~๑~
~๒~
ความนา
กระทรวงศกึ ษาธิการมคี าส่ังที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ เรอื่ งใหใ้ ชห้ ลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
แทนหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย ๒๕๔๖ เม่อื วันที่ ๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐ เพื่อใหส้ ถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ทกุ สังกดั นาหลกั สูตรไปใชโ้ ดยให้ปรับปรงุ ใหเ้ หมาะสมกบั เด็กและสภาพทอ้ งถ่นิ
โรงเรียนบ้านบางเลนจัดการศึกษาปฐมวัย โดยยึดนโยบายการพัฒนาการศึกษาปฐมวัยและหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยของกระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นกรอบ ทิศทางในการจัดการศกึ ษาอย่างจรงิ จังและต่อเนื่อง ดังนั้นจาก
คาสงั่ กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ โรงเรียนจึงแตง่ ต้ังคณะกรรมการจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย
ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามจุดหมายหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ที่กาหนดเป้าหมายในการ
พฒั นาเดก็ ปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปญั ญา เป็นคนดี มีวินัย มีสานกึ ความเป็นไทย
มีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในอนาคต โดยพิจารณาถึงความสอดคล้องกับ
สภาพการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมถึงสภาพความต้องการของท้องถ่ิน
เพือ่ ให้เปน็ หลกั สูตรที่มคี วามเหมาะสมกบั เปา้ หมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยสอดคล้องและทันต่อสภาพการเปล่ียนแปลง
ไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ
โรงเรียนบ้านบางเลน ขอขอบคุณ ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ท้ังผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาปฐมวัย
ศกึ ษานิเทศก์ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะผู้บริหารโรงเรียน ครูปฐมวัย ตัวแทนปกครอง ตัวแทนชุมชน ตลอดจน
บุคคลกรทุกคนที่มีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบ้านบางเลน ปีการศึกษา ๒๕๖5 ให้มี
ความเหมาะสมตอ่ การนาไปใช้จดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยของโรงเรยี นต่อไป
(นางศวิ ไิ ล ทคี า)
ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นบางเลน
~๓~
สารบญั หนา้
คานา ๒
ความนา ๖
ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั ๖
วิสยั ทศั น์ ๗
หลกั การ ๘
แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัย ๑๐
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยโรงเรียนบา้ นบางเลน ๑๒
๑๓
พฒั นาการเด็กปฐมวัย ๒๓
มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบง่ ชี้ และสภาพท่ีพงึ ประสงค์ ๒๓
การจดั เวลาเรยี น ๑๐๑
สาระการเรยี นรู้รายปี ๑๑๑
การจดั ประสบการณ์ ๑๒๕
การประเมินพฒั นาการ ๑๒๘
การบริหารจดั การหลักสูตร ๑๒๘
การจัดการศกึ ษาปฐมวัย(เด็กอายุ๔-๕ป)ี สาหรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ ๑๒๙
การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศึกษาปีที่ ๑
การกากับ ติดตาม ประเมนิ และรายงาน
~๔~
หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
โรงเรียนบ้านบางเลน
พุทธศกั ราช 256๕
~๕~
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
การศกึ ษาปฐมวัยเปน็ การพฒั นาเด็กตั้งแต่แรกเกดิ ถึง ๖ ปี บริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวม บนพื้นฐานการอบรมเลย้ี ง
ดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรูท้ ่สี นองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเดก็ แต่ละคนให้เต็มตามศกั ยภาพ
ภายใต้บรบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมท่ีเด็กอาศยั อยู่ ด้วยความรัก ความเอ้ืออาทร และความเขา้ ใจของทุกคน เพ่ือสรา้ ง
รากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสูค่ วามเปน็ มนุษยท์ ีส่ มบูรณ์เกดิ คุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว สังคม และ
ประเทศชาติ
วิสยั ทัศน์
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยม่งุ พฒั นาเด็กทุกคนให้ได้รับการพฒั นาด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และ
สติปัญญาอยา่ งมคี ุณภาพและตอ่ เน่อื ง ไดร้ ับการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูอ้ ย่างมคี วามสขุ และเหมาะสมตามวยั มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษามารยาทงาม สบื สานวฒั นธรรมไทย ก้าวทันเทคโนโลยี ส่งเสริมสิง่ แวดลอ้ ม บริการ
งานอยา่ งมสี ่วนร่วม บนพื้นฐานความพอเพียง โดยความร่วมมอื ระหว่างสถานศึกษา พ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทกุ
ฝา่ ยท่ีเกย่ี วข้องกับการพัฒนาเดก็
~๖~
หลักการ
เด็กทกุ คนมีสทิ ธท์ิ ่จี ะไดร้ บั การอบรมเล้ยี งดูและส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าดว้ ยสิทธิเดก็ ตลอดจน
ไดร้ บั การจัดประสบการณ์การเรยี นรูอ้ ย่างเหมาะสม ดว้ ยปฏสิ มั พนั ธ์ทีด่ ีระหวา่ งเด็กกบั พ่อแม่ เดก็ กับผสู้ อน เด็กกับ
ผเู้ ลย้ี งดหู รอื ผ้ทู ี่เก่ยี วข้องในการอบรมเลยี้ งดู การพฒั นา และให้การศกึ ษาแก่เดก็ ปฐมวยั เพือ่ ใหเ้ ด็กมโี อกาสพัฒนา
ตนเองตามลาดับขนั้ ของพฒั นาการทุกดา้ น อย่างเปน็ องค์รวม มีคณุ ภาพ และเตม็ ตามศักยภาพโดยมีหลักการดังน้ี
๑. ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นร้แู ละพฒั นาการที่ครอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทกุ คน
๒. ยึดหลักการอบรมเลยี้ งดูและใหก้ ารศกึ ษาทีเ่ น้นเด็กเป็นสาคัญ โดยคานงึ ถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
และวิถชี ีวติ ของเด็กตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคม และวฒั นธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองคร์ วมผา่ นการเล่นอยา่ งมีความหมายและมีกิจกรรมท่หี ลากหลาย
ไดล้ งมือกระทาในสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกบั วยั และมีการพักผ่อนท่ีเพยี งพอ
๔. จดั ประสบการณก์ ารเรียนรใู้ ห้เด็กมที ักษะชีวติ และสามารถปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง เป็นคนดี มีวินยั และมคี วามสุข
๕. สรา้ งความรู้ ความเข้าใจและประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากบั พอ่ แม่
ครอบครวั ชุมชน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย
~๗~
แนวคดิ การจดั การศกึ ษาปฐมวยั
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช๒๕๖๐ พัฒนาข้ึนบนแนวคิดหลักสาคัญเก่ียวกับพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดย
ถือว่าการเล่นของเด็กเป็นหัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใต้การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการ
ทางานของสมอง ผ่านสื่อที่ต้องเอ้ือให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นประสาทสัมผัสท้ังห้า โดยครูจาเป็นต้องเข้าใจและ
ยอมรับว่าสังคมและวัฒนธรรมที่แวดล้อมตัวเด็กมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของ
เด็กแต่ละคน ทงั้ น้ี หลักสตู รฉบับน้มี ีแนวคดิ ในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย ดงั น้ี
๑. แนวคิดเก่ียวกับพัฒนาการเด็ก พัฒนาการของมนุษย์เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนต่อเนื่องใน
ตวั มนุษย์เริ่มต้ังแต่ปฏิสนธิไปจนตลอดชีวิต พัฒนาการของเด็กแต่ละคนจะมลี าดับข้ันตอนลักษณะเดียวกัน แต่อัตรา
และระยะเวลาในการผ่านข้ันตอนต่างๆอาจแตกต่างกันได้ข้ันตอนแรกๆจะเป็นพ้ืนฐานสาหรับพัฒนาการข้ันต่อไป
พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา แต่ละส่วนส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน เม่ือด้านหนึ่ง
ก้าวหน้าอีกด้านหน่ึงจะก้าวหน้าตามด้วยในทานองเดียวกันถ้าด้านหน่ึงด้านใดผิดปกติจะทาให้ด้านอ่ืนๆผิดปกติตาม
ดว้ ย แนวคดิ เก่ยี วกบั ทฤษฎีพัฒนาการดา้ นร่างกายอธบิ ายว่าการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของเด็กมีลักษณะต่อเน่อื ง
เป็นลาดับชั้น เด็กจะพัฒนาถึงข้ันใดจะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถด้านนั้นก่อน สาหรับทฤษฎีด้านอารมณ์
จิตใจ และสังคมอธิบายว่า การอบรมเล้ียงดูในวัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกภาพของเด็ก เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ความรักและ
ความอบอุ่นเป็นพ้ืนฐานของความเช่ือมน่ั ในตนเอง เดก็ ที่ได้รับความรักและความอบอุ่นจะมีความไว้วางใจในผ้อู ื่น เห็น
คุณค่าของตนเอง จะมีความเช่ือม่ันในความสามารถของตน ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ซึ่งเป็นพื้นฐานสาคัญของความ
เป็นประชาธิปไตยและความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์และทฤษฎีพัฒนาการด้านสติปัญญาอธิบายว่า เด็กเกิดมาพร้อมวุฒิ
ภาวะ ซงึ่ จะพฒั นาขน้ึ ตามอายุ ประสบการณ์ รวมท้ังค่านยิ มทางสงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ด็กได้รับ
๒. แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก การเล่นเป็นหัวใจสาคัญของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การเล่น
อย่างมีจุดมุ่งหมายเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานท่ีถือเป็นองค์ประกอบสาคัญในกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก
