The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ส่วนที่รอการแก้ไข
- โครงสร้าง นร.
- สารบัญ
- สารนายกฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ดวงเด่น น., 2022-06-09 23:42:20

หนังสือสำนักนายกฯ รอขึ้นแท่นพิมพ์

ส่วนที่รอการแก้ไข
- โครงสร้าง นร.
- สารบัญ
- สารนายกฯ

จิะจิัดในห้้องประชุมิขนาดให้ญ่ เน่�องจิากมิีผ่้่เข้าร่วมิงาน
เป็นจิาำ นวนมิาก โดยในปี ๒๕๖๒ จิัด ณ์ ห้้องรอยัล
จิ่บิลี� บอลร่มิ อิมิแพค เมิ่องทุองธ์านี มิีผ่้่เข้าร่วมิงาน
ถ้ง ๒,๗๘๐ คน ติ่อมิาในปี ๒๕๖๓ เน�่องจิาก
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ยังไมิ่รุนแรงมิาก
จิ้งเป็นการจิัดควบค่กันระห้ว่าง On Site และ Online
โดยผ่่้แทุนห้น่วยงานทุ�ีได้รับรางวัลเข้ารับโล่จิากประธ์านในพิธ์ีแบบ On Site ในขณ์ะทุี�ผ่่้ร่วมิงานเข้าร่วมิ
แบบ Online นอกจิากนี� ได้จิัดแสดง Virtual Exhibition ผ่่านทุางเว็บไซึ่ติ์สำานักงาน ก.พ.ร. ทุดแทุน
การจิดั นทิ ุรรศการแสดงผ่ลงานทุไี� ดร้ บั รางวัลแบบเดมิ ิ
ในการมิอบรางวัลเลิศรัฐประจิำาปี ๒๕๖๔ สถานการณ์์การแพร่ระบาดยังคงเกิดข�้นอย่างติ่อเน่�อง
สาำ นักงาน ก.พ.ร. ได้ปรับเปล�ียนร่ปแบบเป็นออนไลน์เสมิ่อนจิริงเติ็มิร่ปแบบผ่่านระบบ Zoom โดยออกแบบ
ให้้ผ่้่เข้ารับชมิได้รับบรรยากาศทุี�คล้ายกับการจิัด On Site และถ่ายทุอดสดผ่่านทุางส�่ออิเล็กทุรอนิกส์ เมิ�่อวันทุี�
๑๖ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่้�งผ่่้เข้าร่วมิงานมิีความิพ้งพอใจิติ่อกิจิกรรมิงานมิอบรางวัลเลิศรัฐถ้งร้อยละ ๘๖.๘
และมิียอดผ่่้ชมิผ่่านทุาง Facebook Page : กพร OPDC และ Youtube Channel : สาำ นักงาน ก.พ.ร.
รวมิ ๗๒,๔๗๔ ครั�ง (ข้อมิ่ล ณ์ วันทุ�ี ๑๗ กันยายน ๒๕๖๔) การจิัดกิจิกรรมิในร่ปแบบดังกล่าว นอกจิากจิะส่งผ่ล
ให้้สามิารถจิัดพิธ์ีมิอบรางวัลได้ในสถานการณ์์โควิด-19 แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จิ่ายด้านสถานทุี� อีกทุ�ังยังสามิารถ
รองรับผ่่้เข้าชมิจิากห้น่วยงานทุ�ัวประเทุศได้อย่างไมิ่จิำากัด และเปิดให้้ประชาชนได้ร่วมิรับทุราบผ่ลการพัฒนา
บริการของภาครฐั อีกด้วย

๒. การปรบั รปู แบบการติดตามประเมนิ ผลของส่วนราชการ

การประเมิินส่วนราชการติามิมิาติรการปรับปรุงประสิทุธ์ิภาพในการปฏิิบัติิราชการ เป็นงานทุี�
ได้รับผ่ลกระทุบจิากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เน�่องจิากส่วนราชการติ้องทุุ่มิเทุกาำ ลังในการด่แล
ประชาชน เยียวยา บรรเทุาความิเด่อดร้อนทุ�ีเกิดข้�นเป็นห้ลัก ทุำาให้้บางติัวชี�วัดทุ�ีกาำ ห้นดไว้ไมิ่สามิารถ
ดาำ เนินการได้ติามิเป้าห้มิายเห้มิ่อนสถานการณ์์ปกติิ โดยในการประเมิินรอบปีงบประมิาณ์ พ.ศ. ๒๕๖๓
และ ๒๕๖๔ สาำ นักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอคณ์ะรัฐมินติรีพิจิารณ์าในเร�่องดังกล่าว และคณ์ะรัฐมินติรีได้มิีมิติิ
เมิ�่อวันทุ�ี ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓ และวันทุ�ี ๒๐ กรกฎีาคมิ ๒๕๖๔ เห้็นชอบให้้ส่วนราชการและจิังห้วัด
รายงานผ่ลการดาำ เนินงานติามิติัวช�ีวัดเพ�่อใช้ในการติิดติามิงาน (Monitoring) แติ่จิะไมิ่นาำ ไปจิัดประเภทุ
ติามิเกณ์ฑ์์การประเมิิน และให้้ถอดบทุเรียนการบริห้ารจิัดการผ่ลกระทุบและการแก้ไขปัญห้าของห้น่วยงาน
ในการปฏิิบตั ิงิ านและการให้้บริการประชาชนอย่างติอ่ เน�่อง

ในปีงบประมิาณ์ พ.ศ. ๒๕๖๕ สาำ นักงาน ก.พ.ร. ได้เสนอให้้ปรับกรอบและแนวทุางการประเมิินดังกล่าว
เพ่�อเพิ�มิประสิทุธ์ิภาพของกระบวนการติิดติามิและประเมิินผ่ลของส่วนราชการ โดยคณ์ะรัฐมินติรีได้มิีมิติิเห้็นชอบ
เมิอ่� วันทุ�ี ๒๐ กรกฎีาคมิ ๒๕๖๔ ซึ่้�งถ่อเปน็ การปรับร่ปแบบการประเมิินทุี�เปลีย� นแปลงไปจิากทุผี� ่า่ นมิา

๙๐ ป 151

สาํ นกั นายกรัฐมนตรี

ส่่วนราชการได้้กำ�ำ หนดตััวชี้�วััดตามแนวทางดัังกล่่าว และดำำ�เนิินการตามเป้้าหมายที่่�กำ�ำ หนดไว้้
โดยแบ่่งเป็็น ๑) ตััวชี้�วััดการขัับเคลื่่�อนระดัับยุุทธศาสตร์์ของส่่วนราชการ รวม ๒๔๘ ตััวชี้�วััด ๒) ตััวชี้�วััดขัับเคลื่่�อน
การบููรณาการร่่วมกัันตาม Agenda สำ�ำ คััญ ๑๓ ประเด็็น รวม ๔๐ ตััวชี้�วััด และ ๓) ตััวชี้�วััดเพื่�่อการฟื้�้นฟูู/
แก้้ปััญหาสถานการณ์์อัันเนื่�่องมาจากการแพร่่ระบาดของโรคโควิิด-19 เช่่น ระบบการออกบััตรสุุขภาพ
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ (วััคซีีนพาสปอร์์ต) (สธ.) ระบบช่่วยเหลืือผู้้�ว่่างงานให้้กลัับเข้้าสู่�่ ตลาดแรงงาน (รง.)
ระบบอำำ�นวยความสะดวกแก่่ผู้�เดิินทาง (Ease of Traveling) (กก.) สำ�ำ หรัับจัังหวััดมีีตััวชี้�วััดจำำ�นวน ๒๖ ตััวชี้�วััด
เช่่น รายได้้จากการท่่องเที่่�ยวของผู้�เยี่�ยมเยืือนชาวไทย (๓๓ จัังหวััด) อััตราคดีีอาชญากรรมต่่อประชากร
แสนคน (๑๖ จัังหวัดั ) ความสำำ�เร็็จของการจััดการหมอกควันั และไฟป่่า (Hotspots) (๑๑ จังั หวััด)
การปรัับรููปแบบการติิดตามประเมิินผลในครั้�งนี้้�เป็็นยกระดัับการทำำ�งานของภาครััฐที่่�สำำ�คััญ
เนื่่�องจากได้้เพิ่่�มบทบาทของกระทรวงในการกำ�ำ หนดตััวชี้�วััดและการติิดตามประเมิินผลส่่วนราชการ
ในสัังกััด ซึ่่�งจะส่่งผลให้้กระทรวงสามารถกำำ�กัับติิดตามผลลััพธ์์ตามเป้้าหมายของกระทรวงได้้อย่่างใกล้้ชิิด
และทัันต่่อสถานการณ์์ กระบวนการจััดทำ�ำ ตััวชี้�วััดเป็็นไปอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เกิิดการบููรณาการระหว่่างหน่่วยงาน
อย่า่ งแท้้จริิง

152 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

๓. การกำำ�หนดมาตรการบรรเทาผลกระทบของประชาชนในการติิดต่่อราชการเพื่่� อขออนุุญาต
กัับหน่่วยงานของรัฐั จากสถานการณ์์การแพร่ร่ ะบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรัสั โคโรนา 2019

สำ�ำ นัักงาน ก.พ.ร. ได้้เสนอมาตรการบรรเทาผลกระทบของประชาชนในการติิดต่่อราชการ
เพื่่�อขออนุุญาตกัับหน่่วยงานของรััฐ จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019
ซึ่่ง� คณะรััฐมนตรีีได้้มีมี ติเิ มื่่�อวันั ที่่� ๓ สิงิ หาคม ๒๕๖๔ เห็น็ ชอบมาตรการฯ ดังั ภาพ

หน่่วยงานของรััฐที่่�มีีอำำ�นาจหน้้าที่่�ในการอนุุญาตตามพระราชบััญญััติิการอำำ�นวยความสะดวก
ในการพิิจารณาอนุุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้้รายงานมาตรการบรรเทาผลกระทบฯ ตามมติิ
คณะรััฐมนตรีีดัังกล่่าว จำำ�นวนทั้้�งสิ้�น ๑๐๓ กระบวนงาน จาก ๓๒ หน่่วยงาน โดยดำำ�เนิินการแล้้วเสร็็จ
๙๐ กระบวนงาน (ร้อ้ ยละ ๘๗.๓๘) ตััวอย่า่ งเช่่น
กรมการขนส่่งทางบกร่่วมกัับสำ�ำ นัักงานตำำ�รวจแห่่งชาติิ กำ�ำ หนดมาตรการผ่่อนปรนการบัังคัับ
ใช้้กฎหมายกัับผู้�ถื อใบอนุุญาตขัับรถและใบอนุุญาตเป็็นผู้�ประจำ�ำ รถที่่�หมดอายุุแล้้ว ให้้สามารถใช้้แสดง
ต่่อเจ้้าหน้้าที่่�ได้้จนถึึงวัันที่่� ๓๑ ธัันวาคม ๒๕๖๔ และผ่่อนปรนให้้ผู้�ที่�มีีใบอนุุญาตขัับรถยนต์์ส่่วนบุุคคล
ชั่�วคราว หรืือใบอนุญุ าตขับั รถยนต์ส์ ่่วนบุุคคล สามารถขัับรถที่่�ใช้้ในการรับั จ้า้ งขนส่ง่ สิินค้้าได้้
กรมบััญชีกี ลาง กำำ�หนดมาตรการช่ว่ ยเหลืือผู้�ประกอบการโดยกำำ�หนดอััตราค่่าปรับั เป็น็ อััตราร้อ้ ยละ ๐
ให้แ้ ก่่คู่่�สััญญา ตามหลัักเกณฑ์แ์ ละเงื่�อนไขที่่ก� ำ�ำ หนด
กรมสรรพากร กำำ�หนดมาตรการขยายเวลายื่�่นแบบแสดงรายการและชำ�ำ ระภาษีีเงิินได้้บุุคคลธรรมดา
ครึ่�งปีี สำำ�หรัับปีีภาษีี ๒๕๖๔ (ภ.ง.ด. ๙๔) รวมทั้้�งกำำ�หนดมาตรการงดหรืือลดเบี้้�ยปรัับสำำ�หรัับ
กรณีีที่่�ประชาชนและผู้�ประกอบการไม่่สามารถยื่่�นแบบแสดงรายการฯ ภาษีีมููลค่่าเพิ่่�มและภาษีีธุุรกิิจเฉพาะ

๙๐ ปี 153

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

ภายในกำ�ำ หนดเวลา หรืือยื่�่นแบบแสดงรายการฯ ผิิดพลาด สำ�ำ หรัับแบบที่่�ต้้องยื่่�นภายในเดืือน
กันั ยายน - ธัันวาคม ๒๕๖๔
มาตรการที่่�ส่่วนราชการได้้กำำ�หนดขึ้�้น สามารถลดภาระค่่าใช้้จ่่าย ลดความเดืือดร้้อนทางเศรษฐกิิจ
ของประชาชน และช่่วยอำ�ำ นวยความสะดวกในการรัับบริิการของรััฐได้้ทุุกที่่� ทุุกเวลา ไม่่ต้้องเดิินทางไปติิดต่่อ
ณ หน่ว่ ยงาน ลดความแออััด รวมทั้้�งเป็็นการป้้องกันั และยับั ยั้�งการแพร่ร่ ะบาดของโรคอีีกด้ว้ ย

๔. การสนัับสนุุนองค์์ความรู้้�และให้ค้ ำำ�ปรึกึ ษาแก่่ส่่วนราชการแบบออนไลน์์

สำำ�นัักงาน ก.พ.ร. ปรัับรููปแบบการจััดประชุุมสััมมนาแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้�ต่่าง ๆ ให้้เป็็นระบบออนไลน์์
ผ่่านระบบ Zoom, Facebook Live และ Youtube Live เพื่�่อให้้ส่่วนราชการได้้พััฒนาองค์์ความรู้้�อย่่างต่่อเนื่่�อง
และสอดคล้้องกัับสถานการณ์์ เช่่น การประชุุมสััมมนา “ล็็อก ไม่่ล็็อก หรืือ WFH 100% ราชการ
พร้้อมให้้บริิการ” การประชุุมสััมมนา “การปรัับปรุุงกฎเกณฑ์์ที่่�เป็็นอุุปสรรคต่่อการประกอบอาชีีพและ
การดำำ�เนิินธุุรกิิจของประชาชน” กิิจกรรมการมีีส่่วนร่่วมและคลิินิิกออนไลน์์ผ่่านระบบ Zoom เช่่นกิิจกรรม
“MY BETTER COUNTRY HACKATHON ครั้�งที่่� ๑๐ : การท่่องเที่่�ยววิิถีีใหม่่ กระตุ้�นเศรษฐกิิจไทย”
กิิจกรรมรัับฟัังความคิิดเห็็นสาธารณะ “การก้้าวไปสู่่�การเป็็นรััฐบาลเปิิด (Open Government)
ในประเทศไทย” คลิินิิกให้้คำ�ำ ปรึึกษาการเตรีียมตััวขอรางวััล United Nations Public Service Awards 2020
(UNSPA) คลิินิิกรางวััลเลิิศรััฐ อีีกทั้้�งได้้จััดทำ�ำ สื่่�อเผยแพร่่องค์์ความรู้้�ในรููปแบบวีีดิิทััศน์์ให้้ทั้้�งประชาชน
และส่่วนราชการได้้ศึึกษาผ่่านสื่่�อสัังคมออนไลน์์ (Facebook และ Youtube) เช่่น วีีดิิทััศน์์ “มารู้้�จัก
จัังหวััดที่่�มีีผลสััมฤทธิ์์�สููง” วีีดิิทััศน์์ “บริิการ e-Service ภาครััฐผ่่านแพลตฟอร์์มกลาง ครบ จบในที่่�เดีียว”

Facebook Youtube

๕. การปรับั กระบวนการภายในสำำ�นัักงาน ก.พ.ร. เพื่่� อประสิิทธิิภาพการปฏิิบัตั ิิราชการ

สำ�ำ นัักงาน ก.พ.ร. ได้้กำ�ำ หนดให้้บุุคลากรปฏิิบััติิงานนอกสถานที่่�ตั้�งหรืือการทำ�ำ งานที่่�บ้้าน (Work From
Home : WFH) ผ่่านการกำำ�กัับของผู้�บริิหาร โดย WFH ร้้อยละ ๑๐๐ ในช่่วงที่่�มีีการแพร่่ระบาดอย่่างรุุนแรง
และ WFH ไม่่ต่ำ�ำ�กว่่าร้้อยละ ๕๐ ตามความจำำ�เป็็นและลัักษณะของงาน เช่่น เข้้าสำำ�นัักงานสััปดาห์์ละ ๑ วััน
โดยจััดสรรวัันที่่�แต่่ละกองเข้้าสำ�ำ นัักงานให้้กระจายเหมาะสม การแบ่่งบุุคลากรเป็็น ๒ กลุ่่�ม ได้้แก่่

154 ๙๐ ปี

ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี

กลุ่่�ม A และกลุ่่�ม B เพื่่�อบริิหารความเสี่�ยงกรณีีมีีบุุคลากรที่่�ติิดเชื้�อ ทั้้�งนี้้� จากการสำ�ำ รวจของสำ�ำ นัักงาน ก.พ.
พบว่่า ในภาพรวมสำำ�นัักงาน ก.พ.ร. สามารถรัับมืือกัับสถานการณ์์และปฏิิบััติิงานได้้เป็็นอย่่างดีี
โดยบุุคลากรสำ�ำ นัักงาน ก.พ.ร. มีีความพึึงพอใจต่่อการปฏิิบััติิราชการในสถานการณ์์โควิิด-19
ด้้านประสิิทธิิภาพร้้อยละ ๙๕.๘๓ และด้้านคุุณภาพ ๙๓.๐ ซึ่�่งเป็็นผลมาจากการปรัับระบบงานภายใน
เพื่อ�่ รองรับั การ WFH มีตี ัวั อย่า่ งการดำ�ำ เนิินการ ดังั นี้้�

๕.๑ การใช้้ระบบเทคโนโลยีีดิิจิทิ ััลสนับั สนุุนการปฏิบิ ััติงิ าน
๕.๑.๑ ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ (e-Saraban) อย่่างเต็็มรููปแบบ ทั้้�งการ
รัับ - ส่่งหนัังสืือ จััดเก็็บเอกสาร ส่่งต่่อ สั่�งการ ลงนาม รัับทราบ รวมทั้้�งการส่่งหนัังสืือเวีียน นอกจากนี้้�
ได้้รัับ - ส่่งหนัังสืือราชการอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ผ่่านทาง [email protected] โดยตลอดปีีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ สามารถลดค่่าส่่งไปรษณีีย์์ลงจากช่่วงเวลาเดีียวกัันของปีีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ถึึงร้้อยละ ๗๗
เป็็นเงิิน ๑๘๖,๑๓๘.๖๐ บาท ทั้้�งนี้้� ในเดืือนกัันยายน ๒๕๖๔ สำำ�นัักงาน ก.พ.ร. มีีสััดส่่วนการส่่งหนัังสืือ
ในรููปแบบอีีเมลร้้อยละ ๙๖ เหลืือส่่งกระดาษในกรณีที ี่่�เป็น็ ข้อ้ ยกเว้้นเพีียงร้อ้ ยละ ๔ เท่่านั้้น�
๕.๑.๒ การใช้้ระบบลงนามอิิเล็็กทรอนิิกส์์ความปลอดภััยสููง (Safety Signature) เพื่่�อปรัับ
รููปแบบการออกเอกสารราชการแบบกระดาษไปเป็็นรููปแบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ โดยใช้้ระบบลงนามอิิเล็็กทรอนิิกส์์
ความปลอดภััยสููงเข้้ามาควบคุุมเพื่่�อให้้หนัังสืือราชการมีีความน่่าเชื่�่อถืือ โดยให้้สิิทธิ์์�การใช้้งานตั้�งแต่่ระดัับ
ผู้้�อำ�ำ นวยการกองขึ้�น้ ไป

๙๐ ปี 155

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

๕.๑.๓ การบัันทึึกเวลาทำ�ำ งานแบบยืืดหยุ่�น (Flexible Time) โดยนัับระยะเวลาในการปฏิิบััติิงาน
ในแต่่ละวััน วัันละ ๘ ชั่�วโมง (รวมเวลาหยุุดพัักกลางวััน ๑ ชั่�วโมง) เพื่่�อให้้บุุคลากรสามารถกำำ�หนดเวลาการทำ�ำ งาน
ของตนเองได้ต้ ามความเหมาะสมและสามารถลงเวลาปฏิบิ ััติิงานได้จ้ ากทุกุ ที่่� ทุุกอุุปกรณ์์
๕.๑.๔ การจััดทำำ� Virtual Working Space โดยสร้้างสำำ�นัักงานเสมืือนจริิงผ่่านระบบ Zoom
เพื่�่อให้้บุุคลากรของสำำ�นัักงาน ก.พ.ร. เข้้าไปนั่่�งทำำ�งานร่่วมกััน มีีการแบ่่งห้้องย่่อยสำ�ำ หรัับทำ�ำ งาน
เป็็นกลุ่่�ม ประชุุมย่่อย รวมถึึงห้้องสำำ�หรัับบุุคลากรพููดคุุย พัักผ่่อน จััดกิิจกรรมตามความสนใจ และได้้พบกัับ
เพื่อ่� นร่ว่ มงานขณะที่่� WFH มีีผู้�ใช้้บริิการเฉลี่ย� ๑๕๔ คนต่่อวันั หรืือร้้อยละ ๖๕ ของบุุคลากรทั้้�งหมด
๕.๒ การยกระดับั ประสิทิ ธิิภาพของการปฏิิบััติงิ าน
๕.๒.๑ การจััดกิิจกรรม Townhall เพื่�่อสื่่�อสารแบบสองทางภายในองค์์กรระหว่่างฝ่่ายบริิหาร
และบุุคลากร เพื่่�อชี้�แจงนโยบายและมาตรการต่่าง ๆ ของสำำ�นัักงาน ในขณะเดีียวกัันก็็รัับฟัังความคิิดเห็็น
และปัญั หาของบุุคลากรของสำ�ำ นักั งาน ก.พ.ร. เพื่�อ่ นำ�ำ ไปสู่แ�่ นวทางการแก้้ไขปัญั หาอย่า่ งเป็น็ ระบบ
๕.๒.๒ การทำำ�งานแบบ Agile Team เพื่�่อขัับเคลื่�่อนภารกิิจสำ�ำ คััญเร่่งด่่วน (Agenda)
ตััวอย่่างเช่่น ภารกิิจการพััฒนาบริิการภาครััฐให้้เป็็น e-Service ได้้มีีการแต่่งตั้�งเป็็นคณะทำำ�งาน
ประกอบด้้วย ๘ คณะทำ�ำ งานย่่อยเพื่่�อความคล่่องตััว มีีผู้�เชี่�ยวชาญเฉพาะด้้านการพััฒนาระบบราชการ
เป็็นหััวหน้้าทีีมและมีีบุุคลากรจากกองต่่าง ๆ มาทำำ�งานร่่วมกััน การทำำ�งานในลัักษณะดัังกล่่าวนอกจาก
จะส่่งผลให้้การขัับเคลื่�่อนภารกิิจดัังกล่่าวสามารถสำ�ำ เร็็จลุุล่่วงได้้แล้้ว ยัังเกิิดเป็็นวััฒนธรรมการทำ�ำ งาน
เป็น็ ทีมี และส่ง่ เสริิมให้บ้ ุุคลากรได้พ้ ััฒนาองค์์ความรู้้�ที่่�นอกเหนืือจากภารกิิจตามโครงสร้า้ ง
๕.๒.๓ การพััฒนาบุุคคลให้้มีีทัักษะความสามารถที่่�รองรัับการทำำ�งานแบบ Work From Home
เป็็นการพััฒนาทัักษะด้้านการใช้้เทคโนโลยีีดิิจิิทััล เพื่�่อให้้มีีทัักษะและความสามารถที่่�รองรัับการปฏิิบััติิงาน
แบบ New Normal รวมทั้้�งเพื่�่อปรัับเปลี่�ยนรููปแบบการทำำ�งานของบุุคลากรในตำ�ำ แหน่่งเจ้้าพนัักงานธุุรการ
ให้้สามารถทำ�ำ งานเกี่�ยวกัับระบบข้้อมููลสำำ�คััญต่่าง ๆ และลดงานธุุรการลงโดยนำำ�เทคโนโลยีีดิิจิิทััลเข้้ามาใช้้แทน
นอกจากนี้้� ได้้มีีการจััดอบรมบุุคลากรผ่่านสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์และแบบ e-Learning ตลอดทั้้�งปีีงบประมาณ
การดำ�ำ เนิินการดัังกล่่าวส่่งผลให้้การติิดต่่อประสานงานและการปฏิิบััติิงานภายในสำ�ำ นัักงาน ก.พ.ร.
มีีความต่่อเนื่่อ� งและมีปี ระสิทิ ธิภิ าพเช่น่ เดียี วกับั การเข้้าปฏิิบััติิราชการที่่�สำำ�นักั งานในสถานการณ์ป์ กติิ

