หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ
มการท่องเท่ียว 2564 2565
มการท่องเท่ียว
5.0000
มการท่องเท่ียว 34.0970
มการทอ่ งเทย่ี ว
5.0000
งบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว 22.0000
4.1338
มอนามยั 10.0000
รท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๐
คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก
16. โครงการเพิ่มความเช่ียวชาญของ กรม
เจา้ หนา้ ทีแ่ ละเพม่ิ ขีดความสามารถภาคี
เครือข่ายและแลกเปลยี่ นเรียนรู้
การพฒั นาและการประเมินความเส่ียง
ดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว
17. โครงการพัฒนาทกั ษะกำลัง กรม
แรงงานดา้ นท่องเท่ยี วและบริการ
18. โครงการพฒั นาหลกั สตู รอบรม สถา
online เพ่ือเสรมิ สรา้ งนวตั กรรม
ในการส่ือสารให้กับผู้ประกอบการ
ดา้ นการท่องเท่ยี วเชงิ สร้างสรรคแ์ ละ
นวตั กรรม
2. ส่งเสริมการยกระดับ 1. โครงการพฒั นาสถาบันการศึกษาใน สำน
สถาบนั การศึกษาในพน้ื ท่เี ปน็ พ้นื ทีเ่ ปน็ เครือข่ายการพัฒนาบุคลากร การท
ศูนยก์ ลางการพฒั นาบุคลากรระดบั ด้านการท่องเทย่ี ว
บริหารจัดการดา้ นการท่องเที่ยว มหา
อยา่ งยง่ั ยืน 2. โครงการยกระดบั มาตรฐานอาชีพ
ด้านการนวดไทยเพื่อสขุ ภาพ เพือ่
ส่งเสรมิ การท่องเท่ยี วเชิงสุขภาพ
แผนพฒั นาการ
หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
มอนามัย 2564 2565
10.0000
มพัฒนาฝีมอื แรงงาน 11.6400 25.8440
าบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ 5.0000
นักงานปลัดกระทรวง 15.0000
ท่องเทยี่ วและกีฬา 2.0000
าวิทยาลัยราชภฏั เพชรบูรณ์
รท่องเที่ยวแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๑
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทยี่ วแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลัก
3. โครงการเพมิ่ ศักยภาพการใช้ มหา
ภาษาองั กฤษเพื่องานบริการและซือ้ ขาย
สนิ ค้าในแหลง่ ท่องเทย่ี วและโฮมสเตย์
เพื่อเพ่ิมขดี ความความสามารถทาง
การแข่งขนั ด้านการท่องเที่ยว
4. โครงการส่งเสริมกระบวนการ คณะ
การจัดการ และถ่ายทอดความรู้สูเ่ ยาวชน มหา
เพื่อเป็นฐานในการพฒั นาการท่องเที่ยว
กลุม่ จงั หวดั ภาคใตฝ้ งั่ อนั ดามัน
3. สง่ เสรมิ และผลกั ดันใหเ้ กดิ 1. โครงการศึกษาแนวทางการสรา้ ง สำน
การบูรณาการความรว่ มมือระหวา่ ง แรงจงู ใจในการสร้างความร่วมมอื ของ การท
รฐั และเอกชนในการยกระดบั และ ภาคเอกชนเพือ่ เขา้ ร่วมพัฒนาบุคลากร
พัฒนาทกั ษะทจี่ ำเปน็ ให้กบั ด้านการท่องเท่ยี ว สำน
ผู้ประกอบการและแรงงาน นทิ ร
ในอุตสาหกรรมท่องเท่ียว 2. แผนงานยกระดับการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรและผูป้ ระกอบการไมซ์
แผนพฒั นาการ
หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ
าวิทยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี 2564 2565
2.1030
ะวิทยาการจัดการ 2.0000
าวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็
5.0000
นักงานปลดั กระทรวง
ท่องเที่ยวและกฬี า 24.0000 25.0000
นกั งานส่งเสริมการจดั ประชุมและ
รรศการ
รทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๒
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ
ประเดน็ พัฒนา ๔: การปรบั ภาพลักษณก์ ารทอ่ งเที่ยวไทย เพอื่ รองรบั นักท่องเที่ยวค
เปา้ หมาย 1: เพ่ือให้ประเทศไทยเปน็ จุดหมายปลายทางของนักท่องเทย่ี วกลมุ่ คณุ ภาพ
ตัวชว้ี ดั 1: คา่ ใชจ้ ่ายต่อคนต่อทริปของนักท่องเท่ยี วชาวไทย
ตวั ชี้วดั 2: คา่ ใชจ้ า่ ยต่อคนต่อทริปของนักท่องเทย่ี วชาวต่างประเทศ
ตัวชี้วดั 3: ความพงึ พอใจของนักท่องเทีย่ วชาวตา่ งชาติ ท่เี ดนิ ทางท่องเท่ียวในประเทศ
ตัวชวี้ ัด 4: ความพงึ พอใจของนกั ท่องเที่ยวไทย ที่เดินทางทอ่ งเท่ียวในประเทศไทย
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก การ
1. โครงการเราเที่ยวด้วยกนั การ
1. สง่ เสริมการท่องเทีย่ วในประเทศ
เพ่ือใหม้ เี งินหมุนเวียนกระตุ้น 2. โครงการกำลังใจ
เศรษฐกจิ ในประเทศ
3. โครงการทวั รเ์ ที่ยวไทย การ
4. โครงการสรา้ งรายไดจ้ าก องค
การทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ เพอื่
ผ่านตลาดมลู คา่ สูง (องค
5. แผนงานส่งเสรมิ การประชุมและ สำน
นิทรรศการภายในประเทศ นทิ ร
แผนพฒั นาการ
คุณภาพผา่ นการตลาด
พ
ศไทย งบประมาณ
2564 2565
หนว่ ยงานรับผิดชอบ 20,000.0000
รทอ่ งเทย่ี วแห่งประเทศไทย
รทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย 2,400.0000 5.3691
5,000.0000 200.0000
รทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย
72.0000
ค์การบรหิ ารการพฒั นาพนื้ ท่ีพเิ ศษ
อการท่องเท่ียวอยา่ งยงั่ ยนื
คก์ ารมหาชน)
นักงานส่งเสริมการจดั ประชุมและ
รรศการ
รท่องเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๓
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลกั
2. บริหารภาพลักษณเ์ พื่อสร้างความ 1. โครงการจัดทำตวั ชวี้ ัดอุตสาหกรรม สำน
และ
เช่อื ม่ันประเทศในการเปน็ แหล่ง ทอ่ งเที่ยวและความเชื่อมัน่ ของ
สำน
ทอ่ งเท่ียวทีแ่ ตกตา่ ง ปลอดภยั และ นกั ทอ่ งเท่ยี ว และ
ประทบั ใจให้กับนกั ท่องเทยี่ วท้งั ใน 2. โครงการเตรยี มความพรอ้ มและ
และตา่ งประเทศ สร้างความเช่ือมน่ั ด้านความปลอดภัย
ในการท่องเทีย่ ว
3. โครงการอำนวยการแก้ไขปญั หา สำน
นักท่องเทย่ี วถูกหลอกลวงและช่วยเหลือ และ
นักท่องเท่ียว
4. โครงการสำรวจทัศนคติ ความพึงพอใจ สำน
และพฤติกรรมของนกั ท่องเท่ียวชาวไทย และ
และชาวต่างชาตทิ ี่เดนิ ทางท่องเท่ียว
ในประเทศไทย ประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564
5. โครงการยกระดับภาพลกั ษณ์ การ
การท่องเทีย่ วไทยสูค่ วามเป็นคณุ ภาพ
แผนพัฒนาการ
หน่วยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ
นกั งานปลัดกระทรวงการท่องเทยี่ ว 2564 2565
ะกีฬา
20.0000
นกั งานปลดั กระทรวงการท่องเทย่ี ว
ะกีฬา 20.0000
นกั งานปลดั กระทรวงการท่องเทีย่ ว 63.6455
ะกีฬา
นักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว 5.9710
ะกีฬา
รท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย 2.5372
รทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๔
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั
6. โครงการประกวดการนำเสนอ การ
การท่องเทีย่ วในท้องถิน่ ดว้ ย YouTube
ผา่ นมมุ มองของนกั ท่องเทีย่ ว
7. โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาตน้ แบบ กรม
เสน้ ทางทอ่ งเทยี่ วแบบครบวงจรเพือ่
กระตนุ้ เศรษฐกจิ สขุ ภาพภายในประเทศ
8. แผนงานส่งเสริมการตลาดสร้าง สำน
ภาพลกั ษณ์ของประเทศไทยเพื่อใหเ้ ป็น นทิ ร
จุดหมายปลายทางไมซ์ระดบั นานาชาติ
3. สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การทำงานร่วมกบั 1. โครงการพฒั นาความร่วมมอื ภายใน การ
เครอื ข่ายในหว่ งโซก่ ารท่องเที่ยวเพอื่ ภูมิภาคอาเซียนเพื่อส่งเสริมการ
รักษาตลาดดา้ นการท่องเทย่ี ว และ ท่องเทย่ี วเชื่อมโยงภูมภิ าค
เชอื่ มโยงภูมิภาค
4. ส่งเสริมการทำการตลาดล่วงหน้า 1. โครงการส่งเสรมิ การสรา้ งภาพยนตร์ กรม
เพือ่ เจาะกลุ่มนกั ท่องเทีย่ วคณุ ภาพ ต่างประเทศในราชอาณาจักร
แผนพัฒนาการ
หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ งบประมาณ
รทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย 2564 2565
15.0000
มสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ 30.0000
นกั งานส่งเสรมิ การจดั ประชุมและ 145.5900 150.0000
รรศการ
รท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย 15.0000
มการทอ่ งเท่ียว 168.6128
รท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๕
คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก
2. โครงการแนะนำศักยภาพ กรม
ความพร้อมในการเป็นแหล่งถ่ายทำ
ภาพยนตรข์ องประเทศไทยให้แก่
ผถู้ า่ ยทำภาพยนตร์ต่างประเทศ
(Inbound Roadshow)
3. โครงการค่าใช้จา่ ยในการจัด Road กรม
Show และจดั นิทรรศการรว่ มใน
เทศกาลภาพยนตรใ์ นตา่ งประเทศ
4. โครงการขยายฐานตลาด การ
นักทอ่ งเท่ียวกลมุ่ นิยมความหรหู รา
5. โครงการขยายตลาดนักทอ่ งเท่ียว การ
กลมุ่ ความสนใจพเิ ศษ
6. โครงการขยายตลาดนักทอ่ งเทีย่ ว การ
กลุ่มสุขภาพ
7. โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬา การ
แผนพฒั นาการ
หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
มการทอ่ งเทีย่ ว 2564 2565
15.0000
มการทอ่ งเทีย่ ว 5.742
รทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย
รทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย 10.0000
รทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย 10.0000
รทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย 10.0000
90.0000
รทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๖
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั
5. สง่ เสรมิ การพฒั นาอุตสาหกรรม 8. โครงการส่งเสรมิ สนิ ค้าท่องเทีย่ ว การ
เชิงสรา้ งสรรคท์ ี่ใช้เทคโนโลยที ำ อยา่ งรับผิดชอบภายใต้แนวคิด Green
การตลาดและสร้างประสบการณ์ Tourism สำน
ทอ่ งเทีย่ วรูปแบบใหม่ นทิ ร
9. แผนงานประมูลสทิ ธ์และดึงงาน สำน
สำคญั ระดับนานาชาติ และ
1. โครงการเลา่ เรือ่ งท่องเที่ยวให้เพมิ่
ขดี ความสามารถในการแข่งขันไดอ้ ย่าง
ย่งั ยนื ตามแนวทางการเพม่ิ มูลคา่
ทนุ วัฒนธรรมท้องถน่ิ และเศรษฐกจิ
สร้างสรรค์ในภมู ิภาคเอเชยี -แปซฟิ กิ
2. โครงการสร้างการรับรูด้ ้าน การ
การท่องเท่ียวดจิ ิทลั รปู แบบใหม่
(Digital Tourism)
แผนพัฒนาการ
หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
รท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย 2564 2565
25.0000
นกั งานส่งเสรมิ การจัดประชุมและ 67.2500 80.0000
รรศการ 7.1320
นกั งานปลดั กระทรวงการท่องเทีย่ ว
ะกีฬา
รทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย 5.0000
รท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๗
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ
ประเด็นพฒั นา ๕: การบริหารจัดการการท่องเท่ยี วอย่างยง่ั ยนื
เปา้ หมาย 1: หนว่ ยงานท้องถ่นิ มศี ักยภาพในการบริหารจัดการการบริการสาธารณะท
ตัวชีว้ ัด 1: จำนวนหนว่ ยงานสว่ นทอ้ งถ่นิ ท่ีไดร้ ับการเพิ่มศักยภาพด้านการบริหารจดั ก
เป้าหมาย 2: มีการใช้งานระบบฐานขอ้ มูลและเทคโนโลยสี ารสนเทศในการจดั ทำแผน
ตัวชี้วดั 2: จำนวนหนว่ ยงานทีม่ ีแผนปฏิบตั ิราชการ/แผนงาน แนวทาง การนำฐานข้อ
เป้าหมาย 3: มีการกระจายรายได้การท่องเท่ยี วในภมู ิภาคอยา่ งท่ัวถึงและเท่าเทยี ม เพ
ตัวชวี้ ัด 3: จำนวนกิจกรรมหรอื โครงการทเ่ี กี่ยวข้องกับการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ า
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก
1. ส่งเสรมิ การเพิ่มศักยภาพและ 1. โครงการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันเพื่อ สำน
บทบาทหนา้ ที่ของท้องถ่ินในการ การปรบั ตัวและการยกระดบั อุตสาหกรรม การ
กำกบั ดูแลและกำหนดมาตรฐานการ การทอ่ งเที่ยวภายใต้บริบทใหมจ่ าก
ให้บริการสาธารณะรวมถงึ มี สถานการณโ์ ควดิ - 19 (COVID - 19)
ความสามารถในการบรหิ ารจัดการ
เชิงพืน้ ทที่ ี่เช่ือมโยงกบั การท่องเทยี่ ว 2. โครงการเสรมิ สรา้ งมาตรฐานและ สำน
ความปลอดภยั ใหแ้ กน่ กั ท่องเทยี่ วใน การ
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื
แผนพัฒนาการ
ทเี่ ช่อื มโยงกับการท่องเทีย่ ว ใหเ้ ปน็ ท่ยี อมรับของนกั ท่องเทีย่ ว
การการท่องเท่ยี วอยา่ งยั่งยนื
นบริหารจดั การการท่องเท่ียวอย่างยั่งยนื
อมูลดา้ นการท่องเทย่ี วไปใช้ประโยชนเ์ พอื่ การพัฒนาการท่องเท่ยี วอยา่ งยง่ั ยืน
พื่อลดความเหลื่อมลำ้
ารจดั การการท่องเท่ียวเพื่อยกระดบั ไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน
หน่วยงานรบั ผิดชอบ งบประมาณ
2564 2565
นกั งานปลัดกระทรวง
รทอ่ งเที่ยวและกฬี า 11.0570
นักงานปลัดกระทรวง 15.0000
รท่องเทย่ี วและกฬี า
รท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๘
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลกั
3. โครงการขยายผลการสง่ เสรมิ องค
การทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนขององค์การบรหิ าร พิเศ
การพัฒนาพื้นที่พเิ ศษเพื่อการทอ่ งเท่ียว (องค
อยา่ งย่งั ยนื (อพท.) โดยองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ
4. โครงการยกระดับเศรษฐกิจฐานราก องค
ผ่านการท่องเทยี่ วโดยชมุ ชน พิเศ
เชิงสรา้ งสรรค์ (องค
5. โครงการสร้างรายได้จากการท่องเท่ียว องค
โดยชมุ ชนเชงิ สร้างสรรคผ์ า่ นตลาด พิเศ
มูลคา่ สูง (องค
6. โครงการพัฒนาเมืองและชุมชน องค
ทีม่ ีศักยภาพด้านการท่องเท่ียว พิเศ
เชิงสรา้ งสรรคแ์ ละวฒั นธรรม (องค
7. โครงการพฒั นาและส่งเสริม องค
การทอ่ งเทยี่ วชมุ ชนใหม้ คี วามเขม้ แข็ง พเิ ศ
และสอดคล้องกับศักยภาพของพน้ื ท่ี (องค
แผนพฒั นาการ
หน่วยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
2564 2565
ค์การบรหิ ารการพฒั นาพ้นื ท่ี
ศษเพ่ือการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยงั่ ยนื 30.0000
คก์ ารมหาชน)
ค์การบริหารการพฒั นาพืน้ ที่ 27.2636 1.6299
ศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยงั่ ยืน
คก์ ารมหาชน) 5.3691
ค์การบรหิ ารการพัฒนาพน้ื ท่ี 18.2598
ศษเพ่ือการทอ่ งเที่ยวอยา่ งยงั่ ยืน
ค์การมหาชน) 21.6299
ค์การบริหารการพฒั นาพื้นที่
ศษเพ่ือการท่องเที่ยวอย่างยง่ั ยืน
คก์ ารมหาชน)
ค์การบริหารการพฒั นาพื้นที่
ศษเพื่อการทอ่ งเที่ยว
คก์ ารมหาชน)
รท่องเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๗๙
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั
8. โครงการพฒั นาและยกระดับระบบ กรม
การจดั การสุขาภิบาลอาหารและนำ้ เพื่อ
รองรบั การทอ่ งเทย่ี วไทย
9. โครงการยกระดบั การจดั การอนามยั กรม
ส่งิ แวดลอ้ มส่เู ส้นทางทอ่ งเทย่ี วสขุ ภาพดี
10. โครงการพฒั นาพื้นที่ด้วยไมซ์ สำน
กระจายรายได้สชู่ มุ ชน นิทร
2. สง่ เสรมิ การพฒั นาระบบการ 1. โครงการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกจิ สำน
เตรยี มความพรอ้ มและการใช้ และการลงทุนดา้ นการทอ่ งเท่ียวให้กบั การ
ฐานข้อมูล เทคโนโลยี นวัตกรรม ท่ี ผ้ปู ระกอบการ เพื่อรองรับนวัตกรรม
เกี่ยวข้องกับการท่องเท่ียว เพ่ือ ดิจิทลั และการทอ่ งเที่ยวเชอื่ มโยงวิถใี หม่ สำน
ประโยชนใ์ นการบรหิ ารจัดการภาวะ การ
วกิ ฤตอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. โครงการสำรวจเครื่องชี้วัดภาวะ
เศรษฐกจิ ภาคบริการดา้ นการทอ่ งเท่ยี ว
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
3. โครงการศึกษาและจัดทำเคร่ืองมือ สำน
สรา้ งแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ การ
เพอ่ื การวางแผนและประเมิน
สถานการณ์การท่องเทย่ี ว
แผนพฒั นาการ
หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
มอนามัย 2564 2565
31.6432
มอนามยั 15.9403
343.1000
นักงานส่งเสริมการจดั ประชมุ และ 15.0000
รรศการ
นกั งานปลัดกระทรวง
รท่องเทยี่ วและกีฬา
นักงานปลดั กระทรวง 42.0000
รท่องเทย่ี วและกีฬา 13.5500
นกั งานปลัดกระทรวง
รทอ่ งเที่ยวและกฬี า
รทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๐
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ
แนวทางการพัฒนา แผนงาน/โครงการหลัก
4. โครงการคา่ ใช้จ่ายในการจัดทำข้อมลู สำน
ตามตัวชีว้ ดั ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ การ
ยทุ ธศาสตรช์ าตปิ ระเดน็ การท่องเทีย่ ว
(พ.ศ. 2561 - 2580)
5. โครงการค่าใช้จา่ ยในการพัฒนาและ สำน
จัดทำบัญชปี ระชาชาติด้านการท่องเที่ยว การ
6. โครงการค่าใชจ้ ่ายสำหรบั สำรวจ สำน
เคร่อื งชี้วดั ภาวะเศรษฐกิจด้านการกีฬา การ
และจดั ทำบญั ชปี ระชาชาตดิ ้านการกีฬา
(Sport Satellie Accounts: SSA)
นำร่อง
7. โครงการคลังขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สำน
Big Data เพ่ือการบรู ณาการพฒั นา การ
8. โครงการปรบั ปรุงและพฒั นาระบบ สำน
การจดั เก็บคา่ ธรรมเนียมการทอ่ งเท่ยี ว การ
ภายในประเทศของนกั ทอ่ งเท่ียว
ชาวตา่ งชาติ
แผนพฒั นาการ
หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ งบประมาณ
นักงานปลดั กระทรวง 2564 2565
รท่องเที่ยวและกฬี า
5.4500
นกั งานปลัดกระทรวง
รท่องเที่ยวและกีฬา 15.9887 26.1257
นกั งานปลัดกระทรวง 21.1640
รทอ่ งเทีย่ วและกฬี า
นักงานปลัดกระทรวง 6.9225
รท่องเที่ยวและกฬี า 35.0000
นักงานปลดั กระทรวง
รท่องเท่ียวและกฬี า
รทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๑
คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ
แนวทางการพฒั นา แผนงาน/โครงการหลกั
9. โครงการศึกษาการจัดทำแผนปฏิบตั ิ สำน
การด้านการพัฒนาการท่องเท่ียวอย่าง การ
ยั่งยืน
10. โครงการคา่ ใช้จา่ ยในการจัดทำ กรม
แผนแม่บทในเมืองท่องเที่ยวต้นแบบ
4 เขตพืน้ ท่ี
11. แผนงานสำรวจและจัดเกบ็ ขอ้ มลู สำน
อุตสาหกรรมไมซ์ไทย นทิ ร
3. ส่งเสรมิ ศกั ยภาพใหเ้ ขต 1. โครงการคา่ ใช้จา่ ยในการขับเคลื่อน สำน
พัฒนาการทอ่ งเทีย่ วมคี วามสามารถ การพัฒนาการท่องเทย่ี วภายในเขต การ