ขณะท่ีเด็กเล่นจะเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกันด้วย จากการเล่นเด็กจะมโี อกาสเคล่อื นไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ได้ใช้
ประสาทสัมผัสและการรับรู้ผ่อนคลายอารมณ์ และแสดงออกของตนเอง เรียนรู้ความรู้สึกของผู้อ่ืน เด็กจะรู้ สึก
สนุกสนาน เพลิดเพลิน ได้สังเกต มีโอกาสทาการทดลอง คิดสร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาและค้นพบด้วยตนเอง การเล่น
ชว่ ยให้เด็กเรียนรสู้ ่ิงแวดล้อม และช่วยให้เด็กมีพฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปญั ญา ดังนั้น
เด็กควรมีโอกาสเลน่ ปฏสิ มั พนั ธก์ ับบคุ คล สิ่งแวดล้อมรอบตวั และเลอื กกิจกรรมการเลน่ ดว้ ยตนเอง
๓. แนวคิดเก่ียวกับการทางานของสมอง สมองเป็นอวัยวะท่ีมีความสาคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา
เพราะการท่ีมนุษย์สามารถเรียนรู้ส่ิงต่างๆได้น้ันต้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานการรับรู้ รับความรู้สึก
จากประสาทสัมผัสทั้งห้า การเช่ือมโยงต่อกันของเซลล์สมองส่วนมากเกิดขึ้นก่อนอายุ ๕ ปี และปฏิสัมพันธ์แรกเร่ิม
ระหว่างเด็กกับผู้ใหญ่ มีผลโดยตรงต่อการสร้างเซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อ โดยในช่วง ๓ ปีแรกของชีวิต สมอง
เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก มีการสร้างเซลล์สมองและจุดเช่ือมต่อข้ึนมามากมาย มีการสร้างไขมันหรือมันสมองหุ้ม
ล้อมรอบเส้นใยสมองด้วย พอเด็กอายุ ๓ ปี สมองจะมีขนาดประมาณ ๘๐ % ของสมองผู้ใหญ่ มีเซลล์สมองนับหมื่น
ล้านเซลล์ เซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อเหล่านี้ย่ิงได้รับการกระตุ้นมากเท่าใด การเช่ือมต่อกันระหว่างเซลล์สมองย่ิงมี
มากขึ้นและความสามารถทางการคิดยิ่งมีมากขึ้นเท่านั้น ถ้าหากเด็กขาดการกระตุ้นหรือส่งเสริมจากส่ิงแวดล้อมท่ี
เหมาะสม เซลล์สมองและจุดเชื่อมต่อที่สร้างข้ึนมาก็จะหายไป เด็กท่ีได้รับความเครียดอยู่ตลอดเวลาจะทาให้ขาด
ความสามารถท่ีจะเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม ส่วนต่างๆของสมองเจริญเติบโตและเริ่มมีความสามารถในการทาหน้าที่ใน
ช่วงเวลาต่างกัน จึงอธิบายได้ว่าการเรียนรู้ทักษะบางอย่างจะเกิดข้ึนได้ดีที่สุดเฉพาะในช่วงเวลาหน่ึงท่ีเรียกว่า ”
หน้าต่างของโอกาสการเรียนรู้” ซ่ึงเป็นช่วงที่พ่อแม่ ผู้เล้ียงดูและครูสามารถช่วยให้เด็กเรียนรู้และพัฒนาส่ิงนั้นๆได้ดี
~๘~
ที่สุด เม่ือพ้นช่วงน้ีไปแล้วโอกาสนั้นจะฝึกยากหรือเด็กอาจทาไม่ได้เลย เช่น การเช่ือมโยงวงจรประสาทของการ
มองเห็นและรับรู้ภาพจะต้องได้รับการกระตุ้นทางานต้ังแต่ ๓ หรือ ๔ เดือนแรกของชีวิตจึงจะมีพัฒนาการตามปกติ
ช่วงเวลาของการเรียนภาษาคือ อายุ ๓ – ๕ ปีแรกของชวี ิต เด็กจะพูดได้ชัด คล่องและถูกต้อง โดยการพัฒนาจากการ
พูดเปน็ คาๆมาเปน็ ประโยคและเลา่ เร่ืองได้ เปน็ ต้น
๔. แนวคิดเกี่ยวกับสื่อการเรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ทาใหส้ ่ิงท่ี
เปน็ นามธรรมเขา้ ใจยากกลายเปน็ รูปธรรมที่เดก็ เข้าใจและเรียนรู้ได้ง่าย รวดเรว็ เพลิดเพลิน เกิดการเรยี นรแู้ ละค้นพบ
ด้วยตนเอง การใช้สื่อการเรียนรู้ต้องปลอดภัยต่อตัวเด็กและเหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความสนใจ และความต้องการของเด็กท่ีหลากหลาย ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยควรมีสื่อทั้งที่
เป็นประเภท ๒ มิติและ/หรือ ๓ มิติ ที่เป็นสื่อของจริง สื่อธรรมชาติ สื่อท่ีอยู่ใกล้ตัวเด็ก ส่ือสะท้องวัฒนธรรม ส่ือภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น สื่อเพื่อพัฒนาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้าน ท้ังนี้ ส่ือต้องเอ้ือให้เด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสท้ังห้า
โดยการจัดการใช้ส่ือสาหรับเด็กปฐมวัยต้องเร่ิมต้นจากสื่อของจริง ของจาลอง ภาพถ่าย ภาพโครงร่างและสัญลักษณ์
ตามลาดับ
๕. แนวคิดเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม เด็กเมื่อเกิดมาจะเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งไม่
เพยี งแตจ่ ะได้รับอิทธิพลจากการปฏิบัติแบบดั้งเดิมตามประเพณี มรดก และความร้ขู องบรรพบุรุษ แต่ยงั ได้รับอิทธิพล
จากประสบการณ์ ค่านิยมและความเชื่อของบุคคลในครอบครัว และชุมชนของแต่ละที่ด้วย บริบทของสังคมและ
วัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่หรือแวดล้อมตัวเด็กทาให้เด็กแต่ละคนแตกต่างกันไป ครูจาเป็นต้องเข้าใจและยอมรับว่า
สังคมและวัฒนธรรมท่ีแวดล้อมตัวเด็ก มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน
ครูควรต้องเรียนรู้บริบททางสังคมและวัฒนธรรมของเด็กท่ีตนรับผิดชอบ เพ่ือช่วยให้เด็กได้รับการพัฒนา เกิดการ
เรียนรู้และอยู่ในกลุ่มคนท่ีมาจากพื้นฐานเหมือนหรือต่างจากตนได้อย่างราบรานมีความสุข เป็นการเตรียมเด็กไปสู้
สังคมในอนาคตกับการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การทางานร่วมกับผู้อื่นที่มีความหลากหลายทางความคิด ความเชื่อและ
วัฒนธรรมเช่น ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านเรื่องศาสนา ประเทศ
พม่า ลาว กัมพูชาก็จะคล้ายคลึงกับคนไทยในการทาบุญตักบาตร การสวดมนต์ไหว้พระ การให้ความเคารพพระสงฆ์
การทาบุญเล้ียงพระ การเวียนเทียนเน่ืองในวันสาคัญทางศาสนา ประเพณีเข้าพรรษา สาหรบั ประเทศมาเลเซีย บรูไน
อินโดนีเซีย ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามจึงมีวัฒนธรรมแบบอิสลาม ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับอิทธิพลจาก
คริสต์ศาสนา ประเทศสงิ คโปร์และเวยี ดนามนบั ถือหลายศาสนา โดยนับถือลัทธิธรรมเนยี มแบบจนี เป็นหลกั เปน็ ต้น
~๙~
ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบา้ นบางเลน(บางเลนวิทยาคาร)
โรงเรียนบ้านบางเลนจัดการพัฒนาเด็กอายุ ๔-๖ ปีบนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการ
เรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาการทางสมองของเด็กแต่ละคนให้เตม็ ตามศกั ยภาพ ผา่ นการเล่น การช่วยเหลือตนเอง
มีทักษะในการดารงชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยความรัก ความเข้าใจของทุกคน เพ่ือ
สรา้ งรากฐานคุณภาพชวี ิต และพัฒนาเดก็ มีพัฒนาการ ทัง้ ดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา
วสิ ยั ทศั น์
ภายในปพี ุทธศักราช ๒๕๖๕ โรงเรียนบ้านบางเลน มงุ่ เนน้ พัฒนาเด็กอายุ ๔-๖ ปใี หม้ ีพฒั นาการ
ทางด้านรา่ งกาย อารมณ์- จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญาเหมาะสมกับวัย มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษามารยาทงาม
สบื สานวฒั นธรรมไทย ก้าวทันเทคโนโลยี ส่งเสรมิ สิง่ แวดล้อม บรหิ ารอย่างมสี ่วนรว่ ม บนพ้นื ฐานของความพอเพียง
พันธกจิ
1. จดั การศกึ ษาระดับปฐมวัยให้ผเู้ รยี นมคี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา
2. สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ และเทคโนโลยี
3. สง่ เสริมผูบ้ รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ปฏบิ ัติงานไดต้ ามเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา
4. ส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม
5. พฒั นาสง่ิ แวดล้อมภายในโรงเรียน
6. พฒั นาการบรหิ ารจัดการศึกษาอย่างมีสว่ นรว่ ม
~ ๑๐ ~
เปา้ หมาย
๑. เดก็ ปฐมวัยทุกคนได้รบั การพัฒนาดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาเป็นองคร์ วมอย่าง
สมดลุ และมคี วามสุข
๒. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจดั ประสบการณ์ท่ีสง่ เสรมิ การเรียนรูผ้ ่านการเล่น
๓. มสี ภาพแวดลอ้ ม ส่ือ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ทเ่ี อ้ือต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวยั อยา่ ง
พอเพยี ง
๔. ผู้ปกครอง ชมุ ชน และหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
จุดหมาย
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั มุ่งใหเ้ ดก็ มีพัฒนาการตามวัยเต็มตามศักยภาพ และเมื่อมคี วามพรอ้ มในการ
เรียนรตู้ อ่ ไป จงึ กาหนดจุดหมายเพื่อให้เกดิ กับเด็กเมื่อเด็กจบการศึกษาระดบั ปฐมวยั ดังน้ี
๑. มีร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย แข็งแรง และมีสขุ นิสัยที่ดี
๒. มสี ขุ ภาพจติ ดี มสี นุ ทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรมและจติ ใจทดี่ งี าม
๓. มีทกั ษะชีวิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี นิ ัย และอยู่ร่วมกบั ผ้อู ื่นได้อย่างมี
ความสขุ
๔. มีทักษะการคดิ การใช้ภาษาสื่อสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกบั วัย
อตั ลกั ษณ์โรงเรียน
“ไหวส้ วย”
ความหมาย
ไหวส้ วย หมายถงึ การไหว้บคุ คลต่างๆ เช่นการไหว้ผใู้ หญ่กวา่ หรอื อาวโุ สกว่า เด็กต้องยกมือไหวผ้ ใู้ หญ่
อยา่ งสวยงาม
ตราสญั ลกั ษณโ์ รงเรยี น
~ ๑๑ ~
พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั
พัฒนาการของเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามวุฒิ
ภาวะและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ดก็ ไดร้ ับ พัฒนาการเด็กในแตล่ ะชว่ งวยั อาจเรว็ หรอื ชา้ แตกตา่ งกนั ไป
ในเดก็ แต่ละคน มีรายละเอียด ดังนี้
๑. พัฒนาการด้านร่างกาย เป็นพัฒนาการทีเ่ ป็นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงในทางที่ดขี ้ึนของร่างกายในด้าน
โครงสร้างของร่างกาย ด้านความสามารถในการเคล่ือนไหว และด้านการมีสขุ ภาพอนามัยที่ดี รวมถงึ การใช้สมั ผัสรบั รู้
