The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เข้มแข็งจากภายใน ฟื้นตัวอย่างมีความรับผิดชอบ จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวของภูมิภาค <br>(Strength from within - responsible recovery, regional tourism connectivity)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

เข้มแข็งจากภายใน ฟื้นตัวอย่างมีความรับผิดชอบ จุดเชื่อมโยงการท่องเที่ยวของภูมิภาค <br>(Strength from within - responsible recovery, regional tourism connectivity)

Keywords: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา,แผนพัฒนาการท่องเที่ยว

๓.2 สรุปผลการติดตามการดาเนินงานตามตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเท่ียว
แหง่ ชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560-2564) ระยะครงึ่ แผนแรก

การติดตามผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดระดับยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยวของแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) ระยะคร่ึงแผนแรก จานวน 26 ตัวช้ีวัด พบว่าในภาพรวมของ
ผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์ ในระยะคร่ึงแผนแรก มีตัวช้ีวัดที่มีผลการดาเนินงานสูงกว่า
คา่ เปาู หมายจานวน 1 ตัวชีว้ ดั (รอ้ ยละ 3.85) ตัวชีว้ ดั ทเ่ี ป็นไปตามเปูาหมาย 6 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 23.07) ตัวชี้วัด
ที่ต่ากว่าเปูาหมาย 13 ตัวชี้วัด (ร้อยละ 50) ตัวช้ีวัดที่มีข้อมูลอยู่แต่ข้อมูลเหล่านั้นยังไม่มีการจัดเก็บ
อย่างเป็นระบบ หรือมีข้อมูลแต่ไม่ครอบคลุมตามขอบเขตของตัวชี้วัด จานวน 1 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ 3.85)
ส่วนตัวชี้วัดที่ยังไม่มีข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินผล การดาเนินงานในระยะคร่ึงแผนแรกมี 5 ตัวช้ีวัด (ร้อยละ
19.23)

ท้ังน้ี หากพิจารณาความสาเร็จของการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดรายยุทธศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว
ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2560 - 2564) ในระยะครึ่งแผนแรกรายยุทธศาสตร์
โดยพิจารณาจากร้อยละของตัวชี้วัดท่ีมีผลการดาเนินงานเป็นไปตามเปูาหมายรวมกับร้อยละของตัวช้ีวัดท่ีมีผล
การดาเนินงานสูงกว่าเปูาหมายพบว่า ยุทธศาสตร์ท่ีมีความสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวชี้วัดมากท่ีสุด
คือ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การสรา้ งความสมดุลให้กบั การทอ่ งเทย่ี วไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม การส่งเสริมวิถีไทยและ
การสร้างความเช่ือม่ันของนักท่องเท่ียว มีความสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา
คือ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการพัฒนาการท่องเทยี่ ว มคี วามสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวชี้วัด คดิ เป็นรอ้ ยละ 40 มผี ลสรุป ดงั นี้

1) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว สินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิด
ความสมดุลและย่ังยืน มีความสาเรจ็ ในการดาเนนิ งานตามตัวชี้วัด คดิ เป็นร้อยละ 14.29

2) ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและส่งิ อานวยความสะดวก เพือ่ รองรับการขยายตัว
ของอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว มคี วามสาเรจ็ ในการดาเนนิ งานตามตวั ช้ีวัด คดิ เปน็ ร้อยละ 20

3) ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ในการพฒั นาการท่องเท่ยี ว มีความสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวช้วี ัด คดิ เปน็ ร้อยละ 40

4) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความสมดุลให้กับการท่องเท่ียวไทยผ่านการตลาดเฉพาะกลุ่ม
การสง่ เสริมวิถีไทย และการสรา้ งความเชื่อมน่ั ของนักทอ่ งเทย่ี ว มคี วามสาเร็จในการดาเนินงานตามตัวชี้วัด คิดเป็น
ร้อยละ 50

5) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ มคี วามสาเร็จ ในการดาเนนิ งานตามตวั ชีว้ ดั คดิ เป็นรอ้ ยละ 20

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๓๙

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ

อย่างไรกต็ าม หากพจิ ารณาถงึ ตวั ช้ีวัดทีม่ ีขอ้ มลู อยแู่ ต่ข้อมลู เหลา่ นั้นยังไม่มีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
หรือมีข้อมูลแต่ไม่ครอบคลุมตามขอบเขตของตัวช้ีวัด ซ่ึงทาให้ไม่สามารถประเมินผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัด
เหลา่ นน้ั ได้ โดยพบว่ามเี พียง 1 ตัวชี้วัดเท่าน้ัน คือ ตัวช้ีวัดของยุทธศาสตร์ท่ี 1 คือ จานวนเครือข่ายการท่องเที่ยว
โดยชมุ ชน

นอกจากนั้น หากพิจารณาถึงตัวช้ีวัดที่ไม่มีข้อมูลเพ่ือใช้ในการประเมินผลการดาเนินงาน พบว่ามีใน
2 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี

1) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียว และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ในการพัฒนาการท่องเท่ียว มี 1 ตัวชี้วัด คือ จานวนบุคลากรไทยในอุตสาหกรรมท่องเท่ียวได้รับรอง
มาตรฐาน MRA (Mutual Recognition Arrangement) ของ ASEAN

2) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การบูรณาการการบริหารจัดการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมความร่วมมือ
ระหว่างประเทศ มี 4 ตัวชว้ี ดั ได้แก่

(1) ระดับความพงึ พอใจดา้ นการบรู ณาการแผนงานการพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วของประเทศ
(2) ระดับความพึงพอใจด้านการสนบั สนนุ จากส่วนกลางในการทางานด้านการพัฒนาการท่องเท่ียว
ของประเทศ
(3) ระดบั ความพึงพอใจดา้ นการมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาการท่องเทีย่ วของประเทศ
(4) ระดบั ความพึงพอใจดา้ นกฎหมายและข้อบงั คบั ด้านการพฒั นาการท่องเทยี่ ว
โดยการสรุปผลการดาเนนิ งานตามตวั ช้วี ดั รายยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2560 - 2564) ระยะครง่ึ แผนแรก แสดงดงั ตารางที่ ๒.๑๐ และ รปู ที่ ๒.๒๘ และ ๒.๒๙

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๐

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

ผลการดาเนนิ งานตามตวั ชว้ี ดั ร

เปน็ ไปตามเปาู หมาย สงู กวา่ เปาู หมาย ตา่ กวา่ เปาู หมาย/
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ไมเ่ ปน็ ไปตามเปาู หมา

จานวนของ รอ้ ยละ จานวนของ รอ้ ยละ จานวนของ รอ้ ยละ
ตวั ชว้ี ดั ตวั ชี้วดั ตวั ชวี้ ดั

๑ ๑ ๑๔.๒๙ - - ๕ ๗๑.๔๒

๒ - - ๑ ๒๐.๐๐ ๔ ๘๐.๐๐

๓ ๒ ๔๐.๐๐ - - ๒ ๔๐.๐๐

๔ ๒ ๕๐.๐๐ - - ๒ ๕๐.๐๐

๕ ๑ ๒๐.๐๐ - - - -

รวม ๖ ๒๓.๐๗ ๑ ๓.๘๕ ๑๓ ๕๐.๐๐

ตาราง 2.๑๐ แสดงผลการดาเนินงานตามตัวชว้ี ัดรายยุทธศาสตร์ด
(พ.ศ. 2560 - 2564

รายยทุ ธศาสตร์

มขี อ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู เลย

าย แตย่ งั ไมม่ กี ารจดั เกบ็ รวม
อยา่ งเปน็ ระบบ/

มขี อ้ มลู

แตไ่ มค่ รอบคลมุ ตาม

ตวั ชว้ี ดั

ะ จานวนของ รอ้ ยละ จานวนของ รอ้ ยละ จานวนของ รอ้ ยละ

ตวั ชี้วดั ตวั ชว้ี ดั ตวั ช้วี ดั

๒ ๑ ๑๔.๒๙ - - ๗ ๑๐๐.๐๐

๐ - - - - ๕ ๑๐๐.๐๐

๐ - - ๑ ๒๐.๐๐ ๕ ๑๐๐.๐๐

๐ - - - - ๔ ๑๐๐.๐๐

- - ๔ ๘๐.๐๐ ๕ ๑๐๐.๐๐

๐ ๑ ๓.๘๕ ๕ ๑๙.๒๓ ๒๖ ๑๐๐.๐๐

ด้านการท่องเที่ยวของแผนพฒั นาการท่องเที่ยวแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2
4) ระยะคร่งึ แผนแรก

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๑

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

รปู 2.๒๘ ภาพรวมผลการดาเนนิ งานตามตัวชว้ี ัดระดับ
ยทุ ธศาสตรข์ องแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแห่งชาติ ฉบับท่ี 2

(พ.ศ. 2560 - 2564) ในระยะคร่ึงแผนแรก

รปู 2.๒๙ ผลการดาเนนิ งานตามตวั ชีว้ ัดรายยุทธศาสตร์
ของแผนพัฒนาการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 2
(พ.ศ. 2560 - 2564) ในระยะคร่งึ แผนแรก

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๒

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

4. เป้าหมายการพัฒนาศักยภาพของการท่องเที่ยวไทยและโอกาสการพัฒนาการท่องเท่ียวไทยภายใต้
สภาวะการเปลี่ยนแปลง
ด้วยเหตุท่ีแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ นี้จัดทาขึ้นเพื่อสอดรับกับ

แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
ในการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับน้ี จึงได้พิจารณาถึงความสอดคล้องกับแผนแม่บทฉบับ
ดงั กล่าว และเพอื่ ใหก้ ารท่องเที่ยวยงั คงเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกจิ ของประเทศ การพิจารณาถึง
โอกาสการพัฒนาการท่องเท่ียวไทยภายใต้สภาวะการเปลีย่ นแปลงจงึ เปน็ สิ่งทีต่ ้องคานึงถึง

๔.๑ ความสอดคล้องกับแผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์
โควิด 19 พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕

กรอบแนวคิดการพัฒนาของแผนแม่บทเฉพาะกิจฯ ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพ
ของประเทศใหส้ ามารถ “ลม้ แลว้ ลกุ ไว” (Resilience) โดยใหค้ วามสาคญั กบั ๓ มติ ทิ ่ีสาคัญ ได้แก่

การพร้อมรับ (Cope) หมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤต
ใหป้ ระเทศยังคงยืนหยัดและต้านทานความยากลาบาก รวมถึงสามารถฟน้ื คืนกลบั สู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว
เมอื่ ภาวะวกิ ฤตผ่านพ้นไป โดยให้ความสาคัญกับการลดความเปราะบาง ผ่านการลดจุดอ่อนและขจัดข้อจากัด
เดิมที่ประเทศเผชิญ พร้อมกับเยียวยาช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบอย่างเต็มศักยภาพภายใต้ทรัพยากรท่ีมีอยู่
อย่างจากัด

