The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by strategy.hpc6, 2023-03-29 03:07:18

รายงานประจำปี 2566

รายงานประจำปี 2566

ภาพที่ 6 รณรงค์โครงการสาวไทยแก้มแดง เพื่อป้องกัน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ภาพที่ 7 สืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม 1. นโยบายชัดเจน ผู้บริหารให้ความส าคัญ และเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการขับเคลื่อนงาน 1. การด าเนินงานมีหลายหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วม ควรมีการบูรณาการจากส่วนกลางและ ถ่ายทอดลงสู่พื้นที่เพื่อให้เข้าใจแนวทางการด าเนินงาน และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 5 การควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจาง จากการขาดธาตุเหล็กตาม แนวทางโครงการพระราชด าริ 1. เฝ้าระวังน้ าบริโภคในโรงเรียน ตชด. ที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 2. พัฒนาโรงเรียน กพด. ต้นแบบการจัดการคุณภาพน้ าบริโภค 3. เฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภคในโรงเรียน ตชด. ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ โครงการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมพื้นที่โครงการพระราชด าริและ โครงการเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค 3 94


ภาพที่ 8 เฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภคในโรงเรียน ตชด. ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 1. จัดประชุมชี้แจงผลการด าเนินงานและถ่ายทอดค่าเป้าหมายพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้าน การจัดการคุณภาพน้ าบริโภคให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. จัดประชุมพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (สุขาภิบาลอาหารและการจัดการ คุณภาพน้ าบริโภค) ให้ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. ลงพื้นที่เก็บเฝ้าระวังคุณภาพน้ าอุปโภคบริโภค และก ากับติดตาม เยี่ยมเสริมพลัง ให้ค าแนะน า ด้านวิชาการกับโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดนที่ 11 และ 12 4. ลงตรวจประเมินโรงเรียนที่คัดเลือกเป็นโรงเรียน กพด. ต้นแบบด้านการจัดการน้ าสะอาดเพื่อการ อุปโภคบริโภค (5 องค์ประกอบ 1 ผลสัมฤทธิ์ ) 5. จัดเวทีมอบใบประกาศนียบัตรโรงเรียนต้นแบบฯ ในงานประชุมวิชาการ กพด. กรมอนามัย ช่วงไตรมาสที่ 2 ปีงบประมาณ 2566 1. งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนในการลงพื้นที่กับงบประมาณที่ด าเนินการลงพื้นที่เพื่อขับเคลื่อน งานไม่สอดคล้องกัน 2. โรงเรียนได้รับการสนับสนุนเจ้าหน้าที่ในการด าเนินงานจากหน่วยที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริฯ ท าให้โรงเรียนไม่ได้ด าเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมใน โรงเรียนด้วยตนเอง ขาดการด าเนินงานที่ต่อเนื่องในระยะยาว 1. ชี้แจงบทบาทให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและลงพื้นที่ขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการ 2. จัดประชุมชี้แจง/ประชุมพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (สุขาภิบาลอาหารและ การจัดการคุณภาพน้ าบริโภค) ให้ครู นักเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกปี เนื่องจากมีบุคลากร เกษียณอายุราชการหรือการโอนย้าย 3. ศึกษารายละเอียดการด าเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ เพื่อให้ด าเนินการได้ตามแผนและ ระยะเวลาที่ก าหนด ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 95


1. ประชุมคณะกรรมการสตรีและเด็กปฐมวัย MCH BOARD เขตสุขภาพที่ 6 เพื่อติดตามประเด็น การเฝ้าระวังการตายมารดาจาก PPH และ Serere PIH การลดอัตราการคลอดก่อนก าหนด และ การฝากครรภ์คุณภาพ ไตรมาสละ 1 ครั้ง 2. ประชุมทบทวนและวิเคราะห์สาเหตุการตายมารดา เขตสุขภาพที่ 6 เพื่อหาแนวทางและ มาตรการการเฝ้าระวังการป้องกันสาเหตุการตายมารดา ไตรมาสละ 1 ครั้ง 3. ก ากับ ติดตามและสนับสนุนให้เครือข่ายมีการจัดระบบบริการตามมาตรฐานด้านอนามัยแม่และ เด็ก (การประเมินมาตรฐานด้านอนามัยแม่และเด็ก) 4. การด าเนินงานเฝ้าระวังและดูแลเชิงรุกเพื่อลดการตายมารดาและทารกจากการติดเชื้อ COVID - 19 เพื่อก ากับติดตามการรายงานผลการติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย การฉีดวัคซีน ป้องกันโรค COVID-19 ในหญิงตั้งครรภ์ และประสานการจัดตั้ง Multidisciplinary consultation ระดับเขต เพื่อการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ COVID-19 รวมถึงการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้ การเข้าถึงบริการต่างๆ ในสถานการณ์ COVID-19 5. สนับสนุนการด าเนินงานการเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร ในสถานบริการ และสถาน ประกอบการ เพื่อให้หญิงชายวัยเจริญพันธุ์ที่เตรียมความพร้อมก่อนมีบุตรตระหนักถึงประโยชน์ ของการเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร 6. จัดกิจกรรมสร้างกระแสเนื่องในวันวาเลนไทน์ เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก 7. ประชุมคณะท างานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย การพัฒนาต าบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus ภายใต้กิจกรรมส าคัญ กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจในกระบวนการประเมินมาตรฐานด้านอนามัยแม่และเด็ก สถานบริการสาธารณสุขในเขต สุขภาพที่ 6 มีการจัดบริการด้านสุขภาพแม่และเด็กได้อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนสามารถบูรณา การ การด าเนินงานส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กปฐมวัยกับภาคีเครือข่ายได้อย่างต่อเนื่อง 8. พัฒนารูปแบบการจัดบริการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ โดยระบบพี่เลี้ยง Child Project manager ระดับ CUP ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดสระแก้ว ซึ่งเป็นจังหวัดน า ร่องการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 9. สนับสนุนการพัฒนาครูผู้ดูแลเด็กและผู้ด าเนินงานด้านพัฒนาการเด็ก ผ่านการเรียนระบบ ออนไลน์ หลักสูตรผู้อ านวยการเล่น (Play worker) และหลักสูตร DSPM : ภาคทฤษฎี 10. ขับเคลื่อนการด าเนินงานเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก โดยการร่วมจัดมหกรรมส่งเสริมการเล่นอิสระ และการเล่นที่ครอบครัวมีส่วนร่วมตามช่วงวัย (Play Day) ณ สวนศรีเมือง จังหวัดระยอง 4 ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ ำ พ แ ม่ แ ล ะ เ ด็ ก ผลกำรด ำเนินงำน โครงการพัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มแม่และเด็ก เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 96