และประสิทธภิ าพในการวางแผน พัฒนาการทอ่ งเท่ียว
บรหิ ารจดั การการทอ่ งเที่ยวอยา่ ง สำน
ยั่งยืน 2. โครงการกองทุนเพื่อส่งเสริม การ
การทอ่ งเท่ียวไทย
สำน
3. โครงการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการเพ่ือ การ
การบรหิ ารจัดการการท่องเที่ยวในเขต
ธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
แผนพัฒนาการ
หนว่ ยงานรับผิดชอบ งบประมาณ
นักงานปลัดกระทรวง 2564 2565
รทอ่ งเทย่ี วและกีฬา
5.0000
มการทอ่ งเทยี่ ว
10.0000
นักงานส่งเสรมิ การจดั ประชมุ และ 1.7500 10.0000
รรศการ 9.9000
30.0000
นักงานปลดั กระทรวง 0.6194
รท่องเท่ยี วและกฬี า
นกั งานกองทุนเพื่อสง่ เสริม
รทอ่ งเทย่ี วไทย
นกั งานปลดั กระทรวง
รท่องเท่ียวและกีฬา
รทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๒
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ
สว่ นที่ ๔ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติส่กู ารปฏิบตั ิ
การขบั เคล่ือนแผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ส่กู ารปฏบิ ัติ ข้ึนอยู่กับปัจจัย
หลายประการ ทั้งการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการร่วมกันวางแผน กำหนดนโยบาย และดำเนินการ
ตามขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของตน มีความร่วมมือทางด้านองค์ความรู้ความสามารถ ทรัพยากร
และงบประมาณจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง การปรับปรุงกฎระเบียบเพื่ออำนวยความสะดวกแก่การพัฒนา
และสร้างองค์ความรู้โดยรวมที่ทุกภาคส่วนสามารถนำไปปรับใช้ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) เกิดการพัฒนาขับเคลื่อนอย่างสัมฤทธิ์ผล จึงต้องมีการวางระบบความเชื่อมโยง
ของแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องทั้งแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน แผนแม่บทเฉพาะด้านแผนปฏิบัติการ รวมถึง
ระบบการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อการพัฒนาเชิงบูรณาการและมีความต่อเนื่อง
การพฒั นาระบบตดิ ตามประเมินผลการดำเนนิ งานของภาครฐั ท่ีสอดคล้องกับเปา้ หมายและแนวทางการพัฒนา
ตามยุทธศาสตรอ์ ย่างแท้จรงิ
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) เป็นแผนที่ได้กำหนดแนวทางการขับเคลื่อน
แผนไปสู่การปฎิบัติ โดยเฉพาะการเชื่อมต่อประเด็นพัฒนาที่กำหนดในแผนฉบับนี้ ไปสู่แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
ในระดับเขตพัฒนาการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัด จังหวัด และท้องถิ่น รวมทั้งการใช้กลไกที่มีอยู่แล้วทั้งในระดับ
นโยบาย พื้นที่ และชุมชน เป็นแกนกลางในการประสานแผนสู่การปฏิบัติรวมถึงการติดตามและประเมินผล
อยา่ งเปน็ ระบบผ่านกระบวนการและกลไกดังกลา่ ว
๑. แนวทางการขับเคล่ือนแผนพฒั นาส่กู ารปฏิบตั ิ
การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) มีหลักการ วัตถุประสงค์
และแนวทางการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติที่สอดรับกับการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามกรอ บ
ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ ๒๐ ปี และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ดังน้ี
๑.๑ หลักการ
๑.๑.๑ ขบั เคลื่อนการพฒั นาการท่องเท่ียวของประเทศ โดยยึดแผนพฒั นาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) เป็นกรอบทศิ ทางหลกั ในการดำเนนิ งาน และแปลงสู่การปฏิบตั ิในทกุ ระดับ
๑.๑.๒ กระจายการพัฒนาลงสู่พื้นที่ โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่มีส่วนร่วม
ในการดำเนินการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวในทุกระดับ และเป็นจุดเชื่อมโยงการพัฒนาระหว่าง
การบริหารจัดการในระดบั ทอ้ งถน่ิ และระดบั นโยบาย
๑.๑.๓ ใช้กลไกและเครื่องมือการพัฒนาของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชนอย่าง
บูรณาการเพื่อให้การขับเคลื่อนเกิดประสิทธิภาพผ่านกระบวนการสร้างเครือข่าย ที่สามารถตอบสนองต่อ
การแก้ไขปัญหาและพฒั นาศกั ยภาพของการท่องเท่ียวในแต่ละพ้นื ท่ี
๑.๑.๔ ระบบการบรหิ ารจัดการแผนสกู่ ารปฏิบตั ิทมี่ ีความเชื่อมโยงกันในระดับตา่ ง ๆ ตงั้ แต่ระดับ
แผนพัฒนาระดับชาติ แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ของหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง แผนแม่บท
เฉพาะด้าน แผนปฏิบัติการ และระบบการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพและสามารถตอบสนอง
การพัฒนาเชิงบูรณาการได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งระบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของภาครัฐ
ทีส่ อดคล้องกับเป้าหมายและแนวทางการพฒั นาตามแผน
แผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๓
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ
๑.๑.๕ สร้างความเขา้ ใจให้กับหนว่ ยงานภาคีท่ีเกี่ยวข้องกับการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ เพ่ือทำให้
เกิดการบรู ณาการการทำงานรว่ มกนั ควบคู่กบั การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพให้กับหนว่ ยงานในระดบั พื้นท่ี
๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์
๑.๒.๑ เพื่อขับเคลื่อนประเด็นพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ -
๒๕๖๕) สูก่ ารปฏิบัตผิ า่ นการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
๑.๒.๒ เพอ่ื บูรณาการแผนงานจากสว่ นกลาง พ้ืนท่ี และท้องถนิ่ /ชมุ ชน ในการขับเคลือ่ นประเด็น
พฒั นาภายใตแ้ ผนพัฒนาการท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) สูก่ ารปฏิบัติ
๑.๒.๓ เพื่อติดตามและประเมินผลการพัฒนาที่มีความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบตั้งแต่ภาพรวม
ของประเทศลงสภู่ ูมิภาค พื้นท่ี และชุมชน
๑.๓ แนวทางการขับเคล่ือน การขับเคลื่อนแผนพัฒนาการท่องเท่ียวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
ไปสู่การปฏิบัตอิ ย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสอดคล้องกันตั้งแต่ระดับนโยบายจนถึงระดับปฏิบตั ิการควรมี
แนวทางดำเนินการ ดงั นี้
๑.๓.๑ ระดับนโยบาย คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก
ในการพิจารณากำหนดนโยบายหรือให้ความเห็น กำกับดูแลนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยว
ก่อนนำเสนอคณะรฐั มนตรีเพื่อให้ความเหน็ ชอบและส่ังการต่อไป โดยกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬาในฐานะ
เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติทำหน้าที่ในการนำนโยบายและข้อสั่งการในระดับ
นโยบาย แจ้งประสานไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผน
และนำเสนอข้อคิดเห็นและปัญหาอุปสรรคต่อคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ ทั้งนี้ สำนักงาน
ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรมการท่องเที่ยว และการท่องเที่ยวประเทศไทย พิจารณาปรับปรุง
นโยบายยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และแผนงาน/โครงการในความรับผิดชอบให้สอดรับกับเจตนารมณ์ของ
แผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
หน่วยงานรบั ผิดชอบการขับเคลอื่ นการดำเนนิ งานในแตล่ ะประเดน็ พัฒนา ประกอบดว้ ย
ประเด็นพัฒนาที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว ผู้ผลิตและขายสินค้า บริการ
และผู้ประกอบการการท่องเที่ยว ให้มีความสามารถในการพร้อมรับและปรับตัวให้สอดคล้องกับบริบท
ที่เปลี่ยนแปลงไป: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน
ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สำนักงานสง่ เสริมการจดั ประชุม และนิทรรศการ (องค์การมหาชน) และองค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เพื่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน (องค์การมหาชน)
ประเดน็ พฒั นาท่ี ๒ การพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ส่งิ อำนวยความสะดวก และ ปรบั ปรงุ ปจั จัยเอ้ือ
ให้สนับสนุนต่อการฟื้นตัวและเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว: กระทรวงคมนาคมและกระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กองบัญชาการตำรวจ
ท่องเทีย่ ว และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ประเด็นพัฒนาที่ ๓ การพัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับ
การท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงาน
สนบั สนุน ไดแ้ ก่ กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงวัฒนธรรม และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่
แผนพฒั นาการท่องเทีย่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๔
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ
ประเด็นพัฒนาที่ ๔ การปรับภาพลักษณ์การทอ่ งเที่ยวไทย เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวคุณภาพผ่าน
การตลาด: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่
กระทรวงการต่างประเทศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กองบัญชาการตำรวจท่องเที่ยว และองค์การบริหาร
การพฒั นาพ้ืนท่พี เิ ศษเพ่อื การทอ่ งเทย่ี วอยา่ งย่งั ยนื (องคก์ ารมหาชน)
ประเดน็ พัฒนาที่ ๕ การบรหิ ารจัดการการท่องเทย่ี วอยา่ งยั่งยนื : กระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา
เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลัก โดยมีหนว่ ยงานสนับสนุน ไดแ้ ก่ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย
กระทรวงคมนาคม กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่
ทั้งนี้ หน่วยงานหลักในแต่ละประเด็นพัฒนาจะทำหน้าที่ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน
สนับสนุนต่าง ๆ ในระดับปฏิบัติการและเป็นผู้สนับสนุนการพัฒนาในระดับพื้นที่ โดยมีการกำหนดบทบาท
ในการพัฒนาและแนวทางขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการตามแผน ได้แก่ การส่งเสริม สนับสนุนและอำนวย
ความสะดวกการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการเผยแพร่ผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ
เป็นระยะ
นอกจากนี้ นโยบายและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติจะเป็นแนวทางการพัฒนา
การท่องเที่ยวในแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เนื่องจากแผนพัฒนา
การท่องเที่ยวแห่งชาติเป็นแผนที่กำหนดทิศทางการพัฒนาในภาพรวม ที่สามารถวางแนวทางการพัฒนา
การท่องเที่ยวในระดับจังหวัดเพื่อสนับสนุนการเติบโตในภาพรวมได้ อีกทั้งแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
เป็นแผนแม่บทสำหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวรายสาขาที่สำคัญ ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
การท่องเที่ยวทางน้ำ การท่องเที่ยวเชิงการประชุมและนิทรรศการ เป็นต้น โดยแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติเป็นการวางแผนการพัฒนาอย่างองค์รวม ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่มั่นคงเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว ราย
สาขาต่อไป กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ
มีหน้าที่ในการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และสร้างความเข้าใจในสาระสำคัญของแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติแก่หน่วยงานทั้งในส่วนกลางและในระดับพื้นที่รายจังหวัดและรายสาขาการท่องเที่ยว รวมทั้งการให้
การสนับสนนุ ในการพฒั นาตามหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบ
๑.๓.๒ ระดับพื้นที่ ประกอบด้วย คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวประจำเขตพัฒนา
การท่องเที่ยว คณะกรรมการประจำกลุ่มจังหวัดและคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ รวมท้ัง
หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง ทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชนทม่ี ภี ารกจิ เกี่ยวข้องกบั การพฒั นาการท่องเทย่ี ว เช่น สำนกั งาน
ภาครัฐและรัฐวิสาหกิจประจำจังหวัดและภูมิภาค สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สมาคมธุรกิจ
การท่องเท่ยี ว สถาบันการศกึ ษา องค์กรระหวา่ งประเทศด้านการท่องเท่ียว รวมทง้ั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน
ทุกระดับ ซึ่งเป็นผู้รับนโยบายจากคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี หรือเป็น
ผู้รับนโยบายจากคณะกรรมการนโยบายที่เกี่ยวข้องไปปฏิบัติให้สอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนพัฒนา
การทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ โดยมีแนวทางการปฏบิ ัติ ดังนี้
๑) ระดบั ภมู ภิ าค กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พจิ ารณากระจายภารกิจและความรับผิดชอบ
ในการดำเนินการตามแผนไปสู่จังหวัด โดยในส่วนราชการระดับจังหวัด/กลุ่มจงั หวดั มีสำนักงานการท่องเที่ยว
และกีฬาจังหวัดในฐานะบริหารราชการส่วนภูมิภาคเป็นหน่วยงานประสานหลักระหว่างสำนักบริหารราชการ
กลุ่มจังหวัด คณะกรรมการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัด รวมทั้งจัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว
ในพื้นที่จังหวัด/เขตพัฒนาการท่องเที่ยว ในส่วนการพัฒนาระดับจังหวัด สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา
จังหวัดมีหน้าที่สนับสนุนการวางแผนและการดำเนินงานของคณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัด และ
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการที่มีความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยว อีกท้ัง
แผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๕
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ
ต้องมีการส่งเสริมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อดำเนินการวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยวในระดับ
ภมู ภิ าค
๒) ระดับท้องถน่ิ กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬาประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย เพอื่ ให้
มีการนำหลักการและแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
ให้ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทั่วทุกภูมภิ าครับทราบและนำไปกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หรือแผนปฏบิ ัติการ
การพัฒนาการท่องเทีย่ วในพื้นที่รับผดิ ชอบ ทั้งนี้ การดำเนินการให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญตั ิ
กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๒ และระเบยี บต่าง ๆ
ของกระทรวงมหาดไทย โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายพร้อมกำหนดผู้ประสานที่ชัดเจน พร้อมปฏบิ ตั ิงาน
๓) การดำเนินงานของภาคเอกชน ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย
ในทุกระดับเพื่อให้การดำเนินงานด้านการท่องเที่ยวมีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และผู้รับบริการ
ผลของการพัฒนา ไม่ส่งผลกระทบเชิงลบต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และศิลปวัฒนธรรมของชาติ
มีการจัดการที่โปร่งใส เป็นธรรมในการประกอบธุรกิจ และเข้ามามีบทบาทร่วมในการจัดบริการสังคมและ
กิจกรรมสร้างสรรค์อื่น ๆ โดยสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดมีหน้าที่ให้คำปรึกษาและสนับสนุน
การดำเนินงานของภาคเอกชนในพ้ืนท่ี
๑.๓.๓ ระดับชุมชน สนับสนุนให้ภาคประชาชนและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
การท่องเที่ยวของประเทศในบริบทที่เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวย
ความสะดวกด้านการท่องเท่ียวทีส่ อดรบั กับวิถชี ีวติ ของชมุ ชนท้องถ่นิ ผ่านกระบวนการจัดทำแผนและขับเคล่ือน
แผนพัฒนาระดับชุมชน โดยต้องมีการคำนึงถึงการอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิ น
ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ รวมทั้งส่งเสริมสิทธิการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐและชุมชน
ในการอนุรักษ์ บำรุงรักษา และส่งเสริมการตระหนักรู้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้ง
ความหลากหลายทางชีวภาพที่มีความสมดุลและยั่งยืน ทั้งนี้ การมีส่วนร่วมของชุมชนและเครือข่ายภาค
ประชาชนเจ้าของพื้นที่ จะช่วยเพิ่มเอกลักษณ์และความเป็นไทยให้กับประสบการณ์การท่องเที่ยว และเป็น
การกระจายรายไดจ้ ากการท่องเท่ียวสู่ประชาชนอย่างแทจ้ ริง
แผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๖
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ
ระดบั คณะรฐั
นโยบาย
คณะกรรมก
คณะกรรมการนโยบายการบรหิ ารจังหวัด การท่องเทยี่
และกลมุ่ จังหวดั แบบบรู ณาการ
กก. (กทท.) อก. สธ. ป.๑การพัฒนาคณุ ภาพแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วผู้ผลิตและขายสินค้าบรกิ าร แผ
ทส. มท. วธ. พณ. ศธ. และผูป้ ระกอบการการทอ่ งเทย่ี ว ให้มีความสามารถในการ ฉ.