156 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

นวตั กรรมเพ่ือการปฏิบตั ิราชการในยุคโควดิ -19

สำ�นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

สำำ�นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกามีีบทบาทภารกิิจหลัักในการพิิจารณา และจััดทำ�ำ ร่่างกฎหมาย
ตามที่่�คณะรััฐมนตรีีหรืือนายกรััฐมนตรีีมอบหมาย และเสนอความเห็็นเกี่�ยวกัับการให้้มีีหรืือแก้้ไขปรัับปรุุง
หรืือยกเลิิกกฎหมาย เพื่�่อให้้กฎหมายที่่�ออกมาใช้้บัังคัับเป็็นไปอย่่างมีีประสิิทธิิภาพต่่อการบริิหารราชการ
แผ่่นดิิน และไม่่เป็็นภาระหรืือก่่อให้้เกิิดความยุ่่�งยากต่่อประชาชนหรืือผู้�ที่�อยู่่�ในบัังคัับแห่่งกฎหมาย และ
อีีกหนึ่่�งภารกิิจที่่�สำ�ำ คััญ คืือ การให้้ความเห็็นทางกฎหมายเพื่�่อพิิจารณาวิินิิจฉััยปััญหาข้้อหารืือของหน่่วยงาน
ของรััฐ ฯลฯ โดยสำำ�นัักงานฯ ได้้วางเป้้าหมายในการพััฒนางานด้้านกฎหมายตามภารกิิจไปสู่�่เป้้าหมาย
OCS toward 2025 คืือ “Better Regulation for Better Life” หรืือพััฒนากฎหมายให้้ดีีเพื่่�อให้้

๙๐ ปี 157

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

ประชาชนมีีคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีีขึ้�้น โดยมุ่�งเน้้นการพััฒนาในประเด็็นสำ�ำ คััญ ๖ ประการ ได้้แก่่ ๑. ความไว้้วางใจ
Reliability ๒. การตอบสนองความต้้องการ Responsiveness ๓. การเปิิดเผย Openness ๔. กฎหมาย
ที่่�มีีประสิิทธิิภาพที่่�ดีี Better Regulations ๕. ความซื่่�อสััตย์์และยุุติิธรรม Integrity and Fairness และ
๖. การกำ�ำ หนดนโยบายในภาพรวม Inclusive Policy Making รวมทั้้�งการปรัับเปลี่�ยนกระบวนการ
ตรวจพิิจารณาร่่างกฎหมายให้้มีีคุุณภาพและรวดเร็็วมากขึ้้�น ลดขั้�นตอนต่่าง ๆ ที่่�ไม่่จำำ�เป็็นให้้มากที่่�สุุด
โดยนำำ�เทคโนโลยีีดิิจิิทััลมาปรัับใช้้สนัับสนุุนการปฏิิบััติิงานให้้ได้้ผลอย่่างจริิงจััง ในการปฏิิบััติิงาน
ยึึดผลประโยชน์์และความสุุขของประชาชนและส่่วนรวมเป็็นหลััก และเสริิมสร้้างความรัับรู้�และเข้้าใจ ตลอดจน
การมีีส่่วนร่่วมกัับผู้�รับบริิการและผู้้�มีีส่่วนได้้ส่่วนเสีียให้้มากขึ้�้น สร้้างเครืือข่่ายการทำำ�งานร่่วมกัับหน่่วยงานอื่�่น ๆ
ทั้้�งในด้้านการแลกเปลี่�ยนข้้อมููล ความรู้้� และบุุคลากรระหว่่างกััน เพื่�่อเพิ่่ม� พููนประสบการณ์์ในการปฏิบิ ััติิงาน
และการบููรณาการการปฏิิบััติิงานให้้มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่�งขึ้�้น ทั้้�งนี้้� เพื่่�อให้้กฎหมายที่่�ออกมาใช้้บัังคัับ
เป็็นกฎหมายที่่�ดีี ทัันต่่อสถานการณ์์โลกปััจจุุบััน เกิิดประโยชน์์ต่่อประชาชนและทำำ�ให้้ประชาชนมีีคุุณภาพ
ชีีวิิตที่่�ดีขี ึ้้น�

ในช่่วงสถานการณ์์ที่่�มีีการแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019 (โควิิด-19) ที่่�ผ่่านมา
จนถึึงรอบการระบาดระลอกเดืือนมกราคม ๒๕๖๕ สำ�ำ นัักงานฯ ได้้ดำำ�เนิินมาตรการในการป้้องกัันและ
ลดการแพร่่ระบาดของเชื้�อไวรััส โดยเน้้นย้ำำ��ให้้ข้้าราชการและเจ้้าหน้้าที่่�ของสำ�ำ นัักงานฯ ดููแลตนเอง
และครอบครััว สนัับสนุุนและรณรงค์์ให้้เข้้ารัับการฉีีดวััคซีีนป้้องกัันโรคโควิิด-19 และการปฏิิบััติิตน
ตามหลััก D-M-H-T-T ของกรมควบคุุมโรค กระทรวงสาธารณสุุข ประกอบด้้วย ๑. D : Social Distancing
เว้้นระยะห่่าง ๑ - ๒ เมตร เลี่�ยงการอยู่่�ในที่่�แออััด ๒. M : Mask Wearing สวมหน้้ากากผ้้าหรืือหน้้ากาก
อนามััยตลอดเวลา ๓. H : Hand Washing ล้้างมืือบ่่อย ๆ ด้้วยน้ำ�ำ�และสบู่�่ หรืือเจลแอลกอฮอล์์
๔. T : Testing การตรวจวััดอุุณหภููมิิและตรวจหาเชื้�อโควิิด-19 ในกรณีีที่่�มีีอาการเข้้าข่่าย และ
๕. T : Thai Cha Na สแกนไทยชนะก่่อนเข้้า - ออกสถานที่่�สาธารณะทุุกครั้�ง เพื่�่อให้้มีีข้้อมููลในการประสานงาน
ได้้ง่่ายขึ้�้น นอกจากนี้้� สำำ�นัักงานฯ ได้้นำ�ำ รููปแบบการทำำ�งานแบบ Work from Home มาใช้้ในการปฏิิบััติิ
ราชการ เพื่่�อเป็็นการป้้องกัันและลดการแพร่่ระบาดของเชื้�อไวรััส และที่่�สำำ�คััญ คืือ การพััฒนาและออกแบบ
ระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์เพื่�่อรองรัับการทำ�ำ งานจากที่่�บ้้านหรืือสถานที่่�ต่่าง ๆ ซึ่่�งส่่งผลให้้การปฏิิบััติิงาน
เกิิดความต่่อเนื่่�อง สะดวก รวดเร็็ว และสามารถขัับเคลื่�่อนการทำ�ำ งานไปสู่�่เป้้าหมายที่่�วางไว้้ได้้
อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ โดยได้้พััฒนาและออกแบบระบบต่่าง ๆ เพื่่�อใช้้เป็็นเครื่�่องมืือในการติิดต่่อสื่�่อสาร
และรองรัับการปฏิบิ ัตั ิิงาน ดังั นี้้�

๑. ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ เป็็นระบบในการรัับ - ส่่งหนัังสืือราชการระหว่่างหน่่วยงาน
ราชการและเอกชน โดยเป็็นการพััฒนาระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์จากรููปแบบหนัังสืือที่่�จะต้้องนำ�ำ ส่่ง
เป็็นจดหมายปรัับเปลี่�ยนเป็็นการนำ�ำ ส่่งในรููปแบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์เพื่่�อรองรัับการก้้าวสู่�่ รััฐบาลดิิจิิทััล ๔.๐
โดยมีีจุุดเริ่�มต้้นจาก ๗ หน่่วยงาน ประกอบด้้วย สำำ�นัักงานปลััดสำ�ำ นัักนายกรััฐมนตรีี สำ�ำ นัักงาน

158 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

คณะกรรมการกฤษฎีีกา สำ�ำ นัักเลขาธิิการคณะรััฐมนตรีี สำำ�นัักงานคณะกรรมการข้้าราชการพลเรืือน
สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการพััฒนาระบบราชการ สำ�ำ นัักงานพััฒนาธุุรกรรมทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์ และสำำ�นัักงาน
พััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (องค์์การมหาชน) ได้้ร่่วมกัันลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ การเชื่�่อมโยงระบบ
สารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ เมื่�่อวัันที่่� ๒๔ ธัันวาคม ๒๕๖๓ เพื่�่อเป็็นการร่่วมกัันพััฒนาระบบสารบรรณ
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ของประเทศ และปรัับปรุุงแก้้ไขระเบีียบงานสารบรรณ รวมทั้้�งกระบวนวิิธีีปฏิิบััติิที่่�เกี่�ยวข้้อง
ให้้สอดคล้้องกัับเทคโนโลยีีที่่�เปลี่�ยนแปลงไปอย่่างรวดเร็็วในปััจจุุบััน โดยดำ�ำ เนิินการในรููปแบบคณะทำำ�งาน
ของทั้้�ง ๗ หน่่วยงาน และเชื่�่อมโยงระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ของรััฐทุุกหน่่วยงานภายในไตรมาสที่่� ๔
ของปีี พ.ศ. ๒๕๖๔ ซึ่่�งการลงนามบัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือฯ ดัังกล่่าว ถืือเป็็นก้้าวสำ�ำ คััญในการพััฒนา
ประเทศไปสู่่�การเป็็นรััฐบาลดิิจิิทััล และได้้มีีการจััดทำ�ำ ระเบีียบสำำ�นัักนายกรััฐมนตรีีว่่าด้้วยงานสารบรรณ
(ฉบัับที่่� ๔) พ.ศ. ๒๕๖๔ (ระเบีียบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์) เพื่�่อปรัับเปลี่�ยนให้้การปฏิิบััติิงานสารบรรณ
ภายในหน่่วยงานของรััฐ ระหว่่างหน่่วยงานของรััฐ และระหว่่างหน่่วยงานของรััฐกัับเอกชน สามารถดำำ�เนิินการ
ด้้วยวิิธีีการทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์เป็็นหลััก เพื่่�อความรวดเร็็ว เพิ่่�มประสิิทธิิภาพ และเพิ่่�มความโปร่่งใส
ในการดำ�ำ เนิินงาน โดยได้้ประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เมื่่�อวัันที่่� ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ และมีีผลให้้หน่่วยงาน
ของรััฐต้้องใช้้อีีเมลในการสื่่�อสารเป็็นหลััก ตั้�งแต่่วัันที่่� ๒๓ สิิงหาคม ๒๕๖๔ เป็็นต้้นไป ปััจจุุบัันสำำ�นัักงานฯ
ได้้ใช้้ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ในชื่่�ออีีเมล [email protected] ในการรัับ - ส่่งหนัังสืือราชการ
กัับส่ว่ นราชการต่า่ ง ๆ และการติดิ ต่อ่ ประสานงานกัับภาคเอกชน

๒. ระบบกลางทางกฎหมาย law.go.th สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกาในฐานะ
หน่่วยงานกลางด้้านกฎหมายของประเทศ ร่่วมกัับ สำ�ำ นัักงานพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (องค์์การมหาชน) (สพร.
หรืือ DGA) จััดทำำ� “ระบบกลางทางกฎหมาย” (law.go.th) ขึ้�้นตามมาตรา ๗๗ วรรคหนึ่่�ง และมาตรา ๒๕๘ ค.
ด้้านกฎหมาย (๓) ของรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย และพระราชบััญญััติิหลัักเกณฑ์์การจััดทำำ�
ร่่างกฎหมายและการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒ เพื่่�อให้้เป็็นแพลตฟอร์์มกลางเกี่�ยวกัับ
กฎหมายที่่�ให้้บริิการแบบจุุดเดีียวเบ็็ดเสร็็จ (One Stop Service) แก่่หน่่วยงานของรััฐและประชาชน
เพื่่�อใช้้ในการรัับฟัังความคิิดเห็็นประกอบการจััดทำ�ำ ร่่างกฎหมาย ตลอดจนเปิิดเผยข้้อมููลเกี่�ยวกัับการรัับฟััง
ความคิิดเห็็น ซึ่่�งเป็็นกระบวนการที่่�ออกแบบมาให้้ประชาชนได้้มีีส่่วนร่่วมกัับร่่างกฎหมายที่่�จะมีีผลกระทบ
ต่่อตน เพื่�่อนำ�ำ ความคิิดเห็็น ข้้อสัังเกต และข้้อเสนอแนะที่่�เป็็นประโยชน์์เหล่่านั้้�นมาประมวลสรุุปเสนอในการ
พิิจารณาประกอบการจััดทำ�ำ ร่่างกฎหมายให้้สมบููรณ์์ยิ่�งขึ้�้น ดัังนั้้�น หากประชาชนให้้ความสนใจและ
ให้้ความร่่วมมืือมีีส่่วนร่่วมในการแสดงความคิิดเห็็นหรืือมีีข้้อเสนอแนะต่่อร่่างกฎหมายที่่�หน่่วยงานของรััฐ
นำ�ำ ออกรัับฟัังความคิิดเห็็นมากขึ้�้นเท่่าใด ร่่างกฎหมายนั้้�น ๆ ก็็จะมีีผลกระทบต่่อประชาชนเพีียงเท่่าที่่�จำำ�เป็็น
และสามารถแก้้ปััญหาได้้ตรงจุุดมากขึ้้�นเท่่านั้้�น โดยในขณะนี้้� ระบบกลางได้้เปิิดให้้บริิการในส่่วนของการรัับฟััง
ความคิิดเห็็นเกี่�ยวกัับร่่างกฎหมาย ข้้อมููลรายงานการวิิเคราะห์์ผลกระทบที่่�อาจเกิิดขึ้้�นจากกฎหมาย (RIA)
และข้้อมููลรายงานการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย ตั้�งแต่่วัันที่่� ๒ สิิงหาคม ๒๕๖๔ แล้้ว สำ�ำ หรัับ
การดำ�ำ เนิินการระยะถััดไปจะเป็็นการขยายการให้้บริิการข้้อมููลกฎหมายทั้้�งหมดของประเทศ ตั้�งแต่่รััฐธรรมนููญ

๙๐ ปี 159

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

พระราชบัญญัติิประกอบรัฐธ์รรมิน่ญ พระราชบัญญัติิ พระราชกาำ ห้นด รวมิติลอดถ้งกฎีห้มิายลาำ ดับรองติ่าง ๆ
เช่น พระราชกฤษฎีีกา กฎีกระทุรวง ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับ เทุศบัญญัติิ และข้อบัญญัติิทุ้องถิ�นติ่าง ๆ
เพ่�ออาำ นวยความิสะดวกในการเข้าถ้งข้อมิ่ลกฎีห้มิายและปฏิิบัติิติามิกฎีห้มิาย รวมิทุ�ังเพิ�มิความิโปร่งใส
ในการใช้บงั คับกฎีห้มิายด้วย โดยมิกี าำ ห้นดจิะแลว้ เสร็จิสมิบ่รณ์์ภายในเด่อนกรกฎีาคมิ ๒๕๖๕

๓. ระบบ OCS Office เป็นระบบบริห้ารจิัดการสำานักงานอิเล็กทุรอนิกส์ทุี�สาำ นักงานฯ ได้ขอ
ความิอนุเคราะห้์จิากสาำ นักงาน ก.พ.ร. ขอใช้ระบบ Smart Office ทุ�ีเป็นลิขสิทุธ์�ิของสำานักงาน ก.พ.ร.
มิาใช้งานเป็นการช�ัวคราว จิากน�ันจิ้งได้พัฒนาและปรับปรุงระบบให้้เห้มิาะสมิสามิารถรองรับการใช้งาน
ของสาำ นักงานฯ ได้อย่างมิีประสิทุธ์ิภาพ โดยเป็นการทุำางานบนระบบ Cloud และแสดงผ่ลทุ�ังห้มิด
ในร่ปแบบ Web Base Application ผ่่านเว็บเบราว์เซึ่อร์ Safari Edge Chrome และ Firefox ทุ�ังในรุ่น
สาำ ห้รับ Desktop และ Mobile Device ได้ สามิารถรองรับการทุำางานในร่ปแบบ Work from Home
และ Work from Anywhere ได้ ประกอบด้วยระบบติา่ ง ๆ ดงั นี�

(๑) ระบบงานสารบรรณ์อิเล็กทุรอนิกส์ การรับ - ส่งห้นังส่อราชการภายในสาำ นักงานฯ และ
การรับ - ส่งห้นังส่อราชการภายนอกห้น่วยงานเช่�อมิโยงกับอีเมิล [email protected] โดยสาำ นักงานฯ
ได้พัฒนาให้้สามิารถใช้เสนองานผ่่านระบบอิเล็กทุรอนิกส์จิากสถานทุี�ติ่าง ๆ ได้ด้วย ซึ่�้งมิีร่ปแบบการทุำางาน
ทุี�ทุดแทุนการเดินแฟ้มิเอกสารเสนองานในอดีติ ทุำาให้้เกิดความิสะดวก รวดเร็ว และเห้มิาะสมิ
กบั สภาพการณ์ป์ จั ิจิบุ นั ทุี�มิกี ารแพร่ระบาดของเช่อ� โควิด-19

(๒) ระบบขอรับบริการจิากส่วนงานภายในสาำ นักงานฯ โดยออกแบบให้้มิีการเช�่อมิโยงข้อมิ่ล
กบั LINE Official : OCS Staff โดยระบบจิะด้งข้อมิ่ลการลงเวลาเข้า - ออกในการปฏิิบัติริ าชการ การแจิง้ ปญั ห้า
อาคารสถานทุ�ี ฯลฯ และรายงานไปยังผ่้่บังคับบัญชาและส่วนงานทุ�ีเกี�ยวข้องเพ�่อใช้ในการติรวจิสอบ
และบรหิ ้ารจิดั การขอ้ มิ่ล

160 ๙๐ ป

สาํ นักนายกรฐั มนตรี

(๓) ระบบจััดการข้้อมููลฝึึกอบรมและฐานข้้อมููลวิิทยากร เป็็นระบบที่่�ใช้้ในการบริิหารจััดการ
ข้้อมููลในส่่วนที่่�เกี่�ยวข้้องกัับการฝึึกอบรมหลัักสููตรต่่าง ๆ ของนัักกฎหมายภาครััฐ ซึ่�่งมีีสถาบัันพััฒนา
นัักกฎหมายมหาชนรับั ผิดิ ชอบดููแลและบริหิ ารข้อ้ มููลในส่่วนนี้้�

(๔) ระบบบริิหารจััดการบุุคลากร เป็็นระบบที่่�ออกแบบมาเพื่�่อใช้้บริิหารข้้อมููลส่่วนบุุคคล
ทั้้�งในส่่วนของข้้าราชการและเจ้้าหน้้าที่่�ของสำำ�นัักงานฯ ข้้อมููล ก.พ.๗ (แฟ้้มประวััติิ) ระบบข้้อมููลการลา
ประเภทต่่าง ๆ ฯลฯ ตลอดจนข้้อมููลส่่วนบุุคคลของคณะกรรมการต่่าง ๆ ของสำำ�นัักงานฯ สถิิติิ
การเข้้าประชุุม ฯลฯ โดยการจััดเก็็บข้้อมููลมีีความปลอดภััย สะดวก และง่่ายต่่อการเก็็บข้้อมููล สามารถ
บริิหารจัดั การได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ

(๕) ระบบบริิหารการจองยานพาหนะและห้้องประชุุม เป็็นระบบที่่�ออกแบบเชื่�่อมโยงข้้อมููล
จาก LINE Official : OCS Staff มาแสดงผลในส่่วนของการจองยานพาหนะ และการเชื่�่อมโยงระบบ
การจองห้้องประชุมุ

๔. ระบบ Microsoft Teams เป็็นระบบที่่�ใช้้รองรัับการประชุุมในรููปแบบออนไลน์์ รวมทั้้�ง
การแชท และแบ่่งปัันข้้อมููล โดยสำำ�นัักงานฯ ได้้ใช้้ ระบบ Microsoft Teams ในการประชุุมและการฝึึกอบรม
หลัักสููตรต่า่ ง ๆ ในช่ว่ งที่่�มีกี ารแพร่่ระบาดของเชื้�อโควิิด-19 อาทิิ

(๑) การประชุุมเกี่�ยวกัับการตรวจพิิจารณาร่่างกฎหมายและการให้้ความเห็็นทางกฎหมาย
ทั้้�งในส่่วนการประชุุมของกรรมการคณะต่่าง ๆ รวมถึึงการประชุุมชี้้�แจงรายละเอีียดจากผู้�แทนส่่วนราชการ
และหน่่วยงานต่า่ ง ๆ ที่่เ� กี่�ยวข้อ้ ง

๙๐ ปี 161

ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี

(๒) การฝึึกอบรมนักั กฎหมายภาครััฐ จำ�ำ นวน ๔ หลัักสููตร ประกอบด้้วย
- หลัักสููตรการพััฒนานักั กฎหมายภาครัฐั ระดับั ปฏิิบััติิการ จำำ�นวน ๒ หลัักสููตร
- หลัักสููตรการพัฒั นานัักกฎหมายภาครัฐั ระดับั ชำำ�นาญการขึ้�้นไป จำำ�นวน ๒ หลักั สููตร
โดยมีีผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิทางด้้านนิิติิศาสตร์์ รััฐศาสตร์์ เศรษฐศาสตร์์ จากหน่่วยงานภาครััฐ
มหาวิทิ ยาลัยั และสำำ�นักั งานคณะกรรมการกฤษฎีีกา ร่ว่ มเป็น็ วิทิ ยากร
(๓) โครงการฝึึกอบรมนัักกฎหมายกฤษฎีีกาในการดำำ�เนิินการเกี่�ยวกัับกฎหมายว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์
การจััดทำ�ำ ร่่างกฎหมายและประเมินิ ผลสััมฤทธิ์์ข� องกฎหมาย
(๔) โครงการฝึึกอบรมหลัักสููตรการเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการปฏิิบััติิหน้้าที่่�นัักกฎหมายกฤษฎีีกา
เพื่�่อให้้นัักกฎหมายกฤษฎีีกามีีความรู้้�ความเข้้าใจในการปฏิิบััติิงานด้้านกฎหมาย บทบาทในการทำำ�หน้้าที่่�
ฝ่่ายเลขานุุการของคณะกรรมการกฤษฎีีกา การประชุุมกรรมาธิิการ กรรมการและอนุุกรรมการได้้
อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ผู้�เข้้าร่่วมสััมมนาประกอบด้้วย ผู้้�อำำ�นวยการกองกฎหมาย ผู้้�อำำ�นวยการฝ่่ายกฎหมาย
และนัักกฎหมายกฤษฎีีการะดัับชำำ�นาญการพิิเศษ ผู้�ปฏิิบััติิหน้้าที่่�เลขานุุการหรืือผู้้�ช่่วยเลขานุุการคณะกรรมการ
กฤษฎีกี า
(๕) การฝึึกอบรมวิิทยากรการดำำ�เนิินการเกี่�ยวกัับกฎหมายว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์การจััดทำ�ำ
ร่่างกฎหมายและการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย โดยสำ�ำ นัักงานฯ ได้้จััดโครงการฝึึกอบรมวิิทยากร
การดำำ�เนิินการเกี่ �ยวกัับกฎหมายว่่าด้้วยหลัักเกณฑ์์การจััดทำำ�ร่่างกฎหมายและการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�
ของกฎหมายขึ้้�น เมื่่�อวัันที่่� ๒๗ สิิงหาคม ๒๕๖๔ ผู้�เข้้าอบรมฯ ประกอบด้้วย นิิติิกรระดัับชำำ�นาญการ
หรืือชำำ�นาญการพิิเศษซึ่่�งปฏิิบััติิหน้้าที่่�ในการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมายในกระทรวง และกรมต่่าง ๆ
จำำ�นวน ๑๐๐ คน โดยจััดโครงการฝึึกอบรมฯ ในรููปแบบออนไลน์์ มีีวััตถุุประสงค์์เพื่่�อให้้ผู้�เข้้ารัับ
การฝึึกอบรมฯ ได้้รัับความรู้้�เกี่�ยวกัับเจตนารมณ์์และสาระสำ�ำ คััญของพระราชบััญญััติิหลัักเกณฑ์์การจััดทำ�ำ
ร่่างกฎหมายและการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒ ทั้้�งในส่่วนการดำำ�เนิินการ
ตามกระบวนการจััดทำำ�ร่่างกฎหมาย ไม่่ว่่าจะเป็็นการตรวจสอบความจำ�ำ เป็็นในการตรากฎหมาย การรัับฟััง
ความคิิดเห็็นของผู้�เกี่�ยวข้้อง การวิิเคราะห์์ผลกระทบที่่�อาจเกิิดขึ้�้นจากกฎหมาย การเปิิดเผยผลการรัับฟััง
ความคิิดเห็็น และการวิิเคราะห์์ผลกระทบนั้้�นต่่อประชาชน และการตรวจสอบเนื้้�อหาของร่่างกฎหมาย
ทั้้�งระบบอนุุญาต ระบบคณะกรรมการ การใช้้ดุุลพิินิิจของเจ้้าหน้้าที่่�ของรััฐ และระยะเวลาในการดำ�ำ เนิินการ
ตามขั้้�นตอนต่่าง ๆ ที่่�บััญญััติิไว้้ในกฎหมาย และหลัักเกณฑ์์การกำ�ำ หนดโทษอาญา และกระบวนการภายหลััง
เมื่่�อกฎหมายมีีผลใช้้บัังคัับแล้้วในส่่วนของการประเมิินผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย รวมทั้้�งการจััดทำ�ำ ข้้อมููล
กฎหมายเพื่่�อให้้ประชาชนสามารถเข้้าถึึงบทบััญญััติิของกฎหมายได้้ และสามารถนำ�ำ ความรู้้�ที่่�ได้้ไปใช้้
ประโยชน์์ในดำำ�เนิินการตามภารกิิจที่่�เกี่ �ยวข้้องและสามารถถ่่ายทอดความรู้้�ให้้แก่่เจ้้าหน้้าที่่�ในหน่่วยงาน
ของรัฐั ซึ่ง�่ วิทิ ยากรนั้้�นสังั กัดั อยู่ไ�่ ด้อ้ ย่า่ งมีีประสิทิ ธิิภาพต่่อไป
นอกจากนี้้� เมื่�่อวัันที่่� ๒๔ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕ สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา ได้้ร่่วมลงนาม
บัันทึึกข้้อตกลง (Memorandum of Understanding) ระหว่่างสำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา
และบริิษััท ไมโครซอฟท์์ จำ�ำ กััด ณ ตึึกนารีีสโมสร ทำ�ำ เนีียบรััฐบาล เพื่�่อร่่วมกัันดำำ�เนิินโครงการนำำ�ร่่อง