การปรับตัว (Adapt) หมายถงึ การปรับทิศทางการพัฒนา รูปแบบ และแนวทางที่ดาเนินการอยู่
ให้สอดรับกับกระแสการเปล่ียนแปลง ความไม่แน่นอน และบริบทการพัฒนาประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป
และให้ความสาคัญกับการกระจายความเส่ียงเพื่อลดผลกระทบจากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้ และพร้อม
ปรับตัวอยา่ งรวดเร็วเพือ่ แสวงหาแนวทางในการสร้างสรรคป์ ระโยชน์จากการเปลีย่ นแปลงท่เี กดิ ข้ึน

การเปล่ียนแปลงเพื่อพร้อมเติบโตอย่างย่ังยืน (Transform) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเชิง
โครงสร้างและปัจจัยพ้ืนฐาน เช่น กฎหมาย ระเบียบ นโยบาย และสถาบัน ท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม
และการเมืองการปกครอง ให้สอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงท่ีจะส่งผลกระทบต่อศักยภาพโดยรวมของ
ประเทศ เพื่อพลิกวิกฤตจากแรงกดดันท้ังภายนอกและภายในให้เป็นโอกาสสาหรับการพัฒนาประเทศ
สูก่ ารเตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ ทวั่ ถึง เปน็ ธรรม และย่งั ยืน

โดยกาหนดประเด็นพัฒนาไว้รวม ๔ ประเด็นพัฒนา และแต่ละประเด็นพัฒนาจะมีแนวทาง
การพัฒนาที่มีแนวทางการพัฒนาย่อยที่นาไปสู่ การพร้อมรับ ปรับตัว และเปลี่ยนแปลงเพื่อพร้อมเติบโต
ซึ่งแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) จะเข้าไปมีบทบาทในการขับเคล่ือนการพัฒนา
ตามแนวทางดงั กล่าวได้ ดงั นี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๓

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา พร้อมรบั ปรับตวั เปล่ียนแปลง เพอื่ พรอ้ ม

(Cope) (Adapt) เติบโต (Transform)

ประเด็นพัฒนาที่ 1 การเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ของเศรษฐกิจฐานรากภายในประเทศ (Local Economy)

1.1 การส่งเสริมการจ้างงาน ๑) รกั ษาการจา้ งงานภายใน ๑) ส่งเสรมิ การสรา้ งงานกับ ๑) โยกยา้ ยแรงงานไปส่ภู าค

ประเทศเดิมโดยเฉพาะใน ภาคเศรษฐกิจที่มแี นวโนม้ การผลติ ที่มผี ลติ ภาพ รายได้

สาขาทไี่ ดร้ ับผลกระทบจาก เตบิ โตในอนาคต และใช้ทกั ษะสงู กว่า

โควิด 19 ๒) สง่ เสรมิ การจ้างงานสูงอายุ ๒) ปรบั ปรุงระเบยี บกฎหมาย

เพื่อสามารถพงึ่ ตนเองได้ เพือ่ ไม่ใหเ้ ป็นอุปสรรคตอ่

การดึงดูดแรงงานทกั ษะสูงให้

เข้ามาทางานในประเทศ และ

สง่ เสรมิ การถ่ายทอดทกั ษะ

และองค์ความรู้ใหแ้ กแ่ รงงาน

ในประเทศ

๑.๒ การชว่ ยเหลอื และพัฒนา 1) เรง่ แกป้ ญั หาสภาพคลอ่ ง 1) ส่งเสรมิ SMEs และ ๑) ปรบั โครงสรา้ งปัจจัย

ศักยภาพ SMEs ของ SMEs ให้สอดคล้องกบั วิสาหกจิ ชมุ ชนปรบั ตวั สู่ธุรกิจ แวดลอ้ มท้งั ระบบเพ่อื ขจดั

ความต้องการของแต่ละ ใหม่ เช่น สินค้าและบริการ อุปสรรคในการดาเนินธุรกิจ

กลมุ่ เปาู หมาย โดยการแบง่ เพ่อื ผสู้ ูงอายุ เพอื่ สขุ ภาพ และ และยกระดบั ประสทิ ธิภาพ

เบาภาระ ปรบั โครงสร้างหน้ี สนิ ค้าสเี ขียว ของ SMEs

และเพม่ิ ช่องทางการเข้าถึง 2) สรา้ งแรงจูงใจให้ธุรกิจ ๒) ปรบั ปรงุ ระเบยี บกฎหมาย

สินเช่ือและแหล่งเงนิ ทุนดว้ ย ขนาดใหญ่ช่วย SMEs เพื่อแกป้ ญั หากและปอู งกัน

ต้นทนุ ที่เหมาะสม เพ่ือให้ ในการพฒั นาและสรา้ งมลู ค่า การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม

ธุรกิจทม่ี ศี ักยภาพยังสามารถ ทางธุรกจิ ๓) บรู ณาการระหวา่ ง

อยู่รอดและรักษาการจา้ งงาน 3) ส่งเสริมการระดมทุนผ่าน หน่วยงานเพอ่ื ลดความซ้าซ้อน

ต่อไปได้ เครื่องมอื ทางการเงนิ ท่ี และเพ่มิ ประสิทธิภาพ

หลากหลาย การชว่ ยเหลอื และสนบั สนุน

4) สนบั สนุนเครือข่าย SMEs

วสิ าหกิจชมุ ชนและเพอ่ื

ศกั ยภาพของผูป้ ระกอบการ

SMEs ในระดับพน้ื ท่ี

๑.๓ การกระจายความเจรญิ ๑) พัฒนาเมืองให้นา่ อยู่ 1) เสรมิ สรา้ งจุดเดน่ ทาง

ทางเศรษฐกิจไปยงั หัวเมือง เศรษฐกจิ ของแตล่ ะกลมุ่

หลักในภมู ภิ าคและเมืองรอง จังหวดั

2) เพม่ิ ศักยภาพและบทบาท

หนา้ ทขี่ องท้องถ่นิ ในการกากบั

ดแู ลและกาหนดมาตรฐาน

การใหบ้ รกิ ารสาธารณะรวมถึง

มคี วามสามารถในการบริหาร

จดั การเชงิ พ้นื ท่ี

3) ยกระดับสถาบนั การศกึ ษา

ในพ้ืนที่เป็นศูนย์กลาง

การพัฒนา

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๔

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา พร้อมรับ ปรับตัว เปลี่ยนแปลง เพื่อพร้อม

(Cope) (Adapt) เติบโต (Transform)

ประเด็นพฒั นาที่ ๒ การยกระดับขีดความสามารถของประเทศเพอื่ รองรบั การเจริญเติบโตอย่างย่ังยนื ในระยะยาว (Future

Growth)

๒.๑ การสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ๑) ส่งเสริมการผลติ สินคา้ และ 2) เชอื่ มโยงกบั อุตสาหกรรมที่

และบริการทางการแพทย์ บรกิ ารทางสุขภาพ เกี่ยวเนื่อง เช่น การท่องเทยี่ ว

ครบวงจร ๒) ขยายชอ่ งทางการตลาดทั้ง เชงิ สขุ ภาพและอตุ สาหกรรม

การแพทย์แผนปัจจบุ นั และ อาหาร

แพทยแ์ ผนไทย

๒.๒ การส่งเสรมิ การ 1) สง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วใน 1) ปรับรปู แบบการท่องเทยี่ ว 1) เปล่ยี นแปลงแนวทาง

ท่องเที่ยวเชงิ สร้างสรรคแ์ ละ ประเทศ ภายใต้เงอื่ นไขความปลอดภยั การพัฒนาการท่องเท่ียว

เนน้ คุณภาพ 2) ยกระดับมาตรฐาน จากโรคระบาด โดยใช้จดุ แข็ง ทั้งระบบเป็นเชงิ คณุ ภาพแทน

ความปลอดภยั ของไทยใหเ้ ป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว ปริมาณ ท้ังแนวทางการส่งเสรมิ

3) ฟนื้ ฟแู หล่งท่องเท่ยี ว ของกลมุ่ กาลงั ซ้อื สงู และการ การลงทุน รปู แบบการท่องเที่ยว

ธรรมชาติ พฒั นาชมุ ชน ท่องเท่ยี วแบบ เท่ียวไป ทางานไป ทสี่ นับสนุน กลไกและวิธกี าร

ผู้ประกอบการ บุคลากรท่ี 2) เชือ่ มโยงการทอ่ งเทีย่ วกบั ตดิ ตามประเมินผล

เกี่ยวข้อง โดยการมีสว่ นร่วม การใหบ้ รกิ ารทางการแพทย์ 2) เสริมสร้างการมีส่วนรว่ ม

ของทอ้ งถ่นิ และพฒั นาอุตสาหกรรมเชิง ของทอ้ งถิ่นทมี่ ีศักยภาพ เพอื่

สร้างสรรค์ และใช้เทคโนโลยี กระจายรายได้ยงั ชมุ ชนและ

ทาการตลาดและสร้าง เศรษฐกิจฐานราก

ประสบการณ์ท่องเทีย่ ว

รปู แบบใหม่

ประเดน็ พฒั นาที่ 3 การพฒั นาศักยภาพและคุณภาพชวี ติ ของคนใหเ้ ป็นกาลงั หลกั ในการขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศ

(Human Capital)

3.1 การพัฒนาทกั ษะแรงงาน ๑) สง่ เสริมแรงงานท่ีได้รับ ๑) สง่ เสริมใหแ้ รงงานมีทักษะ ๑) ผลักดนั ให้เกดิ ความร่วมมือ

และการเรยี นรู้ ผลกระทบโควดิ ใหไ้ ดร้ บั ท่หี ลายหลาย มคี วามยดื หยุ่น ระหว่างรฐั และเอกชนในปฏิรปู

การฝกึ อบรมยกระดับทกั ษะ พร้อมปรบั ตัวสอู่ าชีพใหม่ การผลติ กาลงั คนใหส้ อดคลอ้ ง

และปรบั ศักยภาพให้เหมาะกบั ๒) ปรับรูปแบบการเรียนรู้และ กบั แนวคดิ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษ

ธรุ กจิ และโครงสรา้ งเศรษฐกจิ พัฒนาทักษะใหย้ ดื หยุ่นและ ที่ 21

ทเี่ ปล่ยี นไป ตอบสองต่อภาวะวิกฤตมากขน้ึ

๒) ส่งเสรมิ ความรว่ มมือ ๓) สง่ เสริมทกั ษะจาเปน็ เช่น

ระหวา่ งรฐั และเอกชน ภาษาตา่ งประเทศ ทักษะ

ในการฝึกทักษะแรงงาน ดจิ ิทัล ทักษะการคดิ เชงิ

วิพากษ์ ทักษะการเงิน ทักษะ

ทางอารมณ์

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๕

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา พร้อมรบั ปรับตวั เปล่ียนแปลง เพ่ือพร้อม

(Cope) (Adapt) เตบิ โต (Transform)

ประเดน็ พฒั นาที่ 4 การปรบั ปรุงและพัฒนาปจั จัยพ้ืนฐานเพือ่ ส่งเสริมการฟืน้ ฟแู ละพฒั นาประเทศ (Enabling Factors)

4.1 การพัฒนาโครงสร้าง 1) พฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน 1) ส่งเสริมการพัฒนา ใช้

พ้ืนฐาน ดา้ นดจิ ทิ ัล ประโยชน์ และประยุกตใ์ ช้

2) พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน โครงสรา้ งพนื้ ฐานให้สอดคล้อง

เชิงระบบ เช่น ระบบบรหิ าร กบั สถานการณ์ เชน่ โรงแรม

จัดการขอ้ มลู ระบบบรหิ าร จากเปาู หมายรองรับ

จัดการงานวจิ ัยระบบการแกป้ ัญหา นกั ท่องเท่ยี ว เปน็ สถาน

และเยยี วยาผูไ้ ดร้ ับผลกระทบ พกั ผ่อนดูแลผู้สูงอายุแบบ

จากวิกฤตตา่ ง ๆ ระยะยาว หรือ สถานทีพ่ ัฒนา

ฝีมอื แรงงาน เปน็ ต้น

4.๒ การเสริมสร้างความ ๑) ส่งเสริมการใช้ฐานขอ้ มลู ๑) พฒั นาระบบการเตรียม ๑) เปดิ โอกาสให้ท้องถิ่นมีส่วน

ม่นั คงและการบริหารจดั การ เทคโนโลยี นวตั กรรม ความพรอ้ มด้านการจดั การ ร่วมในการบรหิ ารจดั การ

ความเสยี่ ง ให้สามารถตอบสนอง ภาวะวกิ ฤตให้มีประสทิ ธภิ าพ ความเสยี่ งในพื้นที่ของตนเอง

ความต้องการผูป้ ระสบภยั อย่าง

รวดเรว็ ทวั่ ถึง และเป็นธรรม

ตาราง 2.๑๑ กรอบแนวทางการพัฒนาในแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2564 - 2565)

เพอื่ ขับเคลื่อนตามแผนแม่บทเฉพาะกิจฯ

๔.๒ โอกาสการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยให้เป็นการทอ่ งเที่ยวเชิงคุณภาพ
ที่ผ่านมา รายได้จากการท่องเท่ียวของไทยเพ่ิมข้ึนจากจานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มข้ึนส่งผลให้

ทรัพยากรและสภาพแวดล้อมด้านการท่องเท่ียวของประเทศถูกทาให้เส่ือมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ซ่ึงหากเป็น
เชน่ นตี้ อ่ ไป ประเทศจะไมส่ ามารถรกั ษาความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการทอ่ งเที่ยวในระยะยาวต่อไปได้

แม้จะมีการกล่าวถึงและมีความพยายามทาให้การท่องเท่ียวของประเทศเปล่ียนจากการเน้น
ปรมิ าณเปน็ การเน้นคุณภาพมาระยะหนง่ึ แลว้ แต่ก็ไมป่ ระสบความสาเร็จเนือ่ งจากในภาวะปกติท่ีทุกภาคส่วนท่ี
เก่ียวข้องมีรายได้ดีจากการท่องเท่ียวจะไม่มีใครสนใจเข้ามาร่วมมากนักเน่ืองจากต้องใช้เวลาและทรัพยากรไป
กับการต้อนรับนักท่องเท่ียว ดังนั้น ในช่วงท่ีว่างเว้นจากการต้อนรับนักท่องเที่ยว ประกอบกับสถานการณ์
ดา้ นการควบคุมโรคระบาดที่เป็นสถานการณ์บังคับ จึงเป็นโอกาสที่ดีที่จะเชิญชวนและจูงใจทุกภาคส่วนให้เข้า
มาร่วมกันยกระดับผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวของไทยให้เป็นผู้ประกอบการท่องเที่ยวคุณภาพผ่าน
การปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยวไทยทั้งระบบโดยบรรจุไว้อย่างเป็นทางการในแผนพัฒนา
การทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ พ.ศ. 2564 - 2565 ฉบบั นี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๖

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

ส่วนท่ี ๓ วสิ ยั ทศั นแ์ ละประเด็นพัฒนา

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทยมีการพัฒนาและเติบโตอย่างต่อเน่ืองจากจานวนนักท่องเท่ียว
ชาวต่างชาติที่เพ่ิมข้ึนการขยายตัวของรายได้จากการท่องเท่ียว ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว
อยู่ในอันดับท่ีดีขึ้นและแหล่งท่องเที่ยวของไทยได้รับความนิยมติดอันดับต้น ๆ ของโลก อย่างไรก็ตาม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศไทยยังประสบปัญหาด้านความย่ังยืนของทรัพยากรท่องเท่ียว ปัญหา
ภาพลักษณ์ด้านความปลอดภัย ความสะอาดถูกสุขอนามัยของแหล่งท่องเท่ียว คุณภาพ มาตรฐานการให้บริการ
ของธุรกิจท่องเท่ียว และการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยว ดังนั้นการกาหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียว
ไทยในระยะต่อไป จึงควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาที่อยู่บนพ้ืนฐานของศักยภาพและโอกาสของประเทศ
ไทยควบคู่ไปกับการแก้ไขปัญหาพ้ืนฐาน เพ่ือรักษาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในตลาดโลก
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนา รักษา และยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการท่องเท่ียวไทยให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของนกั ทอ่ งเทีย่ ว เพื่อใหก้ ารท่องเท่ยี วเปน็ กลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศสู่การเป็น
ประเทศพัฒนาแล้ว มีความม่นั คง มั่งคง่ั ยง่ั ยนื ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี

เปูาหมายของการพัฒนาการท่องเท่ียวของประเทศคือการปรับสมดุลการท่องเที่ยว การเชิดชูวิถีไทย
และการเน้น “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา โดยมีองค์ประกอบที่การท่องเที่ยวของไทยควรแสดงและ
คงไว้ ได้แก่ การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมอันดีงามของประเทศไทย การให้ความสาคัญต่อความยั่งยืนของ
ทรัพยากรทอ่ งเทย่ี วและนักท่องเที่ยว การกระจายรายได้และกระจายความเจริญสู่ภูมิภาคของประเทศ ซ่ึงได้มี
การวางแนวทางการพัฒนาในระยะ ๕ ปี ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
แต่ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ได้เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้
การท่องเท่ียวหยุดชะงัก ดังน้ัน เพื่อให้ประเทศมีแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวไทยท่ีชัดเจนและเป็น
รูปธรรมท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น จึงได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์การท่องเที่ยวไทยโดยเน้นการสร้าง
ความเข้มแข็งนโยบายของรัฐบาลในการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจที่ไม่พ่ึงพาต่างประเทศมากเกินไป มีความเข้มแข็ง
ของเศรษฐกิจฐานราก พึ่งพาการท่องเท่ียวในประเทศ และฟ้ืนตัวทางเศรษฐกิจโดยใช้การท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือ
ในการขับเคลื่อนตามแนวทางการท่องเที่ยวอย่างมีความรับผิดชอบ รวมทั้งใช้ความได้เปรียบทางยุทธศาสตร์
Geopolitical ของไทยในการเป็นจุดเชื่อมโยงในระดับภูมิภาคท้ังอาเซียน อาเซียนบวกสาม อาเซียนบวกหก
รวมถึงนโยบายด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ เช่น นโยบายสร้างเมืองการบิน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) และนโยบายระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยใน
แผนพัฒนาการท่องเท่ียวฉบับน้ี มีรายละเอียดเปูาหมาย ตัวชี้วัด พันธกิจ ประเด็นพัฒนาและแนวทาง
การดาเนินงานในระยะ ๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ดังนี้

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๗

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

๑. วสิ ัยทศั น์การทอ่ งเที่ยวไทย (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕)
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) เป็นการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวใน

ระยะ ๒ ปี ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งจากภายในเพ่ือการฟ้ืนตัวอย่างมีความรับผิดชอบ และเป็น
จุดเชือ่ มโยงการทอ่ งเทย่ี วของภูมภิ าค โดยมกี ารกาหนดวสิ ยั ทศั น์ไว้ ดงั น้ี

“เข้มแข็งจากภายใน ฟ้นื ตัวอยา่ งมคี วามรับผดิ ชอบ จุดเช่อื มโยงการทอ่ งเที่ยวของภูมภิ าค (Strength
from within – responsible recovery, regional tourism connectivity)”

โดยมีแนวคิดในการพฒั นาตามองค์ประกอบ ๓ ประการ คือ
๑) นโยบายของรัฐบาลในการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้มีความสมดุลระหว่างภายในและภายนอก
มากขน้ึ สร้างความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกิจฐานราก ส่งเสรมิ การท่องเที่ยวในประเทศ
๒) การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยใช้การท่องเท่ียวเป็นเครื่องมือในการขับเคล่ือนตามแนวทาง
การท่องเทีย่ วอย่างมคี วามรับผิดชอบ
๓) จุดเชื่อมโยงท่ีเกิดจากความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ (Geopolitical) ของไทย การเช่ือมโยง
ในระดับภูมิภาคท้ังอาเซียน อาเซียนบวกสาม อาเซียนบวกหก รวมถึงนโยบายด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
เช่น นโยบายสร้างเมืองการบิน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor: EEC) และนโยบายระเบยี งเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ
๒. เปาู หมาย
๒.๑ การทอ่ งเท่ยี วในประเทศมกี ารใช้จ่ายเพ่ิมข้นึ
๒.๒ ไทยเปน็ จุดหมายปลายทางของนกั ท่องเทยี่ วคณุ ภาพ
๒.๓ ไทยเปน็ ศูนยก์ ลางเชื่อมโยงการท่องเทยี่ วของภูมภิ าค
๓. ตวั ช้วี ดั
๓.๑ ค่าใช้จ่ายตอ่ คนตอ่ ทรปิ ของนักท่องเที่ยวไทยเทยี่ วไทย
๓.๒ ค่าใช้จา่ ยต่อคนตอ่ ทรปิ ของนกั ทอ่ งเทย่ี วต่างชาติ
๓.๓ อัตราการขยายตัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติท่ีเดินทางผ่านแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศ
สมาชิกอาเซยี น
๔. พนั ธกิจ
๔.๑ พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และผู้ประกอบการท่องเท่ียว
ให้มีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้สภาวะวิกฤต สามารถฟื้นคืนสู่สภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว
เมื่อวิกฤตผ่านพ้นไป รวมถึงสามารถปรับทิศทาง รูปแบบ และแนวทางการดาเนินงานให้สอดรับกับกระแส
การเปลยี่ นแปลงทมี่ ีอยอู่ ยา่ งตลอดเวลาไดอ้ ย่างรวดเรว็
๔.๒ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน สิ่งอานวยความสะดวก ให้มีคุณภาพเป็นท่ียอมรับในระดับสากล และ
ปรบั ปรุงปจั จัยเอ้อื เพ่ือสนับสนุนการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวหลังสภาวะวิกฤต และเอื้อต่อการเติบโต
ของอุตสาหกรรมท่องเท่ียวในระยะยาว เพื่อให้อุตสาหกรรมท่องเท่ียวปรับตัวสู่การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ
ซึ่งเปน็ การทอ่ งเที่ยวทยี่ งั่ ยืน