กษ. สสปน. อพท. พร้อมรบั และปรบั ตวั ใหส้ อดคล้องกบั บริบททเ่ี ปล่ียนแปลงไป
คค. กก. (กทท.) มท. ป.๒ การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก
ดท. กห. กต. และ ปรับปรุงปัจจยั เอ้ือ ใหส้ นับสนุนตอ่ การฟืน้ ตัวและ
บก.ทท. สตช
เติบโตของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว
คณระกะรรดมับการบริหารกลมุ่ จงั หวัด คณะกร
พ้นื ที่ การท่อง
คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ สภาอุตสาหกรรมทอ่ งเที่ยว สมาคม/สมา
องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
ระดบั เครอื ข่ายภาคปร
ชุมชน
กลไกการขบั เคลือ่ นแผนพัฒนาการท
แผนพัฒนาการ
ฐมนตรี
การนโยบายคณะอนกุ รรมการรายสาขาทส่ี ำคัญ
ยวแหง่ ชาติ
ป.๓ การพัฒนาบุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชนเพ่อื กก. (กทท.) อก. รง.
เตรยี มพร้อมสำหรับการทอ่ งเทย่ี วเชงิ คณุ ภาพ ศธ. วธ. อปท.
ผนฯ ป.๔ การปรบั ภาพลกั ษณก์ ารท่องเทยี่ วไทย เพอื่ รองรับ กก. (กทท./ททท.) กต.
นักทอ่ งเทย่ี วคณุ ภาพผา่ นการตลาด สตช. บก.ทท. อพท.
.๒
อปท.
กก. (สป.กก.) อปท.
และทุกหนว่ ยงานที่
ป.๕ การบรหิ ารจดั การการท่องเทย่ี วอยา่ งย่ังยนื เกีย่ วขอ้ ง
รรมการพัฒนา กระทรวง/ ระดบั ภมู ภิ าค
งเท่ียวประจำเขตหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง ระดับจงั หวดั
าพันธธ์ รุ กิจทอ่ งเทีย่ ว เอกชน/สถาบนั การศกึ ษา องค์กรระหว่างประเทศดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
ระชาชน/ชมุ ชน
ทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕)
รท่องเทยี่ วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๗
คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ
๒. แนวทางการติดตามประเมนิ ผลการพัฒนา
การวัดความสำเร็จของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติจำเป็นต้องมีการติดตามและประเมินผล
โดยใช้ระบบที่มีมาตรฐาน สามารถวัดผลการพัฒนาในแต่ละประเด็นพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับ
การยอมรับจากส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งในส่วนของการประเมินแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ควรมีการดำเนนิ การดังนี้
๒.๑ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานภายใต้คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ
เพื่อกำหนดแนวทางติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวม ภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) โดยประสานความรว่ มมือกับส่วนราชการและหน่วยงานหลักทร่ี ับผดิ ชอบการ
พัฒนาการท่องเท่ียวภายใตแ้ ตล่ ะประเดน็ พัฒนา
๒.๒ ส่วนราชการและหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบจะต้องทำการประเมินผลตามตัวชี้วัดที่กำหนดตาม
ยุทธศาสตร์ไม่ต่ำกว่าปีละ ๑ ครั้ง และรายงานผลต่อคณะอนุกรรมการเพื่อทำการประเมินผลการดำเนินงาน
ตามแผนพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ตามตวั ชี้วดั รวม
๒.๓ ส่วนราชการและหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบจะต้องทำการประเมินผลตามแนวทางที่
คณะอนุกรรมการได้กำหนดไว้ ซ่งึ จะสง่ ผลต่อการพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณการดำเนินงานภายใตแ้ ผนพัฒนา
การท่องเท่ยี วแหง่ ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕)
๒.๔ ส่วนราชการและหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบควรพัฒนาและใช้ประโยชน์จากระบบฐานข้อมูล
ในการประเมินผลการดำเนินงานภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) และควร
สง่ เสริมความรว่ มมอื ในการเชื่อมโยงฐานขอ้ มูล
๒.๕ คณะอนุกรรมการพิจารณานำเสนอผลการดำเนินงานภายใต้แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ
(พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) โดยประชาสมั พนั ธ์ตามช่วงเวลาที่เหมาะสม ผ่านช่องทางและส่ือต่าง ๆ ของกระทรวง
การท่องเทย่ี วและกฬี า
แผนพฒั นาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๘
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ
ภาคผนวก ก ขอ้ เสนอแนะการพฒั นาตัวชวี้ ดั
เพอ่ื วดั ผลการพฒั นาในภาพรวมของแผน
ตัวชวี้ ัด คำอธิบายตัวช้ีวัด วธิ กี ารจดั เกบ็ ขอ้ มูลฐาน หนว่ ยงาน เป้าหมายปี พ.ศ.
