The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ploynichchaa, 2021-05-20 12:30:46

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านวาวี ปีการศึกษา2563

SAR 2563 โรงเรียนบ้านวาวี สพป.ชร.2

Keywords: SAR,โรงเรียนบ้านวาวี

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

(Self – Assessment Report : SAR)

ปกี ารศึกษา 2563

โรงเรยี นบา้ นวาวี
ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวดั เชียงราย

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านวาวีฉบับนี้
จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2563 ข้อ 3 ระบุให้สถานศึกษาจดั ส่ง
รายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา
เป็นประจำทกุ ปีเพอื่ รายงานผลการดำเนนิ งานตามมาตรฐานการศกึ ษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
ในระดับปฐมวัย 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ
การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่
คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อนำเสนอรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อหน่วยงานต้น
สังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อม
ในการรับการประเมินภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศึกษาและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2563 ฉบบั น้ี คณะผูจ้ ัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานฉบับนจ้ี ะเป็นประโยชน์ต่อ
การนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนบา้ นวาวี ในปกี ารศึกษา 2563 ตอ่ ไป

ว่าท่ี ร.อ.
(เสรี เช้อื อว้ น)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านวาวี
1 พฤษภาคม 2564

สารบัญ ข

เรือ่ ง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
ส่วนท่ี 1 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1
1
• ระดบั ปฐมวัย 3
• ระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน 7
ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 7
• ขอ้ มลู พืน้ ฐานสถานศึกษา 7
11
ขอ้ มูลท่วั ไป 12
โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา 14
ขอ้ มลู บุคลากรของสถานศึกษา 14
ขอ้ มูลนักเรียน 15
ข้อมูลหลกั สตู รท่ีจดั การเรยี นการสอน 15
ขอ้ มลู อาคารสถานที่ 17
ขอ้ มลู แหล่งเรยี นรู้ภายในและนอกสถานศกึ ษา 29
ขอ้ มลู อ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 48
• ผลการประเมินตนเองระดับปฐมวัย 77

• ผลการประเมินตนเองระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
ภาคผนวก

• ภาคผนวกระดับปฐมวัย
• ภาคผนวกระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

1

สว่ นท่ี 1
บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหารการประเมนิ ตนเองระดับปฐมวัย
โรงเรียนบ้านวาวี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2

ผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน 2 คน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวาวี ว่าที่ ร.อ.เสรี เชื้ออ้วน
รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านวาวี นายรชั ชานนท์ วนั เพ็ญ จำนวนครู 25 คน จำแนกเปน็ ข้าราชการ
ครู 19 คน ครูอัตราจ้าง 4 คนครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ 1 คน เปิดสอน
ช้ันอนุบาลปีที่ 2 ถึงชัน้ อนบุ าลปีท่ี 3 จำนวนเด็ก 136 คน

โรงเรียนบ้านวาวี ดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
โดยใชก้ ระบวนการ PDCA ดำเนินการ ดังน้ี
P - Plan การวางแผน การดำเนนิ งานของโรงเรยี นบา้ นวาวี

วิเคราะห์ข้อมูลจากการรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา
กำหนดค่าเป้าหมาย วิเคราะห์สภาพของโรงเรียน (SWOT Analysis) โดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3 ปี จัดทำแผนปฏิบัติประจำปีงบประมาณที่สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
D – Do การนำไปปฏบิ ตั ิ

ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำงบประมาณตามโครงการ กิจกรรมที่กำหนดไว้ใน
แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ มีการตดิ ตามตรวจสอบการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบัติงาน
C – Check การตดิ ตาม

ดำเนินการประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานในแต่ละโครงการ โดยรายงาน
ผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงาน และสรุปผลแต่ละปีงบประมาณ และเมื่อสิ้นปีการศึกษา
ประเมินผลการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
รายงานหนว่ ยงานต้นสงั กัด และเผยแพรใ่ ห้ผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องรบั ทราบในชอ่ งทางตา่ งๆ
A – Action การดำเนินงาน

ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นำผลการประเมินมา
วิเคราะห์จุดที่ควรพัฒนา จัดทำแผนงาน แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ได้ระดับคุณภาพที่สถานศึกษา
กำหนด

ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยของสถานศึกษาอยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม
โดยมผี ลการประเมินแยกเป็นรายมาตรฐานการศึกษา ดังนี้

2

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ อยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม
โรงเรียนบ้านวาวี ได้ใช้หลักสูตรที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบท

ของท้องถิ่นมีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ครูผู้สอนจัดทำหน่วย
การจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ โดย
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล แต่ละห้องเรียนมีครูประจำชั้นซึ่งจบการศึกษาปฐมวัย มีการ
ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลมีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายใน และภายนอก
หอ้ งเรียน เน้นความเปน็ ระเบยี บ สะอาด สะดวก และปลอดภยั

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยูใ่ นระดบั ยอดเยยี่ ม
โรงเรียนบ้านวาวี เปิดสอนระดับปฐมวัยตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชั้นอนุบาลปีที่ 3

การขับเคลื่อนงานของโรงเรียนได้มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ การบริหาร
จัดการใช้หลกั การมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมแก้ปัญหา โดยใช้แผนในการกำกับติดตาม
การดำเนินงาน มีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรม โครงการ ฯ ที่สอดคล้อง
กับความตอ้ งการของนักเรยี น ครู การบริหารจัดการได้ใช้ข้อมูลสารสนเทศท่ีจัดเกบ็ ไว้อย่างเป็นระบบ
มาวางแผนและดำเนนิ การตามแผน จึงทำให้การดำเนนิ งานเป็นไปตามเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้

มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเปน็ สำคญั อยูใ่ นระดับ ยอดเยย่ี ม
โรงเรียนบ้านวาวีมีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์

จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ โดยความร่วมมือของผู้ปกครอง ชุมชน รวมถึง
ผู้เกี่ยวข้องและเป็นแบบอย่างที่ดี สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรม
เรียนรู้ลงมือทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข นอกจากนี้โรงเรียนยังได้จัด
บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้โดยเด็กมีส่วนร่วม ใช้สื่อเทคโนโลยี
ที่เหมาะสมกับวัย และได้ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย นำผล
การประเมนิ ท่ไี ดไ้ ปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพฒั นาเดก็

โรงเรียนมีแผนงาน/แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ได้ระดบั คณุ ภาพที่สูงขน้ึ ดงั น้ี
แผนปฏิบัตงิ านท่ี 1 จดั กจิ กรรมหรอื โครงการท่ีม่งุ ส่งเสริมใหเ้ ด็กได้มีพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น

อย่างเหมาะสม ช่วยเหลอื ตนเอง มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้
แผนปฏิบตั ิงานที่ 2 ส่งเสรมิ การจัดประสบการณ์ 6 กิจกรรมหลักใหแ้ กเ่ ดก็
แผนปฏิบัติงานที่ 3 จัดทำโครงการ กิจกรรม และเปิดโอกาสให้ครูได้เข้าร่วมอบรมพัฒนา

ความรเู้ พือ่ พฒั นาครู ในด้านการใชส้ ่ือและเทคโนโลยีใหมๆ่ อย่เู สมอ

3

แผนปฏิบัติงานที่ 4 จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้
ของนักเรียน รวมถึงระบบสุขาภิบาล เพื่ออำนวยความสะดวก ความสะอาด และความปลอดภัย
ของนกั เรยี น

แผนปฏิบตั งิ านท่ี 5 จัดกจิ กรรมหรอื โครงการทีม่ งุ่ ส่งเสริมใหเ้ ด็กไดม้ ีพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น
อย่างเหมาะสม ช่วยเหลอื ตนเอง มที ักษะการคิดพนื้ ฐานและแสวงหาความรู้ได้

แผนปฏิบัติงานที่ 6 จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้
ของนักเรียน รวมถึงระบบสุขาภิบาล เพื่ออำนวยความสะดวก ความสะอาด และความปลอดภัย
ของนักเรยี น

บทสรุปสำหรับผู้บริหารการประเมินตนเองระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
โรงเรยี นบ้านวาวี สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 ผู้บริหาร

สถานศึกษาจำนวน 2 คน ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวาวี ว่าที่ ร.อ.เสรี เชื้ออ้วน
รองผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านวาวี นายรัชชานนท์ วันเพ็ญ จำนวนครู 2 5 คน จำแนกเป็น
ข้าราชการครู 19 คน ครูอัตราจ้าง 4 คน ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ 1 คน และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ 1 คน
เปดิ สอนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 500 คน

โรงเรียนบ้านวาวี ดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
โดยใชก้ ระบวนการ PDCA ดำเนินการ ดังนี้
P - Plan การวางแผน การดำเนนิ งานของโรงเรยี นบ้านวาวี

วิเคราะห์ข้อมูลจากการรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ในปีการศึกษาที่ผ่านมา กำหนด
ค่าเป้าหมาย วิเคราะห์สภาพของโรงเรยี น (SWOT Analysis) โดยผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ ง จัดทำแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษา 3 ปี จัดทำแผนปฏิบัติประจำปีงบประมาณที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
D – Do การนำไปปฏิบตั ิ

ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำงบประมาณตามโครงการ กิจกรรมที่กำหนดไว้
ในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ มีการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานตามแผนปฏิบตั ิงาน
C – Check การติดตาม

ดำเนินการประเมินผล ติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงานในแต่ละโครงการ โดยรายงาน
ผลการดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดการดำเนินงาน และสรุปผลแต่ละปีงบประมาณ และเมื่อสิ้นปีการศึกษา
ประเมินผลการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษา จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) รายงาน
หนว่ ยงานตน้ สงั กัด และเผยแพรใ่ ห้ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องรบั ทราบในชอ่ งทางตา่ งๆ

4

A – Action การดำเนินงาน
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นำผลการประเมินมา

วิเคราะห์จุดที่ควรพัฒนา จัดทำแผนงาน แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ได้ระดับคุณภาพที่สถานศึกษา
กำหนด

ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาอยู่ในระดับ
ดีเลศิ โดยมผี ลการประเมนิ แยกเปน็ รายมาตรฐานการศกึ ษา ดงั น้ี
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น อยใู่ นระดับ ยอดเยย่ี ม

โรงเรียนบ้านวาวี แบ่งโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ฝ่ายบริหารงาน
วิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารแผนงานและงบประมาณ และฝ่ายบริหารงานทั่วไป
โดยผู้บริหารนำเอาหลักการบริหารและเทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA
ในการบริหารสถานศึกษา ยึดหลักการบริหารแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ยึดหลักธรรมาภิบาล คิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพ ใช้แนวทางขับเคลื่อน
จุดเนน้ นโยบาย สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 CR2ACTS Model โดยใช้
Banvavee SMART Model เป็นตัวขับเคลื่อนร่วม เพื่อเป็นแนวทางที่เน้นพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
เป็นเป้าหมายหลักมีการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์
สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาทีผ่ า่ นมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม
ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ
กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน มีการปรับแผนพฒั นาคุณภาพ
จดั การศึกษา แผนปฏิบัตกิ ารประจำปใี ห้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย
การปฏิรูปการศึกษา มีคำสั่งแต่งตั้งฝ่ายบริหารงานวิชาการ งานบุคคล งานแผนงานและงบประมาณ
และงานบริหารทั่วไป หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้าสายชั้น เพื่อให้ทุกฝ่ายสามารถ
ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และตรงกับหน้าที่ที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร
จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนา ตามแผนงานเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผล
การดำเนินงานโดยมกี ารสำรวจความพงึ พอใจผลการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยผทู้ ่ีมีส่วน
เกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อให้เกิด
ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลในการบริหารจดั การศกึ ษา

5

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม
โรงเรียนบ้านวาวี แบ่งโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ฝ่ายบริหารงาน

วิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารแผนงานและงบประมาณ และฝ่ายบริหารงานทั่วไป
โดยผู้บริหารนำเอาหลักการบริหารและเทคนิคการบริหารแบบการพัฒนาตามกระบวนการ PDCA
ในการบริหารสถานศึกษา ยึดหลักการบริหารแบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ยึดหลักธรรมาภิบาล คิดค้นนวัตกรรมรูปแบบการบริหารโรงเรียนคุณภาพ ใช้แนวทางขับเคลื่อน
จดุ เนน้ นโยบาย สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2 CR2ACTS Model โดยใช้
Banvavee SMART Model เป็นตัวขับเคลื่อนร่วม เพื่อเป็นแนวทางที่เน้นพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
เป็นเป้าหมายหลักมีการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์
สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาทีผ่ า่ นมา โดยการศึกษาขอ้ มูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม
ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กล
ยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจดั
การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบาย
การปฏิรูปการศึกษา มีคำสั่งแต่งตั้งผู้ช่วยรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ งานบุคคล
งานแผนงานและงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ และหัวหน้าสายช้ัน
เพื่อให้ทุกฝ่ายสามารถปฏบิ ัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และตรงกับหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ พร้อมทั้งจัดหา
ทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนา ตามแผนงานเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน
และสรุปผลการดำเนินงานโดยมีการสำรวจความพึงพอใจผลการบริหารจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการบริหารโรงเรียนเพื่อให้
เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในการบริหารจัดการศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ อย่ใู นระดบั ยอดเย่ียม
โรงเรียนบ้านวาวี ได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่ใช้องค์ประกอบของหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด จัดหน่วยการเรียนรู้สู่แผนการเรียนรู้ที่สอดคล้อง
กับอัตลักษณ์ของโรงเรียน มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลจัดเป็นระดับเก่ง ปานกลาง
อ่อน กำหนดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักเรียน
เป็นรายบุคคล มีการบริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น
กระบวนการคิด ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ฝึกทักษะ การแสดงออกการนำเสนอผลงาน มีการสืบค้น
จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งในโรงเรียน ชุมชน จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้เทคโนโลยี
ในการสืบค้น สอดแทรกการใช้ระบบสืบค้นอย่างมีวิจารณญาณ มีระบบการอ้างอิงที่ถูกวิธี คณะครู