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๘

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

๔.๓ พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวท้ังบุคลากรของรัฐและของเอกชน ท้ังในระดับผู้ประกอบการ
และระดบั ปฏบิ ัติการ เพ่ือร่วมกันขับเคล่ือนการท่องเทีย่ วของไทยไปส่กู ารทอ่ งเท่ียวเชงิ คุณภาพ

๔.๔ พฒั นากระบวนการและเครอื่ งมือทางการตลาดในการปรับภาพลักษณ์การท่องเท่ียวไทยให้เป็นท่ี
ยอมรบั ของนกั ท่องเทยี่ วในดา้ นของการท่องเทยี่ วเชิงคุณภาพ

๔.๕ พัฒนาศักยภาพของหน่วยงานภาครัฐในฐานะผู้บริหารจัดการการท่องเท่ียวในภาพรวม
ให้มีความสามารถในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยมีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ โดยคานึงถึงความยั่งยืน
และการกระจายรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ียวลงสทู่ กุ พนื้ ท่ี
๕. ประเด็นพัฒนา

เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ เปูาหมาย และพันธกิจ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ –
๒๕๖๕) จงึ ได้กาหนดประเด็นพัฒนาออกเป็น ๕ ประเดน็ ดังนี้

ประเดน็ พฒั นาที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และ
ประกอบการท่องเทีย่ ว ให้มีความสามารถในการพร้อมรบั และปรับตวั ให้สอดคล้องกบั บริบทที่เปล่ยี นแปลงไป

ประเด็นพัฒนาท่ี ๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่ิงอานวยความสะดวก และปรับปรุงปัจจัยเอื้อ
ให้สนับสนุนต่อการฟ้ืนตวั และเตบิ โตของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว

ประเด็นพฒั นาที่ ๓ การพัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการท่องเท่ียว
เชงิ คุณภาพ

ประเด็นพัฒนาท่ี ๔ ปรับภาพลกั ษณ์การทอ่ งเที่ยวไทย เพือ่ รองรับนกั ท่องเทีย่ วคณุ ภาพผ่านการตลาด
ประเดน็ พฒั นาที่ ๕ การบรหิ ารจัดการการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๔๙

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

แผนพัฒนา เขม้ แข็งจากภายใน ฟน้ื ตวั
การทอ่ งเทย่ี ว จดุ เชอ่ื มโยงการทอ่

แห่งชาติ Strength from within – responsible rec
(พ.ศ. ๒๕๖๔
- ๒๕๖๕) นโยบายของรฐั บาลในการปรับโครงสรา้ งเศรษฐกจิ ใหม้ ี การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ โดยใชก้ ารทอ่ ง
ความสมดุลระหวา่ งภายในและภายนอกมากข้ึน เป็นเครื่องมอื ในการขับเคล่ือนตาม
สรา้ งความเขม้ แข็งของเศรษฐกิจฐานราก แนวทางการท่องเทยี่ วอยา่ ง
ส่งเสริมการทอ่ งเที่ยวในประเทศ มคี วามรับผดิ ชอบ

เปาู หมาย การทอ่ งเทีย่ วในประเทศ เป็นจุดหมายปลายท
มีการใชจ้ ่ายเพม่ิ ขน้ึ ของนักท่องเทีย่ วคุณภ

ค่าใช้จ่ายต่อคนตอ่ ทริป ค่าใชจ้ ่ายตอ่ คนต่อทร
ตัวช้วี ดั ของนกั ทอ่ งเทีย่ วไทยเทย่ี วไทย ของนักท่องเท่ยี วต่างช

ประเดน็ ประเด็นพัฒนา ๑: การพฒั นา ประเด็นพัฒนา ๒: การพฒั นา ประเด็น
พฒั นา คณุ ภาพแหล่งทอ่ งเทีย่ ว ผผู้ ลิต โครงสร้างพน้ื ฐาน สิง่ อานวย บุคลากร
และขายสินค้า บรกิ าร และ ความสะดวก และปรับปรงุ
ผปู้ ระกอบการทอ่ งเที่ยว ให้มี ปจั จยั เออ้ื ให้สนับสนุนต่อการฟ้ืนตัว เพอ่ื เต
ความสามารถในการพรอ้ มรับและ และเติบโตของอตุ สาหกรรม การทอ่
ปรบั ตวั ใหส้ อดคล้องกบั บริบทที่
ท่องเท่ยี ว
เปลยี่ นแปลงไป

ความเชอ่ื มโยงระหว่างวิสยั ทัศน์ เปาู หมาย ตัวชว้ี ดั และ ประเดน็ พัฒนา

วอยา่ งมคี วามรบั ผิดชอบ
องเทยี่ วของภมู ภิ าค

covery, regional tourism connectivity

งเทย่ี ว จุดเชอื่ มโยงทเ่ี กดิ จากความไดเ้ ปรยี บทางภมู ิศาสตร์ (Geopolitical) ของไทย การเชื่อมโยงใน
ม ระดับภูมภิ าคทงั้ อาเซียน อาเซียน+๓ อาเซยี น+๖ รวมถึงนโยบายด้านการพัฒนาระบบ

โลจสิ ตกิ ส์ เชน่ นโยบายสร้างเมอื งการบนิ โครงการพฒั นาระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษ
ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) และนโยบายระเบยี งเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ

ทาง เป็นศนู ยก์ ลางเช่ือมโยงการท่องเท่ยี วของภมู ภิ าค
ภาพ

รปิ อัตราการขยายตวั ของนกั ท่องเทีย่ วต่างชาตทิ ี่เดินทาง
ชาติ ผา่ นแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศสมาชกิ อาเซียน

นพัฒนา ๓: การพัฒนา ประเดน็ พัฒนา ๔: ปรบั ประเด็นพัฒนา ๕:
รทั้งภาครัฐและเอกชน ภาพลกั ษณ์การท่องเทยี่ วไทย การบริหารจดั การ
ตรียมพร้อมสาหรับ การทอ่ งเทยี่ วอยา่ งยง่ั ยนื
องเที่ยวเชงิ คณุ ภาพ เพ่อื รองรบั นกั ท่องเทีย่ ว
คุณภาพผ่านการตลาด

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๐

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

ประเด็นพัฒนาท่ี ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และผู้ประกอบการ
ทอ่ งเทีย่ ว ให้มีความสามารถในการพรอ้ มรับและปรับตัวใหส้ อดคลอ้ งกับบริบททีเ่ ปลีย่ นแปลงไป

พื้นฐานการเติบโตของการท่องเที่ยวมีปัจจัยหลักที่คุณภาพของแหล่งท่องเที่ยว สินค้า และบริการ
ทต่ี อ้ งไดม้ าตรฐานระดบั สากลและมีเอกลกั ษณ์โดดเด่น โดยการพัฒนาต้องเกิดข้ึนอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
และมีความสมดุลทงั้ ในดา้ นพ้นื ที่ เวลา และกลมุ่ การท่องเทยี่ ว เพ่ือส่งเสริมการกระจายนักท่องเท่ียวและรายได้
จากนกั ทอ่ งเท่ียว ซง่ึ จะชว่ ยสรา้ งความม่ังคั่งในท่ัวทุกภมู ภิ าคของประเทศไทย

๑. เปูาหมาย
๑.๑ ผู้ประกอบการและบุคลากรด้านการท่องเที่ยวมีความสามารถยังชีพอยู่ได้ และได้รับ

การดูแลอย่างทว่ั ถงึ
๑.๒ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ผ้ผู ลิตและขายสินค้า บริการ และผู้ประกอบการท่องเท่ียว มีขีดความสามารถ

ในการแข่งขันในระดบั นานาชาติ
๒. ตวั ชีว้ ัด
๒.๑ จานวนผู้ประกอบการและบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวที่ได้รับการช่วยเหลือ

เยียวยาจากมาตรการของรัฐบาล
๒.๒ จานวนแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ และผู้ประกอบการท่องเที่ยว ท่ีได้รับ

มาตรฐานการท่องเท่ียวระดับนานาชาติ
๒.๓ จานวนผปู้ ระกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว

ได้รับการยกระดบั ศักยภาพในการเพม่ิ มูลค่าให้กับสินคา้ และบรกิ าร
๓. แนวทางการพัฒนา
๓.๑ ผลักดันมาตรการเพื่อการเยียวยา ฟื้นฟู ผู้ประกอบการและบุคลากรในอุตสาหกรรม

การท่องเทย่ี ว
๓.๒ ส่งเสริมการยกระดับมาตรฐานการท่องเท่ียวระดับนานาชาติให้กับผู้ประกอบการ และใช้

จดุ แข็งของไทยใหเ้ ปน็ จดุ หมายปลายทางของกลมุ่ นักท่องเทยี่ วคุณภาพ
๓.๓ ส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวในรูปแบบท่ีสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับอุตสาหกรรม

การท่องเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื
๓.๔ ส่งเสริมการฟนื้ ฟูและรักษาแหล่งท่องเท่ียวธรรมชาติและวัฒนธรรม โดยการมีส่วนร่วมของ

ทอ้ งถิ่น
๓.๕ ส่งเสรมิ ผูป้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีศักยภาพให้ปรับตัวสู่ธุรกิจใหม่

ท่มี ีแนวโนม้ ความต้องการมากขึ้นในอนาคต เช่น สินค้าและบริการเพื่อ เพื่อสุขภาพ สินค้าสีเขียว และสินค้าที่
มอี ตั ลักษณข์ องท้องถิน่