การใชต้ าและมือประสานกันในการทากิจกรรมตา่ งๆ เด็กอายุ ๓-๕ ปีมีการเจริญเตบิ โตรวดเร็วโดยเฉพาะ
ในเรื่องน้าหนักและส่วนสูง กลา้ มเน้ือใหญ่จะมีความกา้ วหน้ามากกวา่ กล้ามเนือ้ เล็ก สามารถบงั คับการเคลอ่ื นไหวของ
รา่ งกายไดด้ ี มคี วามคลอ่ งแคล่ววอ่ งไวในการเดิน สามารถว่งิ กระโดด ควบคมุ และบังคบั การทรงตวั ได้ดี
จึงชอบเคล่ือนไหว ไม่หยุดน่ิง พร้อมท่ีจะออกกาลังและเคล่ือนไหวในลักษณะต่างๆส่วนกล้ามเนื้อเล็กและ
ความสัมพันธร์ ะหว่างตาและมอื ยังไมส่ มบรู ณ์ การสัมผสั หรอื การใช้มือมคี วามละเอยี ดขนึ้ ใชม้ ือหยิบจับส่งิ ของต่างๆได้
มากขึ้น ถา้ เดก็ ไม่เครียดหรอื กังวลจะสามารถทากิจกรรมท่ีพัฒนากลา้ มเนื้อเลก็ ได้ดีและนานข้ึน
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ เป็นความสามารถในการรูส้ ึกและแสดงความร้สู ึกของเด็ก เชน่ พอใจ
ไม่พอใจ รัก ชอบ สนใจ เกียด โดยที่เด็กรู้จักควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์ เผชิญกับ
เหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนการสร้างความรู้สึกท่ีดีและการนับถือตนเอง เด็กอายุ ๓-๕ ปีจะแสดงความรู้สึกอย่างเต็มท่ี
ไม่ปิดบัง ช่อนเร้น เช่น ดีใจ เสียใจ โกรธแต่จะเกิดเพียงช่ัวครู่แล้วหายไปการท่ีเด็กเปล่ียนแปลงอารมณ์ง่ายเพราะมี
ช่วงความสนใจระยะสั้น เมื่อมีสิ่งใดน่าสนใจก็จะเปลี่ยนความสนใจไปตามสิ่งนั้น เด็กวันน้ีมักหวาดกลัวส่ิงต่างๆ เช่น
ความมืด หรือสัตว์ต่างๆ ความกลัวของเด็กเกิดจากจินตนาการ ซ่ึงเด็กว่าเป็นเร่ืองจริงสาหรับตน เพราะยั งสับสน
ระหว่างเรื่องปรุงแต่งและเรื่องจริง ความสามารถแสดงอารมณ์ได้สอดคล้องกับสถานการณ์อย่างเหมาะสมกับวัย
รวมถึงชื่นชมความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อ่ืน เพราะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางน้อยลงและต้องการความ
สนใจจากผ้อู นื่ มากขนึ้
๓. พัฒนาการด้านสังคม เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมคร้ังแรกในครอบครัว โดยมี
ปฏิสัมพันธ์กับพ่อแมแ่ ละพ่ีนอ้ ง เมื่อโตข้ึนต้องไปสถานศึกษา เด็กเริ่มเรียนร้กู ารติดต่อและการมีสัมพันธ์กับบุคคลนอก
ครอบครัว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เดก็ ในวัยเดียวกัน เด็กไดเ้ รียนรู้การปรับตัวใหเ้ ขา้ สังคมกับเด็กอ่ืนพร้อมๆกบั รู้จักร่วมมือ
ในการเล่นกับกลุ่มเพ่ือน เจตคติและพฤติกรรมทางสังคมของเด็กจะก่อข้ึนในวัยน้ีและจะแฝงแน่นยากท่ีจะ
เปล่ียนแปลงในวัยต่อมา ดังน้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมทางสังคมของเด็กวัยน้ี มี ๒ ลักษณะ คือลักษณะแรกนั้น
เป็นความสัมพันธก์ บั ผใู้ หญ่และลกั ษณะท่สี องเปน็ ความสมั พันธ์กับเดก็ ในวัยใกล้เคียงกนั
๔. ด้านสติปัญญา ความคิดของเด็กวัยน้ีมีลักษณะยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ยังไม่สามารถเข้าใจความรู้สึกของ
คนอื่น เด็กมีความคิดเพียงแต่ว่าทุกคนมองส่ิงต่างๆรอบตัว และรู้สึกต่อส่ิงต่างๆ เหมือนตนเอง ความคิดของตนเอง
เป็นใหญ่ท่ีสุด เมื่ออายุ ๔-๕ ปี เด็กสามารถโต้ตอบหรอื มีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุส่ิงของท่ีอยรู่ อบตวั ได้ สามารถจาสิ่งต่างๆ
ที่ได้กระทาซ้ากันบ่อยๆ ได้ดี เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ดีข้ึน แต่ยังอาศัยการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ แก้ปัญหาการลองผิดลองถูก
จากการรับรู้มากกว่าการใช้เหตุผลความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัวพัฒนาอย่างรวดเร็วตามอายุท่ี
เพ่ิมขึ้น ในส่วนของพัฒนาการทางภาษา เด็กวัยนี้เป็นระยะเวลาของการพัฒนาภาษาอย่างรวดเร็ว โดยมีการฝึกฝน
การใช้ภาษาจากการทากิจกรรมต่าง ๆ ในรูปของการพูดคุย การตอบคาถาม การเล่าเรื่อง การเล่านิทานและการทา
กิจกรรมต่าง ๆ ท เก่ียวข้องกับการใช้ภาษาในสถานศึกษา เด็กปฐมวัยสามารถ ใช้ภาษาแทนความคิดของตนและใช้
ภาษาในการติดต่อสัมพันธ์กับคนอ่ืนได้คาพูดของเด็กวัยนี้ อาจจะทาให้ผู้ใหญ่บางคนเข้าใจว่าเด็กรู้มากแล้วแต่ท่ีจริง
เด็กยงั ไม่เขา้ ใจความหมายของคาและเร่ืองราวลกึ ซึง้ นกั
~ ๑๒ ~
มาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์
หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัยกาหนดมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคจ์ านวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย
๑.พัฒนาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยและมีสุขนิสยั ทด่ี ี
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนอ้ื ใหญแ่ ละกลา้ มเนอื้ เล็กแข็งแรงใช้ได้อยา่ งคลอ่ งแคล่วและประสาน
สัมพนั ธ์กัน
๒.พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๓ มสี ขุ ภาพจติ ดีและมีความสุข
มาตรฐานท่ี ๔ ช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจที่ดีงาม
๓.พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๖ มีทกั ษะชวี ติ และปฏิบตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาตรฐานท่ี ๗ รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานท่ี ๘ อยรู่ ว่ มกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปฏิบตั ติ นเป็นสมาชิกทีด่ ขี องสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๔.พฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คอื
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสอื่ สารไดเ้ หมาะสมกบั วัย
มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดทเ่ี ป็นพน้ื ฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคติท่ีดตี ่อการเรียนรู้และมีความสามารถในการแสวงหาความรูไ้ ด้
เหมาะสมกบั วัย
ตัวบง่ ช้ี
ตวั บง่ ชเี้ ปน็ เป้าหมายในการพัฒนาเด็กท่มี ีความสมั พนั ธส์ อดคล้องกับมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
สภาพท่พี งึ ประสงค์
สภาพท่ีพึงประสงค์เปน็ พฤติกรรมหรอื ความสามารถตามวัยทีค่ าดหวงั ใหเ้ ด็กเกดิ บนพ้นื ฐานพัฒนาการตาม
วยั หรอื ความสามารถตามธรรมชาติในแต่ละระดบั อายุเพือ่ นาไปใชใ้ นการกาหนดสาระเรียนรู้ใน การจดั ประสบการณ์
กจิ กรรมและประเมินพฒั นาการเด็ก โดยมีรายละเอยี ดของมาตรฐาน มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบ่งช้ี และ
สภาพที่พึงประสงค์ ดังนี้
~ ๑๓ ~
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเตบิ โตตามวัยเด็กมีสขุ นิสัยทด่ี ี
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑.๑ มีน้าหนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์
ตัวบง่ ช้ีที่ ๑.๒ มีสขุ ภาพอนามยั สุขนิสยั ท่ดี ี
สภาพทพี่ ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
1.1.1 นา้ หนักและสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั 1.1.1 นา้ หนกั และสว่ นสูงตามเกณฑ์ของกรมอนามยั
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
1.2.1 รบั ประทานอาหารทมี่ ีประโยชนแ์ ละดื่มนา้ สะอาด 1.2.1 รับประทานอาหารท่ีมีประโยชนไ์ ดห้ ลายชนิดและ
ดว้ ยตนเอง ด่มื นา้ สะอาดไดด้ ้วยตนเอง
1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้ 1.2.2 ล้างมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใช้
หอ้ งน้าหอ้ งส้วมดว้ ยตนเอง หอ้ งนา้ หอ้ งสว้ มด้วยตนเอง
1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา
1.2.4 ออกกาลังกายเป็นเวลา 1.2.4 ออกกาลังกายเปน็ เวลา
ตัวบง่ ชี้ที่ ๑.๓ รักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อ่นื
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
1.3.1 เลน่ และทากิจกรรมอย่างปลอดภัยด้วยตนเอง 1.3.1 เลน่ และทากจิ กรรมและปฏิบตั ติ อ่ ผ้อู ื่นอยา่ ง
ปลอดภัย
~ ๑๔ ~
มาตรฐานท่ี ๒ กลา้ มเนื้อใหญแ่ ละกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรงใชไ้ ดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว
และประสานสมั พันธ์กัน
ตัวบง่ ช้ีที่ ๒.๑ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายอยา่ งคลอ่ งแคลว่ ประสานสัมพนั ธแ์ ละทรงตัวได้
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
2.1.1 เดินตอ่ เท้าไปข้างหน้าเปน็ เสน้ ตรงไดโ้ ดยไมต่ อ้ ง 2.1.1 เดนิ ต่อเทา้ ถอยหลังเป็นเสน้ ตรงได้โดยไม่ต้อง
กางแขน กางเกง
2.1.2 กระโดดขาเดยี วอยู่กบั ทไี่ ดโ้ ดยไมเ่ สียการทรงตวั
2.1.2 กระโดดขาเดยี ว ไปข้างหนา้ ได้อยา่ งต่อเนอ่ื งโดยไม่
2.1.3 วิง่ หลบหลีกสิง่ กีดขวางได้ เสียการทรงตวั
2.1.3 วง่ิ หลบหลกี สิ่งกีดขวางได้อย่างคล่องแคลว่
2.1.4 รบั ลกู บอลไดด้ ว้ ยมือท้ัง ๒ ข้าง 2.1.4 รับลูกบอลที่กระดอนขึ้นจากพื้นได้
ตัวบง่ ชี้ที่ ๒.๒ ใช้มือ-ตาประสานสมั พันธ์กัน
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
2.2.1 ใช้กรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน้ ตรงได้ 2.2.1 ใช้กรรไกรตดั กระดาษตามแนวเสน้ โค้งได้
2.2.2 เขียนรปู สเี่ หลี่ยมตามแบบไดอ้ ย่างมีมุมชดั เจน 2.2.2 เขยี นรูปสามเหลย่ี มตามแบบได้อยา่ งมมี มุ ชัดเจน
2.2.3 รอ้ ยวัสดทุ ม่ี ีรจู นาดเสน้ ผ่านศูนย์ ๐.๕ ซม.ได้ 2.2.3 ร้อยวสั ดุทีม่ ีรขู นาดเส้นผ่านศนู ยก์ ลาง๐.๒๕ซม.ได้
มาตรฐานท่ี ๓ มสี ุขภาพจติ ดีและมีความสุข
บง่ ชีท้ ี่ ๓.๑ แสดงออกทางอารมณอ์ ย่างเหมาะสม
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ตามสถานการณ์ 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความรู้สึกไดส้ อดคลอ้ งกบั
สถานการณ์อยา่ งเหมาะสม