รบั ผิดชอบ ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
คา่ ใชจ้ ่ายตอ่ คนต่อ คา่ ใชจ้ า่ ยรวมของคนไทยที่ ใชว้ ิธกี ารสำรวจและ - สถติ ินักท่องเทย่ี ว สำนักงาน เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ๑๐ตอ่ ปี
ทรปิ ของนกั ทอ่ งเท่ียว ใชจ้ า่ ยเพ่อื การเดินทาง จัดเก็บรวบรวมขอ้ มลู - ข้อมูลอตั ราการเข้าพกั ใน ปลดั กระทรวง
ไทย ทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย คา่ ใช้จา่ ยของ สถานประกอบการทพี่ ัก การท่องเทย่ี ว
ในช่วงเวลา ๑ ทรปิ นกั ท่องเที่ยวชาวไทย - ขอ้ มลู พฤตกิ รรมการเดินทาง และกฬี า
โดยใช้วิธีการสำรวจ ทอ่ งเที่ยวภายในประเทศของ
ด้วยตวั อยา่ ง (Sample นักท่องเที่ยวชาวไทย
Survey) - ข้อมูลพฤติกรรมการใช้จ่าย
ของนกั ท่องเท่ียวชาวไทย
ค่าใชจ้ ่ายต่อคนตอ่ คา่ ใชจ้ า่ ยรวมของคน ใช้วธิ กี ารสำรวจและ - สถติ ินักท่องเท่ียว สำนกั งาน เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ๑๐ตอ่ ปี
ทริปของนกั ทอ่ งเทยี่ ว ต่างชาติทใ่ี ช้จา่ ยเพื่อ จดั เก็บรวบรวมข้อมลู - ข้อมูลอัตราการเขา้ พักใน ปลดั กระทรวง
ตา่ งชาติ การเดนิ ทางท่องเทีย่ วใน ค่าใช้จา่ ยของ สถานประกอบการทพี่ กั การทอ่ งเที่ยว
ประเทศไทยในชว่ งเวลา นกั ทอ่ งเทย่ี ว - ขอ้ มูลพฤติกรรมการเดนิ ทาง และกีฬา
๑ ทริป ชาวต่างชาติ โดยใช้ ทอ่ งเทย่ี วภายในประเทศ ของ
วิธกี ารสำรวจด้วย นกั ท่องเที่ยวชาวต่างชาติ
ตัวอย่าง (Sample - ขอ้ มูลพฤติกรรมการใช้จา่ ย
Survey) ของนักท่องเที่ยวชาวตา่ งชาติ
- ขอ้ มลู จากท่าอากาศยาน
และด่านตรวจคนเขา้ เมือง
อตั ราการขยายตวั ของ อัตราการขยายตัว กระทรวงการทอ่ งเทยี่ ว สถติ ินกั ทอ่ งเทยี่ วต่างชาตทิ ่ี สำนกั งาน เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 5 ตอ่ ปี
นกั ทอ่ งเทย่ี วต่างชาติท่ี = ((xt – xt-๑)/xt-๑)*๑๐๐ และกีฬารวบรวมข้อมูล เดนิ ทางระหวา่ งประเทศ ปลดั กระทรวง
เดนิ ทางผา่ นแดน x = จำนวนนักทอ่ งเทีย่ ว จากบัตร ตม.6 ซึ่ง ไทยและประเทศสมาชิท่ี การท่องเทยี่ ว
ระหวา่ งประเทศไทย ตา่ งชาติท่ีเดินทางระหวา่ ง จัดเก็บโดยสำนกั งาน รวบรวมไดจ้ าก ตม.6 และกฬี า
และประเทศสมาชกิ ประเทศไทยและประเทศ ตรวจคนเขา้ เมือง
อาเซียน สมาชกิ
จำนวนผู้ประกอบการ จำนวนผูป้ ระกอบการและ กระทรวงการท่องเทย่ี ว (เริ่มจดั เกบ็ ขอ้ มลู สำนักงาน จำนวน
และบคุ ลากรใน บุคลากรในอุตสาหกรรม และกฬี ารวบรวมขอ้ มูล ปงี บประมาณ ๒๕๖๔) ปลดั กระทรวง ผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรม ท่องเท่ียว ท่ไี ด้รบั การเยยี วยา จากกระทรวงการคลงั การท่องเท่ียว ๕,๐๐๐ ราย
การท่องเทยี่ วทีไ่ ด้รับ ตามมาตรการของรัฐบาล กระทรวงแรงงาน และกีฬา จำนวนมัคคเุ ทศก์
การช่วยเหลอื เยยี วยา ทีอ่ อกมาช่วยเหลือ ธนาคารแหง่ ประเทศ ๕๐,๐๐๐ ราย
จากมาตรการของ ผ้ปู ระกอบการและ ไทย สำนักงานสง่ เสรมิ ในชว่ งปี พ.ศ.
รัฐบาล แรงงานตงั้ แตป่ ี ๒๕๖๓ วสิ าหกิจขนาดกลาง ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
อนั เนือ่ งมาจากวกิ ฤตโรค และขนาดยอ่ ม และ
ระบาดโควดิ 19 หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง
จำนวนแหล่งท่องเที่ยว จำนวนแหล่งทอ่ งเท่ียว จัดเกบ็ จากจำนวนผ้ทู ่ี สถติ ิข้อมูลการรบั รอง กรมการทอ่ งเที่ยว จำนวน 80 ราย
ผู้ผลติ และขายสนิ ค้า ผ้ผู ลติ และขายสนิ ค้า ไดร้ บั การรบั รอง มาตรฐานอาเซยี น
บริการ และ บรกิ าร และผู้ประกอบการ มาตรฐานอาเซียน โดย
ผูป้ ระกอบการ ทอ่ งเที่ยว ทไ่ี ดร้ ับ
แผนพฒั นาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๘๙
คณะกรรมการนโยบายการท่องเท่ียวแห่งชาติ
ตวั ช้ีวัด คำอธบิ ายตวั ชีว้ ดั วิธกี ารจดั เกบ็ ข้อมลู ฐาน หน่วยงาน เปา้ หมายปี พ.ศ.
รบั ผดิ ชอบ ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
ทอ่ งเที่ยว ทไี่ ดร้ ับ มาตรฐานการท่องเทย่ี ว กรมการท่องเทย่ี ว
กรมการทอ่ งเท่ียว จำนวน ๕,๐๐๐ ราย
มาตรฐานการท่องเท่ยี ว อาเซยี น จัดเกบ็ จากจำนวน (เร่มิ จดั เก็บขอ้ มูล
ผูป้ ระกอบการ SMEs ปงี บประมาณ ๒๕๖๕)
ระดับนานาชาติ ด้านการท่องเท่ียวที่
ได้รบั การพฒั นาโดย
จำนวนผปู้ ระกอบการ จำนวนผปู้ ระกอบการ กรมการทอ่ งเท่ยี วและ
สำนกั งานสง่ เสริม
วสิ าหกิจขนาดกลาง วสิ าหกจิ ขนาดกลางและ วสิ าหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอ่ ม
และขนาดย่อม (SMEs) ขนาดยอ่ ม (SMEs) ใน จดั เกบ็ จากจำนวนผทู้ ่ี สถติ กิ ารรับรองมาตรฐาน
เข้ารบั การพฒั นาเพื่อขอ GSTC
ในอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมท่องเทย่ี ว รบั รองมาตรฐาน GSTC
โดยกรมการท่องเทีย่ ว
ท่องเที่ยวได้รับ ไดร้ ับการยกระดบั และองคก์ ารบริหารการ
พัฒนาพื้นท่ีพเิ ศษเพอื่
การยกระดบั ศักยภาพ ศักยภาพเพอื่ ใหม้ ที ักษะ ทอ่ งเท่ยี วอย่างยั่งยนื
และหนว่ ยงานอน่ื ที่
ในการเพม่ิ มูลคา่ ใหก้ บั ของการเป็น เก่ยี วขอ้ ง ทยี่ ังอย่ใู นอายุ
ของการรบั รอง
สินค้าและบรกิ าร ผ้ปู ระกอบการยคุ ใหม่ จดั เกบ็ จากจำนวน (เริม่ จัดเกบ็ ขอ้ มลู
กฎระเบยี บทเี่ กยี่ วข้อง ปีงบประมาณ ๒๕๖๔)
จำนวนพ้ืนที่พัฒนา จำนวนพืน้ ท่พี ฒั นาชมุ ชน กบั การท่องเท่ียวท่ี สำนักงาน จำนวน 126 แห่ง
สำนักงาน ปยป. เสนอ ปลัดกระทรวง (จังหวดั ละ 1 แห่ง
ชุมชนเพือ่ การทอ่ งเท่ียว เพอื่ การท่องเทีย่ วทไ่ี ดร้ บั เข้าแกไ้ ข การท่องเที่ยว กทม. เขตละ 1 แหง่ )
และกฬี า
ท่ไี ด้รับการพัฒนา การพัฒนายกระดับตาม
ยกระดบั มาตรฐาน มาตรฐาน Global
Sustainable Tourism
Council (GSTC)
จำนวนกฎระเบยี บท่ี จำนวนกฎระเบยี บทเ่ี ป็น สำนักงาน จำนวน ๑๐ รายการ
ปลดั กระทรวง
เป็นอุปสรรคต่อ อุปสรรคตอ่ การฟนื้ ตวั และ การท่องเที่ยว
และกีฬา
การฟื้นตวั และเติบโต เตบิ โตของการท่องเท่ียว
ของการท่องเท่ียว ตามความเห็นของ
ไดร้ บั การปรับปรุงแกไ้ ข สำนกั งาน ปยป.ท่ไี ดร้ บั
การปรับปรงุ แก้ไข
จำนวนบุคลากร จำนวนบคุ ลากรดา้ นการ จดั เก็บจากจำนวน (เร่มิ จัดเกบ็ ขอ้ มูล กรมการท่องเทย่ี ว จำนวน ๕๐,๐๐๐ ราย
บุคลากรด้านการ ปีงบประมาณ ๒๕๖4) (มัคคเุ ทศก์ และอน่ื ๆ)
ดา้ นการท่องเทยี่ ว ทอ่ งเที่ยวทัง้ ภาครัฐและ ทอ่ งเท่ยี ว
ที่ผ่านการพฒั นาทักษะ
ทัง้ ภาครฐั และเอกชน เอกชนในอตุ สาหกรรม และได้มาตรฐานของ
กรมการทอ่ งเทยี่ ว ที่
ในอตุ สาหกรรม ทอ่ งเทยี่ วทไ่ี ดร้ บั การ ยังอยใู่ นอายุของการ
รบั รอง
ท่องเท่ียวทไี่ ด้รับ พัฒนาทักษะใหไ้ ด้
การพฒั นาทักษะให้ได้ มาตรฐานของ
มาตรฐานสำหรับ กรมการท่องเทยี่ ว
การท่องเทย่ี วเชิงคุณภาพ
แผนพฒั นาการท่องเท่ยี วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๐
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ
ตวั ชว้ี ดั คำอธิบายตัวช้วี ัด วธิ กี ารจดั เก็บ ข้อมูลฐาน หน่วยงาน เป้าหมายปี พ.ศ.