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๑

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

ประเด็นพัฒนาท่ี ๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ส่ิงอานวยความสะดวก และปรับปรุงปัจจัยเอ้ือ
ใหส้ นับสนนุ ต่อการฟื้นตวั และเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเท่ียว

โ ค ร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น แ ล ะ สิ่ ง อ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก เ ป็ น ปั จ จั ย ส นั บ ส นุ น ที่ ส า คั ญ ต่ อ ก า ร เ ติ บ โ ต
ของอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ียว ซ่ึงล้วนมีส่วนในการส่งเสริมประสบการณ์ในการท่องเที่ยว โดยในประเด็นพัฒนานี้
เน้นด้านการพัฒนาระบบคมนาคมในทุกรูปแบบ การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว
ในดา้ นตา่ ง ๆ การพัฒนาความปลอดภัยและสุขอนามัยอย่างเป็นระบบ และการปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อ
การเตบิ โตอย่างยง่ั ยืนของอุตสาหกรรมการท่องเทยี่ ว

๑. เปาู หมาย
๑.๑ แหล่งท่องเทย่ี วมโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีเอื้อต่อการฟ้ืนตัวและเติบโตของการท่องเทย่ี วเชิงคุณภาพ
๑.๒ กฎระเบียบและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียวเป็นปัจจัยเอ้ือให้เกิดการฟื้นตัวและ

เตบิ โตของการท่องเทยี่ วเชิงคุณภาพ
๒. ตัวช้ีวัด
๒.๑ แหล่งท่องเท่ยี วท่ีไดร้ บั การพฒั นายกระดับมาตรฐาน
๒.๒ จานวนกฎระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคต่อการฟ้ืนตัวและเติบโตของการท่องเที่ยว ได้รับ

การปรบั ปรุงแก้ไข
๓. แนวทางการพฒั นา
๓.๑ ส่งเสรมิ การพัฒนาเมืองนา่ อยู่เพอื่ การทอ่ งเทีย่ วอย่างยง่ั ยืน
๓.๒ ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลและโครงสร้างพื้นฐานเชิ งระบบ

เพือ่ การทอ่ งเทีย่ วอยา่ งยง่ั ยนื
๓.๓ ส่งเสริมการพัฒนา ใช้ประโยชน์ และประยุกต์ใช้โครงสร้างพ้ืนฐานของรัฐให้สอดคล้องกับ

สถานการณ์และทิศทางการพัฒนาประเทศ
๓.๔ สง่ เสริมการปรบั ตัวของแหล่งท่องเทีย่ วและผปู้ ระกอบการเข้าสู่ Tourism 4.0
๓.๕ สนบั สนุนการเพ่มิ เติม ปรับปรุง เปล่ยี นแปลงกฎระเบียบและสถาบันใหเ้ ออ้ื ตอ่ การท่องเที่ยว

อยา่ งยง่ั ยนื

ประเด็นพัฒนาท่ี ๓ การพัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชนเพ่ือเตรียมพร้อมสาหรับการท่องเท่ียวเชิง
คณุ ภาพ

การพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวผ่านการยกระดับคุณภาพสู่ระดับสากล เพื่อให้ทัดเทียม
ขีดความสามารถของบุคลากรในระดับโลกและเพื่อเตรียมความพร้อมกับการแข่งขันที่ทวีความรุนแรงข้ึน
ผ่านความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมถึงการปลูกฝังจิตสานึกและการเป็นเจ้าบ้านท่ีดีให้กั บ
ประชาชนและการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน นับเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขนั ของอตุ สาหกรรมท่องเที่ยวไทย

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๒

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

๑. เปาู หมาย
๑.๑ บคุ ลากรด้านการทอ่ งเท่ียวทั้งภาครัฐและเอกชนมีทักษะสงู ขึ้นและพร้อมรับนกั ทอ่ งเท่ียวคณุ ภาพ
๑.๒ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีความร่วมมือในการพัฒนาทักษะบุคลากรของอุตสาหกรรม

ท่องเท่ียวกลุ่มเปูาหมาย
๒. ตวั ชว้ี ัด
๒.๑ จานวนบุคลากรด้านการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวท่ีได้รับ

การพฒั นาทกั ษะให้ได้มาตรฐานสาหรบั การท่องเทยี่ วเชิงคุณภาพ
๒.๒ จานวนสถาบันการศึกษาที่มีการพัฒนาหลักสูตรเพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการ

และองค์ความรู้ด้านการวางแผนการท่องเท่ียว
๒.๓ จานวนผู้ประกอบการเอกชนที่เข้าร่วมกับสถาบันการศึกษาในการพัฒนาทักษะการบริหาร

ระดับสูงสาหรบั บุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว
๓. แนวทางการพัฒนา
๓.๑ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเท่ียวให้กับอุตสาหกรรมท่องเท่ียวที่เน้น

การท่องเทีย่ วเชงิ คณุ ภาพ
๓.๒ ส่งเสริมการยกระดับสถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นศูนย์กลางการพัฒนาบุคลากรระดับ

บริหารจัดการดา้ นการทอ่ งเทย่ี วอย่างยั่งยืน
๓.๓ ส่งเสริมและผลักดนั ใหเ้ กิดการบูรณาการความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชนในการยกระดับ

และพัฒนาทักษะทีจ่ าเป็นใหก้ บั ผ้ปู ระกอบการและแรงงานในอุตสาหกรรมท่องเท่ยี ว

ประเดน็ พฒั นาที่ ๔ การปรบั ภาพลักษณ์การทอ่ งเทีย่ วไทย เพื่อรองรบั นักท่องเทย่ี วคุณภาพผา่ นการตลาด
การพัฒนาการตลาดของการท่องเท่ียวไทยอย่างมีสมดุล เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์แหล่งท่องเท่ียวคุณภาพ

ผ่านการส่งเสริมการตลาดเฉพาะกลุ่มและการพัฒนาเคร่ืองหมายมาตรฐานคุณภาพ รวมทั้งการส่งเสริม
การตลาดเพ่ือกระตุ้นการใช้จ่ายของนักท่องเท่ียวและกระตุ้นตลาดนักท่องเที่ยวไทย กอปรกับการพัฒนา
คุณภาพของสินค้าและบริการบนพ้ืนฐานเอกลักษณ์อย่างไทย และการปรับใช้เทคโนโลยีเพ่ือการตลาดอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ จะช่วยส่งเสริมการพฒั นาการทอ่ งเที่ยวไทยให้เกดิ ความสมดุลและย่ังยืน

๑. เปาู หมาย
๑.๑ เพือ่ ใหป้ ระเทศไทยเปน็ จดุ หมายปลายทางของนักท่องเทย่ี วกลุ่มคณุ ภาพ

๒. ตวั ชว้ี ัด
๒.๑ คา่ ใชจ้ า่ ยตอ่ คนตอ่ ทริปของนกั ท่องเที่ยวชาวไทย
๒.๒ ค่าใช้จา่ ยตอ่ คนต่อทริปของนกั ท่องเที่ยวชาวตา่ งประเทศ
๒.๓ ความพงึ พอใจของนกั ทอ่ งเที่ยวชาวตา่ งชาติ ที่เดนิ ทางท่องเทย่ี วในประเทศไทย
๒.๔ ความพึงพอใจของนกั ทอ่ งเทย่ี วไทย ท่เี ดินทางทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๓

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

๓. แนวทางการพฒั นา
๓.๑ สง่ เสรมิ การท่องเทีย่ วในประเทศเพื่อให้มีเงนิ หมุนเวยี นกระต้นุ เศรษฐกจิ ในประเทศ
๓.๒ บริหารภาพลักษณ์เพ่ือสร้างความเชื่อม่ันประเทศในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่แตกต่าง

ปลอดภยั และประทบั ใจใหก้ บั นักทอ่ งเทีย่ วท้ังในและตา่ งประเทศ
๓.๓ ส่งเสริมให้เกิดการทางานร่วมกับเครือข่ายในห่วงโซ่การท่องเที่ยวเพ่ือรักษาตลาด

ดา้ นการท่องเท่ยี ว และเชอ่ื มโยงภมู ิภาค
๓.๔ สง่ เสริมการทาการตลาดล่วงหนา้ เพือ่ เจาะกลมุ่ นกั ทอ่ งเท่ยี วคุณภาพ
๓.๕ ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ท่ีใช้เทคโนโลยีทาการตลาดและสร้าง

ประสบการณท์ อ่ งเท่ียวรปู แบบใหม่

ประเด็นพัฒนาท่ี ๕ การบริหารจดั การการท่องเทยี่ วอย่างยั่งยืน
การบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนคือปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนแ ผนสู่การปฏิบัติอย่างเป็ น

รูปธรรม โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมการทางานร่วมกันระหว่างทุกภาคส่วน การปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
และการบริหารข้อมูลด้านการท่องเที่ยว เพื่อการวิเคราะห์และวางแผน รวมถึงการส่งเสริมการบูรณาการ
การพัฒนาการท่องเทย่ี วกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นเพ่ือสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วในภูมิภาคโดยรวม

๑. เปูาหมาย
๑.๑ หน่วยงานท้องถ่ินมีศักยภาพในการบริหารจัดการการบริการสาธารณะท่ีเช่ือมโยงกับ

การทอ่ งเทีย่ ว ใหเ้ ป็นทยี่ อมรับของนกั ทอ่ งเทย่ี ว
๑.๒ มีการใช้งานระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดทาแผนบริหารจัดการ

การท่องเทยี่ วอยา่ งยัง่ ยืน
๑.๓ มีการกระจายรายได้การท่องเที่ยวในภูมิภาคอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม เพอื่ ลดความเหลื่อมล้า

๒. ตัวชี้วดั
๒.๑ จานวนหนว่ ยงานส่วนท้องถิน่ ที่ได้รบั การเพิ่มศักยภาพดา้ นการบริหารจัดการการท่องเท่ียวอยา่ งยง่ั ยนื
๒.๒ จานวนหน่วยงานที่มีแผนปฏิบัติราชการ / แผนงาน แนวทาง การนาฐานข้อมูลด้าน

การท่องเทยี่ วไปใช้ประโยชน์เพ่ือการพฒั นาการท่องเท่ียวอยา่ งย่งั ยนื
๒.๓ จานวนกิจกรรมหรือโครงการท่ีเกี่ยวข้องกับการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

การท่องเทยี่ วเพ่ือยกระดับไปสกู่ ารพัฒนาการท่องเทีย่ วอยา่ งย่ังยนื
๓. แนวทางการพัฒนา
๓.๑ ส่งเสรมิ การเพ่มิ ศกั ยภาพและบทบาทหน้าทขี่ องท้องถิ่นในการกากับดูแลและกาหนดมาตรฐาน