11. ติดตามและพัฒนาพื้นที่ Best Practice ต าบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus ระดับจังหวัด ได้แก่ 1) สอน. บ้านคลองบางปิ้ง อ าเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 2) สอน. ดอนฉิมพลี อ าเภอบางน้ า เปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา 3) โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ อ าเภอ เมือง จังหวัดระยอง 4) สอน. หนองบอน อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด 5) สอน. บ้านระเบาะไผ่ อ าเภอศรีมหาโพธิ์ จังหวัดปราจีนบุรี 6) ต าบลวังใหม่ อ าเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี 7) ต าบลวัดโบสถ์ อ าเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 8) โรงพยาบาลวังน้ าเย็น อ าเภอวังน้ าเย็น จังหวัดสระแก้ว 12. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารส าหรับทารกและ เด็กเล็ก พ.ศ. 2560 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนน าและประชากรวัยท างานในสถานประกอบกิจการ ส่งเสริมให้ประชากรวัยท างานมีความรู้ ความตระหนักถึงการป้องกันความเสี่ยงด้านสุขภาพ และ สนับสนุนให้พนักงานในสถานประกอบการมีคุณภาพชีวิตที่ดี 13. ติดตามเฝ้าระวังพระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารส าหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 ไตรมาสละ 1 ครั้ง พบว่า จังหวัดในเขตสุขภาพที่ 6 ไม่พบการละเมิดพระราชบัญญัติฯ 14. สนับสนุนให้เกิดมุมนมแม่ที่เกิดใหม่ในสถานประกอบการ 15. รณรงค์สัปดาห์นมแม่โลกในเดือนวันแม่แห่งชาติ 16. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินการเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยด้วย คู่มือ DSPM และทักษะผู้อ านวยการเล่น (Play Worker) ส าหรับเครือข่ายบุคลากร ที่ดูแลเด็กปฐมวัยในพื้นที่ 17. ยกระดับการด าเนินงานส่งเสริมคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ (สพด. 4D) ภาพที่ 9 ทบทวนและวิเคราะห์สาเหตุการตายมารดา ภาพที่ 10 แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเพิ่มศักยภาพการเฝ้าระวังและส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วย คู่มือ DSPM และทักษะผู้อ านวยการเล่น (Play Worker) ภาพที่ 11 ติดตามและพัฒนาพื้นที่ Best Practice ต าบล มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus ระดับจังหวัด ภำพกิจกรรม 97


ภาพที่ 13 ขับเคลื่อนการด าเนินงานส่งเสริมคุณภาพสถาน พัฒนาเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพ (สพด. 4D) 1. การประชุมบูรณาการร่วมกับจังหวัดในการจัดท าแผนและบูรณาการแผน 2. การหาเครือข่ายใหม่ๆ ที่มีส่วนร่วมในการด าเนินงาน เช่น สปสช. อปท. 3. การใช้ข้อมูลทางวิชาการเพื่อวางแผนแก้ไข หรือหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงการด าเนินงาน 1. ความล่าช้าในการด าเนินงานในพื้นที่เนื่องจาก เข้าพื้นที่ไม่ได้ 2. เกณฑ์มาตรฐานมหัศจรรย์ 1,000 วันฯ ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ท าให้เกิดความล่าช้าในการเข้าไป ประเมินตนเอง ภาพที่ 12 ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยเครื่องมือ Denver II ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและจังหวัดระยอง 1. ให้จังหวัดมีการติดตาม การประเมินมาตรฐานมหัศจรรย์ 1,000 วัน และยกระดับมาตรฐานด้าน อนามัยแม่และเด็ก ภาพที่ 14 ส่งเสริม สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 1. ประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยเครื่องมือ Denver II ในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดระยอง ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข งำนวิจัยและกำรพัฒนำรูปแบบ 98


การส่งเสริมสุขภาพวัยเรียวัยรุ่น 1. ประชุมเตรียมความพร้อมมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด COVID-19 2. เยี่ยมติดตามการด าเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด COVID-19 3. ประเมินรับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร จ านวน 5 แห่ง ได้แก่ 1) โรงเรียนชุมชนวัด หนองจวง จ.ปราจีนบุรี 2) โรงเรียนวัดเขาไผ่ (เชี่ยววิทยาคุณ) จ.ชลบุรี 3) โรงเรียนบ้านห้วย ไข่เน่า จ.ชลบุรี 4) โรงเรียนหนองเกตุน้อย จ.ชลบุรี 5) โรงเรียนบ้านคลองมะขาม จ.ตราด 4. จัดประชุมสนับสนุนการด าเนินการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ HPS plus HL ในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวัดตราด รวมทั้งประชาสัมพันธ์การ ด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ บูรณาการในกิจกรรมการแจก ATK 5. ติดตามการด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ HPS Plus HL แบบออนไลน์ และ Onsite ใน พื้นที่โรงเรียน ตชด. บ้านท่ากุ่ม จังหวัดตราด 6. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการสุขภาพในกลุ่มเปราะบาง ผ่านการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ ด าเนินงานสนับสนุนกองทุนฟื้นฟู เขต 6 พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง เครือข่าย อ าเภอ สัตหีบ จังหวัดชลบุรี และการประชุมพัฒนาศักยภาพการคัดกรองสุขภาพเด็กพิเศษ ผ่านระบบ ออนไลน์ รวมทั้งเยี่ยมติดตามการด าเนินงานในพื้นที่ 7. เสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านระบบออนไลน์ Open chat และ Facebook Live ในวัน เด็กแห่งชาติ และวันดื่มนมโลก 8. เฝ้าระวัง ติดตาม ผ่าน Digital Platform ในการประเมิน Thai Stop Covid plus การใช้ โปรแกรมประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ HPS plus HL และการสมัคร ก้าวท้าใจ ใน สถานศึกษา 9. สนับสนุนวิชาการ และร่วมประชุมขับเคลื่อนการจัดการภาวะโลหิตจางวัยเรียนวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6 10. ติดตามการด าเนินงาน การคัดกรองสายตาเด็ก ในโครงการเด็กไทยสายตาดี โครงการพัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่นภายใต้ 5 แผนแม่บทเฉพาะกิจ เขตสุขภาพที่ 6 ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ ำ พ วั ย เ รี ย น วั ย รุ่ น ผลกำรด ำเนินงำน 99


ภาพที่ 15 สนับสนุนการด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ (HPS Plus HL) ภาพที่ 16 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสาธารณสุขในโรงเรียน ภาพที่ 17 ประเมิน รับรองโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร ภาพที่ 18 สนับสนุนสื่อการเรียนรู้สู้ภัยโควิด-19 1. กรมอนามัยมีการก าหนดนโยบายในการประเมินเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ท าให้ โรงเรียนในเขตสุขภาพที่ 6 ประเมินเตรียมความพร้อมครบ 100% 2. โรงเรียนมีความตระหนักในการเตรียมความพร้อมในการเปิดเรียน ท าให้การระบาดเป็น cluster มีจ านวนน้อย 3. ส านักงานสาธารณสุขเห็นความส าคัญของการด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ และโรงเรียน รอบรู้ด้านสุขภาพ 4. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ PPA จาก สปสช. ในการจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1. งานที่ไม่มีการบูรณาการหรือการประกาศนโยบายจากกระทรวง จะได้รับความร่วมมือน้อย 2. การเพิ่มยอดสมัครก้าวท้าใจในโรงเรียนระดับประถมศึกษา 1. การด าเนินงานต่างๆ ร่วมกับโรงเรียน จะประสบความส าเร็จหากมีการประกาศนโยบายและ ออกข้อสั่งการร่วมกันระดับกระทรวง 2. ประชาสัมพันธ์ ขอความร่วมมือในการด าเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ด้านสุขภาพ ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข งำนวิจัย 100


1. ขับเคลื่อนการด าเนินงานตามพระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ในระดับจังหวัด ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดจันทบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัด ชลบุรี 2. พัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายผู้ให้บริการยาฝังคุมก าเนิด 3. เยี่ยมเสริมพลัง นิเทศ ติดตามโรงพยาบาลที่ด าเนินงานตามมาตรฐาน YFHS และอ าเภอที่ ด าเนินงานตามมาตรฐานการด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับ อ าเภอ 4. พัฒนาเครือข่ายบริการทางเลือกที่ปลอดภัยส าหรับวัยรุ่นและหญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม 5. การส่งเสริมการเข้าถึง Teenage digital platform ของวัยรุ่นและเยาวชนในทุกกลุ่มทั้งในและ นอกสถานศึกษา ภาพที่ 19 ขับเคลื่อนการด าเนินงานตาม พระราชบัญญัติป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ในระดับจังหวัด ภาพที่ 20 ขับเคลื่อนโรงพยาบาลที่ด าเนินงานตามมาตรฐาน YFHS และอ าเภอที่ ด าเนินงานตามมาตรฐานการด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ระดับอ าเภอ ภาพที่ 21 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการให้บริการยาฝังคุมก าเนิดและพัฒนาเครือข่ายหน่วยบริการ ยุติการตั้งครรภ์ในภาครัฐและเอกชน 6 โครงการพัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มวัยเรียนวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 101