162 ๙๐ ปี

ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี

ในการพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััล (Digital Government Transformation) โดยมีีหม่่อมหลวงชโยทิิต กฤดากร
ผู้�แทนการค้้าไทย และพลตำำ�รวจโท พิิจาร จิิตติิรััตน์์ ที่่�ปรึึกษารองนายกรััฐมนตรีี (นายวิิษณุุ เครืืองาม)
ร่่วมเป็็นสัักขีีพยานในการลงนาม ระหว่่างนายปกรณ์์ นิิลประพัันธ์์ เลขาธิิการคณะกรรมการกฤษฎีีกา
นางซัันนี่่� ปาร์์ค ผู้้�ช่่วยที่่�ปรึึกษาฝ่่ายกฎหมาย สำำ�นัักงานใหญ่่ไมโครซอฟท์์เอเชีีย และนายธนวััตน์์ สุุธรรมพัันธุ์�
กรรมการ ผู้้�จัดั การใหญ่่ บริษิ ััท ไมโครซอฟท์์ (ประเทศไทย) จำ�ำ กััด

โครงการนำำ�ร่่องการพััฒนารััฐบาลดิิจิิทััลภายใต้้
บัันทึึกข้้อตกลงความร่่วมมืือ มีีกรอบระยะเวลา
การดำ�ำ เนิินการ ๓ ปีี โดยมีีเป้้าหมาย คืือ การทดลอง
นำ�ำ เทคโนโลยีีการจััดการข้้อมููลแบบดิิจิิทััลเข้้ามาใช้้
ในการบริิหารงานของราชการ และมีีสำ�ำ นัักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีีกาเป็็นหน่่วยงานนำ�ำ ร่่อง เพื่�่อนำำ�มาสู่�่การพััฒนา
ศููนย์์รวมแหล่่งข้้อมููลความรู้้�ทางกฎหมาย ประกอบการจััดทำำ�นโยบายและการมีีส่่วนร่่วมของประชาชน
ในการดำำ�เนิินการของรัฐั อย่า่ งมีีประสิทิ ธิภิ าพ ตามหลัักปฏิบิ ััติทิี่ด� ีดี ้้านกฎระเบีียบ หรืือ Good Regulatory Practice
๕. อีีเมล OCS เป็็นอีีเมลทางการของสำำ�นัักงานฯ เพื่่�อให้้บุุคลากรใช้้ติิดต่่อสื่่�อสาร และส่่งข้้อมููล
ในการแจ้้งเวีียนเอกสารเรื่�่องทั่่�วไปของส่่วนงานต่่าง ๆ ทั้้�งจากภายนอกและภายในสำ�ำ นัักงานฯ รวมถึึง
เป็น็ ช่อ่ งทางการประสานงานตอบข้้อสอบถามหรืือประสานงานเกี่ย� วกัับงานต่า่ ง ๆ จากภายนอกด้้วย
๖. ระบบ LINE Official : OCS Official และ OCS Staff
(๑) OCS Official เป็็นระบบที่่�ใช้้ในแจ้้งข่่าวสารที่่�เกี่�ยวข้้องกัับการทำ�ำ งานและข่่าวสาร
ที่่�เป็็นประโยชน์์ ตลอดจนข้้อสั่�งการต่่าง ๆ ของเลขาธิิการฯ ให้้บุุคลากรภายในของสำำ�นัักงานฯ ได้้รัับทราบ
ซึ่่�งเป็็นช่่องทางที่่�มีีความสะดวก รวดเร็็ว และมีีประสิิทธิภิ าพ
(๒) OCS Staff เป็็นระบบที่่�ใช้้เพื่�่อลงเวลา
เข้้า - ออกในการปฏิิบััติิราชการ นามสงเคราะห์์เพื่่�อใช้้ติิดต่่อ
ประสานงาน (ภายในสำำ�นัักงานฯ) การจองใช้้รถยนต์์ราชการ
การแจ้้งปััญหาด้้าน IT การแจ้้งปััญหาการใช้้งานอาคาร
สถานที่่� ซึ่�่งเป็็นระบบที่่�ส่่งต่่อข้้อมููลไปยััง OCS Office
ในการจััดเก็บ็ และแสดงผลข้้อมููล
๗. เฟซบุ๊๊�กแฟนเพจ เว็บ็ ไซต์์ และสื่�อออนไลน์อ์ื่�น ๆ
สำ�ำ นัักงานฯ ได้้ใช้้ช่่องทางในการประชาสััมพัันธ์์ข้้อมููลข่่าวสารต่่าง ๆ ของสำำ�นัักงานฯ ผ่่านเพจ
สำำ�นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา เพจ Thai Law Reform Commission (คณะกรรมการพััฒนา
กฎหมาย) เพจสถาบัันพััฒนานัักกฎหมายมหาชน และเพจกองกฎหมายปกครอง สำำ�นัักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีีกา ซึ่่�งเป็็นเพจเฟซบุ๊๊�กของสำำ�นัักงานฯ และเว็็บไซต์์ www.krisdika.go.th และ www.lawreform.go.th

๙๐ ปี 163

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

ในการประชาสัมิพันธ์์ส่�อสารข้อมิ่ลเก�ียวข้องกับการปฏิิบัติิงาน ความิร้่ ข่าวสาร และบทุความิด้านกฎีห้มิาย
Infographic ทุ�ีเกี�ยวข้องกับงานด้านการร่างกฎีห้มิายและเป็นประโยชน์ติ่อประชาชน การให้้ความิเห้็น
ทุางกฎีห้มิายไปส่ภาคประชาชน และใช้ช่องทุางประชาสัมิพันธ์์ในการสร้างความิเข้าใจิทุ�ีถ่กติ้องเก�ียวกับ
การปฏิิบัติิงานของสำานักงานฯ ผ่่านส�่อออนไลน์ของสาำ นักข่าวติ่าง ๆ ได้แก่ ผ่้่จิัดการ ไทุยโพสติ์ คมิชัดล้ก
มิติิชน และข่าวสด

สำานักงานคณ์ะกรรมิการกฤษฎีีกาได้ติระห้นักถ้งสภาพปัญห้าทุ�ีเกิดข้�นจิากสถานการณ์์การแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 อันส่งผ่ลกระทุบติ่อประเทุศชาติิและประชาชนเป็นอย่างมิาก ดังนั�น เพ�่อเป็นการช่วยเห้ล่อ
และบรรเทุาความิเด่อดร้อนของประชาชนในช่วงสถานการณ์์การแพร่ระบาดดังกล่าว สาำ นักงานฯ จิ้งได้เร่งรัด
ในการติรวจิพิจิารณ์าร่างกฎีห้มิาย และการให้้ความิเห้็นทุางกฎีห้มิายทุ�ีจิะช่วยเห้ล่อ และบรรเทุาความิเด่อดร้อน
ของประชาชนให้้ทุันติ่อสถานการณ์์ทุ�ีเกิดข�้น เพ�่อช่วยให้้เศรษฐกิจิ สังคมิ และประเทุศชาติิสามิารถฟันฝึ่า
อุปสรรคจิากสถานการณ์์ทุ�ีเกิดข้�น และสามิารถขับเคล�่อนไปได้ติามินโยบายการบริห้ารประเทุศ
ทุันติ่อสถานการณ์์ และสามิารถช่วยเห้ล่อประชาชนทุี�ได้รับผ่ลกระทุบในด้านติ่าง ๆ ได้ทุันการณ์์
โดยติ�ังแติ่มิีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จินถ้งปัจิจิุบันทุ�ีมิีการระบาดระลอกเด่อนมิกราคมิ ๒๕๖๕
สาำ นักงานฯ ได้เร่งรัดการติรวจิพิจิารณ์าร่างกฎีห้มิาย การให้้ความิเห้็นทุางกฎีห้มิาย และคำาแปลกฎีห้มิาย
แล้วเสร็จิ จิำานวน ๑,๑๕๙ เร�่อง แบ่งเป็นงานจิัดทุำาและติรวจิพิจิารณ์าร่างกฎีห้มิาย จิาำ นวน ๓๐๐ เร่�อง
งานให้้ความิเห้็นทุางกฎีห้มิาย จิำานวน ๘๕๕ เร�่อง คำาแปลกฎีห้มิาย จิำานวน ๔ เร�่อง (ข้อมิ่ล ณ์ เด่อนกรกฎีาคมิ
๒๕๖๔ - กุมิภาพันธ์์ ๒๕๖๕) ทุ�ังน�ี ในส่วนของการพิจิารณ์าร่างกฎีห้มิายทุ�ีสำาคัญทุ�ีจิะช่วยเยียวยา
ฟ้�นฟ่แก้ปัญห้าเศรษฐกิจิและสังคมิ และช่วยบรรเทุาความิเด่อดร้อนของประชาชนทุ�ีได้รับ
ผ่ลกระทุบจิากสถานการณ์์ของโรคโควิด-19 จิำานวน ๓๐ เร่�อง ได้แก่ พระราชกฤษฎีีกาออกติามิ
ความิในประมิวลรัษฎีากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎีากร (ฉบับทุ�ี ๗๒๓) พ.ศ. ๒๕๖๔ (มิาติรการภาษี
เพ�่อสนับสนุนการบริจิาคเพ�่อแก้ไขปัญห้าโรคติิดเช่�อไวรัสโคโรนา 2019) กฎีกระทุรวงกาำ ห้นด
อัติราเงินสมิทุบกองทุุนประกันสังคมิ พ.ศ. ๒๕๖๔ กฎีกระทุรวงกำาห้นดอัติราเงินสมิทุบทุ�ีรัฐบาล
จิ่ายเข้ากองทุุนประกันสังคมิ สำาห้รับบุคคลซึ่�้งสมิัครเข้าเป็นผ่่้ประกันติน พ.ศ. ๒๕๖๔ พระราชกฤษฎีีกา
ออกติามิความิในประมิวลรัษฎีากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎีากร (ฉบับทุี� ๗๓๓) พ.ศ. ๒๕๖๔ (มิาติรการภาษี
เพ่�อสนับสนุนรายจิ่ายค่าซึ่�่อชุดติรวจิโควิด-19 แบบเร่งด่วน (Antigen Test Kit)) พระราชกฤษฎีีกา

164 ๙๐ ป

สํานกั นายกรัฐมนตรี

ออกตามความในประมวลรััษฎากร ว่่าด้้วยการยกเว้้นรััษฎากร (ฉบัับที่่� ๗๒๓) พ.ศ. ๒๕๖๔ (มาตรการภาษีี
เพื่�่อสนัับสนุุนการบริิจาคเพื่่�อแก้้ไขปััญหาโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019) และร่่างกฎหมายตามมาตรการ
กระตุ้�นและฟื้�้นฟููเศรษฐกิิจปีี ๒๕๖๕ (มาตรการของขวััญปีีใหม่่ ๒๕๖๕) จำำ�นวน ๙ เรื่่�อง ประกอบด้้วย
ร่่างพระราชกฤษฎีีกา ๑ เรื่อ�่ ง ร่า่ งกฎกระทรวง ๔ เรื่่อ� ง และร่า่ งประกาศ ๔ เรื่�อ่ ง

นอกจากนั้้�น สำำ�นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา ได้้จััดทำ�ำ ร่่างกฎหมายสำ�ำ คััญในด้้านต่่าง ๆ
เพื่่�อแก้้ไขข้้อขััดข้้อง และช่่วยเหลืือประชาชนให้้ได้้รัับความสะดวก เกิิดความปลอดภััยในการดำ�ำ เนิินชีีวิิต
และส่ง่ ผลให้ป้ ระชาชนมีคี ุณุ ภาพที่่�ดีขี ึ้น�้ อาทิิ
๑. การจััดทำำ�ร่่างกฎหมายสำำ�คััญด้้านกีีฬา โดยแก้้ไขให้้สอดคล้้องกัับกฎการต่่อต้้านการใช้้
สารต้้องห้้ามโลก ปีี 2015 (2015 World Anti - Doping Code : WADC) ขององค์์กรต่่อต้้านการใช้้
สารต้้องห้้ามโลก (World Anti - Doping Agency : WADA) โดยได้้จััดทำำ�พระราชกำ�ำ หนดแก้ไขเพิ่่�มเติิม
พระราชบััญญััติิควบคุุมการใช้สารตองห้้ามทางการกีีฬา พ.ศ. ๒๕๕๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ ขึ้้�น เป็็นการกำำ�หนด
หลัักเกณฑ์์และวิิธีีการในการควบคุุมการใช้้สารต้้องห้้ามทางการกีีฬา แก้้ไขปรัับปรุุงรายการสารต้้องห้้าม
และวิิธีีการต้้องห้้าม การห้้ามการกระทำ�ำ ละเมิิด การพิิจารณาอนุุญาตใช้้สารต้้องห้้ามเพื่�่อการรัักษา
การพิิจารณากำ�ำ หนดโทษ การพิิจารณาวิินิิจฉััยอุุทธรณ์์ การกำ�ำ หนดโทษทางการกีีฬาให้้สอดคล้้องและ
เป็็นไปตามประมวลกฎการต่่อต้้านการใช้้สารต้้องห้้ามโลกและมาตรฐานสากล เพื่่�อเป็็นการส่่งเสริิม
และพััฒนานัักกีีฬาและบุุคคลที่่�เกี่�ยวข้้องให้้ดำ�ำ เนิินกิิจกรรมกีีฬาอย่่างเป็็นธรรม (Fair Play) และปราศจาก
การใช้้สารต้้องห้้ามทางการกีีฬาซึ่่�งสอดคล้้องกัับแนวปฏิิบััติิที่่�เป็็นมาตรฐานขององค์์กรกีีฬานานาชาติิ
และกฎ ระเบีียบ และข้้อบัังคัับที่่�กำ�ำ หนดไว้้ตามมาตรฐานสากลในทางการกีีฬา ซึ่่�งจะส่่งผลให้้
WADA พิิจารณายกเลิิกมาตรการลงโทษต่่าง ๆ รวมถึึงการปลดล็็อกเรื่�่องการใช้้ธงชาติิไทยในการแข่่งขััน
กีีฬาระดัับชาติิและระดัับนานาชาติิ โดยเมื่่�อวัันที่่� ๒ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕ องค์์กรต่่อต้้านการใช้้สารต้้องห้้ามโลก
(WADA) ได้้มีีหนัังสืือแจ้้งการปลดล็็อกไทยออกจากรายชื่�่อผู้�ที่�ไม่่ปฏิิบััติิตามกฎของ WADA แล้้ว โดยมีีผล
ในทัันทีี

๒. ในส่่วนของร่่างกฎหมายทางด้้านสัังคมที่่�จะช่่วยป้้องกัันและเฝ้้าระวัังการก่่ออาชญากรรม
สร้้างความปลอดภััยให้้สัังคม เพิ่่�มความเชื่�่อมั่�นของประชาชนต่่อกระบวนการยุุติิธรรม แก้้ไขปััญหาและ
ลดอััตราการกระทำ�ำ ผิิดซ้ำ�ำ� สำ�ำ นัักงานฯ ได้้จััดทำำ�ร่่างพระราชบััญญััติิมาตรการป้้องกัันการกระทำ�ำ ความผิิดซ้ำำ��
ในความผิิดเกี่�ยวกัับเพศหรืือที่่�ใช้้ความรุุนแรง พ.ศ. …. ซึ่�่งการมีีกฎหมายว่่าด้้วยมาตรการป้้องกััน
การกระทำ�ำ ความผิิดซ้ำ��ำ ในความผิิดเกี่�ยวกัับเพศหรืือที่่�ใช้้ความรุุนแรง จะทำ�ำ ให้้มีีกลไกในการติิดตามและ
เฝ้้าระวัังนัักโทษเด็็ดขาดที่่�กระทำำ�ความผิิดเกี่ �ยวกัับเพศหรืือกระทำำ�ความผิิดที่่�ใช้้ความรุุนแรงที่่�พ้้นโทษแล้้ว
โดยใช้้มาตรการที่่�หลากหลาย ทั้้�งมาตรการแก้้ไขฟื้�้นฟููผู้้�กระทำำ�ความผิิด มาตรการเฝ้้าระวัังนัักโทษเด็็ดขาด
ภายหลัังพ้้นโทษ มาตรการคุุมขัังภายหลัังพ้้นโทษ และการคุุมขัังฉุุกเฉิิน รวมทั้้�งกำ�ำ หนดหน่่วยงานที่่�มีีหน้้าที่่�
ในการเฝ้้าติิดตามกลุ่่�มบุุคคลเหล่่านี้้�ไว้้อย่่างชััดเจน อัันจะเป็็นการสร้้างความปลอดภััยแก่่สัังคมและประชาชน
มากขึ้้น�

๙๐ ปี 165

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

๓. ด้้านการอำำ�นวยความสะดวกให้้กัับประชาชนในยุุคดิิจิิทััล โดยที่่�ประชาชนสามารถเข้้าถึึง
และรัับบริิการผ่่านระบบดิิจิิทััลได้้อย่่างสะดวก รวดเร็็ว นั่่�นคืือ กฎกระทรวงกำำ�หนดการปฏิิบััติิงาน
การทะเบีียนราษฎรด้้วยระบบดิิจิิทััล พ.ศ. ๒๕๖๕ (ประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เมื่�่อวัันที่่� ๑๑ กุุมภาพัันธ์์
๒๕๖๕) เพื่�่ออำำ�นวยความสะดวกแก่่ประชาชนในการติิดต่่อขอรัับบริิการทะเบีียนราษฎรจากสำำ�นัักทะเบีียน
โดยประชาชนที่่�ประสงค์์จะใช้้งานต้้องยื่�่นคำำ�ขอลงทะเบีียนเพื่่�อพิิสููจน์์ตััวตน และกำำ�หนดรหััสลัับประจำำ�ตััว
ด้้วยตนเองต่่อนายทะเบีียนที่่�สำ�ำ นัักทะเบีียนอำ�ำ เภอ ทะเบีียนท้้องถิ่�น หรืือตามที่่�ผู้้�อำ�ำ นวยการทะเบีียนกลาง
กำำ�หนด พร้้อมบััตรประจำ�ำ ตััวประชาชนเพื่�่อให้้นายทะเบีียนตรวจสอบข้้อมููลก่่อนการลงทะเบีียน โดยเมื่�่อ
พิิสููจน์์ตััวตนทางดิิจิิทััลแล้้วจึึงขอรัับบริิการผ่่านระบบดิิจิิทััลได้้ ซึ่่�งจะทำำ�ให้้เกิิดความสะดวกรวดเร็็ว
และปลอดภัยั โดยมีกี ารยกเว้้นค่่าธรรมเนียี มเป็็นระยะเวลา ๑ ปีี

๔. สำำ�นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา ได้้จััดทำำ� “หลัักเกณฑ์์ว่่าด้้วยการเรีียกเก็็บค่่าธรรมเนีียม
และค่่าบริิการ” ขึ้�้น เพื่�่อแก้้ไขปััญหาต่่าง ๆ เกี่�ยวกัับการกำ�ำ หนดค่่าธรรมเนีียมในกฎหมายไทย โดยมีี
สาระสำำ�คััญ ดัังนี้้�

(๑) กำ�ำ หนดหลัักเกณฑ์์การเรีียกเก็็บค่่าธรรมเนีียมให้้ชััดเจนว่่า ค่่าธรรมเนีียมเป็็นการบัังคัับ
จััดเก็บ็ จึึงต้อ้ งมีกี ฎหมายระดัับพระราชบัญั ญัตั ิใิ ห้อ้ ำ�ำ นาจไว้้ และต้อ้ งกำำ�หนดอััตราขั้น� สููงไว้ใ้ นกฎหมาย

(๒) แยกค่่าบริิการออกจากค่่าธรรมเนีียม เนื่�่องจากเป็็นการจ่่ายเงิินที่่�ประชาชนจ่่าย
เพื่่�อตอบแทนการให้้บริิการในทำำ�นองเดีียวกัับการรัับบริิการจากภาคเอกชน ค่่าใช้้จ่่ายนี้้�เป็็นทางเลืือก
ของประชาชนที่่�จะใช้้บริิการหรืือไม่่ก็็ได้้ การเรีียกเก็็บเป็็นไปตามข้้อเท็็จจริิงจึึงไม่่จำ�ำ เป็็นต้้องมีีกฎหมาย
ระดับั พระราชบััญญััติใิ ห้้อำ�ำ นาจ เช่่น การเรียี กเก็บ็ ค่า่ ถ่า่ ยเอกสาร การเรีียกเก็บ็ ค่่าทางด่ว่ น

(๓) กำ�ำ หนดกรณีีที่่�รััฐไม่่พึึงเรีียกเก็็บค่่าธรรมเนีียมจากประชาชนให้้ชััดเจน อาทิิ กรณีีที่่�
ประชาชนปฏิิบััติิหน้้าที่่�ตามกฎหมายเพื่่�อให้้ภาครััฐได้้ข้้อมููล เช่่น การแจ้้งเกิิด แจ้้งตาย การจดทะเบีียนพาณิิชย์์

(๔) กำ�ำ หนดปััจจััยที่่�หน่่วยงานของรััฐต้้องพิิจารณาในการกำ�ำ หนดอััตราค่่าธรรมเนีียม เช่่น
ต้้นทุุนค่่าใช้้จ่่ายในการดำำ�เนิินการของรััฐ ประโยชน์์ที่่�บุุคคลนั้้�นจะได้้รัับ และอััตราเงิินเฟ้้อที่่�จะเกิิดขึ้�้น
ในอนาคต เพื่�่อให้้อัตั ราที่่ก� ำำ�หนดมีที ี่่�ไปที่่�มาที่่�ชััดเจน

(๕) กำ�ำ หนดหลัักเกณฑ์์การคิิดค่่าบริิการ เพื่�่อมิิให้้ประชาชนได้้รัับความเดืือดร้้อนจากการ
คิิดค่่าบริิการที่่�สููงหรืือต่ำำ��เกิินไป เช่่น ค่่าบริิการของกิิจการของรััฐต้้องไม่่มีีวััตถุุประสงค์์ในการแสวงหากำ�ำ ไร
สููงสุุด ค่่าบริิการสำำ�หรัับกิิจการของรััฐที่่�มีีลัักษณะเป็็นการผููกขาดต้้องไม่่สููงเกิินสมควร แต่่ค่่าบริิการของรััฐ
สำ�ำ หรับั กิิจการที่่�มีลี ัักษณะเป็็นการแข่ง่ ขันั กัันโดยเสรีตี ้อ้ งไม่ต่ ่ำ�ำ�เกิินสมควร เป็็นต้น้

(๖) กำำ�หนดกระบวนการให้้หน่่วยงานของรััฐต้้องรัับฟัังความคิิดเห็็นผู้�เกี่�ยวข้้องในการกำำ�หนด
ค่่าธรรมเนีียม และทบทวนอััตราค่่าธรรมเนีียมทุุกครั้ง� ที่่ป� ระเมินิ ผลสััมฤทธิ์์�ของกฎหมาย