การใหบ้ ริการสาธารณะรวมถึงมีความสามารถในการบรหิ ารจดั การเชิงพื้นท่ีท่ีเชื่อมโยงกบั การท่องเทย่ี ว
๓.๒ สง่ เสรมิ การพฒั นาระบบการเตรียมความพร้อมและการใช้ฐานข้อมูล เทคโนโลยี นวัตกรรม

ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การทอ่ งเที่ยว เพ่อื ประโยชนใ์ นการบริหารจัดการภาวะวิกฤตอย่างมีประสิทธิภาพ
๓.๓ สง่ เสริมศักยภาพใหเ้ ขตพฒั นาการท่องเที่ยวมีความสามารถและประสิทธิภาพในการวางแผน

บรหิ ารจัดการการทอ่ งเท่ียวอยา่ งยงั่ ยืน

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๔

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ

โครงการภายใตป้ ระเดน็ พฒั นาท่ี ๑-๕ แผนพฒั น

ประเด็นพัฒนา ๑: การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริก
สอดคลอ้ งกบั บริบททเี่ ปล่ียนแปลงไป

เป้าหมาย 1: ผู้ประกอบการและบุคลากรด้านการท่องเทย่ี วมคี วามสามารถยังชีพอยู่ได
ตัวชี้วดั 1: จานวนผปู้ ระกอบการและบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วท่ีไดร้ บั กา

เปา้ หมาย 2: แหล่งท่องเทย่ี ว ผ้ผู ลติ และขายสนิ คา้ บรกิ าร และผปู้ ระกอบการท่องเท่ีย
ตัวชี้วดั 2: จานวนแหลง่ ท่องเท่ยี ว ผผู้ ลิตและขายสนิ ค้า บรกิ าร และผูป้ ระกอบการท่อ
ตวั ชีว้ ัด 3: จานวนผปู้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) ในอตุ สา

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก ส

1. ผลักดันมาตรการเพอื่ 1. แผนงานขับเคลอ่ื นการแก้ไข เยียวยา และ
การเยยี วยา ฟืน้ ฟู ฟน้ื ฟูผเู้ ก่ยี วข้องกบั อตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว ส
ผู้ประกอบการและบคุ ลากร ท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณก์ ารแพร่ ก
ในอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
อยา่ งย่ังยืน
2. โครงการสรา้ งเสริมศกั ยภาพท่ีพกั โรงแรม
ศูนย์กีฬา เพ่ือเป็นศูนย์พกั พงิ ช่ัวคราว ในกรณี
สถานการณ์ฉกุ เฉินภยั พบิ ตั ิ และโรคตดิ ตอ่
ภายใต้แนวคิดการบริหารความตอ่ เน่ืองทาง
ธุรกิจ

นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)

การ และผู้ประกอบการท่องเท่ียว ให้มีความสามารถในการพร้อมรับและปรับตัวให้

ด้ และไดร้ บั การดูแลอย่างทว่ั ถึง
ารช่วยเหลือเยยี วยาจากมาตรการของรัฐบาล

ยว มีขีดความสามารถในระดับนานาชาติ
องเที่ยว ที่ได้รับมาตรฐานการท่องเทยี่ วระดับนานาชาติ
าหกรรมทอ่ งเทย่ี วได้รบั การยกระดับศักยภาพในการเพ่มิ มูลคา่ ใหก้ บั สนิ ค้าและบริการ

หน่วยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ

สานักงานปลดั กระทรวง 2564 2565
การท่องเทยี่ วและกฬี า
1.0000 1.0000

สานกั งานปลัดกระทรวง 1.3870 7.000
การท่องเทย่ี วและกีฬา

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๕

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั

3. โครงการพัฒนาผปู้ ระกอบการใน ก
อตุ สาหกรรมท่องเทย่ี วให้มีความสามารถ
ในการบริหารจัดการภายใตภ้ าวะวกิ ฤต

2. สง่ เสริมการยกระดบั 1. โครงการต้นแบบเพื่อยกระดบั การใหบ้ ริการ ส
มาตรฐานการท่องเที่ยวระดับ ของสถานประกอบการสู่มาตรฐานความปลอดภัย ก
นานาชาตใิ หก้ ับผปู้ ระกอบการ ด้านสุขอนามัย (SHA) ตามวิถีการท่องเทย่ี วแนวใหม่
และใช้จุดแข็งของไทยให้เป็น (New Normal Tourism Services) เพ่ือมงุ่ สู่
จดุ หมายปลายทางของกลุ่ม การทอ่ งเทยี่ วคุณภาพสงู
นักท่องเท่ียวคณุ ภาพ
2. โครงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ยี วชมุ ชนใหเ้ ข้าสู่ ก
มาตรฐานการท่องเทยี่ ว

3. โครงการพฒั นาแหลง่ ท่องเทย่ี ว Sand dune ก
จ.ชุมพร ให้เข้าสมู่ าตรฐานแหล่งท่องเทีย่ ว

4. โครงการพฒั นาผูป้ ระกอบการใน ก
อุตสาหกรรมทอ่ งเท่ยี วใหไ้ ดร้ ับมาตรฐาน
การท่องเที่ยวนานาชาติ

5. โครงการพฒั นาขดี ความสามารถ ก
ในการรองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
กรมการทอ่ งเท่ียว
2564 2565
สานกั งานปลดั กระทรวง
การทอ่ งเท่ยี วและกฬี า 5.0000 5.0000

3.0544

กรมการทอ่ งเท่ยี ว 65.0000 5.0000
กรมการทอ่ งเทย่ี ว 18.2603
กรมการทอ่ งเที่ยว 5.0000

กรมการท่องเทย่ี ว 8.9165

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๖

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก

6. โครงการเพ่ิมขดี ความสามารถทาง ก
การแขง่ ขันดา้ นการเป็นสถานท่ีถา่ ยทา
ภาพยนตรต์ ่างประเทศ ก

7. โครงการยกระดับมาตรฐานด้านสขุ าภิบาล ส
และการจดั การอนามยั ของสถานที่พักอาศยั ก
ชั่วคราว โรงแรม รีสอร์ท และสถาน ส
ประกอบการในแหล่งท่องเทีย่ ว ก

8. แผนงานยกระดบั มาตรฐานสถานท่จี ดั งาน ก
และผูป้ ระกอบการไมซ์ ส

3. ส่งเสรมิ การพฒั นา 1. โครงการพฒั นาอัตลักษณ์นา่ น มงุ่ สูเ่ มือง ส
การทอ่ งเท่ียวในรปู แบบทส่ี ร้าง สรา้ งสรรค์ (Creative City) ก
มลู ค่าเพ่ิมให้กับอตุ สาหกรรม ก
การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2. โครงการสง่ เสริมการพฒั นาการท่องเท่ียว
สัมผัสประสบการณ์จังหวัด

3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์ในรปู แบบอาชาบาบดั

4. โครงการศึกษาการสง่ เสริมการลงทุนเพื่อ
การทอ่ งเท่ยี วเชิงคุณภาพ

5. โครงการพัฒนาอัตลักษณ์เมืองเพ่อื ส่งเสริม
การทอ่ งเท่ยี วอย่างสร้างสรรค์

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
กรมการทอ่ งเที่ยว 2564 2565

กรมอนามัย 15.0000

10.0000

สานักงานส่งเสริม 4.0800 31.1000
การจดั ประชุมและนทิ รรศการ 7.1050
15.7360
สานักงานปลดั กระทรวง 25.0000
การทอ่ งเท่ยี วและกฬี า 10.0000
2.2334
สานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเทยี่ วและกฬี า

สานักงานปลัดกระทรวง
การทอ่ งเทยี่ วและกฬี า

สานักงานปลัดกระทรวง
การทอ่ งเทย่ี วและกีฬา

กรมการทอ่ งเท่ียว

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

6. โครงการพฒั นาศักยภาพแหลง่ ท่องเท่ียว ก
อเล็กซานเดอร์มหาราช จ.อุบลราชธานี และ
แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชื่อมโยงโดยรอบ

7. โครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงความเช่ือ ก
และจิตวิญญาณ ประเภท “มเู ตลู”

8. โครงการการสง่ เสรมิ และการสรา้ งมลู ค่า (Value) ก
เคร่ืองหมายมาตรฐานการท่องเท่ียวไทย

9. โครงการพัฒนาเสน้ ทางทอ่ งเทีย่ วนา้ พุร้อน ก
เชื่อมโยงจังหวัดระนอง พังงา และกระบ่ี

10. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาเมอื งท่องเที่ยว ก
เชิงสุขภาพน้าพุร้อน จงั หวดั ระนอง

11. โครงการพฒั นาการท่องเทีย่ ว Caravan ก
and Camping

12. โครงการศึกษาเพ่ือการประกาศเขตพนื้ ท่ี ก
พเิ ศษเพื่อการท่องเทยี่ ว

13. โครงการจัดการแขง่ ขนั กีฬาเช่ือมโยงการ ก
ทอ่ งเท่ยี วในพืน้ ที่จังหวดั ภเู ก็ต กระบ่ี และ
สรุ าษฎร์ธานี (Air Sea Land Southern
Sports and Tourism Festival)

หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
กรมการทอ่ งเที่ยว 2564 2565

กรมการท่องเท่ยี ว 10.0000
กรมการทอ่ งเที่ยว
กรมการทอ่ งเที่ยว 5.0000
กรมการท่องเที่ยว 15.0000
กรมการทอ่ งเทย่ี ว 3.6023
กรมการท่องเทีย่ ว 8.5932
การกีฬาแหง่ ประเทศไทย 5.0000
100.0000

356.7472

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๘

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั

14. โครงการพัฒนาเมืองกีฬา (Sports City) ก

15. โครงการสง่ เสรมิ การทอ่ งเที่ยวเชิง อ
สรา้ งสรรค์และวัฒนธรรม เ
(
16. โครงการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี วโดยชุมชน อ
อยู่ดีมสี ุข (Happy CBT) เ
(
17. โครงการพฒั นาแหล่งท่องเทีย่ วทาง ก
ธรณวี ิทยา

18. โครงการจดั ทาประตมิ ากรรมอุทยาน ก
การเรยี นรูใ้ ต้ท้องทะเลเพอ่ื สง่ เสริม
การท่องเท่ียวจงั หวัดพงั งา

19. โครงการก่อสร้างพพิ ิธภัณฑส์ ่งิ มีชีวติ ใต้ ก
ทะเลไทยเฉลิมพระเกียรติ

20. โครงการสง่ เสริมการท่องเท่ยี วเชิง ก
วัฒนธรรม

21. โครงการยกระดบั การท่องเทยี่ วเชิงสขุ ภาพ ก
ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท
ครบวงจร

