The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เข้มแข็งจากภายใน ฟื้นตัวอย่างมีความรับผิดชอบ จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวของภูมิภาค <br>(Strength from within - responsible recovery, regional tourism connectivity)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

เข้มแข็งจากภายใน ฟื้นตัวอย่างมีความรับผิดชอบ จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวของภูมิภาค <br>(Strength from within - responsible recovery, regional tourism connectivity)

Keywords: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา,แผนพัฒนาการท่องเที่ยว

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) i

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ii

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
จดั ทาและเผยแพรโ่ ดย สานกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา

๔ ถนนราชดาเนินนอก แขวงวดั โสมนัส เขตปูอมปราบศัตรูพา่ ย กรงุ เทพ ๑๐๑๐๐
โทร. ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๗๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๓ ๑๕๗๖

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) iii

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

คานา

การจดั ทาแผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ เป็นภารกิจของคณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ
(ท.ท.ช.) ที่กาหนดไว้ตามพระราชบญั ญตั นิ โยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซ่ึงที่ผ่านมา
ได้มีการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ เป็นแผนพัฒนาฉบับแรกของประเทศและ
สิ้นสุดลงในปี ๒๕๕๙ ต่อมาจึงได้มีการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๕ ปีถัดมา แต่ในระหว่างระยะดาเนินงานได้เกิดวิกฤตกับ
การท่องเท่ียวเน่ืองจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีมีการแพร่ระบาดไปทั่วโลก ส่งผลกระทบ
ต่อการท่องเที่ยวของทุกประเทศ ทาให้ต้องมีการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๔๖๔ - ๒๕๖๕)
เพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์และสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องตาม
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด 19
และแผนการปฏริ ูปประเทศ ฉบับปรบั ปรงุ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

กระบวนการจดั ทาแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจาก
ทุกภาคส่วน โดยเริ่มต้นต้ังแต่การประเมินผลแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเท่ียวภายในประเทศและต่างประเทศ การทบทวนนโยบายและ
แผนยุทธศาสตรท์ เ่ี กีย่ วข้องกับการท่องเทยี่ ว และการรับฟงั ความคิดเหน็ จากผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง ผ่านการจัดประชุม
กลมุ่ ย่อยและการประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารเพื่อรบั ฟงั ความคิดเห็นร่างแผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

สาระสาคัญของแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้ให้ความสาคัญกับ
การวางรากฐานและแก้ไขปัญหาการหยุดชะงักของการท่องเที่ยวอันเน่ืองมาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 รวมท้ังการสร้างความสมดุลของการพัฒนาทั้งในมิติของพื้นที่ เวลา กิจกรรม รูปแบบ
และกลุ่มนักท่องเที่ยว เพื่อการสร้างรายได้และกระจายรายได้สู่ชุมชน รวมถึงการเตรียมความพร้อมของ
อุตสาหกรรมท่องเท่ียวสู่การเติบโตในอนาคตบนพ้ืนฐานของการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
ตลอดจนการให้ความสาคัญกับการทางานอย่างบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และระหว่าง
ประเทศ ท้ังนี้ เพ่ือให้แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) สามารถใช้เป็นแผนแม่บทใน
การพฒั นาการท่องเท่ยี วไทยส่วู ิสยั ทศั น์ที่คาดหมายได้อย่างแทจ้ รงิ

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ก

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

สารบญั

สรปุ สาระสาคญั แผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ค

สว่ นท่ี ๑ บทนา ๑

สว่ นที่ ๒ สถานการณ์ แนวโนม้ และทศิ ทางการทอ่ งเทยี่ ว ๗

๑. สภาพแวดลอ้ มและบริบทดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว ๗

๒. นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ๓๔

๓. ผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแห่งชาติฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ๓๗

๔. เปูาหมายการพฒั นาศักยภาพของการท่องเที่ยวไทยและโอกาสการพฒั นา ๔๓

การท่องเทีย่ วไทยภายใต้สภาวะการเปล่ียนแปลง

สว่ นท่ี ๓ วสิ ยั ทศั นแ์ ละประเดน็ พัฒนา ๔๗

๑. วิสัยทศั น์การท่องเท่ยี วไทย (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) ๔๘

๒. เปูาหมาย ๔๘

๓. ตวั ชี้วัด ๔๘

๔. พนั ธกจิ ๔๘

๕. ประเดน็ พัฒนา ๔๙

ประเด็นพัฒนาที่ ๑ การพฒั นาคุณภาพแหล่งท่องเทย่ี ว ผผู้ ลติ และขายสนิ ค้า ๕๑

บรกิ าร และผปู้ ระกอบการท่องเทย่ี ว ใหม้ คี วามสามารถในการพร้อมรบั และ

ปรับตวั ให้สอดคล้องกบั บรบิ ททเ่ี ปล่ยี นแปลงไป

ประเดน็ พัฒนาที่ ๒ การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน สงิ่ อานวยความสะดวก และ ๕๒

ปรบั ปรงุ ปัจจยั เอ้ือ ให้สนบั สนุนตอ่ การฟนื้ ตัวและเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว

ประเดน็ พฒั นาท่ี ๓ การพัฒนาบคุ ลากรทงั้ ภาครฐั และเอกชนเพื่อเตรยี มพร้อม ๕๒

สาหรบั การทอ่ งเที่ยวเชงิ คุณภาพ

ประเด็นพฒั นาท่ี ๔ การปรับภาพลักษณ์การท่องเท่ยี วไทย เพ่อื รองรับ ๕๓

นกั ท่องเท่ยี วคุณภาพผา่ นการตลาด

ประเดน็ พัฒนาที่ ๕ การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอยา่ งย่งั ยืน ๕๔

สว่ นที่ ๔ การขับเคล่อื นแผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วสู่การปฏบิ ตั ิ ๘๕

๑. แนวทางการขบั เคลื่อนแผนพัฒนาสกู่ ารปฏบิ ัติ ๘๕

๒. แนวทางการติดตามประเมินผลการพฒั นา ๙๑

ภาคผนวก ๙๒

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ข

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

สรปุ สาระสาคญั
แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

๑. บทนา
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (ท.ท.ช.) มีอานาจและหน้าท่ีหลักในการส่งเสริมการบริหารและ

พัฒนาการท่องเทย่ี ว รวมทงั้ จดั ทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติเสนอตอ่ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ ซึ่งที่
ผ่านมาได้มีการจัดทาแผนพัฒนาไปแล้ว ๒ ฉบับ คือ แผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ -
๒๕๕๙) และแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ซึ่งผลการดาเนินงานในระยะ
ท่ผี า่ นมา แม้จะประสบผลสาเร็จในการเพ่ิมจานวนและรายได้จากการท่องเท่ียว แต่ยังประสบปัญหาและอุปสรรค
สาคัญหลายประการ ประกอบกับสภาพและบริบทต่าง ๆ ท่ีส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเท่ียว
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งปัจจัยภายใน เช่น สถานการณ์การเมืองของประเทศ นโยบายของภาครัฐ
การปรับตัวของภาคเอกชน และปัจจัยภายนอก เชน่ สภาวะการแขง่ ขนั ในอตุ สาหกรรมท่องเท่ียว การเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเท่ียว แนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ความร่วมมือและ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งการเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
ซ่ึงระบาดไปทั่วโลกในปี ๒๕๖๓ ต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน ในการน้ี จึงได้ดาเนินการจัดทาแผนการพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ให้สอดคล้องกับสถานการณ์และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
เพื่อให้การท่องเท่ียวไทยยังคงบทบาทการเป็นสาขาหลักในการรักษาเสถียรภาพและขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศ

การจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้คานึงถึงบริบทของประเทศไทย
ในการพัฒนาภายใต้กรอบการวิเคราะห์แบบองค์รวม โดยสรุปจากการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิท่ีได้สารวจความเห็น
จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง โดยได้มี
การดาเนนิ การตาม ๔ ขั้นตอนหลัก ไดแ้ ก่ (๑) การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ
ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) (๒) การศึกษาสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเที่ยวของประเทศและของโลก
(๓) การทบทวนนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ด้านการท่องเท่ียวของหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง (๔) การรับฟัง
ความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาค เอกชน
และภาคประชาชน/ประชาสังคม ผ่านการจัดประชุมกลุ่มย่อยเพ่ือรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
จากผู้ท่ีเก่ียวข้องด้านการท่องเที่ยวจากทุกภาคส่วนท่ัวประเทศ และการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อ
ข้อเสนอรา่ งแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ค

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

๒. สถานการณ์ แนวโน้ม และทิศทางการท่องเท่ยี ว
๒.๑ สภาพแวดลอ้ มและบรบิ ทดา้ นการท่องเทีย่ ว
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดไปท่ัวโลกของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท่ีเร่ิมต้นขึ้นในเดือน

มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ส่งผลให้หลายประเทศท่ัวโลกประกาศใช้มาตรการปิดประเทศ ให้ประชาชนอยู่แต่ในท่ีพักอาศัย
สถานประกอบการต่าง ๆ ต้องหยุดให้บริการเป็นการช่วั คราว รวมทัง้ มีการใช้มาตรการควบคุมการเดินทางเข้าออก
ประเทศ ประกาศปิดน่านฟูาและพรมแดนระหว่างประเทศ ส่งผลให้การเดินทางท่องเที่ยวทั่วโลกลดลงจนถึง
หยุดชะงัก ก่อให้เกิดความสูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยวเป็นจานวนมหาศาล หลังเกิดการระบาด
หลายประเทศไดพ้ ยายามคิดคน้ และพฒั นาหนทางในการรักษารวมถึงควบคุมการแพร่ระบาด ท้ังการพัฒนายาและ
วัคซีน ซึ่งหลังจากที่ได้เริ่มมีการกระจายการฉีดวัคซีนให้แก่ประชาชนในประเทศต่าง ๆ ทาให้สถานการณ์
การท่องเที่ยวมีแนวโน้มท่ีดีขึ้น โดยพบว่าแนวโน้มการท่องเท่ียวพักผ่อนใกล้บ้าน (Staycation หรือ Vacation
Close to Home) ได้รับความนิยมเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ อีกทั้งรัฐบาลของทุกประเทศทั่วโลกต่างมีนโยบายกระตุ้น
การท่องเที่ยวในประเทศเพ่ือช่วยเหลือธุรกิจท่องเที่ยวในประเทศของตนให้ฟื้นกลับมาในขณะท่ี การเดินทาง
ระหวา่ งประเทศยังไม่สามารถเปิดไดเ้ ต็มท่ี

สาหรบั ประเทศไทยเป็นประเทศทพ่ี ึ่งพาการท่องเที่ยวจากนักท่องเท่ียวต่างชาติมากกว่านักท่องเที่ยว
ในประเทศ การจากัดการเดินทางและมาตรการปิดประเทศจึงส่งผลต่อรายได้ในภาคการท่องเที่ยวอย่างรุนแรง
โดยเฉพาะผลกระทบต่อผู้ประกอบการท่ีอยู่ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ซ่ึงรัฐบาลได้มีความพยายามในการออก
มาตรการต่าง ๆ เพ่ือช่วยเหลือผู้ประกอบการ และกระตุ้นการเดินทางท่องเที่ยวของคนในประเทศ โดยหลังจาก
มีการกระจายการฉีดวัคซีนในประเทศต่าง ๆ รวมท้ังประเทศไทย คาดว่าประเทศไทยจะเร่ิมเปิดรับนักท่องเท่ียว
จากต่างประเทศได้ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมีเง่ือนไขในการเข้าประเทศแตกต่างกันไปตาม
การไดร้ ับวัคซนี ของนกั ทอ่ งเทยี่ ว

๒.๒ นโยบายและแผนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการท่องเท่ียว
การจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้จัดทาข้ึนโดยคานึงถึง

แนวโน้มการท่องเท่ียวของโลก แผนระดับนานาชาติ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์การท่องเท่ียวอาเซียน (พ.ศ. ๒๕๕๙ -
๒๕๖๘) แผนระดับนโยบาย และระดับส่วนกลาง ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการท่องเที่ยว (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) และท่ีสาคัญคือ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็น
ผลมาจากสถานการณโ์ ควิด 19 (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) รวมถงึ แผนการปฏริ ูปประเทศ ฉบบั ปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๖๔
- ๒๕๖๕) ซง่ึ จัดทาข้นึ เพอ่ื รองรบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เปน็ การเฉพาะ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ง

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

๒.๓ ผลการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาการท่องเทย่ี วแห่งชาติฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
ผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดหลักของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ -

๒๕๖๔) ระยะครึ่งแผนแรก พบว่าการเดินทางท่องเท่ียวภายในประเทศของนักท่องเที่ยวชาวไทยมีอัตรา
การขยายตัวสงู กวา่ คา่ เปาู หมาย ในขณะท่ีตัวชี้วัดอื่น ๆ ยังมีค่าต่ากว่าค่าเปูาหมาย รวมท้ังยังมีบางตัวชี้วัดท่ียังไม่มี
การจัดเก็บข้อมูลตามนิยามของตัวชี้วัดน้ัน และหากพิจารณาความสาเร็จของการดาเนินงานตามรายยุทธศาสตร์
พบว่ายุทธศาสตร์ทม่ี คี วามสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวชี้วัดมากท่ีสุด คือ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ การสร้างความสมดุล
ใหก้ บั การทอ่ งเที่ยวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การสง่ เสรมิ วถิ ีไทยและการสร้างความเช่อื มน่ั ของนักท่องเท่ียว

๒.๔ เปาู หมายการพัฒนาศักยภาพและโอกาสการพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วไทยภายใต้สภาวะการเปล่ียนแปลง
กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ให้ความสาคัญ

กบั การพัฒนาศักยภาพของประเทศไทยให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) โดยมุ่งเน้นใน ๓ มิติ คือ การพร้อมรับ
(Cope) การปรับตัว (Adapt) และ การเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืน (Transform) โดยใช้ประโยชน์
จากวิกฤตการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้เป็นโอกาสท่ีจะเชิญชวนและจูงใจทุกภาคส่วน
ให้เข้ามาร่วมกันยกระดับผู้ประกอบการด้านการท่องเท่ียวของไทยให้เป็นผู้ป ระกอบการท่องเท่ียวคุณภาพผ่าน
การปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานการท่องเท่ียวไทยทั้งระบบโดยบรรจุไว้อย่างเป็นทางการในแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ฉบบั นี้

๓. วิสยั ทัศน์และประเดน็ พฒั นา
๓.๑ วิสยั ทัศน์การท่องเที่ยวไทย (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕)
“เขม้ แขง็ จากภายใน ฟื้นตัวอยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ จุดเช่ือมโยงการท่องเทย่ี วของภมู ภิ าค”
(Strength from within - responsible recovery, regional tourism connectivity)

การสร้างความเข้มแข็งจากภายในเพื่อการฟื้นตัวอย่างมีความรับผิดชอบ และเป็นจุดเชื่อมโยง
การทอ่ งเที่ยวของภูมิภาค เป็นจุดมุ่งหมายของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ซึ่งเป็น
การวางแผนพฒั นาการท่องเทยี่ วในระยะ ๒ ปี โดยมแี นวคิดในการพฒั นาตามองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ

๑) นโยบายของรฐั บาลในการปรบั โครงสรา้ งเศรษฐกิจใหม้ คี วามสมดุลระหว่างภายในและภายนอกมากข้ึน
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกจิ ฐานราก สง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวในประเทศ

๒) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยใช้การท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนตามแนวทาง
การทอ่ งเท่ียวอย่างมีความรับผดิ ชอบ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) จ

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

๓) จุดเช่ือมโยงท่ีเกิดจากความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ (Geopolitical) ของไทย การเชื่อมโยง
ในระดับภูมภิ าคทง้ั อาเซยี น อาเซียนบวกสาม อาเซียนบวกหก รวมถึงนโยบายด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เช่น
นโยบายสร้างเมืองการบิน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
และนโยบายระเบยี งเศรษฐกจิ ต่าง ๆ

๓.๒ เปูาหมาย
๑) การทอ่ งเทย่ี วในประเทศมีการใช้จา่ ยเพ่ิมขน้ึ
๒) ไทยเปน็ จดุ หมายปลายทางของนกั ทอ่ งเที่ยวคุณภาพ
๓) ไทยเป็นศนู ย์กลางเชอื่ มโยงการทอ่ งเทีย่ วของภมู ิภาค

๓.๓ ตัวชว้ี ดั
๑) คา่ ใช้จ่ายตอ่ คนต่อทริปของนักท่องเทย่ี วไทยเทยี่ วไทย
๒) คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ คนตอ่ ทริปของนกั ทอ่ งเที่ยวต่างชาติ
๓) อัตราการขยายตัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางผ่านแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศ

สมาชกิ อาเซยี น

3.๔. พันธกิจ
๑) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และผู้ประกอบการท่องเที่ยว

ใหม้ คี วามสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤต สามารถฟื้นคืนสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็วเมื่อวิกฤต
ผา่ นพน้ ไป รวมถึงสามารถปรับทิศทาง รูปแบบ และแนวทางการดาเนินงานให้สอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง
ทม่ี ีอยู่อย่างตลอดเวลาได้อย่างรวดเร็ว

๒) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่ิงอานวยความสะดวก ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับในระดับสากล
และปรบั ปรุงปจั จัยเอ้ือเพื่อสนับสนนุ การฟน้ื ตวั ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวหลังสภาวะวิกฤต และเอื้อต่อการเติบโต
ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในระยะยาว เพ่ือให้อุตสาหกรรมท่องเท่ียวปรับตัวสู่การท่องเท่ียวเชิงคุณภาพ
ซ่ึงเป็นการทอ่ งเทย่ี วทยี่ ่งั ยนื

๓) พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทั้งบุคลากรของรัฐและของเอกชน ท้ังในระดับผู้ประกอบการ
และระดบั ปฏบิ ัติการ เพือ่ ร่วมกันขบั เคล่อื นการท่องเทย่ี วของไทยไปส่กู ารท่องเทย่ี วเชิงคุณภาพ

๔) พัฒนากระบวนการและเคร่ืองมือทางการตลาดในการปรับภาพลักษณ์การท่องเท่ียวไทยให้เป็นท่ี
ยอมรบั ของนกั ท่องเท่ยี วในดา้ นของการท่องเทย่ี วเชงิ คุณภาพ

๕) พัฒนาศักยภาพของหน่วยงานภาครัฐในฐานะผู้บริหารจัดการการท่องเท่ียวในภาพรวม
ให้มีความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยมีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ โดยคานึงถึงความยั่งยืน
และการกระจายรายได้จากการทอ่ งเท่ยี วลงส่ทู ุกพืน้ ท่ี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ฉ

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

๓.๕ ประเด็นพัฒนา
ประเดน็ พฒั นาที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และ

ผู้ประกอบการท่องเทยี่ ว ใหม้ ีความสามารถในการพรอ้ มรบั และปรบั ตวั ให้สอดคล้องกับบรบิ ทท่เี ปลีย่ นแปลงไป
ประเดน็ พัฒนาที่ ๒ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอานวยความสะดวก และปรับปรุงปัจจัยเอ้ือ

ใหส้ นบั สนนุ ต่อการฟนื้ ตวั และเตบิ โตของอตุ สาหกรรมท่องเทยี่ ว
ประเด็นพัฒนาที่ ๓ การพัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการท่องเท่ียว

เชงิ คณุ ภาพ
ประเดน็ พฒั นาที่ ๔ การปรับภาพลักษณ์การท่องเที่ยวไทย เพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวคุณภาพผ่าน

การตลาด
ประเด็นพฒั นาท่ี ๕ การบริหารจัดการการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื

๔. การขบั เคลอ่ื นแผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) สู่การปฏิบัตินั้นข้ึนอยู่กับปัจจัย

หลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมกันวางนโยบายการใช้ทรัพยากร
และงบประมาณที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามขอบเขตหน้าท่ีความรับผิดชอบของตน เพ่ือให้การพัฒนาการท่องเที่ยว
เป็นไปอย่างมีส่วนร่วม ท้ังน้ี เพ่ือให้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) เกิดการพัฒนา
ขับเคล่ือนอย่างสัมฤทธิ์ผล จึงได้มีการวางระบบความเช่ือมโยงของแผนพัฒนาต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับแผน
ยุทธศาสตร์ของหน่วยงานแผนแม่บทเฉพาะด้านแผนปฏิบัติการ ทั้งในระดับเขตพัฒนาการท่องเท่ียว กลุ่มจังหวัด
และท้องถ่ิน และการใช้กลไกภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ที่ให้ความสาคัญกับความร่วมมือภาครัฐ เอกชน และประชาชน
รวมถึงระบบการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพท่ีต้องตอบสนองต่อการพัฒนาเชิงบูรณาการและ
มีความต่อเนื่อง อีกท้ังต้องมีการพัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดาเนินงานของภาครัฐท่ีสอดคล้องกับ
เปูาหมายและแนวทางการพัฒนาตามแผนอย่างแท้จริง โดยมีกระบวนการขบั เคล่ือนในแตล่ ะระดบั ดงั น้ี

๔.๑ การดาเนนิ งานในระดบั นโยบาย คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นหน่วยงานหลักใน
การกาหนดนโยบาย โดยมีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาเป็นผู้รับนโยบายเพื่อประสานการแปลงนโยบาย
หรือแผนไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ท้ังหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ในการจัดทา
แผนปฏิบัติการประจาปีให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติเพื่อดาเนินการในแต่ละปีงบประมาณ
รวมท้ังการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามแผน และนาเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยว
แห่งชาติ ทั้งนี้ ต้องมีการประสาน ดูแล กากับ ดาเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานระดับนโยบายและพื้นที่ควบคู่
กันไปด้วย ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ช

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วประจาเขตพัฒนาการทอ่ งเที่ยว เป็นต้น เพื่อให้การพัฒนาทั้งระดับนโยบาย พ้ืนท่ี และรายสาขา
มกี ารดาเนนิ การเป็นไปในทิศทางเดียวกนั กบั แผนพัฒนาการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

๔.๒ การดาเนินงานในระดับพื้นที่ คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจาเขตพัฒนาการท่องเท่ียว
เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินการพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี โดยเป็นแกนกลางในการประสานนโยบายจาก
คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
ท่ีเก่ียวข้องท้ังหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา องค์กรระหว่างประเทศ และท้องถ่ิน รวมถึง
คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัดและคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ เพื่อให้การพัฒนา
การท่องเท่ียวในระดบั พ้ืนท่ี จังหวัด และเขตพัฒนาการท่องเท่ียว สอดคล้องตามแนวทางและเปูาหมายการพัฒนา
ในระยะแผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

๔.๓ การดาเนินงานระดับชุมชน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวควรสนับสนุนให้ภาค
ประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศในบริบทท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะ
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว ที่สอดรับกับวิถีชีวิตของชุมชนท้องถ่ิน
ผ่านกระบวนการจัดทาแผนและขับเคลื่อนแผนพัฒนาระดับชุมชน ท้ังนี้ การเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน
และเครอื ขา่ ยภาคประชาชนเจ้าของพ้นื ท่ีจะชว่ ยเพ่มิ เอกลักษณ์และความเปน็ ไทยให้กับประสบการณ์การท่องเท่ียว
และเป็นการกระจายรายไดจ้ ากการท่องเทีย่ วส่ปู ระชาชนอย่างแทจ้ ริง

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ซ

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

ส่วนท่ี ๑ บทนา

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (ท.ท.ช.) มีอานาจและหน้าท่ีหลักในการส่งเสริมการบริหาร
และพัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว รวมทั้งจดั ทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติ
ซ่ึงที่ผ่านมาได้มีการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) เพื่อใช้เป็นกรอบ
และแนวทางในการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวของประเทศในระยะ ๕ ปี ทั้งนี้ เพ่ือมุ่งให้ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเท่ียว
ท่ีมีคุณภาพ มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวในระดับโลก สามารถสร้างรายได้และกระจาย
รายไดส้ ชู่ ุมชนและทอ้ งถนิ่ โดยคานึงถงึ ความเปน็ ธรรม สมดลุ และย่ังยนื

แม้การดาเนินงานด้านการท่องเที่ยวในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ประเทศไทยในภาพรวมจะประสบ
ผลสาเร็จในด้านการเพ่ิมปริมาณนักท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว แต่ก็ยังคงประสบปัญหาและอุปสรรค
สาคัญหลายประการ อาทิ จานวนนักท่องเท่ียวและรายได้ยังคงกระจุกตัวอยู่ในเมืองท่องเท่ียวหลัก ภาพลักษณ์
การท่องเท่ียวในแง่ลบท่ีต้องเร่งแก้ไขปรับปรุงเพื่อสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเท่ียว รวมทั้งความเส่ือมโทรม
ของทรัพยากรการท่องเท่ียว ความสะอาดและสุขอนามัยของแหล่งท่องเท่ียว ขาดการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวใหม่
ปัญหาด้านความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ปัญหาด้านสาธารณูปโภคที่สนับสนุนการท่องเที่ยว เช่น ระบบขนส่ง
มวลชน การเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวและการเชื่อมโยงระหว่างแหล่งท่องเท่ียว ขีดความสามารถในการรองรับ
ของสนามบิน ข้อจากัดในการพัฒนาและยกระดับบุคลากรด้านการท่องเท่ียว ความล้าสมัยและความขัดแย้ง
ของกฎหมายท่เี ก่ียวข้องกับการท่องเท่ียว การขาดข้อมูลเชิงลึกเพ่ือการวิเคราะห์และวางแผนพัฒนาการท่องเท่ียว
ตลอดจนขาดการบูรณาการการทางานของกลไกการบริหารจัดการการท่องเท่ียวท้ังระบบ สิ่งเหล่าน้ีล้วน
มีความจาเป็นต้องได้รับการแก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ สภาพแวดล้อมและบริบทต่าง ๆ ที่ส่งผล
กระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเท่ียวมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ท้ังที่เป็นปัจจัยภายใน เช่น สถานการณ์การเมือง
ของประเทศ นโยบายของภาครัฐ การปรับตัวของภาคเอกชน ความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคี
ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นต้น และปัจจัยภายนอก อาทิ สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเที่ยว การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย แนวโน้ม
การพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศท้ังในระดับภูมิภาคและระดับโลก
และปัจจุบันประเทศไทยอยู่ในช่วงเวลาแห่งการปฏิรูป เพื่อให้ก้าวไปสู่การเป็นประเทศที่มีความม่ันคง มั่งค่ัง
และยั่งยืน โดยประชาชนทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิรูปเพ่ือประสานประโยชน์และสามารถ
อย่รู ่วมกันไดอ้ ยา่ งสงบสขุ

อย่างไรก็ดี เม่ือเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 ส่งผลให้นักท่องเท่ียวต่างชาติวางแผนชะลอหรือยกเลิกการเดินทาง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ต้องยกเลิกการเดินทางท่องเที่ยวตามคาสั่งของรัฐบาลจีน เม่ือวันที่

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ซงึ่ กระทบตอ่ สถานการณ์ด้านการท่องเท่ียวของไทย รวมถึงมีการยกเลิกหรือลดจานวน
เท่ียวบินของสายการบนิ จากตา่ งประเทศในการให้บริการพ้ืนที่ท่ีเสี่ยงต่อการระบาด เกิดการหดตัวของการเดินทาง
อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการเดินทางทางอากาศ ต่อมาประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตจากโรคดังกล่าวเพ่ิมขึ้น
รัฐบาลไทยจงึ ประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ในทกุ ทอ้ งท่ที ่วั ราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๒๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ รวมถึง
การประกาศห้ามอากาศยานทาการบินเข้าสู่ประเทศไทยเป็นการชั่วคราวของสานักงานการ บินพลเรือน
แห่งประเทศไทย (กพท.) ส่งผลให้จนกระทั่งเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ยังคงไม่มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
เดนิ ทางท่องเท่ียวมายงั ประเทศไทยได้

ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดเ้ กิดการระบาดซ้าของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ในหลายประเทศ
ท่ัวโลก รวมทั้งประเทศไทย ทาให้เศรษฐกิจในทุกภาคส่วนมีการหยุดชะงัก รวมทั้งการท่องเที่ยวที่เคยคาดการณ์
ว่าจะสามารถกลับมาฟื้นฟูได้อีกครั้งกลับต้องชะงักลง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ท้ังการระบาดระลอกแรกและระลอกท่ีสองส่งผลให้การเดินทางท่องเท่ียวระหว่างประเทศทั่วโลกเร่ิมลดลง
ในไตรมาส ๑ และ ไตรมาส ๒ ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จากรายงานสถานการณ์การท่องเที่ยวโลกขององค์การ
การท่องเท่ียวโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) คาดการณ์ว่าการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศมีการลดลง
ประมาณร้อยละ ๗๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และมีการประเมินว่าจานวนการเดินทาง
ทอ่ งเทยี่ วจะกลบั มาอยบู่ นเส้นแนวโน้มเดิมประมาณช่วงกลางปี พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๗ โดยมีปัจจัย
หลักที่เป็นอุปสรรคต่อการฟ้ืนตัวท่ีสาคัญ คือ การจากัดการเดินทาง (Travel Restrictions) ความช้าของ
การควบคุมไวรัส (Low Virus Containment) สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Environment)
การขาดความร่วมมือระหว่างประเทศ (Lack of Coordinated Response among Countries) ความเชื่อมั่น
ผู้บริโภคท่ียังต่า (Low Consumer Confidence) และการเร่งฟ้ืนฟูให้กลับมาอยู่ในสภาพเดิม (Slow Flight
Resumption)

จากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนร่วมกับการคาดการณ์จากองค์กรระดับโลก จึงทาให้เกิดการจัดทาแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ข้ึน เพ่ือให้สอดคล้องกับแผนแม่บทเฉพาะกิจของสานักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ด้านการท่องเที่ยวที่มีเปูาหมายพัฒนาประเทศไทยให้สามารถ
พรอ้ มรบั (Cope) ปรับตัว (Adapt) และเปลี่ยนแปลง (Transform) ร่วมกับแผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ท่ีเน้นการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูงให้เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือน
เศรษฐกิจโดยเน้นกลุ่มลูกค้าท่ีใส่ใจสุขภาพผ่านโมเดลอารมณ์ดีมีความสุข (Happy Model) และขับเคล่ือน
Medical and Wellness Hub เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันต่อนักท่องเท่ียว กระจายรายได้สู่ท้องถิ่นและชุมชน
ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเน่ือง และการจ้างงานเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการร่วมกับหลัก
การขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green
Economy: BCG Model) โมเดลเศรษฐกจิ สูก่ ารพฒั นาทีย่ ั่งยืน ทม่ี ุ่งเนน้ การพฒั นาการท่องเที่ยวให้เกิดความย่ังยืน

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

โดยใช้จุดแข็งเร่ืองความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และทุนทางปัญญา นามาสร้าง
อตั ลักษณข์ องการทอ่ งเที่ยวในแต่ละพ้ืนที่ อันเป็นการยกระดับการท่องเท่ียวทั้งเมืองหลักและเมืองรองไปพร้อมกัน
การท่องเท่ียวรูปแบบใหม่จะเน้นตลาดคุณภาพ สร้างมาตรฐาน ความสะดวก สะอาด ปลอดภัย โดยนาเอา
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมมาใชบ้ รหิ ารจัดการและดแู ลทง้ั นักท่องเท่ียวและทรัพยากรการท่องเที่ยว สิ่งแวดล้อมและ
ระบบนเิ วศ มกี ารจัดทามาตรฐานการท่องเทีย่ วตามขีดความสามารถในการรองรับของแหล่งทอ่ งเที่ยว มีการพัฒนา
สนิ คา้ และบริการทางการท่องเท่ียวให้สร้างสรรค์และมีอัตลักษณ์ตามแต่ละท้องถ่ิน ซึ่งเมื่อทรัพยากรการท่องเท่ียว
มีลักษณะการใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และยั่งยืนแล้ว รายได้ของคนในชุมชนและผู้ประกอบการท่ีเก่ียวข้องกับ
การท่องเท่ียวจะยง่ั ยืนดว้ ยเช่นกัน

การจัดทาแผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้คานึงถึงบริบทของประเทศไทยใน
การพัฒนาภายใต้กรอบการวิเคราะห์แบบองค์รวม ประกอบด้วยการประเมินสถานการณ์แนวโน้มการแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การได้รับวัคซีนของคนไทยและชาวต่างชาติร่วมกับเง่ือนไขในการเดินทางเข้า
ประเทศ การทบทวนสถานการณ์การเปล่ียนแปลงของตลาดไทยและตลาดโลก และการประเมินผลกระทบต่อ
การพัฒนาการท่องเทย่ี วของประเทศไทยในอนาคต เพื่อกาหนดประเด็นพัฒนา กลไกการดาเนินงาน และแนวทาง
การขับเคลื่อนแผนฯ สู่การปฏิบัติ โดยสรุปจากการศึกษาข้อมูลปฐมภูมิที่ได้สารวจความเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง การศึกษาและถอดบทเรียน
ประเทศกรณตี วั อย่างท่ดี ี เพ่อื นามาสงั เคราะหเ์ ปน็ กรอบแนวคดิ การพฒั นาการทอ่ งเทยี่ ว ตาม ๔ ข้ันตอนหลัก ดังน้ี

๑) การประเมนิ ผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
ระยะครง่ึ แผนแรก เพือ่ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ทั้งในด้านผลลัพธ์
ของตัวช้ีวัดความสาเร็จ และในด้านการดาเนินงานของแผนจากการรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วนซึ่งผลจาก
การศกึ ษาทีไ่ ดร้ บั จะเป็นขอ้ เรียนรแู้ ละขอ้ ควรปรบั ปรงุ แนวทางพฒั นาตวั ช้ีวัดและประเด็นพัฒนา การท่องเที่ยวของ
ประเทศไทยในระยะ ๒ ปี เพ่ือนาไปใช้ในการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
ต่อไป

๒) การทบทวนสภาพแวดล้อมและบริบทการท่องเท่ียวของประเทศไทยและของโลกเพ่ือศึกษา
สถานการณ์ความเคล่ือนไหวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มท่ีคาดว่าจะส่งผล
กระทบต่อการกาหนดทิศทางการพัฒนาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) โดยมีพ้ืนฐาน
การกาหนดทิศทางพัฒนาจากการศึกษาถึงบริบทของอุตสาหกรรมท้ังในระดับประเทศและระดับโลกเพ่ือให้
ทิศทางการพัฒนาต้งั อยู่บนพนื้ ฐานของศักยภาพทแี่ ท้จริงและมีความเปน็ ไปได้

๓) การทบทวนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท
เฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด 19 (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) รวมถึงนโยบาย

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

และแผนยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว เน่ืองจากการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรม ที่ช่วยสร้างรายได้และ
ความสามารถกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง หลายหน่วยงานจึงให้ความสาคัญกับการร่วม
พัฒนาการท่องเที่ยว ดังน้ันเพื่อให้การพัฒนาทั้งหมดเป็นไปอย่างสอดคล้องและมีทิศทางเดียวกัน
การพฒั นาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติจาเป็นต้องบูรณาการกับแผนพัฒนาอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้การพัฒนา
มปี ระสทิ ธิภาพและเปน็ รูปธรรม

๔) การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องโดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนท้ังภาครัฐ
และภาคเอกชน รวมถึงการจัดประชุมกลุ่มย่อยเพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ที่เก่ียวข้อง
ด้านการทอ่ งเที่ยวจากทุกภาคส่วน

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

ศึกษาแผนและกฎหมายตา่ ง ๆ เชน่ ทีมคณะทางานจัดทา
แผนยุทธศาสตรช์ าติ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจฯ
แผนการปฏิรูป ฉบบั ปรับปรงุ ที่เกยี่ วกบั แก้ไขร่างฯ ตามทีไ่ ด้รับ จัดทารา่ งแผนพัฒน
การท่องเท่ยี วตามภาวะวกิ ฤตการณโ์ ควดิ 19 ผลจากการประชุม การทอ่ งเทย่ี วแห่งช
เฉพาะกลมุ่ และนา (พ.ศ. 2564 - 256
รวบรวม ศึกษา และทบทวน การคาดการณ์ โครงการทีห่ นว่ ยงาน
และข้อมลู ต่าง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งกีบสภาวะ ต่าง ๆ เสนอขอ
แวดลอ้ มและบริบทการท่องเที่ยวในภาวะ งบประมาณจัดกลุ่ม
วกิ ฤตการการณโ์ ควิด 19 ทัง้ ไทยและ แยกตามกลยทุ ธ์ของ
ตา่ งประเทศ แต่ละยุทธศาสตร์

ศกึ ษาข้อเสนอ นโยบาย มาตรการ แผนงาน การรับฟังค
และโครงการตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับเศรษฐกจิ
และการท่องเทย่ี วของไทย ในระหวา่ งและ

หลงั ภาวะวกิ ฤตการณ์โควิด 19

รา่ งวสิ ยั ทัศน์และประเดน็ พัฒนา สาหรบั
แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ

(พ.ศ. 2564 - 2565) ทส่ี อดคลอ้ งกบั
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี แผนแมบ่ ทภายใต้
ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแมบ่ ทเฉพาะกจิ ฯ และ
นาเสนอเพ่อื ขอรบั ฟงั ความคดิ เหน็ จาก
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องในรปู แบบการจัด

ประชุมเฉพาะกลมุ่ (Focus Group)

จัดประชมุ เฉพาะกลุ่ม (Focus Group)

= การวจิ ัยชน้ั ปฐมภมู ิ
= การวจิ ยั ขัน้ ทตุ ยิ ภมู ิ
= การนาเสนอเพือ่ พจิ ารณา/ใหข้ อ้ เสนอแนะ/เห็นชอบ
าแผน

นา จัดทาแผนพัฒนา คณะ คณะรฐั มนตรี
ชาติ การท่องเท่ียวแหง่ ชาติ กรรมการ
65) (พ.ศ. 2564 - 2565) นโยบาย
การท่องเทย่ี ว
แห่งชาติ

ความคดิ เห็นต่อ (ร่าง) แผนฯ

กระบวนการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
ทมี่ า: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

การศึกษาในคร้ังนี้ได้ให้ความสาคัญในการดาเนินงานตามหลักวิชาการ การระดมความคิดเห็น
และความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทาให้สามารถคาดการณ์ได้ว่าการศึกษาและการปรับปรุงแผนในคร้ังน้ี
จะได้รับข้อมูลท่ีครอบคลุมทั้งบริบทในประเทศ บริบทต่างประเทศ บริบทตลาดโลก รวมท้ังการประเมิน
สถานการณ์เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ครอบคลุมทั้งการได้รับวัคซีนของ
ประชากรไทยและประชากรโลก เงื่อนไขการเดินทางระหว่างประเทศ เพ่ือนามาสังเคราะห์เป็นแนวทาง
การพัฒนาการท่องเท่ียวของไทยให้สอดคล้องกับสถานการณ์และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพ่ือให้การขับเคลื่อน
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเปูาหมายที่ได้
กาหนดไว้ในระยะของแผนฉบบั น้ี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

ส่วนที่ ๒ สถานการณ์ แนวโนม้ และทศิ ทางการทอ่ งเทยี่ ว

ในการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ฉบับนี้ ได้มีการรวบรวมข้อมูล
เกีย่ วกับสถานการณ์ แนวโน้ม และทศิ ทางการท่องเท่ียวเพ่อื ใช้ประกอบการทาแผนฯ ดังตอ่ ไปนี้

๑. สภาพแวดล้อมและบริบทด้านการทอ่ งเทยี่ ว
๒. นโยบายและแผนยทุ ธศาสตรด์ ้านการท่องเท่ยี ว
๓. ผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
๔. ศักยภาพและโอกาสการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวไทยภายใต้สภาวะการเปล่ยี นแปลง

1. สภาพแวดล้อมและบรบิ ทดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว
๑.๑ แนวโน้มเศรษฐกจิ โลกและเศรษฐกจิ ไทย ช่วงปี พ.ศ. 2563 - 2565
๑.๑.๑ แนวโน้มเศรษฐกจิ โลก
สาหรับภาพรวมเศรษฐกิจโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary

Fund: IMF) คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจของจีนจะฟ้ืนกลับมาเท่าระดับเดิมก่อนประเทศอื่นในช่วงไตรมาส 2 ของปี
พ.ศ. 2563 ในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่อื่นที่ไม่ใช่จีน (Emerging Market and Developing
Economy) และประเทศพัฒนาแล้ว (Advance Economy) จะฟ้ืนกลับมาเท่าระดับเดิมในช่วงกลางปีถึงปลายปี
พ.ศ. 2564

รูป 2.๑ แนวโนม้ การฟื้นตวั ของเศรษฐกจิ โลก

ท่มี า: กองทนุ การเงนิ ระหว่างประเทศ (IMF) (GDP ปี ๒๐๑๙ = ๑๐๐)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

นอกจากนี้ในช่วงไตรมาส ๓ ของปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เศรษฐกิจของหลายประเทศจะปรับตัวดีข้ึน
เนื่องจากหลายประเทศสามารถควบคุมการระบาดของโควิด 19 ได้ดี และรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ทยอยปรับลด
ระดับความเขม้ งวดของมาตรการในการปูองกันการระบาดของโควิด 19 ทาให้ภาคธุรกิจ สถานประกอบการทยอย
กลับมาเปิดบริการตามปกติ โดยมีเง่ือนไขข้อกาหนดเพ่ือปูองกันการระบาดของโรคท่ีอาจกลับมา อาทิ การวัด
อณุ หภูมิร่างกาย การรกั ษาระยะหา่ ง การใสห่ นา้ กากอนามยั และมีบางประเทศได้กลบั มาเปิดน่านฟูาและพรมแดน
ระหว่างประเทศ ทาให้กิจกรรมการเดินทางระหว่างประเทศและการท่องเท่ียวกลับมาดาเนินการได้ แต่ยังอยู่
ภายใต้เง่ือนไขท่ีจากัด นอกจากนี้ รัฐบาลทั่วโลกยังออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจในประเทศ และมาตรการเพื่อ
ช่วยเหลือผู้ประกอบการและประชาชนในประเทศ ทั้งมาตรการทางการเงิน มาตรการทางภาษี และการกระตุ้น
การทอ่ งเท่ยี วภายในประเทศ

การท่ีหลายประเทศกลับมาเปิดประเทศ แม้จะยังไม่เต็มรูปแบบแต่ก็ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เริ่มฟ้ืนกลับคืนมาได้ เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) จึงได้ปรับประมาณการเติบโต
ของเศรษฐกิจโลกในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นหดตัวลงประมาณร้อยละ ๔.๔ ดีข้ึนจากเดิมซ่ึงได้คาดการณ์ไว้เม่ือเดือน
มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ ว่าจะหดตัวลงถึงร้อยละ ๔.๙ และจะเติบโตขึ้นร้อยละ ๕.๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ และ ร้อยละ ๔.๒
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ขณะที่องค์การเพ่ือความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ปรับเพิ่มการคาดการณ์อัตรา
การเติบโตของเศรษฐกิจโลกเป็นขยายตัวร้อยละ ๕.๖ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ และร้อยละ ๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยประเมิน
จากแรงหนุนของการแจกจ่ายวัคซีนต้านโควิด 19 และการที่วุฒิสภาสหรัฐฯ ผ่านร่างกฎหมายกระตุ้นเศรษฐกิจมูลค่า
๑.๙ ล้านล้านดอลลาร์ เมอื่ วนั ท่ี ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

รปู 2.๒ การคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกจิ ประเทศกลุ่มลกู ค้า
ด้านการท่องเท่ยี วที่สาคัญของไทย (ณ ตลุ าคม พ.ศ. 2563)

ท่ีมา: กองทนุ การเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

จะเห็นได้ว่า หากประเทศไทยจะเร่งฟื้นการท่องเท่ียวจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ
ตลาดเปาู หมายหลักของการท่องเทยี่ วไทยจะอยใู่ นภูมิภาคเอเชียมากกว่าประเทศในภูมิภาคอ่ืน โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ประเทศจีนและอาเซียนซ่ึงได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด 19 ต่ามาก ในขณะท่ีประเทศอินเดียแม้จะมี
การฟื้นตัว แตก่ ็ยงั ไมก่ ลับสู่ระดับเดิม ส่วนประเทศสหภาพยโุ รป สหรฐั อเมรกิ า และรสั เซยี ซ่ึงเปน็ ลูกค้าสาคัญลาดับ
ต้นเช่นเดียวกับประเทศในเอเชีย แม้คาดว่าจะมีการฟื้นตัวในปี ๒๕๖๔ แต่ยังอยู่ในระดับต่า และยังไม่สามารถ
กลับคืนสู่ระดับเดิมได้ ซ่ึงหมายถึงกาลังซื้อของนักท่องเท่ียวที่ยังไม่กลับคืน ทั้งน้ี จะต้องพิจารณานโยบายของ
รัฐบาลในประเทศต่าง ๆ ประกอบด้วย โดยเฉพาะจีน ซ่ึงถ้าจีนยังมีนโยบายจากัดการเดินทางของนักท่องเที่ยว
การดาเนนิ นโยบายดงั กล่าวจะยังคงเป็นอปุ สรรคต่อการฟ้นื ตวั ของการท่องเท่ียวไทย