6

ร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้และประสบการณเ์ พื่อนำไปใช้ในการปรับปรุง มีการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ คณะครูดำเนินการประเมินผู้เรียนจากสภาพจริง ด้วยเครื่องมือการประเมิน
ที่หลากหลาย มีการดำเนินการให้คุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินโดยผ่านขั้นตอน
กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของแต่ละบุคคล และมีการจัดระบบการวัดผลประเมินผล โดยการมี
ส่วนร่วมระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน มีการใช้เทคโนโลยี เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองจาก
การใช้เทคโนโลยีไดอ้ ย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งได้มีการตรวจสอบกระบวนการจัดการเรยี น
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมีกิจกรรมนิเทศภายในด้วยการตรวจเยี่ยมชั้นเรียน มีผู้บริหาร
สถานศกึ ษา คณะครทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมายให้ไปตรวจเย่ียมตามชน้ั เรียนต่างๆ รวมถงึ มกี ารสรา้ งชมุ ชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้คำแนะนำ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือ
พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ใหด้ ยี ่ิงขึ้น

โรงเรยี นมแี ผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพใหไ้ ด้ระดบั คุณภาพที่สูงขึน้ ดงั นี้
แผนปฏิบัติงานที่ 1 ทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องการทำนวัตกรรมของแต่ละ

ระดบั ชั้น
แผนปฏิบัติงานที่ 2 การทำคู่มือและแนวทางการพัฒนานวัตกรรมของสถานศึกษา คือ

นวตั กรรมการอา่ นออกเขียนได้ By teacher’s team
แผนปฏิบัตงิ านท่ี 3 ผูเ้ รยี นได้รบั การพัฒนาตามกิจกรรมและโครงการของสถานศึกษาอย่าง

ต่อเนอื่ ง
แผนปฏิบัติงานที่ 4 การประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง และชุมชน ในการสร้างความ

ตระหนักถึงคณุ ลกั ษณะท่ดี แี ละจติ สาธารณะ ให้ได้มีการแลกเปลยี่ นและพัฒนาผ้เู รยี นรว่ มกัน
แผนปฏิบัติงานท่ี 5 จัดให้มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning

Community: PLC ) ทเ่ี ปน็ ระบบและสามารถแก้ไขปญั หาผเู้ รยี นได้จริง
แผนปฏิบัติการที่ 6 ส่งเสริมให้ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ตรงตัวชี้วัดตามหลักสูตร

สถานศึกษา มีสื่อนวัตกรรม สามารถนำไปจัดการเรียนการสอนได้จริง และผู้เรียนสามารถนำความรู้
ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจริงได้

แผนปฏิบัติงานที่ 7 ส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC) ระหว่างครูและผู้เกี่ยวข้อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา การ
จัดการเรียนรใู้ ห้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ

7

ส่วนท่ี 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศกึ ษา
1. ข้อมูลทั่วไป
ช่ือสถานศกึ ษา: โรงเรียนบ้านวาวี
รหัสสถานศกึ ษา: 1057120414
ท่ีต้งั : หมูท่ ี่ 1 บา้ นวาวี ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จงั หวดั เชียงราย
สังกดั : สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2
เบอรโ์ ทรศัพท์: 053-760147 โทรสาร : 053-760176
Email: [email protected]
ระดบั ช้นั ท่เี ปดิ สอน: ระดบั ช้ันอนบุ าล 2 ถงึ ระดบั ชั้นปรถถมศึกษาปีท่ี 6
เขตพื้นท่ีบริการ
• หมทู่ ่ี 1 ไดแ้ ก่ บา้ นวาวี, ปางเลามัน, ปางเลาจา๋ ว, ปางจะเมาะ (บา้ นใหม่สตรอว์เบอรร์ ่)ี
• หมูท่ ่ี 23 ได้แก่ ปางซันโจว, ปางตะโพ, ปางเชอเลอ, ปางกุเสง็
• หมทู่ ี่ 24 ไดแ้ ก่ ปางกลาง
ปรัชญา : ให้โอกาสในการเรียนรู้ มุ่งส่มู าตรฐาน ผสานวัฒนธรรม ก้าวนำวชิ าการ
อัตลักษณ์: ชาวาวสี ่วู ิถีความพอเพยี ง
เอกลักษณ์: วถิ ีชวี ติ เรือ่ งชา
วสิ ยั ทศั น์: ภายในปี 2565 โรงเรยี นบ้านวาวี องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ มงุ่ พัฒนาคุณภาพปลูกฝัง

คุณธรรม จรยิ ธรรม ดำรงตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พันธกิจ
1. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร

และปลูกฝังค่านิยมหลัก 12 ประการ มีทักษะชีวิตบนพื้นฐานของความเป็นไทย น้อมนำหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาทย่ี งั่ ยืน

2. จัดการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น คิดวิเคราะห์และสร้าง
ความเป็นเลิศทางวิชาการ

3. จัดระบบเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา สู่ความเป็นมือ
อาชีพและมีสว่ นรว่ มตามหลักธรรมาภบิ าล

4. จดั การศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพและมมี าตรฐานตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา

8

5. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาจีนใน
ชีวิตประจำวนั

6. ส่งเสริมพัฒนาระบบการบริหารการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพโดยใช้เทคโนโลยี
ดิจิทัลและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา ให้ชุมชน องค์กรทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใ น
การสง่ เสรมิ สนบั สนุน การจดั การศึกษา

คำขวญั : เรียนดี มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ เชิดชูคุณธรรม น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คตพิ จน์: สุสสฺ สู ํ ลภเต ปญฺญํ ผ้ตู ้งั ใจศกึ ษา ย่อมได้ปัญญา
คา่ นยิ ม: “มีวินัย ใฝ่ศึกษา ร่วมพฒั นาโรงเรยี น”
เปา้ หมาย/เป้าประสงค์

1. ผู้เรยี นมคี ุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรและปลูกฝังค่านิยม
หลัก 12 ประการ มีทักษะชีวิตบนพื้นฐานของความเป็นไทย น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และศาสตรพ์ ระราชาสกู่ ารพัฒนาท่ีย่งั ยืน

2. ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น คิดวิเคราะห์และสร้างความเป็นเลิศ
ทางวิชาการ

3. ผบู้ ริหาร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาได้รับการสง่ เสริมและพัฒนาส่คู วามเป็นมืออาชีพ
และมสี ่วนร่วมตามหลักธรรมาภบิ าล

4. ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพและมมี าตรฐานตามบริบทของสถานศึกษา
5. ผู้เรยี นมที ักษะในการสอื่ สารภาษาอังกฤษและภาษาจนี ในชวี ติ ประจำวัน
6. สถานศึกษามีการจัดการศึกษา พัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา
โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และ ชุมชน องค์กรทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุน
การจดั การศึกษา
กลยุทธ์
จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ของโรงเรียนบ้านวาวีจึงกำหนด กลยุทธ์ จำนวน
4 กลยทุ ธ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาผู้เรียนให้อ่านออกเขียนได้ คิด วิเคราะห์เป็น มีทักษะ สมรรถนะ
ตามจุดมงุ่ หมายของหลกั สูตรและตามมาตรฐานการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 2 เสริมสร้างให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตร มีค่านิยมหลัก 12 ประการ และนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน

9

กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตามมาตรฐานวชิ าชพี
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาแหลง่ เรียนรู้และสื่อเทคโนโลยใี นโรงเรียน ให้ชมุ ชน องค์กรทุกภาคส่วน
เข้ามามีสว่ นรว่ ม สง่ เสริม สนบั สนนุ ในการจัดการศึกษา

ประวตั ิสถานศึกษาโดยสังเขป
โรงเรียนบ้านวาวีเริ่มก่อตั้งเมื่อ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2508 โดย นายส่างนุ สุนา

ได้ร้องขอต่อ ผบ.มว.ตชด.ที่ 504 อำเภอแม่สรวย ให้จัดตั้งโรงเรียนและส่งครูมาทำการสอน ต่อมาจึง
ได้อนุมัติให้จัดตั้งโรงเรียน โดยใช้ชื่อว่า โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนที่ 71 บ้านวาวี และได้ส่ง
ตำรวจตระเวนชายแดนที่ผ่านการอบรมจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยสอนตามหลักสูตรที่กรมตำรวจ
และกระทรวงศึกษาธิการได้วางไว้ และให้อยู่ในความอุปการะของ กก.ตชด. เขต 5 และบช.ภ.ตชด.
บนพน้ื ท่ดี นิ ซงึ่ ได้รับการบริจาคจาก นายส่างนุ สนุ า 3/4 ไร่ อาคารเรียนเป็นอาคารชวั่ คราวทชี่ าวบ้าน
ชว่ ยกนั สรา้ งขึน้ โดยมี ส.ต.ท.สะอาด วิทยานุวฒั น์ เป็นครูใหญค่ นแรก

ในปี พ.ศ. 2511 ทางองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้จัดสรรงบประมาณ 80,000 บาท
ก่อสร้างอาคาร แบบ ป.1 จำนวน 1 หลัง และได้ย้ายสถานที่จากโรงเรียนหลังเดิม มาสร้างในเนื้อท่ี
ของ นายมตู ิมู ซ่ึงได้บรจิ าคที่ดินให้ประมาณ 3 ไร่

เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.2515 ตชด.ได้มอบโรงเรยี นให้อยูใ่ นสังกัดองค์การบรหิ ารส่วน
จังหวดั และไดส้ ง่ นายวิจิตร ฟูวงศ์ มาเป็นครูใหญ่คนแรก เมื่อวนั ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2515

ได้เริ่มทำการสอนเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2515 เป็นต้นไป และได้รับการจัดสรร
งบประมาณก่อสร้างบ้านพักครู แบบองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 1 หลัง งบประมาณ
30,000 บาท

ปีงบประมาณ 2522 ได้รับการจดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งบา้ นพกั ครูแบบกรมสามญั จำนวน
1 หลัง 2 หอ้ งนอน เม่ือวันท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ.2523 สปจ. ได้มคี ำสง่ั ให้นางสาวนติ ยา จรี ะสุวรรณ
มาดำรงตำแหนง่ ครูใหญแ่ ทน นายอำพล โสวรรณี ซึ่งยา้ ยไปดำรงตำแหน่ง ครใู หญ่โรงเรียนบ้านปาง
หก และได้รับจัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ชร.01 จำนวน 1 หลัง งบประมาณ
450,000 บาท

เมอื่ วันท่ี 16 มนี าคม พ.ศ.2527 สปจ.เชยี งรายได้สั่งบรรจใุ ห้นายทองอินทร์ โฮซิน มาดำรง
ตำแหนง่ ครใู หญ่ ในปีงบประมาณ 2527 ได้รบั การจดั สรรงบประมาณก่อสรา้ งบ้านพักครู แบบ สปช.
301/2526 จำนวน 1 หลัง 2 ห้องนอน และอาคารเอนกประสงค์ แบบ ชร.08 จำนวน 1 หลัง

ปีงบประมาณ 2528 ได้รับจัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.102/2526
จำนวน 1 หลัง บ้านพักครู แบบ 302/2528 จำนวน 1 หลัง 1 ห้องนอน งบประมาณ 49,850 บาท
ส้วมแบบ สปช.602/2526 จำนวน 1 หลัง 10 ที่นั่ง และบ้านพักภารโรง แบบ สปช.304/2528
งบประมาณ 75,000 บาท

10

เม่ือ พ.ศ.2531 โรงเรียนไดร้ บั บริจาคท่ีดินจากราษฎรบ้านวาวี 2 ราย นายซอโพ ติมู บริจาค
1 ไร่ 2งาน 67 ตารางวา และนายเบอะ ติมู บริจาค 3 งาน 30 ตารางวา และได้รับการจัดสรร
งบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.105/2530 ขนาด 6 ห้องเรียน งบประมาณ 957,000 บาท
คณะครกู รรมการศกึ ษา และราษฎรไดพ้ ร้อมใจสรา้ งอาคารชว่ั คราวขนึ้ มาอีก 1 หลงั 2 ห้องเรยี น