1. การท างานเป็นทีม และเครือข่ายเข้มแข็ง 1. ไม่มีงบด าเนินงานตามแผนที่ได้รับการอนุมัติตามโครงการท าให้ไม่สามารถด าเนินการได้ตามที่ วางแผนไว้ 2. ระบบบริหารจัดการภายในไม่เอื้อต่อการท างาน 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในให้เป็นระบบที่ชัดเจน ทุกคนใช้ระบบระเบียบเดียวกัน ช่องทาง เดียวกัน 2. จัดท า SOP และชี้แจงให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบขั้นตอนการท างาน 1. ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2564 2. ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตของวัยเรียนวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2564 โครงการ 10 ล้านครอบครัวไทยออกก าลังกายเพื่อสุขภาพด้วยก้าวท้าใจ Season 4 เขตสุขภาพที่ 6 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ 10 ล้านครอบครัวไทยออกก าลังกายเพื่อสุขภาพและก้าวท้าใจ season 4 2. รณรงค์ 10 ล้าน ครอบครัวไทยออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ 3. ต้นแบบองค์กรสุขภาพ ก้าวท้าใจ ก้าวไปด้วยกัน เขตสุขภาพที่ 6 ภาพที่ 22 กิจกรรมก้าวท้าใจ Season 4 ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข งำนวิจัย 7 ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ ำ พ วั ย ท ำ ง ำ น ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 102


1. เป็นนโยบายระดับประเทศ ผู้บริหารให้ความส าคัญ และภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือ 1. จ านวนค่าเป้าหมายแบ่งตามจ านวนประชากรของเขต ท าให้ค่าเป้าหมายมีจ านวนมาก การด าเนินงานจึงเป็นไปได้ช้า 2. การเข้าใช้งานโปรแกรมก้าวท้าใจ บางครั้งระบบขัดข้องไม่สามารถใช้งานได้ 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรอบรู้สุขภาวะและส่งเสริมสุขภาพเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัย อย่างมีคุณภาพ 2. ประชุมชี้แจงแผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยท างาน เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนน าส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (10 package) 4. เยี่ยมเสริมพลัง นิเทศ ติดตาม สนับสนุนการด าเนินงานส่งเสริมสุขภาพประชากรวัยท างาน 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความส าเร็จของการด าเนินงาน 10 package ในสถานประกอบการ ภาพที่ 23 ขับเคลื่อน 10 package ในสถานประกอบการ ภาพที่ 24 สร้างความรอบรู้สุขภาวะและส่งเสริมสุขภาพเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค 8 โครงการสร้างความรอบรู้สุขภาวะและส่งเสริมสุขภาพเพื่อเตรียมรองรับ สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของวัยท างาน อายุ 15 - 59 ปี ปี 2564 งำนวิจัย 103


โครงการสร้างสังคมห่วงใยใส่ใจสุขภาพผู้สูงอายุ 1. อบรมฟื้นฟูผู้จัดการระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว Care Manager เขตสุขภาพที่ 6 2. พัฒนาการเข้าถึงระบบการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ “อบรมผู้จัดการระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข (Care Manager) เขตสุขภาพที่ 6” 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนการด าเนินงานธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 4. ประชุมชี้แจงแผนงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565 5. ประชุมขับเคลื่อนการด าเนินงาน Blue Book Application ผ่านชมรม/ร.ร. ผู้สูงอายุ 6. ประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการส่งเสริมป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 7. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนานวัตกรรม ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว เขตสุขภาพที่ 6 8. การนิเทศ ติดตาม ก ากับการด าเนินงานผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan ร่วมกับการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 9. เยี่ยมเสริมพลัง/ติดตามการด าเนินงานเมืองที่เป็นมิตรส าหรับผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 โครงการพัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชน กลุ่มวัยท างาน เขตสุขภาพที่ 6 1. เยี่ยมเสริมพลัง นิเทศ ติดตามสนับสนุนการขับเคลื่อน พัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งเสริมสุขภาพ ในรูปแบบ Digital Health Platform ในพื้นที่ ภาพที่ 25 ขับเคลื่อนการด าเนินงาน Blue Book Application 9 ผลกำรด ำเนินงำน 10 ก ำ ร ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ ำ พ ผู้ สู ง อ ำ ยุ ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 104


ภาพที่ 27 ขับเคลื่อนการด าเนินงาน Individual Wellness Plan ภาพที่ 26 ขับเคลื่อนแนวทางการส่งเสริมป้องกัน การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ ภาพที่ 28 อบรมผู้จัดการระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ด้านสาธารณสุข Care Manager ภาพที่ 29 อบรมฟื้นฟูผู้จัดการระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะ ยาว Care Manager ภาพที่ 30 แลกเปลี่ยนการพัฒนานวัตกรรม ระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ภาพที่ 31 ติดตามการด าเนินงานผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan ร่วมกับ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภาพที่ 32 ขับเคลื่อนการด าเนินงานธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ 105


1. ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง และให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุ 2. ผู้บริหารให้ความส าคัญในการด าเนินงานผู้สูงอายุ ก าหนดเป็นนโยบายการด าเนินงานที่ส าคัญ ของจังหวัด 3. มีระบบการติดตามรายงานผลการด าเนินงานที่ชัดเจน (โปรแกรม 3 C กรมอนามัย/ โปรแกรม blue book กรมอนามัย) 1. การขับเคลื่อนงานวัดส่งเสริมสุขภาพ และการอบรมพระคิลานุปัฏฐากด าเนินการได้ช้า เนื่องจาก ไม่ใช่ประเด็นเร่งด่วน 2. การขับเคลื่อนการด าเนินงานพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ผ่าน Blue Book Application ใน ชมรมผู้สูงอายุ มีข้อจ ากัดในการใช้งานเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ในผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก 3. การจัดท าแผนส่งเสริมสุขภาพดีรายบุคคล (Wellness Plan) มีขั้นตอนการประเมินและท าแผน ยุ่งยากซับซ้อน ไม่เหมาะส าหรับผู้สูงอายุ 4. การชี้แจงนโยบายและแนวทางการด าเนินงานจากส่วนกลาง มีการปรับเปลี่ยนและล่าช้า ท าให้ การขับเคลื่อนของพื้นที่ล่าช้าตามไปด้วย อาจท าให้ไม่เป็นไปตามเป้าหมายของการด าเนินงาน 5. การลงข้อมูลและติดตามการด าเนินงานผ่าน Application ไม่สามารถเชื่อมโยงกับระบบ HDC ได้ ท าให้เพิ่มภาระในการคีย์ข้อมูลหลายระบบ 6. บางจังหวัดมีการโอนถ่ายไปยัง อปท. ท าให้การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ด าเนินการได้ยาก 1. ด าเนินการขับเคลื่อนงานผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น ระบบ Zoom ไลน์ อบรมให้ความรู้ ผ่านหลักสูตรออนไลน์ (พระคิลานุปัฏฐาก) 2. กรมอนามัย ควรชี้แจงเขตสุขภาพในส่วนของนโยบาย แนวทางการด าเนินงาน ตัวชี้วัดการ ตรวจราชการ ตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณให้ชัดเจน เพื่อเขตสุขภาพจะได้ประสานจังหวัด บูรณาการแผนของเขตสุขภาพ และวางแผนการด าเนินงานต่อไป 3. ผลักดันให้กรมอนามัยจัดท าฐานข้อมูลโปรแกรม Blue book Application ให้เชื่อมกับ HDC เพื่อลดความซับซ้อนในการด าเนินงานของพื้นที่ 4. ควรมีการ MOU การด าเนินงานเชิงนโยบายระดับกรม/กระทรวง 5. ได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ด าเนินการเก็บข้อมูลระบบ manaul ก่อน แล้วน ามา บันทึกข้อมูลภายหลัง 6. จัดประชุมชี้แจงและด าเนินการจัดท าแผนส่งเสริมสุขภาพดี ในชมรมผู้สูงอายุ โดยมีเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข เป็นพี่เลี้ยงในค าแนะน า 7. ท าหนังสือขอความร่วมมือ/อนุเคราะห์การด าเนินงานร่วมกับ อปท. เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในพื้นที่ ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 106