ในไตรมาส ๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ แนวโน้มเศรษฐกิจโลกกลับมามีความเสี่ยงอีกคร้ัง
เมื่อสถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ในหลายประเทศกลับมารุนแรงอีกรอบทาให้รัฐบาลในหลาย ๆ ประเทศ
ต้องกลับมาดาเนินมาตรการควบคุมการระบาดของโรคโควิด 19 อย่างเข้มข้นอีกครั้ง เช่น ฝรั่งเศส ประกาศใช้
มาตรการ Lockdown เม่ือวันศุกรท์ ี่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เยอรมนี ประกาศเม่ือวันท่ี ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓
ให้ธุรกิจประเภท โรงภาพยนตร์ โรงยิม สระว่ายน้า และห้องซาวน่ารวมถึงร้านอาหารและบาร์ ปิดให้บริการ
(ยกเว้นการใหบ้ ริการซ้ืออาหารกลับบ้าน หรือ Takeaway) อิตาลี ประกาศใช้มาตรการคุมเข้มท่ัวประเทศเพิ่มเติม
โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓ จากัดการให้บริการระบบขนส่งสาธารณะลดลงจากร้อยละ ๘๐
เหลือเพียงรอ้ ยละ ๕๐ เป็นต้น

นอกจากแนวโน้มด้านเศรษฐกิจตามท่ีได้กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว ในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔
สภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ได้ออกรายงาน WEF Global Risk Report ซึ่งรายงานเกี่ยวกับ
ความเสยี่ งในด้านตา่ ง ๆ ๕ ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม ด้านการเมือง และด้านเทคโนโลยี
โดยมีปัจจัยท่ีเป็นความเส่ียงของด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไป โดยมีปัจจัยท่ีมีแนวโน้มส่งผลกระทบในภาพรวม
ท่ีคอ่ นข้างรนุ แรง และอาจส่งผลกระทบตอ่ การท่องเทย่ี วของโลก สรปุ ไวด้ ังนี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

รปู 2.๓ WEF Global Risk Report

ท่ีมา: https://www.visualcapitalist.com

๑.๑.๒ แนวโน้มเศรษฐกิจไทย
ในปี พ.ศ. 2563 วิกฤตโควิด 19 ทาให้เศรษฐกิจประเทศไทยหดตัวลงถึงร้อยละ 6.1

แต่ด้วยสถานการณ์มีแนวโน้มท่ีดีข้ึนจากการมีแผนการฉีดวัคซีนท่ีชัดเจนแม้จะมีการระบาดระลอกใหม่ในช่วง
ปลายปี พ.ศ. 2563 ต่อเน่ืองมาถึงต้นปี พ.ศ. 2564 ก็ตาม ทาให้สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ หน่วยงานด้านนโยบายอ่นื ๆ และหน่วยงานวจิ ัยภาคเอกชน ไดป้ ระเมนิ อัตราการเตบิ โตทางเศรษฐกิจของ
ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564 ไว้ดังนี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๐

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

รปู 2.๔ สรุปการคาดการณก์ ารเตบิ โตทางเศรษฐกิจของไทย

ท่มี า: กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา

ท้ังนี้ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้สรุปปัจจัยสนับสนุน ข้อจากัด
และความเสย่ี งไว้ดงั น้ี

ปัจจัยสนบั สนุน ประกอบด้วย
- การปรับตวั ในทศิ ทางที่ดขี นึ้ ของเศรษฐกิจและปรมิ าณการค้าโลกในปี พ.ศ. 2564
- แรงขับเคล่ือนจากภาครฐั จากการเบิกจ่ายภายใต้กรอบงบประมาณประจาปีและมาตรการ

ทางเศรษฐกจิ ท่สี าคัญ
- การกลับมาขยายตัวอย่างช้า ๆ ของอปุ สงคภ์ ายในประเทศ
- ฐานการขยายตวั ทต่ี ่าผิดปกตใิ นปี พ.ศ. 2563
ข้อจากัดและปจั จยั เส่ียง ประกอบด้วย
- ความไม่แน่นอนของสถานการณ์โรคระบาดและความล่าช้าของการกระจายวคั ซีน
- เงื่อนไขดา้ นฐานะการเงินของครวั เรือนและธรุ กจิ โดยเฉพาะการเพม่ิ ขึน้ ของภาระหนส้ี นิ
- แนวโน้มความล่าช้าในการฟ้นื ตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
- สถานการณภ์ ัยแล้ง
- ความผันผวนของเศรษฐกิจและการเงินโลก ซึ่งประกอบด้วย (๑) การเปลี่ยนแปลง
นโยบายระหว่างประเทศของประธานาธิบดีโจ ไบเดน (๒) ความผันผวนของอัตราแลกเปล่ียนและการเคล่ือนย้าย
เงินทุน (๓) นโยบายการเงินของประเทศที่สาคัญ (๔) ความเสี่ยงจากประเทศที่มีโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจท่ี
อ่อนแอ และ (5) ความขดั แยง้ และปัญหาทางการเมืองระหวา่ งประเทศ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๑

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

๑.๒ สถานการณ์และแนวโน้มการท่องเทีย่ วในตลาดโลก ชว่ งปี พ.ศ. 2563 - 2565
วิกฤตโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ที่แพร่ระบาดในหลายประเทศทั่วทุกภูมิภาคของโลกอย่างรวดเร็ว

ทาใหอ้ งค์การอนามัยโลกไดป้ ระกาศให้โรคโควิด 19 เป็นโรคระบาดใหญ่ท่ัวโลก (Pandemic) เม่ือวันท่ี ๑๒ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๖๓ และตามมาด้วยการที่รัฐบาลในหลายประเทศต้องประกาศใช้มาตรการท่ีเข้มข้นคือ มาตรการปิดประเทศ
หรือ Lockdown โดยกาหนดให้ประชาชนอยู่แต่ในที่พักอาศัย สถานประกอบการ ร้านค้าต่าง ๆ หยุดการให้บริการ
ชั่วคราว ภาคธุรกิจจานวนมากปรับนโยบายให้พนักงานทางานในท่ีพัก สถานศึกษาหยุดการเรียน นอกจากนี้
หลายประเทศใช้มาตรการควบคุมการเดินทางเข้า - ออกประเทศ ประกาศปิดน่านฟูาและพรมแดนระหว่างประเทศ
โดยแตล่ ะประเทศจะมคี วามเข้มขน้ ของมาตรการที่แตกต่างกนั ไปในการควบคมุ การแพร่ระบาดของโรค

อยา่ งไรกต็ าม แมป้ ระเทศต่าง ๆ ทว่ั โลกจะมกี ารจากดั การเดนิ ทางอย่างเข้มข้นหลังจากการประกาศให้
โรคโควิด 19 เป็นโรคระบาดใหญ่ท่ัวโลกเม่ือเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ขององค์การอนามัยโลก (WHO)
แต่ในช่วงกลางปี พ.ศ. ๒๕๖๓ การจากัดการเดินทางเร่ิมผ่อนคลายลง ซึ่งองค์การการท่องเที่ยวโลกแห่ง
สหประชาชาติ (UNWTO) ได้สารวจและจัดทาเป็นสัดส่วนของการจากัดการเดินทางในระดับต่าง ๆ กัน พบว่า
ระดับของการจากัดการเดินทางทั่วโลกค่อย ๆ ลดลงต้ังแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยยุโรปเป็นภูมิภาคท่ี
ลดระดับความเข้มข้นของการจากัดการเดินทางลงเร็วท่ีสุด ในขณะที่ภูมิภาคอเมริกาเป็นภูมิภาคท่ีจากัด
การเดินทางน้อยที่สุดต้ังแต่เริ่มต้น และภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เป็นภูมิภาคที่ยังคงจากัดการเดินทางไว้มากกว่า
ภมู ิภาคอน่ื อยา่ งต่อเนื่อง

รปู 2.๕ ระดับการจากัดการเดินทางของทุกประเทศรวมกัน

ท่มี า: World Tourism Barometer Volume 18: Issue 7 December 2020

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๒

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

รูป 2.๖ สัดสว่ นของจดุ หมายการเดนิ ทางทปี่ ิดการเข้าออกอยา่ งสมบรู ณ์

ท่มี า: World Tourism Barometer Volume 18: Issue 7 December 2020

จากเหตุการณ์ดังกล่าวท่ีเกิดขึ้นส่งผลทาให้การเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลกเริ่มลดลง
ในช่วงไตรมาส 1 และต้องหยุดชะงักลงไปชั่วขณะในช่วงไตรมาส 2 ของปี พ.ศ. 2563 ซึ่งจากรายงาน
สถานการณ์การท่องเท่ียวโลกขององค์การการท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) พบว่าการเดินทาง
ท่องเที่ยวระหว่างประเทศ (International Tourist Arrivals) ทั่วโลกหดตัวลงมากท่ีสุดในช่วงไตรมาส 2 ของปี
พ.ศ. 2563 โดยหดตัวลงถึงร้อยละ 97.0 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน และอยู่ในระดับต่าอย่างต่อเนื่อง
จนถึงปลายปี พ.ศ. 2563 โดยตลอดท้ังปี พ.ศ. 2563 ลดลงประมาณร้อยละ 74 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2562
หรือหายไปประมาณ 1,000 ล้านคน เหลือเท่ากับจานวนการเดินทางท่องเท่ียวระหว่างประเทศย้อนหลังไป 30 ปี
คิดเป็นมูลค่าที่สูญเสียในแง่รายได้จากการส่งออกประมาณ 1.3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มากกว่ามูลค่าท่ีเสียหาย
จากวิกฤตการเงินโลกในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ถึง 11 เท่า และคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวรวม (Direct
Tourism Gross Domestic Product) 2 ล้านล้านเหรียญสหรฐั ฯ เทียบได้กบั ประมาณร้อยละ 2 ของ GDP โลก

ในด้านการจ้างงาน วิกฤตครั้งนี้ทาให้การจ้างงานลดลง 100 - 120 ล้านตาแหน่ง โดยส่วนใหญ่
เป็นการจา้ งงานในกลุ่มผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลาง หรอื SMEs

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๓

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

รปู 2.๗ อตั ราการเปล่ียนแปลงของจานวนนักท่องเท่ยี วระหว่างประเทศ
ในปี พ.ศ. 2563 เมือ่ เทียบกับปี พ.ศ. 2562

ที่มา: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

เมอื่ พจิ ารณาในด้านภูมิภาคท่ีได้รับผลกระทบด้านจานวนการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศท่ีมากท่ีสุด
ได้แก่ ภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยมีกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ไดร้ ับผลกระทบมากทส่ี ุดเป็นอันดับหนึ่งและสองของโลก ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรการจากัดการเดินทางอย่างเข้มข้น
ตามท่แี สดงไว้ขา้ งต้น

รูป 2.๘ อัตราการเปลยี่ นแปลงของจานวนนักท่องเท่ียวระหวา่ งประเทศในแต่ละภูมภิ าค

ทม่ี า: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๔

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

นอกจากการเดินทางท่องเท่ียวระหว่างประเทศแล้ว องค์การการท่องเที่ยวแห่งสหประชาชาติ
(UNWTO) ได้ทาการประเมินตัวช้ีวัดผลกระทบต่าง ๆ ของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวพบว่า ธุรกิจท่ีได้รับผลกระทบ
มากที่สุดคืออัตราการจองตว๋ั เครื่องบินซง่ึ ลดลงมากที่สุดถงึ ร้อยละ 81

รปู 2.๙ ตวั ชี้วดั แสดงผลกระทบต่อด้านตา่ ง ๆ ของอุตสาหกรรมท่องเทยี่ วของโลก

ท่มี า: UNWTO’s COVID 19 and Tourism 2020 : a year in review

องค์การการท่องเท่ียวโลกแห่งสหประชาชาติ (UNWTO) ประเมินว่าจานวนการเดินทางท่องเท่ียว
ระหว่างประเทศของโลกจะกลับมาอยู่บนเส้นแนวโน้มเดิมประมาณช่วงกลางปี พ.ศ. 2566 ถึงปลายปี
พ.ศ. 2567 โดยมีปัจจยั หลกั ทเ่ี ปน็ อุปสรรคต่อการฟ้ืนตัวท่ีสาคัญ คือ การจากัดการเดินทาง (Travel Restrictions)
ความช้าของการควบคุมไวรัส (Low Virus Containment) สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ (Economic Environment)
การขาดความร่วมมือระหว่างประเทศ (Lack of Coordinated Response among Countries) ความเช่ือม่ัน
ผู้บริโภคที่ยังต่า (Low Consumer Confidence) และ การเร่งฟ้ืนฟูให้กลับมาอยู่ในสภาพเดิม (Slow Flight
Resumption)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๕

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

รูป 2.๑๐ จานวนนักท่องเท่ยี วระหวา่ งประเทศรวมทัง้ โลกและการคาดการณ์การฟืน้ ตัว

ท่ีมา: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

รูปท่ี 2.๑๑ ความเหน็ ของผู้เช่ยี วชาญเก่ียวกบั ปัจจัยหลกั ที่มีผลต่อการฟนื้ ตัวของการท่องเทีย่ วระหวา่ งประเทศ

ทมี่ า: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

เมื่อพิจารณาความเห็นของผู้เช่ียวชาญตามรูปที่ ๒.๑๑ ข้างต้นหมายความว่า มาตรการที่จะทาให้
การเดินทางท่องเท่ียวระหว่างประเทศฟ้ืนตัวกลับมาได้เร็ว จะต้องลดข้อจากัดในการเดินทาง ฉีดวัคซีนให้เร็ว
สร้างความเชื่อม่ันผู้บริโภค ทาให้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจเอ้ือต่อการปรับตัวไปในทางที่ดีอย่างรวดเร็ว
การทางานร่วมกันของประเทศต่าง ๆ และการเร่งฟื้นฟูให้กลับสู่สภาพเดิม ทั้งน้ี สานักงานปลัดกระทรวง
การทอ่ งเทีย่ วและกฬี าไดจ้ ดั ทาสรปุ มาตรการดา้ นการทอ่ งเท่ียวของประเทศต่าง ๆ ไว้ ดงั น้ี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๖

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

นโยบาย มาตรการ
การคลงั - การยกเว้น ผดั ผอ่ น และลดภาษีที่เกยี่ วกบั การทอ่ งเทยี่ วใหก้ บั ธรุ กจิ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว (สงู สดุ รอ้ ยละ ๕๐)