สภาพทัว่ ไปของชุมชน
ตั้งอยู่ท่ามกลางหุบเขาที่สลับซับซ้อน บางหุบเขามีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ บางแห่งเป็นภูเขาที่

ถูกตัดไม้ทำลายป่า ตลอดเส้นทางเข้าหมู่บ้านวาวีเป็นถนนลาดยาง บางช่วงเป็นถนนลูกรังทำให้การ
เดินทางค่อนข้างช้าและลำบากมาก โดยเฉพาะหน้าฝนเนื่องจากเป็นทางขึ้นและลงเขาตลอดเส้นทาง
และยังเป็นร่องน้ำลึกที่เกิดจากน้ำห้วยที่กัดเซาะถนน และเส้นทางดังกล่าวสามารถเชื่อมต่อไปใน
หลายอำเภอทั้งในจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่ จึงเป็นเส้นทางหนึ่งที่ขบวนการค้ายาเสพติดเลือกใช้
ลำเลียงยาเสพติดไปยงั แหล่งจำหนา่ ย ทำใหม้ คี วามเสีย่ งตอ่ ขบวนการคา้ ยาเสพตดิ

หมู่บ้านวาวีถือได้ว่าเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ประกอบด้วยหย่อมบ้านหลายหย่อมบ้านที่อยู่
กระจัดกระจายห่างจากหมู่บ้านหลัก (บ้านวาวี) ตั้งแต่ 2-10 กิโลเมตร และตั้งอยู่ท่ามกลางหุบเขา
เช่นกัน ถนนเป็นดินลูกรังทำให้ยากลำบากในการติดต่อสัญจรไปมากับหมู่บ้านหลัก โดยเฉพาะอย่าง
ย่ิงอาหารและเครอ่ื งอุปโภคบรโิ ภค มีจำหน่ายเฉพาะในหมู่บา้ นหลกั มีการเดนิ ทางค้าขายแลกเปล่ียน
กันเป็นประจำ สินค้าที่นำมาจำหน่ายมีทั้งของป่า ของพื้นเมือง ผัก ผลไม้ตามฤดูกาล ลักษณะของ
ชุมชนที่โรงเรียนบ้านวาวีตั้งอยู่ มีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยภูเขา จำนวน 8 เผ่า มีอาชีพ
เกษตรกรรม รับจา้ ง ฐานะคอ่ นข้างยากจน

ศาสนาและความเช่อื
เนื่องจากบ้านวาวีมีชาวไทยภูเขามาอยู่รวมกันหลายเผ่า หลายภาษา จึงทำให้มีความเช่ือ

ความศรัทธาในศาสนาแตกต่างกันออกไป สามารถแบ่งได้เป็น 3 ศาสนา ได้แก่ พุทธ คริสต์
และอิสลาม ศาสนาพุทธ ได้แก่ กลุ่มชนที่เป็นชาวจีนฮ่อ คนเมือง กะเหรี่ยง ลีซอ และชาวไทยใหญ่
ศาสนาอสิ ลาม ไดแ้ ก่ กลุ่มชนท่เี ปน็ ชาวจีนฮ่อ ศาสนาครสิ ต์ ไดแ้ ก่ อาข่า นอกจากนีย้ งั มบี างกลุ่มชนที่
มคี วามเชื่อในเทพเจา้ ภูตผีปีศาจ

นับถือผีตามบรรพบุรุษ เช่น เผ่าอาข่า เผ่ามูเซอ เป็นต้น และยังมีการนำเอาพิธีกรรมต่างๆ
มาใช้รักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยของคนในเผ่า ซึ่งบางครั้งก็ได้ผลบางครั้งก็ไม่ได้ผล นอกจากนี้
กม็ กี ารประกอบพิธีกรรมทางศาสนาแต่ละศาสนาตามวนั สำคญั ต่างๆ เป็นประจำ

ประเพณีและวฒั นธรรม
ชาวไทยภเู ขาเผ่าต่างๆ จะมปี ระเพณีและวฒั นธรรมเป็นของตนเอง มคี วามแตกต่างกันไปใน

แต่ละเผ่า สังเกตได้จากการแต่งกาย ภาษาพูด อาหาร ที่อยู่อาศัย การอบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน
มีประเพณปี ระจำเผ่าทแี่ ตกต่างกัน และมรี ะยะเวลาทจี่ ัดไม่ตรงกัน เช่น ประเพณโี ลช้ ิงช้า ประเพณีกิน

11

ข้าวใหม่ของอาข่า ประเพณีปีใหม่ของมูเซอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีประเพณีงานมงคลที่แตกต่างกัน
เปน็ แบบเฉพาะของแต่ละเผา่ มีการละเล่นเตน้ ระบำประจำเผา่ มเี ครื่องดนตรีทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของเผ่า
เช่น เครอ่ื งดดี เคร่ืองเป่า เป็นต้นบางเผ่ายงั มีการอนุรักษ์ไว้และใช้ประกอบพิธีกรรมและประเพณีของ
เผ่า แต่บางเผา่ เรม่ิ จะจางหายไป ชมุ ชนมคี วามสัมพนั ธ์กับสถานศึกษาเป็นอยา่ งดี

สภาพท่ัวไปของโรงเรยี น
โรงเรียนบ้านวาวีมีสภาพภูมิทัศน์สะอาด ร่มรื่น สวยงาม ปลอดภัยเอื้อต่อการเรียนรู้

โรงเรียนมีอาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องสมุดที่เป็นแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล ครบถ้วนเพียงพอ โรงเรียนมีวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ครบถ้วน การ
ปรับปรุงอาคารเรียน อาคารประกอบ การจัดทน่ี ง่ั พักผอ่ นในบรเิ วณโรงเรียน การปรับปรุงระบบไฟฟ้า
ภายในอาคารเรียน อาคารประกอบ การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ ภายในบริเวณโรงเรียน การจัด
สวนหย่อม ภายในบริเวณโรงเรียน - ของความสะอาดภายในบริเวณโรงเรยี นการดูแลอาคาร สถานที่
และสง่ิ แวดล้อมมกี ารปลูกไมด้ อก ไมป้ ระดบั ไม้ยนื ต้น จัดสวนหยอ่ ม ทาสีรวั้ ปรบั ปรงุ ห้องน้ำ ทำร่อง
ระบายน้ำ และจดั ทำหอกระจายข่าวใหเ้ อือ้ ต่อการใช้งาน

2. โครงสรา้ งการบริหารสถานศกึ ษา
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวาวี ยึดหลักการบริหารแบบการมีส่วนร่วม

ของ ภาคเี ครือข่ายท่มี ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง ยึดหลักธรรมาภบิ าล คิดคน้ นวัตกรรมรปู แบบการบรหิ ารโรงเรียน
คุณภาพใช้แนวทางขับเคลื่อนจุดเน้นนโยบาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมเชียงราย เขต 2
CR2ACTS Model โดยใช้ Banvavee SMART Model เปน็ ตวั ขบั เคลื่อนรว่ ม เพอ่ื เป็นแนวทางที่เน้น
พฒั นาคณุ ภาพของผู้เรียนเปน็ เป้าหมายหลัก มาใช้ในการบริหารจดั การศึกษา ทง้ั 4 ฝา่ ยของโรงเรียน
ได้แก่ งานบริหารวิชาการ งานบริหารบุคคล งานบริหารการเงิน งบประมาณ และงานบริหารทั่วไป
ส่งผลให้การดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรมที่ระบุไว้ใน แผนปฏิบัติการประจำปี โรงเรียนบ้าน
วาวีจัดโครงสร้างการบริหารงาน 4 ฝ่ายตามกฎกระทรวงศึกษาธิการกำหนดพร้อม กำหนดเป้าหมาย
ขอบข่ายและระบุภารกิจในการบริหารจัดการไว้อย่างชัดเจนสามารถยืดหยุ่นพร้อมรับ การ
เปล่ียนแปลงและการแลกเปล่ียนเรยี นรูเ้ พื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรยี นให้เปน็ คนเก่ง ดี มีสขุ ส่งเสริม
ให้นักเรียนมีความรู้คู่คุณธรรม ยึดโรงเรียนเปน็ ฐาน กำหนดแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับ นโยบายของหน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องสอดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชนและท้องถ่นิ โดยใชเ้ ทคนิค
SWOT จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของ
โรงเรียน ใช้ กระบวนการวงจรคุณภาพ P-D-C-A และใช้ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement
Theory) ในการดำเนินงานนำไปสู่การปฏิบตั ิด้วยการ กำหนดโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัตกิ าร
ประจำปี มีการรายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมทุกคร้ังเมื่อเสรจ็ ส้ินภารกิจหรือส้ินปีการศึกษา
มีการนำผลการประเมิน ข้อเสนอแนะไปใช้ปรับปรุงการ ปฏิบัติงานตามแผน ไปพัฒนาแผนพัฒนา

12

คุณภาพการศึกษาระยะ 4 ปี และแผนปฏิบตั ิการประจำปีอย่าง ต่อเนื่อง เกิดผลการพัฒนาอย่างรอบ
ดา้ น ทง้ั ดา้ นผเู้ รยี น ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สถานศกึ ษาและ ชุมชน ทำใหม้ ผี ลงานเชิงประจกั ษ์

ดังนั้นผู้บริหารสถานศึกษา จึงเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ และเป็นผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงที่มี
ศักยภาพในด้านประสบการณ์และวุฒิทางการศึกษา มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ มีคุณธรรม มีมนุษย
สัมพันธ์ที่ดี มีหลักธรรมาภิบาล ในการบริหารจัดการแบบ มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ และใช้โรงเรยี นเป็นฐาน
โดยมีการจัดองค์กรโครงสร้าง และการบริหารงาน อย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุเป้าหมาย
การศึกษา กระตุ้นให้มีการจัดกิจกรรมและการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีหลักสูตรท่ี
เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่นมีสื่อการเรียนการสอนที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ภายในสถานศึกษา มีการ
ส่งเสริมความสัมพันธแ์ ละความรว่ มมือกบั ชุมชนในการพฒั นา การศึกษา จึงสง่ ผลให้โรงเรียนเป็นที่พึง
พอใจและยอมรับของสาธารณชนตลอดมา ซึ่งการบริหารงานจะประสบผลสําเร็จต้องอาศัย
กระบวนการทํางานเป็นทีม และผู้ที่มีบทบาทสําคัญในทีมคือ หัวหน้าทีม ซึ่งต้องมีภาวะผู้นํา และ
สมาชิกก็ต้องรู้จักแสดงบทบาทของผู้ตามที่ดี ดังนั้นโรงเรียนควรส่งเสริมให้บุคลากร ให้มีความรู้
ความสามารถในการเปน็ ผ้นู าํ และผู้ตามท่ีดี

3. ข้อมลู บคุ ลากรของสถานศึกษา

3.1 ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา

3.1.1 วา่ ทรี่ ้อยเอกเสรี เชอ้ื อ้วน ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นวาวี

3.1.2 นายรชั ชานนท์ วนั เพญ็ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นวาวี

3.2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา

จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งหมด 25 คน จำแนกเปน็

3.2.1 ขา้ ราชการครู 19 คน

3.2.2 ครูอตั ราจา้ ง 4 คน

3.2.3 ครพู เี่ ลย้ี งเดก็ พิการ 1 คน

3.2.4 เจ้าหน้าที่อืน่ ๆ 1 คน

ตำแหน่ง วทิ ยฐานะ ระดบั / ขา้ ราชการครูและ
ตำแหนง่ บคุ ลากรทางการศึกษา (คน)

ชาย หญงิ รวม

ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

1. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ชำนาญการพิเศษ คศ.3 1 - 1

2. รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน ชำนาญการ คศ.2 1 - 1

รวม 2 - 2

13

ตำแหนง่ วิทยฐานะ ระดับ/ ข้าราชการครูและ
ตำแหน่ง บคุ ลากรทางการศกึ ษา (คน)
ข้อมูลบุคลากร
ชาย หญิง รวม
3. ครู
- คศ.1 5 9 14
4. ครผู ้ชู ว่ ย ชำนาญการ คศ.2 2 -2
5. ครูอตั ราจ้าง ชำนาญการพิเศษ คศ.3 - 11
6. ครพู ่ีเลี้ยงเด็กพกิ าร - ครูผูช้ ่วย - 22
7. เจ้าหน้าที่อ่ืน ๆ - - - 44
- - - 11
- - - 11
รวม 7 18 25

3.3 วุฒิการศกึ ษาของบคุ ลากร

วฒุ ิการศกึ ษา จำนวน รวม รอ้ ยละ
ชาย หญิง
ปรญิ ญาเอก -- - 0.00
ปริญญาโท 22 4 16.00
ปรญิ ญาตรี 7 10 17 68.00
ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี -4 4 16.00
9 16 25 100.00
รวม

14

4. ข้อมูลนักเรยี น
จำนวนนักเรียน ปกี ารศึกษา 2563 รวมทั้งส้ิน 636 คน จำแนกเป็น ระดับปฐมวยั จำนวน 136