~ ๑๕ ~
ตวั บ่งชี้ท่ี ๓.๒ มคี วามรูส้ กึ ที่ดตี ่อตนเองและผู้อนื่
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
3.2.1 กลา้ พดู กลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมบาง 3.2.1 กล้าพูดกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสมตาม
สถานการณ์ สถานการณ์
3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ 3.2.2 แสดงความพอใจในผลงานและความสามารถ
ของตนเอง ของตนเองและผ้อู น่ื
มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว
ตัวบง่ ชี้ที่ ๔.๑ สนใจและมีความสุขและแสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรแี ละการเคลื่อนไหว
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
4.1.1 สนใจและมคี วามสุขและแสดงออกผา่ นงาน 4.1.1 สนใจและมคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นงาน
ศิลปะ ศิลปะ
4.1.2 สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผ่านเสยี งเพลง 4.1.2 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงออกผา่ นเสียงเพลง
ดนตรี ดนตรี
4.1.3 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหว 4.1.3 สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา่ ทาง/เคล่ือนไหว
ประกอบเพลง จังหวะและ ดนตรี ประกอบเพลง จงั หวะและ ดนตรี
มาตรฐานที่ ๕ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีจติ ใจทด่ี งี าม
๕.๑ ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
5.1.1 ขออนญุ าตหรอื รอคอยเมื่อต้องการสงิ่ ของของ 5.1.1 ขออนญุ าตหรอื รอคอยเมือ่ ต้องการสง่ิ ของของ
ผอู้ ่ืนเมอ่ื มีผู้ช้แี นะ ผอู้ ่นื ด้วยตนเอง
~ ๑๖ ~
ตวั บ่งชีท้ ี่ ๕.๒ มคี วามเมตตา กรณุ า มีนา้ ใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
สภาพที่พึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
5.2.1 แสดงความรกั เพอ่ื นและมีเมตตาสัตวเ์ ล้ียง 5.2.1 แสดงความรักเพอื่ นและมีเมตตาสัตวเ์ ลีย้ ง
5.2.2 ช่วยเหลือและแบง่ ปนั ผู้อ่นื ได้เม่ือมีผู้ช้แี นะ 5.2.2 ช่วยเหลอื และแบ่งปนั ผู้อื่นได้ดว้ ยตนเอง
ตวั บ่งชที้ ่ี ๕.๓ มคี วามเห็นอกเห็นใจผูอ้ น่ื
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
5.3.1 แสดงสหี นา้ หรอื ท่าทางรบั รคู้ วามรสู้ ึกผอู้ น่ื 5.3.1 แสดงสีหน้าหรอื ท่าทางรับร้คู วามรู้สกึ ผู้อ่ืนอยา่ ง
สอดคล้องกบสถานการณ์
ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๕.๔ มีความรบั ผิดชอบ
สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
5.4.1 ทางานที่ได้รับมอบหมายจนสาเรจ็ เมอื่ มผี ูช้ ้ีแนะ 5.4.1 ทางานทไ่ี ด้รับมอบหมายจนสาเร็จด้วยตนเอง
มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชีวติ และปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตวั บ่งชี้ท่ี ๖.๑ ช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ ิจวัตรประจาวัน
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ 5-6 ปี
6.1.1 แต่งตัวดว้ ยตนเอง 6.1.1 แตง่ ตวั ด้วยตนเองได้อย่างคล่องแคลว่
6.1.2 รับประทานอาหารดว้ ยตนเอง 6.1.2 รบั ประทานอาหารด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
6.1.3 ใชห้ ้องน้าหอ้ งสว้ มดว้ ยตนเอง 6.1.3 ใช้และทาความสะอาดหลังใช้ห้องนา้ ห้องส้วม
ด้วยตนเอง
~ ๑๗ ~
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๖.๒ มีวินยั ในตนอง
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
6.2.1 เก็บของเล่นของใชเ้ ขา้ ท่ีดว้ ยตนเอง 6.2.1 เก็บของเล่นของใชเ้ ข้าท่ีอย่างเรียบร้อยด้วย
ตนเอง
6.2.2 เข้าแถวตาลาดบั ก่อนหลังได้ดว้ ยตนเอง 6.2.2 เขา้ แถวตาลาดบั ก่อนหลงั ได้ด้วยตนเอง
ตัวบง่ ช้ีที่ ๖.๓ ประหยดั และพอเพียง
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
6.3.1 ใช้ส่ิงของเครื่องใช้อย่างประหยดั และพอเพียง 6.3.1 ใช้สง่ิ ของเคร่ืองใช้อยา่ งประหยัดและพอเพียง
เมื่อมีผู้ชีแ้ นะ ด้วยตนเอง
มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม วัฒนธรรม และความเปน็ ไทย
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
7.1.1 มสี ่วนร่วมในการดูแลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ 7.1.1 มสี ่วนร่วมในการดแู ลรกั ษาธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอ้ มเม่ือมผี ู้ช้ีแนะ ส่ิงแวดลอ้ มดว้ ยตนเอง
7.1.2 ท้ิงขยะไดถ้ ูกที่ 7.1.2 ทงิ้ ขยะได้ถูกที่
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๗.๒ มมี ารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรกั ความเปน็ ไทย
สภาพทีพ่ ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
7.2.1 ปฏิบตั ติ นตามมารยาทไทยไดด้ ว้ ยตนเอง 7.2.1 ปฏบิ ัติตนตามมารยาทไทยได้ ตามกาลเทศะ
7.2.2 กล่าวคาขอบคณุ และขอโทษดว้ ยตนเอง 7.2.2 กลา่ วคาขอบคุณและขอโทษดว้ ยตนเอง
7.2.3 ยนื เม่อื ได้ยนิ เพลงชาติไทยและเพลงสรรเสรญิ 7.2.3 ยนื ตรงและรว่ มร้องเพลงชาตไิ ทยและเพลง
พระบารมี สรรเสริญพระบารมี
~ ๑๘ ~
มาตรฐานที่ ๘ อย่รู ่วมกบั ผอู้ ื่นได้อย่างมคี วามสุขและปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสังคมใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๘.๑ ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล
สภาพทพี่ ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
8.1.1 เลน่ และทากจิ กรรมรว่ มกบั เด็กทแ่ี ตกตา่ งไปจาก 8.1.1 เล่นและทากจิ กรรมรว่ มกับเด็กทแ่ี ตกตา่ งไปจาก
ตน ตน
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๘.๒ มีปฏสิ ัมพนั ธ์ทดี่ กี บั ผู้อื่น สภาพทพ่ี ึงประสงค์
อายุ ๕-6 ปี
อายุ ๔-5 ปี
8.2.1 เลน่ หรอื ทางานรว่ มกบั เพอื่ นเปน็ กลุม่ 8.2.1 เล่นหรอื ทางานรว่ มกบั เพือ่ นอย่างมีเป้าหมาย
8.2.2 ย้มิ ทกั ทาย หรอื พดู คุยกบั ผู้ใหญแ่ ละบคุ คลที่ 8.2.2 ยม้ิ ทกั ทาย หรอื พูดคยุ กับผู้ใหญแ่ ละบคุ คลท่ี
คุ้นเคยไดด้ ้วยตนเอง คุน้ เคยได้เหมาะสมกบั สถานการณ์
ตัวบง่ ชที้ ี่ ๘.๓ ปฏิบัติตนเบ้ืองต้นในการเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสังคม
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
8.3.1 มีสว่ นรว่ มสร้างข้อตกลงและปฏบิ ัติตามข้อตกลง 8.3.1 มีส่วนร่วมสรา้ งข้อตกลงและปฏบิ ัติตามข้อตกลง
เมื่อมีผู้ชแ้ี นะ ด้วยตนเอง
8.3.2 ปฏิบัติตนเปน็ ผ้นู าและผู้ตามไดด้ ้วยตนเอง 8.3.2 ปฏิบตั ติ นเปน็ ผูน้ าและผ้ตู ามไดเ้ หมาะสมกบั
สถานการณ์
8.3.3 ประนีประนอมแกไ้ ขปัญหาโดยปราศจากการใช้ 8.3.3 ประนปี ระนอมแก้ไขปัญหาโดยปราศจากการใช้
ความรุนแรงเม่ือมผี ู้ช้ีแนะ ความรนุ แรงดว้ ยตนเอง
~ ๑๙ ~
มาตรฐานท่ี ๙ ใช้ภาษาสอ่ื สารได้เหมาะสมกบั วัย
ตัวบ่งช้ที ่ี ๙.๑ สนทนาโตต้ อบและเล่าเรอ่ื งให้ผู้อื่นเข้าใจ
สภาพท่พี งึ ประสงค์
อายุ ๔ ปี อายุ ๕ ปี
9.1.1 ฟังผ้อู ่ืนพูดจนจบและสนทนาโตต้ อบสอดคลอ้ งกับ 9.1.1 ฟังผอู้ น่ื พูดจนจบและสนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่อง
เรื่องที่ฟงั เชอื่ มโยงกับเรื่องที่ฟงั
9.1.2 เลา่ เรื่องเป็นประโยคอย่างต่อเน่ือง 9.1.2 เล่าเปน็ เรือ่ งราวต่อเน่ืองได้
ตัวบง่ ช้ที ่ี ๙.๒ อา่ น เขียนภาพ และสญั ลกั ษณไ์ ด้
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
9.2.1 อา่ นภาพ สัญลกั ษณ์ คา พร้อมทงั้ ช้ี หรือกวาดตา 9.2.1 อ่านภาพ สัญลกั ษณ์ คา ดว้ ยการช้ี หรือกวาดตา
มองขอ้ ความตามบรรทดั มองจุดเร่ิมตน้ และจดุ จบของข้อความ
9.2.2 เขียนคลา้ ยตัวอักษร 9.2.2 เขยี นชื่อของตนเองตามแบบ
เขียนขอ้ ความด้วยวธิ ีทคี่ ดิ ขึ้นเอง
มาตรฐานท่ี ๑๐ มคี วามสามารถในการคดิ ทเ่ี ป็นพื้นฐานในการเรยี นรู้
ตวั บง่ ช้ที ี่ ๑๐.๑ มีความสามารถในการคดิ รวบยอด
สภาพท่ีพงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
10.1.1 บอกลักษณะและส่วนประกอบของสง่ิ ของต่างๆ 10.1.1 บอกลกั ษณะ ส่วนประกอบ การเปลย่ี นแปลง
จากการสังเกตโดยใชป้ ระสาทสัมผัส หรือความสมั พนั ธข์ องส่ิงของต่างๆจากการสังเกตโดยใช้
ประสาทสัมผัส
10.1.2 จับคู่และเปรียบเทยี บความแตกต่างหรอื ความ 10.1.2 จับคู่และเปรียบเทยี บความแตกต่างและความ
เหมอื นของส่ิงตา่ งๆโดยใช้ลกั ษณะทสี่ งั เกตพบเพยี ง เหมอื นของสง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ลักษณะทส่ี ังเกตพบ 2 ลักษณะ
ลกั ษณะเดียว ข้นึ ไป
10.1.3 จาแนกและจัดกลมุ่ สิง่ ตา่ งๆโดยใช้อยา่ งน้อยหนง่ึ 10.1.3 จาแนกและจดั กลมุ่ สง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ตั้งแต่2
ลกั ษณะเป็นเกณฑ์ ลักษณะขน้ึ ไปเปน็ เกณฑ์
10.1.4 เรียงลาดับส่งิ ของหรือเหตกุ ารณอ์ ยา่ งนอ้ ย ๔ 10.1.4 เรียงลาดบั สิง่ ของหรือเหตุการณ์อย่างนอ้ ย ๕
ลาดับ ลาดบั
~ ๒๐ ~
ตัวบง่ ชี้ท่ี ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชิงเหตุผล
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
10.2.1 ระบุสาเหตุ หรือผลทีเ่ กดิ ขนึ้ ในเหตุการณ์หรอื 10.2.1 อธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตุและผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเหตุการณ์
การกระทาเมื่อมีผู้ชแ้ี นะ หรือการกระทาดว้ ยตนเอง
10.2.2 คาดเดา หรือคาดคะเนส่งิ ท่อี าจจะเกดิ ขึ้น หรอื 10.2.2 คาดคะเนส่งิ ทีอ่ าจจะเกดิ ขนึ้ และมสี ว่ นรว่ มในการ
มีสว่ นร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูล ลงความเห็นจากขอ้ มูลอยา่ งมีเหตุผล
ตัวบ่งชี้ท่ี ๑๐.๓ มีความสามารถในการคดิ แก้ปญั หาและตัดสนิ ใจ
