที่มี ประสิทธิภาพ อาหารริมบาทวิถี (Street Food Good Health) จังหวัดละ 7 แห่ง ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market) จ านวน 47 แห่ง และร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) จ านวน 60 แห่ง รวม 114 แห่ง ผลการด าเนินงานขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 53


ศูนย์อนามัยที่ 6 ร่วมกับส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ในเขตสุขภาพที่ 6 ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป้าหมาย ลงพื้นที่ติดตาม และสุ่มประเมินแนะน าสถานประกอบกิจการตลาด ร้านอาหารและเครื่องดื่ม อาหารริมบาทวิถีตามเป้าหมายการ ด าเนินงาน ปีงบประมาณ 2565 เพื่อพัฒนาและยกระดับจังหวัดมีการขับเคลื่อนการด าเนินงานอาหารปลอดภัยที่ มีประสิทธิภาพ โดยตรวจประเมินแนะน าตามเกณฑ์มาตาฐานร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) ตรวจประเมินแนะน าตามเกณฑ์มาตรฐาน อาหารริมบาทวิถี(Street Food Good Health) ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market) และร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) ระหว่างวันที่ 7 – 24 ธันวาคม 2564 ได้แก่ 1.ตลาดนัด น่าซื้อ (Temporary Market) จ านวน 13 แห่ง 2.ร้านอาหาร (Clean Food Good Taste Plus) จ านวน 29 แห่ง 3.อาหารริมบาทวิถี(Street Food Good Health) จ านวน 2 แห่ง รวมทั้งสิ้น จ านวน 44 แห่ง ปัจจัยควำมส ำเร็จกำรด ำเนินงำน 1. ก า ร ขับ เ ค ลื่ อ นนโ ยบ า ย ก า ร ด า เ นินง านใ น ร ะ ดับ ก ร ม ห รื อ ก ร ะท ร วง ป ร ะ ช า สั มพั น ธ์ใ ห้ ท้ อง ถิ่ น 2. มีการด าเนินการด้านอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง และสมัครเข้าใช้งานระบบ/รับการประเมินรับรอง 3. ผลักดันให้ขับเคลื่อนการด าเนินงานผ่านพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) 4. ผู้ประกอบการให้ความส าคัญในการพัฒนาตามมาตรฐานและปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ 5. เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินงานสนับสนุนสถานประกอบการในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน 6. เจ้าหน้าที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด/อ าเภอ โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ให้ความส าคัญ ประสาน ลงตรวจแนะน า สนับสนุนติดตามการด าเนินงานในพื้นที่ 7. เครือข่ายการด าเนินงานร่วมกันในพื้นที่ สนับสนุนด าเนินงานตามบทบาทภารกิจ 8. กรมอนามัย/ศูนย์อนามัย สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน ร่วมลงตรวจให้ค าแนะน า 9. ผลักดันการด าเนินงานผ่านคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด/อ าเภอ 10. การอบรมพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อสร้าง ความเข้าใจการด าเนินงานในระดับพื้นที่ กำรจัดกำรสุขำภิบำลอำหำร เขตสุขภำพที่6 54


จากสถานการณ์การเฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภค และจากข้อมูลแผนแม่บท การบริหารจัดการน้ าทรัพยากร น้ า 20ปี (พ.ศ.2561-2580) ด้านที่ 1 การจัดการน้ าอุปโภคบริโภคพบว่า คุณภาพน้ าประปาซึ่งอยู่ในความ รับผิดชอบของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนต าบล คือ ประปาเทศบาล และหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ไม่อยู่ในเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพน้ าบริโภคกรมอนามัย (พ.ศ.2563) ส่งผลให้ประชาชนเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ าเป็นสื่อ เพื่อ เป็นการคุ้มครองประชาชนให้มีน้ าบริโภคที่สะอาด ปลอดภัย อันจะเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน อีกทางหนึ่ง กรมอนามัยเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพน้ าโดยการยกระดับคุณภาพน้ าบริโภคให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานสู่น้ าประปาดื่มได้ รวมทั้งการเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านการจัดการคุณภาพน้ าบริโภค เพื่อสร้างความ เชื่อมั่นในการใช้ชีวิตประจ าวันของประชาชนและสถานประกอบกิจการให้มีความปลอดภัย และจากสถานการณ์ การติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้มีการด าเนินงานร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย และหน่วยงานองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนากระบวนการจัดการคุณภาพน้ าบริโภคที่สะอาดปลอดภัย เพื่อรองรับ สถานการณ์การระบาดของการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการยกระดับการ จัดการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กรมอนามัย แนวทำงและขั้นตอนกำรด ำเนินงำน สถำนกำรณ์กำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบรโิภคและกำรทบทวนปัญหำ อุปสรรค แนวทำง กำรแก้ไขปัญหำกำรเฝ้ำระวังคุณภำพน ้ำบรโิภค ในเขตสุขภำพที่6 ที่มา : :ส านักงานทรัพยากรน้ า แผนแม่บท การบริหารจัดการน้ าทรัพยากรน้ า 20ปี (พ.ศ.2561-2580) ด้านที่1 การจัดการน้ าอุปโภคบริโภค หน้า 33 -36 . ลิงค์https://1th.me/FwuXS กำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบริโภค 55


ผลกำรด ำเนินงำนกำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบรโิภค ข้อมูล ณ วันที่16 ตุลาคม 2565 จากตารางข้างต้น ผลการด าเนินงานพัฒนาและยกระดับประปาหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ประปาดื่มได้ กรมอนามัย ของ อปท. ตามแผนที่ก าหนดไว้ ทั้งหมด 7 อปท. เป้าหมาย ในพื้นที่ 7 จังหวัด รวมถึงให้ค าปรึกษา ข้อเสนอแนะแก่ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้เกิด การปรับปรุงพัฒนาให้เกิดเป็นประปาหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพประปาดื่มได้ กรมอนามัย และยื่นขอรับการ รับรองประปาหมู่บ้านสะอาด ได้ทั้งสิ้น 4 อปท. ดังนี้ 1. ระบบประปาบ้านประณีต ม.2 องค์การบริหารส่วนต าบลประณีต ต.บ้านประณีต อ.เขาสมิง จ.ตราด 2. ระบบประปาบ้านหนองลาดชะโด ม.5 องค์การบริหารส่วนต าบลท่าตูม ต.ท่าตูม อ.ศรีมหาโพธิ จ.ปราจีนบุรี 3. ระบบประปาบ้านหนองผูกเต่าพัฒนา ม.13 องค์การบริหารส่วนต าบลศาลาล าดวน ต.ศาลาล าดวน อ.เมือง จ.สระแก้ว 4. ระบบประปาบ้านทุ่งบอน ม.1เทศบาลต าบลปัถวี ต.ปัถวี อ.มะขาม จ.จันทบุรี รายชื่อจังหวัด เป้าหมายการด าเนินงาน (ตัวอย่าง) การขับเคลื่อนการด าเนินงาน ในพื้นที่เป้าหมาย (อปท./ ระบบ/ตัวอย่าง) ต้นแบบองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นพัฒนาคุณภาพน้ าประปา หมู่บ้าน (ระบบ) 1. ระยอง 6 6 (6/6) - 2. ชลบุรี 6 2 (1/2) - 3. ฉะเชิงเทรา 6 4 (2/4) - 4. ปราจีนบุรี 6 2 (1/2) 1 5. จันทบุรี 6 7 (6/7) 1 6. ตราด 6 6 (6/6) 1 7. สระแก้ว 6 4 (1/4) 1 รวม 42 31 4 กำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบริโภค 56


ภำพกิจกรรมกำรด ำเนินงำนกำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบรโิภค ข้อค้นพบจำกกำรด ำเนินงำน ด้านแหล่งน้ าดิบ • น้ าผิวดิน ปั๊มน้ ามาพัก และปล่อยใช้ ไม่มีการปรับปรุงคุณภาพ • น้ าบาดาล ไม่สะอาด เหลือง ขุ่น มีสนิม การล้างย้อนถังกรองสนิมเหล็กไม่ต่อเนื่อง ด้านระบบประปา • ไม่มีเครื่องวิเคราะห์คลอรีนคงเหลือ • ไม่มีเครื่องมือตรวจวัดความเป็นกรด-ด่างในน้ า • ถังปูนขาวมีสภาพช ารุด/รั่วซึม ถังสารส้มมีสภาพช ารุด/รั่วซึม • รางระบายตะกอนมีสภาพช ารุด/รั่วซึม • ไม่ได้พักน้ าดิบก่อน ไม่ผ่านการกรอง ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ ใส่คลอรีนไม่สม่ าเสมอ ไม่มีงบประมาณดูแล ซ่อมบ ารุง ด้านการควบคุมการผลิตและบ ารุงรักษาระบบประปา • ขาดการดูแล ไม่ให้ความส าคัญเรื่องน้ า ขาดการล้างท าความสะอาดถังเก็บน้ า ระบบผลิตน้ า ระบบจ่ายน้ า ท าให้เกิดตะกอนในถังพักน้ า ท าให้เกิดคราบสกปรกเกิดขึ้น และการท าความสะอาดหัวก๊อกจ่ายน้ าไม่ได้ท า ต่อเนื่อง เกิดตะไคร่น้ า • บุคลากรขาดความรู้ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ในกรณีเครื่องจักรและระบบประปามีปัญหา ด้านปริมาณและคุณภาพน้ าประปา • ปริมาณน้ าประปาไม่เพียงพอ • ฤดูแล้งไม่มีน้ าเพียงพอในการผลิตน้ าประปา ด้านการบริหารกิจการระบบประปา • ไม่เห็นความส าคัญในการผลิตน้ าประปาให้ได้มาตรฐาน • ขาดองค์ความรู้ในเรื่องการบริหารจัดการเรื่องการผลิตระบบน้ าประปา กำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบริโภค 57