คน และ ระดับกรศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จำนวน 500 คน

จำนวนนักเรียน การศึกษา 2563 รวมทง้ั สิ้น 636 คน (ข้อมลู ณ วนั ที่ 9 ธนั วาคม 2563)

ระดับช้ันเรียน จำนวน จำนวนนักเรยี น เฉล่ยี ตอ่ ห้อง
หอ้ งเรยี น ชาย หญิง รวม

อ.2 3 43 25 68 23

อ.3 3 30 38 68 23

รวม 6 73 63 136 23

ป.1 4 35 30 65 16

ป.2 4 52 37 89 22

ป.3 4 44 37 81 20

ป.4 4 51 40 91 23

ป.5 4 40 45 85 21

ป.6 4 48 41 89 22

รวม 24 270 230 500 21

รวมท้ังหมด 30 343 293 636 21

5. ข้อมูลหลกั สตู รท่ีจัดการเรียนการสอน

15

6. ขอ้ มลู อาคารสถานที่

7. ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้ภานในและนอกโรงเรยี น แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรยี น
แหล่งเรยี นร้ภู ายในโรงเรยี น - หอประชุมกวงฟูวิทยา
- ลานตา้ นภัยยาเสพติด 329
- สนามเด็กเล่นโรงเรยี นบ้านวาวี - วดั พระธาตุวาวี
- หอ้ งดนตรี - วดั วาวหี ลวง
- หอ้ งลกู เสอื - โรงพยาบาลประจำตำบลวาวี
- ห้องเสรมิ สวย - ไรช่ าวาวี
- ห้องพยาบาล
- แปลงผกั ปลอดสารพิษ ตามแนวเศรษฐกิจ
พอเพียง
- ห้องสมุดโรงเรียนบา้ นวาวี
- ห้องปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์
- ร้านกาแฟวาวี
- หอ้ งคอมพิวเตอร์

16

ขอ้ มูลการใช้แหลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอก ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2563

ช่อื แหล่งเรยี นรู้ จำนวนคร้งั ท่ีใช้/ ปี

สนามเด็กเล่นโรงเรียนบา้ นวาวี 2561 2562 2563

ห้องดนตรี ทกุ วนั ท่ีจดั การ ทกุ วันทีจ่ ดั การ ทกุ วนั ทจ่ี ดั การ
หอ้ งลกู เสอื เรยี นการสอน เรียนการสอน เรยี นการสอน
หอ้ งเสรมิ สวย 9ครง้ั /สัปดาห์ 9คร้ัง/สปั ดาห์ 9ครง้ั /สัปดาห์
ห้องพยาบาล 2ครั้ง/สปั ดาห์ 2ครั้ง/สปั ดาห์ 2ครั้ง/สัปดาห์
แปลงผักปลอดสารพษิ ตามแนว 2ครงั้ /สปั ดาห์ 2ครั้ง/สัปดาห์ 2ครั้ง/สปั ดาห์
เศรษฐกจิ พอเพียง 5ครั้ง/สปั ดาห์ 5ครั้ง/สปั ดาห์ 5ครั้ง/สัปดาห์
หอ้ งสมดุ โรงเรยี นบ้านวาวี 3ครง้ั /สัปดาห์ 3ครง้ั /สปั ดาห์ 3ครง้ั /สัปดาห์

หอ้ งปฏิบตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ ทกุ วันที่จัดการ ทกุ วันทจ่ี ัดการ ทุกวันทจ่ี ดั การ
รา้ นกาแฟวาวี เรียนการสอน เรียนการสอน เรียนการสอน
ห้องคอมพวิ เตอร์ 2ครั้ง/สัปดาห์ 2ครั้ง/สัปดาห์ 2ครง้ั /สปั ดาห์
หอประชุมกวงฟงู วทิ ยา 1ครงั้ /สัปดาห์ 1ครั้ง/สัปดาห์ 1ครง้ั /สปั ดาห์
ลานต้านภยั ยาเสพตดิ 329 15คร้งั /สปั ดาห์ 15ครัง้ /สปั ดาห์ 15ครั้ง/สปั ดาห์
วัดพระธาตุวาวี 1ครง้ั /สปั ดาห์ 1ครง้ั /สปั ดาห์ 1ครั้ง/สปั ดาห์
วัดวาวีหลวง 1ครง้ั /สปั ดาห์ 1ครง้ั /สปั ดาห์ 1ครั้ง/สปั ดาห์
2คร้งั /สปั ดาห์ 2ครง้ั /สัปดาห์ 2ครัง้ /สัปดาห์
2ครั้ง/สปั ดาห์ 2ครั้ง/สัปดาห์ 2ครง้ั /สัปดาห์

ช่ือแหล่งเรียนรู้ 2561 จำนวนคร้งั ที่ใช้/ปี
1ครง้ั /สัปดาห์ 2562 2563
โรงพยาบาลประจำตำบล 1คร้ัง/สัปดาห์
ไรช่ าวาวี 1ครงั้ /สปั ดาห์ 1ครั้ง/สัปดาห์ 1ครง้ั /สปั ดาห์
โบสถ์ 1ครัง้ /สัปดาห์ 1ครง้ั /สัปดาห์ 1คร้ัง/สัปดาห์
มสั ยดิ 1ครง้ั /สัปดาห์ 1ครง้ั /สัปดาห์
1ครั้ง/สปั ดาห์ 1คร้งั /สัปดาห์

17

8. ข้อมลู อื่น ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
8.1 โอกาสและขอ้ จำกัดของโรงเรียน
โอกาส อปุ สรรค

ดา้ นการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับ

เป็นสำคัญ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทักษะภาษาไทย การอ่านออก –
สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และเศรษฐกิจ เขียนได้ของนักเรยี นยงั มผี ลสัมฤทธ์ิตำ่
พอเพยี ง
ด้านการบริหารและจดั การศกึ ษา

ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีภาวะผู้นำ และมี ภ า ว ะ ข า ด แ ค ล น ห ้ อ ง เ ร ี ย น
ความเปน็ ผูน้ ำทางด้านวิชาการ บคุ ลากรมีความ ขาดแคลนบคุ ลากรทีส่ อนตรงตามวชิ าเอก
พร้อม มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
ชุมชนและคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความ
ร่วมมือ และสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของ
โรงเรยี นเปน็ อย่างดี
ดา้ นการพัฒนาชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้

ชุมชนเป็นชุมชนที่มีประชากรหนาแน่น การประชาสัมพันธ์และการเข้าถึง
มผี ้นู ำเขม้ แข็ง มสี ภาพเศรษฐกจิ ท่ีดี มีหน่วยงาน ความต้องการของชุมชนที่โรงเรียนยังไม่
องค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนสร้างความเจริญ สามารถเข้าถงึ ได้
ให้แก่ชุมชน ชุมชนให้การสนับสนุนกิจกรรม
ของโรงเรยี นอยา่ งสม่ำเสมอ

18

8.2 ข้อมลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2563
ระดบั ปฐมวัย

รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีผลการประเมนิ พฒั นาการแต่ละด้านในระดับ 3 ขน้ึ ไป

จำนวน ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านร่างกาย
เด็ก
ระดบั ชั้น ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3)

จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

อ.2 66 - - - - 66 100
อ.3 70
- - - - 70 100
รวม 136
- - - - 136 100

จำนวน ผลการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ
เด็ก
ระดับชน้ั ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3)

จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

อ.2 66 - - - - 66 100
อ.3 70
- - - - 70 100
รวม 136
- - - - 136 100

จำนวน ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านสังคม
เดก็
ระดับชน้ั ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) ดี (3)

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

อ.2 66 - - - - 66 100
อ.3 70
- - - - 70 100
รวม 136
- - - - 136 100

จำนวน ผลการประเมนิ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา
เดก็
ระดับชนั้ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) ดี (3)

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

อ.2 66 - - - - 66 100
อ.3 70
- - 2 2.86 68 97.14
รวม 136
- - - - 136 100

19

ผลการประเมนิ พัฒนาการดา้ น

ระดับชน้ั จำนวน รา่ งกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ครบทั้ง 4 ดา้ น
เดก็ จิตใจ
อ.2 จำนวน ร้อยละ
อ.3 66 จำนวน ร้อย จำนวน รอ้ ย จำนวน ร้อย จำนวน รอ้ ยละ
รวม 70 ละ ละ ละ 66 100
136 70 99.29
66 100 66 100 66 100 66 100 136 100

70 100 70 100 70 100 68 97.14

136 100 136 100 136 100 136 100

ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน

6.1 ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ

3 ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2563

รายวิชาภาษาไทย (พ้นื ฐาน)

ระดับชน้ั จำนวน ระดับผลการเรยี น (จำนวนนกั เรยี น)
นักเรียน
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3
ขน้ึ ไป

ป.1 65 0 9 0 13 2 4 16 21 41

ป.2 89 0 6 1 6 8 13 17 38 68

ป.3 81 0 0 0 4 5 13 15 44 72

ป.4 91 0 8 1 0 5 17 33 27 77

ป.5 85 0 9 1 3 5 34 26 7 67

ป.6 89 0 3 2 8 9 21 21 25 67

รวม 500 0 35 5 34 34 102 128 162 392

รอ้ ยละ 0.00 7.00 1.00 6.80 6.80 20.40 25.60 32.40 78.40

20

รายวิชาคณิตศาสตร์ (พืน้ ฐาน)

ระดับชัน้ จำนวน ระดบั ผลการเรียน (จำนวนนักเรยี น) ระดบั
นักเรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 3 ข้นึ
0 4

ไป

ป.1 65 0 9 0 9 2 3 16 26 45

ป.2 89 0 3 2 6 15 18 16 29 63

ป.3 81 0 0 1 18 13 12 13 24 49

ป.4 91 0 6 0 5 14 20 12 34 66

ป.5 85 0 10 2 2 14 32 16 9 57

ป.6 89 0 2 0 12 18 11 15 61 87

รวม 500 0 30 5 52 76 96 88 183 367

ร้อยละ 0.00 6.00 1.00 10.40 15.20 19.20 17.60 36.60 73.40

ระดบั ชน้ั จำนวน รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พื้นฐาน)
นกั เรียน ระดบั ผลการเรยี น (จำนวนนกั เรยี น)
ระดับ
ป.1 65
ป.2 89 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 3 ขนึ้
ป.3 81 ไป
ป.4 91
ป.5 85 0 1 1 4 9 18 11 26 55
ป.6 89 0 4 0 1 1 36 16 31 83
รวม 498 0 0 0 8 16 12 19 26 57
0 6 2 5 19 26 15 18 59
รอ้ ยละ 2 11 5 5 13 27 11 11 49
0 3 0 9 10 23 17 27 67
2 25 8 32 68 142 89 139 370
0.40 5.00 1.60 6.40 13.60 28.40 17.80 27.80 74.00

21

รายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (พ้ืนฐาน)

ระดบั ชัน้ จำนวน ระดบั ผลการเรยี น (จำนวนนักเรียน)
นกั เรยี น
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3
ขน้ึ ไป

ป.1 65 0 2 0 18 4 6 5 30 41

ป.2 89 0 4 1 0 15 12 17 40 69

ป.3 81 0 0 1 2 3 1 0 74 75

ป.4 91 0 6 0 1 6 18 29 31 78

ป.5 85 0 11 1 1 4 35 20 13 68

ป.6 89 0 2 0 0 0 23 37 27 87

รวม 500 0 25 3 22 32 95 108 215 418

รอ้ ยละ 0.00 5.00 0.60 4.40 6.40 19.00 21.60 43.00 83.60

รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ (พ้นื ฐาน)

ระดบั ชัน้ จำนวน ระดบั ผลการเรียน (จำนวนนักเรยี น)
นักเรียน
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3
ขึน้ ไป

ป.1 65 0 2 0 21 1 0 12 29 41

ป.2 89 0 5 0 0 15 15 17 37 69

ป.3 81 0 0 1 2 3 1 0 74 75

ป.4 91 0 6 0 1 4 35 21 24 80

ป.5 85 0 12 0 1 1 50 14 7 71

ป.6 89 0 2 0 0 1 41 43 2 86

รวม 500 0 27 1 25 25 142 107 173 422

รอ้ ยละ 0.00 5.40 0.20 5.00 5.00 28.40 21.40 34.60 84.40

22

รายวิชาภาษาอังกฤษ (พื้นฐาน)

ระดับชนั้ จำนวน ระดับผลการเรยี น (จำนวนนักเรียน) ระดบั
นกั เรียน 1 1.5 2 2.5 3 3.5 3 ขน้ึ
0 4

ไป

ป.1 65 0 6 9 17 10 6 2 15 23

ป.2 89 0 5 20 10 17 18 9 10 37

ป.3 81 0 0 2 5 15 16 16 27 59

ป.4 91 0 9 1 11 12 16 15 27 58

ป.5 85 0 15 0 0 6 10 9 45 64

ป.6 89 0 3 0 7 13 15 16 35 66

รวม 500 0 38 32 50 73 81 67 159 307

ร้อยละ 0.00 7.60 6.40 10.00 14.60 16.20 13.40 31.80 61.40

รายวชิ าสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (พนื้ ฐาน)