สภาพท่พี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
10.3.1 ตัดสินใจในเร่ืองง่ายๆและเริ่มเรยี นรูผ้ ลท่ี 10.3.1 ตัดสินใจในเรื่องงา่ ยๆและยอมรบั ผลที่เกดิ ขน้ึ
เกดิ ขึ้น
10.3.2 ระบปุ ัญหา และแก้ปัญหาโดยลองผิดลองถูก 10.3.2 ระบปุ ัญหาสร้างทางเลอื กและเลอื กวิธีแกป้ ญั หา
มาตรฐานท่ี ๑๑ มจี ินตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
ตัวบง่ ช้ที ี่ ๑๑.๑ เลน่ /ทางานศลิ ปะตามจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์
สภาพท่พี ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
11.1.1 สรา้ งผลงานศลิ ปะเพ่ือส่ือสารความคิด 11.1.1 สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อส่อื สารความคดิ ความรสู้ ึก
ความรสู้ กึ ของตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหม่ ของตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลกใหม่จากเดิมและ
จากเดิมหรือมรี ายละเอยี ดเพ่ิมข้ึน มรี ายละเอียดเพิ่มขน้ึ
ตวั บ่งชี้ท่ี ๑๑.๒ แสดงทา่ ทาง/เคลอื่ นไหวตามจินตนาการอยา่ งสรา้ งสรรค์
สภาพทพี่ งึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
11.2.1 เคล่อื นไหวท่าทางเพื่อสอ่ื สารความคิด ความรสู้ ึก 11.2.1 เคล่ือนไหวทา่ ทางเพื่อสื่อสารความคดิ ความร้สู ึก
ของตนเอง ของตนเอง
อยา่ งหลากหลายหรือแปลกใหม่ อยา่ งหลากหลายและแปลกใหม่
~ ๒๑ ~
มาตรฐานที่ ๑๒ มเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ การเรียนรู้ และมคี วามสามารถ
ในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกบั วัย
ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๑๒.๑ มเี จตคตทิ ีด่ ีต่อการเรยี นรู้
สภาพทีพ่ ึงประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
12.1.1 สนใจซักถามเกย่ี วกับสญั ลกั ษณ์หรือตวั หนงั สือท่ี 12.1.1 สนใจหยบิ หนังสือมาอา่ นและเขียนสอื่ ความคิด
พบเห็น ด้วยตนเองเป็นประจาอยา่ งต่อเนอื่ ง
12.1.2 กระตอื รือรน้ ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 12.1.2 กระตือรือรน้ ในการร่วมกจิ กรรมต้งั แตต่ ้นจนจบ
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติที่ดตี อ่ การเรียนรู้ และมีความสามารถ
ในการแสวงหาความรู้ไดเ้ หมาะสมกับวัย
ตัวบ่งช้ที ่ี ๑๒.๒ มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
12.2.1 ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ ตามวิธกี าร 12.2.1 ค้นหาคาตอบของข้อสงสัยตา่ งๆ โดยใชว้ ธิ กี ารที่
ของตนเอง หลากหลายด้วยตนเอง
12.2.2 ใช้ประโยคคาถามว่า “ที่ไหน” “ทาไม” ใน 12.2.2 ใชป้ ระโยคคาถามว่า “เมื่อไร” “อยา่ งไร” ในการ
การค้นหาคาตอบ คน้ หาคาตอบ
~ ๒๒ ~
การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดกรอบโครงสร้างเวลาในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ๔-๖ ปีการศึกษา
โดยประมาณ ท้ังนี้ ขึ้นอยู่กับอายุของเด็กท่ีเร่ิมเข้าสถานศึกษาหรือสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวัย เวลาเรียนสาหรับเด็ก
ปฐมวยั ข้นึ อยู่กบั สถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยมีเวลาเรยี นไม่น้อยกวา่ ๑๘๐ วันต่อ ๑ ปีการศกึ ษา ในแต่ละวันจะใชเ้ วลา
ไมน่ ้อยกวา่ ๕ ชัว่ โมง โดยสามารถปรบั เปลยี่ นใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาและสถาบันพัฒนาเด็กปฐมวยั
สาระการเรียนรรู้ ายปี
สาระการเรียนรู้ใช้เป็นส่ือกลางในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทุก
ด้าน ให้เป็นไปตามจุดหมายของหลกั สูตรท่กี าหนด ประกอบด้วย ประสบการณส์ าคญั และสาระที่ควรเรียนรู้ ดงั น้ี
๑. ประสบการณ์สาคัญ
ประสบการณ์สาคัญเป็นแนวทางสาหรับผู้สอนไปใช้ในการออกแบบการจัดประสบการณ์ ให้เด็กปฐมวัย
เรียนรู้ ลงมอื ปฏิบัติ และไดร้ ับการสง่ เสรมิ พฒั นาการครอบคลุมทุกดา้ น ดังนี้
๑.๑ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาส
พัฒนาการใช้กล้ามเน้ือใหญ่ กล้ามเน้ือเล็ก และการประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาท ในการทา
กิจวัตรประจาวันหรือทากิจกรรมต่างๆและสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสดูแลสุขภาพและสุขอนามัย และการรักษาความ
ปลอดภยั ดังนี้
ดา้ นร่างกาย ประสบการณส์ าคญั
๑.๑.๑ การใชก้ ลา้ มเน้ือใหญ่ (๑) การเคล่ือนไหวอยกู่ บั ที่
(๒) การเคลื่อนไหวเคลื่อนท่ี
๑.๑.๒ การใช้กลา้ มเน้อื เลก็ (๓) การเคล่ือนไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์
(๔) การเคลื่อนไหวที่ใชก้ ารประสานสัมพนั ธข์ องการใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั
ใหญใ่ นการขวา้ ง การจับ การโยน การเตะ
(๕) การเลน่ เคร่ืองเล่นสนามอยา่ งอิสระ
(๑) การเลน่ เครื่องเลน่ สัมผัสและการสรา้ งจากแทง่ ไม้ บล็อก
(๒) การเขียนภาพและการเล่นกับสี
(๓) การปัน้
(๔) การประดิษฐส์ ิ่งตา่ งๆด้วย เศษวสั ดุ
(๕) การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉกี การตัด การปะ และการร้อยวัสดุ
~ ๒๓ ~
ด้านร่างกาย ประสบการณ์สาคญั
๑.๑.๓ การรักษาสขุ ภาพ (๑) การปฏิบัติตนตามสขุ อนามยั สุขนสิ ยั ทดี่ ใี นกจิ วตั รประจาวนั
อนามยั ส่วนตัว
๑.๑.๔ การรักษาความ (๑) การปฏิบัตติ นให้ปลอดภัยในกจิ วตั รประจาวนั
ปลอดภัย (๒) การฟังนทิ าน เร่ืองราว เหตกุ ารณ์ เกี่ยวกบั การป้องกนั และรกั ษาความ
ปลอดภัย
๑.๑.๕ การตระหนักรู้ (๓) การเลน่ เครื่องเล่นอย่างปลอดภัย
เก่ียวกับร่างกายตนเอง (๔) การเล่นบทบาทสมมติเหตุการณต์ า่ งๆ
(๑) การเคล่ือนไหวเพอื่ ควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพ้นื ท่ี
(๒) การเคลื่อนไหวขา้ มสงิ่ กดี ขวาง
๑.๒ ประสบการณ์สาคัญท่ีสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ เป็นการสนับสนนุ ใหเ้ ด็กได้แสดงออกทาง
อารมณ์และความรู้สึกของตนเองที่เหมาะสมกับวัย ตระหนักถึงลกั ษณะพิเศษเฉพาะท่ีเป็นอัตลักษณ์ ความเป็นตัวของ
ตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส การเห็นอกเห็นใจผู้อื่นได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สุนทรียภาพ ความรู้สึกที่ดีต่อ
ตนเอง และความเชอ่ื มั่นในตนเองขณะปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ ดงั นี้
ดา้ นอารมณ์-จิตใจ ประสบการณ์สาคญั
๑.๒.๑ สุนทรยี ภาพ ดนตรี (๑) การฟังเพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโตต้ อบเสยี งดนตรี
(๒) การเคล่ือนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี
๑.๒.๒ การเล่น (๓) การเล่นบทบาทสมมติ
(๔) การทากจิ กรรมศิลปะต่างๆ
๑.๒.๓ คณุ ธรรม จริยธรรม (๕) การสรา้ งสรรคส์ งิ่ สวยงาม
๑.๒.๔ การแสดงออกทาง
อารมณ์ (๑) การเลน่ อิสระ
(๒) การเล่นรายบุคคล กล่มุ ย่อย กลมุ่ ใหญ่
(๓) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์
(๔) การเลน่ นอกหอ้ งเรียน
(๑) การปฏบิ ตั ิตนตามหลักศาสนาทน่ี ับถอื
(๒) การฟังนิทานเกย่ี วกบั คุณธรรม จรยิ ธรรม
(๓) การร่วมสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ เชิงจรยิ ธรรม
(๑) การสะทอ้ นความรูส้ กึ ของตนเองและผู้อื่น
(๒) การเล่นบทบาทสมมติ
(๓) การเคล่ือนไหวตามเสยี งเพลง/ดนตรี
(๔) การร้องเพลง
๑.๒.๔.๕ การทางานศิลปะ
~ ๒๔ ~
ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ประสบการณส์ าคญั
๑.๒.๕ การมอี ัตลกั ษณ์เฉพาะ (๑) การปฏบิ ตั ิกิจกรรมตา่ งๆตามความสามารถของตนเอง
ตนและเช่ือว่าตนเองมี
ความสามารถ (๑) การแสดงความยนิ ดีเม่ือผู้อืน่ มคี วามสุข เห็นอกเห็นใจเมอ่ื ผู้อนื่ เศรา้ หรอื
เสยี ใจ และการช่วยเหลอื ปลอบโยนเม่อื ผอู้ นื่ ไดร้ บั บาดเจ็บ
๑.๒.๖ การเห็นอกเหน็ ใจผ้อู ่ืน
๑.๓ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เปน็ การสนบั สนุนใหเ้ ด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธก์ ับ
บุคคลและส่งิ แวดลอ้ มตา่ งๆรอบตัวจากการปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ ผ่านการเรียนร้ทู างสังคม เช่น การเล่น การ
ทางานกบั ผอู้ น่ื การปฏบิ ัติกจิ วตั รประจาวัน การแก้ปญั หาขอ้ ขัดแย้งตา่ งๆ
ดา้ นสงั คม ประสบการณ์สาคัญ
๑.๓.๑ การปฏิบตั กิ จิ วตั ร (๑) การช่วยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจาวนั
ประจาวัน (๒) การปฏิบตั ติ นตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๓.๒ การดแู ลรกั ษา
ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม (๑) การมีส่วนรว่ มรับผดิ ชอบดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก
ห้องเรียน
๑.๓.๓ การปฏิบัติตาม
วัฒนธรรมท้องถ่นิ ท่ีอาศัยและ (๒) การใชว้ ัสดแุ ละสิง่ ของเครื่องใช้อยา่ งค้มุ คา่
ความเปน็ ไทย (๓) การทางานศลิ ปะทีใ่ ชว้ ัสดุหรือสงิ่ ของทใ่ี ชแ้ ลว้ มาใช้ซา้ หรอื แปรรปู แลว้
๑.๓.๔ การมปี ฏสิ ัมพันธ์ มี นากลับมาใชใ้ หม่
วนิ ัย มีสวนร่วม และบทบาท (๔) การเพาะปลูกและดูแลต้นไม้
สมาชกิ ของสงั คม (๕) การเลี้ยงสตั ว์
(๖) การสนทนาขา่ วและเหตุการณ์ท่เี กยี่ วกับธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมใน
๑.๓.๕ การเลน่ แบบร่วมมือ ชีวิตประจาวนั
รว่ มใจ
(๑) การเล่นบทบาทสมมติการปฏิบตั ิตนในความเปน็ คนไทย
(๒) การปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ที่อาศัยและประเพณไี ทย
(๓) การประกอบอาหารไทย
(๔) การศึกษานอกสถานที่
(๕) การละเลน่ พนื้ บ้านของไทย
(๑) การรว่ มกาหนดข้อตกลงของห้องเรยี น
(๒) การปฏิบตั ติ นเปน็ สมาชิท่ีดขี องห้องเรยี น
(๓) การให้ความร่วมมือในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ
(๔) การดูแลห้องเรียนร่วมกัน
(๕) การร่วมกิจกรรมวันสาคญั
(๑) การร่วมสนทนาและแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็
(๒) การเลน่ และทางานรว่ มกับผู้อ่ืน
(๓) การทาศิลปะแบบร่วมมือ
~ ๒๕ ~
ด้านสงั คม ประสบการณ์สาคัญ
๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความ (๑) การมสี ว่ นรว่ มในการเลอื กวิธีการแก้ปญั หา
ขัดแย้ง (๒) การมสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหาความขดั แย้ง
(๑) การเลน่ หรอื ทากิจกรรมร่วมกบั กลุ่มเพือ่ น
๑.๓.๗ การยอมรับใน
ความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างบุคคล
๑.๔ ประสบการณ์สาคัญท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้ เรียนรู้ส่ิง
ต่างๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อม บุคคลและสื่อต่างๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
เพ่อื เปิดโอกาสใหเ้ ด็กพัฒนาการใช้ภาษา จินตนาการความคดิ สรา้ งสรรค์ การแก้ปญั หา การคิดเชิงเหตุผล และการคิด
รวบยอดเก่ียวกบั ส่งิ ต่างๆ รอบตวั และมคี วามคิดรวบยอดทางคณติ ศาสตร์ทเี่ ป็นพน้ื ฐานของการเรียนร้ใู นระดับที่สูงข้ึน
ต่อไป
ดา้ นสติปญั ญา ประสบการณส์ าคญั
๑.๔.๑ การใชภ้ าษา (๑) การฟังเสยี งต่างๆ ในส่งิ แวดล้อม
(๒) การฟังและปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนา
(๓) การฟังเพลง นิทาน คาคล้องจอง บทรอ้ ยกรองหรือเรื่องราวตา่ งๆ
(๔) การแสดงความคิด ความรสู้ กึ และความต้องการ
(๕) การพูดกับผู้อืน่ เกีย่ วกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรอื พูดเลา่ เรือ่ งราว
เกย่ี วกบั ตนเอง
(๖) การพูดอธบิ ายเกี่ยวกบั สิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพนั ธข์ องสงิ่ ตา่ งๆ
(๗) การพูดอยา่ งสร้างสรรค์ในการเล่น และการกระทาตา่ งๆ
(๘) การรอจังหวะท่ีเหมาะสมในการพูด
(๙) การพูดเรยี งลาดับเพ่ือใช้ในการสอ่ื สาร
(๑๐) การอ่านหนังสอื ภาพ นิทาน หลากหลายประเภท/รปู แบบ
(๑๑) การอา่ นอสิ ระตามลาพัง การอา่ นร่วมกนั การอ่านโดยมีผู้ชี้แนะ
(๑๒) การเห็นแบบอยา่ งของการอ่านที่ถูกต้อง
(๑๓) การสังเกตทิศทางการอ่านตวั อักษร คา และขอ้ ความ
(๑๔) การอ่านและช้ขี ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซ้ายไปขวา จาก
บนลงล่าง
(๑๕) การสงั เกตตัวอักษรในช่ือของตน หรือคาคุ้นเคย
(๑๖) การสงั เกตตวั อกั ษรที่ประกอบเปน็ คาผา่ นการอา่ นหรือเขยี นของผู้ใหญ่
(๑๗) การคาดเดาคา วลี หรอื ประโยค ทีม่ โี ครงสรา้ งซา้ ๆกัน จากนทิ าน เพลง คา
คล้องจอง
(๑๘) การเลน่ เกมทางภาษา
~ ๒๖ ~
ดา้ นสตปิ ญั ญา ประสบการณ์สาคัญ
๑.๔.๑ การใชภ้ าษา (ต่อ) (๑๙) การเห็นแบบอยา่ งของการเขยี นท่ถี ูกตอ้ ง
(๒๐) การเขียนรว่ มกนั ตามโอกาส และการเขียนอิสระ
(๒๑) การเขียนคาท่มี ีความหมายกบั ตัวเดก็ /คาคนุ้ เคย
(๒๒) การคดิ สะกดคาและเขยี นเพ่อื ส่ือความหมายด้วยตนเองอย่างอิสระ
๑.๔.๒ การคดิ รวบยอด (๑) การสงั เกตลกั ษณะ ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลง และความสัมพันธ์
การคดิ เชิงเหตุผล การ ของสง่ิ ต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผัสอย่างเหมาะสม
ตดั สินใจและแก้ปัญหา (๒) การสงั เกตส่งิ ตา่ งๆ และสถานทจี่ ากมุมมองทต่ี ่างกัน
(๓) การบอกและแสดงตาแหนง่ ทศิ ทาง และระยะทางของส่ิงตา่ งๆด้วย
การกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย และรปู ภาพ
(๔) การเลน่ กบั สื่อตา่ งๆทเี่ ป็นทรงกลม ทรงสเ่ี หลีย่ มมมุ ฉาก ทรงกระบอกกรวย
(๕) การคดั แยก การจัดกลมุ่ และการจาแนกสง่ิ ต่างๆตามลักษณะและ
รูปรา่ ง รปู ทรง
(๖) การต่อของชนิ้ เล็กเตมิ ในชิน้ ใหญใ่ ห้สมบรู ณ์ และการแยกชน้ิ สว่ น
(๗) การทาซ้า การต่อเตมิ และการสรา้ งแบบรูป
(๘) การนบั และแสดงจานวนของสงิ่ ตา่ งๆในชวี ติ ประจาวัน
(๙) การเปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนของส่ิงตา่ งๆ
(๑๐) การรวมและการแยกสงิ่ ตา่ งๆ
(๑๑) การบอกและแสดงอันดับที่ของส่งิ ต่างๆ
(๑๒) การชง่ั ตวง วัดส่งิ ตา่ งๆโดยใช้เคร่อื งมือและหน่วยทไ่ี ม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน
(๑๓) การจบั คู่ การเปรียบเทียบ และการเรียงลาดับ ส่ิงต่างๆ ตามลักษณะ
ความยาว/ความสงู นา้ หนกั ปรมิ าตร
(๑๔) การบอกและเรียงลาดับกจิ กรรมหรือเหตุการณต์ ามช่วงเวลา
(๑๕) การใช้ภาษาทางคณติ ศาสตร์กับเหตุการณใ์ นชวี ติ ประจาวัน
(๑๖) การอธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตุและผลทเ่ี กดิ ข้ึนในเหตุการณ์หรือการกระทา
(๑๗) การคาดเดาหรอื การคาดคะเนสิ่งทอ่ี าจเกิดขน้ึ อย่างมีเหตุผล
(๑๘) การมสี ว่ นรว่ มในการลงความเห็นจากข้อมูลอยา่ งมีเหตุผล
(๑๙) การตดั สนิ ใจและมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแกป้ ัญหา
๑.๔.๓ จินตนาการและ (๑) การรบั รู้ และแสดงความคดิ ความรู้สกึ ผ่านส่ือ วสั ดุ ของเลน่ และชิ้นงาน
ความคิดสร้างสรรค์ (๒) การแสดงความคดิ สร้างสรรค์ผ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหวและศิลปะ
(๓) การสร้างสรรคช์ นิ้ งานโดยใชร้ ปู รา่ งรูปทรงจากวัสดุที่หลากหลาย
๑.๔.๔ เจตคติท่ดี ีตอ่ การ (๑) การสารวจส่ิงต่างๆ และแหล่งเรียนรู้รอบตวั
เรียนรแู้ ละการแสวงหาความรู้ (๒) การตงั้ คาถามในเรื่องท่สี นใจ
(๓) การสืบเสาะหาความรเู้ พ่ือคน้ หาคาตอบของข้อสงสยั ต่างๆ
(๔) การมสี ่วนร่วมในการรวบรวมขอ้ มลู และนาเสนอขอ้ มลู จากการสืบเสาะหา
ความร้ใู นรูปแบบต่างๆและแผนภมู ิอยา่ งง่าย
~ ๒๗ ~
๒. สาระท่คี วรเรยี นรู้
สาระที่ควรเรียนรู้ เป็นเร่ืองราวรอบตัวเด็กที่นามาเป็นส่ือกลางในการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดแนวคิดหลังจาก
นาสาระการเรียนรู้นั้น ๆ มาจัดประสบการณ์ให้เด็ก เพื่อให้บรรลุจัดหมายท่ีกาหนดไว้ทั้งน้ี ไม่เน้นการท่องจาเนื้อหา
ครูสามารถกาหนดรายละเอียดขึ้นเองให้สอดคล้องกับวัย ความต้องการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เด็กได้เรียนรู้
ผ่านประสบการณส์ าคญั ทง้ั น้ี อาจยดื หยุน่ เนือ้ หาไดโ้ ดยคานงึ ถึงประสบการณแ์ ละสง่ิ แวดล้อมในชวี ติ จรงิ ของเด็ก ดงั นี้
๒.๑ เร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เด็กควรรู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่างหน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษา
รา่ งกายให้สะอาดและมีสขุ ภาพอนามัยท่ีดี การรับประทานอาหารท่ีเป็นประโยชน์ การระมัดระวังความปลอดภัยของ
ตนเองจากผู้อ่ืนและภัยใกล้ตัว รวมทั้งการปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างปลอดภัย การรู้จักความเป็นมาของตนเองและ
ครอบครัว การปฏิบัติตนเปน็ สมาชิกทีด่ ีของครอบครัวและโรงเรียน การเคารพสิทธิของตนเองและผ้อู ่ืน การร้จู ักแสดง
ความคิดเห็นของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การกากับตนเอง การเล่นและทาส่ิงต่างๆด้วยตนเองตาม
ลาพงั หรอื กับผู้อนื่ การตระหนกั รู้เกี่ยวกับตนเอง ความภาคภูมิใจในตนเอง การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึก
ของตนเองและผู้อ่ืน การแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างเหมาะสม การแสดงมารยาทท่ีดี การมีคุณธรรม
จรยิ ธรรม
๒.๒ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรียนรู้เกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน
และบคุ คลต่างๆ ท่ีเดก็ ตอ้ งเก่ียวข้องหรือใกล้ชิดและมีปฏสิ ัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน สถานทสี่ าคัญ วันสาคัญ อาชพี ของ
คนในชุมชน ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน สัญลักษณ์สาคัญของชาติไทยและการปฏิบัติตามวัฒนธรรมท้องถิ่น
และความเป็นไทย หรอื แหลง่ เรยี นรจู้ ากภมู ิปัญญาท้องถิ่นอืน่ ๆ
๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรเรยี นรู้เกยี่ วกับช่ือ ลักษณะ สว่ นประกอบ การเปลยี่ นแปลงและความสัมพันธ์
ของมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนการรู้จักเกี่ยวกับดิน น้า ท้องฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ แรง และพลังงานใน
ชวี ติ ประจาวันท่ีแวดล้อมเด็ก รวมทงั้ การอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ มและการรกั ษาสาธารณสมบัติ
๒.๔ ส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก เด็กควรเรียนรู้เก่ียวกับการใช้ภาษาเพ่ือส่ือความหมายในชีวิตประจาวัน ความรู้
พ้ืนฐานเกี่ยวกับการใช้หนังสือและตัวหนังสือ รู้จักชื่อ ลักษณะ สี ผิวสัมผัส ขนาด รูปร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนัก
จานวน ส่วนประกอบ การเปล่ียนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆรอบตัว เวลา เงิน ประโยชน์ การใช้งาน และ
การเลอื กใช้สิง่ ของเครื่องใช้ ยานพาหนะ การคมนาคม เทคโนโลยีและการสื่อสารต่างๆ ทใ่ี ช้อยู่ในชีวิตประจาวนั อย่าง
ประหยัด ปลอดภยั และรกั ษาส่ิงแวดล้อม
~ ๒๘ ~
กาหนดโครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวัยโรงเรยี นบา้ นบางเลน (บางเลนวทิ ยาคาร)
โครงสร้างหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบา้ นบางเลน (บางเลนวิทยาคาร)
คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ตามวยั สาระการเรยี นรู้ ระยะเวลาเรยี น
12 มาตรฐาน ประสบการณ์สาคญั 200 วนั : 1 ปีการศกึ ษา
ครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4ดา้ น วันละ 5-6ช.ม.
ดา้ นร่างกาย ด้านอารมณ์และจติ ใจ ด้านสงั คมและดา้ นสตปิ ัญญา แบ่งเป็น 2 ภาคเรยี น