ปัจจัยพื้นฐานส าคัญในการด ารงชีวิตของมนุษย์ โดยเฉพาะน้ าที่ใช้บริโภคนั้น จะต้องสะอาด ปราศจากเชื้อ โรคและสิ่งเจือปนต่างๆ ซึ่งรัฐบาลได้ก าหนดเป็นนโยบายส าคัญและมีเป้าหมายให้ประชาชนมี น้ าสะอาดบริโภค เพียงพอตามเกณฑ์มาตรฐาน จากสถานการณ์การเฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภค พบว่า คุณภาพน้ าประปา ซึ่งอยู่ใน ความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าบริโภคกรมอนามัย (พ.ศ.2535) ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน พบการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ าเป็นสื่อ โดยเฉพาะโรค อุจจาระร่วงเฉียบพลัน ปีละมากกว่า 1 ล้านราย และมีแนวโน้มเกิดปัญหาฟันตกกระในเด็กและฟลูออไรด์เป็นพิษ เนื่องจากมีปริมาณฟลูออไรด์ปนเปื้อนในน้ าสูงและกระจายตามพื้นที่ต่างๆ เพิ่มขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการคุ้มครอง ประชาชนให้มีน้ าบริโภคที่สะอาด ปลอดภัย อันจะเป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนอีกทางหนึ่ง กรม อนามัย จึงพิจารณาเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพน้ าประปา โดยการยกระดับคุณภาพน้ าประปาหมู่บ้าน และ น้ าประปาเทศบาล ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสู่น้ าประปาดื่มได้ ตลอดจนมีการด าเนินงานร่วมกับ หน่วยงาน การประปาส่วนภูมิภาค ในการให้การรับรองเป็นพื้นที่น้ าประปาดื่มได้ให้มากขึ้นและร่วมกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาคุณภาพน้ าบริโภคให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์กรมอนามัยต่อไป ทบทวนปัญหำ อุปสรรค แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำกำรพัฒนำโรงเรียน กพด.ต้นแบบ กำรจัดกำรคุณภำพน ้ำบริโภค แนวทำงและขั้นตอนกำรด ำเนินงำน พื้นที่เป้าหมาย : โรงเรียนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร 4 จังหวัด สระแก้ว ฉะเชิงเทรา จันทบุรี และตราด รวม 19 แห่ง กลุ่มเป้าหมาย :1.ครู นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 2.ผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้าน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. กองก ากับการต ารวจตระเวนชายแดนที่ 11 และ 12 4.ส านักงาน สาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว 5. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา 6. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด จันทบุรี 7. ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด กำรขับเคลื่อนคุณภำพน ้ำอุปโภค บริโภค โรงเรียนในโครงกำรพระรำชด ำริฯ (กพด.) 58


สรุปผลกำรตรวจวิเครำะห์คุณภำพน ้ำ จ ำแนกตำมประเภทตัวอย่ำงน ้ำ ปีงบประมำณ2565 0 10 20 30 40 50 60 70 กายภาพ เคมี ชีวภาพ 13.51 32.43 67.57 กายภาพ เคมี ชีวภาพ สี (5) TDS (5) โคลิฟอร์มแบคทีเรีย (26) ขุ่น (1) กระด้าง (10) อี.โคไล(14) เหล็ก(1) ตะกั่ว (1) น้ าดื่ม/น้ าใช้ 19 แห่ง 37 ตัวอย่าง ข้อมูล ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2565 จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าผลเฝ้าระวังคุณภาพน้ าในโรงเรียนต ารวจตระเสนชายแดน (ตชด.) ทั้ง 19 แห่ง โดยเก็บเฝ้าระวังในส่วนของน้ าอุปโภคและน้ าบริโภค รวม 37 ตัวอย่าง ผลที่ได้คือ ผ่านเกณฑ์ 21 พารามิเตอร์ ได้ ร้อยละ 27 และไม่ผ่าน เกณฑ์ 21 พารามิเตอร์ ถึงร้อยละ 73 พอแยกรายพารามิเตอร์ ที่ไม่ผ่านมากที่สุดคือ ในด้าน ชีวภาพร้อยละ 67.57 รองลงมาด้านเคมี ร้อยละ 32.43 และด้านกายภาพ ร้อยละ 13.51 ตามล าดับ กำรขับเคลื่อนคุณภำพน ้ำอุปโภค บริโภค โรงเรียนในโครงกำรพระรำชด ำริฯ (กพด.) 59


ภำพกิจกรรมกำรด ำเนินงำนกำรขับเคลื่อนคุณภำพน ้ำอุปโภค บริโภค ในโรงเรียน กพด. ปัญหำที่ท ำให้น ้ำอุปโภค ในโรงเรียนต ำรวจตระเวนชำยแดน เขตสุขภำพที่6 ไม่ผ่ำนมำตรฐำน คุณภาพน้ าดิบ • น้ าผิวดิน ปั๊มน้ ามาพัก และปล่อยใช้ ไม่มีการปรับปรุงคุณภาพ • น้ าบาดาล ไม่สะอาด เหลือง ขุ่น มีสนิม การล้างย้อนถังกรองสนิมเหล็กไม่ต่อเนื่อง ปริมาณ • แหล่งน้ าธรรมชาติมีน้อย มีขนาดเล็ก น้ าไม่เสถียร ขาดแคลนน้ าดิบเป็นบางช่วง การบริหารจัดการ • ไม่ได้พักน้ าดิบก่อน ไม่ผ่านการกรอง ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ ใส่คลอรีนไม่สม่ าเสมอ ไม่มีงบประมาณดูแล ซ่อมบ ารุง • ขาดการดูแล ไม่ให้ความส าคัญเรื่องน้ า ขาดการล้างท าความสะอาดถังเก็บน้ า ระบบผลิตน้ า ระบบจ่ายน้ า ท า ให้เกิดตะกอนในถังพักน้ า ท าให้เกิดคราบสกปรกเกิดขึ้น และการท าความสะอาดหัวก๊อกจ่ายน้ าไม่ได้ท า ต่อเนื่อง เกิดตะไคร่น้ า • เป็นการใช้ส่วนรวมระบบปนเปื้อนได้ง่าย • ขาดแคลนอุปกรณ์ เช่น เครื่องกรองน้ า ตัวไส้กรองแบบ Filter เสื่อมสภาพ แท็งค์น้ ามีสภาพเก่า ช ารุด ท่อส่งน้ า รั่วซึม อายุการใช้งานนาน มีตะกอนเกาะท่อ • บุคลากรขาดความรู้ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ การล้างเครื่องกรองและไส้กรอง การดูแลระบบกรองน้ า • ประปาหมู่บ้าน ดูแลโดย อบต. เป็นน้ าดิบ ไม่ผ่านการกรอง ไม่เติมคลอรีน โรงเรียนไม่สามารถบริหารจัดการ แก้ไขได้ กำรขับเคลื่อนคุณภำพน ้ำอุปโภค บริโภค โรงเรียนในโครงกำรพระรำชด ำริฯ (กพด.) 60


ปัญหำที่ท ำให้น ้ำบริโภคโภคในโรงเรยีนต ำรวจตระเวนชำยแดน เขตสุขภำพที่6 ไม่ผ่ำนมำตรฐำน คุณภาพน้ าดิบ • น้ าไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ ไม่ผ่าน UV หรือ เติมคลอรีน ผ่าน RO ขนาดเล็ก พบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย • น้ าบาดาลมีสนิม ต้องล้างเครื่องกรองบ่อย • ไม่มีแหล่งผลิตน้ าดื่ม ต้องซื้อจากรถน้ าทุกวัน การบริหารจัดการ • ขาดการดูแลหลังขายของบริษัทที่ติดตั้ง หรือบริจาค และขาดงบประมาณในการซ่อมบ ารุงรักษา ระบบ กรองใช้งานไม่ได้ ระบบ RO เสีย ต้องซื้อน้ าดื่ม • ไม่มีงบประมาณในการการซ่อมเครื่องกรองน้ าที่เสีย หรือเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ตามวงรอบของวัสดุ ไส้ กรองน้ า ไม่มีเครื่องกรองน้ า ระบบกรองน้ าค่าใช้จ่ายสูง • ไม่มีระบบการกรองที่มีคุณภาพ เครื่องกรองเล็ก เครื่องกรองไม่ได้กรองได้ทุกอย่าง • สภาพเครื่องกรองน้ า ระบบส่งน้ า และถังส ารองน้ าที่เสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน เครื่องกรอง UV ระบบอัตโนมัติไม่ท างาน • ไม่มีแหล่งพักน้ า น้ าไม่เพียงพอ ไม่มีการฆ่าเชื้อก่อนน ามาใช้ ขาดคลอรีน • ไม่มีไฟฟ้า ก าลังไฟที่ใช้ในระบบการผลิตน้ าดื่มไม่เพียงพอ เนื่องจากใช้พลังงานจากโซลาร์เซลล์ หรือ ไฟ กระตุกกระชาก ระบบบ้านน้ าดื่มเสีย • ขาดการล้างท าความสะอาดระบบกรองน้ า ถังเก็บน้ าดื่ม หัวก๊อกอย่างสม่ าเสมอ ไส้กรองน้ าไม่เพียงพอ ใช้งานนานเกินไป • ระบบท่อส่งน้ าฝังดินอยู่ใกล้ห้องน้ าห้องส้วม ถังกรองอยู่สูงกว่าต้นน้ า น้ าไม่เข้าถังกรอง • บุคลากรขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการซ่อมแซมและบ ารุงรักษาระบบ การล้างเครื่องกรองน้ า ระบบมี ปัญหาซ่อมไม่ได้ ไม่มีครูที่เชี่ยวชาญดูแลระบบกรองน้ า บริหารจัดการ ซ่อมบ ารุงบ้านน้ าดื่มไม่เป็น ครู อนามัยก าลังมารับต าแหน่งใหม่ เปลี่ยนผู้ดูแลบ่อยงานไม่ต่อเนื่อง • ทางมาโรงเรียนยากล าบากท าให้การดูแลไม่ทั่วถึง กำรขับเคลื่อนคุณภำพน ้ำอุปโภค บริโภค โรงเรียนในโครงกำรพระรำชด ำริฯ (กพด.) 61