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการด าเนินงานทันตสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6” 2. พัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ "สร้างความรอบรู้การดูแล ทันตสุขภาพในผู้สูงอายุเขตสุขภาพที่ 6" โครงการพัฒนาศักยภาพและบริการส่งเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ ภาพที่ 33 ขับเคลื่อนการด าเนินงานทันตสุขภาพในผู้สูงอายุ 1. มีการขับเคลื่อนการด าเนินงานผ่านคณะกรรมการด าเนินงานทันตสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 และเครือข่ายทันตบุคลากรในเขตสุขภาพที่ 6 1. ศูนย์อนามัยที่ 6 ยังไม่มีทันตบุคลากรที่ขับเคลื่อนงานทันตสาธารณสุขในเขตสุขภาพที่ 6 อย่างเต็มที่ 1. การตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้ าเสียและอนามัยสิ่งแวดล้อม และชุดทดสอบอย่างง่ายด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม 2. การเฝ้าระวังระบบบ าบัดสิ่งปฏิกูล ส้วมสาธารณะ และการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และ เก็บตัวอย่างของน้ า พื้นผิว สิ่งปฏิกูล ส้วมสาธารณะ ในจังหวัดตราด และสระแก้ว 11 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค กำรสรำ้งควำมเขม้แขง ็ ระบบอนำมยัสิ่งแวดลอ้มเพื่อสุขภำพ โครงการลดและป้องกันปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 12 ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เขตสุขภาพที่ 6 ผลกำรด ำเนินงำน 107


1. ประชุมราชการคณะกรรมการตรวจประเมินมาตรฐานเมืองท่องเที่ยวที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ในพื้นที่เทศบาลเมืองแสนสุขจังหวัดชลบุรี 2. ประชุมราชการบูรณาการความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนเรียนในการยกระดับการจัดการอนามัย สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีในพื้นที่เศรษฐกิจภาคตะวันออก 3. สุ่มประเมิน/เยี่ยมเสริมพลัง/ติดตาม/ประเมินมาตรฐานสถานประกอบการ setting ต่างๆ โครงการยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเมืองสุขภาพดีใน พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปีงบประมาณ 2565 ภาพที่ 34 ขับเคลื่อนการด าเนินงานการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีในพื้นที่เศรษฐกิจภาคตะวันออก (เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี/เทศบาลบ้านฉาง จังหวัดระยอง) 1. ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือในการด าเนินงานเป็นอย่างดี 2. หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเข้มแข็งในการด าเนินงาน 3. มีการบูรณาการการด าเนินงานของหน่วยงานส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องท าให้การด าเนินงานบรรลุผล ส าเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เนื่องจากมีการด าเนินงานแบบบูรณาการการด าเนินงานหลายหน่วยงาน และหน่วยงานติด ภารกิจท าให้มีการด าเนินงานในกิจกรรมนั้นไม่ครบทุกหน่วยงาน 1. น าองค์ความรู้ที่ได้จากการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานเมืองที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีในพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกไปใช้ในการด าเนินงานให้เหมาะสมตามบริบทพื้นที่นั้น 2. การขยายต้นแบบการด าเนินงานยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี สุขภาพดีในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกต่อไป 3. ชี้แจงบทบาทหน้าที่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบพร้อมทั้งจัดท าคู่มือการด าเนินงาน โครงการยกระดับการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเมืองสุขภาพดีในพื้นที่เขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก และหากหน่วยงานติดภารกิจให้ส่งผู้แทนเข้าร่วมในการด าเนิน กิจกรรม 13 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 108


1. การพัฒนา เฝ้าระวัง ประเมิน ติดตาม และยกระดับการจัดการสุขาภิบาลอาหารและอนามัย สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว 2. ประเมินมาตรฐานตามเกณฑ์ด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหาร แต่ละ setting ร่วมกับ สสจ. และ อปท. (อาหารริมบาทวิถี/ตลาดนัด น่าซื้อ/ร้านอาหาร CFGT+) โครงการยกระดับการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ า และอนามัยสิ่งแวดล้อม รองรับ การท่องเที่ยว ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 ภาพที่ 35 ขับเคลื่อนการด าเนินงานอาหารปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ (อาหารริมบาทวิถี/ตลาดนัด น่าซื้อ/ร้านอาหาร CFGT+) 1. การขับเคลื่อนนโยบายการด าเนินงานในระดับกรมหรือกระทรวง ประชาสัมพันธ์ให้ท้องถิ่น มีการด าเนินการด้านอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง และสมัครเข้าใช้งานระบบ/รับการ ประเมินรับรอง 2. ผลักดันให้ขับเคลื่อนการด าเนินงานผ่าน EHA 3. ผู้ประกอบการให้ความส าคัญในการพัฒนาตามมาตรฐานและปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ 4. เจ้าหน้าที่ อปท. ด าเนินงานสนับสนุน สปก. ในพื้นที่ให้ได้มาตรฐาน 5. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้ความส าคัญ ประสาน ลงตรวจแนะน า สนับสนุนติดตามการด าเนินงานในพื้นที่ 6. เครือข่ายการด าเนินงานร่วมกันในพื้นที่ สนับสนุนด าเนินงานตามบทบาทภารกิจ 7. กรมอนามัย/ศูนย์อนามัย สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน ร่วมลงตรวจให้ค าแนะน า ผลักดัน การด าเนินงานผ่านคณะกรรมการสาธารณสุขระดับจังหวัด/อ าเภอ 8. การอบรมพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่ อปท. สร้างความเข้าใจการด าเนินงานในระดับพื้นที่ 14 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ 109


1. เจ้าหน้าที่มีจ านวนน้อย เจ้าหน้าที่บรรจุใหม่/โอนย้าย มีภารกิจหลายด้าน/งานฉุกเฉิน/COVID-19 ท า ให้ไม่สามารถด าเนินการตามแผนที่วางไว้ได้ และเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ 2. อปท. บางแห่งยังไม่ด าเนินงาน 3. การบังคับใช้กฎหมาย/กฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จ าหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 4. ผู้ประกอบการไม่ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร 5. สถานการณ์ COVID-19 ส่งผลให้บางแห่งปิดกิจการ/ไม่สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ได้ 6. นโยบายผู้บริหารในพื้นที่ ด าเนินงานเรื่องอื่น 1. ขับเคลื่อน/ชี้แจงนโยบายการด าเนินงานในระดับกรมหรือกระทรวง เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ท้องถิ่น ที่มีความพร้อมและมีการด าเนินการด้านอาหารปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง สมัครเข้ารับการประเมิน รับรอง 2. กระตุ้นให้ อปท. ด าเนินการบังคับใช้กฎหมาย/กฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จ าหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 เน้นย้ าเรื่องการจัดอบรมผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร อาจมี เจ้าหน้าที่บรรจุ ใหม่/โอนย้าย 3. ผลักดันให้ขับเคลื่อนการด าเนินงานผ่านการประเมินคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) โครงการยกระดับท้องถิ่น ชุมชน จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อเมืองสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2565 1. เยี่ยมเสริมพลัง ก ากับ ติดตาม ประเมินผลและผลักดันให้มีการเฝ้าระวังและมีการจัดการปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ 2. เยี่ยมเสริมพลัง ก ากับ ติดตาม ประเมินผลและผลักดันให้มีการพัฒนาคุณภาพระบบการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 3. ประชุมขับเคลื่อนและบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานอนามัย สิ่งแวดล้อมของพื้นที่ ภาพที่ 36 ขับเคลื่อนและบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 15 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 110