ภาคเรยี นที่ 1 : 100 วนั
สาระท่ีควรเรยี นรู้ ภาคเรยี นที่ 2 : 100 วัน
สาระที่ 1 เร่ืองราวเกีย่ วกับตวั เดก็
สาระที่ 2 บุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก
สาระที่ 3 ธรรมชาตริ อบตัว
สาระที่ 4 สง่ิ ต่างๆรอบตวั เด็ก
~ ๒๙ ~
การกาหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ 4 สาระการเรียนรู้
สาระที่ 1 เรื่องราวเกีย่ วกับตัวเดก็
ท่ี หนว่ ย เร่ือง
1 หน่วยปฐมนิเทศ - ชือ่ -นามสกลุ ตนเองและชอื่ เพอ่ื น
- ชอื่ ครูประจาชน้ั
(มฐ.1 ตบช 1.3 ส 1.3.1) - สญั ลักษณ์ประจาตวั ของตนเอง
(มฐ.1 ตบช 1.4 ส 1.4.1) - การร้จู ักช่วยเหลอื ตนเอง
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - การปฏบิ ัติตามข้อตกลงของโรงเรียน
(มฐ.4 ตบช 4.1 ส 4.1.15)
(มฐ.8 ตบช 8.3 ส 8.3.1-8.3.2) - เพศของหนู
2 หนว่ ยตัวเรา - การทาความสะอาดรา่ งกาย
(มฐ.1 ตบช 1.1 ส 1.1.1) - การแต่งกาย
(มฐ.1 ตบช 1.2 ส 1.1.1) - การรับประทานอาหาร
(มฐ.1 ตบช 1.2 ส 1.2.1-1.2.2) - การใชห้ อ้ งน้า, ห้องส้วม
(มฐ.6 ตบช 6.1 ส 6.1.1-6.1.3) - การเลือกรับประทานอาหาร
3 หน่วยสุขนสิ ัยที่ดี / หนูน้อยอนามัยดี - ตัวหอม ฟนั สวย
( มฐ.1 ตบช 1.2 ส.1.2.1-4 ) - การลา้ งมือ 7 ขน้ั ตอน
(มฐ.6 ตบช 6.1 ส 6.1.2) - การออกกาลงั กาย
- การพกั ผ่อน
4 หนว่ ยประสาทสัมผัสทง้ั 5 - การมอง (ตา)
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4) - การฟงั (หู)
- การดมกล่ิน (จมูก)
5 หนว่ ยปลอดภัยไว้ก่อน - การชมิ รส (ล้นิ )
(มฐ.1 ตบช 1.3 ส 1.3.1) - การสมั ผสั (ผิวหนงั /ผิวกาย)
- อนั ตรายจากการเล่น
6 หน่วยหนูน้อยมารยาทงาม - อันตรายจากของมคี ม
(มฐ.5 ตบช 5.2 ส 5.2.1) - อนั ตรายจากอุบัตเิ หตุ
(มฐ.6 ตบช 6.1 ส 6.2.2) - อนั ตรายจากเคร่ืองใช้ไฟฟา้
(มฐ.7 ตบช 7.2 ส .7.2.1-7.2.3 ) - อันตรายจากสตั ว์
(มฐ.8 ตบช 8.2 ส .8.2.2) - มารยาทในการไหว้
- มารยาทในการพดู
- มารยาทในการนัง่ ,ยนื
- มารยาทในการเดิน
- มารยาทในการรบั ของ
~ ๓๐ ~
สาระท่ี 1 เรอ่ื งราวเกี่ยวกับตัวเดก็ (ตอ่ )
ท่ี หน่วย เรอ่ื ง
7 หนว่ ยอาหารดมี ีประโยชน์
อาหารหลัก 5 หมู่ (หมูท่ ี่ 1)
(มฐ.1 ตบช 1.2 ส 1.2.1) อาหารหลกั 5 หมู่ (หมู่ท่ี 2)
(มฐ.6 ตบช 6.1 ส 6.1.2) อาหารหลกั 5 หมู่ (หมู่ท่ี 3)
อาหารหลกั 5 หมู่ (หมทู่ ี่ 4)
8 หน่วยการเลน่ และการเคล่อื นไหวร่างกาย อาหารหลกั 5 หมู่ (หมูท่ ี่ 5)
(มฐ.1ตบช 1.3)
(มฐ.2 ตบช 2.1 ส 2.1.1-2.1.4) - ความหมายของการเล่นและการเคลื่อนไหว
(มฐ.5 ตบช 5.2 ส 5.2.2) - การเลน่ ภายในห้องเรียน
(มฐ.6 ตบช 6.2 ส 6.2.1 - 6.2.2) - การเล่นเคร่อื งเลน่ สนาม
(มฐ.8 ตบช 8.1 ส .8.1.1) - การเลน่ กจิ กรรมกลางแจง้
(มฐ.8 ตบช 8.2 ส .8.2.1) - การเล่นการละเลน่ พืน้ บ้าน
(มฐ.11 ตบช 11.2 ส 11.2.1 )
สาระที่ 2 เรอื่ งราวเก่ียวกบั บคุ คลและสถานที่แวดล้อมเดก็
ที่ หน่วย เรื่อง
1 หนว่ ยโรงเรยี นของหนู
- ชื่อโรงเรยี นและสัญลกั ษณ์ประจาโรงเรียน
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - บุคคลทสี่ าคัญภายในโรงเรียน
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - สถานทแ่ี ละสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียน
- การปฏบิ ัติตนตามระเบยี บของโรงเรียน
2 หน่วยทอ้ งถนิ่ ของเรา - สาธารณสมบตั ิของโรงเรียน
(มฐ.7 ตบช 7.1 ส 7.1.1-7.1.2)
(มฐ.7 ตบช 7.2 ส 7.2.1-7.2.3) - สภาพแวดล้อมในชมุ ชน
- บคุ คลสาคัญในชมุ ชน
3 หนว่ ยวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา - สถานทต่ี า่ ง ๆ ในชุมชน
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - อาชีพต่าง ๆ ในชมุ ชน
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - การปฏิบัตติ นเป็นสมาชกิ ที่ดี
- ประวัตคิ วามเป็นมาวันอาสาฬหบชู า
- กจิ กรรมท่ีทาในวันอาสาฬหบูชา
- ประวัตคิ วามเป็นมาและความสาคัญวัน
เขา้ พรรษา
- เทียนพรรษา และการถวายเทยี น
- กจิ กรรมที่ทาในวันเขา้ พรรษา
~ ๓๑ ~
สาระที่ 2 เรอื่ งราวเกีย่ วกับบคุ คลและสถานท่ีแวดลอ้ มเด็ก (ตอ่ )
ท่ี หน่วย เร่ือง
4 หนว่ ยวนั เฉลมิ พระชนมพ์ รรษา รัชกาลท่ี 10
- พระราชประวตั ิ
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - ความสาคัญของวนั เฉลมิ พระชนม์พรรษา
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) รชั กาลท่ี 10
- พระราชกรณยี กิจ
5 หนว่ ยวันแม่ - ดอกไมส้ ัญลักษณ์ (ดอกรวงผึง้ )
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - การปฏิบตั ติ นในวนั เฉลิมพระชนมพ์ รรษา
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) รัชกาลท่ี 10
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 )
- พระราชประวัติ
6 หนว่ ยครอบครัวแสนสุข - พระราชกรณยี กจิ
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - บทบาทหน้าท่ีของแม่
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - ดอกไมส้ ัญลักษณ์ของวันแม่
- การปฏบิ ัติตนกิจกรรมในวันแม่
7 หนว่ ยวนั พอ่
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - ความหมายและความสาคัญของครอบครวั
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - สมาชิกและหน้าทขี่ องสมาชิกในครอบครวั
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) - การปฏบิ ตั ิตน
- หอ้ งต่างๆภายในบ้าน
8 หนว่ ยวันลอยกระทง - วันสาคญั ตา่ ง ๆ ของครอบครวั
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1)
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
(มฐ.4 ตบช 4.1 ส 4.1.2-3) - ความสาคญั ของวันพ่อ
(มฐ.5 ตบช 5.4 ส 5.4.1) - บทบาทหนา้ ท่ขี องพ่อ
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) - ดอกไมส้ ัญลักษณข์ องวนั พ่อ
- การปฏบิ ตั ติ นต่อพ่อและการทาการ์ดวนั พ่อ
9 หนว่ ยสุขสนั ตว์ นั ปใี หม่
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - ประวัตคิ วามเปน็ มาของวนั ลอยกระทง
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - ความสาคัญของนา้ และแหล่งนา้
(มฐ.4 ตบช 4.1 ส 4.1.2-3) - กิจกรรมทที่ าในวนั ลอยกระทง
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) - การดูแลตนเองในวันลอยกระทง / การปฏิบัติ
ตนในวนั ลอยกระทง
- การประดิษฐ์กระทง
- ความหมายของวันข้นึ ปีใหม่
- กิจกรรมทางศาสนาในวันปีใหม่
- กิจกรรมงานรนื่ เริงในวนั ปใี หมแ่ ละการแลก
ของขวัญ
- การปฏบิ ตั ิตนต่อผูใ้ หญ่
- ของขวญั วนั ปีใหม่และการทาการ์ดอวยพร
~ ๓๒ ~
สาระที่ 2 เร่อื งราวเกยี่ วกับบคุ คลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก (ต่อ)
ท่ี หน่วย เร่อื ง
10 หน่วยวนั เดก็ วันครู
- ทมี่ าและความสาคญั ของวันเด็ก
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - คาขวญั วันเด็ก
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - กิจกรรมท่ที าในวันเดก็
(มฐ.11 ตบช 11.2 ส 11.2.1 ) - ทีม่ าและความสาคญั ของวันครู
- กิจกรรมในวันครู
11 หน่วยอาชีพที่หนชู อบ
(มฐ.3 ตบช 3.1 ส 3.1.1) - อาชพี และหนา้ ทที่ ีห่ นรู จู้ ัก
(มฐ.3 ตบช 3.2 ส 3.2.1-2) - สถานที่ทางานของอาชพี ต่างๆ (โรงพยาบาล
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) สถานีตารวจ โรงเรยี น ตลาด ไปรษณีย์
(มฐ.11 ตบช 11.2 ส 11.2.1 ) หา้ งสรรพสินค้า อาเภอ ดับเพลงิ นา สวน ฯลฯ)
- การแต่งกาย
- เครื่องมือท่ีใช้ในการประกอบอาชพี
- ความฝันของหนู (อาชีพทห่ี นูอยากเป็น)
สาระท่ี 3 เรือ่ งราวเกีย่ วกับธรรมชาติรอบตัวเด็ก
ท่ี หน่วย เร่อื ง
1 หนว่ ยน้า
- คณุ สมบตั ิของนา้ (ของเหลว)
(มฐ.6 ตบช 6.3 ส 6.3.1 ) - ประโยชน์ของน้า
(มฐ.7 ตบช 7.1 ส 7.1.1-7.1.2 ) - แหล่งน้าธรรมชาติ (นา้ ตก หว้ ย หนอง คลอง
บงึ ทะเล )
2 หนว่ ยฤดูกาล(ฤดรู ้อน ฤดูฝน ฤดหู นาว) - การอนรุ กั ษ์แหล่งน้า
(มฐ.6 ตบช 6. ส 6.1.1 ) - สาเหตุท่ีเกิดจากภยั ธรรมชาติ
(มฐ.10 ตบช 10.2 ส 10.2.1-10.2.2 )
- ฤดูฝน
3 หน่วยดิน หนิ ทราย - ปรากฏการณท์ างธรรมชาตใิ นฤดฝู น
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4 ) - ฤดูหนาว
- ฤดูร้อน
- ประโยชน์และโทษฤดูกาลต่างๆ
- รูปร่างลกั ษณะของดนิ หิน ทราย
- ประเภทของดิน หนิ ทราย
- แหลง่ ทม่ี าของดิน หิน ทราย
- ประโยชน์ของดิน หิน ทราย
- การอนรุ ักษ์ดนิ หิน ทราย
~ ๓๓ ~
สาระท่ี 3 เร่ืองราวเก่ยี วกับธรรมชาติรอบตวั เด็ก (ตอ่ )
ท่ี หนว่ ย เร่อื ง
4 หนว่ ยรอบตวั เรามีอากาศ - สภาพทั่วไปและคุณลกั ษณะของอากาศ
(มฐ.10 ตบช 10.2 ส 10.2.1-10.2.2 ) - ประโยชนแ์ ละโทษของอากาศ
- การดแู ลและป้องกันตนเองเมอ่ื อากาศ
เปลี่ยนแปลง
- การป้องกันมลพิษของอากาศ
- ทดลองการเกดิ พลังงานลม
5 หน่วยสตั ว์ในธรรมชาติ - สัตวน์ ้า
(มฐ.5 ตบช 5.2 ส 5.2.1) - สตั ว์ครึ่งบกครึง่ นา้
- สตั ว์เลื้อยคลาน
- สตั ว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนม
- สตั ว์ปกี
6 หนว่ ยตน้ ไมท้ รี่ ัก - รูปรา่ งลกั ษณะและความสาคัญของต้นไม้
(มฐ.7 ตบช 7.1 ส .7.1.1 ) - หน้าทแี่ ละสว่ นประกอบของตน้ ไม้
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4 ) - ประเภทของตน้ ไม้
- การดูแลรักษาต้นไม้
- ประโยชนแ์ ละโทษของต้นไม้
7 หน่วยกลางวันกลางคนื - สภาพท่วั ไปในเวลากลางวนั
(มฐ.10 ตบช 10.2 ส 10.2.1-10.2.2 ) - สภาพทัว่ ไปในเวลากลางคืน
- สตั วท์ ่ีออกหากนิ ในเวลากลางวนั และกลางคนื
- ปรากฎการณ์ในเวลากลางวนั และกลางคืน
- การปฏบิ ัตติ นในเวลากลางวันและกลางคนื
8 หนว่ ยพลังงานรอบตัวเรา - พลังงานมาจากไหน
(มฐ.10 ตบช 10.2 ส 10.2.1-10.2.2 ) - พลงั งานลม