ระดบั ชน้ั จำนวนนกั เรยี น ระดับผลการเรียน (จำนวนนักเรยี น)

0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ระดับ 3 ขน้ึ ไป

ป.1 65 0 2 0 0 1 3 13 46 62

ป.2 89 0 5 0 0 0 6 20 58 84

ป.3 81 0 0 0 0 4 3 0 74 77

ป.4 91 0 17 3 2 0 6 3 60 69

ป.5 85 0 12 6 4 0 2 5 56 63

ป.6 89 0 2 0 0 7 5 8 67 80

รวม 500 0 38 9 6 12 25 49 361 435

ร้อยละ 0 7.6 1.8 1.2 2.4 5 9.8 72.2 87

23

ระดบั ชนั้ จำนวน รายวชิ าศลิ ปะ (พ้ืนฐาน) ระดับ 3
นกั เรยี น ระดับผลการเรยี น (จำนวนนักเรยี น) ขึ้นไป
63
ป.1 65 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 84
ป.2 89 78
ป.3 81 0 1 0 1 0 24 3 36 85
ป.4 91 0 5 0 0 0 5 31 48 73
ป.5 85 0 0 0 0 3 4 0 74 87
ป.6 89 0 6 0 0 0 2 49 34 470
รวม 500 0 12 0 0 0 2 40 31 94.00
0 2 0 0 0 0 44 43
รอ้ ยละ 0 26 0 1 3 37 167 266
0.00 5.20 0.00 0.20 0.60 7.40 33.40 53.20

ระดบั ชนั้ จำนวน รายวชิ าการงานอาชีพ (พื้นฐาน) ระดบั 3
นกั เรยี น ระดับผลการเรียน (จำนวนนักเรยี น) ขึ้นไป
63
ป.1 65 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 84
ป.2 89 79
ป.3 81 0 1 0 1 0 11 11 41 84
ป.4 91 0 5 0 0 0 2 18 64 73
ป.5 85 0 0 0 0 2 5 0 74 87
ป.6 89 0 6 0 0 1 4 20 60 470
รวม 500 0 8 0 3 1 1 22 50 94.00
0 2 0 0 0 0 8 79
ร้อยละ 0 26 0 1 3 37 167 266
0.00 5.20 0.00 0.20 0.60 7.40 33.40 53.20

24

รายวชิ า

ระดับชนั้ ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
ิวทยาศาสตร์
ัสงคมศึกษาฯ
ประ ัวติศาสตร์
ภาษา ัองกฤษ
ุสข ึศกษาฯ

ศิลปะ
การงานอา ีชพ



ป.1 41 45 55 41 41 23 62 63 63

ป.2 68 63 83 69 69 37 84 84 84

ป.3 72 49 57 75 75 59 77 78 78

ป.4 77 66 59 78 80 58 69 85 85

ป.5 67 57 49 68 71 64 63 73 73

ป.6 67 87 67 87 86 66 80 87 87

รวม 392 367 370 418 422 307 435 470 470

รอ้ ยละ 78.40 73.40 74.00 83.60 84.40 61.40 87.00 94.00 94.00

เฉลยี่ รวม 8 กลุ่มสาระ 81.13

6.2 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนใน ระดับดี
ข้นึ ไป ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563

ระดับช้ัน จำนวน ผลการประเมนิ (จำนวนนักเรียน) ระดับดี ร้อยละ
นกั เรยี น ขึน้ ไป
ป.1 ไมผ่ ่าน ผ่าน ดี ดเี ยีย่ ม 100.00
ป.2 65 00 24 41 65 82.02
ป.3 89 0 16 20 53 73 100.00
81 00 13 68 81

ป.4 91 0 0 15 76 91 100.00

ป.5 85 0 0 14 71 85 100.00

ป.6 87 0 0 0 87 87 100.00

รวม 498 0 16 86 396 482 96.79

25

6.3 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับดี ขึ้นไป

ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงระดับช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2563

ระดับชนั้ จำนวน ผลการประเมิน ดีเย่ียม ระดับดี ร้อยละ
นักเรียน ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ข้นึ ไป

ป.1 65 0 0 23 42 65 100.00

ป.2 89 0 3 2 84 86 96.63

ป.3 81 0 0 1 80 81 100.00

ป.4 91 0 0 6 85 91 100.00

ป.5 85 0 0 0 85 85 100.00

ป.6 87 0 0 0 87 87 100.00

รวม 498 0 3 32 463 495 99.40

6.4 ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในระดับผ่าน ขน้ึ ไป ระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา
2563

สมรรถนะ จำนวน ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ร้อยละ
นักเรียน
ไม่ผา่ น ผ่าน ดี ดีเยยี่ ม ข้ึนไป

1. ความสามารถในการส่ือสาร 89 0 2 0 87 89 100
2. ความสามารถในการคิด 89 0 2 0 87 89 100
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 89 0 2 0 87 89 100
4. ความสามารถในการใช้ทักษะ 89 0 2 0 87 89 100
ชีวติ
5. ความสามารถในการใช้ 89 0 2 0 87 89 100
เทคโนโลยี 445 0 10 0 435 445 100

รวม

26

6.5 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

(Reading Test: RT)

6.5.1 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

(Reading Test: RT) ปกี ารศึกษา 2563

ด้าน คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ
ระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพืน้ ท่ี ฯ ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ

การอ่านออกเสียง 50.35 65.42 74.13 74.14

การอ่านรูเ้ ร่ือง 54.38 64.25 72.23 71.86

รวม 2 สมรรถนะ 52.37 64.84 73.20 73.02

6.5.2 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1

(Reading Test: RT) ปกี ารศึกษา 2561 – 2563

ด้าน คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 2563
2561 2562

การอา่ นออกเสียง 28.84 41.87 50.35

การอ่านรูเ้ ร่ือง 49.60 58.40 54.38

รวม 2 สมรรถนะ 39.22 50.13 52.37

6.6 ผลการประเมนิ คุณภาพผูเ้ รียน ระดับช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 (National Test: NT)

6.6.1 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (National Test:

NT) ปกี ารศึกษา 2563

ความสามารถ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ
ระดบั โรงเรยี น ระดบั เขตพน้ื ท่ี ฯ ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ

ดา้ นภาษาไทย 43.14 44.47 47.76 47.46

ดา้ นคณิตศาสตร์ 42.12 39.51 41.30 40.47

รวมความสามารถ 42.63 42.00 44.53 43.97
ท้งั 2 ด้าน

27

6.6.2 ผลการประเมินคุณภาพผู้เรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (National Test:

NT) ปีการศกึ ษา 2561 – 2563

ความสามารถ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ
2561 2562 2563

ดา้ นภาษาไทย 40.38 41.55 43.14

ด้านคณิตศาสตร์ 42.12 36.08 42.12

รวมความสามารถทง้ั 2 ดา้ น 41.25 38.81 42.63

6.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

(Ordinary National Educational Test: O NET)

6.7.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

(Ordinary National Educational Test: O NET) ปีการศึกษา 2563

รายวชิ า คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ
ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพน้ื ท่ี ฯ ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ

ภาษาไทย 50.37 58.02 54.96 56.20

คณติ ศาสตร์ 29.53 29.87 28.59 29.99

วทิ ยาศาสตร์ 36.69 38.99 37.64 38.78

ภาษาอังกฤษ 38.02 41.12 38.87 43.55

คะแนนเฉล่ยี 38.65 42.00 40.04 42.13

28

6.7.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติชั้นพื้นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

(Ordinary National Educational Test: O NET) ปกี ารศกึ ษา 2561 – 2563

รายวิชา คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 2563
2561 2562

ภาษาไทย 44.48 37.44 50.37

คณติ ศาสตร์ 35.56 25.79 29.53

วทิ ยาศาสตร์ 35.37 29.09 36.96

ภาษาองั กฤษ 27.25 26.54 38.02

คะแนนเฉล่ีย 35.67 29.72 36.22

29

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย

มาตรฐานการศึกษา : ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำคญั ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก คา่ เปา้ หมาย ผลการ ระดับ
แผนการดำเนนิ การ/ การตง้ั เปา้ หมาย ปกี ารศกึ ษา 2563 ประเมิน คณุ ภาพ
95.29 ยอดเยีย่ ม
ประเดน็ พิจารณา ร้อยละ 88.00 ขน้ึ ไป
ยอดเย่ยี ม 91.40 ยอดเยย่ี ม
1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกายแข็งแรง มีสุข
นิสยั ท่ีดี และดแู ลความปลอดภัยของตนได้ ร้อยละ 86.00 ขึน้ ไป 95.08 ยอดเย่ียม
1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ ยอดเยย่ี ม
และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 88.44 ยอดเยย่ี ม
1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง รอ้ ยละ 89.00 ขึ้นไป
และเปน็ สมาชิกทด่ี ีของสงั คม ยอดเยี่ยม 92.55 ยอดเยี่ยม
1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มี
ทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรูไ้ ด้ รอ้ ยละ 83.00 ขนึ้ ไป
ดีเลศิ
สรปุ ผลการประเมิน
รอ้ ยละ 86.50 ขน้ึ ไป
ยอดเย่ียม

กระบวนการพัฒนา/ วธิ ดี ำเนินการ
โรงเรียนบ้านวาวีมีกระบวนการพัฒนาคุณภาพของเด็ก โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพ

ปัญหา ผลการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม
ผลการประเมินคุณภาพภายในของปีที่ผ่าน นำจุดที่ควรพัฒนามาจัดประชุมระดมความคิดเห็น
จากคณะครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาเพือ่ วางแผนรว่ มกันกำหนดแนวทางพัฒนาคุณภาพการจัดการ
เรยี นรใู้ หค้ รอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน และจัดกิจกรรมโครงการต่างๆ เพอื่ เสริมสรา้ งคุณลักษณะท่ีพึง
ประสงค์ของเด็ก ตามมาตรฐานการศึกษาของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีการปรับแผนพัฒนา
คุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี ใหส้ อดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา
และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้านวิชาการ หัวหน้าสายชั้นเพื่อกำกับ

30

ติดตาม นิเทศ ในระดับสายชั้น จัดสรรงบประมาณ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน โดยสาย
บริหารด้านวิชาการของโรงเรียนอีกคณะหนึ่ง และสรุปผลการดำเนินงานโดยมีการสำรวจความพึง
พอใจผลการพัฒนาคุณภาพของเด็ก จากผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ เด็ก ผู้ปกครอง และคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา เพื่อใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลในการพัฒนาคณุ ภาพของเด็ก
ประเดน็ ที่ 1.1 มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกายแขง็ แรง มีสขุ นสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนได้

โรงเรียนบ้านวาวีได้มีกระบวนการพัฒนาให้เด็กมีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์กันได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพ
อนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยง
สภาวะท่ีเสย่ี งต่อโรค ส่งิ เสพตดิ และระวงั ภยั จากบคุ คล สง่ิ แวดลอ้ ม และสถานการณท์ ี่เสี่ยงอนั ตราย

กจิ กรรมและโครงการทไ่ี ด้ดำเนินการ มดี งั น้ี
การตรวจสุขภาพ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ตรวจสุขภาพฟัน มีอาหารกลางวันให้กับเด็ก จัด
อาหารเสริม ดื่มนมทุกวัน และการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน 6 กิจกรรมหลัก ได้แก่
กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจงั หวะ กจิ กรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ กิจกรรม
กลางแจง้ VDO กิจกรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ และข้อสอบ มีการจัดกิจกรรมกฬี าสี มกี ารประเมินผล
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล ระดับปฐมวัย โครงการเพื่อสนับสนุน คือ โครงการส่งเสริม
พัฒนาการเด็กปฐมวัย, โครงการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
ปฐมวัย, โครงการพัฒนาผู้เรียน (ห้องเรียนเสริมพัฒนาการการเรียนการสอน) ปฐมวัย และโครงการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับปฐมวัย
ประเด็นท่ี 1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้
โรงเรยี นบา้ นวาวีมีกระบวนการพัฒนาให้เด็กร่าเรงิ แจม่ ใส สามารถแสดงอารมณ์ ความร้สู ึก
ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมตามวัย กล้าพูด กล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสมตาม
สถานการณ์ สนใจศิลปะ-ดนตรี มีความสุขและแสดงทา่ ทาง/ เคลื่อนไหว ประกอบเพลง จังหวะ และ
ดนตรีได้ และสร้างผลงานศิลปะ ได้เหมาะสมตามวัย มีความเมตตา กรุณา มีน้ำใจ ช่วยเหลือและ
แบ่งปัน พัฒนาให้เด็กทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จได้ด้วยตนเอง รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทน
ในการรอคอย และรู้จักอดกลั้นต่อสิ่งเร้าใจที่มากระทบหรือพบเห็น ปลูกฝังให้เด็กมีจิตสำนึกและ
ค่านิยมที่ดี เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษา
กำหนด ยอมรบั และพอใจในความสามารถแลพผลงานของตนเองและผู้อนื่