รบั ผดิ ชอบ ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
จำนวนสถาบนั การศกึ ษา จำนวนสถาบนั การศกึ ษาที่ จากหน่วยงานทีไ่ ดร้ ับ (เรม่ิ จัดเกบ็ ขอ้ มลู
สำนกั งาน จำนวน 100 แห่ง
ท่ีมีการพัฒนาหลักสตู ร มีการพัฒนาหลกั สตู รเพือ่ อนุมัตงิ บบรู ณาการ ปีงบประมาณ ๒๕๖4) ปลดั กระทรวง (ราชภฏั 38 แห่ง +
การทอ่ งเที่ยว มหาวิทยาลัยอื่น +
เพิ่มทักษะการเปน็ ยกระดบั ศกั ยภาพของ เพอ่ื การจดั ทำหลกั สตู ร และกฬี า อาชีวะ)
ผปู้ ระกอบการและ ผปู้ ระกอบการให้มที กั ษะ พัฒนาผปู้ ระกอบการ
องคค์ วามร้ดู า้ น ของการเป็น ดา้ นการทอ่ งเท่ียว
การวางแผนการทอ่ งเท่ยี ว ผู้ประกอบการยุคใหม่
จำนวนผู้ประกอบการ จำนวนผู้ประกอบการ จำนวนผูป้ ระกอบการ (เริ่มจดั เก็บข้อมลู กรมการท่องเทยี่ ว จำนวน ๑๕ ราย
เอกชนท่ีเขา้ ร่วมกับ เอกชนที่เข้ารว่ มกับ ทร่ี ่วมลงนามในบันทึก ปงี บประมาณ ๒๕๖4)
สถาบันการศกึ ษาใน สถาบันการศึกษา ความตกลงความร่วมมือ
การพัฒนาทักษะ ในการพัฒนาทักษะ ร่วมกับกรมการท่องเทย่ี ว
การบรหิ ารระดบั สูง การบริหารระดับสูงตามที่
สำหรับบคุ ลากรใน กรมการทอ่ งเทยี่ วกำหนด
อุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว
ความพึงพอใจของ ผลสำรวจความพงึ พอใจ สำรวจความเหน็ ของ ขอ้ มูลความเห็นของ สำนกั งาน รอ้ ยละ 90
ปลดั กระทรวง
นักทอ่ งเที่ยว ของนกั ทอ่ งเทย่ี ว นักทอ่ งเทีย่ ว นักทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาติที่ การทอ่ งเท่ยี ว
และกฬี า
ชาวตา่ งชาติ ชาวตา่ งชาตทิ เ่ี ดนิ ทางเข้ามา ชาวต่างชาติที่เดินทาง เดินทางท่องเท่ียว
ทเ่ี ดนิ ทางทอ่ งเที่ยว ท่องเทยี่ วในประเทศไทย ทอ่ งเท่ียว ภายในประเทศไทย
ในประเทศไทย ต่อการท่องเท่ียวใน ภายในประเทศไทย
ประเทศไทยในภาพรวม
ความพึงพอใจของ ผลสำรวจความพงึ พอใจ สำรวจความเหน็ ของ ข้อมลู ความเหน็ ของ สำนกั งาน ร้อยละ ๘๕
ปลัดกระทรวง
นักท่องเที่ยวชาวไทยท่ี ของนักท่องเท่ียวชาวไทย นกั ทอ่ งเท่ยี วชาวไทย นกั ท่องเทย่ี วชาวไทยที่ การทอ่ งเท่ยี ว
และกฬี า
เดินทางทอ่ งเทย่ี วใน ท่เี ดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเที่ยว ท่ีเดินทางท่องเทยี่ ว เดินทางทอ่ งเทย่ี ว
ประเทศไทย ในประเทศไทยตอ่ ภายในประเทศไทย ภายในประเทศไทย
การท่องเท่ียวใน
ประเทศไทยในภาพรวม
จำนวนหน่วยงานสว่ น จำนวนหน่วยงานส่วน รวบรวมจาก (เริ่มจัดเกบ็ ขอ้ มูล สำนักงาน จำนวน 100 แหง่
คณะกรรมการ ปงี บประมาณ ๒๕๖4) ปลดั กระทรวง (ปี พ.ศ. 2563 มี
ทอ้ งถนิ่ ที่ไดร้ ับการเพม่ิ ทอ้ งถิน่ ท่ีได้รับการเพม่ิ พัฒนาการทอ่ งเทยี่ ว การทอ่ งเทย่ี ว อบต เทศบาล อบจ.
ประจำเขตพฒั นาการ (เรมิ่ จัดเก็บขอ้ มูล และกฬี า รวม 7,850 แหง่ )
ศกั ยภาพด้าน ศักยภาพด้านการบรหิ าร ทอ่ งเทย่ี ว ปงี บประมาณ ๒๕๖4)
การบรหิ ารจดั การ จัดการการท่องเที่ยวอยา่ ง จากแผนปฏิบตั ิ
ราชการ แผนงาน ของ
การทอ่ งเที่ยวอยา่ ง ย่งั ยนื ทด่ี ำเนนิ การโดย หน่วยงานราชการ
ยงั่ ยนื คณะกรรมการพัฒนา
การทอ่ งเทย่ี วประจำเขต
พัฒนาการทอ่ งเท่ยี ว
จำนวนหนว่ ยงานมี หนว่ ยงานจดั ทำ สำนักงาน จำนวน 200
ปลัดกระทรวง หนว่ ยงาน
แผนปฏิบัตริ าชการ / แผนปฏบิ ตั ริ าชการ การทอ่ งเท่ียว (หน่วยงาน อปท.
และกีฬา 100 +
แผนงาน แนวทาง แผนงาน และแนวทาง
การนำฐานขอ้ มูลด้าน การนำฐานขอ้ มูลด้าน
การท่องเท่ยี วไปใช้ การท่องเทยี่ วท่ีมีอยู่ไปใช้
แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๑
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ
ตวั ชี้วดั คำอธิบายตัวชีว้ ัด วธิ กี ารจดั เก็บ ขอ้ มูลฐาน หนว่ ยงาน เปา้ หมายปี พ.ศ.
รบั ผิดชอบ ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕
ประโยชนเ์ พ่ือ ประโยชน์เพื่อพัฒนา หน่วยงานใน
กระทรวง
การพัฒนาการท่องเทีย่ ว การทอ่ งเทย่ี วอย่างยังยืน การทอ่ งเทย่ี วและกฬี า
+ หน่วยงานอ่นื
อย่างยงั่ ยืน ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง)
จำนวนกิจกรรมหรอื เป็นกจิ กรรมหรอื โครงการ จำนวนกจิ กรรม/ (เรมิ่ จัดเกบ็ ขอ้ มลู สำนักงาน จำนวน 30
โครงการที่เกยี่ วขอ้ งกับ ทดี่ ำเนินการเพื่อไปสู่ โครงการที่ ปงี บประมาณ ๒๕๖๔) ปลัดกระทรวง กิจกรรม/โครงการ
การเพ่ิมประสิทธภิ าพ เปา้ หมายการพฒั นาอยา่ ง คณะกรรมการ การทอ่ งเทีย่ ว (เขตละ 2 กิจกรรม
การบริหารจัดการ ยั่งยืน (SDGs) พฒั นาการทอ่ งเที่ยว และกฬี า 15 เขต)
การท่องเท่ียวเพื่อ ประจำเขตพัฒนา
ยกระดบั ไปส่กู ารพัฒนา การท่องเท่ยี ว รายงานตอ่
การท่องเทยี่ วอยา่ ง คณะกรรมการนโยบาย
ยั่งยืน การทอ่ งเท่ียวแหง่ ชาติ
(ท.ท.ช.)