คณะรััฐมนตรีีได้้มีีมติิเห็็นชอบหลัักเกณฑ์์ว่่าด้้วยการเรีียกเก็็บค่่าธรรมเนีียม และค่่าบริิการ
ดัังกล่่าวแล้้ว ตั้�งแต่่วัันที่่� ๑๔ ธัันวาคม ๒๕๖๔ และให้้หน่่วยงานของรััฐถืือปฏิิบััติิโดยทั่่�วกััน ซึ่่�งหน่่วยงาน
ที่่�รัับผิิดชอบกฎหมายหรืือกฎที่่�มีีการกำำ�หนดค่่าธรรมเนีียม มีีหน้้าที่่�แก้้ไขเพิ่่�มเติิมการกำำ�หนดใด ๆ ที่่�ไม่่สอดคล้้อง

166 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

กัับหลัักเกณฑ์์ดัังกล่่าวในโอกาสแรก เช่่น การยกเลิิกการจััดเก็็บค่่าธรรมเนีียมกรณีีประชาชนแจ้้งข้้อมููลแก่่รััฐ
การปรัับปรุุงอััตราค่่าธรรมเนีียมให้้สอดคล้้องกัับสภาวะทางเศรษฐกิิจ ดัังนั้้�น จึึงคาดหมายได้้ว่่าภายใน
ไม่่กี่�ปีีนี้้� การกำำ�หนดค่่าธรรมเนีียมในกฎหมายไทยจะมีีความเหมาะสมและเป็็นธรรมยิ่่�งขึ้้�น และเป็็นส่่วนหนึ่่�ง
ในการสนัับสนุุนการพััฒนาประเทศ ทั้้�งนี้้� สมดัังเจตนารมณ์์ของรััฐธรรมนููญแห่่งราชอาณาจัักรไทย
ที่่�กำำ�หนดให้้รััฐพึึงปรัับปรุุงกฎหมายที่่�ไม่่สอดคล้้องกัับสภาพการณ์์ และพึึงจััดให้้มีีกลไกสำ�ำ หรัับการปรัับปรุุง
กฎหมายและกฎระเบีียบให้้สอดคล้้องกัับสภาพการณ์์ ไม่่สร้้างภาระแก่่ประชาชนเกิินความจำ�ำ เป็็น และ
เพิ่่ม� ความสามารถในการแข่่งขันั ของประเทศ (มาตรา ๗๗ และมาตรา ๒๕๘ ค. (๑))

๕. สำำ�นัักงานฯ ร่่วมกัับกระทรวงพาณิิชย์์จััดทำำ�ร่่างพระราชบััญญััติิบริิษััทมหาชน จำำ�กััด (ฉบัับที่่�..)
พ.ศ. .... (แก้้ไขเพิ่่�มเติิมให้้ทัันสมััย ๖ ประเด็็น) ซึ่�่งวุุฒิิสภามีีมติิเห็็นชอบ เมื่�่อวัันที่่� ๒๘ กุุมภาพัันธ์์ ๒๕๖๕
ที่่�ผ่า่ นมา เมื่�อ่ มีกี ารใช้บ้ ังั คับั แล้ว้ บริิษััทมหาชนจำ�ำ กัดั จะได้้รับั ความสะดวก คืือ

(๑) มีีทางเลืือกในการติิดต่่อสื่่�อสารกัับผู้�ถื อหุ้�นและบุุคคลภายนอกทางสื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์
เพิ่่�มเติิมจากการโฆษณาในหนัังสืือพิิมพ์์และการส่่งไปรษณีีย์์ลงทะเบีียน ตามหลัักเกณฑ์์ที่่�นายทะเบีียน
จะกำ�ำ หนดต่อ่ ไป

(๒) สามารถจััดการประชุุมคณะกรรมการและการประชุุมผู้้�ถืือหุ้�นผ่่านสื่�่ออิิเล็็กทรอนิิกส์์
ได้้อย่่างมั่�นใจ และสามารถกำำ�หนดเงื่�อนไขในการจััดประชุุมผ่่านสื่�่ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�เหมาะสมกัับการดำ�ำ เนิินการ
ของบริิษััทได้้

(๓) สามารถจัดั ให้้มีีการมอบฉันั ทะในการเข้้าร่่วมประชุุมผู้้�ถืือหุ้�นด้้วยวิิธีกี ารทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์
ที่่ม� ีคี วามปลอดภััยได้้

การแก้้ไขเพิ่่�มเติิมกฎหมายในครั้�งนี้้�จะช่่วยให้้บริิษััทมหาชนจำ�ำ กััดมีีความคล่่องตััวในการ
ดำำ�เนิินการที่่�เพิ่่�มขึ้้�นและมีีต้้นทุุนที่่�ลดลง นอกจากนี้้� จะช่่วยให้้ผู้�ถือหุ้�นได้้รัับทราบข่่าวสารในช่่องทางที่่�ทัันสมััย
และอยู่่�ระหว่่างดำำ�เนิินการพิิจารณาปรัับปรุุงแก้้ไขบทบััญญััติิของประมวลกฎหมายแพ่่งและพาณิิชย์์ บรรพ ๓
ลัักษณะ ๒๒ หุ้�นส่่วนบริิษััท เพื่�่อให้้ห้้างหุ้�นส่่วนและบริิษััทจำำ�กััดสามารถดำ�ำ เนิินงานด้้วยวิิธีีการทาง
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ได้้เช่่นเดีียวกััน และที่่ส� ำ�ำ คััญได้้เสนอร่่างพระราชบััญญััติิการปฏิบิ ััติิราชการทางอิิเล็็กทรอนิิกส์์
พ.ศ. .... เพื่�่อให้้การปฏิิบััติิราชการเป็็นไปอย่่างคล่่องตััว มีีประสิิทธิิภาพ และสามารถให้้บริิการประชาชน
ได้้อย่า่ งรวดเร็ว็ และทั่่�วถึึง

สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการกฤษฎีีกา จะยัังคงมุ่�งมั่�นในการพััฒนางานด้้านกฎหมายตามภารกิิจ
ไปสู่่�เป้้าหมาย คืือ “Better Regulation for Better Life” หรืือพััฒนากฎหมายให้้ดีีเพื่�่อให้้ประชาชน
มีีคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีีขึ้�้น เพื่�่อให้้กฎหมายที่่�ออกมาใช้้บัังคัับเป็็นกฎหมายที่่�ดีี ทัันต่่อสถานการณ์์ของโลกปััจจุุบััน
เกิิดประโยชน์์ต่่อประชาชนและทำ�ำ ให้ป้ ระชาชนมีคี ุณุ ภาพชีีวิติ ที่่ด� ีขี ึ้้�น

๙๐ ปี 167

ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

การเสนองานแบบอเิ ล็กทรอนิกส์

สำ�นักงบประมาณ

เนื่่�องจากในสถานการณ์์ปััจจุุบัันที่่�มีีการแพร่่ระบาดของโรคติิดต่่อเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019
(โควิิด-19) มาอย่่างต่่อเนื่�่อง ซึ่่�งในช่่วงที่่�มีีการระบาดของโควิิด-19 นั้้�น คณะรััฐมนตรีีได้้มีีมติิ
ให้้ทุุกส่่วนราชการ พิิจารณาแนวทางการดำ�ำ เนิินมาตรการปฏิิบััติิงานนอกสถานที่่�ตั้�ง (Work from Home)
ให้้เหมาะสมกัับสถานการณ์์ปััจจุุบัันและลัักษณะงานขององค์์กร ดัังนั้�น สำ�ำ นัักงบประมาณจึึงกำ�ำ หนดให้้เจ้้าหน้้าที่่�
สำำ�นัักงบประมาณปฏิิบััติิงานนอกสถานที่่�ตั้�ง (Work from Home) สลัับกัับการเข้้ามาปฏิิบััติิงานในอาคาร
ที่่�ทำำ�การสำ�ำ นัักงบประมาณ เพื่่�อเป็็นการเว้้นระยะห่่างทางสัังคม เหมาะสมกัับลัักษณะงาน และเพื่�่อเป็็นการ
อำำ�นวยความสะดวก รวมทั้้�งให้้การทำ�ำ งานของเจ้้าหน้้าที่่�สำำ�นัักงบประมาณมีีความยืืดหยุ่่�น สะดวก รวดเร็็ว
คล่่องตััว สามารถทำำ�งานได้้ทุุกที่่� ทุุกเวลา ลดภาระงบประมาณรายจ่่ายค่่ากระดาษและวััสดุุสิ้�นเปลืือง
สำ�ำ นัักงบประมาณจึึงได้้นำ�ำ ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ที่่�ใช้้มาตั้�งแต่่ปีีงบประมาณ พ.ศ. 2553
มาพััฒนาให้้เป็็นรู ปแบบที่�ทัันสมััยยิ่�งขึ้�้น เพื่่�อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพในการปฏิิบััติิงาน และตอบสนองต่่อการขัับเคลื่�่อน
แผนการปฏิิรููปประเทศด้้านการบริิหารราชการแผ่่นดิิน โดยพััฒนาระบบในรููปแบบของ Web Service

168 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

สามารถใช้้ระบบผ่่านเครืือข่่ายอิินเทอร์์เน็็ต มีีระบบป้้องกัันความปลอดภััยที่่�ดีี รองรัับการรัับ - ส่่งหนัังสืือ
ถึึงตััวบุุคคล และสามารถใช้้งานระบบบนอุุปกรณ์์เคลื่่�อนที่่� เช่่น แท็็บเล็็ต หรืือโทรศััพท์์เคลื่่�อนที่่�แบบสมาร์์ตโฟน
ได้เ้ ป็็นอย่่างดีี

ระบบสารบรรณอิิเล็็กทรอนิิกส์์ เป็็นระบบที่่�กำำ�หนดโครงสร้้างงานสารบรรณให้้เป็็นไปตามระเบีียบ
สำ�ำ นัักนายกรััฐมนตรีีว่่าด้้วยงานสารบรรณ (ฉบัับที่่� 4) พ.ศ. 2564 มีีระบบการจััดการทั่่�วไป อาทิิ เลขที่่�หนัังสืือ
ประเภทเรื่�่อง เอกสารอ้้างอิิง/สิ่�งที่่�ส่่งมาด้้วย หน่่วยงานเจ้้าของเรื่่�อง (กรณีีเรื่�่องเข้้ามา) การเวีียนหนัังสืือ
ภายในสำ�ำ นัักงบประมาณ กำำ�หนดชั้�นความลัับของหนัังสืือ/เอกสาร (เรื่่�องทั่่�วไปไม่่ลัับ หรืือเรื่�่องลัับมาก
ลัับที่่�สุุด) กำำ�หนดชั้�นความเร็็วของเอกสาร (ด่่วน ด่่วนมาก ด่่วนที่่�สุุด) กำำ�หนดสิิทธิ์์�การดูู การพิิมพ์์และ
การออกรายงานได้้ รวมถึึงการลงลายมืือชื่่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ ซึ่่�งเป็็นระบบสำ�ำ คััญที่�สำ�ำ นัักงบประมาณนำำ�มาประยุุกต์์
ใช้้ร่่วมกัับการเสนองานในรููปแบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ของเจ้้าหน้้าที่่� เมื่่�อมีีเรื่่�องส่่งเข้้ามาจากหน่่วยรัับงบประมาณ
หรืือหน่่วยงานต่่าง ๆ อาทิิ เรื่่�องเกี่�ยวกัับการบริิหารงบประมาณ (การอนุุมััติิ/การเห็็นชอบ) เรื่่�องเกี่�ยวกัับ
การให้้คำ�ำ แนะนำำ� การให้้คำ�ำ ปรึึกษาหารืือ แก่่หน่่วยรัับงบประมาณ และหน่่วยงานอื่�่น ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง เป็็นต้้น

ขนั้ ตอนการทำ�งานในระบบอเิ ล็กทรอนิกส์

เมื่่�อมีีหนัังสืือจากหน่่วยงานภายนอกส่่งเข้้ามาที่่�สำ�ำ นัักงบประมาณทางไปรษณีีย์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์
([email protected]) เจ้้าหน้้าที่่�ธุุรการที่่�ปฏิิบััติิงานด้้านงานสารบรรณกลางจะส่่งงาน ให้้ผู้้�อำำ�นวยการ
สำำ�นัักงบประมาณผ่่านระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ จากนั้ �นผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักงบประมาณจะกระจายงานให้้หน่่วยปฏิิบััติิ
ตามสายการบัังคัับบััญชาผ่่านระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ เมื่�่อเจ้้าหน้้าที่่�ผู้้�รัับผิิดชอบในงานนั้้�น ๆ ได้้รัับงานแล้้ว
ก็็จะดำ�ำ เนิินการศึึกษา พิิจารณา วิิเคราะห์์ สรุุปผล แล้้วเสนอเรื่่�องที่่�พิิจารณาบนระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์
โดยเสนอตามสายบัังคัับบััญชาตั้�งแต่่ขั้�นเจ้้าหน้้าที่่�ผู้�ปฏิิบััติิงาน ผ่่านหััวหน้้างานระดัับต่่าง ๆ จนถึึงการเสนอ
ผู้้�มีีอำำ�นาจลงนามในหนัังสืือออก จึึงจะพิิมพ์์เอกสาร (Print) เพื่�่อการลงนาม จากนั้้�นเอกสารที่่�ลงนามแล้้ว
จะส่่งกลัับไปที่่�เจ้้าหน้้าที่่�ธุุรการผู้�รับผิิดชอบงานสารบรรณกลาง เพื่่�อดำ�ำ เนิินการออกเลขที่่�หนัังสืือ พร้้อมจััดส่่ง
หนัังสืือฉบัับจริิงออกไปหน่่วยงานภายนอก ส่่วนสำำ�เนาเรื่�่องฝ่่ายสารบรรณกลางจะดำำ�เนิินการสแกน
(Scan) บัันทึึกเป็็นไฟล์์อิิเล็็กทรอนิิกส์์เก็็บไว้้ที่่�ระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์เพื่�่อการติิดตาม สืืบค้้น
และเป็น็ คลัังข้อ้ มููล ต่่อไป

๙๐ ปี 169

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

แ ผ น ผัั ง ขั้ � น ต อ น ก า ร ทำำ� ง า น ใ น ร ะ บ บ ส า ร บ ร ร ณ แ ล ะ ก า ร เ ส น อ ง า น แ บ บ อิิ เ ล็็ ก ท ร อ นิิ ก ส์์
ของสำำ�นักั งบประมาณ

ผู้�เกี่ย� วข้้อง ระบบร่า่ งหนัังสืือ ระบบสารบรรณ
เจ้า้ หน้้าที่่ธ� ุุรการ หนัังสืือเข้้า
- สารบรรณกลาง
- สำ�ำ นักั งาน/กอง/ศููนย์์/
สถาบััน/กลุ่่�ม

- เจ้า้ หน้า้ ที่่ผ�ู้�เสนองาน หนังั สืือออก หนังั สืือออก
(ผู้้�รับผิิดชอบ)
- ผู้้�ตรวจสอบ
(ชช./ผอ.ส่่วนฯ)
ผู้้�เสนอลงนาม
- หน้้าห้้อง/ผู้�เสนอลงนาม/
เจ้้าหน้้าที่่�กรองงาน
- หน้้าห้้อง (ผอ.กอง/
ศููนย์/์ สถาบันั /กลุ่่�ม/
ทปษ./รองฯ/ผอ.สงป.)

170 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

ประโยชน์ที่ได้รบั

สำำ�นัักงบประมาณมีีระบบและกระบวนการทำำ�งานในขั้ �นตอนการเสนองานได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ
โดยระบบสามารถใช้้งานผ่่านอุุปกรณ์์ Mobile Device ได้้หลากหลายประเภท หน้้าจอสามารถแสดงผล
ได้้อย่่างเหมาะสมและมีีความยืืดหยุ่่�นในการแสดงผลในแต่่ละอุุปกรณ์์ เช่่น แท็็บเล็็ต โทรศััพท์์เคลื่่�อนที่่�
แบบสมาร์์ตโฟน เจ้้าหน้้าที่่�สำำ�นัักงบประมาณสามารถปฏิิบััติิงานได้้ทั้้�งในสำำ�นัักงานและนอกสำ�ำ นัักงาน
เกิิดความคล่่องตััว สะดวก รวดเร็็ว และมีีระบบจััดเก็็บเอกสารอิิเล็็กทรอนิิกส์์ สะดวกในการจััดเก็็บ
ติิดตาม และการสืืบค้้นเอกสาร รวมทั้้�งลดการใช้้กระดาษ เกิิดการประหยััด และส่่งผลดีีต่่อคุุณภาพ
สิ่ �งแวดล้้อมในระยะยาว

๙๐ ปี 171

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

การใชน้ วตั กรรมเพิ่่ือเพิ่ิ่มประสิทธิิภาพิ่การทำางาน
ท้ังในระดับองค์กรและระดับชาติ

สำานักงานสภาพิ่ัฒนาการเศูรษฐกิจัและสังคมแหง่ ชาติ

สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจิและสังคมิแห้่งชาติิ ห้ร่อ สศช. ได้เล็งเห้็นความิสำาคัญของการ
พัฒนาเทุคโนโลยีสารสนเทุศและการส�่อสาร เพ่�อรองรับการทุาำ งานของรัฐบาลดิจิิทุัลอย่างมิีประสิทุธ์ิภาพ
และสอดคล้องกับยุทุธ์ศาสติร์ชาติิด้านปรับสมิดุล และพัฒนาระบบการบริห้ารจิัดการภาครัฐ ซึ่้�งถ่อเป็นปัจิจิัย
สำาคัญในการพัฒนาประเทุศ จิ้งได้พัฒนาระบบสารสนเทุศและระบบฐานข้อมิ่ลของ สศช. รวมิทุ�ังปรับเปลี�ยน
วัฒนธ์รรมิในองค์กรให้้ทุันกับการเปล�ียนแปลง ด้วยการใช้เคร�่องมิ่ออุปกรณ์์ส่�อสาร และโปรแกรมิการทุาำ งาน
ทุ�ีทุันสมิัย เพ่�ออาำ นวยความิสะดวกและเพ�ิมิประสิทุธ์ิภาพในการทุาำ งานของเจิ้าห้น้าทุี�อย่างติ่อเน่�อง
มิาโดยติลอด

172 ๙๐ ป

สาํ นักนายกรฐั มนตรี

การพิ่ัฒนาด้านเทคโนโลยใี นการปฏิิบตั ิราชการภายใน สศูช.

การใช้เทุคโนโลยีในการส่�อสารเพ่�อการทุาำ งานในยุคแรกน�ัน สศช. ได้มิีการใช้งานอีเมิลในร่ปแบบ
ของ Microsoft Exchange ร่วมิกับโปรแกรมิ Microsoft Outlook ซึ่้�งถ่อได้ว่ามิีประสิทุธ์ิภาพในการทุำางาน
มิากกว่าระบบ Webmail ทุี�ใช้กันอย่างแพร่ห้ลาย เน�่องจิากมิีระบบการแจิ้งเติ่อนแบบทุันทุี ช่วยให้้สามิารถ
ติิดติ่อส่�อสารกันอย่างรวดเร็วและมิปี ระสทิ ุธ์ภิ าพ

ติ่อมิา สศช. ได้พัฒนาระบบบริห้ารจิัดการสำานักงานอิเล็กทุรอนิกส์ (e-Office) เพ�่อใช้ในการบริห้าร
จิัดการห้้องประชุมิและยานพาห้นะในการเดินทุางไปติิดติ่อราชการติ่าง ๆ โดยระบบนี�จิะเช่�อมิโยงกับระบบ
อีเมิล ซึ่�้งสามิารถแจิ้งเติ่อนเจิ้าห้น้าทุ�ีทุี�มิีภารกิจิเก�ียวข้องได้รับทุราบ เพ่�อการบริห้ารจิัดการและวางแผ่น
ได้อย่างเป็นระบบ อาทุิ การเติรียมิห้้องประชุมิ การถ่ายภาพ การจิัดอาห้ารว่าง การจิัดรถ เป็นติ้น ซึ่้�งเป็นการ
ลดข�ันติอนในการทุำาเอกสารภายในองค์กร ทุั�งยังสามิารถเก็บเป็นฐานข้อมิ่ลสถิติิ ติลอดจินมิีระบบประเมิินผ่ล
ทุีส� ามิารถนาำ ขอ้ มิล่ มิาใชป้ รับปรงุ การปฏิิบัติงิ านให้้ดียง�ิ ขน้� ได้

นอกจิากน�ี ยังได้มิีการพัฒนาระบบสารสนเทุศและฐานข้อมิ่ลข้�น
โดยเฉพาะระบบงานสารบรรณ์อิเล็กทุรอนิกส์ (e-Document) ซึ่้�งเป็น
ระบบทุ�ีมิีการทุำางานซึ่ับซึ่้อนห้ลายขั�นติอน อาทุิ ระบบข้อมิ่ลอาคาร
และสถานทุี� ระบบบันทุ้กห้นังส่อรับเข้าและห้นังส่อส่งออก และระบบ
ติิดติามิเส้นทุางของห้นังส่อ เป็นติ้น ทุั�งน�ี ระบบติิดติามิเส้นทุาง
ของห้นังส่อนั�น ถ่อว่าเป็นระบบทุ�ีมิีความิสาำ คัญในการปฏิิบัติิภารกิจิ
เป็นอย่างมิากซึ่้�งได้ช่วยอำานวยความิสะดวกและความิคล่องติัว
ในการปฏิิบตั ิงิ าน

๙๐ ป 173

สาํ นกั นายกรฐั มนตรี

การสนับสนุนเพ่ิมเติมด้านเทคโนโลยเี พ่ือการปฏิบตั ิงาน

ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19

ในปีี ๒๕๖๔ ที่่�ผ่่านมา สถานการณ์์การระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019 (โควิิด-19)
ได้้เร่่งเร้้าให้้องค์์กรต่่าง ๆ ต้้องเร่่งปรัับตััวรัับการเปลี่�ยนผ่่านสู่�่ ยุุคดิิจิิทััล (Digital Transformation) อย่่างฉัับพลััน
อย่่างไรก็็ดีี สศช. ได้้มีีการพััฒนาระบบการทำำ�งานต่่าง ๆ มาอย่่างต่่อเนื่�่อง จึึงสามารถปรัับตััวได้้ในสถานการณ์์
ที่่�ต้้องปฏิิบััติิงานนอกพื้้�นที่่�หรืือจากที่่�บ้้าน (Work from Home) ได้้โดยทัันทีี ด้้วยเครื่่�องมืือที่่�ได้้เคยพััฒนาไว้้
โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งระบบ e-Document ได้้เข้้ามามีีบทบาทต่่อการทำำ�งานอย่่างมากในช่่วงที่่�ผ่่านมา เนื่่�องจาก
สามารถใช้้ในการบริิหารจััดการงานสารบรรณได้้อย่่างเป็็นระบบ ตั้�งแต่่ต้้นทาง คืือ การลงรัับเอกสารนำ�ำ เสนอ
ผู้�บริิหาร ไปจนถึึงปลายทาง คืือ การมอบหมายงานในระดัับเจ้้าหน้้าที่่� โดยสามารถเปิิดดููเอกสารและ
รายละเอีียดการมอบหมายงานผ่่านระบบได้จ้ ากที่่บ� ้า้ นอย่่างไร้้รอยต่อ่

นอกจากนี้้� สศช. ยัังมีีการสนัับสนุุนทางเทคโนโลยีีเพิ่่�มเติิม โดยมุ่�งเน้้นการพััฒนาและปรัับปรุุง
ในส่่วนของฮาร์์ดแวร์์เพื่�่อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพการปฏิิบััติิงานให้้กัับเจ้้าหน้้าที่่�ในองค์์กร โดย สคช. ได้้จััดหา
เครื่�องคอมพิิวเตอร์์เคลื่�อนที่่� (Notebook) และอุุปกรณ์์เครื่�องพิิมพ์์ (Printer) สำำ�หรัับปฏิิบััติิงานชั่่�วคราว
นอกสำำ�นัักงานฯ รวมทั้้�งติิดตั้้�งชุุดอุุปกรณ์์ประชุุมทางไกลผ่่านจอภาพ (VDO Conference) และ
เช่่าระบบประชุุมออนไลน์์ Zoom Meetings สำำ�หรัับให้้บริิการประชุุมผ่่านสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์
ตามพระราชกำ�ำ หนด ว่่าด้้วยการประชุุมผ่่านสื่�่ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่�่อควบคุุมการระบาดของโรค
ตามคำ�ำ แนะนำ�ำ ขององค์์การอนามััยโลกและกระทรวงสาธารณสุุข ด้้วยมาตรการเว้้นระยะห่่างทางสัังคม
(Social Distancing)