การเงนิ เชน่ คา่ ธรรมเนยี มการปกปอู งสิง่ แวดลอ้ ม ค่าใบอนุญาตต่าง ๆ ภาษีทางการตลาดทอ่ งเทยี่ ว
คา่ ธรรมเนยี มวซี า่ เป็นตน้
การจา้ งงานและ - ความชว่ ยเหลือทางด้านเศรษฐกจิ แก่ SMEs ดา้ นการทอ่ งเท่ียว
การพฒั นาทกั ษะ - ส่วนลดค่าใชจ้ า่ ยสาธารณปู โภคสาหรบั ภาคธรุ กจิ ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
บคุ ลากรดา้ น - ความชว่ ยเหลอื สาหรบั สภาพคลอ่ งทางการเงินให้กบั ธุรกิจนาเทีย่ ว
การทอ่ งเทยี่ ว - สนับสนนุ ทุนทางการเงนิ ให้กบั SMEs ด้านการท่องเที่ยว เช่น สนิ เช่ือเฉพาะ และสินเชอ่ื ท่ีมเี งือ่ นไข
ผอ่ นปรน เป็นต้น
สง่ เสรมิ ขอ้ มลู ทาง - โครงการสรา้ งแรงจูงใจใหก้ ับสายการบนิ
การตลาด - ลดค่าธรรมเนียมเรียกเกบ็ สาหรบั การฝกึ อบรมบุคลากรของธรุ กิจนาเท่ียว
- สนบั สนนุ คา่ ตอบแทนสาหรบั บคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว เพอื่ ชว่ ยธรุ กิจใหส้ ามารถจา้ งงานไดต้ อ่ ไป
สรา้ งความรว่ มมอื - สนับสนนุ ดา้ นการเงนิ สาหรบั ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม
ระหวา่ งภาครฐั และ - สนบั สนนุ ธุรกจิ ที่มกี ารจัดฝึกอบรมเพอ่ื พฒั นาทกั ษะด้านดิจิทลั ใหก้ บั พนักงาน
เอกชน (PPP) - จดั ฝกึ อบรมและเสริมทักษะซา้ ใหก้ ับบคุ ลากรด้านการท่องเทย่ี ว รวมทัง้ ผวู้ า่ งงาน
- จัดให้ภาคการท่องเท่ยี วไดร้ ับการสนบั สนนุ ด้านการจ้างงานเปน็ พเิ ศษ
- จดั ให้มโี ปรแกรมการเสรมิ สร้างศักยภาพด้านการท่องเทีย่ ว
- มกี ารจัดต้ังกลไกในรปู แบบต่าง ๆ เพอ่ื แก้วิกฤตโควิด 19
- จัดใหม้ ีชอ่ งทางการสอ่ื สาร เช่น แพลทฟอรม์ ดจิ ทิ ลั เพ่อื ใหข้ ้อมลู แกผ่ ้ทู เี่ กี่ยวขอ้ งในอุตสาหกรรม
ทอ่ งเท่ยี ว เปน็ ตน้
- บรหิ ารจดั การขอ้ มลู ให้เปน็ ปจั จุบัน เพือ่ จะไดเ้ ขา้ ใจถึงความตอ้ งการด้านการทอ่ งเท่ียว โดยมีการสารวจ
ศกึ ษา และการคาดการณ์ ได้อยา่ งถูกต้องและทนั สมัย
- จดั ทาคูม่ ือคาแนะนาเกีย่ วกบั สถานการณใ์ หม่ที่อาจเกดิ ข้ึนสาหรบั ธรุ กจิ และการดาเนนิ การอยา่ ง
มอื อาชพี ในอตุ สาหกรรมท่องเท่ยี ว
- การวัดผลกระทบทงั้ ในระยะสั้น ปานกลาง และระยะยาว
- จัดแคมเปญสง่ เสรมิ การท่องเท่ยี วภายใต้สถานการณจ์ ริงท่ีเกดิ ข้นึ
- จัดตงั้ กองทนุ สาหรับการฟื้นตวั เพอ่ื ลดผลกระทบในสาขาการทอ่ งเท่ียว
- จดั ตัง้ กองทนุ ร่วมระหว่างภาครฐั และภาคเอกชน
- จดั ตง้ั กลไกการทางานร่วมกนั ในรปู ของคณะกรรมการหรอื รปู แบบอน่ื ๆ สาหรับให้คาปรึกษากบั
ภาคเอกชน
- จดั ทากลยุทธ์การบรหิ ารจัดการวิกฤติ
- จดั ให้มแี พลตฟอร์มสาหรับผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งในภาคเอกชน
- สนบั สนนุ โปรแกรมการลงทนุ ให้กับภาคธรุ กิจ
- สนบั สนนุ ธรุ กจิ ด้วยการอานวยความสะดวกทางด้านดจิ ิทลั

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

นโยบาย มาตรการ
สนบั สนนุ การเรมิ่ ตน้ - จดั ใหม้ ีบัตรกานลั (Vouchers) จา่ ยเงนิ คืนสาหรับค่าใชจ้ ่ายในการถกู ยกเลิกโปรแกรมการเดนิ ทาง
ใหมท่ างดา้ น
การทอ่ งเทยี่ ว ท่องเทยี่ วเน่อื งจากสถานการณโ์ ควิด 19
- ปรับปรุงข้อกฏหมายเก่ียวกบั สัญญาตา่ ง ๆ เพือ่ ปกปูองคุ้มครองทง้ั ลกู ค้าและธุรกิจนาเทย่ี ว
สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว - จดั ทาคมู่ อื และขอ้ แนะนาเกยี่ วกับสญั ญาทีไ่ มส่ ามารถดาเนินการไดจ้ ากสถานการณ์โควดิ 19
ในประเทศ - จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภยั และสขุ อนามยั การรบั รอง และเครือ่ งหมายรบั รองสาหรบั

ธุรกิจด้านการท่องเที่ยว
- สรา้ งเสน้ ทางการบนิ ท่ีปลอดภัยระหว่างประเทศเพือ่ เปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของการท่องเที่ยวระหวา่ ง

ประเทศ
- จัดให้มบี ตั รกานัล (Vouchers) วันหยุดสาหรบั การเดนิ ทางในประเทศ
- สง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวในประเทศและแคมเปญด้านการตลาด
- ยกเวน้ ค่าธรรมเนยี มสาหรับคา่ บรกิ ารของสายการบินในประเทศและคา่ ใช้จา่ ยดา้ นการรักษา

ความปลอดภยั ดา้ นการบนิ ในประเทศและในภมู ิภาค
- ลงทนุ รว่ มกบั โครงการส่งเสรมิ การทอ่ งเที่ยวขนาดเลก็ และโครงการทด่ี าเนินการกบั ตลาดในประเทศ
- สนับสนุนความคิดริเรม่ิ ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
- คาดการณ์ความต้องการการท่องเทยี่ วภายในประเทศ

ตาราง 2.๑ สรปุ มาตรการด้านการทอ่ งเท่ียวของประเทศต่าง ๆ ทถ่ี กู นามาใช้ในชว่ งกลางปี พ.ศ. 2563

ที่มา: รายงานสภาวะเศรษฐกจิ การท่องเทย่ี ว ปที ่ี 1 ฉบบั ท่ี 4 (กรกฎาคม - กันยายน พ.ศ. 2563)

๑.๓ แนวโน้มการทอ่ งเทยี่ วหลงั วิกฤตโควิด 19

จากการสารวจความเห็นของผู้เช่ียวชาญด้านการท่องเท่ียวขององค์การการท่องเที่ยวโลกแห่ง
สหประชาชาติพบว่า การท่องเท่ียวภายในประเทศยังเป็นกิจกรรมหลัก โดยพบว่าแนวโน้มการท่องเท่ียวพักผ่อน
ใกล้บ้าน (Staycation หรือ Vacation Close to Home) ได้รับความนิยมเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ อีกทั้งรัฐบาลของ
ทกุ ประเทศทัว่ โลกต่างมีนโยบายกระตนุ้ การท่องเท่ยี วในประเทศเพ่อื ช่วยเหลอื ธุรกิจท่องเท่ียวในประเทศของตนให้
ฟืน้ กลบั คืนมา ในขณะท่ีการเดินทางระหวา่ งประเทศยังไม่สามารถเปิดไดเ้ ตม็ ที่

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๘

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

รูป 2.๑๒ แนวโนม้ การทอ่ งเที่ยวของโลกในปี พ.ศ. 2564

ท่มี า: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

อย่างไรก็ตาม รายได้จากการท่องเท่ียวของนักท่องเท่ียวภายในประเทศจะทาให้การท่องเท่ียวของ
แต่ละประเทศกลับคืนสู่ระดับใกล้เคียงกับรายได้เดิมก่อนวิกฤตโควิดมากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับว่ารายได้
จากการท่องเท่ียวของประเทศน้ัน ๆ พ่ึงพารายได้จากการท่องเท่ียวในประเทศหรือต่างประเทศเป็นหลัก
ซึ่งประเทศท่ีพัฒนาแล้วอย่างญ่ีปุน สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จะมีสัดส่วนของรายได้จากการท่องเที่ยวใน
ประเทศทม่ี ากกวา่ สดั ส่วนของรายได้จากนกั ทอ่ งเท่ียวต่างประเทศ ในขณะที่ประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
โดยเฉพาะประเทศไทยพึ่งพารายได้จากการทอ่ งเท่ียวจากต่างประเทศเป็นหลัก ส่งผลให้การส่งเสริมการท่องเที่ยว
ในประเทศจะช่วยให้รายได้จากการท่องเที่ยวฟ้ืนกลับมาได้ไม่มากนัก และจาเป็นต้องมีนโยบายที่ถูกต้องเพื่อให้
การ ท่องเที่ย ว ใน ปร ะเท ศเข้าไปช ด เช ย พื้น ท่ีท่อ งเท่ีย ว เดิ ม ที่เป็น แห ล่ ง ท่องเท่ีย ว ห ลั กของนั กท่ องเที่ย ว จ า ก
ต่างประเทศ

รปู 2.๑๓ สัดสว่ นรายไดจ้ ากนักท่องเทยี่ วในประเทศและนักทอ่ งเท่ยี วตา่ งประเทศของ
กล่มุ ประเทศทสี่ าคัญเทยี บกบั ไทย (พ.ศ. 2561)

ที่มา: UNWTO Briefing Note – Tourism and Covid – 19 issue 3, September 2020

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๑๙

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

รูป 2.๑๔ สดั สว่ นรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ วต่อ GDP ของประเทศไทยและ
ประเทศทส่ี าคัญด้านการท่องเที่ยวของไทย

ทม่ี า: World Tourism Organization

นอกจากนี้ ประเทศท่ีมีสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวต่อ GDP สูง จะยิ่งได้รับผลกระทบอย่างมาก
จากสถานการณโ์ ควิด 19 ในทางตรงกันข้ามประเทศที่พ่ึงพิงรายได้จากนักท่องเท่ียวในประเทศมากกว่ารายได้จาก
นกั ท่องเท่ียวตา่ งประเทศ จะได้ประโยชน์จากการกระตุ้นการท่องเที่ยวในประเทศมากกว่าและมีโอกาสในการฟ้ืนตัว
ท่ีเร็วกว่า ซึ่งจากรูปที่ ๒.๑๔ จะเห็นได้ว่า ไทยเป็นประเทศท่ีมีทั้งสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวต่อ GDP สูงถึง
๒๑.๙ และยังพึ่งพิงรายได้จากนักท่องเท่ียวต่างประเทศมากกว่านักท่องเที่ยวในประเทศ ดังน้ัน ประเทศไทยจึง
ได้รับผลกระทบจากวิกฤตครั้งนี้มากเป็นลาดับต้น ๆ ของโลก และจากผลสารวจความเห็นของผู้เช่ียวชาญเกี่ยวกับ
ความเช่ือมั่นว่าการท่องเที่ยวในประเทศจะสามารถฟ้ืนฟูอุตสาหกรรมท่องเท่ียวของแต่ละประเทศได้หรือไม่นั้น
ส่วนใหญม่ ีความเหน็ วา่ ช่วยได้เพยี งบางสว่ น

รูป 2.1๕ ความเห็นของผเู้ ชย่ี วชาญเก่ียวกับความเช่ือมน่ั ว่าการท่องเท่ียวในประเทศจะสามารถฟื้นฟู
อตุ สาหกรรมท่องเท่ียวของแต่ละประเทศได้

ที่มา: World Tourism Barometer Volume 19: Issue 1 January 2021

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๐

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

แม้จะมีความต้องการนกั ท่องเที่ยวจากต่างประเทศ แต่ความกังวลในด้านความปลอดภัยด้านสุขภาพ
จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวต่างประเทศทาให้หลายประเทศเลือกท่ีจะใช้มาตรการ Travel Bubble กับ
ประเทศท่ีตนมั่นใจและทามาตรการร่วมกัน ก่อนที่จะค่อย ๆ ลดข้อจากัดของการเดินทางและขยายการท่องเท่ียว
กับประเทศอ่ืน ๆ มากยิ่งขึ้น แต่ก็มีบางประเทศท่ีเริ่มเปิดให้นักท่องเท่ียวเข้าประเทศได้ง่ายมากขึ้นภายใต้เงื่อนไข
ความปลอดภัยด้านสาธารณสุขตามท่ีกาหนด ดังมีตัวอย่างประเทศที่มีการผ่อนคลายให้ชาวต่างชาติเดินทางเข้า
ประเทศในชว่ งไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2563 ดังแสดงในตาราง

ประเทศ รายละเอยี ด

โครเอเชยี ออกใบอนุญาตพกั อาศัยเป็นเวลา ๑ ปี ให้กับกลุ่ม Digital Nomad จากประเทศนอกกลุ่มยุโรป โดยไม่ต้องมีวีซา
เฮติ นักท่องเที่ยว
เม็กซิโก ให้บริการเท่ียวบินระหว่างประเทศ และยกเลิกข้อจากัดการเดินทาง ผู้เดินทางทุกคนต้องตรวจวัดอุณหภูมิ
บราซิล โดยต้องแสดงแบบฟอร์มสขุ ภาพเม่ือเดินทางมาถึงและแยกตัวเองเป็นเวลา ๑๔ วันในทีพ่ กั ของตนเอง
ตรุ กี
มัลดีฟส์ ไม่มีข้อจากัดในการเข้าประเทศ แต่นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาจากประเทศที่มีการแพร่ระบาดของโควิด 19
จะไดร้ บั การคัดกรองและกักกนั หากจาเป็น
ยกเลิกกฎระเบียบการเข้าเมืองที่เก่ียวข้องกับไวรัสโคโรนาแล ะเปิดพรมแดนอีกครั้งยกเว้นบางสนามบิน
โดยชาวตา่ งชาติอยู่ไดไ้ มเ่ กนิ ๙๐ วัน และจะตอ้ งมหี ลกั ฐานการประกันสขุ ภาพตลอดระยะเวลาทพี่ านักอยู่
ยกเลกิ ข้อจากัดการเดนิ ทางสว่ นใหญ่ โดยชาวต่างชาตทิ งั้ หมดจะตอ้ งมผี ลการตรวจโควิด 19 รวมถึงการตรวจสอบ
อณุ หภูมิ และอาจจะตอ้ งได้รบั การทดสอบโควิด 19 อีกครง้ั เมอ่ื เดินทางมาถงึ ตรุ กี