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
2564 2565
การกีฬาแห่งประเทศไทย
100.0000
องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พเิ ศษ
เพอ่ื การท่องเท่ยี วอย่างยง่ั ยนื 266.9315 118.5270
(องค์การมหาชน)
องค์การบรหิ ารการพฒั นาพ้นื ท่พี เิ ศษ 30.0000
เพอ่ื การท่องเท่ียวอย่างย่งั ยืน
(องค์การมหาชน) 22.5000
กรมทรัพยากรธรณี ๑๔.๔๔๗๒

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่งั

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ 786.4897
146.5000
กรมศิลปากร 15.8634

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๕๙

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

๒2. โครงการสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชิง ก
สร้างสรรค์

23. โครงการพัฒนาศกั ยภาพเศรษฐกจิ ส

สรา้ งสรรคใ์ นเขตเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ภาคเหนือ (

ด้วยการทอ่ งเท่ยี วและการสร้างมูลค่าเพิม่ จาก

วฒั นธรรมลา้ นนา

4. ส่งเสรมิ การฟน้ื ฟูและรกั ษา 24. โครงการเทศกาลความคิดสรา้ งสรรค์ภาค ส
แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาตแิ ละ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ (
วฒั นธรรม โดยการมีส่วนร่วม
ของท้องถิ่น 1. โครงการส่งเสรมิ การท่องเทย่ี วเชงิ อนุรกั ษ์ ส
ทรพั ยากรทางทะเลเพือ่ ความปลอดภัยและ ก
ย่ังยืน ภายใตน้ โยบายด้านความปลอดภยั และ
การพัฒนาการท่องเทีย่ วท่ีย่ังยนื
(Promote the Eco-Tourism for Safety &
Sustainability)

2. โครงการสง่ เสริมการท่องเทย่ี วอยา่ งมี ก
ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

3. โครงการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อ

และสิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการท่องเท่ยี ว เ

(

หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
กรมการพัฒนาชมุ ชน 2564 2565

สานกั งานส่งเสรมิ เศรษฐกจิ สร้างสรรค์ 124.7994
(องคก์ ารมหาชน)
7.4745 ๘.7950

สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ 10.3296 8.2095
(องค์การมหาชน) 9.0000

สานกั งานปลัดกระทรวง
การท่องเทยี่ วและกีฬา

กรมท่องเทีย่ ว 99.2378 82.5092

องค์การบริหารการพัฒนาพน้ื ทีพ่ ิเศษ
เพ่ือการท่องเท่ยี วอยา่ งยั่งยืน
(องคก์ ารมหาชน)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๐

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั

4. โครงการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้าพรุ อ้ น ส

อยา่ งย่ังยนื ท

5. โครงการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรทางทะเลและ ก
ชายฝงั่ เพ่ือการท่องเท่ยี วอย่างย่งั ยนื

6. โครงการปูองกันและเฝูาระวงั ภยั จาก ก
แมงกะพรนุ พษิ ในพนื้ ที่ทอ่ งเที่ยวทสี่ าคัญ

7. โครงการตดิ ต้ังทุน่ ผกู เรือเพอ่ื การอนรุ ักษ์ ก
ปะการังในพื้นท่ีท่องเทย่ี วทางทะเล

8. โครงการตดิ ตั้งทุน่ แพลอยน้าเพ่อื เพ่ิม ก
ศักยภาพการท่องเท่ยี วเชงิ นเิ วศทางทะเล
ฝงั่ อนั ดามัน และ อ่าวไทย

9. โครงการพฒั นาแหลง่ ท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ก

10. โครงการบรหิ ารจัดการการทอ่ งเท่ยี วพืน้ ที่ ส
เกาะอย่างยง่ั ยืน: กรณศี ึกษา หมู่เกาะฝง่ั ทะเล เ
ตะวันออก และเขตพฒั นาการท่องเท่ยี วอันดามัน

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
สานักงานปลดั กระทรวง 2564 2565
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั 40.0000

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ 2.5261

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง 24.0000

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั่ 16.5000

226.5250

กรมปาุ ไม้ 133.6395
50.0000
สานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๑

คณะกรรมการนโยบายการท่องเทยี่ วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก

5. ส่งเสริมผปู้ ระกอบการ 1. โครงการพฒั นาพน้ื ทีช่ มุ ชนสกู่ ารเปน็ แหล่ง ส

วสิ าหกิจขนาดกลางและ ท่องเทยี่ วเชงิ สุขภาพ (Wellness Hub)

ขนาดย่อมทีม่ ีศักยภาพให้ 2. โครงการศึกษาการพัฒนาเมืองผู้สงู อายุและ ก
ปรบั ตวั สธู่ ุรกจิ ใหมท่ ่ีมีแนวโนม้ เมอื งแห่งการพักฟ้นื เพอ่ื การท่องเท่ียวเชงิ
ความตอ้ งการมากข้ึนในอนาคต สขุ ภาพ ก
เช่น สนิ คา้ และบริการเพื่อ

สขุ ภาพ สินคา้ สีเขียว และ 3. โครงการพฒั นาอาหารสมุนไพรและกัญชา
สินค้าทมี่ อี ัตลกั ษณ์ของท้องถนิ่ สาหรบั ชมุ ชน

4. โครงการยกระดบั ชุมชนโครงการโคกหนองนา ก
โมเดลให้เป็นชมุ ชนทอ่ งเที่ยวตน้ แบบ

5. โครงการฝึกทักษะในโลกกว้างผ่านผืนฟาร์ม ก
แหง่ การเรียนรู้ (Farm Schools)

6. โครงการพฒั นาตอ่ ยอดทุนทางวัฒนธรรม ก
เพอื่ เศรษฐกิจชมุ ชนเข้มแข็งอย่างยัง่ ยนื

7. โครงการยกระดับวิสาหกจิ ชุมชนผสู้ งู อายุ ว
เพอ่ื สง่ เสริมการท่องเที่ยวเชงิ สุขภาพ ม
กลมุ่ จังหวดั ภาคตะวนั ออก

8. โครงการสร้างรายไดด้ ้วยการทอ่ งเทย่ี ว ส
ชีวภาพ ช

หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
2564 2565
สานักงานปลัดกระทรวง
การท่องเทย่ี วและกีฬา 30.0000
สานกั งานปลดั กระทรวง 20.0000
การทอ่ งเทยี่ วและกีฬา
3.0000
กรมการท่องเทีย่ ว 30.0000
13.0443
กรมการท่องเท่ียว 34.0000
2.0000
การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย
6.1400
กระทรวงวฒั นธรรม

วทิ ยาลยั นวัตกรรมและการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนสนุ ันทา

สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐาน
ชีวภาพ (องค์การมหาชน)

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๒

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

ประเด็นพฒั นา ๒: การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน สงิ่ อานวยความสะดวก และปรับปรุงป

เปา้ หมาย 1: แหล่งท่องเท่ียวมีโครงสร้างพน้ื ฐานท่เี อ้ือตอ่ การฟ้ืนตัวและเตบิ โตของการ
ตัวชีว้ ัด 1: แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วทไ่ี ดร้ ับการพัฒนายกระดบั มาตรฐาน

เปา้ หมาย 2: กฎระเบียบและสถาบนั ที่เกี่ยวข้องกบั การท่องเท่ียวเปน็ ปจั จยั เอ้อื ให้เกิด
ตัวชี้วดั 2: จานวนกฎระเบยี บท่ีเป็นอปุ สรรคต่อการฟ้ืนตวั และเติบโตของการทอ่ งเทย่ี

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

1. สง่ เสรมิ การพัฒนาเมืองน่าอยู่ 1. โครงการสร้างต้นแบบเมืองท่องเท่ียว สาน
เพือ่ การทอ่ งเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื
ท่ปี ลอดภยั (Tourism Model การ

Resilient City)

2. โครงการพื้นทท่ี ่องเทีย่ วปลอดภยั กรม
สาหรับนักทอ่ งเท่ยี ว (Safety Zone) กรม
กรม
3. แผนงานเพ่ิมศักยภาพการจดั การ กรม
ดา้ นความปลอดภยั

4. โครงการค่าใชจ้ ่ายในการพัฒนา
เสน้ ทางปลดทุกข์ เติมสุข

5. โครงการค่าใชจ้ า่ ยในการพัฒนา
หอ้ งรับแขกประเทศไทย

ปจั จัยเออ้ื ใหส้ นบั สนนุ ต่อการฟน้ื ตวั และเติบโตของอตุ สาหกรรมทอ่ งเท่ยี ว
รท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ

ดการฟนื้ ตวั และเติบโตของการท่องเท่ียวเชงิ คณุ ภาพ
ยว ไดร้ ับการปรบั ปรุงแก้ไข

หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
2564 2565
นักงานปลัดกระทรวง
รท่องเท่ยี วและกฬี า 12.0000

มการทอ่ งเทย่ี ว 15.0000

มการท่องเทย่ี ว 15.0000 181.7749

มการทอ่ งเทย่ี ว 5.0000

มการท่องเทีย่ ว 2.0000

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๓

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

6. โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการรักษา กอง
ความปลอดภัยและการอานวย
ความสะดวกแกน่ ักทอ่ งเท่ียวในชว่ ง
เทศกาลงานประเพณีและวฒั นธรรม

7. โครงการเพิ่มขดี ความสามารถ กอง
ทางการแข่งขันด้านความปลอดภัย
ของนักท่องเทย่ี วของประเทศไทย

8. โครงการพฒั นามาตรฐานงานตารวจ สาน
ดา้ นความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ
ของประชาชนเพื่อรองรบั การทอ่ งเทยี่ ว
ปลอดภยั

2. สง่ เสริมการพฒั นาโครงสรา้ ง 1. โครงการพัฒนาศักยภาพฐานข้อมูล สาน
การ
พืน้ ฐานดา้ นดจิ ทิ ัลและโครงสร้าง ดา้ นการท่องเที่ยว
สาน
พื้นฐานเชิงระบบ เพื่อการท่องเท่ียว 2. โครงการพฒั นาและยกระดับข้อมูล การ
อย่างยงั่ ยืน ดิจทิ ัลดา้ นการท่องเที่ยว

3. โครงการคา่ ใช้จา่ ยในการจัดทาระบบ กรม
ฐานข้อมูลทะเบียนธรุ กจิ นาเที่ยวและ
มคั คเุ ทศก์ กรมการทอ่ งเทีย่ ว

หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
งบัญชาการตารวจท่องเทีย่ ว 2564 2565

15.0125

งบัญชาการตารวจท่องเทยี่ ว 10.0000
นกั งานตารวจแห่งชาติ 25.0000

นกั งานปลดั กระทรวง 15.0000
รท่องเทยี่ วและกฬี า 10.0000
15.0000
นักงานปลดั กระทรวง
รทอ่ งเท่ียวและกีฬา