สถำนกำรณ์ ผลงำนย้อนหลัง 3 ปีหรือที่เริ่มด ำเนินกำร ในปี 2565 กรมอนามัยได้มีการด าเนินโครงการยกระดับคุณภาพการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมสถานบริการ สาธารณสุขที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายในการพัฒนามาตรฐาน GREEN & CLEAN Hospital (Plus) สู่ความเป็นเลิศ GREEN & CLEAN Hospital Challenge 1. ระดับการรับรอง แบ่งออกเป็น 3 ระดับ (จากเดิมมี 4 ระดับ) 1. ระดับมาตรฐาน (Standard) 2. ระดับดีเยี่ยม (Excellent) 3. ระดับท้าทาย (Challenge) 2. เกณฑ์แบ่งเป็น 2 ส่วน (ส่วนที่ 1 จ านวน 8 หมวด และส่วนที่ 2 จ านวน 4 ประเด็นท้าทาย) ส่วนที่ 1 การพัฒนา GREEN & CLEAN โรงพยาบาล (ระดับ มาตรฐานและระดับดีเยี่ยม) ส่วนที่ 2 การพัฒนาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะด้าน (ระดับ ท้าทาย) หมวด 1 CLEAN : การสร้างกระบวนการพัฒนา หมวด 2 G : GARBAGE การจัดการมูลฝอยทุกประเภท หมวด 3 R : RESTROOM การพัฒนาส้วมมาตรฐานและการจัดการสิ่งปฏิกูล หมวด 4 E : ENERGY การจัดการด้านพลังงานและทรัพยากร หมวด 5 E : ENVIRONMENTการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล หมวด 6 N : NUTRITION การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การจัดการน้ าอุปโภค บริโภคและการด าเนินงานอาหารปลอดภัยในโรงพยาบาล หมวด 7 Innovation : การพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัยด้าน GREEN หมวด 8 Network : การสร้างเครือข่ายการพัฒนาด้าน GREEN 1. การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรม สิ่งแวดล้อมส าหรับโรงพยาบาล (ระดับดีขึ้นไป) 2. การจัดการของเสียทางการแพทย์ (Medical Waste Management) 3. การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. การพัฒนาโรงพยาบาลคาร์บอนต่ าและเท่าทันการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Low Carbon and Climate Resilient Health Care) ที่มา : https://gch.anamai.moph.go.th/report กำรยกระดับคุณภำพกำรจัดกำรอนำมัยสิ่งแวดล้อมสถำนบริกำรสำธำรณสุข ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ( G R E E N a n d C L E A N H o s p i t a l ) 62


วิเครำะห์ข้อมูลสรุป ปัญหำอุปสรรค ข้อเสนอแนะ อื่นๆ รูปถ่ำยกำรด ำเนินงำน Assessment : สถานการณ์ผลการด าเนินการ GREEN & CLEAN Hospital พบว่า มีการพัฒนาไม่ได้ตามเกณฑ์ ค่าเป้าหมาย เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท าให้ บุคลากรทางการแพทย์มีภารกิจที่จะต้องดูแลผู้ป่วยที่มีจ านวนมาก อีกทั้งเจ้าหน้าที่มีการติดเชื้อโควิด จึงท าให้ ขาดบุคลากรในการท างาน ในบางกิจกรรมจึงไม่ต่อเนื่องหรือมีการระงับไปก่อน เช่น การเปิดตลาด GREEN Market ที่ให้ประชาชนน าพืชผักปลอดสารพิษมาขายในพื้นที่ ศูนย์อนามัยที่ 6 จึงได้ด าเนินการประสานให้ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดด าเนินการให้โรงพยาบาลท าการประเมินตนเอง และส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ท าการรับรองผลการประเมินเพื่อยกระดับตามเกณฑ์มาตรฐาน GREEN&CLEAN Hospital และรายงานผลการ ประเมินฯ พร้อมทั้งปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ กลับมายังศูนย์อนามัยที่ 6 เพื่อขับเคลื่อนการด าเนินงาน ให้ผ่านตามเกณฑ์ฯ Intervention : ศูนย์อนามัยที่ 6 วางแผนการลงประเมิน GREEN & CLEAN Hospital เพื่อขับเคลื่อนการ ด าเนินงานร่วมกับจังหวัดจากการจัดประชุมชี้แจ้งและประสานแผนการด าเนินงานให้กับภาคีเครือข่ายในเขต สุขภาพที่ 6 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายทราบเป้าหมายและกระบวนการขับเคลื่อน อุปสรรคปัญหาที่ผ่านมา และแก้ไข การมีส่วนร่วมในการวางแผนการขับเคลื่อน มีการสนับสนุนใบประกาศเชิดชูเกียรติโรงพยาบาล GREEN & CLEAN Hospital สนับสนุนด้านวิชาการ ได้แก่ เป็นวิทยากรด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ าสะอาด ด้านการ จัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย เอกสารสิ่งพิมพ์และสื่อมัลติมีเดียที่เกี่ยวข้อง Management : ใช้กลยุทธ์PIRAB ในการขับเคลื่อนการด าเนินงาน GREEN&CLEAN Hospitalประกอบด้วย P : Partner สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกกระทรวง ในงาน GREEN อย่างบูรณาการ และ ผลักดัน ให้เกิด กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Best Practices ระดับเขต I : Invest สนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากรในการปรับปรุงภูมิทัศน์การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพการจัดสภาพ สิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ R : Regulate and Legislate สนับสนุนมาตรการทางกฎหมายเพื่อผลักดันให้เกิดกระบวนการจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์GREEN&CLEAN Hospital อย่างเป็นรูปธรรม A : Advocate ส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการก าหนดประเด็นชี้น เพื่อการสื่อสารความเสี่ยงให้เข้มข้นทั้งเขต และทีมงานที่เข้มแข็งในการพัฒนางานGREEN& CLEAN ขยายสู่เครือข่ายอื่น B : Build Capacity พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกภาคส่วนให้สามารถพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนการ ด าเนินงาน GREEN&CLEAN Hospital ทุกด้าน รวมทั้งการวิจัย การกระจายความเพื่อรู้พัฒนา GREEN ลงสู่ ชุมชนเพื่อให้เกิด GREEN Community Advocacy :การขับเคลื่อนการด าเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN Hospital ผ่านการตรวจราชการของคณะ ตรวจราชการเขต 6 คณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับเขต คณะกรรมการอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนา มัยระดับเขต และคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด 63


รูปถ่ำยกำรด ำเนินงำน ปัจจัยควำมส ำเร็จ 1. ผู้บริหารให้ความส าคัญต่อการพัฒนางานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล/มีการบูรณาการ งานในระดับโรงพยาบาล 2. เป็นงานต่อเนื่องที่มีแนวทางและการวัดผลที่ชัดเจน โอกำสในกำรพัฒนำ 1. โรงพยาบาลขนาดเล็กไม่สามารถยกระดับเนื่องจากติดปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน 2. ความเชื่อมโยงการขยายงาน GREEN&CLEAN Hospital จากโรงพยาบาลสู่ชุมชน 3. การด าเนินงานด้านนวัตกรรมยังมีน้อย ควรมีการจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านนวัตกรรม GREEN&CLEAN Hospital 64


สถำนกำรณ์ ผลงำนย้อนหลัง 3 ปีหรือที่เริ่มด ำเนินกำร สถานการณ์การด าเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ เขตสุขภาพที่ 6 มีโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 79 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ 6 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป 8 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน 59 แห่ง และโรงพยาบาลสังกัดกรม วิชาการ 6 แห่ง ในระบบก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (Manifest System) ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อวันที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 10 สิงหาคม 2565 โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีปริมาณการเกิดมูลฝอยติด เชื้อ ดังนี้ (1) จังหวัดสมุทรปราการ มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 695,036.26 กิโลกรัม (2) จังหวัดชลบุรี มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 1,384,965.83 กิโลกรัม (3) จังหวัดระยอง มีปริมาณ การเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 628,131.04 กิโลกรัม (4) จังหวัดจันทบุรี มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 230,372.39 กิโลกรัม (5) จังหวัดตราด มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 111,284.96 กิโลกรัม(6) จังหวัดฉะเชิงเทรา มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 203,044.87 กิโลกรัม (7) จังหวัด ปราจีนบุรี มีปริมาณการเกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 257,116.86 กิโลกรัม (8) จังหวัดสระแก้ว มีปริมาณการ เกิดมูลฝอยติดเชื้อ จ านวน 282,471.66 กิโลกรัม ดังตาราง ที่มา : โปรแกรมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ(Manifest) กำรจัดกำรมูลฝอยติดเชื้อ 65


ในปี 2565 ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้พัฒนาระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องมือรองรับการด าเนินงานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการ ควบคุมก ากับการขนมูลฝอยติดเชื้อเพื่อป้องกันการลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2565 และประกาศกรม อนามัย เรื่อง แบบบันทึกข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ.2565 ได้ก าหนดให้ผู้รับผิดชอบแหล่งก าเนิดมูล ฝอยติดเชื้อ ผู้รับขนมูลฝอยติดเชื้อและผู้รับก าจัดมูลฝอยติดเชื้อ ต้องใช้งานระบบควบคุมก ากับการขนส่งมูล ฝอยติดเชื้อ (Manifest System) ทุกครั้งที่การขนมูลฝอยติดเชื้อหรือก าจัดมูลฝอยติดเชื้อ ณ แหล่งก าเนิด แล้วแต่กรณี เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้ได้รับการก าจัดอย่างถูกต้อง และเป็น เครื่องมือในการบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกฎหมายดังกล่าวจะมีผล บังคับใช้ในวันที่ 7 กันยายน 2565 หลักการของระบบความคุมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ(E-Manifest) แนวคิดการท างานของ ระบบเปรียบเสมือนการรับส่งพัสดุของไปรษณีย์ โดยแหล่งก าเนิดจะท าการกรอกข้อมูลปริมาณมูลฝอยใน ระบบเมื่อบริษัทเก็บขนมาท าการเก็บขน โดยข้อมูลจะถูกส่งต่อไปยังบริษัทเก็บขนจะต้องเข้าไปตรวจสอบ และยืนยันข้อมูลการเก็บขนในระบบ และเมื่อบริษัทเก็บขนท าการขนมูลฝอยติดเชื้อไปที่บริษัทก าจัด บริษัท ก าจัดก็จะต้องเข้าไปตรวจสอบและยืนยันการรับมูลฝอยไปก าจัดในระบบให้กับบริษัทเก็บขน และเมื่อบริษัท ก าจัดท าการยืนยันข้อมูลสุดท้ายแล้ว ระบบจะออกเป็นใบ E-Manifest หรือเอกสารก ากับการขนส่ง(ตช) ออนไลน์ ฉบับสมบูรณ์ให้กับแต่ละหน่วยบริการเพื่อใช้เป็นหลักฐานแทนการใช้กระดาษ แนวคิดกำรท ำงำนของระบบควำมคุมก ำกับกำรขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) กำรจัดกำรมูลฝอยติดเชื้อ 66