1. ความเข้มแข็งและความพร้อมของหน่วยงาน อปท. ในการด าเนินงานการพัฒนาคุณภาพระบบ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมของ อปท. 2. เป็นการการด าเนินงานที่ต่อเนื่องและมีการวัดผลที่ชัดเจน 3. มีงบประมาณในการสนับสนุนการจัดประชุม อสธอ. 4. สร้างความเข้าใจหน่วยงานอื่นในพื้นที่ในการใช้ อสธอ. ในการด าเนินงาน 1. มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าหน้าที่ การโอนย้าย/บรรจุใหม่/เจ้าหน้าที่เพิ่งมารับงาน จึงยังไม่เข้าใจใน การด าเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ 2. การสร้างความเข้าใจแก่ประธานและเลขาของคณะอนุกรรมการฯ ให้เห็นความส าคัญในการจัด ประชุม 3. ขาดงบประมาณในการสนับสนุนการจัดประชุม จึงไม่สามารถก าหนดวันและเตรียมความพร้อม ในการจัดประชุมของคณะกรรมการฯ ได้ 1. ขับเคลื่อนและขยายการด าเนินงานให้ครอบคลุมทุกประเด็นงานอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อการ พัฒนาต่อไป 2. สร้างความเข้าใจแก่ประธานและเลขาของคณะอนุกรรมการฯให้เห็นความส าคัญในการจัด ประชุม 3. สนับสนุนองค์ความรู้และการเตรียมความพร้อมของเจ้าหน้าที่ในการด าเนินงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการน้ าบริโภค ศูนย์อนามัยที่6 ปีงบประมาณ 2565 1. เฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภค ในเขตสุขภาพที่ 6 2. เยี่ยมเสริมพลัง, ติดตามประเมินด าเนินงานพัฒนาและยกระดับประปาหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์ คุณภาพประปาดื่มได้ กรมอนามัย, Water is life 3. เฝ้าระวังระบบประปาหมู่บ้านและยกระดับคุณภาพน้ าประปาหมู่บ้านและประปา อปท. ให้ผ่าน เกณฑ์คุณภาพน้ าประปาดื่มได้กรมอนามัย พ.ศ. 2563 ภาพที่ 37 การพัฒนาและยกระดับประปาหมู่บ้านให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพประปาดื่มได้ กรมอนามัย, Water is life ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 16 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 111


1. จัดประชุมชี้แจงผลการด าเนินงานและแจ้งเป้าหมายการขับเคลื่อนประปาหมู่บ้านสะอาดผ่าน เกณฑ์มาตรฐานประปาดื่มได้กรมอนามัย พ.ศ. 2563 2. จัดอบรมหลักสูตรการจัดการคุณภาพน้ าบริโภคส าหรับผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้านผ่านระบบ ออนไลน์ ส าหรับเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบประปา 3. ลงพื้นที่เก็บเฝ้าระวังคุณภาพน้ าอุปโภคบริโภคและก ากับติดตาม เยี่ยมเสริมพลังให้ค าแนะน า ด้านวิชาการในการแก้ไขปัญหาระบบประปาหมู่บ้านที่คัดเป็นต้นแบบประปาหมู่บ้านสะอาด 4. ลงตรวจประเมิน อปท. ที่คัดเลือกเป็นต้นแบบประปาหมู่บ้านสะอาดทั้ง 5 ด้านรวมไปถึงการ คืนข้อมูลผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ า 21 พารามิเตอร์ 5. จัดเวทีมอบใบประกาศนียบัตรในเวทีเขตสุขภาพที่ 6 เพื่อเชิดชูเกียรติให้กับ อปท. ที่เข้าร่วม ขับเคลื่อนและพัฒนาการด าเนินงานประปาหมู่บ้านสะอาดผ่านเกณฑ์มาตรฐานประปาดื่มได้ กรมอนามัย พ.ศ. 2563 ภาพที่ 38 การเฝ้าระวังระบบประปาหมู่บ้านและยกระดับคุณภาพน้ าประปาหมู่บ้านและประปา อปท. ให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพน้ าประปาดื่มได้กรมอนามัย พ.ศ. 2563 1. งบประมาณที่เขียนขอสนับสนุนกับงบประมาณลงพื้นที่ลงขับเคลื่อนงานไม่สอดคล้องกัน 2. การส ารองค่าส่งตัวอย่างน้ าส่งตรวจห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย ไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ท าให้ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในพื้นที่ขาดก าลังใจในการขับเคลื่อนการด าเนินงาน 3. เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบประปาส่วนใหญ่ค่อนข้างมีอายุมาก ท าให้การสื่อสารในสื่อออนไลน์ (ประชุมออนไลน์) ไม่มีเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมหรือเข้าร่วมประชุมน้อย 1. ผลักดันการด าเนินงานผ่านคณะกรรมการขับเคลื่อนประปาหมู่บ้านในแต่ละจังหวัด 2. การก ากับ ติดตาม ควรให้ลงเป็นทีมใหญ่ทีมเดียวที่มีความเกี่ยวข้องกันเพื่อลดความซ้ าซ้อน ในการด าเนินงาน ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 112


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริม พัฒนา ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม โครงการเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย เขตสุขภาพที่ 6 ภาพที่ 39 การส่งเสริม พัฒนา ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพและระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการด าเนินงานในเขตสุขภาพที่ 6 2. ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์เพื่อวางแนวทางการขับเคลื่อนงาน 3. การบูรณาการงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. ความไม่ชัดเจนครบถ้วนของข้อมูล และกฎหมาย 1. ผลักดันประเด็นส าคัญที่ต้องการขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการระดับจังหวัด เช่น คสจ. โดย ผลักดันเป็นนโยบายของจังหวัด 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการบริหารจัดการและเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อลดความเสี่ยงต่อ สุขภาพ 2. เยี่ยมเสริมพลัง ก ากับ ติดตาม ประเมินผลและผลักดันให้จังหวัดมีการเฝ้าระวังและมีการจัดการ ปัจจัยเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและเฝ้าระวังด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม เพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 6 17 18 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข ผลกำรด ำเนินงำน 113


1. การศึกษาและวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เป็นปัญหาส่งผลกระทบต่อสุขภาพจากการร้องเรียน อุทธรณ์และก าหนดประเด็นที่ต้องด าเนินการตรวจสอบ 2. การก าหนดแผนการตรวจสอบคลอบคลุมทุกประเด็นปัญหา และทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง (อปท., ผู้ได้รับผลกระทบ, แหล่งก าเนิดมลพิษหรือผลกระทบ) 3. การประสานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ 4. การได้รับความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องในภาคประชาชนและผู้ประกอบกิจการ 1. ขาดบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการตรวจสอบข้อเท็จจริง 2. ความพร้อมของอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ในการตรวจสอบเฝ้าระวัง 3. งบประมาณในการสอบเทียบอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการตรวจสอบเฝ้าระวัง 1. พัฒนาบุคลากรในพื้นที่ เช่น สสอ. อปท. ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยผ่านการอบรมและ การปฏิบัติจริง 2. เตรียมความพร้อมอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่ใช้บ่อย เช่น เครื่องตรวจวัดเสียง เครื่องตรวจวัดกลิ่น ให้มีการสอบเทียบตามระยะเวลาที่ก าหนด 3. ประสานขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมข้อเท็จจริงและร่วม ตรวจสอบ 1. ประชุมขับเคลื่อนและบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขเพื่อสนับสนุนการด าเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ : ประชุมคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอ าเภอกบินทร์บุรี 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน โครงการส่งเสริมการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 6 ภาพที่ 40 การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 19 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 114