31

กิจกรรมและโครงการทไ่ี ด้ดำเนินการ มีดังน้ี
การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล ระดับปฐมวัย การสังเกตพฤติกรรมของ
เด็กด้านอารมณ์และจิตใจ กิจกรรมทำความดี กิจกรรมโฮมรูม โครงการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน
ปฐมวัย โครงการจัดซื้อวัสดุการผลิตสื่อปฐมวัย โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โครงการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย โครงการสรา้ ง ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาเปน็
สังคมแหง่ การเรียนรู้โครงการปรบั ปรุงพัฒนาหลักสูตรปฐมวัย โครงการพัฒนาผู้เรียน (ห้องเรียนเสริม
พัฒนาการการเรยี นการสอน) ปฐมวัย โครงการวันสำคัญ และโครงการบ้านนักวทิ ยยาศาสตรน์ ้อย
ประเดน็ ที่ 1.3 มีพัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ทีด่ ขี องสงั คม
โรงเรียนบ้านวาวีมีกระบวนการพัฒนาให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวันได้เหมาะสม มีวินัยในตนเอง เก็บของเล่น ของใช้เข้าที่อย่างเรียบร้อยดว้ ยตนเอง ใช้สิ่งของ
เคร่ืองใชอ้ ย่างประหยดั และพอเพียง ดแู ลรักษาธรรมชาติส่ิงแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
รวมทั้งทิ้งขยะได้ถูกที่ด้วยตนเอง สามารถปฏิบัติตนตามมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ เช่น
การไหว้ การยิม้ การทักทาย และมีสมั มาคารวะกับผูใ้ หญ่ สามารถเลน่ หรือทำงานรว่ มกับผูอ้ ่ืน ยอมรบั
และเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ สามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผู้ตามได้เหมาะสมกับ
สถานการณ์
กิจกรรมและโครงการที่ได้ดำเนินการ มดี งั น้ี
การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล ระดับปฐมวัย การสังเกตเกี่ยวกับ
พฒั นาการด้านสังคมของเด็ก กจิ กรรมกีฬาสี การจัดประสบการณ์ การเยี่ยมบา้ นนักเรยี นรายบุคคล การ
จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน 6 กิจกรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรม
สรา้ งสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ กจิ กรรมกลางแจ้ง VDO กจิ กรรมเคล่อื นไหวและ
จังหวะ และข้อสอบ โครงการวันสำคัญ โครงการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอนปฐมวัย โครงการจัดซ้ือ
วัสดุการผลิตสื่อปฐมวัย โครงการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์เครื่องใช้ปฐมวยั โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ปฐมวัย โครงการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดับปฐมวยั โครงการสรา้ ง ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้
สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ปฐมวัย โครงการพัฒนาผู้เรียน (ห้องเรียนเสริมพัฒนาการการ
เรียนการสอน) ปฐมวัย
ประเด็นที่ 1.4 มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคดิ พืน้ ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้
โรงเรียนบ้านวาวีมีกระบวนการพัฒนาให้เด็กสามารถสนทนาโต้ตอบ และเล่าเรื่องให้ผู้อื่น
เขา้ ใจได้ สามารถจบั คเู่ ปรียบเทยี บ จำแนก จดั กลุ่ม และเรียงลำดบั เหตกุ ารณ์ได้ สามารถต้งั คำถามใน
สิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และค้นหาคำตอบโดยใช้วิธีการที่หลากหลายด้วยตนเองได้ สามารถระบุ
ปัญหา สร้างทางเลือก และเลือกวิธีแก้ปัญหาได้ สามารถอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นใน
สถานการณห์ รือการกระทำได้ มีความสามารถในการคิดรวบยอด และคิดเชิงเหตุผล ทางคณิตศาสตร์

32

และวิทยาศาสตร์ สามารถสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ
การเคลื่อนไหว และท่าทางการเล่นอิสระ สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีเช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้อง
ดจิ ติ อลเปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้

กิจกรรมและโครงการท่ไี ด้ดำเนนิ การ มีดงั นี้
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียน 6 กิจกรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและ
จังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง VDO
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ และข้อสอบ การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล
ระดับปฐมวัย การประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย โครงการส่งเสริมทักษะการอ่านออก
เขียนได้ โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ โครงการการ
นเิ ทศการอา่ นออกเขียนได้ (นวัตกรรมอ่านออกเขียนได้ By teacher’s team) และโครงการวนั สำคญั

ผลการดำเนนิ การ/ การบรรลผุ ลสำเรจ็
ประเด็นที่ 1.1 มพี ัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสยั ทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนได้

เดก็ รอ้ ยละ 95.29 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภัย
ของตนเองได้ อยู่ในระดับดีขึ้นไป ตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 เดก็ มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคลอื่ นไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตวั ไดด้ ี ใช้มอื และ
ตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตาม
ข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล
ส่งิ แวดล้อม และสถานการณ์ทเ่ี สยี่ งอันตรายได้
ประเดน็ ที่ 1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้

เดก็ รอ้ ยละ 91.40 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้อยู่
ในระดับดีขึ้นไป ตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เด็กร่าเริง
แจม่ ใส แสดงอารมณค์ วามรู้สกึ ได้เหมาะสม รจู้ กั ยับย้งั ชงั่ ใจ อดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจใน
ความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่นมีจิตสำนึกและค่านิยมท่ีดี มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้า
แสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม
และจริยธรรม
ประเดน็ ท่ี 1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลือตนเองและเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสังคม

เด็กร้อยละ 95.08 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เด็กช่วยเหลือตนเองในการ
ปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมใน
และนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย การไหว้ การยมิ้ ทกั ทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่

33

ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ
ศาสนา วฒั นธรรม เลน่ และทำงานรว่ มกับผ้อู ื่นได้ แกไ้ ขขอ้ ขดั แยง้ โดยปราศจากการใชค้ วามรนุ แรง
ประเด็นที่ 1.4 มพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคิดพืน้ ฐานและแสวงหาความรู้ได้

เด็กร้อยละ 88.44 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และ
แสวงหาความรู้ได้ อยู่ในระดับดีขึน้ ไป ตามเกณฑ์การประเมินหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช
2560 เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตั้งคาถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และ
พยายามค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและเล่าเร่ืองท่ีตนเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั มีความสามารถในการ
คิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถ
ตัดสินใจในเรื่องง่ายๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ งานศิลปะ การเคลื่อนไหว
ท่าทาง การเล่นอิสระ และใช้สื่อเทคโนโลยี แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นเครื่องมือในการ
เรยี นรแู้ ละแสวงหาความรู้ได้

โดยมขี ้อมูล/หลักฐานเชิงประจักท่สี นบั สนนุ มีดังนี้

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก : ระดบั ยอดเยี่ยม

ประเดน็ หลกั ฐานตามตัวช้ีวดั

ประเด็นที่ 1.1 : มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง - แบบบนั ทึกนำ้ หนัก สว่ นสูง

มสี ุขนสิ ยั ที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนได้ - แบบบันทกึ การตรวจสุขภาพ

ระดับคุณภาพ : ระดบั ยอดเยย่ี ม - แบบบนั ทกึ การแปรงฟัน

ประเด็นที่ 1.2 : มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ - แบบบนั ทกึ การดม่ื นม
- 6 กจิ กรรมหลัก ได้แก่ กิจกรรมกลางแจ้ง
ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
- แบบสรุปผลการสังเกตพฤติกรรมของเด็กด้าน
ระดับคณุ ภาพ : ระดับยอดเยีย่ ม
ประเด็นท่ี 1.3 : มีพัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยเหลือ อารมณแ์ ละจิตใจ
- กิจกรรมบันทึกความดี
ตนเองและเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม
- โครงการวนั สำคญั
ระดบั คณุ ภาพ : ระดบั ยอดเย่ยี ม
ประเด็นท่ี 1.4 : มีพัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่อื สาร - แบบบนั ทึกกจิ กรรมโฮมรูม
ได้ มีทักษะการคดิ พ้ืนฐานและแสวงหาความรู้ได้ - แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
รายบุคคลระดับปฐมวยั
ระดบั คณุ ภาพ : ระดับยอดเย่ียม
- กจิ กรรมกฬี าสี

- ผลงานนกั เรียน

- บันทึกแผนการจดั ประสบการณ์

34

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็ : ระดบั ยอดเย่ียม

ประเดน็ หลักฐานตามตัวช้ีวดั

- แบบบันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียนรายบุคคลระดับ

ปฐมวัย

- โครงการสง่ เสริมทกั ษะการอ่านออกเขยี นได้

- โครงการการนเิ ทศการอา่ นออกเขียนได้ (นวัตกรรม

อา่ นออกเขียนได้ By teacher’s team)

จดุ เดน่
1. เดก็ มสี ขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรงสามารถเคล่อื นไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่ว
2. เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้จักดูแลรักษาสุขภาพสุขอนามัยส่วนตน

เลือกรับประทานอาหารท่มี ีประโยชน์
3. เด็กมีความมั่นใจ กล้าคิด และกล้าแสดงออกสามารถแสดงออกทางอารมณ์ได้

เหมาะสมกับวยั

จดุ ทีค่ วรพัฒนา
1. ส่งเสริมให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจ

หรอื สงสยั และพยายามค้นหาคำตอบ
2. สง่ เสรมิ ให้เดก็ อ่านนทิ านและเล่าเรอื่ งทีต่ นเองอา่ นไดเ้ หมาะสมกับวัย
3. ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณติ ศาสตรแ์ ละ

วทิ ยาศาสตร์ การคดิ แกป้ ัญหาและสามารถตดั สินใจในเรอ่ื งง่ายๆ ได้
4. ส่งเสริมให้เด็กใช้สื่อเทคโนโลยี แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอลเป็นเครื่องมือในการ

เรียนรู้และแสวงหาความรู้

โรงเรยี นมแี ผนงาน และแนวทางการพัฒนาเพื่อใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สูงขน้ึ ดังน้ี
1. จัดกิจกรรมหรือโครงการที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กได้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน อย่างเหมาะสม

ชว่ ยเหลือตนเอง มีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐานและแสวงหาความรไู้ ด้
2. สง่ เสรมิ การจัดประสบการณ์ 6 กจิ กรรมหลักให้แก่เด็ก

35

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ค่าเป้าหมาย ผลการ ระดับ
แผนการดำเนนิ การ/ การตั้งเป้าหมาย ปีการศกึ ษา 2563 ประเมิน คณุ ภาพ
100.00 ยอดเยี่ยม
ประเดน็ พจิ ารณา ร้อยละ 90.00 ขนึ้ ไป
ยอดเยย่ี ม 80.00 ดีเลิศ
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการท้ัง 4 100.00 ยอดเยย่ี ม
ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ รอ้ ยละ 80.00 ขึ้นไป
2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชนั้ เรียน ดเี ลิศ 90.00 ยอดเยย่ี ม

2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชีย่ วชาญด้านการจดั รอ้ ยละ 90.00 ขึ้นไป 90.00 ยอดเยีย่ ม
ประสบการณ์ ยอดเยี่ยม
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอื่ เพ่ือการเรียนรู้ 100.00 ยอดเยี่ยม
อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ รอ้ ยละ 90.00 ขึน้ ไป
2.5 ให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยแี ละสือ่ การเรยี นรู้ ยอดเยี่ยม 93.33 ยอดเย่ียม
เพื่อสนับสนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ รอ้ ยละ 90.00 ข้นึ ไป
ผเู้ กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ่วนร่วม ยอดเยย่ี ม

สรปุ ผลการประเมิน รอ้ ยละ 90.00 ขึ้นไป
ยอดเยย่ี ม

รอ้ ยละ 86.00 ขึ้นไป
ยอดเย่ียม

กระบวนการพัฒนา/ วิธดี ำเนินการ
โรงเรียนบ้านวาวี แบ่งโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริหาร

งานวิชาการ ด้านบริหารงานบุคคล ด้านบริหารงบประมาณ และด้านบริหารงานทั่วไป โดยผู้บริหาร
นำเอาหลักการบรหิ ารและเทคนคิ การบรหิ ารแบบการพฒั นาตามกระบวนการ PDCA

มีการพัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารจัดการศึกษา โดยได้ดำเนนิ การวิเคราะห์สภาพปัญหา
ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมิ น
การจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรปู การศึกษา จดั ทำโครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย
เพื่อให้สถานศึกษามีหลักสูตรที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ออกแบบ
การจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัย เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ
มีกิจกรรมที่พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อส่งเสริมให้ครูและบุคลากรมีความเชี่ยวชาญใน
การจัดประสบการณ์ จัดประชุมระดมความคิดเห็น จากคณะครูและบุคลากรในสถานศึกษา
เพ่ือวางแผนร่วมกนั กำหนดเปา้ หมาย ปรบั วสิ ยั ทัศน์ กำหนดพนั ธกิจ กลยทุ ธ์ ในการจัดการศึกษาของ

36

สถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเด็ก มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา
ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ
ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงานโดยมีการสำรวจความพึงพอใจ
ผลการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ เด็ก ผู้ปกครอง ชุมชน และ
คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน เพ่อื ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลในการบรหิ ารจัดการศึกษา
ประเดน็ ที่ 2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทัง้ 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถิ่น