กำรรำยงำนข้อมูลในโปรแกรมก ำกับมูลฝอยติดเชื้อ (Manifest System) เขตสุขภาพที่ 6 มีสถานบริการสาธารณสุข 2681 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 79 แห่ง โรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 16 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 58 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต าบล 781 แห่ง คลินิกเอกชน 1416 แห่ง และสถานพยาบาลสัตว์ 331 แห่ง ในปี 2565 มีการเข้าใช้ งานผ่านระบบความคุมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) ข้อมูล ณวันที่ 31 ธันวาคม 2565 เขต สุขภาพที่ 6 มีปริมาณมูลฝอยติดเชื้อสะสม 2,077.16 ตัน และได้รับการก าจัดแล้ว 1,730.75 ตัน โดยเพื่อ พิจารณาแยกรายประเภทแหล่งก าเนิดพบว่า สถานบริการที่มีการเข้าใช้งานระบบส่วนใหญ่ได้แก่ โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ 67.29 โรงพยาบาลเอกชน ร้อยละ 23.49 โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงอื่น ร้อยละ 8.87 รายละเอียดตามภาพประกอบ การด าเนินการจัดการมูลฝอยติดเชื้อเขตสุขภาพที่ 6 ผ่านระบบ ความคุมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) ภาพประกอบ การด าเนินการจัดการมูลฝอยติดเชื้อเขตสุขภาพที่ 6 ผ่านระบบความคุมก ากับการขนส่งมูล ฝอยติดเชื้อ(E-Manifest) ที่มา : โปรแกรมระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ( E-Manifest) ที่มา : โปรแกรมระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ( E-Manifest) กำรจัดกำรมูลฝอยติดเชื้อ 67


วิเครำะห์ข้อมูลสรุป ปัญหำอุปสรรค ข้อเสนอแนะ อื่นๆ รูปถ่ำยกำรด ำเนินงำน Assessment : สถานการณ์มูลฝอยติดเชื้อปี 2565 ในปี 2565 ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้พัฒนาระบบ บริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นเครื่องมือรองรับการด าเนินงานตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง มาตรการควบคุมก ากับการขนมูลฝอยติดเชื้อเพื่อป้องกันการลักลอบทิ้งมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2565 และประกาศกรมอนามัย เรื่อง แบบบันทึกข้อมูลปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ.2565 ได้ก าหนดให้ผู้รับผิดชอบ แหล่งก าเนิดมูลฝอยติดเชื้อ ผู้รับขนมูลฝอยติดเชื้อและผู้รับก าจัดมูลฝอยติดเชื้อ ต้องใช้งานระบบควบคุมก ากับการขนส่ง มูลฝอยติดเชื้อ (Manifest System) ทุกครั้งที่การขนมูลฝอยติดเชื้อหรือก าจัดมูลฝอยติดเชื้อ ณ แหล่งก าเนิด แล้วแต่ กรณี เพื่อประโยชน์ในการควบคุมการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้ได้รับการก าจัดอย่างถูกต้อง และเป็นเครื่องมือในการ บริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกฎหมายดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 7 กันยายน 2565 และอยู่ในช่วงของการประชาสัมพันธ์การเข้าใช้งานระบบ โดยยังมีสถานบริการบางแห่งที่เข้าไปบันทึกข้อมูลใน ระบบเดิม จึงยังไม่มีข้อมูลในระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) Intervention : สนับสนุนสื่อวิชาการ และแนวทางการบริหารจัดการและแนวปฏิบัติในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อภายใต้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ให้ความรู้กับเจ้าหน้าที่ในการกรอกข้อมูลลงในโปรแกรมก ากับมูลฝอยติด เชื้อ สนับสนุนแพลตฟอร์มการรายงานข้อมูล และขับเคลื่อนผ่านการด าเนินงานผ่านช่องทางออนไลน์ Management : ใช้ กลยุทธ์ PIRAB ในการขับเคลื่อนการด าเนินงานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ประกอบด้วย P : Partner สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายทั้งในและนอกกระทรวงในการจัดการมูลฝอยอย่างบูรณาการ I : Invest สนับสนุนด้านวิชาการให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความรู้ความเข้าใจเกิดการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกต้องและ ผลักดันผ่าน คสจ./พชอ./คกก.สิ่งปฏิกูลและมูลฝอย R : Regulate and Legislate สนับสนุนมาตรการทางกฎหมายเพื่อผลักดันให้เกิดการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ อย่าง ถูกต้องรวมถึงการบันทึกข้อมูลในระบบ A : Advocate ส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการก าหนดประเด็นชี้น เพื่อการสื่อสารความเสี่ยงให้เข้มข้นทั้งเขตและ ทีมงานที่เข้มแข็งในการพัฒนางาน B : Build Capacity เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญองค์ความรู้ ความเข้าใจด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมูล ฝอยติดเชื้ออย่างถูกต้อง Advocacy : การขับเคลื่อนการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกต้อง ผ่านคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ (พชอ.) คณะกรรมการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย โอกำสในกำรพัฒนำ 1. การประมวลผลระบบความคุมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ(E-Manifest) ให้สะดวกต่อการน าไปใช้งาน 2. การมีส่วนร่วมของโรงพยาบาลนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และสถานบริการอื่นๆในการบันทึกข้อมูลระบบความคุม ก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) 3. ขับเคลื่อนให้โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อย่างถูกต้องและมีการบันทึกข้อมูลผ่าน ระบบความคุมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ (E-Manifest) กำรจัดกำรมูลฝอยติดเชื้อ 68


สถานการณ์การด าเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (EHA) ปี 2565 สืบเนื่องจากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2548 มีมติเห็นชอบให้น าการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) มาใช้ เพื่อเป็น เครื่องมือผลักดันให้การพัฒนาระบบราชการ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน มุ่งเน้นประโยชน์สุขของประชาชน เกิด ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ มีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า ลดขั้นตอนที่ไม่จ าเป็น ปรับปรุงภารกิจ/โครงสร้างให้ เหมาะสมอ านวยความสะดวกตอบสนองความต้องการของประชาชน มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่าง สม่ าเสมอ ตอบสนองพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 3/1 เพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ประยุกต์ใช้ PMQA ในการจัดท า "คู่มือการพัฒนาคุณภาพ ระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ส าหรับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น” ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินองค์กรด้วย ตนเอง และเป็นแนวทางในการปรับปรุงการด าเนินงานเพื่อยกระดับ คุณภาพมาตรฐานการท างานให้ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม และคุ้มครองสิทธิของประชาชนให้ได้ รับบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพ สร้างความเชื่อมั่นและส่งผลให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจ พัฒนาสู่ชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน และมีนโยบายด าเนินการเรื่องการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น(Environmental Health Accreditation : EHA) เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ตระหนักถึงบทบาทในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้มีการจัดท ามาตรฐาน การปฏิบัติงานระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Standard Operating Procedure : SOP) โดยก าหนดขั้นตอนกระบวนการมาตรฐาน ภายใต้หลักกฎหมายพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นเครื่องมือให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีและมี คุณภาพ อันจะส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับบริการที่มีคุณภาพต่อไป การด าเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) ปี 2565 ใน เขตสุขภาพที่ 6 1. สนับสนุนเอกสารคู่มือแนวทางการขับเคลื่อนงานรับรองคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. จัดท าระบบฐานข้อมูลของ EHA ในภาพรวมของศูนย์อนามัย และคืนข้อมูลให้กับพื้นที่เพื่อการพัฒนา 3. ร่วมกับส านักงานสาธารณสุขจังหวัด สุ่มประเมินรับรองการพัฒนา EHA ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ท าการคัดเลือกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่พัฒนา EHA ในระดับเกียรติบัตร 5. ให้ค าปรึกษาและสนับสนุนการท างานของ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด และส านักงานสาธารณสุขอ าเภอ กำรพัฒนำคุณภำพระบบบริกำรอนำมัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) 69


ตำรำงที่1 จ ำนวน อปท. ที่ผ่ำน EHA ระดับพื้นฐำนขนึ้ไป (อย่ำงน้อย 1 ใน 9 ประเด็นงำน) ประจ ำปี 2563-2565 แผนภูมิ ร้อยละ 70 ของ อปท.ระดับเทศบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป (อย่างน้อย 1 ใน 9 ประเด็นงาน:ปีงบ 63-65) ที่มาhttps://docs.google.com/spreadsheets/d/1BwdaXgdc9Djm3xt86Vo5T9qfHp4Qc2mL/edit?usp=sharing&ouid=11706649371280384 8892&rtpof=true&sd=true ในปี 2565 ได้ก าหนดค่าเป้าหมายร้อยละ 70 ของ อปท.ระดับเทศบาลผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้น ไป (อย่างน้อย 1 ใน 9 ประเด็นงาน: ปีงบ 63-65) โดยผลการด าเนินงานในปี 2565 พบว่า มีจ านวน อปท. ที่ผ่าน EHA ระดับพื้นฐานขึ้นไป จ านวน 174 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 76.99 ของจ านวน อปท. ทั้งหมด โดยแยกเป็นรายจังหวัด ดังนี้ จังหวัดที่มีการพัฒนาพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ผ่านมากที่สุด จ านวน 3 จังหวัด ได้แก่ (1) จังหวัดสระแก้ว มีจ านวนเทศบาล 16 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 (2) จังหวัดชลบุรีมีจ านวนเทศบาล 48 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.75 (3) จังหวัดสมุทรปราการ มีจ านวนเทศบาล 22 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90.91 (4) จังหวัดระยอง มีจ านวนเทศบาล 30 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 27 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90.00 (5) จังหวัดตราด มีจ านวนเทศบาล 15 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80.00 (6) จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจ านวน เทศบาล 34 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 61.76 (7) จังหวัดปราจีนบุรี มีจ านวนเทศบาล 14 แห่ง ผ่าน เกณฑ์ 8 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 57.14 (8) จังหวัดจันทบุรี มีจ านวนเทศบาล 47 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 53.19 รายละเอียด ตามตารางที่ 1 จ านวน อปท. ที่ผ่าน EHA ระดับพื้นฐานขึ้นไป (อย่างน้อย 1 ใน 9 ประเด็นงาน) ประจ าปี 2563-2565 จังหวัด จ านวนเทศบาล จ านวนเทศบาลที่ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน ขึ้นไป ปีงบ 63-65 ร้อยละเทศบาลที่ผ่านเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐานขึ้นไป ปีงบ 63-65 จันทบุรี 47 25 53.19 ฉะเชิงเทรา 34 21 61.76 ชลบุรี 48 45 93.75 ตราด 15 12 80.00 ปราจีนบุรี 14 8 57.14 ระยอง 30 27 90.00 สมุทรปราการ 22 20 90.91 สระแก้ว 16 16 100.00 เขตสุขภาพที่ 6 226 174 76.99 70