174 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

สำ�ำ หรัับระบบประชุุมออนไลน์์ Zoom Meetings มีีส่่วนสำำ�คััญอย่่างยิ่�งในการทำ�ำ งาน โดยเฉพาะ
การประชุุมที่่�ต้้องการระดมความคิิดเห็็นจากคนจำ�ำ นวนมาก ดัังเช่่นการจััดประชุุมประจำำ�ปีี ๒๕๖๔ ของ สศช.
“Mission to Transform: ๑๓ หมุุดหมาย พลิิกโฉมประเทศไทย” ที่่�จััดขึ้้�นผ่่านระบบออนไลน์์ ซึ่่�งช่่วย
ให้้การประชุุมเป็็นไปด้้วยความสะดวกและราบรื่่�น สามารถระดมความคิิดเห็็นผู้�เข้้าร่่วมประชุุมจากหลากหลาย
อาชีีพ ทั่่�วภููมิิภาคได้้อย่่างกว้้างขวางดัังที่่�เคยจััดในห้้องประชุุมขนาดใหญ่่ที่่�มีีผู้�เข้้าร่่วมประชุุมกว่่า ๓,๐๐๐ คน
ดังั เช่่นทุุกปีีที่่ผ� ่่านมา

การใชเ้ ทคโนโลยีในการบูรณาการการทำ�งานในระดับชาติ

สศช. ในฐานะเป็็นหน่่วยงานกลางในการวางแผนและกำ�ำ หนดนโยบายการพััฒนาประเทศ
เป็็นสำ�ำ นัักงานเลขานุุการของคณะกรรมการยุุทธศาสตร์์ชาติิ คณะกรรมการจััดทำำ�ยุุทธศาสตร์์ชาติิ และ
คณะกรรมการปฏิิรููปประเทศ มีีความตระหนัักถึึงความสำำ�คััญของการมีีฐานข้้อมููลที่่�ทัันสมััย สมบููรณ์์ ครบถ้้วน
เป็็นระบบเรีียลไทม์์ (Real - time) และเชื่�่อมโยงกัันในลัักษณะฐานข้้อมููลอย่่างบููรณาการ ประกอบกัับระเบีียบ
ว่่าด้้วยการติิดตามตรวจสอบ และประเมิินผลการดำ�ำ เนิินการตามยุุทธศาสตร์์ชาติิ และแผนการปฏิิรููป
ประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่่�กำ�ำ หนดให้้ สศช. ต้้องจััดให้้มีีการบำำ�รุุงรัักษาและพััฒนาระบบเพื่่�อให้้คณะกรรมการ
ยุุทธศาสตร์์ชาติิและคณะกรรมการปฏิิรููปประเทศ ใช้้ในการติิดตาม ตรวจสอบ และประเมิินผลการดำำ�เนิินการ
ตามยุุทธศาสตร์์ชาติิและแผนการปฏิิรููปประเทศ รวมทั้้�งจััดให้้มีีระบบสำ�ำ หรัับใช้้ในการประมวลและวิิเคราะห์์
ข้้อมููลเพื่�อ่ ประกอบการติดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมิินผลด้ว้ ย

๙๐ ปี 175

ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี

สศช. และศููนย์์เทคโนโลยีีอิิเล็็กทรอนิิกส์์
และคอมพิิวเตอร์์แห่่งชาติิ (Nectec) สำำ�นัักงาน
พััฒนาวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีีแห่่งชาติิ (สวทช.)
จึึงได้้ร่่วมหารืือในการนำ�ำ ระบบที่่�ตอบโจทย์์เรื่่�องนโยบาย
ทุุกขั้�นตอน ตั้�งแต่่กระบวนการจััดทำำ�โครงการ ขั้�นตอน
การติิดตามผล สู่�่ ผลลััพธ์์ระยะยาว โดยสามารถสร้้างให้้
ทุุกหน่่วยงานทำำ�งานร่่วมกัันได้้ รวมทั้้�งทุุกภาคส่่วน
สามารถใช้้ข้้อมููลร่่วมกััน ตลอดจนเห็็นความซ้ำ��ำ ซ้้อน
ของโครงการ เพื่�่อให้้การจััดสรรงบประมาณเป็็นไปอย่่าง
เหมาะสม หรืือจััดทำ�ำ โครงการใหม่่ที่่�ตอบโจทย์์มากยิ่�งขึ้�้น
จึึงได้้ร่่วมกัันพััฒนาระบบ“eMENSCR” หรืือ Electronic
Monitoring and Evaluation System of National
Strategy and Country Reform เป็็นระบบสารสนเทศที่่�ใช้้ติิดตาม ตรวจสอบ และประเมิินผล
การดำ�ำ เนิินงานของหน่่วยงานผ่่านแผนงาน โครงการ หรืือการดำำ�เนิินการต่่าง ๆ ในการขัับเคลื่่�อนการพััฒนา
ตามยุุทธศาสตร์์ชาติิและแผนการปฏิิรููปประเทศ โดยเป็็นระบบข้้อมููลขนาดใหญ่่ที่่�เชื่่�อมโยงข้้อมููล
จากส่ว่ นราชการต่่าง ๆ ได้อ้ ย่่างบููรณาการ

eMENSCR แพลตฟอรม์ การเช่อื มโยงการทำ�งานอยา่ งบูรณาการ

eMENSCR เป็็นระบบฐานข้้อมููลเปิิดที่่�นอกจากจะสามารถติิดตามการทำ�ำ งาน ประเมิินผล และนำ�ำ มาช่่วย
ในการวิิเคราะห์์โครงการต่่าง ๆ เพื่�่อการนำำ�ไปสู่่�จุุดหมายและบรรลุุเป้้าหมายในการพััฒนาประเทศแล้้ว
ยัังช่่วยลดอุุปสรรค ข้้อจำำ�กััด และกัับดัักเดิิม ๆ ของภาครััฐที่่�ต่่างคนต่่างทำ�ำ งาน ทั้้�งยัังเป็็นระบบ
Paperless System เป็็นมิิตรกัับสิ่�งแวดล้้อม สามารถเผยแพร่่รายงานสรุุปผลการดำำ�เนิินงานที่่�เกี่�ยวข้้องให้้
ประชาชนทราบ ก่่อให้้เกิิดการมีีส่่วนร่่วมของประชาชนในการติิดตามประเมิินผล และเป็็นระบบฐานข้้อมููลกลาง
ที่ �สามารถเชื่�่อมโยงข้้อมููลที่ �เกี่ �ยวข้้องได้้อย่่างบููรณาการ
ช่่วยลดต้้นทุุนการดำ�ำ เนิินงาน และลดภาระการให้้ข้้อมููล
เพื่�่อประกอบการชี้�แจงของหน่่วยงานอีกี ด้ว้ ย
ระบบ eMENSCR จึึงเป็็นเครื่�่องมืือหลััก
ในรู ปแบบของระบบเทคโนโลยีีสารสนเทศ สำำ�หรัับการ
ติิดตาม ตรวจสอบ และประเมิินผลการดำ�ำ เนิินงาน
ตามยุุทธศาสตร์์ชาติิและการปฏิิรููปประเทศ โดยเป็็น
ระบบข้้อมููลกลางขนาดใหญ่่ (Big Data) สำ�ำ หรัับ
รองรับั การดำ�ำ เนินิ การของ

176 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

(๑) หน่่วยงานของรััฐ ในการนำ�ำ เข้้าข้้อมููลโครงการ/การดำำ�เนิินงาน การนำำ�เข้้าข้้อมููลแผนระดัับที่่� ๓
และการรายงานความก้้าวหน้้าผลการดำำ�เนิินงานตามยุุทธศาสตร์์ชาติิและการปฏิิรููปประเทศ เพื่�่อให้้สามารถ
แสดงความเชื่่�อมโยงไปสู่�่ ยุุทธศาสตร์์ชาติิได้้ตามหลัักการความสััมพัันธ์์เชิิงเหตุุและผล (Causal Relationship:XYZ)
(๒) คณะกรรมการต่่าง ๆ และผู้�ที่�เกี่�ยวข้้อง ในการเรีียกค้้นหาข้้อมููลจากระบบ eMENSCR
เพื่่�อติดิ ตามความก้้าวหน้้าการดำ�ำ เนิินงานรวมทั้้ง� ปััญหาอุุปสรรคของหน่ว่ ยงานที่่�เกี่ย� วข้้อง
(๓) ประชาชน/สาธารณะ และภาคีีการพััฒนา ในการมีีส่่วนร่่วมในการแสดงความคิิดเห็็นและ
ข้้อเสนอแนะอัันเป็็นประโยชน์์ต่่อการติิดตาม ตรวจสอบ และประเมิินผลการดำ�ำ เนิินการตามยุุทธศาสตร์์ชาติิ
และแผนการปฏิิรููปประเทศ
ทั้้�งนี้้� สศช. ได้้มีีการเผยแพร่่ข้้อมููลจากระบบ eMENSCR ต่่อสาธารณชนในรููปแบบ JSON file
เพื่�่อให้้หน่่วยงานหรืือผู้�ที่�สนใจ สามารถนำ�ำ ข้้อมููลไปประยุุกต์์ใช้้ให้้สอดคล้้องกัับภารกิิจของแต่่ละหน่่วยงาน
เพื่�่อเป็็นการพััฒนาต่่อยอดให้้เกิิดความคุ้้�มค่่าและเกิิดประโยชน์์สููงสุุด โดยสามารถเรีียกดููข้้อมููลได้้ผ่่านทาง
เว็็บไซต์์หลัักของยุุทธศาสตร์์ชาติิและแผนการปฏิิรููปประเทศ http://nscr.nesdc.go.th หรืือผ่่านทาง
เว็็บไซต์์ฐานข้้อมููลเปิิดภาครััฐเพื่�่อสนัับสนุุนการติิดตาม และประเมิินผลการดำำ�เนิินงานตามยุุทธศาสตร์์ชาติิ
(Open-D) https://opendata.nesdc.go.th

การพัฒนาระบบ eMENSCR ในระยะต่อไป

ปััจจุุบััน สศช. อยู่�ระหว่่างการพััฒนาระบบ eMENSCR เพิ่่�มเติิม โดยนำ�ำ เทคโนโลยีีปััญญาประดิิษฐ์์
(Artificial Intelligence: AI) มาช่่วยวิิเคราะห์์และสัังเคราะห์์ข้้อมููล เพื่่�อหาความซ้ำ��ำ ซ้้อนของโครงการและ
ภารกิิจของหน่่วยงานรััฐ ตลอดจนสามารถวิิเคราะห์์หาช่่องว่่างเชิิงนโยบาย (Policy Gaps) เพื่�่อชี้�ประเด็็น
การพััฒนาให้้มีีความสอดคล้้องกัับเป้้าหมายของยุุทธศาสตร์์ชาติิ แผนแม่่บทภายใต้้ยุุทธศาสตร์์ชาติิ และ

๙๐ ปี 177

ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

แผนระดัับที่่� ๒ อื่่�น ๆ ตามหลัักการความสััมพัันธ์์เชิิงเหตุุผล รวมทั้้�งเป็็นเครื่�่องมืือให้้ทุุกส่่วนราชการสามารถใช้้
ในการวิิเคราะห์์แนวทางในการดำำ�เนิินงานในระยะต่่อไป และนำำ�ข้้อมููลมาใช้้เพื่�่อต่่อยอดภารกิิจของหน่่วยงาน
โดยมีีเป้้าหมายที่่�สอดคล้้องและบููรณาการกััน ทั้้�งในเชิิงประเด็็น เชิิงภารกิิจ และเชิิงพื้้�นที่่� ซึ่่�งเป็็นการตอบโจทย์์
วงจรนโยบายสาธารณะได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพในทุุกระดัับ ตั้�งแต่่ระดัับโครงการ/การดำ�ำ เนิินงาน
ของหน่่วยงานของรััฐไปจนถึึงเป้้าหมายระดัับประเทศ รวมทั้้�งพััฒนาการใช้้งานให้้สามารถเชื่่�อมโยง
ข้้อมููลสถิิติิต่่าง ๆ เข้้าระบบ eMENSCR ให้้เป็็นระบบข้้อมููลสถิิติิกลางของประเทศ สำำ�หรัับการบ่่งชี้้�
สถานการณ์์การบรรลุุเป้้าหมายได้้อย่่างถููกต้้อง และสอดคล้้องกัับบริิบทการพััฒนาที่่�เป็็นปััจจุุบััน โดยได้้มีี
การพััฒนาเว็็บไซต์์กลางและฐานข้้อมููลต่่าง ๆ เพื่�่อสนัับสนุุนการติิดตามตรวจสอบและประเมิินผล รวมถึึง
การเผยแพร่่ข้้อมููลการดำำ�เนิินการตามยุุทธศาสตร์์ชาติิและการปฏิิรููปประเทศเพื่�่อสร้้างการมีีส่่วนร่่วม
ของภาคีีการพััฒนาต่่าง ๆ ในการแสดงความคิิดเห็็นและข้้อเสนอแนะอัันเป็็นประโยชน์์ในการติิดตาม
ตรวจสอบและประเมิินผล อาทิิ เว็็บไซต์์ ThaiME (http://thaime.nesdc.go.th) เว็็บไซต์์อนาคตไทย
อนาคตเรา (http://nscr.nesdc.go.th) ระบบฐานข้้อมููลเปิิดภาครััฐเพื่่�อสนัับสนุุนการติิดตามและ
ประเมิินผลการดำ�ำ เนิินงานตามยุุทธศาสตร์์ชาติิ (Open-D) ผ่่านทาง https://opendata.nesdc.go.th
และระบบบริิหารจััดการข้้อมููลการพััฒนาคนแบบชี้�เป้้า (Thai People Map and Analytics Platform -
TPMAP) ซึ่�่งเป็็นระบบ Big Data เพื่�่อใช้้ในการสนัับสนุุนการบริิหารราชการแผ่่นดิินในการยกระดัับ
คุณุ ภาพชีีวิิตของประชาชนในทุุกมิิติผิ ่่านทาง https://www.tpmap.in.th

เมื่่�อระบบสารสนเทศติิดตามประเมิินผลแห่่งชาติิ (eMENSCR) สามารถติิดตามและประเมิินผล
ของโครงการภาครััฐต่่าง ๆ ได้้อย่่างถููกต้้องแม่่นยำ�ำ ในระบบเดีียวกััน เชื่่�อว่่าจะเป็็นเครื่่�องมืือสำำ�คััญที่่�เป็็นกลไก
หลัักในการติิดตามประเมิินผลการทำำ�งานของส่่วนราชการได้้ทั้้�งหมด และการเปิิดเผยข้้อมููลโดย eMENSCR
จะเป็็นการสร้้างความโปร่่งใส พร้้อมรัับแนวความคิิดใหม่่ ๆ จากภาคประชาชนและสัังคม เพื่�่อตอบโจทย์์
ประชาชนได้้อย่่างแท้จ้ ริิงต่่อไป

178 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

บโี อไอขับเคล่ือนนวตั กรรมการทำ�งาน
เน้นใหก้ ารส่งเสรมิ การลงทนุ ด้วยเทคโนโลยี

สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุน

จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของเชื้�อไวรััสโควิิด-19 ตั้�งแต่่ปีี 2563 ความรุุนแรงของสถานการณ์์
ที่่�เกิิดขึ้้�นได้้ส่่งผลกระทบต่่อกิิจกรรมต่่าง ๆ ในวงกว้้าง นำ�ำ ไปสู่่�การดำ�ำ เนิินชีีวิิตที่่�เปลี่�ยนไปจากปกติิเรื่่�อยมา
จนถึึงต้้นปีี 2564 ประเทศไทยยัังคงเผชิิญกัับสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของเชื้�อไวรััสโควิิค-19 ส่่งผลให้้
เศรษฐกิิจของประเทศเติิบโตในอััตราที่่�ต่ำ��ำ อย่่างไรก็็ตาม ด้้วยมาตรการของภาครััฐในการควบคุุมสถานการณ์์
การแพร่่ระบาดที่่�เข้้มงวด และการกระจายวััคซีีนให้้กัับประชาชนอย่่างทั่่�วถึึง รวมทั้้�งศัักยภาพของระบบ
สาธารณสุุขในประเทศที่่�มีีประสิิทธิิภาพ ส่่งผลให้้สถานการณ์์ในช่่วงตั้�งแต่่กลางปีี 2564 เริ่�มดีีขึ้้�น
เศรษฐกิจิ ของประเทศเริ่ม� ขยายตััวขึ้้�น ซึ่�่งเป็็นช่่วงเวลาสำ�ำ คัญั ของการฟื้�น้ ฟููเศรษฐกิิจ

ตลอดช่่วงเวลาตั้�งแต่่เกิิดวิิกฤตโควิิด-19 ตลอดปีี 2564 สำ�ำ นัักงานคณะกรรมการส่่งเสริิมการลงทุุน
หรืือบีีโอไอ ต้้องเผชิิญกัับความท้้าทายในการดำำ�เนิินงาน โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งการให้้บริิการส่่งเสริิมการลงทุุน
ซึ่�่งเป็็นหน้้าที่่�หลัักของบีีโอไอ บีีโอไอได้้ออกเครื่�่องมืือที่่�จะให้้เกิิดการลงทุุนในทุุกมิิติิ เพื่่�อเป็็นกลไกล
ในการขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจ และออกมาตรการใหม่่ ๆ รวมถึึงปรัับรููปแบบการส่่งเสริิมฯ สอดคล้้องกัับบริิบท
ที่่�เปลี่�ยนแปลงในขณะนั้้�น และด้้วยมาตรการต่่าง ๆ ของหน่่วยงานภาครััฐได้้มีีส่่วนช่่วยให้้เกิิดสภาพคล่่อง
ทางการลงทุนุ ได้้เสริมิ ให้ส้ ถานการณ์์เริ่ม� บรรเทาลง

เมื่�่อพิิจารณาสถิิติิการขอรัับการส่่งเสริิมการลงทุุนของบีีโอไอในปีี 2564 ซึ่�่งมีีมููลค่่ารวม
642,680 ล้้านบาท เพิ่่�มขึ้้�นร้้อยละ 59 (YoY) จำำ�นวนโครงการรวม 1,674 โครงการ เพิ่่�มขึ้้�นร้้อยละ 5 (YoY)
โดยกลุ่่�มอุุตสาหกรรมเครื่่�องใช้้ไฟฟ้้าและอิิเล็็กทรอนิิกส์์ และอุุตสาหกรรมการแพทย์์มีีอััตราการขยายตััวสููง
จากนโยบายส่่งเสริิมการลงทุุนในอุุตสาหกรรมเป้้าหมายที่่�เป็็นกลไกสำำ�คััญในการขัับเคลื่่�อนเศรษฐกิิจไทย
ในอนาคต

๙๐ ปี 179

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

สำำ�หรัับพื้้�นที่่�เป้้าหมาย EEC มีีการ
ขอรัับการส่่งเสริิมจำ�ำ นวน 453 โครงการ
มููลค่่าเงิินลงทุุนรวม 220,500 ล้้านบาท
โดยจัังหวััดระยองมีีมููลค่่าเงิินลงทุุนสููงสุุด
112,740 ล้้านบาท รองลงมาเป็็นจัังหวััด
ชลบุุรีี มููลค่่าเงิินลงทุุน 74,550 ล้้านบาท
และจัังหวััดฉะเชิิงเทรา มููลค่่าเงิินลงทุุนรวม
33,210 ล้้านบาท

ข ณ ะ ที่่� ก า ร ล ง ทุุ น โ ด ย ต ร ง จ า ก
ต่่างประเทศ (FDI) มีีโครงการยื่�่นขอรัับ
การส่่งเสริิมการลงทุุนรวม 783 โครงการ
มููลค่่าเงิินลงทุุนรวม 455,331 ล้้านบาท
เพิ่่�มขึ้�้นร้้อยละ 163 เมื่�่อเทีียบกัับช่่วง
เดีียวกัันของปีีก่่อน โดยประเทศที่่�ยื่�่นขอรัับ
การส่่งเสริิมที่่�มีีมููลค่่าเงิินลงทุุนมากที่่�สุุด
3 อัันดัับแรก ได้้แก่่ ญี่่�ปุ่�น จีีน และสิิงคโปร์์
ตามลำ�ำ ดับั

บโี อไอ ขับเคล่ือนนวตั กรรมเพ่ือการปฏิบตั ิงาน

จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของเชื้�อไวรััสโควิิด-19 ที่่�ยัังไม่่คลี่�คลายในช่่วงต้้นปีี 2564 บีีโอไอ
ในฐานะหน่่วยงานภาครััฐที่่�มีีหน้้าที่่�หลัักในการให้้การส่่งเสริิมการลงทุุนทั้้�งในประเทศและต่่างประเทศ
ได้้มีีการเร่่งพััฒนาเทคโนโลยีีและนวััตกรรมที่่�ใช้้อยู่�่ในช่่วงเวลานั้้�นให้้เกิิดประสิิทธิิภาพมากยิ่�งขึ้้�น เพื่่�อรองรัับ
การเปลี่�ยนแปลงของเทคโนโลยีีที่่�เกิิดขึ้้�นในช่่วงวิิกฤติิโควิิด-19 ที่่�เทคโนโลยีีถููกเร่่งให้้เติิบโตอย่่างก้้าวกระโดด
อย่่างไรก็็ตาม เพื่�่อให้้การปฏิิบััติิงานให้้การส่่งเสริิมการลงทุุนของบีีโอไอดำ�ำ เนิินการได้้อย่่างไร้้รอยต่่อในช่่วง
วิิกฤตโควิิด-19 บีีโอไอได้้มีีการปรัับปรุุงการปฏิิบััติิงานของเจ้้าหน้้าที่่�ในสำำ�นัักงาน และประยุุกต์์ระบบเทคโนโลยีี
สารสนเทศในการอำ�ำ นวยความสะดวกแก่่นัักลงทุุน เพื่่�อเปิิดโอกาสให้้นัักลงทุุนสามารถติิดต่่อกัับบีีโอไอ
ได้้อย่่างคล่่องตััวและรวดเร็็ว โดยบีีโอไอได้้พััฒนากระบวนการปฏิิบััติิงานเข้้าสู่�่รูปแบบดิิจิิทััลที่่�ครอบคลุุม
บริิการหลัักของบีีโอไอตั้�งแต่่การให้้บริิการด้้านข้้อมููลการส่่งเสริิมการลงทุุน การยื่�่นขอรัับส่่งเสริิมฯ การบริิการ
ในการใช้้สิิทธิิประโยชน์์ต่่าง ๆ รวมถึึงระบบงานตรวจสอบติิดตามผู้้�ที่่�ได้้รัับการส่่งเสริิมฯ เพื่�่อเพิ่่�มประสิิทธิิภาพ
ในการติิดตามและประเมิินผล ทั้้�งนี้้� บีีโอไอมีีการพััฒนาระบบรัักษาความปลอดภััยของข้้อมููลเป็็นอย่่างดีี
ตามพระราชบััญญััติิการรัักษาความมั่่�นคงปลอดภััยไซเบอร์์ พ.ศ. 2562 และพระราชบััญญััติิคุ้้�มครองข้้อมููล
ส่ว่ นบุคุ คล พ.ศ. 2562 ในหลากหลายกิจิ การ ดังั นี้้�

180 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรฐั มนตรี

ป็รับโหมดัรบั นกั ้ลิงทุนในยคุ New Normal
บีโอไอได้พัฒนาระบบการให้้บริการนักลงทุุนในยุค New Normal โดยการนาำ ระบบออนไลน์มิาให้้บริการ
แก่ผ่่้ทุี�ได้รับการส่งเสริมิการลงทุุน โดยมิุ่งห้วังทุ�ีจิะอาำ นวยความิสะดวกให้้กับนักลงทุุนไมิ่ติ้องเดินทุาง
มิายังสาำ นักงาน ช่วยลดความิเส�ียงและป้องกันการแพร่ระบาดของเช�่อไวรัสโควิด-19 โดยระบบออนไลน์
ทุ�เี ปิดให้้บริการใน e - Services ประกอบดว้ ย
- e-Submission ระบบส่งจิดห้มิายเอกสารทุั�วไป
- e-Investment Promotion ระบบย่�นคาำ ขอรบั การสง่ เสริมิการลงทุุน
- Doc Tracking ระบบติรวจิสอบสถานะเอกสาร
- e-Tax ระบบย่�นขอใชส้ ิทุธ์ปิ ระโยชนด์ ้านภาษีเงนิ ไดน้ ิติบิ คุ คล
- EMT ระบบยน�่ ขอใช้สิทุธ์ิประโยชน์ด้านเครอ่� งจิักร
- RMTS ระบบยน�่ ขอใช้สิทุธ์ปิ ระโยชนด์ า้ นวัติถุดบิ
- Promotion Certificate System ระบบด้านงานบัติรส่งเสริมิ
- e-Monitoring ระบบรายงานผ่ลการดาำ เนินการและความิคบ่ ห้น้าโครงการ
- Sourcing and Joint Venture ระบบจิดั ห้าผ่่ผ้ ่ลติ ิชิน� ส่วนและผ่ร้่ ว่ มิทุุน
- Single Window ระบบย�่นขอวีซึ่่าและใบอนญุ าติทุำางาน

ห น่ ว ย ใ ห้ บ ริ ก้ า ร คำา ป็ รึ ก้ ษ า เ ร้� อ ง
บีโอไอ “CSU”