โรงเรียนบ้านวาวีมีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยและบริบทของท้องถิ่น โดยโรงเรียนมีการออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อม
และจดั ครใู หเ้ พยี งพอกับชัน้ เรยี น เนน้ การเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมอื ปฏบิ ตั ิ โดยเป็นหลกั สูตรที่
มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกายอารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขใน
การเรียนรู้ ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และ
สอดคลอ้ งกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชมุ ชน และท้องถิ่น จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่าง
ปลอดภัยและเพียงพอ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
สำหรับครู มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ ก่ยี วข้องทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม

กจิ กรรมและโครงการทไ่ี ด้ดำเนนิ การ มดี ังน้ี
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล ระดับปฐมวัย และผลงานนักเรียน และการจัด
ประสบการณต์ ามหลักสตู รสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย
ประเด็นที่ 2.2 จดั ครูใหเ้ พยี งพอกับช้นั เรยี น
กจิ กรรมและโครงการที่ได้ดำเนนิ การ มดี ังน้ี
มีการดำเนินการจัดครูให้เหมาะสมกับภาระกิจการเรียนการสอน ครูมีวุฒิทางการศึกษา
ระดับปริญญาตรีขึ้นไปสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หรือครูมีวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา
อน่ื โดยไดร้ บั การสนับสนุนให้ได้รบั การพัฒนา/อบรมทางการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเน่ือง สถานศึกษา
จัดใหม้ ีครผู สู้ อนปฐมวัยเพียงพอกบั ชั้นเรยี น
ประเด็นที่ 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์
โรงเรียนบ้านวาวี มีการดำเนินการส่งเสริมให้ครูมีทักษะในการจัดประสบการณ์และการ
ประเมินพัฒนาการเด็ก อีกทั้งใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบและจัดกิจกรรมได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ส่งเสริมใหค้ รูมีการสังเกตและประเมนิ เด็กเป็นรายบุคคล สง่ เสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดี
กับเด็กและครอบครัวส่งเสริมให้ครูพัฒนาการจัดประสบการณ์เด็กด้วยการใช้ชุมชน แห่งการเรียนรู้
ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) เป็นวิธกี ารในการพัฒนา

37

กจิ กรรมและโครงการท่ไี ด้ดำเนินการ มีดังน้ี
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการศึกษา มีการจัดให้ครูและบุคลากรในโรงเรียน
เข้ารับการอบรม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครู (PLC) ระดับ
ปฐมวัย และได้ดำเนินการร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ มีการจัด
โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อดแู ล ตดิ ตาม ช่วยแหลอื นักเรยี น ทุกคน ทกุ ระดบั ชน้ั
ประเดน็ ท่ี 2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพือ่ การเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ
โรงเรียนบ้านวาวี มีการดำเนินการจัดสภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกห้องเรียนท่ี
คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และกลุ่มเล่นแบบร่วมมือ
รว่ มใจ มีมมุ ประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้
กจิ กรรมและโครงการทไ่ี ดด้ ำเนินการ มีดังน้ี
การจัดบรรยากาศการจดั สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนและภายนอกหอ้ งเรียน การจัดกิจกรรม
ของเด็กที่เกิดการเรียนรู้แบบรายบุคคล และการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นตามมุมต่าง ๆ เช่น มุมรักการ
อ่าน มุมศิลปะแบบกลุ่ม โครงการห้องเรียนคุณภาพ โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้และ
การบริการเพื่อ ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มศักยภาพ โครงการส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือ
การเรียนรู้
ประเด็นท่ี 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
สำหรับครู
โรงเรียนบ้านวาวี ได้อำนวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ
อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครูอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับบริบทของ
สถานศกึ ษา
กจิ กรรมและโครงการทไี่ ดด้ ำเนินการ มีดังนี้
การจัดให้มีการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต ผ่านโทรทัศน์เพื่อให้เด็กได้
ศึกษาข้อมูลทางโลกออนไลน์ จัดให้มีอุปกรณ์ของเล่นของใช้ เครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้
เพียงพอกับเด็กโดยจัดให้เหมาะสม สะอาดปลอดภัย ให้มีมุมหนังสอื ที่จำเป็นต่อการพัฒนาเด็ก จัดให้
มีการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาครู ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ส่ือทีม่ คี วามปลอดภยั ในการจดั ประสบการณ์ให้
สอดคล้องกับพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน โครงการห้องเรียนคุณภาพ โครงการพัฒนาสื่อและนวัตกรรม
ทางการศกึ ษา
ประเดน็ ท่ี 2.6 มีระบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม
โรงเรียนบ้านวาวี มีการดำเนินการจัดให้มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่
เหมาะสมและต่อเนื่องมีการชี้แนะระหว่างการปฏิบัติงาน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานของ
สถานศึกษาบูรณาการการปฏิบัติงานและเปิดโอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วมจนเป็นแบบอย่าง

38

ที่ดี และได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง นิเทศภายในสถานศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ ง
เพ่ือการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

กจิ กรรมและโครงการที่ได้ดำเนินการ มดี งั น้ี
โครงการนเิ ทศชัน้ เรียน จดั ทำแผ่นพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี
เพื่อนำไปพฒั นาคุณภาพ โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น เพื่อดูแล ตดิ ตาม ช่วยแหลอื นักเรียน
ทุกคน โครงการนิเทศภายในสถานศึกษา

ผลการดำเนนิ การ/ การบรรลผุ ลสำเรจ็
ประเดน็ ที่ 2.1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่นิ

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เน้น
การเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก
สงู กวา่ ค่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษาได้กำหนด รอ้ ยละ 100 อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเย่ยี ม
ประเด็นที่ 2.2 จดั ครใู หเ้ พยี งพอกับชั้นเรยี น

สถานศึกษามีจัดครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัยได้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการ
สอนอย่างพอเพียงกับชนั้ เรียนตามเกณฑ์ที่ ก.ค.ศ. กำหนด สงู กว่าค่าเป้าหมายทส่ี ถานศึกษาได้กำหนด
ร้อยละ 80 อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ
ประเดน็ ท่ี 2.3 สง่ เสริมให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์

สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพเด็กเป็นรายบุคคล ตรงความต้องการของครูและสถานศึกษา สูงกว่าค่าเป้าหมายที่
สถานศกึ ษาไดก้ ำหนด ร้อยละ 100 อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
ประเด็นท่ี 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพื่อการเรยี นรอู้ ยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ

สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและพอเพียง อยู่ใน
ระดบั คณุ ภาพยอดเย่ียม สง่ ผลให้ผลการดำเนินการสงู กวา่ คา่ เป้าหมายที่สถานศกึ ษากำหนด สงู กวา่ ค่า
เป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษาไดก้ ำหนด รอ้ ยละ 90 อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม
ประเด็นที่ 2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
สำหรับครู

สถานศึกษาให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์สำหรับครู อยู่ในระดับคณุ ภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้ผลการดำเนินการสูงกว่าคำเป้าหมาย
ที่สถานศึกษากำหนด สูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาได้กำหนด ร้อยละ 90 อยู่ในระดับคุณภาพ
ยอดเยย่ี ม

39

ประเดน็ ท่ี 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพที่เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู กี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
สถานศึกษามีระบบบริหารคุณภาพเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม อยู่ในระดับ

คุณภาพยอดเยี่ยม ส่งผลให้ผลการดำเนินการสูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด สูงกว่าค่า
เปา้ หมายท่ีสถานศึกษาไดก้ ำหนด รอ้ ยละ 100 อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยย่ี ม

หลกั ฐานเชิงประจกั ท่ีสนบั สนุน มีดงั น้ี

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ าร และการจัดการ: ระดบั ยอดเยยี่ ม

ประเดน็ หลักฐานตามตัวชี้วดั

ประเด็นที่ 2.1 : มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง - หลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย โรงเรียน

4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถนิ่ บา้ นวาวี พทุ ธศกั ราช 2563

ระดับคุณภาพ : ระดับยอดเยยี่ ม - แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

ประเด็นท่ี 2.2 : จดั ครูให้เพียงพอกับชน้ั เรยี น รายบุคคล ระดับปฐมวยั
ระดบั คุณภาพ : ระดับดเี ลิศ - เอกสารสรปุ การเข้ารับการอบรม / สมั มนา
- เอกสารสรปุ การปฏบิ ตั ิงานครู
ประเด็นที่ 2.3 : สง่ เสริมให้ครูมคี วามเชี่ยวชาญดา้ น - เอกสารสรปุ การประเมนิ พัฒนาการนกั เรยี น
- เอกสารสรปุ บันทึกการเยี่ยมบ้าน
การจดั ประสบการณ์ - ภาพบรรยากาศการจัดสภาพแวดล้อมภายใน
ระดับคณุ ภาพ : ระดบั ยอดเยี่ยม ห้องเรยี นและภายนอกห้องเรียน
- ภาพบรรยากาศการจัดกิจกรรมของเด็กที่เกิดการ
ประเดน็ ท่ี 2.4 : จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพ่อื การ เรยี นร้แู บบรายบคุ คลและแบบกล่มุ
- ภาพบรรยากาศที่เด็กได้เล่นตามมุมต่างๆ เช่น มุม
เรยี นร้อู ย่างปลอดภยั และเพียงพอ รักการอ่าน มุมศลิ ปะ
ระดับคุณภาพ : ระดับยอดเยีย่ ม

ประเดน็ ท่ี 2.5 : ให้บริการส่ือเทคโนโลยแี ละสื่อการ

เรียนรเู้ พอื่ สนับสนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู
ระดับคณุ ภาพ : ระดบั ยอดเยี่ยม

ประเดน็ ท่ี 2.6 : มีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาส - โครงการห้องเรยี นคุณภาพ

ให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม - ปฏทิ ินการตรวจประเมนิ คณุ ภาพภายใน
ระดับคณุ ภาพ : ระดบั ยอดเย่ียม - รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR)

- โครงการพัฒนาส่ือและนวัตกรรมทางการศึกษา

- บันทกึ การประชมุ

- ปฏทิ ินปฏบิ ตั งิ าน

- โครงการนเิ ทศช้นั เรียน

40

จดุ เด่น
1. มีหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของทอ้ งถ่ิน
2. มีการจัดสภาพห้องเรียนที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ของเด็ก
3. ครูและบุคลากรของโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้เป็นครูมืออาชีพจากการอบรม

เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร อกี ทงั้ มีการนิเทศภายในเพอื่ การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนอยสู่ มำ่ เสมอ
4. มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนให้สอดคล้องกับ

วัตถปุ ระสงคก์ ารจดั การเรยี นรูอ้ ยู่เสมอ

จุดที่ควรพฒั นา
1. โรงเรียนบ้านวาวีมีสิ่งอำนวยความสะดวก เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ยังครบถ้วนและ

เพียงพอต่อนักเรียน ควรมีการจัดสิ่งใหม่ๆ ให้ครบทุกห้องเรียน เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้
และพัฒนาไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ

2. ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง ควรพัฒนาปรับปรุง
การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ ติดตามตรวจสอบ และประเมินผล
การดำเนินงานอย่างตอ่ เนอ่ื ง

โรงเรียนมีแผนงาน และแนวทางการพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี ูงขน้ึ ดังน้ี
แผนปฏิบัติงานที่ 1 จัดทำโครงการ กิจกรรม และเปิดโอกาสให้ครูได้เข้าร่วมอบรมพัฒนา

ความรเู้ พื่อพัฒนาครู ในด้านการใช้ส่อื และเทคโนโลยใี หมๆ่ อยู่เสมอ
แผนปฏิบัติงานที่ 2 จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของ

นักเรียน รวมถึงระบบสุขาภิบาล เพื่ออำนวยความสะดวก ความสะอาด และความปลอดภัยของ
นกั เรยี น

41

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคญั
แผนการดำเนนิ การ/ การตั้งเป้าหมาย

ประเด็นพิจารณา ค่าเปา้ หมายปี ผลการ ระดับ
การศกึ ษา 2563 ประเมิน คุณภาพ
98.97 ยอดเยย่ี ม
3.1 จัดประสบการณ์ท่ีสง่ เสริมใหเ้ ด็กมี ร้อยละ 90.00 ข้ึนไป 100.00 ยอดเยี่ยม
90.00 ยอดเยี่ยม
พฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ ยอดเยย่ี ม 95.50 ยอดเย่ยี ม

3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร้อยละ 90.00 ขนึ้ ไป 96.12 ยอดเยี่ยม
เล่น และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสุข ยอดเยีย่ ม
3.3 จัดบรรยากาศท่เี อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใชส้ อื่
และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวยั ร้อยละ 90.00 ข้ึนไป
ยอดเยี่ยม

3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ร้อยละ 90.00 ขน้ึ ไป
และนำผลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ไป ยอดเยีย่ ม
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
รอ้ ยละ 90.00 ขน้ึ ไป
สรุปผลการประเมิน ยอดเย่ียม