ตารางที่ 2 แสดงผลการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ปี 2565 แยกรายประเด็นงานเขตสุขภาพที่ 6 จากผลการด าเนินงาน พบว่า ประเด็น EHA ที่มีการสมัครเข้ารับการประเมินมากที่สุด ได้แก่ EHA 4001 : การจัดการมูลฝอยทั่วไป มีเทศบาลที่สมัครเข้ารับการประเมิน 73 แห่ง ผ่านการประเมินระดับ เกียรติบัตร 40 แห่ง ผ่านระดับพื้นฐาน 27 แห่ง และไม่ผ่านการประเมิน 1 แห่ง รองลงมาได้แก่ EHA 7000 : การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีเทศบาลที่สมัครเข้ารับการประเมิน 42 แห่ง ผ่านการประเมินระดับ เกียรติบัตร 24 แห่ง ผ่านระดับพื้นฐาน 12 แห่ง และไม่ผ่านการประเมิน 1 แห่ง และประเด็นงานที่มีเทศบาล สมัครเข้ารับการประเมินน้อยที่สุด ได้แก่ EHA 8000 : การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ มีเทศบาลที่สมัครเข้ารับ การประเมิน 1 แห่ง ผ่านการประเมินระดับเกียรติบัตร 1 แห่ง รายละเอียดตามตารางที่ 2 แสดงผลการ ด าเนินงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม (EHA) ปี 2565 แยกรายประเด็นงานเขตสุขภาพที่ 6 ที่มา : https://ehasmart.anamai.moph.go.th/backend/good/office/offices/dashboard-level2/6 1001 1002 1003 2001 2002 2003 3001 3002 4001 4002 4003 5000 6000 7000 8000 9001 9002 9003 9004 9005 สมัคร 33 13 3 4 4 4 2 2 73 7 11 5 33 42 1 13 16 17 5 5 ไม่รับประเมิน 4 0 0 0 0 0 0 0 5 0 1 0 1 5 0 2 0 1 0 0 ไม่ผ่านประเมิน 8 0 0 0 1 2 2 1 1 1 0 1 1 1 0 2 0 0 0 0 พื้นฐาน 8 0 1 3 1 0 0 0 27 2 1 2 4 12 0 1 3 2 1 0 เกียรติบัตร 13 13 2 1 2 2 0 1 40 4 9 2 27 24 1 8 13 14 4 5 พฐ+กบ 21 13 3 4 3 2 0 1 67 6 10 4 31 36 1 9 16 16 5 5 0 10 20 30 40 50 60 70 80 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 1. ก าหนดเป็นตัวชี้วัดให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการจัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับ ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีคุณภาพ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการ EHA ระดับจังหวัด เพื่อใช้ขับเคลื่อน EHA หรือใช้กลไกระดับจังหวัด เช่น คสจ. / พชอ. /คณะกรรมการขยะและสิ่งปฏิกูลระดับจังหวัด / คณะกรรมการอาหารจังหวัด 3. สนับสนุนการด าเนินงานให้กับเจ้าหน้าที่ เช่น การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ระดับจังหวัด ระดับอ าเภอ ท้องถิ่น) เสริมสร้างองค์ความรู้ การสนับสนุนคู่มือ สื่อสิ่งพิมพ์ อุปกรณ์ในการด าเนินงาน เป็นต้น 4. เสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ผ่านเวทีการประชุมชี้แจง การประชุมวิชาการระดับเขต/ระดับภาค และการสนับสนุนจากส่วนกลาง ความร่วมมือของผู้ประกอบกิจการ การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 71


ประเด็นงำนหลักประเด็นงำน พ ื ้ นท ่ ี เฉพำะสถำนกำรณ ์ ฉ ุ กเฉิน 1. อ่ำงเก ็ บน้ ำคลองหลวงรชัชโลทรอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ 2. พื้นที่EEC 3. พื้นที่SEZ 4. สนับสนุน ชุด ATK 5. COVID-19 6. สถำนกำรณ์น้ ำท่วม 7. สถำนกำรณ์น้ ำมันรั่ว ระยอง 72


ศูนย์อนามัยที่ 6 ได้รับเงินจัดสรรงบประมาณจากกรมชลประทาน เพื่อด าเนินการเฝ้าระวัง ผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่อ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชชโลทร จังหวัดชลบุรี ปีงบประมาณ 2565 โดยศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ร่วมกับส านักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอเกาะจันทร์ ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอบ่อทอง เทศบาลเมืองปรกฟ้า ลงพื้นที่เฝ้าระวังและเก็บตัวอย่าง น้ าประปาหมู่บ้านส่งตรวจวิเคราะห์ที่ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย ในพื้นที่รอบอ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชชโลทร จ านวน 40 ตัวอย่าง ตามโครงการพัฒนาเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพและการพัฒนาการจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมพื้นที่อ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชชโลทร เพื่อพัฒนาระบบการจัดการน้ าบริโภคขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นให้ได้มาตรฐาน พร้อมให้ค าแนะน าผู้ดูแลระบบประปาให้มีความรู้ สามารถปฏิบัติงานให้ระบบประปามี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเก็บตัวอย่างน้ าจากระบบประปาหมู่บ้านส่งตรวจที่ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี ซึ่งการด าเนินงานครั้งนี้พื้นที่เป้าหมายคือระบบประปาหมู่บ้าน รอบอ่างเก็บ น้ าคลองหลวงรัชชโลทร อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ในรัศมี 10 กิโลเมตร และด าเนินการเฝ้าระวังระบบประปา อย่างต่อเนื่อง โดยศูนย์อนามัยที่ 6 กรมอนามัย ประสานความร่วมมือด าเนินการในพื้นที่ร่วมกับ เทศบาลต าบล เกาะจันทร์ สาธารณสุขอ าเภอเกาะจันทร์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านซ่อง อ าเภอบ่อทอง ลงพื้นที่เก็บ ตัวอย่างน้ าส่งตรวจ และสุ่มส ารวจระบบประปาหมู่บ้านใน 2 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเกาะจันทร์ จ านวน 15 ระบบ และอ าเภอบ่อทอง จ านวน 5 ระบบ กำรด ำเนินงำนเฝ้ำระวังผลกระทบต่อสุขภำพและกำรพัฒนำกำรจัดกำร อนำมัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่อ่ำงเก็บน ้ำคลองหลวงรัชชโลทร ปีงบประมำณ 2565 73


กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง พัฒนา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัช ชโลทร ภายใต้โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่อ่างเก็บน้ า คลองหลวงรัชชโลทร จังหวัดชลบุรี ปีงบประมาณ 2565 ณ ห้องประชุมศาลาประชาคม ต าบลเกาะจันทร์ อ าเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชชโลทรและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ความรู้การดูแลระประปาและการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ มีผู้เข้าร่วมประชุม จากส านักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอเกาะจันทร์ ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอบ่อ ทอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านซ่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านคลองโอ่ง องค์การ บริหารส่วนต าบลวัดสุวรรณ และแกนน าชุมชนในพื้นที่ จ านวน ทั้งสิ้น 50 คน กำรด ำเนินงำนเฝ้ำระวังผลกระทบต่อสุขภำพและกำรพัฒนำกำรจัดกำร อนำมัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่อ่ำงเก็บน ้ำคลองหลวงรัชชโลทร ปีงบประมำณ 2565 74


ผลกำรด ำเนินงำน ตลาด เข้าร่วมโครงการจ านวน 8 แห่ง (ร้อยละ 100 ) และผ่านเกณฑ์ จ านวน 4 แห่ง (ร้อยละ 50) ร้านอาหารริมหาด เข้าร่วมโครงการจ านวน 64 แห่ง (ร้อยละ 80) และผ่านเกณฑ์ จ านวน 42 แห่ง (ร้อยละ 66) แผงลอยริมชายหาด เข้าร่วมโครงการจ านวน 3 หาด และผ่านเกณฑ์ จ านวน 2 หาด (ร้อยละ 80) โรงแรม มาตรฐาน GREEN Health Hotel จ านวน 10 แห่ง (ร้อยละ 62.5) และผ่านเกณฑ์ จ านวน 7 แห่ง (ร้อยละ 53.85) ผลกำรประเมินมำตรฐำนเมืองสุขภำพดี คะแนนรวม 91.2% ระดับ ทอง เทศบาลเมืองแสนสุข ประเมินตนเอง (รอบที่ 1 ก.พ. 65) คณะกรรมการฯ ประเมินรับรอง (รอบที่ 2 ก.ค. 65) คะแนนรวม 79% ขับเคลื่อนประเด็นที่ต้องยกระดับ: ด้านสิ่งแวดล้อม / เศรษฐกิจ/ สังคม ระดับ เงิน จากที่รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 3 จังหวัด คือ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาทางเศรษฐกิจของภูมิภาค และส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย ซึ่งหากไม่มีการจัดการที่ดี อาจก่อให้เกิดปัญหามลพิษ สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงปัญหาเหตุร าคาญที่ส่งผลกระทบต่อการ ด ารงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย กรมอนามัยในฐานะหน่วยงานที่มีบทบาทในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อมเพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชนจึงได้จัดท าโครงการยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเมือง สุขภาพดีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ในพื้นที่เทศบาลเมืองแสนสุข อ าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ให้เป็นต้นแบบ เมืองสุขภาพดี เพื่อเป็นรูปแบบตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ กำรจัดกำรอนำมัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเมืองสุขภำพดีในพื้นที่เขตพัฒนำพิเศษ ภำคตะวันออก (EEC) เทศบำลเมืองแสนสุข อ ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 75