Customer Service Unit ห้ร่อห้น่วย
CSU ได้จิัดติั�งข้�นเมิ�่อปลายปี 2563 โดยบีโอไอ
ได้พัฒนาร่ปแบบการให้้บริการแก่นักลงทุุนและ
ผ่้่สนใจิขอรับการส่งเสริมิฯ จิากบีโอไอ ด้วยการ
ติ�ังห้น่วยเพ�่อให้้บริการคาำ ปร้กษาเร�่องบีโอไอ
ณ์ จิุดเดียว ในช�่อ “CSU” โดยมิุ่งห้วังทุ�ีจิะให้้เป็น
ห้น่วยทุี�ให้้คำาปร้กษานักลงทุุน เพ่�ออำานวย
ความิสะดวกในการให้้บริการนักลงทุุน ซึ่้�งห้น่วย CSU
แบง่ การให้้บรกิ าร ดงั นี�
(1) งานบริก้ารให้คาำ ป็รึก้ษาอย่างครบวงจัรเก้ี�ยวก้ับก้ารสี่งเสีริมก้ารลิงทุน ให้้บริการใน 2 ช่องทุาง
ได้แก่ การให้้บริการข้อมิ่ลและคำาปร้กษาด้านการส่งเสริมิการลงทุุน ณ์ สำานักงาน (In - Person Clinic)
และผ่่านระบบออนไลน์ (Online Clinic) ให้้บริการทุกุ วันจิันทุร์ - วนั ศุกร์ เวลา ๐9.00 - 16.30 น.
นอกจิากน�ี ยังมิีการให้้บริการให้้คาำ ปร้กษาเฉพาะเร่�องการใช้สิทุธ์ิและประโยชน์ด้านวัติถุดิบทุ�ีเปิด
ให้้บริการทุุกวันอาคารและวันพฤห้ัสบดี เวลา 13.30 - 16.30 น. โดยผ่่้ขอรับคาำ ปร้กษาสามิารถจิองนัดห้มิาย
ผ่า่ นระบบ BOI e-Booking ไดท้ ุ�ังในรป่ แบบภาษาไทุย และภาษาองั กฤษ
(2) งานบริก้ารข้อมูลิแลิะให้คาำ ป็รึก้ษาดั้านก้ารสี่งเสีริมก้ารลิงทุน ทุางโทุรศัพทุ์ มิีเจิ้าห้น้าทุี�ให้้บริการ
จิาำ นวน 13 ค่สาย ปฏิิบัติิงานติั�งแติ่วันจิันทุร์ - วันศุกร์ เวลา ๐8.30 - 16.30 น. ในเวลาราชการ
ห้มิายเลขโทุรศัพทุ์ 0 2553 8111 และห้มิายเลขภายในอ�น่ ๆ ทุี�ติ้องการติดิ ติ่อ

๙๐ ป 181

สาํ นกั นายกรัฐมนตรี

นอกจากนี้้� สำ�ำ นัักงานยัังได้้อำ�ำ นวยความสะดวกในการบริิการให้้คำ�ำ ปรึึกษาด้้านการส่่งเสริิม
การลงทุุน ผ่่านช่่องทางการติิดต่่อต่่าง ๆ อาทิิ อีีเมล ([email protected]), Facebook (BOI News) และ
Line Official (BOI News) เป็น็ ต้้น

(3) งานรัับ - ส่่งเอกสารเกี่�ยวกัับการส่่งเสริิมการลงทุุน ณ จุุดเดีียว เปิิดทำำ�การวัันจัันทร์์ - วัันศุุกร์์ เวลา
๐9.00 - 16.30 น. เพื่อ่� อำ�ำ นวยความสะดวกให้ก้ ับั นัักลงทุุน และผู้�ที่�ได้้รับั การส่่งเสริมิ การลงทุุน

พััฒนาการเชื่่อ� มโยงอุุตสาหกรรมด้้วยเทคโนโลยีี
เพื่่�อยกระดัับให้้ประเทศไทยกลายเป็็นศููนย์์จััดหาชิ้�นส่่วนในภููมิิภาค บีีโอไอได้้ร่่วมมืือกัับพัันธมิิตร
จััดงานแสดงสิินค้้าเพื่่�อแสดงศัักยภาพของอุุตสาหกรรมรัับช่่วงการผลิิตในประเทศไทย ภายใต้้ชื่�่อ
SUBCON THAILAND 2021 Virtual Edition ซึ่่�งจััดขึ้�้นระหว่่างวัันที่่� 21 - 27 กัันยายน 2564 โดยมีีการนำำ�
ระบบออนไลน์์เข้้ามาใช้้เพื่่�ออำำ�นวยความสะดวกให้้แก่่ผู้�เข้้าร่่วมงานและผู้�ออกงาน ซึ่่�งการจััดงาน
SUBCON THAILAND ครั้�งนี้้�นัับเป็็นปีีที่่� 15 แต่่ในปีี 2564 ถืือเป็็นครั้�งแรกของการจััดงานในรููปแบบ
ออนไลน์์อย่า่ งเต็็มรููปแบบ

ปรัับรููปแบบการชัักจููงการลงทุุนด้้วย
เทคโนโลยีี

การลงทุุนจากต่่างประเทศเป็็นปััจจััย
สำำ�คััญในการสร้้างการเติิบโตของเศรษฐกิิจและ
ยกระดัับอุุตสาหกรรมในประเทศ รวมถึึงการพััฒนา
ในด้้านอื่�่น ๆ บีีโอไอมีีสำำ�นัักงานเศรษฐกิิจการลงทุุนในต่่างประเทศ 16 แห่่งทั่่�วโลก ซึ่�่งมีีหน้้าที่่�ในการชัักจููง
การลงทุุนที่่�มีีศักั ยภาพจากต่่างประเทศมาลงทุนุ ในประเทศไทย และส่ง่ เสริิมนักั ลงทุุนไทยที่่ม� ีศี ัักยภาพให้ไ้ ป

182 ๙๐ ปี

ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

ลงทุุนในต่่างประเทศ โดยในช่่วงปีี 2564 สถานการณ์์การแพร่่ระบาดของไวรััสโควิิด-19 ยัังไม่่ผ่่อนคลาย
ทำำ�ให้้การดำ�ำ เนิินงานชัักจููงการลงทุุนไม่่สามารถเดิินทางพบนัักลงทุุนได้้อย่่างปกติิ อย่่างไรก็็ตาม ในช่่วงกลางปีี
สถานการณ์์ในบางประเทศเริ่�มผ่่อนคลายลง สำำ�นัักงานเศรษฐกิิจและการลงทุุนของบีีโอไอในต่่างประเทศได้้มีีการ
ปรัับตััวในการชัักจููงการลงทุุนโดยการนำ�ำ เทคโนโลยีีมาใช้้ ทำำ�ให้้การชัักจููงการลงทุุนดำ�ำ เนิินไปในรููปแบบ
Hybrid ทั้้�ง Webinar และ One on One Meeting เพื่่�อให้้การชัักจููงการลงทุุนสามารถดำำ�เนิินการต่่อไป
ได้้อย่่างไม่่มีีสะดุุด

การส่งเสริมการลงทุนให้เกิดการยกระดับ

เทคโนโลยีและนวตั กรรม

บีีโอไอได้้กำำ�หนดเงื่�อนไขในการให้้การส่่งเสริิม
การลงทุุนผ่่านการให้้สิิทธิิประโยชน์์แก่่กิิจการที่่�มีี
การลงทุุนด้้านเทคโนโลยีี อย่่างไรก็็ตาม เพื่�่อให้้เกิิด
ประโยชน์์สููงสุุดแก่่ผู้ �ประกอบการที่่�ได้้รัับการส่่งเสริิม
การลงทุุน บีีโอไอได้้สนัับสนุุนให้้ผู้�ประกอบการลงทุุน
ในมาตรการต่่าง ๆ โดยเน้้นการนำำ�เทคโนโลยีีและ
นวััตกรรมใหม่่ ๆ มาปรัับใช้้ในกิิจการในหลายมาตรการ
เช่น่
สิิทธิแิ ละประโยชน์เ์ พิ่่�มเติมิ ตามคุุณค่า่ ของโครงการ (Merit - based Incentives)
สิิทธิิและประโยชน์์เพิ่่�มเติิมตามคุุณค่่าของโครงการ เป็็นอีีกหนึ่่�งมาตรการที่่�บีีโอไอเปิิดให้้การส่่งเสริิม
การลงทุุน โดยผู้�ประกอบการสามารถลงทุุนเพิ่่�มเติิมในการดำำ�เนิินการใน 7 ด้้าน ดังั นี้้�
1. การวิิจััยและพััฒนา (R&D) เทคโนโลยีีและนวััตกรรม
2. การสนัับสนุุนกองทุุนด้้านการพััฒนาเทคโนโลยีีและบุุคลากร สถาบัันการศึึกษา ศููนย์์ฝกอบรม
เฉพาะทางด้า้ นวิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี
3. การฝกอบรมหรืือฝกการทำ�ำ งานเพื่�่อพััฒนาทัักษะด้้านเทคโนโลยีีและนวััตกรรมให้้กัับนัักศึึกษา
ฝึึกงานด้้านวิทิ ยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี
4. ค่าธรรมเนีียมการใชสิทิ ธิิเทคโนโลยีีที่่�พัฒั นาในประเทศ
5. การฝึึกอบรมด้า้ นเทคโนโลยีีขั้�นสููง
6. การพััฒนาผู้้�ผลิติ วัตั ถุดุ ิบิ หรืือชิ้�นส่วนในประเทศ
7. การออกแบบผลิิตภัณั ฑ์แ์ ละบรรจุุภัณั ฑ์์

มาตรการปรับั ปรุุงประสิิทธิภิ าพ
มาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพถืือเป็็น
มาตรการสำำ�คััญของบีีโอไอที่่�ส่่งเสริิมให้้�้เกิิดการยกระดัับ
ภาคการผลิิตและภาคบริิการ โดยบีีโอไอมุ่�งส่่งเสริิม
ให้้ผู้ �ประกอบการนำำ�เทคโนโลยีีและนวััตกรรมมาปรัับ

๙๐ ปี 183

ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

ใช้้ในกระบวนการผลิิตและการบริิการเพื่�่อให้้เกิิดประสิิทธิิภาพสููงสุุด และเท่่าทัันกัับเทคโนโลยีีที่่�เกิิดขึ้�้นมาใหม่่ ๆ
ใน 5 มาตรการย่่อย ดังั นี้้�

๑. มาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิ�ิภาพด้้านการประหยััดพลัังงาน การใช้้�้พลัังงานทดแทน หรืือการลด
ผลกระทบต่อ่ สิ่�งแวดล้อ้ ม

2. มาตรการปรับั ปรุุงประสิิทธิิภาพด้้านการปรัับเปลี่�ยนเครื่่�องจัักร
3. มาตรการปรัับปรุงุ ประสิิทธิภิ าพด้้านการวิจิ ัยั และพััฒนา หรืือ ออกแบบทางวิิศวกรรม
4. มาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพด้้านการยกระดัับอุุตสาหกรรมไปสู่่�มาตรฐานเพื่่�อความยั่่�งยืืน
(Sustainability) ในระดัับสากล
5. มาตรการปรัับปรุงุ ประสิิทธิิภาพด้้านการใช้เ้ ทคโนโลยีีดิิจิิทััล
ปีี 2564 มีีคำ�ำ ขอรัับการส่่งเสริิมการลงทุุนภายใต้้มาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพ จำำ�นวน
180 โครงการ เงิินลงทุุน 16,730 ล้้านบาท โดยแบ่่งเป็็นมาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพด้้านประหยััดพลัังงาน
พลัังงานทดแทน และลดผลกระทบต่่อสิ่�งแวดล้้อมจำำ�นวน 122 โครงการ เงิินลงทุุน 8,740 ล้้านบาท มาตรการ
ปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพด้้านปรัับเปลี่�ยนเครื่�่องจัักร จำ�ำ นวน 53 โครงการ เงิินลงทุุน 7,910 ล้้านบาท
และมาตรการปรัับปรุุงประสิิทธิิภาพด้้านการใช้้เทคโนโลยีีดิิจิิทััล จำ�ำ นวน 5 โครงการ เงิินลงทุุน 80 ล้้านบาท

มาตรการส่ง่ เสริมิ การลงทุุนเศรษฐกิจิ ฐานราก
บีีโอไอตระหนัักดีีว่่าการพััฒนาประเทศให้้เกิิดความสมดุุลและยั่�งยืืน จำำ�เป็็นที่่�จะต้้องสร้้างความ
เข้้มแข็็งจากภายในประเทศ โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งการพััฒนาชุุมชนรายย่่อยที่่�เป็็นกลุ่่�มที่่�ยัังขาดองค์์ความรู้้�
ในการสร้า้ งมููลค่า่ เพิ่่ม� ให้้กัับทรัพั ยากรที่่ม� ีีอยู่�่ อีีกทั้้ง� ยังั ขาดเทคโนโลยีใี นการผลิิต
มาตรการดัังกล่่าวมุ่�งเน้้นการส่่งเสริิมการลงทุุนให้้ผู้�ประกอบการที่่ม� ีศี ัักยภาพสููงกว่่าเข้้าไปมีีส่่วนร่่วม
ในการสนัับสนุุนและพััฒนากิิจการขององค์์กรส่่วนท้้องถิ่�น ในรููปแบบพี่่�ช่่วยน้้อง โดยองค์์กรท้้องถิ่�น
ผู้้�รับการสนัับสนุุน หมายถึึง สหกรณ์์ หรืือวิิสาหกิิจชุุมชน ในท้้องถิ่�นที่่�ขึ้�้นทะเบีียนกัับหน่่วยงานที่่�เกี่�ยวข้้อง
หรืือองค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่�น ซึ่�่งดำ�ำ เนิินกิิจการอย่่างน้้อยด้้านใดด้้านหนึ่่�งตามขอบข่่าย ใน 4 ด้้าน ดัังนี้้�
๑. กิิจการด้้านการเกษตรและเกษตรแปรรููป
2. กิจิ การในอุุตสาหกรรมเบา
3. กิจิ การท่อ่ งเที่่ย� วชุุมชน หรืือ องค์์กรท้้องถิ่�น
4. ดำ�ำ เนินิ การเพื่อ่� บริหิ ารจััดการทรัพั ยากรน้ำ�ำ� แบบองค์์รวม

๙๐ ปี ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่่� ผ่่ า น ม า บีี โ อ ไ อ ไ ด้้ ใ ห้้
การส่่งเสริิมการลงทุุนให้้แก่่ผู้ �ประกอบการที่่�มีีศัักยภาพ
ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี ที่่�ให้้การสนัับสนุุนองค์์กรท้้องถิ่ �นมาแล้้วหลายโครงการ
หนึ่่�งในตััวอย่่างกลุ่่�มบริิษััทอิินโนเวชั่�น โดยบริิษััท พีี ไอ
อิินดััสทรีี จำำ�กััด ซึ่่�งเป็็นบริิษััทที่่�ดำ�ำ เนิินกิิจการทางด้้าน
วััตถุุดิิบเคมีี ยาง โพลิิเมอร์์ ยางคอมปาวด์์ พลาสติิก

184

คอมปาวด์์ ฯลฯ ได้้มีีความร่่วมมืือระหว่่างกลุ่่�มบริิษััทอิินโนเวชั่�น การยางแห่่งประเทศไทย และชุุมชนสหกรณ์์
กองทุุนสวนยางเครืือข่่ายปะเหลีียนที่่�มีีสมาชิิก 6 สหกรณ์์ สร้้างโครงการ “ตรัังโมเดล” เพื่่�อพััฒนา
นวััตกรรมยางธรรมชาติิไทยสู่่�อุุตสาหกรรมโลก โดยให้้การสนัับสนุุนเทคโนโลยีีให้้กัับชาวสวนยางที่่�เป็็นสมาชิิก
ชุุมชนสหกรณ์์กองทุุนสวนยางเครืือข่่ายปะเหลีียน ในการช่่วยเรื่่�องการตลาด การบรรจุุภััณฑ์์ที่่�มีีระบบการ
สอบย้้อน เพื่�่อช่่วยให้้สามารถตรวจสอบแหล่่งกำำ�เนิิดของวััตถุุดิิบ โดยบริิษัทั ได้้เขีียนซอฟต์์แวร์์ใส่่ในแท็็บเล็็ต
เพื่่�อช่่วยในการสืืบย้้อนผ่่านการติิดบาร์์โค้้ดที่่�ผลิิตภััณฑ์์ โดยมีีการแจกจ่่ายอุุปกรณ์์นี้้�ไปยัังสหกรณ์์ต่่าง ๆ

ด้้วยความก้้าวหน้้าของเทคโนโลยีีที่่�มีีการพััฒนาอย่่างต่่อเนื่่�อง การผลัักดัันและสร้้างความพร้้อม
ให้้เจ้้าหน้้าที่่�ในการปฏิิบััติิงานเป็็นสิ่�งที่่�จำำ�เป็็นอย่่างยิ่�ง บีีโอไอได้้มีีการสร้้างองค์์ความรู้้�ให้้กัับเจ้้าหน้้าที่่�
ในการพััฒนาศัักยภาพด้้านเทคโนโลยีีและนวััตกรรมโดยการจััดการอบรม KM อย่่างสม่ำ��ำ เสมอ เพื่่�อให้้เกิิดการพััฒนา
องค์ค์ วามรู้้�ที่่เ� ท่า่ ทันั กัับเทคโนโลยีที ี่่เ� ปลี่�ยนแปลงอยู่่�ตลอดเวลา

ด้้านการส่่งเสริิมการลงทุุน บีีโอไอได้้ปรัับปรุุงนโยบายให้้การส่่งเสริิมการลงทุุนที่่�เน้้นให้้เกิิดการนำ�ำ
เทคโนโลยีีและนวััตกรรมมาใช้้ในการผลิิตและการให้้บริิการมาอย่่างต่่อเนื่�่อง โดยการให้้สิิทธิิประโยชน์์ที่่�
มากขึ้้น� สำำ�หรัับโครงการที่่�มีีการใช้เ้ ทคโนโลยีแี ละนวััตกรรมที่่ส� ููงขึ้�น้

นอกจากนี้้� จากวิิกฤตโควิิด-19 ที่่�เกิิดขึ้้�น ได้้ส่่งผลให้้ทั่่�วโลกกลัับมาให้้ความสำ�ำ คััญกัับการดููแล
สิ่�งแวดล้้อมมากขึ้้�น บีีโอไอจึึงมุ่�งให้้การส่่งเสริิมการลงทุุนแก่่กิิจการที่่�เป็็นมิิตรต่่อสิ่�งแวดล้้อม การประหยััด
พลัังงาน รวมถึึงกิิจการที่่�ใช้้เทคโนโลยีีเข้้ามาช่่วยแก้้ปััญหาหรืือลดการปล่่อยก๊๊าซเรืือนกระจก ซึ่่�งเป็็นทิิศทาง
การลงทุุนที่่�ทั่่�วโลกให้้ความสำำ�คััญเพื่่�อการเติิบโตของเศรษฐกิิจ สัังคม และสิ่�งแวดล้้อมที่่�สมดุุลและยั่�งยืืน

ความสำ�ำ เร็็จในการพััฒนารููปแบบการปฏิบิ ััติิงาน และการให้้การส่่งเสริิมการลงทุุนที่่ม�ุ่�งเน้้นไปสู่�่การ
ใช้้เทคโนโลยีีและนวััตกรรมตลอดปีี 2564 เป็็นผลจากความร่่วมมืือกัันระหว่่างหน่่วยงานภายในของ
บีีโอไอ พัันธมิิตร นัักลงทุุน และผู้�เกี่�ยวข้้อง ที่่�พร้้อมปรัับเปลี่�ยนการดำำ�เนิินการต่่าง ๆ ไปสู่่�การเทคโนโลยีี
ที่่�เป็็นปััจจุุบััน และการเปลี่�ยนแปลงที่่�เกิิดขึ้�้นดัังกล่่าวได้้ช่่วยผลัักดัันให้้บีีโอไอก้้าวสู่�่การเป็็นองค์์กร
ที่่ข� ับั เคลื่่�อนการลงทุุนด้ว้ ยนวัตั กรรมอย่่างเป็น็ รููปธรรมอย่่างแท้้จริงิ

“บีโี อไอส่ง่ เสริมิ การลงทุุน ทั้้ง� คนไทยและต่า่ งชาติิ ทุกุ ขนาดการลงทุุน”

๙๐ ปี 185

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

แอปพลิเคชนั บตั รประจ�ำ ตัวคนพิการดิจทิ ัล

สำ�นักงานขบั เคล่ือนการปฏิรปู ประเทศ
ยุทธศาสตรช์ าติ และการสรา้ งความสามัคคีปรองดอง

จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดและการกลายพัันธุ์�ของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019 (โควิิด-19)
ทั้้�งภาครััฐและเอกชนต่่างก็็ต้้องรัับมืือและปรัับตััวกัับสถานการณ์์ เพื่่�อให้้การบริิการแก่่ลููกค้้าและประชาชน
เป็็นไปอย่่างต่่อเนื่�่องและมีีประสิิทธิิภาพสููงสุุด ในส่่วนการให้้บริิการสาธารณะของภาครััฐนั้้�น สำ�ำ นัักงาน
ขัับเคลื่่�อนการปฏิิรููปประเทศ ยุุทธศาสตร์์ชาติิ และการสร้้างความสามััคคีีปรองดอง (สำ�ำ นัักงาน ป.ย.ป.)
เล็็งเห็็นถึึงความสำ�ำ คััญในการให้้บริิการภาครััฐอย่่างทั่่�วถึึงแก่่กลุ่่�มผู้้�ด้้อยโอกาส ซึ่�่งประชาชนในกลุ่่�มนี้้�
หากสามารถเข้้าถึึงบริิการภาครััฐได้้โดยสะดวกแล้้วจะเป็็นกลุ่่�มคนที่่�มีีศัักยภาพสููงในการพััฒนาประเทศต่่อไป
สำ�ำ นัักงาน ป.ย.ป. จึึงได้้มีีการดำำ�เนิินการเพื่�่อเป็็นหน่่วยงานต้้นแบบในการนำำ�นวััตกรรมมาปรัับใช้้ในการบริิหาร
จััดการภาครััฐ ซึ่่�งสอดคล้้องตามยุุทธศาสตร์์ชาติิ แผนแม่่บทภายใต้้ยุุทธศาสตร์์ชาติิ และแผนการปฏิิรููป
ประเทศ ในการให้้บริิการแก่่ประชาชนอย่่างมีีประสิิทธิิภาพ มุ่�งเน้้นการบริิหารจััดการภาครััฐที่่�มีีความทัันสมััย
ตอบสนองต่่อปััญหาและความต้้องการของประชาชน เพื่่�อให้้ประชาชนและผู้้�รัับบริิการทุุกกลุ่่�มสามารถ