1. การขับเคลื่อนประเด็นงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมผ่านคณะอนุกรรมการสาธารณสุขอ าเภอ ท าให้เกิดการด าเนินงานที่เป็นรูปธรรมและพื้นที่สามารถบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กลไกลทางกฎหมายในพื้นที่ โดยมีนายอ าเภอเป็นประธานการประชุม 2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความส าคัญและมีความสนใจเรื่องการส่งเสริมสร้างความรอบรู้ ด้านสุขภาพให้กับแกนน า อสม. เพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ในชุมชนของตนเองได้ เจ้าหน้าที่ให้ความร่วมมือในการจัดโครงการเป็นอย่างดีในทุกครั้ง 3. อสม. ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการประชุมในครั้งนี้เป็นอย่างดี มีส่วนร่วมใน การแสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ ให้ค าแนะน าในการน าไปปฏิบัติจริง ถือว่าเป็นปัจจัย ส าคัญที่ท าให้เกิดการมีส่วนร่วมและขับเคลื่อนการด าเนินงาน เกิดการรวมกลุ่มคนในชุมชน เพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากการพักอาศัย และพฤติกรรมที่ไม่ถูกสุขลักษณะของแรงงาน ต่างด้าวในชุมชน 1. ขาดเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อมที่มีความรู้และความเข้าใจในการด าเนินงาน 2. การสร้างความเข้าใจแก่ประธานและเลขาของคณะอนุกรรมการฯ ให้เห็นความส าคัญในการจัด ประชุม 3. การขาดงบประมาณในการสนับสนุนการจัดประชุม เพราะการจะก าหนดวันและเตรียมความ พร้อมในการจัดประชุมของคณะกรรมการฯต้องมีงบประมาณในการจัดที่แน่นอน 1. อสม. อยากให้มีกิจกรรมศึกษาดูงานในพื้นที่ๆสามารถด าเนินการได้เป็นอย่างดี ในส่วนของ เจ้าหน้าที่จะน าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ขยายผลการด าเนินงานในพื้นที่อื่นต่อไป โครงการเฝา้ระวังผลกระทบตอ่สุขภาพและการพัฒนาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม พื้นที่อ่างเก็บน้ าคลองหลวงรชัชโลทร จังหวัดชลบุรีปีงบประมาน 2565 1. ก ากับ ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ลงพื้นที่ให้ความรู้/ข้อเสนอแนะในการเฝ้าระวังระบบประปาหมู่บ้าน/สนับสนุนการเฝ้าระวัง คุณภาพน้ าในพื้นที่ 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชชโลทร ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 20 ผลกำรด ำเนินงำน 115


ภาพที่ 41 ส ารวจข้อมูลพื้นฐาน เฝ้าระวัง และเก็บตัวอย่างน้ าประปาหมู่บ้าน ในพื้นที่รอบอ่างเก็บน้ าคลองหลวงรัชโลทร 1. ความร่วมมือของภาคีเครือข่ายที่ให้ความร่วมมือในการด าเนินงานเป็นอย่างดีจนท าให้บรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้ ทั้งส านักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอเกาะจันทร์ และส านักงานสาธารณสุขอ าเภอบ่อทอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รพ.สต. และ อสม. ในพื้นที่ ที่ร่วมกันวางแผนและให้ข้อมูลที่เป็นจริงเพื่อพัฒนาระบบประปาหมู่บ้านให้ได้มาตรฐาน 1. ขาดความต่อเนื่องในการเฝ้าระวังคุณภาพระบบประปาหมู่บ้าน เนื่องจากขาดเจ้าหน้าที่ดูแล ระบบที่มีความรู้และประสบการณ์ 2. ระบบประปาบางแห่งมีอายุการใช้งานที่นานจึงท าให้มีการช ารุดของอุปกรณ์ตามเวลา 3. การท าความเข้าใจกับผู้ใช้น้ าเรื่องของการปรับปรุงคุณภาพน้ าของระบบประปา ท าให้ผู้ใช้น้ ายัง ไม่มั่นใจกับกลิ่นหรือสีของน้ าประปา 1. เสนอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของบประมาณจากกรมชลประทานในการปรับปรุงหรือซ่อมแซม ระบบประปาที่ช ารุด 2. จัดอบรมผู้ดูแลระบบประปาอยู่เสมอเพื่อเฝ้าระวังคุณภาพระบบประปาหมู่บ้าน 3. ท าความเข้าใจกับผู้ใช้น้ าเรื่องของการปรับปรุงคุณภาพน้ าของระบบประปา 1. ค่าตอบแทนการเสี่ยงภัยเจ้าหน้าที่ และค่าตอบแทนการฉีดวัคซีนนอกสถานพยาบาล (งบกลาง รายการค่าใช้จ่ายในการบรรเทา แก้ไขปัญหาและเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบจาก การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอก มกราคม 2565) โครงการแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่ : กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกมกราคม 2565 ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 21 ผลกำรด ำเนินงำน 116


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพบุคลากร (เก่ง ดี มีสุข) 2. อบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างการมีสุขภาพดีและมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ 3. การส่งผลตรวจสอบคุณภาพน้ าทิ้ง (ตามเกณฑ์คุณภาพ Green & Clean hospital) 4. การส่งผลตรวจสอบคุณภาพน้ าประปา (ตามเกณฑ์คุณภาพ Green & Clean hospital) 5. การส่งผลตรวจสอบคุณภาพน้ าดื่ม โครงการพัฒนาองค์กร ส่งเสริมคุณภาพชีวิตบุคลากร และพัฒนา อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ภาพที่ 42 การพัฒนาคุณภาพบุคลากร (เก่ง ดี มีสุข) 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมสุขภาพดี ชีวีมีสุข “Health for Life” 1. บุคลากรของหน่วยงานให้ความส าคัญของการพัฒนาศักยภาพของบุคคล เพื่อให้เป็นต้นแบบทั้ง ทางด้านส่วนบุคคลและองค์กร 1. กิจกรรมการด าเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ควรมีการด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการด าเนินกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรในศูนย์อนามัยเป็นต้นแบบ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ควรให้ความส าคัญของกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีการวัดผลทั้งระยะสั้น และระยะยาว 22 ก ำ ร ย ก ร ะ ดั บ บุ ค ล ำ ก ร เ ป็ น มื อ อ ำ ชี พ แ ล ะ มี ธ ร ร ม ำภิบ ำ ล ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การส่งเสริมสุขภาพดี ชีวีมีสุข “Health for Life” 23 ประจ าปีงบประมาณ 2565 ผลกำรด ำเนินงำน 117


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่ 4.0 สู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงเป็นองค์กรคุณภาพคู่ คุณธรรม ภาพที่ 43 การพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่ 4.0 สู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงเป็นองค์กรคุณภาพคู่คุณธรรม 1. หน่วยงานให้ความส าคัญกับการพัฒนาบุคลากรใหม่ 2. มีการบูรณาการการด าเนินกิจกรรมระหว่างกลุ่มงานที่เกี่ยวเนื่องกับงานพัฒนาบุคลากรและ งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 1. งบประมาณในการด าเนินกิจกรรมมีอย่างจ ากัด 2. ความเหมาะสมของเวลาและสถานที่การจัดกิจกรรม 1. ควรมีการเสริมกิจกรรมการสร้างทีม ความรัก ความสามัคคีในองค์กร 2. ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้สอดคล้องกับงบประมาณ เวลา และสถานที่ในการจัดกิจกรรม โครงการจัดซื้อเวชภัณฑ์ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ปีงบประมาณ 2565 1. จัดซื้อเวชภัณฑ์ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา 24 25 โครงการพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่ 4.0 สู่องค์กรที่มีสมรรถนะสูงเป็นองค์กรคุณภาพ คู่คุณธรรม ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข กำรยกระดับระบบกำรเงินกำรคลังให้เป็นองค์กรสมรรถนะสูง 4.0 ผลกำรด ำเนินงำน 118