ผลกำรด ำเนินงำน การขับเคลื่อนเมืองให้ได้มาตรฐานก าหนดมาตรฐานเมืองท่องเที่ยวที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ภายใต้ 4 มิติที่ส าคัญ ประกอบด้วย 1) มิติเศรษฐกิจ 2) มิติสังคม 3) มิติสิ่งแวดล้อม และ 4) มิติสุขภาพ เพื่อเป็น รูปแบบเมืองท่องเที่ยวที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี โดยมี 8 ประเด็นที่ต้องยกระดับ ได้แก่ 1) การจัด ภูมิทัศน์ 2) ขยะ มูลฝอย ขยะ ติดเชื้อ 3 น้ าบริโภค 4) การสุขาภิบาลอาหาร 5) การจัดการมลพิษอากาศ 6) ส้วมสาธารณะ 7) การส่งเสริม การจ าหน่ายสินค้าท้องถิ่น และ 8) การรองรับภาวะฉุกเฉินและการ จัดการเหตุร าคาญ ซึ่งแบ่งระดับการประเมิน มาตรฐานเมืองเป็น 3 ระดับ คือ ระดับทอง คะแนนรวม มากกว่าร้อยละ 80 ระดับเงิน คะแนนรวมมากกว่าร้อยละ 70 และระดับทองแดง คะแนนรวมมากกว่า ร้อยละ 60 โดยเทศบาลเมืองแสนสุข ได้รับการประเมินผ่าน มาตรฐานระดับทอง ปัญหำอุปสรรค เนื่องจากมีการด าเนินงานแบบบูรณาการการด าเนินงานร่วมกันหลายหน่วยงาน และ หน่วยงานติดภารกิจ ท าให้มีการด าเนินงานในกิจกรรมไม่ครบทุกหน่วยงาน ข้อเสนอแนะในกำรด ำเนินงำน น าองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานเมืองที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีในพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกไปใช้ในการด าเนินงานให้เหมาะสมตามบริบทพื้นที่นั้น การขยายต้นแบบการด าเนินงานยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี สุขภาพดีในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกต่อไป ที่มา:คู่มือการด าเนินงานโครงการยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเมืองสุขภาพดีในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประจ าปี งบประมาณ 2565 76


การขับเคลื่อนพัฒนาแกนน าชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้านให้มีความรอบรู้ ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการเสริมสร้างและสนับสนุนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) ใน พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว โดยวันที่ 14 ธันวาคม 2564 มีกิจกรรมสร้างความรอบรู้ด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมล้อม การจัดกิจกรรมโดยให้ อสม. แบ่งกลุ่มท ากิจกรรมระดมความคิดเห็นร่วมกันใน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การท าความรู้จักแรงงานต่างด้าว 2. การสิบค้นข้อมูล .การเรียนรู้และท าความเข้าใจแรงงาน ต่างด้าว 4.การตรวจสอบข้อมูลแรงงานต่างด้าว 5.การสื่อสารน าทางสุขภาพและเรียนรู้โรคระบาดในแรงงานต่าง ด้าว โดยก่อนเริ่มการอบรมให้ อสม. ท าบททดสอบความรู้ความเข้าใจก่อนการอบรม และท าแบบทดสอบหลัง การอบรม และสรุปผลการอบรมในภาพรวม โดยการอบรมครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือในการจัดกิจกรรมจาก เจ้าหน้าที่และ อสม. เป็นอย่างดี และได้จัดประชุม ครั้งที่ 2 ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 เพื่อสรุปผลการ ด าเนินงานที่ผ่านมา การน าความรู้ที่ได้ไปใช้ในชุมชน คืนข้อมูลจากการอบรมและสรุปผลการวิเคราะห์ สถานการณ์ความรอบรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่เขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว กำรจัดกำรอนำมัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชำยแดน (SEZ) จังหวัดสระแก้ว 77


ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ร่วมกับกองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลป่าไร่ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษชายแดน (สระแก้ว) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลป่าไร่ อ าเภออรัญประเทศ จังหวัด สระแก้ว ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน (อสม.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อติดตามประเมิน ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาความรอบรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการสร้างเสริมสนับสนุนชุมชนในการ ป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากชุมชนแรงงานต่างด้าว ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดสระแก้ว ใน 4 องค์ประกอบ ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม การเข้าใจข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบ ข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม และการตัดสินใจเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพ พร้อมทั้งมอบใบประกาศนียบัตร ให้แก่ อสม. ที่ผ่านการอบรมในครั้งนี้ด้วย ปัจจัยควำมส ำเร็จ และข้อเสนอแนะส ำหรับกำรด ำเนินงำนต่อไป 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความส าคัญและมีความสนใจเรื่องการส่งเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับ แกนน า อสม. เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเองได้เจ้าหน้าที่ให้ ความร่วมมือใการจัดโครงการเป็นอย่างดีในทุกครั้ง 2. อสม. ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการประชุมในครั้งนี้เป็นอย่างดี มีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ ให้ค าแนะน าในการน าไปปฏิบัติจริง ถือว่าเป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดการมีส่วน ร่วมและขับเคลื่อนการด าเนินงาน เกิดการรวมกลุ่มคนในชุมชน เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากการพัก อาศัย และพฤติกรรมที่ไม่ถูกสุขลักษณะของแรงงานต่างด้าวในชุมชน กำรจัดกำรอนำมัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชำยแดน (SEZ) จังหวัดสระแก้ว 78


สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เกิดขึ้นในหลายพื้นที่และ แพร่กระจายอย่างในกลุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยัน และกลุ่มการแพร่ระบาดในสถานบันเทิง การเดินทางจาก พื้นที่เสี่ยง และการติดเชื้อต่อเนื่องจากสถานที่เฉพาะกลุ่ม เช่น ชุมชนแออัด โรงงาน สถานที่พักของแรงงาน ต่างด้าว รวมทั้งตลาดและร้านอาหาร ส่งผลให้มีจ านวน ผู้ติดเชื้อรายใหม่และผู้ป่วยสะสมเพิ่มขึ้น รัฐบาลได้ ด าเนินมาตรการตรวจคัดกรองเชิงรุกเพิ่มขึ้น ประกอบกับการเร่งรัดด าเนินการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชน และมีผ่อนคลายมาตรการควบคุมเพื่อให้ประชาชนได้ประกอบอาชีพ และด าเนินชีวิตขับเคลื่อนกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคม ควบคู่ไปกับมาตรการด้านสาธารณสุขโดยมาตรการการตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เป็นส่วนหนึ่งในมาตรการผ่อนคลายและเป็นแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการป้องกันการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีเปิดสถานประกอบการในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด มาตรการปลอดภัยส าหรับองค์กร (COVID Free Setting) กรมอนามัยจึงได้ขอรับการสนับสนุนชุด ATK จากส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เพื่อสนับสนุนให้กับสถานประกอบกิจการต่างๆ และ ประชาชนได้เฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโรนา 2019 (COVID-19) ด้วยตนเอง ศูนย์อนามัยที่ 6 ร่วมกับหน่วยง านสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ และเครือข่ายในเขตสุขภาพที่ 6 ร่วมด าเนินการสนับสนุนชุดตรวจ ATK ให้กับประชาชน ที่มาใช้บริการในสถานประกอบกิจการต่างๆ เช่น ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจ าหน่ายอาหาร ห้างสรรพสินค้า สถานีขนส่ง สถานประกอบการ แคปม์ก่อสร้าง กลุ่มผู้สูงอายุ ส านักงาน เป็นต้น พร้อมทั้ง เน้นย้ าให้ประชาชนปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโรนา 2019 (COVID-19) อย่างเคร่งคัด กำรด ำเนินงำนเฝ้ำระวังสถำนประกอบกำรในพื้นที่เสี่ยง โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) 79


สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เกิดขึ้นในหลายพื้นที่และแพร่กระจาย อย่างในกลุ่มผู้สัมผัสผู้ป่วยยืนยัน และกลุ่มการแพร่ระบาดในสถานบันเทิง การเดินทางจากพื้นที่เสี่ยง และการ ติดเชื้อต่อเนื่องจากสถานที่เฉพาะกลุ่ม เช่น ชุมชนแออัด โรงงาน สถานที่พักของแรงงานต่างด้าว รวมทั้งตลาด และร้านอาหาร ส่งผลให้มีจานวน ผู้ติดเชื้อรายใหม่และผู้ป่วยสะสมเพิ่มขึ้น กรมอนามัยได้พัฒนาแพลตฟอร์ม Thai Stop COVID Plus เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุข เพื่อการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนสถาน ประกอบกิจการ กิจกรรม ในการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรค และเพื่อรองรับการเปิดประเทศได้อย่าง ปลอดภัย จึงได้ยกระดับเป็นมาตรการปลอดภัยส าหรับองค์กร COVID-Free Setting (CFS) ศูนย์อนามัยที่ 6 ร่วมกับเครือข่ายสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขต สุขภาพที่ 6 ลงพื้นที่ตรวจประเมินแนะน าสถานประกอบกิจการตามมาตรการ COVID Free Setting และ ประชาสัมพันธ์การด าเนินงานใน Setting ต่างๆ เช่น สถานประกอบกิจการด้านอาหาร ตลาด ร้านอาหาร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สถานบันเทิง ห้างสรรพสินค้าโรงแรม สถานีขนส่งสาธารณะ เป็นต้น กำรด ำเนินงำนเพื่อควบคุมกิจกรรม/กิจกำร ให้ด ำเนินกำรตำมมำตรกำร เพื่อป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรค COVID-19 กรมอนำมัย 80