นกั ทอ่ งเทย่ี วท่มี ีผลตรวจ PCR เป็นลบ ไม่ต้องถูกกักตัว

ไซปรสั อนุญาตให้นกั ทอ่ งเทย่ี วท่ีไดร้ บั วัคซนี ครบโดสแลว้ เข้าประเทศไดโ้ ดยไมต่ อ้ งถกู กักตัว
จอร์เจยี

ฝร่งั เศส ผ่อนปรนขอ้ จากัดด้านการเดินทางระหว่างประเทศในภูมิภาคยุโรป และอีกประมาณ ๑๐ ประเทศ รวมถึงประเทศ
เยอรมนี ไทย โดยไม่ต้องกักตัว แต่ต้องมีผลตรวจเช้ือโควิด 19 และต้องอยู่ในประเทศที่ได้รับอนุญาตเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
๒ สปั ดาห์และไมไ่ ดต้ ดิ ตอ่ กบั ผูป้ วุ ยทไี่ ด้รับการยนื ยันในช่วงสองสัปดาหก์ อ่ นหนา้
เอสโตเนยี อนญุ าตใหน้ กั ท่องเที่ยวในประเทศกลุม่ สหภาพยุโรปท่ีได้รับวัคซีนแล้วเดินทางเข้าประเทศโดยไม่ต้องผ่านเงื่อนไข
ไอซแ์ ลนด์ การกกั ตัว
โปแลนด์
โรมาเนีย

สหรฐั อเมรกิ า จากัดการเข้าออกของชาวต่างชาติทุกคนท่ีผ่าน หรือ เคยอยู่ในจีน อิหร่าน ภูมิภาคยุโรป สหราชอาณาจักร
ไอรแ์ ลนด์ และบราซิลในช่วง 14 วนั ท่ผี า่ นมา

แคนาดา จากัดการเดินทางเข้าประเทศเพ่ือการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติ และอนุญาตชาวต่างชาติสามารถเดินทางเข้า
เฉพาะวัตถปุ ระสงคท์ จ่ี าเป็น

สงิ คโปร์ เร่ิมเปิดให้เฉพาะนักธุรกิจจากประเทศจีน เกาหลีใต้ ญี่ปุน และมาเลเซีย และเปิดรับนักท่องเที่ยวจากบรูไนและ
นิวซีแลนด์ที่เดินทางมาทางอากาศ เปิดให้นักท่องเที่ยวจีนเดินทางท่องเที่ยวโดยไม่ต้องกักตัว เร่ิมวันท่ี
6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 แต่จะตอ้ งมีการตรวจเชอื้ โควดิ 19 ณ สนามบินชางงี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๑

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

ประเทศ รายละเอยี ด

ไทย อนุญาตให้ชาวต่างชาติท่ีทางานหรือศึกษาในไทย เข้ามาจัดแสดงสินค้า การถ่ายทาภาพยนตร์ เดินทางมา
รักษาพยาบาล และชาวต่างชาติที่มีบัตรสมาชิกพิเศษประเทศไทย หรืออีลิทการ์ด ผู้ถือวีซ่าชั่วคราว หรือ
สหรฐั อาหรับ Non-Immigrant ประเภทต่าง ๆ เดินทางเข้าประเทศ สาหรับกลุ่ม Long Stay กลุ่มนักธุรกิจที่ถือบัตร APEC Card
อิมเิ รตส์ สามารถเดินทางเข้าประเทศได้ และ อนุญาตให้ผู้ท่ีประสงค์จะพานักในประเทศไทยในระยะสั้น และระยะยาว
เดินทางเขา้ ประเทศ 60 วัน สามารถตอ่ ไดอ้ ีก 30 วนั นกั ท่องเที่ยวต่างชาติประเภทพิเศษ หรือ Special Tourist
Visa (STV) เข้ามาท่องเที่ยวในไทยได้ในรูปแบบ Long Stay โดยมาตรการน้ีมีผลต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม
พ.ศ. 2563 ไปจนถึง 30 กนั ยายน พ.ศ. 2564 รวมถงึ นกั ทอ่ งเทีย่ วที่เดินทางมากบั เรอื สาราญและนักท่องเที่ยว
ท่มี าแข่งกีฬา
ผู้ที่จะเดินทางจะต้องแสดงผลการทดสอบโควิด 19 ท่ีเป็นลบ ก่อนเดินทาง ๙๖ ชั่วโมง แต่ยังคงมีมาตรการ
การแยกตัวเอง ๑๔ วัน และสวมสายรัดขอ้ มือที่ได้รับการรบั รองทางการแพทย์

มาเลเซีย จากัดการเดินทางเข้าประเทศเพ่ือการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติจนถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ยกเว้น
พลเมืองผู้มีถ่ินท่ีอยู่ถาวรท่ีมีบัตร MyPR นักการทูตพนักงานสถานทูตและคู่สมรส หรือบุตรของคนสัญชาติ
มาเลเซียทต่ี ้องมวี ีซ่าในหนังสือเดินทางที่ระบุสถานะ Malaysia My Second Home (MM2H) และใบอนุญาตเข้า
เมืองและนกั เรยี นทม่ี ีบตั รนักเรยี นสาหรบั สถาบนั ในมาเลเซีย

อนิ โดนีเซีย ชาวต่างชาติท่ีมีบัตรอนุญาตการเข้าพักแบบจากัด (Kitas) บัตรอนุญาตให้พานักถาวร (Kitap) หรือใบอนุญาตอ่ืน
ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั จะยังคงไดร้ ับอนุญาตให้เข้าประเทศได้

ฟลิ ปิ ปินส์ ชาวตา่ งชาตทิ ีม่ วี ีซ่าพานกั ระยะยาว พนกั งานทตู ค่สู มรส/บตุ ร ท่มี ีสญั ชาตฟิ ิลิปปนิ ส์ สามารถเดินทางเขา้ ได้

เวียดนาม มแี ผนที่เปดิ ให้บริการเที่ยวบินพาณิชย์ระหว่างประเทศไปยังจุดหมายปลายทาง ๖ แห่ง ได้แก่ กวางโจว ไต้หวัน โซล
โตเกยี ว พนมเปญ และเวียงจนั ทน์ ในขณะนีก้ าลังเสนอให้นักการทูตผเู้ ช่ียวชาญนักลงทุนและสมาชิกในครอบครัว
สามารถเดินทางกลับมาเวยี ดนาม โดยต้องปฏิบัติตามกฎข้อบังคับเฉพาะของ Covid 19 และนาเอกสารที่จาเป็น
เพื่อทีจ่ ะได้รับอนุญาตให้เข้าประเทศเวยี ดนาม

ออสเตรเลยี จากัดการเข้าออกของชาวต่างชาติ ยกเว้นผู้มีสัญชาติออสเตรเลีย และชาวนิวซีแลนด์ที่มีถ่ินท่ีอยู่ถาวรใน
ออสเตรเลีย นักการทตู และสมาชกิ ครอบครวั ท่ไี ดร้ ับการรับรองจากออสเตรเลยี

นิวซีแลนด์ จากัดการเข้าออกของชาวต่างชาติทุกสัญชาติยกเว้นชาวออสเตรเลียท่ีอาศัยอยู่ในนิวซีแลนด์ และพลเมืองชาวซามัว
หรือตองกาท่มี คี วามจาเปน็ ในการเดนิ ทาง

ตาราง 2.๒ ตวั อยา่ งประเทศทม่ี กี ารผ่อนคลายชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศในไตรมาส 3 พ.ศ. 2563

ทม่ี า : IATA และข่าวทเ่ี ผยแพรผ่ า่ นอนิ เตอร์เนต็

อย่างไรก็ตาม ในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี พ.ศ. 2564 เม่ือหลายประเทศเร่ิมฉีดวัคซีนให้กับ
ประชาชนของตนเองแล้ว ทาให้บางประเทศเร่ิมเสนอใช้มาตรการออกใบรับรองสุขภาพให้กับประชาชนของตนเอง
ที่ฉดี วัคซีนแลว้ เพอื่ เตรียมความพรอ้ มให้กับประชาชนของตนในการเดินทางไปต่างประเทศ โดยบางประเทศท่ีเริ่ม
ออกให้แล้ว เช่น จีน และทค่ี าดว่าจะออกให้ได้ในปี พ.ศ. 2564 เช่น กล่มุ ประเทศสหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร
สหรฐั อเมริกา

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๒

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

๑.๔ ผลกระทบของวกิ ฤตโควิด 19 ตอ่ การท่องเที่ยวไทยและมาตรการช่วยเหลือของรฐั บาล
๑.๔.๑ สถานการณ์การท่องเท่ยี วไทย ชว่ งปี พ.ศ. 2563
จากการที่รัฐบาลไทยประกาศปิดน่านฟูาและชายแดนระหว่างประเทศในช่วงต้นเดือนเมษายน

พ.ศ. ๒๕๖๓ เพ่ือควบคุมการระบาดของโรคโควิด 19 ในประเทศ ทาให้จานวนการท่องเที่ยวไทยต้ังแต่ไตรมาส ๒
จนถึงปลายปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ต่าสุดเป็นประวัติการณ์ทั้งจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติและนักท่องเที่ยวไทยเท่ียวใน
ประเทศ แมจ้ ะมกี ารผอ่ นคลายมาตรการการเดินทางในชว่ งไตรมาส ๓ ของปี พ.ศ ๒๕๖๓ แลว้ ก็ตาม

รูป 2.๑๖ จานวนนกั ท่องเท่ียวและรายไดจ้ ากการท่องเท่ียวของไทยปี พ.ศ. 2562 และ 2563

ทีม่ า: กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา

๑.๔.๒ ผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นปีก่อนวิกฤตโควิด 19 ประเทศไทยมีนักท่องเที่ยวต่างชาติจานวน

๓๙.๙๒ ล้านคน ในจานวนนี้เป็นนักท่องเที่ยวจีนถึงร้อยละ ๒๗.๙ มาเลเซียร้อยละ ๑๐.๗ อินเดียร้อยละ ๔.๙
ประเทศอื่นในเอเชยี ร้อยละ ๓๐.๗ รัสเซียร้อยละ ๓.๗ ประเทศอ่ืนในยุโรปร้อยละ ๑๒.๖ และประเทศอื่น ๆ ร้อยละ ๙.๔
แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จานวนนักท่องเท่ียวตา่ งชาติลดลงเหลอื เพยี ง ๖.๗ ล้านคน1 ซ่ึงเกือบท้ังหมดเป็นนักท่องเท่ียว
ทเี่ ขา้ มาก่อนมาตรการ Lockdown ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบอยา่ งรุนแรงตอ่ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทย

๑จากการเสวนาเรอื่ ง เศรษฐกจิ ภาคบรกิ าร - ทอ่ งเทีย่ ว (สถาบันพระปกเกลา้ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๔)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๓

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

จากการสารวจผู้ประกอบการท่ีได้รับผลกระทบโดยศูนย์วิจัยด้านกา รตลาดการท่องเที่ยว
(TAT Intelligence Center) ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ณ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2564 พบว่ามี
จานวนผปู้ ระกอบการในสาขาต่าง ๆ ของอตุ สาหกรรมท่องเทย่ี ว ไดร้ บั ผลกระทบดังนี้

รูป 2.๑๗ ผลสารวจผ้ปู ระกอบการทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ

ทม่ี า: การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย

ในภาพรวมของเศรษฐกิจมหภาค สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาได้จัดทา
บญั ชปี ระชาชาติดา้ นการทอ่ งเท่ียว (Tourism Satellite Account: TSA) แสดงให้เห็นผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อ
ผลิตภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศดา้ นการทอ่ งเท่ยี วของไทย ดงั น้ี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๔

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

รปู 2.1๘ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจการท่องเท่ียวของไทยดา้ นค่าใช้จา่ ยการท่องเท่ยี ว

ทีม่ า: สานกั งานปลดั กระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกฬี า

รปู ๒.๑๙ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจการท่องเทีย่ วของไทยด้านสัดส่วนผลติ ภณั ฑ์มวลรวม
ภายในประเทศดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว

ที่มา: สานกั งานปลดั กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๕

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

รูป ๒.๒๐ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ การท่องเท่ยี วของไทยด้านสดั ส่วนผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ดา้ นการท่องเที่ยว ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ รายไตรมาส

ท่ีมา: สานักงานปลดั กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า

๑.๔.๓ ความตอ้ งการความช่วยเหลือของภาคเอกชนและการตอบสนองของภาครัฐ
ผู้ประกอบการท่องเท่ียวจานวนมากได้ร้องขอต่อภาครัฐให้เข้าช่วยเหลือในหลายด้าน

และภาครฐั ได้ออกมาตรการช่วยเหลอื อยา่ งเรง่ ดว่ นหลายมาตรการ สรปุ ไดด้ งั น้ี

ความช่วยเหลือทภี่ าคเอกชนตอ้ งการ ประเภทความ การตอบสนองของภาครัฐ
มาตรการช่วยรายจา่ ย ชว่ ยเหลือ
ลดภาษเี งินได้นติ บิ คุ คล ลดภาษเี งินได้ เลอ่ื นเวลาย่นื ภาษบี คุ คลธรรมดาและนติ ิบุคคล*
ลดต้นทนุ คงท่ี ขยายเวลายืน่ ภาษีกิจการสถานบรกิ ารตาม
Co-payment เงินเดอื นพนกั งาน บัญชพี กิ ัดอตั ราภาษสี รรพสามติ *
พักชาระคา่ น้า คา่ ไฟ ลดตน้ ทุนคงที่ ประกนั สงั คม
ขยายเวลาคา่ ไฟฟาู สาหรับธรุ กิจโรงแรมและ
ลดเงินสมทบประกันสงั คม ท่พี ักอาศยั *
ลดเงินประกันธรุ กิจนาเท่ยี วในช่วงวิกฤต ขยายเวลานา้ ประปาสาหรบั ธุรกิจโรงแรมและ
ช่วยเจรจาเรอื่ งพกั ชาระคา่ เช่า ทพ่ี ักอาศัย*
ลดเงนิ สมทบเข้ากองทนุ ประกนั สงั คม*
คืนเงินหลักประกนั ของผปู้ ระกอบการธุรกจิ
นาเทยี่ ว
เลอ่ื นการจา่ ยคา่ เชา่ ที่ราชพัสด*ุ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๖

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

ความช่วยเหลือที่ภาคเอกชนตอ้ งการ ประเภทความ การตอบสนองของภาครัฐ
มาตรการเพิม่ รายได้ ช่วยเหลือ
อุดหนนุ เงินคา่ ท่องเทีย่ วแก่คนไทย โครงการ เราเที่ยวด้วยกนั
รฐั ชดเชยส่วนต่างคา่ โดยสาร (สทท) กระตุ้นยอดขาย โครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวกลมุ่ ผู้สูงอายุ
อุดหนุนเงินทอ่ งเท่ียว (สทท) ในประเทศ มาตรการ Workation Thailand
โครงการกาลงั ใจ
มาตรการสภาพคลอ่ ง กระต้นุ ยอดขาย Special Tourist Visa (STV)
Soft Loan ตา่ งประเทศ
เพิ่มสภาพคล่อง 1. Soft Loan เพื่อธุรกจิ ท่องเทยี่ ว 10,000
พกั ชาระหนี้ และปรบั โครงสรา้ งหน้ี ล้านบาท*
เพิม่ สภาพคล่อง
ชว่ ยเหลือแรงงาน 2. Soft Loan เพื่อธุรกิจ SME 500,000
ลดภาษหี ัก ณ ที่จ่าย ลดรายจา่ ย ลา้ นบาท*
สนับสนุนเงินเดือนลกู จา้ ง ปกส และ ลดผลกระทบ
เยียวยาผไู้ ม่อย่ใู นระบบประกนั สงั คม คนทางาน 3. Soft Loan ออมสินฟน้ื ฟทู อ่ งเทีย่ วไทย
5,000 ล้าน*