มการท่องเท่ียว

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๔

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั

4. โครงการคา่ ใช้จ่ายในการพัฒนา กรม
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกลาง
เพ่อื พัฒนา E-Service บรกิ ารประชาชน
และพัฒนาฐานข้อมลู ด้านการทอ่ งเทย่ี ว
ของประเทศ ระยะท่ี 1

5. โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนา กรม
การกากบั ดแู ลธรุ กิจนาเทยี่ วด้วยระบบ กรม
ใบสง่ั งานมัคคุเทศก์ ระยะท่ี 2
กรม
6. โครงการคา่ ใชจ้ ่ายในการบรหิ าร กรม
จดั การ ดแู ล และบารงุ รักษาอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือขา่ ย ระบบ
รักษาความปลอดภัยเครือข่ายและ
หอ้ งปฏบิ ตั ิการระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ของกรมการท่องเท่ียว

7. โครงการคา่ ใช้จ่ายในการจัดตัง้
ศูนย์บรกิ ารให้ขอ้ มลู ทางโทรศัพท์ DOT
Call Center

8. โครงการค่าใช้จ่ายในการดูแล และ
บารงุ รักษาการกากับดูแลธุรกิจนาเทย่ี ว
ด้วยระบบใบส่ังงานมคั คุเทศก์

หน่วยงานรบั ผิดชอบ งบประมาณ
มการท่องเทย่ี ว 2564 2565

48.3950

มการทอ่ งเทย่ี ว 5.0000
มการท่องเทยี่ ว 11.3354

มการทอ่ งเทย่ี ว 7.000
มการท่องเที่ยว 2.0000

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๕

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก

9. โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพ กอง
ความปลอดภัยด้านการท่องเท่ยี วดว้ ย
ศนู ย์ปฏิบตั ิการบรหิ ารสถานการณ์และ
บูรณาการข้อมลู

10. โครงการบรู ณาการระบบบริการรบั กอง
แจง้ เหตุนกั ท่องเทย่ี ว 1155 และศนู ย์
ประสานงานแกไ้ ขปญั หานักท่องเทย่ี ว
แบบรวมศนู ย์

11. โครงการศนู ย์ประสานงานและ สาน
อานวยความสะดวกสาหรบั ธรุ กิจไมซ์ และ
(One Stop Service for MICE)

3. ส่งเสรมิ การพัฒนา ใช้ประโยชน์ 1. โครงการพฒั นาและยกระดับ กรม
และประยุกต์ใช้โครงสรา้ งพ้ืนฐาน การท่องเทย่ี วรถไฟเพื่อการสง่ เสริม กรม
ของรฐั ใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ การทอ่ งเที่ยว
และทิศทางการพัฒนาประเทศ
2. โครงการศึกษาและสารวจออกแบบ
เพ่ือพัฒนาทา่ เรือแวะพัก รองรบั เรือ
สาราญขนาดใหญส่ นบั สนนุ Thailand
Rivera ในเขตพ้นื ที่จังหวดั เพชรบุรี
ประจวบครี ีขนั ธ์ ชมุ พร และ ระนอง

หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
งบัญชาการตารวจท่องเที่ยว 2564 2565

10.0000

งบัญชาการตารวจท่องเที่ยว 21.9340

นักงานส่งเสรมิ การจดั ประชุม 2.5000 2.5000
ะนทิ รรศการ 10.0000
มการทอ่ งเที่ยว 25.0000

มเจา้ ทา่

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๖

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

3. โครงการก่อสร้างท่าเรือเกาะกดู ซี กรม
ฟรอ้ นสนับสนนุ การท่องเทยี่ ว ต.เกาะ
กดู อ.เกาะกูด จ.ตราด

4. โครงการศึกษาความเหมาะสมด้าน กรม
เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรม และ
ส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือพฒั นาท่าเรือสง่ เสรมิ
การทอ่ งเทยี่ วบรเิ วณหาดบางเสร่
อ.สัตหบี จ.ชลบุรี

5. โครงการศึกษาวางแผนแม่บทเพื่อ กรม
พฒั นาท่าเรือสาราญขนาดใหญ่
(Cruise Terminal) และสารวจ
ออกแบบท่าเรือสาราญขนาดใหญ่
บรเิ วณชายฝัง่ อนั ดามัน (ผูกพัน 63-65)

6. โครงการทางหลวงชนบทเพือ่ กรม
การท่องเทีย่ ว

7. โครงการยกระดบั การอานวย สาน
ความสะดวกผูโ้ ดยสาร
ณ ดา่ นตรวจคนเข้าเมือง

หน่วยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ
มเจ้าท่า 2564 2565

มเจา้ ทา่ 260.0000

18.3300

มเจ้าท่า 70.0000

มทางหลวงชนบท 1,927.1574
นกั งานตรวจคนเข้าเมอื ง 5.6480

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๗

คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ยี วแห่งชาติ

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลกั

4. ส่งเสริมการปรบั ตัวของแหลง่ 1. โครงการเพม่ิ การส่วนร่วมภาค สาน
ทอ่ งเท่ียวและผูป้ ระกอบการเขา้ สู่
tourism 4.0 ประชาชนเพอ่ื การพฒั นาการทอ่ งเท่ียว การ

(โครงการ Hackathon ทอ่ งเท่ียว)

2. โครงการศึกษาแรงจงู ใจและ สาน

มาตรการสง่ เสริมการลงทุนเพ่ือปรบั ปรงุ การ

แหลง่ ท่องเทยี่ วและผู้ประกอบการ

ให้เป็น tourism 4.0

3. แผนงานสนบั สนนุ การใช้นวตั กรรม สาน
เพ่ือสรา้ งความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขัน นทิ
ของธรุ กิจไมซ์
สาน
5. สนับสนนุ การเพิม่ เตมิ ปรับปรุง 1. โครงการศึกษาความเปน็ ไปได้ การ
เปลี่ยนแปลงกฎระเบียบและสถาบัน ในการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อ
ใหเ้ อื้อต่อการทอ่ งเทีย่ วอย่างยง่ั ยนื สนบั สนนุ ธุรกจิ ทอ่ งเทย่ี ว

2. โครงการปรบั ปรุงกฎหมายท่ีเปน็ สาน
อุปสรรคต่อการประกอบอาชพี และ การ
การดาเนนิ ธรุ กจิ ของประชาชน ประเดน็
การท่องเที่ยวและการทอ่ งเทย่ี วเชิงสุขภาพ

3. โครงการพฒั นาศนู ยบ์ ริการอนญุ าต กรม
ถ่ายทาภาพยนตรต์ ่างประเทศแบบ
เบด็ เสรจ็

หน่วยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ
นักงานปลดั กระทรวง 2564 2565
รทอ่ งเที่ยวและกีฬา
50.0000
นักงานปลัดกระทรวง
รท่องเที่ยวและกฬี า 20.0000

นกั งานสง่ เสรมิ การจดั ประชมุ และ 6.0000 15.0000
ทรรศการ 15.0000
5.0000
นักงานปลดั กระทรวง
รทอ่ งเท่ียวและกฬี า

นกั งานปลดั กระทรวง
รท่องเทยี่ วและกฬี า

มการท่องเทย่ี ว 30.0000

แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๘

คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ

แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก

4. โครงการแกป้ ญั หาของ กรม

ผู้ประกอบการธุรกจิ Medical spa ของ

ไทยใหส้ ามาถประกอบธุรกจิ ด้วย

ใบอนญุ าตเพยี งใบเดียว

5. โครงการแกป้ ญั หาให้ผู้ประกอบการธรุ กจิ กรม
Medical spa สามารถใหบ้ ริการเสริม
ความงาม (ศลั ยกรรมเลก็ น้อย/โบท็อกซ์)
ในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพได้

6. โครงการผอ่ นผนั มาตรฐานอาคาร กรม
จากปัจจุบนั ท่ีมีอายุเพียง 5 ปี ให้
สามารถบงั คับใช้ตลอดไปเพ่ือเปิดให้
โรงแรมขนาดเลก็ ไดข้ ้ึนทะเบียนโรงแรม

7. โครงการพฒั นามาตรฐานการบังคับ สาน
ใช้กฎหมายเพื่อการปูองกนั และ
ปราบปรามทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดลอ้ มและสง่ เสริมการท่องเท่ยี ว

หน่วยงานรบั ผิดชอบ งบประมาณ
มสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ 2564 2565

มสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ 5.0000

มการปกครอง 5.0000

5.0000

นกั งานตารวจแห่งชาติ 10.0000

แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๖๙

คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ

ประเดน็ พฒั นา ๓: การพฒั นาบคุ ลากรท้งั ภาครฐั และเอกชนเพอื่ เตรยี มพร้อมสาหรบั ก

เปา้ หมาย 1: บคุ ลากรด้านการทอ่ งเที่ยวทงั้ ภาครัฐและเอกชนมีทกั ษะสงู ข้นึ และพร้อม
ตวั ชวี้ ดั 1: จานวนบคุ ลากรด้านการท่องเท่ียวทัง้ ภาครัฐและเอกชนในอุตสาหกรรมท่อ

เป้าหมาย 2: หนว่ ยงานภาครัฐและเอกชนมีความร่วมมือในการพัฒนาทักษะบุคลากร
ตัวชี้วดั 2: จานวนสถาบันการศึกษาท่ีมีการพฒั นาหลกั สตู รเพม่ิ ทักษะการเปน็ ผปู้ ระก
ตัวชีว้ ดั 3: จานวนผูป้ ระกอบการเอกชนท่ีเข้ารว่ มกบั สถาบันการศกึ ษาในการพัฒนาท

แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลกั

1. ส่งเสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรด้าน 1. โครงการอบรมอาสาสมัครเพื่อ สาน
การทอ่ งเทยี่ วใหก้ ับอตุ สาหกรรม ความปลอดภยั ของนักท่องเท่ียวเขต การท
ท่องเทย่ี วทเี่ น้นการท่องเทย่ี วเชงิ พัฒนาการท่องเที่ยวฝงั่ ทะเลตะวนั ตก
คณุ ภาพ
2. โครงการพัฒนาบุคลากร สาน

การท่องเทยี่ วชมุ ชนเพื่อรองรับ การท

การทอ่ งเทย่ี วเชิงสรา้ งสรรคใ์ นเขต

พฒั นาการท่องเท่ียวธรณวี ิทยาถนิ่ อีสาน

3. โครงการสารวจข้อมลู แรงงานใน สาน

อตุ สาหกรรมการท่องเทยี่ ว การท


Click to View FlipBook Version