การด าเนินงานสถานประกอบกิจการที่ก าหนดเป้าหมายการลงทะเบียน เพื่อการส่งเสริม มาตรการ COVID Free Setting ในเขตสุขภาพที่ 6 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้รับผิดชอบ 14 Setting ได้แก่ โรงภาพยนตร์ สถานีขนส่ง สนามบินพาณิชย์ สถานีรถไฟ โรงแรม/ที่พัก สถานที่ท่องเที่ยว สถาน บันเทิง ผับ บาร์ โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล กิจกรรมแข่งขัน ชนไก่ กัดปลา แข่งม้า ฯลฯ ห้างสรรพสินค้า ฟิตเนส ตลาดประเภท 1 และร้านอาหาร มีสถานปรกอบกิจการ เข้ามาประเมินตนเองมาตรการ COVID Free Setting รวมทั้งสิ้น 7,190 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 59.32 จ านวน สถานประกอบการที่ประเมิน CFS มากที่สุด (แห่ง) คือ ร้านอาหาร 4,788 แห่ง ร้อยละ 40.85 สถานบันเทิง 1,182 แห่ง ร้อยละ 100 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล 606 แห่ง ร้อยละ 78.19 สถานประกอบการ ที่ประเมิน CFS ร้อยละ 100 คือ โรงภาพยนตร์ สถานบันเทิงฯ และฟิตเนส (ข้อมูล 24 สิงหาคม 2565) ดังรูปภาพ ข้อค้นพบกำรด ำเนินงำน 1) ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด : ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจและเห็นความส าคัญของการประเมิน และ เร่งรัดให้สถานประกอบการต่างๆ ประเมิน CFS ผ่าน Platform และมีการก ากับ ติดตามอย่างต่อเนื่อง 2) ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สุ่มประเมินสถานประกอบกิจการที่ผ่าน CFS โดยเฉพาะมาตรฐานร้านค้าและการได้รับวัคซีนโควิดของผู้ให้บริการ ใน Setting ต่างๆ 3. ศูนย์อนามัยที่ 6 ร่วมกับส านักงานสาธารณสุขจังหวัด เครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง : สุ่มประเมินสถานประกอบกิจการที่ผ่าน CFS โดยเฉพาะมาตรฐานร้านค้าและการได้รับวัคซีนโค วิดของผู้ให้บริการ ใน Setting ต่างๆ กำรด ำเนินงำนเพื่อควบคุมกิจกรรม/กิจกำร ให้ด ำเนินกำรตำมมำตรกำร เพื่อป้องกันกำรแพร่ระบำดของโรค COVID-19 กรมอนำมัย 81


สถานการณ์น้ าท่วมปี 2565 ในเดือนสิงหาคม-กันยายน 2565 จากพายุโซนร้อนและร่องมรสุมพาด ผ่านพื้นที่ เกิดสถานการณ์พื้นที่ได้รับผลกระทบจากน้ าป่าไหลหลาก และน้ าท่วมฉับพลันในหลายพื้นที่ โดยเขตสุขภาพที่ 6 มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจากน้ าท่วมจ านวน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดระยอง สถำนกำรณ์อุทกภัย (น ้ำท่วม) เขตสุขภำพที่6 82


1.ศูนย์อนามัยที่ 6 ด าเนินการติดตามสถานการณ์น้ าท่วมในพื้นที่ รวบรวมข้อมูลและรายงานสถานการณ์ไป ที่กรมอนามัย เพื่อขอรับการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนให้กับเจ้าหน้าที่และประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบ 2. ผู้บริหารศูนย์อนามัยที่และคณะ รับมอบชุดสนับสนุนด้านสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม (DOH Hygiene Package) จากนายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดีกรม อนามัย และคณะผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อน าไปใช้สนับสนุนพื้นที่ประสบอุทกภัยในเขตสุขภาพที่ 6 3. ศูนย์อนามัยที่ 6 ร่วมกับส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระยองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ลงพื้นที่มอบสิ่ง สนับสนุนด้านสุขาภิบาล และเอกสารการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมหลังน้ าลดให้แก่ส านักงานสาธารณสุข อ าเภอแกลงและผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์น้ าท่วมในพื้นที่อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง สถำนกำรณ์อุทกภัย (น ้ำท่วม) เขตสุขภำพที่6 83


วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2556 ได้เกิดเหตุน้ ามันดิบรั่วออกจากท่อรับน้ ามันดิบที่บริเวณทุ่นรับ น้ ามันดิบ (SPM) ท าให้น้ ามันดิบรั่วไหลลงสู่ทะเลประมาณ 50,000 ลิตร (การเกิดเหตุน้ ามันรั่วไหลที่ เกิดในประเทศไทยตามสถิติที่บันทึกโดยกรมเจ้าท่า ระหว่างปี พ.ศ.2540-2553 จ านวน 9 ครั้ง ปริมาณ 20,000-270,000 ลิตร) จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันนั้น บริษัทพีทีที โกลบอล เคมิคอล จ ากัด (มหาชน) และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร ตามหลักปฏิบัติสากลที่ได้รับการอบรม (การอบรมการจัดการน้ ามันรั่วไหลมี 3 ระดับ คือ IMO Level 1, IMO Level 2 และ IMO Leve 3 โดยร่วมกับสมาคมอนุรักษ์สภาพแวดล้อม ของกลุ่มอุตสาหกรรมน้ ามัน (IESGและภาครัฐในการซ้อมแผนการจัดการเหตุน้ ามันรั่วไหลมาโดย ตลอด) โดยได้ด าเนินการหยุดการส่งน้ ามันและเข้าควบคุมสถานการณ์ทันทีเพื่อไม่ให้มีน้ ามันรั่วไหล เพิ่มอีก ในช่วงเกิดเหตุมีสภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวนคลื่นลมแรงส่งผลให้น้ ามันดิบมีการกระจาย ตัวแผ่ขยายเป็นวงกว้างอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดอุปสรรคในการกักเก็บและการขจัดคราบน้ ามัน ท า ให้มีน้ ามันบางส่วนขึ้นฝั่งที่อ่าวพร้าวเกาะเสม็ด จ.ระยอง ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2556 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานได้สั่งการให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงเหตุการณ์ น้ ามันดิบรั่วไหลในทะเล ผลการสอบสวนพบว่า การปฏิบัติงานของบริษัทฯ ก่อนเกิดเหตุการณ์ เป็นไปตามกระบวนการทุกขั้นตอนและไม่พบปัจจัยภายนอกที่ท าให้ท่อแตก ซึ่งการสอบสวน ครอบคลุมการปฏิบัติงาน (Operation) การบ ารุงรักษาสินทรัพย์ (Asset Maintenance)การ ปฏิบัติการทางทะเล (Marine Protocol) ประกาศนียบัตรของผู้ปฏิบัติงาน(Certificate of Operator) และสภาวะอากาศ (Weather) ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้เปิดเผยผลการสอบสวนต่อ สาธารณะ การตรวจสอบบ ารุงรักษาสินทรัพย์ประกอบด้วยการตรวจสอบ (Inspection) การบ ารุงรักษาและการซ่อมใหญ่ (Maintenance and Major Overhaul) การเก็บรักษาและ เคลื่อนย้ายท่อรวมถึงอายุการใช้งานของท่อ ที่มา:ถอดบทเรียน 5 ปี น้ ามันดิบรั่วไหล จังหวัดระยอง กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง กำรด ำเนินงำนสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน กรณีน ้ำมันดิบรั่วไหลลงทะเล จังหวัดระยอง 84


วันที่ 29 ม.ค. 2565 นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวาณิช ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 และ นายแพทย์สุนทร เหรียญภูมิการกิจ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดระยอง พร้อมด้วยคณะ ทีมปฏิบัติการ ระดับพื้นที่กรมอนามัย ทีมปฏิบัติการศูนย์อนามัยที่ 6 และ ทีมปฏิบัติการส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ระยอง และศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ลงพื้นที่ประเมินสถานการณ์ทางด้านสุขภาพในพื้นที่เกิดเหตุน้ ามันดิบ รั่วไหลจังหวัดระยอง จากนั้น นายแพทย์ สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย ได้ให้ค าแนะน า แก่ผู้ประกอบการร้านอาหารและตลาดจ าหน่ายอาหารทะเลพื้นบ้าน ให้ดูแลป้องกันตนเองจากการรับ สัมผัสสารเคมีตลอดจนเลือกอาหารทะเลและสัตว์น้ า ในบริเวณที่ไม่ได้รับผลกระทบจากน้ ามันรั่ว ทั้งนี้ อธิบดีกรมอนามัยเป็นห่วงสุขภาพของประชาชน จึงขอแนะน าประชาชนซึ่งอยู่ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง ดังกล่าว ให้ดูแลป้องกันตัวเองโดยหลีกเลี่ยงการลงพื้นที่เล่นน้ าในจุดที่มีความเสี่ยงต่อการมีคราบน้ ามันที่ ชายหาด หากพบว่ามีอาการผื่นผิวหนังอักเสบบริเวณที่สัมผัสกับคราบน้ ามัน ให้รีบปรึกษาแพทย์โดยทันที และรีบแจ้งเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ทราบ กรณีได้รับกลิ่นไอระเหยจากคราบน้ ามัน ขอให้หลีกเลี่ยงการออกนอก พื้นที่บริเวณที่รับกลิ่นและสวมใส่หน้ากากป้องกันสารเคมีตลอดเวลา นอกจากนี้ให้เฝ้าระวังดูแลสุขภาพ ของกลุ่มเสี่ยง กำรด ำเนินงำนสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน กรณีน ้ำมันดิบรั่วไหลลงทะเล จังหวัดระยอง 85


วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2565 ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานแถลงข่าว พร้อมด้วย นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 นายแพทย์อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย นายแพทย์พนิต โล่ เสถียรกิจ ผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 และนายแพทย์สุนทร เหรียญภูมิการกิจ นายแพทย์สาธารณสุข จังหวัดระยอง และคณะผู้บริหารฯ จังหวัดระยอง นายอนันต์ นาคนิยม รองผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พร้อมด้วยประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดระยอง นายกสมาคมธุรกิจท่องเที่ยวจังหวัดระยอง ประธานหอการค้าจังหวัดระยอง ร่วมงานแถลงข่าว “อาหารทะเลระยอง ปลอดภัย มั่นใจ กินได้” การ จัดการแถลงข่าวครั้งนี้เพื่อเพิ่มความมั่นใจให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว จากที่เกิดสถานการณ์ น้ ามันดิบรั่ว ในพื้นที่จังหวัดระยอง ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้น าคณะผู้บริหารฯ ร่วม รับประทานอาหารทะเลของจังหวัดระยอง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยว ในการ บริโภคอาหารทะเลได้อย่างปลอดภัย มั่นใจ และกินได้ ด้าน นพ.สุวรรณชัย กล่าวว่า กรมอนามัยร่วมกับ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตรวจมาตรฐานตลาดและร้านอาหาร ต่างๆ ขอให้ประชาชนมั่นใจว่าวัตถุดิบปลอดภัย ผู้ปรุงจ าหน่ายถูกสุขอนามัย จ าหน่ายตามหลักสุขาภิบาล อย่างไรก็ตาม ขอให้รับประทานอาหารให้หลากหลายครบ 5 หมู่ตามหลักโภชนาการ ไม่ควรรับประทาน อาหารประเภทใดประเภทหนึ่งซ้ าๆ ต่อเนื่อง เพื่อผลดีต่อสุขภาพ กำรด ำเนินงำนสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน กรณีน ้ำมันดิบรั่วไหลลงทะเล จังหวัดระยอง 86


ศูนย์อนามัยที่ 6 มีการขับเคลื่อนการเก็บข้อมูลงานวิจัย และได้พบปัญหาและจุดที่ยังไม่สามารถ ขับเคลื่อนได้อย่างเต็มรูปแบบ ในเรื่องของการด าเนินงานการจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในคลินิกฝากครรภ์ เนื่องจากสาเหตุหลายๆประการเป็นต้นว่าบุคลากรไม่พอ จึงได้ลองออกแบบการเรียนรู้แบบยุคดิจิตอน มาช่วยใน กิจกรรมการเรียนรู้แบบศึกษาด้วยตนเองของผู้รับบริการ โดยมุ่งเน้นHL แบบง่ายๆ สถานที่ใดยังสามารถ ด าเนินการโรงเรียนพ่อแม่ได้ก็ยังคงท าต่อไป แต่ ณ โปรแกรมนี้เพื่อช่วยส าหรับสถานบริการที่ยังไม่สามารถ ด าเนินการสอนได้ ก็จะเป็นเครื่องมือช่วยอีกแบบหนึ่งที่ง่าย เนื้อหาไม่ซับซ้อน มีการท าแบบประเมินก่อน หลัง มี วิดีโอให้ดู สามารถเข้ามาศึกษาได้ตลอดเวลา มีการแบ่งเข้าดูแต่ละหัวข้อตามไตรมาสของอายุครรภ์ โดยได้มีการ ด าเนินการมาเป็นระยะเวลา 4 ปี มีการด าเนินงานร่วมกันของบุคลากรนักวิชาการ แพทย์ ในการนี้มีเจ้าหน้าที่ งานแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเป็น Admin ในการดูแลโปรแกรม เริ่มแรกเรามีการด าเนินการใน ภาพของศูนย์อนามัย 13 ศูนย์ หลังจากนั้นแต่ละศูนย์ไปด าเนินการในภาพเขตต่อ โดยภาพของศูนย์อนามัยที่ 6 มีการขยายโอกาสต่อยังพื้นที่ หน่วยบริการของเขตสุขภาพที่ 6 (8 จังหวัด) มีการแนะน าการใช้โปรแกรม แล้ว ด าเนินการใช้ส าหรับหญิงตั้งครรภ์ จ ำนวนครั้ง ที่เข้ำใช้โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์ เขตสุขภำพที่ 6 จ ำแนกตำมจังหวัด ปีงบประมำณ 2565 ที่มา : โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์ เขตสุขภาพที่ 6 วันที่ 14 มีนาคม 2566 จ ำนวนครั้งหญิงตั้งครรภ์ที่เข้ำใช้โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์เขตสุขภำพที่ 6 จ ำแนกตำมจังหวัด ปีงบประมำณ 2565 ที่มา : โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์ เขตสุขภาพที่ 6 วันที่ 14 มีนาคม 2566 จ ำนวนช่วงอำยุของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้ำใช้โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์เขตสุขภำพที่ 6 ปีงบประมำณ 2565 ที่มา : โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์ เขตสุขภาพที่ 6 วันที่ 14 มีนาคม 2566 จ ำนวน (ครั้ง) ช่วงอำยุของหญิงตั้งครรภ์ที่เข้ำใช้โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์เขตสุขภำพที่ 6 ปีงบประมำณ 2565 ที่มา : โปรแกรม ANCHPC ออนไลน์ เขตสุขภาพที่ 6 วันที่ 14 มีนาคม 2566 กำรด ำเนินงำนกำรโปรแกรมโรงเรียนพ่อแม่ออนไลน์ (ANCHPC.COM) 88


คลินิกแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 เล็งเห็นความส าคัญของ บุคลากรครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีเด็กอยู่ในการดูแลเป็นจ านวนมาก มีความส าคัญใกล้ชิดกับเด็ก สามารถ ที่จะช่วยกันผลักดันและส่งเสริมพัฒนาการให้กับเด็ก โดยในครั้งเริ่มแรกทางทีมได้มีการนัดคุยกับผู้บริหาร บุคลากรเห็นความส าคัญตรงกัน จึงได้เกิดมีการท างานร่วมมือกันของเจ้าหน้าที่และเครือข่ายโรงเรียน เทศบาลต าบลนาป่า ได้มีการด าเนินการมาเป็นระยะเวลา เกือบ 3 ปี โดยได้มีการด าเนินการกับศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านท้องคุ้ง โรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ์ อนุบาลค่ายนวมินทราชินี โดยในกิจกรรมที่ได้ท ามีการอบรม ให้ความรู้แก่บุคลากรครู ทั้งภาคทฤษฎีละภาคปฏิบัติ มีการเพิ่มเติมในระบบการเรียนออนไลน์ที่มีเข้ามา ในช่วงหลัง เพื่อให้สามารถเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กได้ตามวัย มีการประสานข้อมูล การส่งต่อเพื่อ การรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ทางคลินิกแม่และเด็กจะเป็นพี่เลี้ยงให้กับทางเครือข่าย โดยทางเครือข่าย สามารถประยุกต์ให้เหมาะสมกับทางโรงเรียนได้ มีการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องยั่งยืนตามบริบทของพื้นที่ กำรด ำเนินงำนกำรเฝ้ำระวังและส่งเสริมพัฒนำกำรเด็กปฐมวัย (DSPM) ในศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก 89


ผลงำนเด่น โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ ประชุมวิชำกำรฯ กระทรวง สธ. ประชุมวิชำกำร ฯ กรมวิทยำศำสตร์กำรแพทย์ ส่ง Oral Presentation ด้ำนภำรกิจสนับสนุน 90


1 กำรส่งเสรมิสุขภำพและอนำมยัสิ่งแวดลอ้มกลมุ่ดอ้ยโอกำสและเปรำะบำง ตำมแนวทำงโครงกำรพระรำชด ำริ และโครงกำรเฉลิมพระเกียรติ ผลกำรด ำเนินงำน 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนน า เด็กไทยท าได้ สู่โรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสาธารณสุข ยกระดับการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย และวัยเรียน พื้นที่โครงการพระราชด าริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ เขตสุขภาพที่ 6 3. รายงานภาวะสุขภาพและการด าเนินงานส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน ตชด. เขตสุขภาพที่ 6 โครงการพัฒนาและบริการการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่โครงการพระราชด าริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ ภำพกิจกรรม ภาพที่ 1 ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและ เยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) ภาพที่ 2 พัฒนาศักยภาพเครือข่ายสาธารณสุข ยกระดับการดูแลสุขภาพเด็ก ปฐมวัยและวัยเรียน พื้นที่โครงการพระราชด าริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ ปัจจัยควำมส ำเร็จ 1. การบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน ตชด. ร่วมกับโรงเรียนสังกัดอื่นๆ 2. สนับสนุนให้โรงเรียนด าเนินการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ ปัญหำ/อุปสรรค 1. การด าเนินงานในสถานการณ์โควิดจะมีประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมมาเกี่ยวข้อง แต่ผู้รับผิดชอบ งานวัยเรียนยังขาดความรู้และประสบการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 1. บูรณาการงานร่วมกับงานสิ่งแวดล้อม 2. เพิ่มสื่อความรอบรู้ส าหรับเด็กมากขึ้น งำนวิจัย 1. รายงานภาวะสุขภาพและการด าเนินงานส่งเสริมสุขภาพโรงเรียน ตชด. เขตสุขภาพที่ 6 92


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การด าเนินงานควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน เขตสุขภาพที่ 6 และ เฝ้าระวังคุณภาพเกลือบริโภคในครัวเรือน 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ ขับเคลื่อนการด าเนินงานชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการ รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงานชุมชน หมู่บ้านไอโอดีน เขตสุขภาพที่ 6 4. รณรงค์โครงการสาวไทยแก้มแดง เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการด าเนินงาน ควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กตามแนวทางโครงการพระราชด าริ เขตสุขภาพที่ 6 6. ประชุมเชิงปฏิบัติการ "การขับเคลื่อนการด าเนินงานโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม เขตสุขภาพที่ 6" 7. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การสร้างความรอบรู้สตรีไทยรุ่นใหม่ พ้นภัยมะเร็งเต้านม ในสถานศึกษา 8. นิเทศติดตามผลการด าเนินงานการสร้างความรอบรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อมและ บริการทันตะสุขภาพ 9. เยี่ยมติดตามการด าเนินงานส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในโรงเรียน ตระเวนชายแดน 10. เยี่ยมเสริมพลังติดตามเฝ้าระวังน้ าบริโภคในโรงเรียน ตชด. ที่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริ และพัฒนาโรงเรียน กพด. ต้นแบบการจัดการคุณภาพน้ าบริโภค ภาพที่ 3 ขับเคลื่อนการด าเนินงานชุมชน/ หมู่บ้านไอโอดีน ภาพที่ 4 รณรงค์วันไอโอดีนแห่งชาติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงาน ชุมชน/หมู่บ้านไอโอดีน โครงการหน่วยบริการส่งเสริมสุขภาพตามแนวทางพระราชด าริ เขตสุขภาพที่ 6 2 ปีงบประมาณ 2565 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 93


Click to View FlipBook Version