4. SMEs มที ี่ มเี งิน*
พักชาระเงินต้น 3 เดือนพร้อมพิจารณา
ลดอัตราดอกเบยี้ *
ลดดอกเบยี้ จ่ายของผู้ประกอบการ*
Asset Warehousing

ลดอตั ราภาษีเงนิ ไดห้ ัก ณ ท่จี ่าย*
จา่ ยเงินจากการวา่ งงานกรณลี าออก*
จ่ายเงินจากการว่างงานกรณีถูกไลอ่ อก*
จ่ายเงนิ จากการว่างงานกรณผี ปู้ ระกนั ตนไม่ได้
ทางานและไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง*
เยียวยา 5,000 บาท ผ่านโครงการ
เราไมท่ ิง้ กัน*

ตาราง 2.๓ เปรียบเทยี บความตอ้ งการความชว่ ยเหลอื ของภาคเอกชนและการตอบสนองของภาครัฐ
*มาตรการกระตนุ้ เศรษฐกิจดา้ นการท่องเทยี่ วตามการประชุมคณะกรรมการนโยบายท่องเทย่ี วแห่งชาติ

วนั ที่ 14 มกราคม พ.ศ. ๒๕64

ทง้ั นี้ ศนู ย์วจิ ยั ดา้ นการตลาดการท่องเท่ียวของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้สารวจข้อมูล
ความตอ้ งการความช่วยเหลอื ของผ้ปู ระกอบการด้านต่าง ๆ ไวด้ งั น้ี

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ

รูป 2.2๑ ความต้องการ มาตรการสินเช่ือดอกเบี้ยต่า (Soft Loan)

ท่ีมา: การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย

รูป 2.๒๒ ความต้องการ มาตรการลดตน้ ทนุ ค่าใช้จา่ ยตา่ ง ๆ

ทีม่ า: การทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๘

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

รปู 2.๒๓ ความตอ้ งการลดต้นทุนด้านตา่ ง ๆ

ท่ีมา: การท่องเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย

อยา่ งไรก็ตาม แม้ว่าภาครัฐจะมีความพยายามเข้าช่วยเหลือผู้ประกอบการด้วยมาตรการต่าง ๆ
แต่ก็มีผู้ประกอบการจานวนมากยังไม่สามารถเข้ารับความช่วยเหลือ ซ่ึงศูนย์วิจัยด้านการตลาดการท่องเที่ยวของ
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้สรุปสถานะปัจจุบัน ณ วันท่ี 14 มกราคม พ.ศ. 2564 ของผู้ประกอบการ
เกี่ยวกบั การขอย่นื กู้ Soft Loan ไว้ดงั นี้

รปู 2.๒๔ การเข้ารับความชว่ ยเหลอื

ทม่ี า: การทอ่ งเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย
แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๒๙

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

โดยมีสถานะของการย่ืนกู้ ดังนี้

รูป 2.๒๕ สถานะของการยนื่ กู้

ทมี่ า: การท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย

จากข้อมูลจะเห็นได้ว่า หากผู้ประกอบการมีคุณสมบัติท่ีสามารถเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้และใช้สิทธิ
ในการย่ืนกู้ ผู้ประกอบการจะได้รับความช่วยเหลือ ซ่ึงในส่วนของผู้ประกอบการที่ยังไม่ได้กู้ จะต้องทาการสารวจ
ข้อมูลเพ่มิ เติมเพื่อทราบถงึ สาเหตแุ ละให้ความชว่ ยเหลือที่ตรงความต้องการต่อไป

๑.๕ สถานการณแ์ ละแนวโน้มการท่องเที่ยวของไทย ชว่ งปี พ.ศ. 2564 - 2565
ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 หน่วยงานด้านนโยบาย หน่วยงานขับเคลื่อน

และสานักวิจัยต่าง ๆ ท้ังของรัฐและเอกชนของประเทศไทยได้ทาการประเมินจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ท่จี ะเข้ามาในประเทศไทยชว่ งปี พ.ศ. 2564 ไวด้ งั ตารางต่อไปนี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๐

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

หน่วยงาน จานวน จานวน รายได้จาก รายไดจ้ าก รายไดร้ วม การเติบโต วนั ท่ี

นกั ทอ่ งเที่ยว การทอ่ งเทย่ี ว นกั ท่องเท่ยี ว นักท่องเที่ยว (ลล.บาท) ของ GDP คาดการณ์

ตา่ งชาติ ในประเทศ ต่างชาติ ในประเทศ ของไทย

(ล้านคน) (ลา้ นครงั้ ) (ลล.บาท) (ลล.บาท) (% yoy)

สภาพัฒนฯ์ 3.2 0.32 2.5 – 3.5 15 ก.พ. 64

สศค. 5 0.26 2.8 28 ม.ค. 64

ก.ท่องเที่ยวฯ 3.57–4.99 0.2–0.29 15 ก.พ. 64

ธปท. ๓.๐ 3.๐ 2๔ มี.ค. 6๔

ศวจ.กสกิ ร 2.0–4.5 90–120 0.22–0.34 0.5–0.66 0.72–1.0 2.6 7 ม.ค. 64

EIC ไทยพาณชิ ย์ 3.7 2.๖ ๑๑ มี.ค. 64

ศวจ.กรุงศรี 4.0 2.5 11 ม.ค. 64

ศวจ.กรงุ ไทย 4.4 109.6 2.5 13 ม.ค. 64

ศวจ.KKP 1.0 2.7 17 มี.ค. 64

ตาราง 2.๔ ประมาณการจานวนนกั ท่องเท่ยี วและรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564

ทม่ี า: สานักงานปลดั กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา

วันท่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2564

ท้ังนี้ คาดว่าประเทศจะเร่ิมเปิดรับนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศได้ในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี
ซ่งึ เป็นชว่ งทก่ี ารฉีดวคั ซนี ของประเทศมคี วามคืบหน้าไปแลว้ เปน็ สว่ นใหญ่

เดอื น ปรมิ าณโดส เปา้ หมายผู้ท่ีไดร้ บั วัคซีน
ก.พ. 2564
มี.ค. - พ.ค. 2564 2 แสน - บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ

ม.ิ ย. - ธ.ค. 2564 1.8 ลา้ น - บคุ คลทีม่ โี รคประจาตัวบางโรค

- ผทู้ ม่ี อี ายุ 60 ปขี ้นึ ไป

- เจ้าหนา้ ทคี่ วบคุมโรคท่ีมโี อกาสสมั ผัสผปู้ ุวย

- ประชาชนท่วั ไปและแรงงานในพื้นทร่ี ะบาด

26 ลา้ น + จองเพิม่ 35 ลา้ น - ประชาชนทัว่ ไป

- แรงงานในภาคอตุ สาหกรรม

- ผ้ปู ระกอบอาชีพด้านการท่องเท่ยี ว

- ผู้เดินทางระหวา่ งประเทศ

- กลุ่มเปาู หมายระยะที่ 1 ในจังหวัดทเ่ี หลอื

- บุคลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ อนื่

ตาราง 2.๕ แผนการฉีดวัคซีนของประเทศไทย

ท่ีมา: การประชมุ คณะกรรมการโรคติดตอ่ แห่งชาติ

วันท่ี 8 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564

ในขณะทป่ี ระเทศท่เี ป็นลูกค้าที่สาคญั ของการทอ่ งเทยี่ วไทย มีกาหนดการฉีดวัคซีนและคาดการณ์
ชว่ งเวลาทป่ี ระชาชนของแตล่ ะประเทศเริม่ เดินทางออกนอกประเทศได้ ดังนี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๑

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

ประเทศ เข็มท่ี ๑ นักท่องเทยี่ วเร่มิ เดินทางได้

รัสเซยี มกราคม พ.ศ. 2564 มีนาคม พ.ศ. 2564

จีน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เมษายน พ.ศ. 2564

สงิ คโปร์ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 เมษายน พ.ศ. 2564

สหรัฐอเมรกิ า มีนาคม พ.ศ. 2564 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

เกาหลีใต้ มนี าคม พ.ศ. 2564 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

สหรฐั อาหรบั อิมเิ รตส์ มีนาคม พ.ศ. 2564 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

สหภาพยโุ รป (EU) เมษายน พ.ศ. 2564 มิถนุ ายน พ.ศ. 2564

อนิ เดยี เมษายน พ.ศ. 2564 มิถุนายน พ.ศ. 2564

อนิ โดนเี ซยี เมษายน พ.ศ. 2564 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564

ญป่ี ุน พฤษภาคม พ.ศ. 2564 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ออสเตรเลีย พฤษภาคม พ.ศ. 2564 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

สวีเดน มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 สงิ หาคม พ.ศ. 2564

มาเลเซยี กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ตุลาคม พ.ศ. 2564

สหราชอาณาจกั ร กันยายน พ.ศ. 2564 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ตาราง 2.๖ กาหนดการฉดี วคั ซนี ของประเทศกลมุ่ นักท่องเทีย่ วที่สาคญั ของไทย

ท่มี า: เอกสารนาเสนอ งานวเิ คราะห์ตลาดตา่ งประเทศ การท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย

วนั ท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2564

เพ่ือสอดรับกับมาตรการการฉีดวัคซีนของไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก กระทรวงการท่องเท่ียว
และกฬี าไดเ้ สนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขับเคลือ่ นแผนการเปดิ ประเทศดังแสดงในตาราง

Area Quarantine Track and Trace
ต.ค. 2564 เปน็ ต้นไป
เม.ย. - พ.ค. 2564 มิ.ย. - ก.ย. 2564 พิจารณายกเลกิ COE
บางประเทศ
เงือ่ นไข นักท่องเทยี่ วตอ้ งเข้าพักใน นกั ท่องเทย่ี วตอ้ งเข้าพกั ใน
จานวนวนั กักตัว ไม่กกั ตัว
พืน้ ทีเ่ ปาู หมาย โรงแรมทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ โรงแรมท่ีเข้ารว่ มโครงการ ใช้ vaccine certificate และ
กลุม่ เปูาหมาย ระบบตดิ ตามตวั
กิจกรรมท่ีทาได้ และผา่ นหลกั เกณฑเ์ ทา่ นั้น และผา่ นหลักเกณฑเ์ ท่าน้นั ทกุ พ้นื ท่ี

ได้รบั วคั ซีน กักตัว 7 วัน ไดร้ ับวคั ซีน กกั ตวั 7 วัน

ไมไ่ ดร้ ับวัคซนี กกั ตัว 10 วัน ไมไ่ ดร้ บั วัคซนี กกั ตัว 10 วนั

ภเู ก็ต กระบี่ พงั งา สรุ าษฎร์ธานี ภเู ก็ต กระบ่ี พงั งา สุราษฎร์ธานี
(สมยุ พงนั เกาะเตา่ ) ชลบุรี (สมยุ พงัน เกาะเต่า) ชลบุรี
เชยี งใหม่ กทม. เชียงใหม่ กทม.

ประเทศท่ีมคี วามเสี่ยงต่า ประเทศท่มี ีความเสย่ี งตา่
ประเทศทีม่ ีความเส่ียงกลาง ประเทศทีม่ ีความเส่ยี งกลาง

การใช้ห้อง fitness การใช้หอ้ ง fitness
ออกกาลงั กายกลางแจง้ ออกกาลงั กายกลางแจ้ง
วา่ ยนา้ ว่ายนา้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๒

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

Area Quarantine Track and Trace

เม.ย. - พ.ค. 2564 มิ.ย. - ก.ย. 2564 ต.ค. 2564 เปน็ ต้นไป

ป่นั จักรยาน (สถานที่ปิด) ปัน่ จักรยาน (สถานทป่ี ิด)

ซอื้ สินค้า ซื้อสนิ ค้า

รับประทานอาหารใน

ห้องอาหารโรงแรม

นวด

ตาราง 2.๗ แผนการเปิดประเทศ

ท่มี า: เอกสารประกอบการประชุมคณะทางานเฉพาะกิจเพ่อื ขับเคล่อื นการทอ่ งเท่ยี วระหวา่ งประเทศ ครัง้ ท่ี 2/2564

วันที่ 9 มนี าคม พ.ศ. 2564

จากข้อมูลด้านการกระจายของวัคซีนท้ังของไทยและของต่างประเทศ และแผนการเปิดประเทศ
ท่ีรวบรวมและสรุปโดยสานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ได้ประเมินจานวนนักท่องเท่ียวและรายได้
จากการท่องเทยี่ วในปี พ.ศ. 2564 และ 2565 ไวด้ ังนี้

รูป 2.๒๖ ประมาณการจานวนและรายไดจ้ ากนกั ท่องเทีย่ วตา่ งชาติท่เี ข้ามาเที่ยวไทย
ในปี พ.ศ. 2564 – 2565 ณ วนั ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2564

ทม่ี า: สานักงานปลดั กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า

ท้งั นีต้ วั เลขดังกล่าวคาดการณ์ภายใตส้ มมตฐิ าน ๔ ประการ ประกอบดว้ ย
๑. ไมม่ ีการระบาดระลอกใหม่
๒. มกี ารใชว้ คั ซีนในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ประเทศทีเ่ ป็นตลาดหลกั ด้านการท่องเท่ียวของไทย
๓. ไม่มีขอ้ จากดั ในการเดนิ ทางระหว่างประเทศ / ไม่มกี ารกกั ตวั ในการเดินทางเขา้ ประเทศ

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๓

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

๔. Supply chain ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีความพร้อมในการรองรับนักท่องเทยี่ ว เช่น สายการบิน
โรงแรม บริษทั นาเทย่ี ว เปน็ ต้น

2. นโยบายและแผนยทุ ธศาสตร์ดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
การจัดทาแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ได้จัดทาขึ้นโดยคานึงถึงแนวโน้ม

การท่องเที่ยวของโลก แผนระดับนานาชาติ ระดับนโยบาย และระดับส่วนกลาง ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์การท่องเท่ียว
อาเซียน (พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๘) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการท่องเท่ียว (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕) แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด 19
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) รวมถึงแผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ซึ่งสรุปสาระสาคัญ
เกย่ี วกบั การท่องเท่ียวไวด้ งั น้ี