กระบวนการพัฒนา/ วธิ ดี ำเนนิ การ
โรงเรียนบ้านวาวีได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้ครูได้จัด

ประสบการณ์ท่ีเนน้ เด็กเป็นสำคญั โดยการจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพ มีการวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล จัดทำแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์
มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านผ่านกิจกรรมต่างๆ ท่ี
หลากหลาย จัดทำโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เพื่อสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง
ตอบสนองตอ่ วิธีการเรยี นรู้ของเดก็ จดั ทำโครงการพัฒนาหอ้ งเรยี นคุณภาพเพ่อื จดั บรรยากาศท่ีเอ้ือต่อ
การเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีการประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วย
วิธีการที่หลากหลาย วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
และนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มี
ประสทิ ธิภาพ
ประเด็นท่ี 3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ
ครผู ้สู อนมีการจดั ประสบการณท์ ่ีสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ

42

กิจกรรมและโครงการท่ไี ด้ดำเนนิ การ มีดังนี้
ครูผสู้ อนได้จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา
ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล
จัดทำแผนการจัดประสบการณ์ จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ในหลักสูตร
สถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ
ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว ครูผู้สอนมี
แผนงาน/โครงการ/แนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาผูเ้ รยี น ครูวเิ คราะหข์ ้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล ได้
สอดคล้องกับมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาครูจัดทำแผนจัด
ประสบการณ์ ได้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา ครูจัด
ประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่าง
สมดลุ
กจิ กรรมและโครงการท่ีได้ดำเนนิ การ มีดงั น้ี
การวิเคราะหข์ ้อมูลเด็กเปน็ รายบุคคล เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ในการจดั ประสบการณ์/กิจกรรม และ
ช่วยเหลืออย่างเหมาะสมกับเด็ก ครูมีแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ
โดยความร่วมมือของพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง และเป็นแบบอย่างที่ดี โครงการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย โครงการทัศนศึกษา โครงการพัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย และการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน โครงการส่งเสริม
พัฒนาการท้งั 4 ดา้ นของเดก็ ปฐมวัย
ประเดน็ ที่ 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบตั อิ ย่างมีความสุข
ครูผู้สอนมีการจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทำ
กิจกรรมอย่างอสิ ระ ตามความตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธกี ารเรียนรู้ของเด็ก
เป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบ จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ
กระทำ และสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง
กิจกรรมและโครงการที่ได้ดำเนินการ มดี งั น้ี
กิจกกรมท่ีสร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ลง
มือทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ระดับ
ปฐมวัย โครงการทัศนศึกษา โครงการพัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์
น้อย ประเทศไทย และการจดั ทำวจิ ัยในชัน้ เรยี นโครงการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ นของเด็กปฐมวยั

43

ประเดน็ ที่ 3.3 จัดบรรยากาศท่ีเออื้ ตอ่ การเรียนรู้ ใช้สือ่ และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกับวยั
ครูผสู้ อนมกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี น โดยเนน้ การสรา้ งปฏิสมั พันธ์เชงิ บวก ให้เดก็ รักครู ครู

รักเดก็ เดก็ รักท่ีจะเรียนรู้ และสามารถเรยี นรูร้ ่วมกันอย่างมีความสุข โดยมีการดำเนินงานจัดห้องเรียน
ให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุมประสบกรณ์และการจัด
กิจกรรม เดก็ มีส่วนร่วม ในการจัดสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรยี น เช่น ป้ายนเิ ทศ การดแู ลตน้ ไม้ เป็นต้น

กิจกรรมและโครงการทไ่ี ดด้ ำเนนิ การ มดี งั นี้
ครูจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย อากาศถ่ายเท
สะดวก เด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การจัดมุมต่าง ๆ การเก็บดูแลรักษาของ
เล่น สิ่งของเครื่องใช้ ให้เป็นระเบียบสวยงาม ครูใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความ
สนใจ ตามศักยภาพการเรยี นร้ขู องเด็ก
ประเด็นท่ี 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป
ปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก
ครูมีการประเมนิ พัฒนาการเดก็ จากกิจกรรมและกจิ วัตรประจำวนั ดว้ ยเครื่องมือและวธิ ีการ
ที่หลากหลาย วิเคราะห์ผล การประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม และ
นำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มี
ประสทิ ธิภาพ
กจิ กรรมและโครงการทีไ่ ด้ดำเนินการ มดี งั นี้
ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวันด้วยเครื่องมือและวิธีการท่ี
หลากหลาย ครูมีการวิเคราะห์ผลของการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วน
ร่วม ครูมีการนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัด
ประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง และโครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กจิ กรรมการเยี่ยมบา้ นนักเรยี น

ผลการดำเนินการ/ การบรรลุผลสำเรจ็
ประเด็นที่ 3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ

ครูผสู้ อนรอ้ ยละ 98.97 มกี ารวิเคราะห์เด็กเป็นรายบคุ คล จดั ทำแผน่ การจดั ประสบการณ์
จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริม
พัฒนาการเด็กครบทุกต้านอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป ส่งผลให้แด็กมีพัฒนาการทุกต้านอย่างสมดุลเต็ม
ศักยภาพ มีแผนการจัตประสบการณ์ แบบวเิ คราะห์เดก็ เปน็ รายบุคคล และ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน
และการประเมินตนเอง สงู กว่าค่าเป้าหมายทส่ี ถานศึกษาไดก้ ำหนด อยใู่ นระดบั คุณภาพ ยอดเยีย่ ม

44

ประเดน็ ที่ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัตอิ ยา่ งมคี วามสขุ
ครูผู้สอนร้อยละ 100.00 จัดประสบการณ์ที่สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง

ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็ก มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้เด็กได้เลือกที่จะเรียนรู้ ลงมือ
กระทำและสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป ส่งผลให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่
และปฏิบัติอย่างมีความสุขจากรายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง แผนการจัด
ประสบการณ์ โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยและกิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ สูงกว่าค่า
เป้าหมายท่ีสถานศึกษาไดก้ ำหนด อยใู่ นระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม
ประเดน็ ท่ี 3.3 จัดบรรยากาศที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วยั

ครผู ูส้ อนร้อยละ 90.00 จัดบรรยากาศทีเ่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ มพี ้ืนทเี่ พียงพอ เหมาะสมต่อการ
จัดกิจกรรมโดยมีมุมประสบการณ์ มีสื่อและเทคโนโลยีที่หลากหลายเหมาะสมกับวัยของเด็ก จัด
สิ่งแวดล้อมทั้งในและนอกห้องเรียนที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการครอบคลุม
ทุกด้าน มีความปลอดภัยโดยมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง อยู่ในระดับ ดีขึ้นไป จากรายงานผลการ
ปฏิบัติงานและการประเมนิ ตนเอง แผนการจดั ประสบการณ์ โครงกรพัฒนาห้องเรียนคุณภาพ บันทึก
กรนิเทศภายใน และแบบสรุปห้องเรียนคุณภาพ ส่งผลให้เด็กได้รับการจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการ
เรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ สูงกว่าค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาได้กำหนด อยู่ในระดับ
คุณภาพ ยอดเย่ียม
ประเด็นที่ 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก

ครูผสู้ อนร้อยละ 95.50 มีการประเมินพัฒนาการเด็กจากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
และการจัดกจิ วตั รประจำวัน ดว้ ยเครอื่ งมือและวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม
การสัมภาษณ์การสำรวจ และกรวิเคราะห์ผลการพฒั นาเด็ก โดยใหผ้ ปู้ กครองมีส่วนร่วม เพอ่ื นำผล
การประเมนิ ไปพฒั นาศักยภาพของเด็กและพฒั นาการจัดประสบกรณ์การเรยี นรู้ อยู่ในระดบั ดีข้นึ ไป
จากรายงานผลการปฏิบัตงิ านและการประเมนิ ตนเอง แผนการจดั ประสบการณ์ บ่นั ทึกการนิเทศ
ภายใน ส่งผลให้เด็กได้รับการประเมินพัฒนาตามสภาพจรงิ สูงกว่าค่าเป้าหมายทสี่ ถานศึกษาได้
กำหนด อยู่ในระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม

45

หลักฐานเชิงประจักท่ีสนับสนุน มดี งั นี้

มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเป็นสำคญั : ระดบั ยอดเยี่ยม

ประเดน็ หลักฐานตามตัวชี้วัด

ประเด็นที่ 3.1 : จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี - แผนการจดั ประสบการณ์

พฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพ - สรุปผลการประเมินพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น

ระดับคณุ ภาพ : ระดบั ยอดเยย่ี ม - แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

รายบคุ คล ระดับปฐมวยั

ประเด็นที่ 3.2 : สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ - โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น

ตรง เล่น และปฏบิ ัตอิ ย่างมคี วามสขุ - สรปุ ผล 6 กจิ กรรมหลกั

ระดบั คณุ ภาพ : ระดับยอดเยี่ยม - ผลงานนักเรียน

ประเด็นท่ี 3.3 : จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ - สรุปการประเมินพัฒนาการของเด็ก

ใช้สื่อ และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับวยั - โครงการการนเิ ทศการอ่านออกเขยี นได้ (นวตั กรรม
ระดบั คณุ ภาพ : ระดับยอดเยย่ี ม การอา่ นออกเขยี นได้ By teacher’s team)

ประเด็นท่ี 3.4 : ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพ

จรงิ และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป

ปรับปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
ระดับคุณภาพ : ระดับยอดเยี่ยม

จุดเดน่
1. ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดประสบการณ์ สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้

ท่หี ลากหลายสอดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
2. มีระบบการนิเทศภายในเพ่ือพัฒนาตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนอยู่อย่างสม่ำเสมอ
3. มีการผลิตสื่อและนวัตกรรมสร้างสรรค์ระดับปฐมวัย มาใช้ในการจัดประสบการณ์เพ่ือ

ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดการเรียนรู้ทำให้เด็กมีพัฒนาการ
ท่ดี ีอย่างสมดลุ อย่างรอบดา้ น

จดุ ท่คี วรพัฒนา
นักเรียนยังขาดเครื่องเล่นสนาม ที่มีส่วนสำคัญในการเสริมสร้างสุขภาพและพัฒนา

ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อใหญ่ อีกทั้งเครื่องเล่นสนามมีจำนวนไม่เพียงพอต่อการเล่นและเรียนรู้
ทำใหน้ กั เรียนขาดโอกาสในการทำกิจกรรมกลางแจง้ ซ่ึงเปน็ หน่งึ ในกิจกรรมหลกั ของกิจวัตรประจำวัน
ของนักเรยี นระดบั ปฐมวัย

46

โรงเรยี นมีแผนงาน และแนวทางการพฒั นาเพ่ือให้ได้มาตรฐานทส่ี งู ขึน้ ดังนี้
แผนปฏิบัติงานที่ 1 จัดกิจกรรมหรือโครงการที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กได้มีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน

อยา่ งเหมาะสม ชว่ ยเหลอื ตนเอง มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรู้ได้
แผนปฏิบัติงานที่ 2 จัดทำโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของ

นักเรียน รวมถึงระบบสุขาภิบาล เพื่ออำนวยความสะดวก ความสะอาด และความปลอดภัยของ
นักเรียน

สรุปผลการประเมินในภาพรวมระดับการศึกษาปฐมวยั

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ยอด ดีเลิศ ดี ปาน กำลัง
เย่ยี ม (4) (3) กลาง พฒั นา
(2) (1)
(5)

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก

1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกายแขง็ แรง มีสุขนสิ ัย 

ที่ดี และดูแลความปลอดภยั ของตนได้

1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และ 
แสดงออกทางอารมณ์ได้

1.3 มีพฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง 
และเป็นสมาชิกท่ดี ีของสงั คม

1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สือ่ สารได้ มี 
ทกั ษะการคิดพ้ืนฐานและแสวงหาความรู้ได้

สรปุ ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

2.1 มหี ลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น 
สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่ิน

2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ช้ันเรียน

2.3 สง่ เสรมิ ให้ครมู ีความเชย่ี วชาญดา้ นการจดั 

ประสบการณ์

2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพื่อการเรยี นรู้ 
อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ

47

ระดับคณุ ภาพ

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ยอด ดีเลิศ ดี ปาน กำลงั
เยย่ี ม (4) (3) กลาง พฒั นา
2.5 ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยีและสือ่ การเรียนรู้ (5) (2) (1)
เพ่อื สนับสนนุ การจัดประสบการณส์ ำหรบั ครู
2.6 มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ 
ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วม


สรปุ ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เปน็ สำคญั ยอดเย่ียม
ยอดเยี่ยม
3.1 จดั ประสบการณ์ท่สี ่งเสริมให้เด็กมี 
พัฒนาการทกุ ดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพ

3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง 
เลน่ และปฏบิ ตั ิอย่างมคี วามสุข

3.3 จดั บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ ใช้ส่อื 
และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกับวัย

3.4 ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพ

จริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป 

ปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็

สรุประดับคณุ ภาพ

สรุประดบั คุณภาพรวมของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version