แผนพฒั นาการทอ่ งเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๒
คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ
ภาคผนวก ข คำอธบิ ายตวั ช้ีวดั เพิ่มเติม
๑. เครือ่ งหมายรับรองมาตรฐานการท่องเท่ียวไทย คือ เครอ่ื งหมายมาตรฐานจากการตรวจประเมิน
และให้การรับรองตามมาตรฐานด้านการท่องเที่ยวโดยกรมการท่องเที่ยว เป็นระบบการตรวจประเมินโดย
บุคคลที่ ๓ ซึ่งเป็นระบบที่เทียบเคียงได้กับระดับสากล โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ มีสถานประกอบการที่ผ่าน
การตรวจประเมินและได้รบั เครื่องหมายรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยว จำนวน ๑,๒๖๙ ราย
๒. รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ คือ รายได้ที่เกิดแก่ประเทศไทยจากการเข้ามาท่องเที่ยวของ
นักท่องเท่ียวต่างชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙ รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่ที่ประมาณ ๑.๔๔ ล้าน
ล้านบาท และมีการเติบโตอยูท่ ี่กว่าร้อยละ ๑๖.๘ ต่อปี จากการคาดการณ์ของ UNWTO นักท่องเที่ยวทั่วโลก
จะมีการเดินทางมาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมากขึ้น และค่าใช้จ่ายต่อการท่องเท่ียวคาดการณ์ว่าจะสูงขึ้นจาก
แนวโนม้ การเพมิ่ ขึ้นของชนชัน้ กลางทวั่ โลกซ่ึงจะเป็นตัวแปรชว่ ยส่งเสริมการเติบโตของรายได้จากนักท่องเท่ียว
ต่างชาติของไทย อยา่ งไรก็ตามจากการประเมนิ การเตบิ โตของนักท่องเท่ียว ในอดตี และสภาวการณ์การถดถอย
ของนักท่องเท่ียวกระแสหลัก อาทิ จนี อนิ เดีย และสหราชอาณาจักร พบวา่ การเตบิ โตของจำนวนนักท่องเที่ยว
ดังที่ผ่านมาอาจเป็นไปได้ยาก ดังนั้น จึงได้มีการประเมินและวิเคราะห์ความเหมาะสมของเป้าประสงค์รายได้
จากนักท่องเที่ยวต่างชาติในอีก ๕ ปีข้างหน้าให้ตอบสนองต่อปัจจัยด้านบวกและด้านลบ และสามารถรักษา
ศักยภาพการเติบโตอย่างสมดลุ กบั การรักษาความยั่งยนื ของอปุ ทานท่องเท่ยี วไวไ้ ดท้ ่รี ้อยละ ๑๐ ต่อปี
๓. การเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของนักท่องเที่ยวไทย คือ จำนวนครั้งท่ีนกั ท่องเท่ียวไทยทุกคน
ทอ่ งเที่ยวตลอดทงั้ ปี ซง่ึ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ คาดการณว์ า่ จำนวนการท่องเทีย่ วของนักท่องเท่ยี วไทยอย่ทู ่ี ๑๓๘.๘
ล้านคนคร้ัง
๔. จังหวัดท่องเที่ยวรอง คือ จังหวัดที่มีจำนวนผู้เยี่ยมเยือนน้อยกว่า ๑ ล้านคนต่อปี ซึ่งในปี
พ.ศ. ๒๕๕๕ มีจำนวนทั้งหมด ๕๑ จังหวัด และลดลงมาเป็น ๔๘ จังหวัด ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ การเติบโตของ
รายได้ในจังหวัดท่องเท่ียวรองใน ๕ ปีที่ผ่านมาอยู่ที่ร้อยละ ๑๒.๙ ทั้งนี้ จากการประเมินการเติบโตของรายได้
การท่องเที่ยวและการพัฒนาของจังหวัดท่องเที่ยวรอง จึงได้ตั้งเป้าหมายการเติบโตของจังหวัดท่องเที่ยวรอง
(บนปีฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙) ที่อย่างน้อยร้อยละ ๑๒ ตอ่ ปี
แผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๓
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ
ภาคผนวก ค แผนทีแ่ สดงเขตพฒั นาการทอ่ งเทย่ี ว
แผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๔
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ
ภาคผนวก ง รายช่อื จงั หวัดในเขตพฒั นาการท่องเท่ียว ๑๕ เขต
ลำดบั เขตพัฒนาการทอ่ งเทยี่ ว จังหวดั
๑ อารยธรรมล้านนา เชียงใหม่ เชียงราย ลำพูน ลำปาง พะเยา
๒ ฝง่ั ทะเลตะวนั ตก เพชรบรุ ี ประจวบครี ีขนั ธ์ ชมุ พร ระนอง
๓ ฝัง่ ทะเลตะวันออก ชลบุรี ระยอง จนั ทบุรี ตราด
๔ อนั ดามนั ภูเกต็ พงั งา กระบี่ ตรัง สตลู
๕ อารยธรรมอีสานใต้ นครราชสีมา บุรีรมั ย์ สรุ ินทร์ ศรสี ะเกษ อบุ ลราชธานี
๖ วิถีชีวติ ลุ่มแมน่ ้ำพระยาตอนกลาง พระนครศรีอยุธยา สงิ ห์บุรี อ่างทอง ปทมุ ธานี นนทบุรี
๗ วถิ ชี ีวติ ลมุ่ แมน่ ำ้ โขง หนองคาย เลย บึงกาฬ นครพนม มกุ ดาหาร
๘ มรดกโลกด้านวัฒนธรรม สโุ ขทยั ตาก กำแพงเพชร พษิ ณุโลก
๙ เมืองเกา่ มชี วี ติ แพร่ น่าน พะเยา อตุ รดิตถ์
๑๐ วถิ ีชวี ติ ชายฝ่ังอ่าวไทย สมทุ รปราการ สมุทรสงคราม สมทุ รสาคร ฉะเชงิ เทรา
๑๑ ผืนป่ามรดกโลกดงพญาเย็น - เขาใหญ่ นครนายก ปราจีนบรุ ี สระแกว้ สระบุรี
๑๒ ธรณวี ิทยาถน่ิ อีสาน ชัยภมู ิ ขอนแกน่ กาฬสนิ ธุ์ อดุ รธานี หนองบวั ลำภู
๑๓ วถิ ีชวี ติ ลุม่ น้ำทะเลสาบสงขลา สงขลา พัทลงุ นครศรีธรรมราช
๑๔ พหวุ ฒั นธรรมชายแดนใต้ ยะลา นราธวิ าส ปตั ตานี สงขลา
๑๕ หมเู่ กาะทะเลใต้ สรุ าษฎร์ธานี
หมายเหตุ: จังหวดั ในลำดับแรกเป็นศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารของเขตพฒั นาการทอ่ งเท่ียว
ท่มี า: กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกีฬา
แผนพัฒนาการท่องเทยี่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๕
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเที่ยวแห่งชาติ
ภาคผนวก จ องคป์ ระกอบและอำนาจหนา้ ท่ีของ
คณะกรรมการนโยบายการท่องเทย่ี วแหง่ ชาติ (ท.ท.ช.)
พระราชบัญญัตินโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้กำหนดให้มี
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ หรือ ท.ท.ช. โดยให้มอี งค์ประกอบและอำนาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้
องค์ประกอบ ประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ
๑. นายกรฐั มนตรี กรรมการ
๒. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา กรรมการ
๓. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ
๔. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม กรรมการ
๕. รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กรรมการ
๖. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย กรรมการ
๗. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวฒั นธรรม กรรมการ
๘. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
๙. ปลัดกระทรวงกลาโหม กรรมการ
๑๐. ปลดั กระทรวงการตา่ งประเทศ กรรมการ
๑๑. ปลัดกระทรวงพาณชิ ย์ กรรมการ
๑๒. ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ
๑๓. ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
๑๔. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ กรรมการ
๑๕. ผ้อู ำนวยการสำนกั งบประมาณ กรรมการ
๑๖. ผ้บู ัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรรมการ
๑๗. ผูว้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร กรรมการ
๑๘. นายกสมาคมองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั แห่งประเทศไทย กรรมการ
๑๙. นายกสมาคมสันนบิ าตเทศบาลแหง่ ประเทศไทย กรรมการ
๒๐. นายกสมาคมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลแห่งประเทศไทย กรรมการ
๒๑. ประธานสภาหอการค้าแหง่ ประเทศไทย กรรมการและเลขานุการ
๒๒. ประธานสภาอตุ สาหกรรมท่องเทีย่ วแหง่ ประเทศไทย กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
๒๓. ปลดั กระทรวงการท่องเทย่ี วและกีฬา กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ
๒๔. อธิบดกี รมการท่องเทีย่ ว
๒๕. ผู้ว่าการการทอ่ งเทีย่ วแห่งประเทศไทย
แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๖
คณะกรรมการนโยบายการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติ
อำนาจหน้าท่ี
1) กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การบรหิ ารและพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วเพื่อเสนอคณะรฐั มนตรพี ิจารณา
ใหค้ วามเห็นชอบ
2) จดั ทำแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วแห่งชาติเสนอตอ่ รฐั มนตรีเพื่อพจิ ารณาอนมุ ตั ิ
3) เสนอแนะตอ่ คณะรัฐมนตรีเก่ยี วกับนโยบายและแนวทางการจัดทำความร่วมมือระหวา่ งประเทศด้าน
การท่องเทย่ี ว
4) กำหนดนโยบายและมาตรการเพ่อื ส่งเสรมิ การบรหิ ารและพฒั นาการท่องเท่ยี วของประเทศ
5) ดำเนนิ การเพอ่ื ให้มีการกำหนดเขตพัฒนาการท่องเทีย่ ว
6) พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยว
รวมทั้งกำกบั ดูแลใหม้ กี ารปฏิบตั ติ ามแผนดงั กล่าว
7) พิจารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานด้านแหล่งท่องเที่ยว ด้านบริการท่องเที่ยว หรืออุตสาหกรรม
ทอ่ งเทีย่ ว รวมทั้งกำหนดแนวทางในการส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้มกี ารดำเนินการตรวจประเมินและ
รบั รองมาตรฐานดังกลา่ ว
8) กำกบั ติดตาม และเรง่ รดั การดำเนนิ งานของหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติการให้เปน็ ไปตามนโยบาย
และมาตรการเพื่อส่งเสริมการบริหารและพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แห่งชาติ และแผนปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาการท่องเทยี่ ว
9) พิจารณากำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
แหง่ ชาติหรือแผนปฏบิ ัติการพฒั นาการท่องเท่ียว
10) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ หรือตามท่ีคณะรัฐมนตรี
มอบหมาย
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๗
คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ
แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕) ๙๘
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