2.1 ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕80) เป็นแผนระดับชาติหรือกรอบพัฒนาประเทศ
ระยะยาวที่วางรากฐานการพัฒนาของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศบรรลุวิสัยทัศน์ตามท่ีตั้งเปูาหมายไว้
โดยครอบคลมุ ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐ ท่ีมุ่งพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มี ความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน
เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีเปูาหมายหลัก คือการพัฒนา
ให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูง มีรายได้สูงอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี
กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งจะช่วยยกระดับคุณภาพของประเทศไทยในทุกภาคส่วนและ
นาพาประเทศไทยให้หลุดพ้นทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาความเหลื่อมล้า ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นและปัญหา
ความขัดแย้งในสงั คม ตลอดจนสามารถรบั มอื กบั ภยั คกุ คามและบริหารจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ทั้งน้ี ในส่วนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว มียุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียว
คือ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถทางการแข่งขัน และยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ด้านการสร้างการเติบโต
บนคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกับสิง่ แวดลอ้ ม มีรายละเอยี ดดงั นี้

ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถทางการแข่งขันในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว
กล่าวถึงการส่งเสริมให้เกิดความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว โดยรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางที่สาคัญ
ภายใต้แผนย่อยในการพฒั นา ๕ ประเดน็ ได้แก่ (๑) ทอ่ งเทย่ี วเชงิ สรา้ งสรรค์และวัฒนธรรม ส่งเสริม การท่องเท่ียว
ผ่านการสรา้ งและพฒั นาสินคา้ และบริการดว้ ยภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ (๒) ทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธุรกิจ ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง
การจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติของโลก รวมท้ังกีฬา (๓) ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
โดยการผสาน “ศาสตร์” และความชานาญของการดูแลรักษาด้วยภูมิปัญญาไทยกับ “ศิลป์” และความละเอียดอ่อน
ในการให้บริการแบบไทยเพื่อดึงดูดการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพและการแพทย์ (๔) ท่องเที่ยวเรือสาราญทางน้า
ส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงเรือสาราญทางทะเลและชายฝั่ง และเป็นแหล่งท่องเที่ยววัฒนธรรม

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๔

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

ลุ่มน้าที่มีเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น และ (๕) ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค โดยใช้ประโยชน์จากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
ในการเช่อื มโยงการทอ่ งเทีย่ วกบั ต่างประเทศเพ่ือขยายการท่องเท่ยี วของไทยและภูมภิ าคไปพร้อมกัน

ภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กล่าวถึง
ประเด็นที่ ๑ การสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว ในประเด็นท่ีควรส่งเสริมให้ การท่องเท่ียว
ช่วยเพ่ิมมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพ ผ่านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีคุณภาพ และประเด็นที่ ๒
การสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล โดยการ (๑) ปรับปรุง ฟ้ืนฟู และสร้างทรัพยากรใหม่
ท้ังทางทะเลและชายฝั่ง โดยยังคงไว้ซ่ึงแหล่งปะการังท่ีสาคัญต่อการท่องเที่ยว (๒) ฟื้นฟูชายหาดท่ีเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยว ชายฝ่ังทะเลได้รับการปูองกันและแก้ไขท้ังระบบและมีนโยบาย การจัดการชายฝ่ังแบบบูรณาการอย่าง
เป็นองค์รวม โดยจัดการชายฝั่งประเทศไทยทั้งหมดแบบบูรณาการ (๓) พัฒนาและเพิ่มสัดส่วนกิจกรรมทางทะเล
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการท่องเที่ยวทางทะเลมีการคานึงถึงความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ
การลดความเหลื่อมล้าและดูแลผลประโยชน์ให้เกิดกับประชาชนในพ้ืนที่ การดูแลความปลอดภัยนักท่องเที่ยวทางทะเล
การพัฒนาทา่ เรือทั้งระบบให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาการท่องเที่ยวทางทะเลรูปแบบใหม่ พัฒนาประเทศให้
เป็นศูนย์กลางท่าเรือสาราญในภูมิภาค แหล่งท่องเที่ยวดาน้าที่มนุษย์สร้างขึ้นเพ่ือรองรับปริมาณนักท่องเท่ียวใน
อนาคต และ (๔) พฒั นาและเพ่มิ สดั ส่วนกจิ กรรมทางทะเลท่เี ป็นมติ รต่อสง่ิ แวดลอ้ ม

๒.๒ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการท่องเท่ียว (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ให้ความสาคัญ
กับการรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเท่ียวระดับโลก โดยมุ่งพัฒนาการท่องเที่ยวท้ังระบบ
เน้นนักท่องเท่ียวกลุ่มคุณภาพ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับความต้องการของ
นักท่องเท่ียว และเน้นการพัฒนาการท่องเท่ียวในสาขาที่มีศักยภาพแต่ยังคงรักษาจุดเด่นของประเทศ
ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อัตลักษณ์ความเป็นไทย ตลอดจนการรักษาส่ิงแวดล้อมเพ่ือให้เกิด
การท่องเที่ยวที่ย่ังยืน ประกอบด้วย ๖ แผนย่อย ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การท่องเท่ียว
เชิงธุรกิจ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย การท่องเที่ยวสาราญทางน้า การท่องเท่ียว
เชอ่ื มโยงภมู ิภาค และการพัฒนาระบบนเิ วศการท่องเทยี่ ว

2.๓ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖5) จะมุ่งบรรลุ
เปูาหมาย ในระยะ ๕ ปที จี่ ะสามารถตอ่ ยอดเพื่อให้บรรลุเปูาหมายการพัฒนาระยะยาวตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
โดยส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเที่ยวจะมุ่งพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเท่ียวเชิงบูร ณาการให้เติบโตอย่างสมดุลและ
ย่ังยืนโดยมีแนวทางการพัฒนา 3 แนวทาง ได้แก่ (1) ส่งเสริมการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว โดยส่งเสริม
การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้าและบริการ พัฒนากลุ่มคลัสเตอร์ท่องเท่ียว ฟื้นฟูความเชื่อมั่นและดาเนินกลยุทธ์
ทางการตลาด พัฒนาทักษะบุคลากร และพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งให้เกิดความเช่ือมโยงกันเป็นโครงข่าย
(2) ปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวให้มีความทันสมัย จัดทาและบังคับใช้มาตรฐานด้าน
การท่องเที่ยว โดยปรับปรุงให้เอ้ือต่อการพัฒนาสาหรับอนาคต สอดคล้องกับสภาวการณ์ และส่งเสริมให้คน
ทกุ กลุ่มสามารถเขา้ ถงึ การทอ่ งเทีย่ วได้ (3) ปรับโครงสร้างการบรหิ ารจัดการดา้ นการท่องเทย่ี ว

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๕

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ

๒.๔ แผนแมบ่ ทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด 19 (พ.ศ. ๒๕๖๔ -
๒๕๖๕) เป็นแผนสาหรับการพัฒนาศักยภาพของประเทศให้สามารถ “ล้มแล้วลุกไว” (Resilience) โดยให้
ความสาคัญใน ๓ มติ ิ ได้แก่ (๑) การพร้อมรับ (Cope) หรือความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤต
ใหป้ ระเทศยังคงยนื หยดั และตา้ นทานความยากลาบากและฟ้ืนคืนกลับสูส่ ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็วเม่ือภาวะวิกฤต
ผ่านพ้นไป (๒) การปรับตัว (Adapt) หรือความสามารถในการปรับทิศทางการพัฒนารูปแบบและแนวทางท่ี
ดาเนนิ การอยู่ให้สอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน และบริบทการพัฒนาประเทศที่เปลี่ยนแปลง
ไป (๓) การเปล่ียนแปลงเพ่ือพร้อมเติบโตอย่างย่ังยืน (Transform) หรือการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างและ
ปัจจัยพ้ืนฐานให้สอดรับกับกระแสการเปล่ียนแปลง โดยการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์และเน้นคุณภาพ
และการเชื่อมโ ยงการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพกับการส่งเสริมอุตสาหกรรมและบริการทา งการแพทย์ครบวงจร
เ ป็ น แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ใ น ป ร ะ เ ด็ น พั ฒ น า ด้ า น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ ร อ ง รั บ
การเจรญิ เติบโตอย่างยั่งยนื ในระยะยาว

2.๕ แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2564 - 2565) มีเปูาหมายให้ความสาคัญกับ
กิจกรรมปฏิรปู ประเทศท่ีจะส่งผลใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงต่อประชาชนอย่างมนี ยั สาคญั (Big Rock) ซึ่งเป็นกิจกรรม
ที่มีความสาคัญเร่งด่วนสามารถดาเนินการและวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมในช่วงปี พ.ศ. 2564 - 2565 โดยใน
ส่วนที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวมุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวคุณภาพสูงให้เป็นกลไกหลัก
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยเน้นกลุ่มลูกค้าท่ีใส่ใจสุขภาพผ่านโมเดล อารมณ์ดีมีความสุข (Happy Model)
และขับเคลื่อน Medical and Wellness Hub เพื่อสร้างความเช่ือมั่นต่อนักท่องเที่ยว กระจายรายได้สู่ท้องถิ่น
และชุมชน และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องและการจ้างงานเพ่ิมมากขึ้น รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถ
ดา้ นเศรษฐกิจสร้างสรรคแ์ ละการสนบั สนุนการท่องเท่ยี วเรือสาราญทางน้า โดยต้องเตรียมความพร้อมด้านอุปทาน
เพ่อื รองรบั อุปสงคท์ ่จี ะเพม่ิ ขนึ้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๖

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

3. ผลการดาเนินงานตามแผนพฒั นาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. 2560 - 2564
๓.๑ สรุปผลการติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดหลักของแผนพัฒนาการท่องเท่ียว

แหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ระยะคร่ึงแผนแรก

ผลการดาเนนิ งานตามตัวชวี้ ัดหลกั ของแผนพฒั นาการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ระยะคร่ึงแผนแรก จานวน 10 ตัวชี้วัด พบว่ามีตัวช้ีวัดท่ีมีผลการดาเนินงานในระยะคร่ึงแผนแรก สูงกว่า
ค่าเปูาหมายจานวน 1 ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัดที่มีผลการดาเนินงานต่ากว่าค่าเปูาหมาย มีจานวน 8 ตัวชี้วัด ส่วนอีก
1 ตัวชีว้ ดั ยงั ไม่มกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตามนิยามของตวั ชวี้ ัดนัน้ แสดงผลสรุปตามตารางที่ ๒.๘ ดงั นี้

ตวั ชีว้ ัดหลกั คา่ เปา้ หมาย การประเมินผลการดาเนินงาน
ในระยะคร่ึงแผนแรก
ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 จานวนแหล่งท่องเทย่ี วและ เพ่ิมสูงขึ้นอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 5 ตอ่ ปี ต่ากวา่ เปาู หมาย
สถานประกอบการดา้ น การท่องเทยี่ วท่ี
ได้รับเครอื่ งหมายรับรองมาตรฐาน ต่ากวา่ เปูาหมาย
การทอ่ งเทย่ี วไทย ต่ากวา่ เปูาหมาย

ตัวชี้วดั ที่ 2 อนั ดบั ขดี ความสามารถทาง เปน็ 1 ใน 30 อันดบั แรกของโลก หรอื 1 ตา่ กว่าเปาู หมาย
สูงกวา่ เปูาหมาย
การแขง่ ขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย ใน 7 อนั ดับแรกของภมู ิภาคเอเชยี แปซิฟกิ ต่ากวา่ เปูาหมาย
ตัวชี้วัดที่ 3 ความเชอ่ื ม่ันในสนิ คา้ และบริการ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90
ดา้ นการท่องเท่ยี วของไทย ทีม่ ีคณุ ภาพได้ ตา่ กวา่ เปูาหมาย
มาตรฐาน
ยงั ไม่มีการจดั เก็บขอ้ มูล
ตัวชีว้ ดั ท่ี 4 รายไดจ้ ากนักทอ่ งเทย่ี ว มีอตั ราการขยายตวั ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 10 ตามตัวช้วี ัดนี้
ต่ากวา่ เปูาหมาย
ชาวต่างชาติ ต่อปี

ตัวชีว้ ดั ท่ี 5 การเดนิ ทางท่องเท่ยี ว มีอตั ราการขยายตวั ไมต่ า่ กวา่ รอ้ ยละ 3 ตอ่

ภายในประเทศของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวไทย ปี

ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6 สัดส่วนการเดนิ ทางท่องเท่ียว ไมต่ ่ากวา่ 1 ใน 3 ของการเดนิ ทางตลอดทงั้

ของนักท่องเทยี่ วต่างชาตใิ นชว่ งเดือน ปี

มถิ นุ ายน - กันยายน

ตัวช้ีวัดท่ี 7 รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี วใน มอี ตั ราการขยายตัว ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 12

จังหวดั รอง (จงั หวัดทม่ี จี านวนผเู้ ยย่ี มเยอื น ตอ่ ปี

ต่ากวา่ 1 ล้านคน)

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8 ดชั นีการรบั รู้และเขา้ ใจใน เพ่ิมสูงข้ึนอยา่ งต่อเนือ่ งทกุ ปี

เอกลักษณ์ความเปน็ ไทยของนักท่องเทย่ี ว

ตา่ งชาตแิ ละนกั ท่องเท่ียวไทย

ตวั ชวี้ ัดที่ 9 อนั ดับขดี ความสามารถทาง เป็น 1 ใน 10 อันดบั แรกของโลก

การแข่งขนั ดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว (TTCI)

ของประเทศไทย ดา้ นความเด่นชดั ของ

วัฒนธรรมและนนั ทนาการจากการสบื คน้

ออนไลนด์ ้านการทอ่ งเทยี่ ว (Cultural &

Entertainment Tourism Digital Demand)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

ตวั ชีว้ ัดหลกั ค่าเป้าหมาย การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน

ในระยะครึง่ แผนแรก

ตัวช้ีวัดที่ 10 ดัชนดี ้านความยัง่ ยนื ของ พัฒนาขน้ึ อย่างนอ้ ย 10 อันดบั ในแต่ละมิติ ตา่ กว่าเปาู หมาย

สิง่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ี

เกี่ยวขอ้ งโดยตรงกบั การท่องเทีย่ วของ

ประเทศไทยใน 6 มติ ทิ สี่ าคญั

ตาราง 2.๘ แสดงผลการดาเนนิ งานตามตวั ช้วี ดั หลกั ของแผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ 2

(พ.ศ. 2560 - 2564) ระยะครึง่ แผนแรก

การสรุปผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดหลักของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560
- 2564) ระยะครงึ่ แผนแรก ดังตาราง 2.๙ และรูป 2.๒๗

ผลการดาเนินงาน จานวนของตัวชีว้ ดั หลกั ร้อยละ

เปน็ ไปตามเปูาหมาย - -

สงู กวา่ เปูาหมาย 1 10.00

ต่ากวา่ เปาู หมาย 8 80.00

ไม่มกี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูลตามตวั ชวี้ ดั นี้ 1 10.00

รวม 10 100.00

ตาราง 2.๙ แสดงผลการดาเนินงานตามตวั ช้วี ัดหลกั ด้านการทอ่ งเที่ยวของแผนพัฒนาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ

ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) ระยะคร่ึงแผนแรก

รูป 2.๒๗ สรปุ การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามตัวช้วี ดั หลักของแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแหง่ ชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2560 - 2564) ในระยะครึง่ แผนแรก

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๘

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ


Click to View FlipBook Version