186 ๙๐ ปี

ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

เข้้าถึึงการบริิการได้้โดยสะดวก รวดเร็็ว โปร่่งใส ในหลากหลายช่่องทาง และไม่่มีีข้้อจำำ�กััดในการเข้้าถึึง
การบริิการ เพื่่�อให้้ประชาชนทุุกคนได้้รัับสิิทธิิ สวััสดิิการ และความช่่วยเหลืือได้้อย่่างครอบคลุุมและทั่่�วถึึง
ปััจจุุบัันสัังคมไทยมีีความรัับรู้�และเข้้าใจคนพิิการมากขึ้�้น แต่่การเข้้าถึึงงานหรืือการประกอบอาชีีพ
ของคนพิิการยัังคงมีีช่่องว่่างอยู่่�มาก ยัังมีีคนพิิการที่่�ขาดโอกาสต่่าง ๆ เช่่น โอกาสในการเข้้าถึึงข้้อมููลข่่าวสาร
ในการประกอบอาชีีพ การทำ�ำ มาหากิิน โอกาสในการใช้้ศัักยภาพตนเองเพื่่�อก่่อให้้เกิิดรายได้้ โอกาสในการรัับสิิทธิิ
สวััสดิิการที่่�พึึงได้้รัับ โอกาสในการได้้รัับการพััฒนาทัักษะที่่�จำำ�เป็็นในการประกอบอาชีีพตามข้้อจำ�ำ กััด
ทางด้้านร่่างกาย การขาดทัักษะและความรู้้�ที่่�เหมาะสมแก่่การทำำ�งาน ประกอบกัับข้้อมููลสถานประกอบการ
ที่่�มีีตำ�ำ แหน่่งงานเกี่�ยวกัับคนพิิการที่่�กระจััดกระจาย งานส่่วนใหญ่่กระจุุกตััวอยู่�่ในเขตเมืือง ทำ�ำ ให้้คนพิิการ
ยัังไม่่ได้้รัับความสะดวกในการประกอบอาชีีพหรืือไม่่สามารถเข้้าถึึงการจ้้างงานได้้มากเท่่าที่่�ควร ดัังนั้้�น
เพื่่�อให้้เกิิดการบููรณาการข้้อมููลสารสนเทศที่่�จำ�ำ เป็็นแก่่คนพิิการในการรัับสิิทธิิและสวััสดิิการ การให้้
บริิการต่่าง ๆ ของภาครััฐ เพื่่�อให้้ภาครััฐมีีระบบเชื่่�อมโยงข้้อมููลจำำ�นวนตำำ�แหน่่งและลัักษณะงานที่่�เหมาะสม
กัับคนพิิการแต่่ละประเภท สามารถนำำ�เสนอตำ�ำ แหน่่งงานให้้กัับคนพิิการ ขจััดปััญหาการขาดรายได้้
ในการดำำ�รงชีีพ ทำ�ำ ให้้ต้้องกู้้�หนี้้�ยืืมสิินจากแหล่่งเงิินต่่าง ๆ และช่่วยเหลืือคนพิิการที่่�กำำ�ลัังประสบปััญหา
การเข้้าถึึงแหล่่งเงิินทุุนซึ่�่งเป็็นอีีกหนึ่่�งในอุุปสรรคสำ�ำ คััญของคนพิิการ ซึ่�่งโดยปกติิ เมื่�่อคนพิิการต้้องการหางาน
หรืือกู้้�ยืืมเงิินผ่่านกองทุุนส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ ก็็มีีความจำำ�เป็็นจะต้้องเดิินทางมาติิดต่่อ
สอบถามข้้อมููลของบริิษััท หรืือสถานประกอบการที่่�มีีความประสงค์์จะรัับสมััครลููกจ้้าง หรืือสอบถาม
รายละเอีียดในการยื่�่นขอกู้้�ยืืมเงิิน ณ หน่่วยงานที่่�ให้้บริิการในพื้้�นที่่�ต่่าง ๆ ของกรมส่่งเสริิมและพััฒนา
คุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ (พก.) ซึ่�่งเกิิดความสิ้้�นเปลืืองทั้้�งค่่าใช้้จ่่ายในการเดิินทางและเวลาที่่�ใช้้ในการเดิินทาง
มาติดิ ต่อ่ ราชการ
สำำ�นัักงาน ป.ย.ป. จึึงได้้ริิเริ่�มคิิดค้้นพััฒนานวััตกรรมเพื่่�อสนัับสนุุนคนพิิการ ลดขั้�นตอนในการ
ปฏิิบััติิราชการ และอำำ�นวยความสะดวกแก่่คนพิิการในการติิดต่่อราชการให้้รวดเร็็ว มีีประสิิทธิิภาพ และ
ทัันยุุคสมััยมากยิ่�งขึ้�้น โดยได้้ร่่วมมืือกัับกรมส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการในการพััฒนา
ระบบข้้อมููลสารสนเทศอิิเล็็กทรอนิิกส์์สำำ�หรัับคนพิิการเพื่่�อการเข้้าถึึงแหล่่งเงิินทุุนและการประกอบอาชีีพ
ผ่่านแอปพลิิเคชัันบััตรประจำ�ำ ตััวคนพิิการดิิจิิทััล ซึ่่�งเป็็นการปฏิิรููปบััตรคนพิิการ โดยสามารถใช้้แทนบััตร
คนพิิการรููปแบบปกติิได้้ ซึ่่�งแอปพลิิเคชัันบััตรประจำำ�ตััวคนพิิการดิิจิิทััลนี้้� นอกจากเป็็นการอำ�ำ นวยความสะดวก
แก่่คนพิิการในมิิติิต่่าง ๆ ทั้้�งการอำ�ำ นวยความสะดวกให้้แก่่คนพิิการให้้รัับรู้�และเข้้าถึึงสิิทธิิและสวััสดิิการ
ภาครััฐที่่�พึึงได้้รัับได้้อย่่างทั่่�วถึึง การเข้้าถึึงแหล่่งเงิินทุุนและการประกอบอาชีีพ การรัับทราบข้้อมููลข่่าวสาร
ประกาศการจ้้างงานจากทั้้�งภาครััฐและเอกชน ซึ่่�งสอดคล้้องเหมาะสมกัับข้้อจำ�ำ กััดทางด้้านร่่างกายของ
แต่่ละบุุคคลได้้ตรงตามความต้้องการของคนพิิการ โดยไม่่จำำ�เป็็นต้้องเดิินทางมาติิดต่่อราชการที่่�สำำ�นัักงาน
สามารถลดค่่าใช้้จ่่ายและไม่่ต้้องเสีียเวลาแล้้ว ยัังเป็็นเครื่�่องมืือสำำ�คััญในการปฏิิบััติิราชการในยุุคโควิิด-19
ให้้กัับเจ้้าหน้้าที่่�ที่่�เกี่ �ยวข้้องกัับการส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการให้้สามารถปฏิิบััติิงานได้้อย่่าง
สะดวกรวดเร็็ว มีีประสิิทธิิภาพมากยิ่�งขึ้�้น เป็็นการลดขั้�นตอนการปฏิิบััติิงานของเจ้้าหน้้าที่่�ได้้อีีกด้้วย

๙๐ ปี 187

ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี

โดยในงานวัันคนพิิการสากล ประจำำ�ปีี ๒๕๖๔ เมื่่�อวัันที่่� ๓ ธัันวาคม ๒๕๖๔ ที่่�ผ่่านมา สำ�ำ นัักงาน
ป.ย.ป. ได้้ร่่วมมืือกัับกรมส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ ทำำ�การเปิิดตััวการใช้้งานแอปพลิิเคชััน
บััตรประจำำ�ตััวคนพิิการดิิจิิทััลอย่่างเป็็นทางการ โดยแอปพลิิเคชัันบััตรประจำ�ำ ตััวคนพิิการดิิจิิทััล
มีรี ายละเอียี ด ดังั นี้้�
เป็็นระบบที่่�ใช้้บริิการระบบคลาวด์์กลางภาครััฐ (Government Data Center and Cloud
service : GDCC) ของกระทรวงดิิจิิทััลเพื่�่อเศรษฐกิิจและสัังคม ในการพััฒนาระบบข้้อมููลสารสนเทศ
อิิเล็็กทรอนิิกส์์สำำ�หรัับคนพิิการ ซึ่�่งมีีความปลอดภััยในการใช้้งาน สามารถรองรัับข้้อมููลปริิมาณมาก
และรองรัับการขยายระบบงานเพื่่อ� ให้้บริกิ ารกับั หน่ว่ ยงานภาครัฐั อื่น�่ ๆ ได้้
รองรัับการใช้้งานบนโทรศััพท์์สมาร์์ตโฟน ทั้้�งระบบปฏิิบััติิการ Android และระบบปฏิิบััติิการ
IOS โดยเชื่�อ่ มต่อ่ ระบบฐานข้อ้ มููลของกรมส่ง่ เสริมิ และพัฒั นาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการโดยตรง
สามารถแสดงข้้อมููลส่่วนบุุคคลที่่�สำ�ำ คััญของผู้�ใช้้งานบนหน้้าจอโทรศััพท์์สมาร์์ตโฟนได้้อย่่างครบถ้้วน
ชััดเจน สวยงาม ใช้้งานง่่าย โดยแสดงข้้อมููล ชื่�่อ นามสกุุล วัันเดืือนปีีเกิิด ประเภทความพิิการ และ
วัันหมดอายุุ โดยมีีรููปแบบของการแสดงข้้อมููลแบบเดีียวกัับบััตรประจำ�ำ ตััวคนพิิการที่่�ใช้้งานอยู่่�ในปััจจุุบััน
( บัตั รแข็็ง) สามารถแสดงสััญลัักษณ์์ QR Code เพื่่�อใช้้รัับบริิการและรัับสิิทธิิประโยชน์์ต่่าง ๆ ที่่�จะเกิิด
ความร่่วมมืือขึ้้�นในอนาคต และเพื่�่อใช้้ในการยืืนยัันตััวตนเพื่่�อใช้้บริิการแบบรวดเร็็ว โดยสามารถสแกน
ด้้วยเครื่�่องมืือมาตรฐานได้้ เพื่่�อให้้ผู้�ให้้บริิการสามารถเก็็บข้้อมููลการให้้บริิการกัับ คนพิิการได้้อย่่างรวดเร็็ว
สามารถแสดงข้้อมููลสิิทธิิคนพิิการ สวััสดิิการที่่�คนพิิการพึึงได้้รัับตามพระราชบััญญััติิส่่งเสริิม
และพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่่�แก้้ไขเพิ่่�มเติิม (ฉบัับที่่� ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาตรา ๒๐
ได้้แก่่ สวััสดิิการเบี้้�ยความพิิการ สิิทธิิทางการศึึกษา สิิทธิิทางการแพทย์์ ผู้้�ช่่วยคนพิิการ การปรัับสภาพแวดล้้อม
ที่่�อยู่�่อาศััยให้้แก่่คนพิิการ ล่่ามภาษามืือ การให้้ความช่่วยเหลืือทางคดีีความ การขอและยืืมอุุปกรณ์์
และเครื่่�องมืือเทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่่�อสาร หรืือเทคโนโลยีีสิ่�งอำำ�นวยความสะดวกเพื่�่อการสื่่�อสาร
เป็น็ ต้้น
188 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

สามารถค้น้ หางาน ได้้จากสามช่่องทาง คืือ
๑. การจัับคู่�โ่ ดยอััตโนมััติจิ ากฐานข้อ้ มููลตามพื้้�นที่่จ� ังั หวััดที่่�ผู้�ใช้้งานอาศัยั อยู่�่
๒. ไทยมีีงานทำำ� เป็็นการเชื่่�อมโยงกัับเว็็บไซต์์ของกรมจััดหางาน โดยสามารถหางานทั้้�งหน่่วยงาน
ภาครััฐ งานทั่่ว� ไปหรืืองานจากสถานประกอบการต่่าง ๆ
๓. ตลาดงานคนพิิการ ซึ่่�งเป็็นช่่องทางในการสื่่�อสารและประชาสััมพัันธ์์ ระหว่่างคนพิิการ
และสถานประกอบการในการจ้้างงานคนพิิการตามมาตรา ๓๓ และ ๓๕ ซึ่�่งมุ่�งหวัังให้้คนพิิการได้้มีีอาชีีพ
มีีรายได้้ และสามารถพึ่่�งพาตนเองได้้อย่า่ งยั่�งยืืน
การกู้้�ยืืมเงิินกองทุุนส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ โดยสามารถยื่�่นกู้้�ยืืมเงิินกองทุุน
ส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการ ซึ่�่งจะเชื่่�อมโยงไปยัังเว็็บไซต์์ของกองทุุนส่่งเสริิมและพััฒนา
คุุณภาพชีีวิิตคนพิิการโดยตรง เพื่�่อเป็็นทุุนประกอบอาชีีพสำ�ำ หรัับคนพิิการหรืือผู้�ดูแล โดยสามารถกรอกข้้อมููล
ยื่�่นเรื่�่องเพื่�่อขอกู้�ผ่่านแอปพลิิเคชัันได้้เลย ไม่่จำ�ำ เป็็นต้้องเดิินทางไปติิดต่่อที่่�สำำ�นัักงานเพื่่�อขอกู้้�ยืืมเงิิน
ข้อ้ มููลสายด่่วนพื้้น� ฐานที่่�จำ�ำ เป็น็ สำำ�หรับั คนพิิการ คืือ
๑. ศููนย์์ช่่วยเหลืือสัังคม สายด่่วน ๑๓๐๐ รัับเรื่่�องราวร้้องทุุกข์์ทางสัังคมทุุกกลุ่่�มเป้้าหมาย
พร้้อมให้้ความช่ว่ ยเหลืือและให้ค้ ำำ�ปรึึกษาตลอด ๒๔ ชั่�วโมง
๒. สายด่่วนคนพิิการประชารััฐ ๑๔๗๙ เพื่�่อส่่งเสริิมการเข้้าถึึงสิิทธิิ สวััสดิิการและให้้คำำ�ปรึึกษา
และเหตุุฉุุกเฉิินสำ�ำ หรัับคนพิิการ ตลอด ๒๔ ชั่�วโมงเช่่นเดีียวกััน โดยผู้�ใช้้งานสามารถคลิิกที่่�ปุ่่�มแล้้วระบบ
จะทำ�ำ การโทรออกได้ท้ ันั ทีีโดยไม่ต่ ้้องกดหมายเลขโทรศัพั ท์์
สามารถแสดงผลหน่่วยงานที่่�ให้้บริิการด้้านคนพิิการ โดยโปรแกรมจะแสดงหน่่วยงาน
ที่่�ให้้บริิการคนพิิการที่่�อยู่�่ใกล้้ผู้�ใช้้งานที่่�สุุด เพื่่�อให้้ผู้�ใช้้งานสามารถขอรัับบริิการได้้อย่่างรวดเร็็ว พร้้อมทั้้�ง
แสดงสถานที่่�ตั้�งซึ่�ง่ เชื่อ่� มโยงกับั Google Map และเบอร์โ์ ทรศัพั ท์์ติดิ ต่อ่ ของหน่่วยงานนั้้น� ๆ

๙๐ ปี 189

ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี

การประชาสััมพัันธ์์ข้้อมููลข่่าวสาร เพื่่�อให้้คนพิิการสามารถรัับข้้อมููลข่่าวสารที่่�สำ�ำ คััญที่่�เป็็น
ประโยชน์์กัับคนพิิการได้้อย่่างถููกต้้อง รวดเร็็ว และเป็็นประโยชน์์แก่่คนพิิการเข้้าถึึงสิิทธิิประโยชน์์
อย่า่ งเท่่าเทียี ม
การจััดทำำ�แอปพลิิเคชัันบััตรประจำำ�ตััวคนพิิการดิิจิิทััล จึึงเป็็นอีีกนวััตกรรมหนึ่่�งที่่�จะอำ�ำ นวย
ความสะดวกให้้กัับคนพิิการและเจ้้าหน้้าที่่�ภาครััฐในการปฏิิบััติิราชการในยุุคโควิิด-19 ที่่�เกี่�ยวข้้องกัับ
การส่่งเสริิมและพััฒนาคุุณภาพชีีวิิตคนพิิการให้้สามารถปฏิิบััติิงานได้้อย่่างสะดวกรวดเร็็ว ช่่วยเหลืือ และเข้้าถึึง
คนพิิการได้้ดีีขึ้�้นกว่่าเดิิม ปฏิิบััติิงานได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพมากยิ่�งขึ้�้น ลดการมาติิดต่่อราชการโดยตรง
ที่่�สำำ�นัักงาน เป็็นการเพิ่่�มระยะห่่างทางสัังคม (Social Distancing) โดยนำ�ำ เทคโนโลยีีมาประยุุกต์์ใช้้ นำำ�ไปสู่�่
การส่่งเสริมิ ศัักยภาพและเพิ่่ม� ผลิิตภาพของคนพิกิ ารให้ม้ ีคี วามสามารถในการทำำ�งานที่่เ� หมาะสมกัับข้้อจำ�ำ กััด
ของตนเองและสามารถพึ่่�งพาตนเองได้้ และสร้้างสัังคมไทยให้้เป็็น “สัังคมแห่่งโอกาส” ประชาชนมีีคุุณภาพ
ชีีวิิตที่่�ดีี สามารถอยู่�่ในสัังคมได้้อย่่างมีีความสุุข เท่่าเทีียม และมีีส่่วนร่่วมนำ�ำ การเปลี่�ยนแปลงสู่่�โลกใหม่่
หลังั โควิิด-19 อย่่างยั่ง� ยืืน

190 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

การดำ�เนินการแก้ไขปั ญหาในสถานการณ์แพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

กองอ�ำ นวยการรกั ษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจกั ร

พลเอก ประยุุทธ์์ จัันทร์์โอชา นายกรััฐมนตรีี ในฐานะผู้้�อำ�ำ นวยการรัักษาความมั่่�นคงภายใน
ราชอาณาจัักร ได้้อนุุมััติิให้้กองอำำ�นวยการรัักษาความมั่่�นคงภายในราชอาณาจัักร หรืือ กอ.รมน. จััดตั้�ง
ศููนย์์อำำ�นวยการรัักษาความมั่่�นคงภายใน (ศรมน.) ขึ้้�นเมื่�่อวัันที่่� ๒๖ มีีนาคม ๒๕๖๓ เพื่�่อให้้การดำำ�เนิินงาน
แก้้ไขปััญหาสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019 เป็็นไปอย่่างเหมาะสม
และมีปี ระสิิทธิิภาพ โดยมีหี น้้าที่่แ� ละอำำ�นาจ ดัังนี้้�
ดำ�ำ เนิินงานแก้้ไขปััญหาสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019 ให้้เป็็นไป
อย่า่ งเหมาะสมและมีปี ระสิิทธิิภาพ
วางแผน อำ�ำ นวยการ ประสานงาน และกำำ�กัับดููแล การปฏิิบััติิของพลเรืือน ตำำ�รวจ ทหาร
และกำ�ำ ลัังกึ่�งทหาร ที่่�ร่่วมปฏิิบัตั ิภิ ารกิจิ รัักษาความมั่่น� คงภายในราชอาณาจัักร
ติิดตาม ตรวจสอบ ประเมิินแนวโน้้มของสถานการณ์์ที่่�อาจก่่อให้้เกิิดภััยคุุกคามด้้านความมั่่�นคง
ภายในราชอาณาจัักรและในส่ว่ นที่่�มีีผลกระทบ
อำ�ำ นวยการ ประสานงาน กำ�ำ กัับดููแล และนำ�ำ มวลชนเข้้ามามีีส่่วนร่่วมในการรัักษาความสงบ
เรีียบร้้อย รวมทั้้�งการส่่งเสริิมให้้ประชาชนมีีส่่วนร่่วมในการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาที่่�มีีผลกระทบ
ต่่อความมั่่น� คง

๙๐ ปี 191

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

ขัับเคลื่�่อนการปฏิิบััติิงานของ กอ.รมน. ร่่วมกัับส่่วนราชการ พลเรืือน ตำำ�รวจ ทหาร
และภาคส่่วนต่า่ ง ๆ ในการป้้องกันั แก้ไ้ ขปััญหาที่่ไ� ด้ร้ ับั มอบหมาย
ร่่วมปฏิิบััติิงานและสนัับสนุุนการปฏิิบััติิงานของส่่วนงานอื่่�นที่่�เกี่�ยวข้้องหรืือตามที่่�ได้้รัับมอบหมาย
ประสานงาน กำ�ำ กัับการ ติิดตาม ประเมิินผลและเสริิมการปฏิิบััติิภารกิิจตามที่่�ได้้รัับมอบหมาย
ทั้้�งนี้้� ศรมน. ได้้จััดผู้�แทนเข้้าประชุุมร่่วมกัับส่่วนราชการต่่าง ๆ เพื่�่อดำ�ำ เนิินงานแก้้ไขสถานการณ์์การแพร่่ระบาด
ของโรคติิดเชื้�อไวรัสั โคโรนา 2019 ดังั นี้้�
- กอ.รมน. ส่่วนกลาง โดย ศรมน. ประชุุมติิดตามสถานการณ์์การแพร่่ระบาดโรคติิดเชื้�อไวรััส
โคโรนา 2019 กัับ กอ.รมน.ภาค เพื่่�อประสานการปฏิิบััติิตามคำ�ำ สั่่�งและนโยบายของรััฐบาล และ
ร่่วมประชุุมกัับศููนย์์ปฏิิบััติิการแก้้ไขสถานการณ์์ฉุุกเฉิินด้้านความมั่่�นคง ซึ่�่งมีีผู้้�บััญชาการทหารสููงสุุด
เป็็นหััวหน้้าศููนย์์
- ประสานการปฏิิบััติิที่่� ๓ กอ.รมน. กำ�ำ กัับดููแลในเรื่�่องหน้้ากากอนามััยตั้�งแต่่การผลิิตในแต่่ละวััน
การจััดส่่งไปยัังโรงพยาบาลต่่าง ๆ ในระบบสาธารณสุุข โดยให้้ กอ.รมน.จัังหวััด ตรวจสอบปลายทาง
ในพื้้�นที่่�ว่่า ได้้รัับหน้้ากากอนามััยตามจำ�ำ นวนที่่�ถููกต้้อง ตามแผนของรััฐบาลหรืือไม่่ และรายงานปััญหา
ข้อ้ ขัดั ข้้อง ให้้ได้ร้ ับั ทราบ โดยให้้ กอ.รมน.ภาค กำ�ำ กับั ดููแล
- กอ.รมน.จัังหวััด ซึ่่�งเป็็นกลไกหลัักในการบัังคัับใช้้กฎหมายและข้้อกำ�ำ หนดเพิ่่�มเติิมในการควบคุุม
พื้้�นที่่�ระดัับตำำ�บล อำำ�เภอ และ จัังหวััด โดยให้้ รอง ผอ.รมน.จัังหวััด เป็็นผู้้�รัับผิิดชอบในการดำ�ำ เนิินการ
ประสานงาน
- สำำ�นัักกิิจการมวลชนและสารนิิเทศ กอ.รมน. ดำ�ำ เนิินการประชาสััมพัันธ์์ในการป้้องกัันการแพร่่ระบาด
ของโรคโควิิด-19 ในพื้้�นที่่� กอ.รมน. และชุุมชนในเขตดุุสิิต เขตพระนคร โดยลงบทความเกี่�ยวกัับโรคโควิิด-19
การป้้องกััน และการปฏิิบััติิตามนโยบายของรััฐบาล ในวารสารข่่าว กอ.รมน. รายเดืือน ส่่งให้้กัับ
กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จัังหวััดทั่่�วประเทศ การออกอากาศเกี่�ยวกัับโรคโควิิด-19 เพื่�่อสร้้างการรัับรู้�
และขอความร่่วมมืือกัับประชาชนในการปฏิิบััติิตามคำ�ำ สั่่�ง และข้้อกำำ�หนดของรััฐบาล ทางสถานีีวิิทยุุ
กระจายเสีียงเครืือข่่ายกองทััพบก “รายการสยามานุุสติิ” รวมทั้้�งการจััดทำำ�ป้้าย (เว้้นระยะห่่าง ใส่่หน้้ากาก
ล้้างมืือ งดสััมผััส) ติิดตั้�งตามเส้้นทางและในชุุมชน ตลอดจนจััดรถประชาสััมพัันธ์์เคลื่�่อนที่่�กระจายเสีียง
ในชุมุ ชน และตลาด ในเขตดุสุ ิิต และเขตพระนคร เพื่่�อรณรงค์์และสร้า้ งการรับั รู้�ให้้กับั ประชาชนในพื้้�นที่่�
- กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จัังหวััด ที่่�มีีเขตติิดต่่อกัับประเทศเพื่่�อนบ้้าน ให้้เตรีียมมาตรการ
รองรัับการเดิินทางกลัับเข้้าประเทศของคนไทยจากประเทศเพื่�่อนบ้้านและจััดตั้ �งจุุดตรวจตามแนวชายแดน
เพื่อ�่ ควบคุมุ เฝ้้าระวังั การแพร่เ่ ชื้�อเข้า้ มาในประเทศ
- การป้้องกัันและควบคุุมการแพร่่เชื้�อจากภายนอกประเทศเข้้ามาสู่�่ประเทศไทย ให้้ กอ.รมน.ภาค
และ กอ.รมน.จัังหวััด ประสานงานกัับส่่วนราชการในพื้้�นที่่� ดำำ�เนิินการจััดเตรีียมสถานที่่�ในการกัักตััวคนไทย
ที่่�เดิินทางมาจากต่่างประเทศ เป็็นระยะเวลา ๑๔ วััน ตามที่่�รััฐบาลกำ�ำ หนดเพื่่�อเฝ้้าระวัังและตรวจสอบการติิดเชื้�อ
ที่่เ� รีียกว่่า State Quarantine และ Local Quarantine
- ประสานงาน กอ.รมน.จัังหวััด ที่่�มีีผู้�ติิดเชื้�อจำ�ำ นวนมากเพื่่�อดำำ�เนิินการในการประสานหาพื้้�นที่่�
ในการจััดตั้�งโรงพยาบาลสนาม และ Hospitel ปรัับเปลี่�ยนโรงแรมเป็็นพื้้�นที่่�เฝ้้าระวัังอาการติิดเชื้�อไวรััส
โคโรนา 2019 เพื่�่อรองรัับผู้�ติดิ เชื้อ� ที่่�มีีจำำ�นวนมากจนโรงพยาบาลไม่่สามารถจะรองรับั ได้้
- การเข้้าประชุุมร่่วมกัับศููนย์์ปฏิิบััติิการ ศููนย์์บริิหารสถานการณ์์โควิิด-19 (ศปก.ศบค.)
ทุุกวัันจัันทร์์ และวัันพฤหััสบดีี เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. เพื่่�อหาแนวทางการแก้้ปััญหาที่่�เกิิดขึ้�้น
ระหว่่างการปฏิบิ ััติิตามมาตรการที่่� ศบค. ได้้กำ�ำ หนด นอกจากนี้้�ยัังเป็็นการประชุุมเพื่อ่� หารืือกรอบแนวทาง