1. ประชุมชี้แจงแผนบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามและประเมินผล แผนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 3. ประชุมก ากับ ติดตามแผนงานบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม รอบ 6 เดือน เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 4. ประชุมชี้แจงแผนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2566 5. ประชุมศูนย์วิชาการ เขตสุขภาพที่ 6 ครั้งที่ 1/2565 ภาพที่ 44 ประชุมชี้แจงแผนบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตสุขภาพที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 1. ผู้บริหารให้ความส าคัญในการขับเคลื่อนงานและติดตามผลการด าเนินงาน ระดับเขต 2. ภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. มีการขับเคลื่อนงาน บูรณาการแผน ติดตาม และประเมินผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 1. เนื่องจากเป็นการประชุมในรูปแบบออนไลน์ ท าให้การสื่อสาร หรือการชี้แจงรายละเอียดการ ด าเนินงานไม่ชัดเจน 2. ผู้รับผิดชอบงานบางหน่วยงานไม่สามารถเข้าถึงหรือร่วมรับฟังการประชุมได้ เนื่องจากภาระงาน ภายใต้สถานการณ์ COVID-19 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค 26 ก ำ ร บ ริ ห ำ ร จั ด ก ำ ร ภ ำ ค รั ฐ ผลกำรด ำเนินงำน โครงการขับเคลื่อนและติดตาม ประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย สิ่งแวดล้อม เขตสุขภาพที่6 ปีงบประมาณ 2565 119


1. ประชุมเชิงปฏิบัติการนิเทศและติดตาม ประเมินผลงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ประจ าปีงบประมาณ 2565 โครงการนิเทศและติดตาม ประเมินผลงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยและ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ประจ าปีงบประมาณ 2565 ภาพที่ 45 การนิเทศและติดตาม ประเมินผลงานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยและ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างหน่วยงานส่วนกลาง และหน่วยงานส่วนภูมิภาค 2. การวิเคราะห์ปัญหาของหน่วยงาน เพื่อวางแผนแก้ไข หรือหาแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง การด าเนินงาน โดยได้รับค าแนะน าจากหน่วยงานส่วนกลาง 1. จัดประชุมสรุปผลการด าเนินงาน รอบ 12 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และจัดท า แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ศูนย์อนามัยที่ 6 โครงการจัดประชุมสรุปผลการด าเนินงาน รอบ 12 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และจัดท าแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ศูนย์อนามัยที่ 6 ภาพที่ 46 สรุปผลการด าเนินงาน รอบ 12 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และจัดท าแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ศูนย์อนามัยที่ 6 27 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ 28 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม 120


1. การท างานเป็นทีม และผู้บริหารเล็งเห็นความส าคัญในการจัดประชุม 1. ปรับขนาดห้องประชุมให้เหมาะสมกับจ านวนผู้เข้าร่วมประชุม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างมืออาชีพมุ่งผลสู่ความเป็นเลิศและเป็น องค์กรที่มีสมรรถนะสูง ศูนย์อนามัยที่ 6 ปีงบประมาณ 2565 1. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างมืออาชีพมุ่งผลสู่ความเป็นเลิศและเป็นองค์กร ที่มีสมรรถนะสูง ภาพที่ 47 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างมืออาชีพมุ่งผลสู่ความเป็นเลิศ และเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง 1. จัดประชุมเตรียมความพร้อมและทบทวนกระบวนงาน PMQA 4.0 ในหน่วยงาน 1. เนื้อหาที่เป็นส่วนส าคัญต้องมีระยะเวลาอบรมที่เพิ่มขึ้น 2. ผู้เกี่ยวข้องมาประชุมจ านวนจ ากัด 1. ผู้เข้าประชุมเห็นควรจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างมืออาชีพมุ่งผลสู่ ความเป็นเลิศและเป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง คิดเป็นร้อยละ 93.94 และไม่ควรจัดประชุมฯ คิดเป็นร้อยละ 6.06 และมีความสนใจพัฒนาศักยภาพตัวเองในด้านเทคโนโลยีดิจิตอลสู่การ ส่งเสริมสุขภาพหรือการสร้างสุขภาพดีสู่โลกออนไลน์, เทคโนโลยีในอนาคต เพื่อน ามาใช้ในการ ท างานที่ดีและเกิดประโยชน์กับองค์กรสูงสุด ด้านเทคนิคการน าเสนองาน และการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนางานและองค์กรเพื่อยกระดับศักยภาพตนเองและองค์กร, การเขียนงานวิจัย และ การเขียนรายงาน ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค 29 ผลกำรด ำเนินงำน ภำพกิจกรรม ปัจจัยควำมส ำเร็จ ปัญหำ/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไข 121


ผลงำนวิชำกำร ศ ู นย ์ อนำม ั ยท ่ ี 6 ส่งผลงานประเภทโปสเตอร์เข้าประกวดและน าเสนอแบบ e - poster เรื่อง Children in COVID-19 State Quarantine ในเวทีประชุมใหญ่กุมารเวชศาสตร์ ครั้งที่ 86 ภายใต้หัวข้อ “PITFALLS IN PEDIATRICS: FIND AND FILL IT BEFORE YOU FALL” ในระหว่างวันที่ 28-30 ตุลาคม 2564 โดยจะจัดเป็น เป็น Virtual Meeting ลงวารสารสาธารณสุขมูลฐาน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) เรื่อง รูปแบบการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เด็กปฐมวัยและเด็กวัยเรียน ในสถานกักกันโรคแห่งรัฐ ในสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 เขตสุขภาพที่ 6 ประชุมวิชาการฯ กรมอนามัย ครั้งที่ 15 ศูนย์อนามัยที่ 6 ส่งผลงาน ประเภท Oral Presentation จ านวน 5 เรื่อง ผ่านการคัดเลือก 1 เรื่อง คือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 6 : น.ส. วนิดา ราชมี 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการเตรียมความพร้อมก่อน เปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 เขตสุขภาพที่ 6 ภายใต้สถานการณ์โควิด-19 : น.ส. ขนิษฐา สมตั้ง 3. ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการพัฒนาโรงเรียนรอบรู้ ด้านสุขภาพเขตสุขภาพที่ 6 : น.ส. วรารัตน์ เหล่าสูง 4. ปัจจัยที่มีผลต่อความรอบรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและ ทักษะชีวิตของเด็กวัยเรียนวัยรุ่นเขตสุขภาพที่ 6 ปี 2564 : น.ส. กนิษฐ ฟุ ่มเฟือย 5. ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อภาวะโภชนาการของ เด็กวัยเรียนวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2564 : น.ส. ธนภรณ์ อินทร์โสม 123


พิธีมอบรางวัลองค์กรรอบรู้ด้านสุขภาพแห่งปี ระดับประเทศ สมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ ประจ าปี พ.ศ.2565 สาขารางวัล : บริการภาครัฐ (PSA) : เรื่อง : “การบริหารจัดการการคุมก าเนิด เพื่อลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เขตสุขภาพที่ 6” ผลงำนวิชำกำร ศ ู นย ์ อนำม ั ยท ่ ี 6 124


อบรมเชงิปฏบิตักิาร “พัฒนาบุคลากรด้านวิจัยและนวัตกรรม” (จ านวน 5 ครั้ง) จ านวน 16 ราย 1. ประสิทธิผลการให้ยาเสริมธาตุเหล็กในการป้องกันภาวะโลหิตจางในทารก เขตสุขภาพที่ 6 ผลงานวิจัยของ พญ. สุณีย์เชื้อสุวรรณชัย 2. รูปแบบการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผลงานวิจัยของ พญ. สุณีย์เชื้อสุวรรณชัย 3. การพัฒนารูปแบบระบบการเฝ้าระวังการตายมารดาจากภาวะตกเลือดหลังคลอด เขตสุขภาพที่ 6 ผลงานวิจัยของ น.ส. สุปวีณา พละศักดิ์ 4. การขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการการจ่ายยาน้ าเสริมธาตุเหล็กในเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6 ผลงานวิจัยของ นางปภาวดี อ่อนน้อม ส่งผลงานวิจัย และ ได้น าเสนอในการประชุมฯ (จ านวน 4 เรื่อง) พัฒนำบุคลำกร ด้ำนวิจัยและนวัตกรรม 125


นโยบายผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่6 (นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ) กระบวนกำรส ำคัญ งานวิจัยและข้อมูล เป็นหัวใจในการด าเนินงาน ท าให้งานมีความน่าเชื่อถือและสร้างความมั่นใจ ให้แก่พื้นที่ หากมีงานวิจัยและข้อมูล มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล จะท าให้พบปัญหาและสามารถ พัฒนาระบบกลไกการท างาน น าไปขับเคลื่อนเป็นข้อเสนอนโยบายระดับเขตได้ เป้ำหมำยเข็มมุ่ง ปี 2566 นโยบายการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ส าคัญ คือ 1. งานวิจัยและข้อมูล 2. การด าเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย 3. การขับเคลื่อน Health Literacy ซึ่งเขตสุขภาพที่ 4 และเขต สุขภาพที่ 6 ได้รับการอบรมหลักสูตรความรอบรู้ด้านสุขภาพส าหรับบุคลากรสาธารณสุขและมีการติดตาม ในคณะกรรมการพัฒนาวิชาการ (กพว.) 4. การด าเนินงาน PP Premium Service กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1. ยาน้ าเสริมธาตุเหล็ก 2. ANC HPC 3. Iodine ในหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มวัยเรียน 1. ป้องกันภาวะซีด 2. การส่งต่อเด็กที่มีปัญหาด้านต่างๆ 3. สุขภาพช่องปาก กลุ่มวัยรุ่น 1. การคุมก าเนิดกึ่งถาวร 2. Safe abortion 3. คณะอนุกรรมการการป้องกันการตั้งครรภ์ กลุ่มวัยท างาน 1. 10 package ในสถานประกอบการ 2. Obesity war 3. การบริหารจัดการ Iodine กลุ่มวัยผู้สูงอายุ1. หกล้มในผู้สูงอายุ กลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อม 1. ขยะติดเชื้อ 2. รพ.สต. ติดดาว กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ 1. ขับเคลื่อน Health Literacy 2. ข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1. ANC HPC 2. Premium Clinic เด็กปฐมวัยและวัยท างาน 127


บรรณำนุกรม 1. ส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, สตรีและเด็กปฐมวัย [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://dohdatacenter.anamai.moph.go.th/index.php?r=groupdata/index&group=1&id=1 2. ส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, วัยเรียนวัยรุ่น [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้ จากhttps://dohdatacenter.anamai.moph.go.th/index.php?r=groupdata/index&group=1&id=2 3. ส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, วัยท างาน [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://dohdatacenter.anamai.moph.go.th/index.php?r=groupdata/index&group=1&id=3 4. ฐิติมา ชูใหม่, การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย, หัวหินสุขใจไกลกังวล 2559;2:18-33. 5. ส านักงานสถิติแห่งชาติ, มองเด็กและวัยรุ่นไทยในทศวรรษ [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://www.m-society.go.th/ewtadmin/ewt/mso_web/article_attach/30151/24288.pdf 6. กระทรวงแรงงาน, สถานการณ์ด้านแรงงาน ปี 2565 ไตรมาสที่ 3 [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://www.mol.go.th/wp-content/uploads/sites/2/2022/12/situationTrimas3-2565.pdf 7. มูลนิธิสถาบันและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ปี 2564 [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3JsJpkd 8. Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสุข [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 24 ม.ค. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://hdcservice.moph.go.th/hdc/main/index.php 9. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยท างาน ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย กระทวงสาธารณสุข 10. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี กรมอนามัย กระทวงสาธารณสุข 11. วรสารสถิติฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มีนาคม 2565 [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3Twj7ST 12. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข 2565. ก้าวย่างของประเทศไทย สู่‘สังคมผู้สูงอายุ’อย่างสมบูรณ์แบบ 13. ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2565). ระบบสถิติทางการทะเบียน. [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statyear/#/. 14. ส านักงานสถิติแห่งชาติ. การส ารวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ.2565 [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้ จาก: https://bit.ly/3ZYEyOE 15. ส านักงานสถิติแห่งชาติ. ส ารวจภาวการณ์ท างานของประชากรไตรมาสที่ 4 พ.ศ. 2565 [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3Z9qS2k 16. ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. การส ารวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564. ปที่จัดพิมพ 2565 Printed by [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก:https://bit.ly/3FE1hHA 17. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. สุขภาพคนไทย 2565 : ครอบครัวไทยในวิกฤตโควิด-19 [อินเทอร์ เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก: https://bit.ly/3YW3yVD 18. ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. SDG Updates | เปิดตัว “SDG Highlights 2021: A Year through COVID-19” สรุปทุกความเคลื่อนไหว ทุกเรื่อง SDGs ที่คุณควรรู้ในปีที่ผ่านมา [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก:https://bit.ly/40l6jAR 19. สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนาคตประชากรไทย: ในวันที่การตายมากกว่าการเกิด [อินเทอร์เนต] [เข้าถึงเมื่อ 11 ก.พ. 66]. เข้าถึงได้จาก:https://www.chula.ac.th/highlight/79067/ 20. กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก ส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. คู่มือการฝากครรภ์ส าหรับบุคลากรสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1 ส านักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2565 129


21. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร สถานที่จ าหน่ายอาหาร, 2564 22. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือตลาดนัด น่าซื้อ, 2564 23. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มืออาหารริมบาทวิถี, 2564 24. ส านักงานทรัพยากรน้ า แผนแม่บท การบริหารจัดการน้ าทรัพยากรน้ า 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) ด้านที่1 การจัดการน้ า อุปโภคบริโภค หน้า 33 -36. เข้าถึงได้จาก https://1th.me/FwuXS 25. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่่มือแนวทางการรับรองคุณภาพน้ าประปาดื่มได้, 2564 26. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ แนวทางการจัดการคุณภาพน้ าบริโภค โรงเรียนใน ถิ่นทุรกันดาร, 2563 27. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ แนวทางการด าเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital, 2562 28. ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. แผนขับเคลื่อนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ระยะที่ 1 ประจ าปี 2565 – 2570 29. ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. โปรแกรมก ากับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ(Manifest System), เข้าถึงได้จาก E-manifest (moph.go.th) 30. ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารวิชาการด้านการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ส าหรับ เจ้าหน้าที่กรมอนามัย, 2561 31. ส านักสุขาภิบาลอาหารและน้ า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (Environmental Health Accreditation : EHA), 2559 32. ส านักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม เตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์การเกิดอุทกภัย, 2565 33. กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 34. กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการด าเนินงานโครงการยกระดับการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเมืองสุขภาพดีในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก 2565 35. กลุ่มงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง. ถอดบทเรียน 5 ปี น้ ามันดิบรั่วไหล จังหวัดระยอง, 2564 36. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. โปรแกรม GREEN & CLEAN Hospital, เข้าถึงได้จาก https://gch.anamai.moph.go.th/report บรรณำนุกรม 130


คณะจัดท ำ กลุ่มขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และพัฒนาก าลังคน 1. นางสาวภูริภัคพ์ พรหมมินทร์ นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการพิเศษ 2. นางปภาวดี อ่อนน้อม นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 3. นางสาวพรวิมล นภาศัย นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 4. นายชินวัตร ป่าอ้อย นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ 5. นางสาวดลนภัส ทองนพคุณ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาช านาญงาน 6. นางสาวพรพิมล รัตนตรัยด ารง บรรณารักษ์ 7. นางสาวดรุณี ศรีประดู่ นักทรัพยากรบุคคล นายแพทย์พนิต โล่เสถียรกิจ ผู้อ านวยการศูนย์อนามัยที่ 6 ท ี่ปร ึ กษำ หน่วยงำนสนับสนุนข้อมูล 1. กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ 2. กลุ่มพัฒนางานอนามัยสิ่งแวดล้อม 3. กลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 131


Click to View FlipBook Version