192 ๙๐ ปี

ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี

เพื่�่อเสนอต่่อ ศบค. ในการแก้้ไขปััญหาการแพร่่ระบาดของไวรััสโคโรนา 2019 ให้้สอดคล้้องกัับสถานการณ์์
ที่่�เปลี่ �ยนแปลงไป
- การประชุุมร่่วมกัับศููนย์์บรรเทาสาธารณภััย กระทรวงกลาโหม (ศบภ.กห.) ทุุกวัันศุุกร์์
เวลา ๐๙.๐๐ น. เป็็นการประชุุมเพื่่�อชี้�แจงสรุุปผลการดำำ�เนิินงานเพื่่�อช่่วยเหลืือประชาชนในสถานการณ์์
การแพร่่ระบาดของไวรััสโคโรนา 2019
- การประชุุมร่่วมกัับศููนย์์ปฏิิบััติิการแก้้ไขสถานการณ์์ฉุุกเฉิินด้้านความมั่่�นคง (ศปม.) ทุุกวัันอัังคาร
และวัันศุุกร์์ เวลา ๑๕.๐๐ น. เป็็นการประชุุมระหว่่างหน่่วยงานความมั่่�นคง เพื่�่อประสานการปฏิิบััติิหน่่วย
ระดัับนโยบาย หารืือแนวทางให้ห้ น่่วยรองระดับั พื้้น� ที่่�ปฏิิบััติิได้ส้ อดคล้้องเหมาะสมและมีปี ระสิิทธิิภาพ
- การประชุุม ศรมน. ทุุกวัันพฤหััสบดีี เวลา ๑๓.๓๐ น. เป็็นการประชุุมร่่วมกัันระหว่่างหน่่วยของ
กอ.รมน.ส่่วนกลาง และ กอ.รมน.ภาค เพื่�่อชี้�แจงข้้อมููลจากการประชุุม ศปก.ศบค. ให้้ กอ.รมน.ภาค
ได้ร้ ับั ทราบ
- การดำำ�เนิินการช่่วยเหลืือประชาชนในช่่วงที่่�มีีการระบาดของโรคติิดเชื้�อไวรััสโคโรนา 2019
กอ.รมน. ได้้บููรณาการร่่วมกัับกองทััพบก โดยได้้ดำ�ำ เนิินการจััดยานพาหนะทั้้�งทางบก และทางอากาศสนัับสนุุน
การเคลื่่�อนย้้ายผู้้�ป่่วยกลับั ไปรักั ษาตัวั ในภููมิิลำำ�เนาของตน
- การเคลื่�่อนย้้ายผู้้�ป่่วยด้้วยอากาศยาน ไปจัังหวััดน่่าน เมื่�่อวัันที่่� ๒๐ สิิงหาคม ๒๕๖๔
เคลื่่อ� นย้้ายผู้้�ป่่วยด้้วยอากาศยาน mi-17
- นอกจากนี้้� กอ.รมน. และกองทััพบก กอ.รมน. ภาค และกองทััพภาค ยัังได้้สนัับสนุุนยานพาหนะ
ในการเคลื่่�อนย้า้ ยผู้้�ป่ว่ ยส่ง่ ต่อ่ ไปยััง โรงพยาบาลสนามและ Community Isolation (CI)

๙๐ ปี 193

ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

สำ�นักงานสภาความม่นั คงแหง่ ชาติ กับ
นวตั กรรมเพ่ือการปฏิบัติราชการในยุคโควดิ -19

สำ�นักงานสภาความมัน่ คงแหง่ ชาติ

สำ�ำ นัักงานสภาความมั่่�นคงแห่่งชาติิ หรืือ สมช. มีีภารกิิจหน้้าที่่�สำ�ำ คััญตามพระราชบััญญััติิสภาความมั่่�นคง
แห่่งชาติิ พ.ศ. ๒๕๕๙ คืือ จััดทำำ�ร่่างนโยบายและแผนระดัับชาติิว่่าด้้วยความมั่่�นคงแห่่งชาติิ เสนอแนะ
และให้้ความเห็็นต่่อสภาความมั่่�นคงแห่่งชาติิหรืือคณะรััฐมนตรีีเพื่�่อประกอบการพิิจารณากำ�ำ หนดนโยบาย
ยุุทธศาสตร์์ แผนงานที่่�เกี่�ยวข้้องกัับความมั่่�นคงแห่่งชาติิ ติิดตาม ประเมิิน วิิเคราะห์์ และแจ้้งเตืือน
สถานการณ์์ด้้านความมั่่�นคง สภาวะแวดล้้อมด้้านความมั่่�นคงในเชิิงยุุทธศาสตร์์ พิิสููจน์์ทราบและคาดการณ์์
ภััยคุุกคาม และการประเมิินกำำ�ลัังอำ�ำ นาจของชาติิ ประสานงานหรืือร่่วมมืือกัับหน่่วยงานต่่างประเทศ
ในกิิจการด้้านความมั่่�นคงระหว่่างประเทศ ด้้านความมั่่�นคงในเชิิงยุุทธศาสตร์์ ด้้านการประเมิินสภาวะ
แวดล้้อม และด้้านวิชิ าการที่่�เกี่ย� วกัับความมั่่�นคง

194 ๙๐ ปี

ส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

จากสถานการณ์์การแพร่่ระบาดของโรคติิดเชื้้�อไวรััสโคโรนา 2019 หรื อโรคโควิิด-19 ทำำ�ให้้เกิิดผลกระทบ
ต่่อการดำำ�รงชีีวิิตและความเป็็นอยู่่ข� องประชาชนในสัังคมอย่่างกว้้างขวาง จึึงส่่งผลให้้ประชาชนต้้องปรัับเปลี่่�ยน
พฤติิกรรมการดำ�ำ เนิินชีีวิิตในด้้านต่่าง ๆ ซึ่่�งรวมไปถึึงการปฏิิบััติิงานไม่่ว่่าจะเป็็นทั้้�งในส่่วนของภาครััฐหรืือ
เอกชน โดยมีีการเว้้นระยะห่่างทางสัังคม (Social Distancing) ในการปฏิิบััติิงาน การกำำ�หนดรููปแบบ
การปฏิิบััติิงานต่่าง ๆ ขึ้�นมา อาทิิ การปฏิิบััติิงานที่�บ้้าน (Work from Home) ทั้�งนี้� สำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิ
ได้้ตระหนัักถึึงความสำำ�คััญของการป้้องกัันการแพร่่ระบาดของโรคโควิิด-19 จึึงได้้กำ�ำ หนดมาตรการที่่�เกี่�ยวข้้อง
ในการปฏิบิ ัตั ิิงานเพื่่�อป้้องกันั การแพร่่ระบาดของโรคดังั กล่่าว เนื่่อ� งจากภารกิิจของสำ�ำ นัักงานสภาความมั่น� คง
แห่่งชาติิ โดยส่่วนใหญ่่มีีความเกี่�ยวข้้องกัับการประชุุมหารืือกัับหน่่วยงาน และภาคส่่วนต่่าง ๆ ที่่�เกี่�ยวข้้อง
ดัังนั้้�น สำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิจึึงนำ�ำ ระบบการประชุุมทางไกลผ่่านสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์มาใช้้
ประกอบการปฏิิบััติิงาน โดยรููปแบบของการประชุุมต่่าง ๆ สำำ�นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิมีีทั้้�งการเชิิญผู้�แทน
หน่่วยงานที่่�เกี่�ยวข้้อง มาประชุุม ณ สำำ�นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิ และให้้ผู้�แทนหน่่วยงานบางส่่วนเข้้าร่่วม
การประชุุมโดยผ่่านระบบการประชุุมทางไกลผ่่านสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ หรืืออาจให้้ผู้�เข้้าร่่วมประชุุมทั้้�งหมดเข้้าร่่วม
การประชุุมโดยผ่า่ นระบบการประชุมุ ทางไกลผ่่านสื่อ� อิิเล็ก็ ทรอนิิกส์์

การประชุุมทางไกลผ่่านสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์นอกจากจะลดความเสี่�ยงในการแพร่่ระบาดของโรคโควิิด-19 แล้้ว
ยัังเป็็นการประหยััดเวลาและค่่าใช้้จ่่ายในการเดิินทางเข้้าร่่วมประชุุม และยัังมีีความสะดวกสบายในการประชุุม
เนื่่�องจากสามารถเข้้าร่่วมประชุุมจากที่่�ใดก็็ได้้ ซึ่�่งในส่่วนของสำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิได้้มีีการจััดซื้�้อ
โปรแกรม Zoom Cloud Meetings เพื่่�อรองรัับการปฏิิบััติิงานและอำ�ำ นวยความสะดวกให้้แก่่หน่่วยงานภายใน
กัับภาคส่่วนที่่�เกี่ย� วข้้อง

๙๐ ปี 195

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

นอกจากการดำ�ำ เนิินการข้้างต้้นแล้้ว สำ�ำ นัักงานสภาความมั่ �นคงแห่่งชาติิยัังได้้จััดทำ�ำ “ระบบ
อิิเล็็กทรอนิิกส์์ในการรายงานผลการดำ�ำ เนิินงานขัับเคลื่่�อนแผนความมั่่�นคงเฉพาะเรื่�่อง (Electronic
Assessment Reports)” (https://ear.nsc.go.th/) เพื่่�อเป็็นนวััตกรรมในการบริิหารจััดการและ
การติิดตามประเมิินผลแผนความมั่ �นคงเฉพาะเรื่ �องให้้สามารถตอบสนองต่่อภารกิิจตามหน้้าที่่�อำำ�นาจได้้อย่่าง
มีีประสิิทธิิภาพมากขึ้�น โดยใช้้แทนรููปแบบเดิิมที่่�เป็็นเอกสาร (Paper - based) ที่่�ยากต่่อการนำ�ำ ข้้อมููลมาใช้้
วิิเคราะห์์หรืือประเมิินผลในเชิิงสถิติ ิิ โดยมีรี ายละเอียี ด ดังั นี้้�

๑. แผนความมั่่�นคงเฉพาะเรื่่�อง ปััจจุุบัันระบบ EAR ถููกจััดทำ�ำ ขึ้้�นเพื่่�อรองรัับการรายงานผลการ
ดำำ�เนิินงานขัับเคลื่�อนแผนความมั่�นคงเฉพาะเรื่�องนำ�ำ ร่่อง จำ�ำ นวน ๔ แผน จาก ๔ กอง ได้้แก่่ (๑) แผนปฏิิบััติิการ
ด้้านการป้้องกัันและแก้้ไขปััญหาความไม่่สงบในจัังหวััดชายแดนใต้้ (๒) แผนการพััฒนาพื้�้นที่่�เพื่่�อเสริิม
ความมั่ �นคงของชาติิ (๓) แผนปฏิิบััติิการด้้านการบริิหารจััดการผู้�หลบหนีีเข้้าเมืือง (๔) แผนความมั่ �นคง
แห่่งชาติิทางทะเล ทั้้�งนี้้� สำ�ำ นัักงานสภาความมั่ �นคงแห่่งชาติิมุ่�งหวัังที่่�จะขยายผลการดำ�ำ เนิินการระบบ EAR
ให้้ครอบคลุมุ ทุุกแผนงานต่่อไป

๒. การประมวลผล/แสดงผลในภาพรวม ของข้้อมููลต่่าง ๆ ที่่�นำำ�เข้้าในระบบ โดยสามารถแสดงข้้อมููล
อาทิิ ข้้อมููลแผนงาน/โครงการ แยกตามหน่่วยงาน แยกตามแนวทางการพััฒนาและตััวชี้�วััดตามแนวทาง
แยกตาม แผนงาน/โครงการ ปกติิ และแผนงาน/โครงการสำำ�คััญ (Flagship Project) และแยกตาม
จังั หวัดั อำ�ำ เภอ แสดงบนแผนที่่�ประเทศไทย

196 ๙๐ ปี

สำ�นักนายกรัฐมนตรี

โดยการนำำ�ระบบ EAR มาใช้้เป็็นการลดขั้�นตอนการดำำ�เนิินงานและลดระยะเวลาในการรายงานผลรวม
ทั้้�งมีีความสะดวกรวดเร็็วในการประมวลผล/แสดงผลในภาพรวม สามารถส่่งผลต่่อการวางแผนกำำ�หนด
ทิิศทาง แนวทาง มาตรการป้้องกััน หรืือการแก้้ไขปััญหาเกี่�ยวกัับความมั่ �นคงแห่่งชาติิได้้อย่่างทัันท่่วงทีี
ตลอดจนเสริิมสร้้างประสิิทธิิภาพในการแจ้้งเตืือน ระงัับ ยัับยั้�ง ภััยคุุกคามด้้านความมั่�นคง อัันจะนำ�ำ ไปสู่�่
การบรรลุุเป้้าหมายของยุุทธศาสตร์์ชาติิด้้านความมั่�นคง และสะท้้อนถึึงการบรรลุุเป้้าหมายของยุุทธศาสตร์์ชาติิ
ได้้ร่ว่ มกันั

นอกจากการประชุุมทางไกลผ่่านสื่�ออิิเล็็กทรอนิิกส์์ และการจััดทำ�ำ ระบบอิิเล็็กทรอนิิกส์์ในการรายงาน
ผลการดำำ�เนิินงานขัับเคลื่�อนแผนความมั่�นคงเฉพาะเรื่�อง (Electronic Assessment Reports) สำำ�นัักงาน
สภาความมั่�นคงแห่่งชาติิยัังได้้แต่่งตั้�งคณะทำำ�งานพััฒนาระบบเทคโนโลยีีดิิจิิทััลของสำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคง
แห่่งชาติิ โดยมีีผู้้�ช่่วยเลขาธิิการสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิ เป็็นประธานคณะทำ�ำ งาน ผู้้�อำ�ำ นวยการ
ศููนย์์เทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่�อสาร เป็็นเลขานุุการ มีีหน้้าที่�และอำ�ำ นาจในการพิิจารณาแนวทางการดำำ�เนิินการ
พััฒนาด้้านดิิจิิทััลของสำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิ ให้้สอดคล้้องกัับนโยบายรััฐบาลดิิจิิทััล พิิจารณา
กฎหมาย ระเบีียบ หรืือทบทวนการปฏิิบััติิงาน ให้้สอดรัับกัับแนวทางการนำ�ำ เทคโนโลยีีดิิจิิทััลมาสนัับสนุุน
การปฏิิบััติิงาน พิิจารณาแนวทางการปรัับปรุุงการปฏิิบััติิงานของสำ�ำ นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิให้้อยู่�่ในรููปแบบ
สำำ�นัักงานอิิเล็็กทรอนิิกส์์ ประสาน ส่่งเสริิม สนัับสนุุนการบริิหารจััดการระบบข้้อมููลสารสนเทศของ
สำำ�นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิ ให้้ทัันสมััยเป็็นประโยชน์์ต่่อการปฏิิบััติิงาน รวมทั้้�งพิิจารณาเชื่�อมโยง
ข้้อมููลและบููรณาการการทำ�ำ งานกัับกัับส่่วนราชการด้้านความมั่�นคงอื่�น เพื่่�อให้้เกิิดประสิิทธิิภาพสููงสุุดอีีกด้้วย
จากการดำำ�เนิินการดัังกล่่าวได้้สะท้้อนให้้เห็็นว่่าสำำ�นัักงานสภาความมั่�นคงแห่่งชาติิตระหนัักและให้้ความสำ�ำ คััญ
ต่่อการนำ�ำ ระบบเทคโนโลยีีดิิจิิทััลมาปรัับปรุุง พััฒนา ประยุุกต์์ใช้้ประโยชน์์ในการปฏิิบััติิงานที่่�เกี่�ยวข้้อง เพื่่�อก้้าว
เข้า้ สู่่ก� ารเป็็นสำำ�นัักงานอิิเล็ก็ ทรอนิกิ ส์์อย่่างเต็็มรููปแบบต่่อไป

๙๐ ปี 197

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี

เทคโนโลยีกับการพัฒนางานข่าวกรองในยุคดิจทิ ัล

สำ�นักข่าวกรองแหง่ ชาติ

เมื่�อโลกกำ�ำ ลัังหมุุนเข้้าสู่่�ยุุคดิิจิิทััลอย่่างเต็็มตััว การมาของโรคโควิิด-19 ก็็เป็็นตััวเร่่งให้้ปฏิิกริิยา
เกิิดเร็็วขึ้�น สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้เร่่งปรัับตััว และปรัับระบบการจััดการเพื่่�อให้้มีีประสิิทธิิภาพเท่่าทััน
ยุุคสมััย และนำำ�การพััฒนาของเทคโนโลยีีเข้้ามาช่่วยการทำำ�งาน เพิ่่�มรููปแบบในลัักษณะของสำ�ำ นัักงานเคลื่�อนที่่�
(Mobile Office) เพื่่�อมิิให้้งานด้้านการข่่าวกรองของประเทศหยุุดชะงััก โดยนำำ�เทคโนโลยีีดิิจิิทััลที่่�มีีความ
ปลอดภััยสููงมาประยุุกต์์ใช้้ เพื่่�อปรัับเปลี่่�ยนกระบวนการทำ�ำ งาน วััฒนธรรมองค์์กร ไปจนถึึงการสร้้าง
ประสบการณ์ใ์ หม่่ ๆ ให้้กับั บุคุ ลากรของสำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิ เช่น่ การพัฒั นาระบบห้้องประชุุมออนไลน์์

198 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรฐั มนตรี

ที่่�ปลอดภััย การออกแบบระบบลงเวลาเข้้า - ออกในที่่�ทำำ�งาน ระบบการขออนุุญาตเข้้าพื้้�นที่่�ทำำ�งานในช่่วง
การแพร่่ระบาดรุุนแรง ระบบการรัับ - ส่่งเอกสารให้้สามารถทำำ�งานแบบ Work form Home เข้้าถึึงข้้อมููล
และเอกสารอย่่างรวดเร็็วทุกุ ที่่�และทุกุ เวลา

ด้้านการอำำ�นวยการข่่าว สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้นำำ�เทคโนโลยีีปััญญาประดิิษฐ์์มาใช้้ในการรวบรวม
จััดการและวิิเคราะห์์ข้้อมููลให้้กัับงานข่่าวกรอง ซึ่�่งปััจจุุบัันอยู่�่ระหว่่างการพััฒนาคุุณภาพของเทคโนโลยีี
เพื่่�อให้้เกิิดประสิิทธิิภาพและความปลอดภััยในการจััดการข้้อมููล นอกจากนี้้� ในภารกิิจด้้านการสืืบสวน
ที่่�อยู่่�บนโลกออนไลน์์ สำำ�นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้นำ�ำ เทคโนโลยีีมาใช้้ในการสืืบสวนการบ่่อนทำำ�ลาย
ความมั่�นคงของชาติิ อาทิิ กลุ่�มก่่อการร้้ายข้้ามชาติิ กลุ่�มอาชญากรรมระหว่่างประเทศ กลุ่�มบิิดเบืือน
ข้อ้ มููลข่า่ วสาร ที่่ส� ร้า้ งความแตกแยกทางสัังคม

ขณะเดีียวกััน สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้ปรัับตััวให้้สอดคล้้องกัับยุุทธศาสตร์์ชาติิ 20 ปีี
ในยุุทธศาสตร์์ด้้านการปรัับสมดุุลและพััฒนาระบบบริิหารจััดการภาครััฐ เพื่่�อปรัับเปลี่่�ยนองค์์กร โดยยึึดหลััก
“ภาครััฐของประชาชน เพื่่�อประชาชน และประโยชน์์ส่่วนรวม” ให้้เป็็นองค์์กรสมััยใหม่่ เปิิดกว้้าง เชื่�อมโยง
ถึึงกััน ประชาชนสามารถเข้้าถึึงบริิการข้้อมููลข่่าวสารผ่่านสื่�อออนไลน์์ของสำำ�นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิ อาทิิ
เว็็บไซต์์ The Intelligence (https://intsharing.co) ซึ่่�งเป็็นเว็็บไซต์์ที่่�ให้้บริิการข่่าวสารความรู้�
ด้้านสถานการณ์์ความมั่ �นคงต่่อสาธารณะ เว็็บไซต์์สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิ (https://www.nia.go.th)
เว็็บไซต์์องค์์การรัักษาความปลอดภััยฝ่่ายพลเรืือน (https://secnia.go.th) รวมถึึงการให้้ความรู้� และบริิการ
ทางวิิชาการด้้านความมั่�นคงศึึกษาให้้แก่่หน่่วยงานภาครััฐและประชาคมข่่าวกรอง ส่่งผลให้้หน่่วยงาน
ที่่�เกี่�ยวข้้องสามารถนำำ�ข้้อมููลข่่าวสารสำำ�คััญ การประเมิินแนวโน้้มสถานการณ์์ ผลกระทบจากการแพร่่ระบาด
ของโรคโควิดิ -19 ไปใช้ใ้ นการบริหิ ารจัดั การให้้เกิิดประสิทิ ธิิภาพตามบทบาทหน้า้ ที่่�ของหน่ว่ ยงาน

๙๐ ปี 199

ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี

ภารกิิจด้้านการบููรณาการข่่าวกรองกัับประชาคมข่่าวกรอง สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้มุ่�งเน้้น
การพััฒนาระบบฐานข้้อมููลด้้านการข่่าวที่่�เชื่�อมโยง และสร้้างเครืือข่่ายความร่่วมมืือกัับหน่่วยในประชาคม
ข่่าวกรองและหน่่วยงานทั่่�วไป ภายใต้้การทำำ�งานของศููนย์์ประสานข่่าวกรองแห่่งชาติิ เพื่่�อเสริิมสร้้างประสิิทธิิภาพ
ของงานข่่าวกรองแบบบููรณาการบนฐานข้อ้ มููลร่่วมกัันในการตรวจสอบ เฝ้้าระวังั และแจ้้งเตืือน

ด้้านการรัักษาความปลอดภััยฝ่่ายพลเรืือน เป็็นหนึ่่�งในภารกิิจสำ�ำ คััญของสำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิ
การรัักษาความปลอดภััยบุุคคล เอกสาร และสถานที่่� สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้นำ�ำ เทคโนโลยีีดิิจิิทััล
ที่่�หลากหลายมาปรัับใช้้ และให้้คำำ�แนะนำ�ำ แก่่หน่่วยราชการ รััฐวิิสาหกิิจ ในการรัักษาความปลอดภััย
การติิดต่่อสื่�อสารผ่่านสื่�อสัังคมออนไลน์์ โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งการส่่งข้้อมููลข่่าวสารลัับของราชการผ่่าน
สื่�ออิเิ ล็็กทรอนิกิ ส์์

จากการแพร่่ระบาดของโรคโควิิด-19 ส่่งผลให้้มนุุษย์์มีีชีีวิิตอยู่่�บนโลกออนไลน์์อย่่างหลีีกเลี่�ยงไม่่ได้้
สิ่�งที่่�เกิิดขึ้�นตามมา คืือ ความเสี่�ยงจากภััยคุุกคามทางไซเบอร์์ที่่�นัับวัันจะยิ่�งทวีีความรุุนแรงมากขึ้�น
สำำ�นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิจึึงเร่่งพััฒนาศููนย์์ปฏิิบััติิการความมั่�นคงปลอดภััยไซเบอร์์ เพื่่�อเป็็นการแจ้้งเตืือนภััยคุุกคาม
ทางไซเบอร์์ ประสานงาน และเป็็นศููนย์์กลางในการกระจายข่่าวสาร ข่่าวกรองด้้านการรัักษาความมั่�นคง
ปลอดภััยไซเบอร์์

ท่่ามกลางสถานการณ์์ที่่�โลกต้้องเผชิิญกัับภััยคุุกคามรููปแบบใหม่่ และผสมผสานไปกัับภััยคุุกคาม
รููปแบบเก่่า สำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิได้้บริิหารงาน โดยมุ่่�งผลัักดัันบุุคลากรในองค์์กรฝึึกฝน เรีียนรู้�
และพััฒนาตััวเองให้้สามารถก้้าวข้้ามขีีดจำำ�กััดแบบเดิิม การพััฒนาทัักษะดิิจิิทััลให้้กัับบุุคลากร
สำำ�นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิเป็็นเรื่�องสำำ�คััญ เพื่่�อให้้สามารถร่่วมมืือกัันขัับเคลื่�อนองค์์กร อีีกทั้้�งต้้องพััฒนา
บุุคลากรให้้เป็็นนัักคิิด นัักพััฒนา และนัักแก้้ปััญหา ซึ่่�งทั้้�งหมดเกิิดจากเรีียนรู้�และการสั่�งสมประสบการณ์์
จุุดหมาย คืือ บุุคลากรสำ�ำ นัักข่่าวกรองแห่่งชาติิสามารถปรัับตััวและก้้าวทัันต่่อการเปลี่่�ยนแปลงใหม่่ ๆ
อยู่่เ� สมอ

200 ๙๐ ปี

สำ�นกั นายกรัฐมนตรี


Click to View FlipBook Version