- พลังงานนา้
- พลงั งานแสงอาทติ ย์
- พลงั งานไฟฟ้า
9 หนว่ ยโลกสวยด้วยมือเรา - สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
(มฐ.7 ตบช 7.1 ส .7.1.1-7.1.2 ) - การอนรุ กั ษส์ ภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ
- สภาพแวดล้อมทม่ี นุษย์สร้างขึ้น
-การอนรุ ักษ์สภาพแวดล้อมท่ีมนษุ ยส์ ร้างขึ้น
- สภาพแวดล้อมท่ีเปน็ พษิ
10 หนว่ ยกล้วยมหศั จรรย์ - ลกั ษณะของกล้วย
(มฐ.1 ตบช.1.3มฐ.3 ตบช.3.2มฐ.4 ตบช.4.1 - ชนิดของกลว้ ย
มฐ.6 ตบช.6.2มฐ.8 ตบช.8.1มฐ.9 ตบช. 9.1 - ส่วนประกอบของกลว้ ย
มฐ. 10 ตบช. 10.1มฐ.11 ตบช.11.1 - ประโยชน์และโทษของกลว้ ย
- อาหารจากกล้วย
~ ๓๔ ~
สาระที่ 4 เรอ่ื งราวเกีย่ วกบั ส่งิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก
ท่ี หน่วย เร่อื ง
1 หน่วยวทิ ยาศาสตรน์ ่ารู้
- การใช้แว่นขยาย
(มฐ.10 ตบช 10.2 ส 10.2.1-10.2.2 ) - แมเ่ หล็ก
(มฐ.10 ตบช 10.3 ส 10.3.1-10.3.2 ) - การเกดิ เสยี ง
(มฐ.12 ตบช 12.2 ส 12.2.1-12.2.2 ) - แสง
- การจมการลอย
2 หนว่ ยของเล่นของใช้
(มฐ.5 ตบช 5.1 ส 5.1.1) - ความหมายของของเลน่ ของใช้
(มฐ.5 ตบช 5.3 ส 5.3.1) - ประเภทของเลน่ ( เรยี นรูร้ ูปทรง วัสดุ )
(มฐ.5 ตบช 5.4 ส 5.4.1) - ประเภทของใช้ (ของมีคม พลาสติก แก้ว เหลก็ )
(มฐ.6 ตบช 6.2 ส 6.2.1 ) - ประโยชนแ์ ละการดูแลรักษาของเลน่ ของใช้
(มฐ.6 ตบช 6.3 ส 6.3.1 ) - การประดษิ ฐ์ของเลน่ (วัสดุเหลือใช)้
3 หน่วยการคมนาคม - ความหมายของการคมนาคม
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4 )
(มฐ.12 ตบช 12.1 ส 12.1.1-12.1.2 ) - การคมนาคมทางบก
4 หนว่ ยการติดต่อสือ่ สาร - การคมนาคมทางอากาศ
(มฐ.9 ตบช 9.1 ส 9.1.1-9.1.2)
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) - การคมนาคมทางน้า
(มฐ.12 ตบช 12.1 ส 12.1.1-12.1.2 )
(มฐ.12 ตบช 12.2 ส 12.2.1-12.2.2 ) - ประโยชน์และโทษของการคมนาคม
5 หน่วยคณิตศาสตร์แสนสนุก - ความหมายของการรบั รขู้ ่าวสาร การพดู การ
(มฐ.2 ตบช 2.2 ส 2.2.1-3)
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4 ) อา่ นและการเขยี น
(มฐ.12 ตบช 12.1 ส 12.1.1-12.1.2 )
- การรับรขู้ า่ วสารทางไปรษณีย์
6 หน่วยสีแสนสวย
(มฐ.4 ตบช 4.1 ส 4.1.1) - การติดต่อส่อื สารโดยการใช้โทรศัพท์
(มฐ.9 ตบช 9.2 ส 9.2.1-9.2.2)
(มฐ.11 ตบช 11.1 ส 11.1.1 ) - การรับรขู้ า่ วสารวทิ ยุ / โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
อนิ เตอร์เน็ต อีเมลล์
- มารยาทในการพูดและฟงั
- รปู ร่างรปู ทรง (เขียน )และ
สัญลกั ษณ์
- ตวั เลข
- ตาแหน่ง
- การบอกเวลา
- ค่าของเงิน
- ชือ่ และความหมายของสี
- ประเภทของสี (สีไม้ สเี ทยี น สชี อลค์ สีน้า สี
จากธรรมชาติ ฯลฯ)
- ประโยชน์และโทษของสี (ศิลปะและอาหาร)
- ศลิ ปะทท่ี าจากสีธรรมชาติ (พบั สี เปา่ สี ดีดสี
พมิ พภ์ าพ ฝนสี ฯลฯ) (())
- อาหารทที่ าจากสธี รรมชาติ
~ ๓๕ ~
สาระที่ 4 เร่ืองราวเก่ยี วกบั สิง่ ตา่ งๆรอบตัวเดก็ (ต่อ)
ท่ี หนว่ ย เรือ่ ง
7 หน่วยเคร่อื งใช้ไฟฟา้
- ชือ่ เครอื่ งใช้ไฟฟ้าชนดิ ต่างๆ
(มฐ.10 ตบช 10.1 ส 10.1.1-10.1.4 ) - เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้าน
- เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในโรงเรียน
8 หนว่ ยนักเกษตรตัวน้อย - ประโยชน์และโทษของเคร่ืองใช้ไฟฟ้า
(มฐ.5 ตบช 5.1 ส 5.1.1) - การดูแลรักษาเครือ่ งใช้ไฟฟ้า
(มฐ.5 ตบช 5.2 ส 5.2.2)
(มฐ.6 ตบช 6.3 ส 6.3.1 ) - ความหมายของการเกษตร
(มฐ.8 ตบช 8.3 ส .8.3.1-8.3.3) - การทานา
- การทาไร่
9 หนว่ ยอาเซยี นนา่ รู้ - การทาสวน
(มฐ.7 ตบช 7.2 ส .7.2.1-7.2.3) - การเลยี้ งสตั ว์
- ช่อื และธงประจาชาติอาเซียน
- ชดุ แต่งกายประจาชาติอาเซียน
- ดอกไม้ประจาชาติอาเซยี น
- อาหารประจาชาตอิ าเซียน
- คาทักทายประจาชาติอาเซียน
~ ๓๖ ~
การกาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ระดับชั้นปฐมวัย
- ช่ือ-นามสกุลของตนเองและเพ่ือน - เพศของหนู
- ชือ่ ครปู ระจาชัน้ - การทาความสะอาดร่างกาย
- สัญลกั ษณ์ประจาของตนเอง - การแต่งกาย
- การรูจ้ กั ชว่ ยเหลอื ตนเอง - การรบั ประทานอาหาร
- การปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงของโรงเรยี น - การใช้ห้องนา้ /หอ้ งสว้ ม
หนว่ ยปฐมนเิ ทศ หนว่ ยตัวเรา
สาระท่ี 1
เรอื่ งราวเกย่ี วกับตัวเด็ก
หนว่ ยประสาทสมั ผัสทงั้ ๕ หนว่ ยสขุ นิสัยท่ีดี
- การมอง (ตา) - การเลือกรับประทานอาหาร
- การฟงั (หู) - ตวั หอม ฟันสวย
- การดมกล่ิน (จมูก) - การล้างมือ ๗ ขน้ั ตอน
- การชิมรส (ล้ิน) - การออกกาลังกาย
- การสมั ผัสผวิ หนงั / ผิวกาย - การพกั ผ่อน
การกาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ระดับช้นั ปฐมวัย
~ ๓๗ ~
การกาหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ระดบั ช้นั ปฐมวยั
- อันตรายจากการเล่น - มารยาทในการไหว้
- อนั ตรายจากของมีคม - มารยาทในการพดู
- อนั ตรายจากอบุ ัตเิ หตุ - มารยาทในการน่ัง / ยืน
- อนั ตรายจากเคร่ืองใช้ไฟฟ้า - มารยาทในการเดนิ
- อันตรายจากสตั ว์ - มารยาทในการรบั ของ
หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน หน่วยหนูนอ้ ยมารยาท
งาม
สาระที่ 1
เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตัวเด็ก
หนว่ ยการเลน่ และการเคล่ือนไหวร่างกาย หน่วยอาหารดีมปี ระโยชน์
- ความหมายของการเลน่ และ - อาหารหลกั ๕หมู่ (หมทู่ ่ี๑)
การเคล่อื นไหวร่างกาย - อาหารหลกั ๕หมู่ (หมู่ท๒่ี )
- การเล่นภายในห้องเรยี น - อาหารหลัก๕หมู่ (หมทู่ ๓ี่ )
- การเล่นเครอ่ื งเลน่ สนาม - อาหารหลกั ๕หมู่ (หม่ทู ๔่ี )
- การเล่นกิจกรรมกลางแจ้ง - อาหารหลกั ๕หมู่ (หมู่ท๕ี่ )
- การเล่นการละเล่นพ้นื บา้ น
~ ๓๘ ~
การกาหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ระดบั ชน้ั ปฐมวยั
- ชื่อโรงเรียนและสัญลกั ษณ์ประจาโรงเรียน - สภาพแวดล้อมในชุมชน
- บคุ คลท่สี าคญั ภายในโรงเรยี น - บุคคลสาคัญในชุมชน
- สถานท่แี ละสภาพแวดล้อมภายในโรงเรยี น - สถานทีต่ ่างๆ ในชมุ ชน
- การปฏบิ ัติตนตามระเบยี บของโรงเรยี น - อาชีพตา่ งๆในชุมชน
- สาธารณสมบัตขิ องโรงเรียน - การปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชิกท่ีดี
หน่วยโรงเรียนของเรา หนว่ ยท้องถิ่นของเรา
สาระที่ 2
เรอ่ื งราวเก่ยี วกับบุคคลและ
สถานที่แวดล้อมเด็ก
หน่วยครอบครัวแสนสุข หน่วยวนั อาสาฬหบชู าและวนั เข้าพรรษา
- ความหมายและความสาคัญของครอบครวั - ประวตั คิ วามเป็นมาวนั อาสาฬหบูชา-
- สมาชิกและหน้าทข่ี องสมาชิกในครอบครัว - กจิ กรรมทท่ี าในวนั อาสาฬหบชู า
- การปฏิบัติตน - ประวัติความเปน็ มาและความสาคัญวันเข้าพรรษา
- หอ้ งตา่ งๆภายในบ้าน - เทยี นพรรษาและการถวายเทียน
- กิจกรรมทีท่ าในวนั เขา้ พรรษา
- วันสาคัญตา่ งๆของครอบครัว
~ ๓๙ ~
การกาหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ระดับช้ันปฐมวัย
- พระราชประวัติ - พระราชประวตั ิ
- พระราชกรณยี กจิ - ความสาคญั ของวันเฉลิมฯ ร.๑๐
- บทบาทหนา้ ทขี่ องแม่ - พระราชกรณยี กจิ
- ดอกไม้สญั ลักษณ์ของวันแม่ - ดอกไมส้ ัญลักษณ(์ ดอกรวงผึ้ง)
- การปฏิบตั ติ นในกิจกรรมวันแม่ - การปฏบิ ตั ติ นในวันเฉลมิ ฯ ร.๑๐
หนว่ ยวันแม่ หนว่ ยวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ร.๑๐
สาระที่ 2
เร่ืองราวเกย่ี วกับบุคคลและ
สถานที่แวดล้อมเด็ก
หนว่ ยวันพ่อ หนว่ ยวนั ลอยกระทง
- พระราชประวัติรชั กาลที่ ๙ - - ประวตั คิ วามสาคญั ของวันลอยกระทง
- ความสาคัญของวนั พ่อ - ความสาคัญของน้าและแหล่งน้า
- บทบาทหน้าที่ของพ่อ - กิจกรรมที่ทาในวันลอยกระทง
- ดอกไมส้ ญั ลักษณข์ องวันพ่อ - การดูแลตนเองในวันลอยกระทง/การปฏบิ ตั ิตนใน
- การปฏบิ ตั ติ นต่อพ่อและการทาการ์ดวันพ่อ วนั ลอยกระทง
- การประดิษฐ์กระทง
~ ๔๐ ~
การกาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ระดับชัน้ ปฐมวยั
- ความหมายของวันข้ึนปใี หม่ - ท่ีมาและความสาคญั ของเด็ก
- กิจกรรมทางศาสนาของวันขน้ึ ปีใหม่ - คาขวัญวันเด็ก
- กจิ กรรมงานรน่ื เริงในวันปีใหม่และการแลกของขวญั - กจิ กรรมท่ีทาในวันเด็ก
- การปฏบิ ตั ติ นต่อผใู้ หญ่ - ท่มี าและความสาคญั ของครู
- ของขวัญวนั ปีใหม่และการ์ดอวยพร - กจิ กรรมในวันครู
หนว่ ยสุขสันต์วันปใี หม่ หนว่ ยวนั เด็ก วันครู
สาระที่ 2
เร่ืองราวเกย่ี วกับบุคคลและ
สถานที่แวดล้อมเด็ก
หนว่ ยอาชีพที่หนูชอบ
- อาชีพและหน้าที่ทีห่ นรู ู้จกั
- สถานที่ทางานของอาชีพต่างๆ(โรงพยาบาล
สถานตี ารวจ โรงเรยี น ตลาด ไปรษณีย์
ห้างสรรพสนิ คา้ อาเภอ ดบั เพลงิ นา สวนฯลฯ)
- การแตง่ กาย
- เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการประกอบอาชพี
- ความฝันของหนู
~ ๔๑ ~
การกาหนดหนว่ ยการจัดประสบการณ์ระดับช้ันปฐมวยั
- คุณสมบัติของน้า (ของเหลว) - ฤดูฝน
- ประโยชน์ของน้า - ปรากฎการณ์ทางธรรมชาติในฤดฝู น
- แหลง่ น้าธรรมชาต(ิ หว้ ย หนอง คลอง บึง - ฤดูหนาว
นา้ ตก บ่อน้า ทะเล) - ฤดูรอ้ น
- การอนรุ ักษ์แหลง่ น้า - ประโยชนแ์ ละโทษของฤดูกาล
- สาเหตทุ เ่ี กิดภยั ธรรมชาติ
หนว่ ยน้า หนว่ ยฤดกู าล(ฤดฝู น ฤดรู อ้ น ฤดหู นาว)
สาระที่ 3
เรอื่ งราวเกย่ี วกับธรรมชาติ
รอบตัวเด็ก
หนว่ ยตน้ ไมท้ รี่ ัก หน่วยหิน ดนิ ทราย
- รูปรา่ งลกั ษณะและความสาคญั ของต้นไม้ - รปู ร่างลักษณะของหิน ดิน ทราย
- หน้าท่ีและสว่ นประกอบของต้นไม้ - ประเภทของหิน ดิน ทราย
- ประเภทของตน้ ไม้ - แหล่งที่มาของหิน ดนิ ทราย
- การดแู ลรกั ษา - ประโยชนข์ องหนิ ดิน ทราย
- ประโยชน์และโทษของตน้ ไม้ - การอนุรกั ษ์ของหนิ ดนิ ทราย (การประดษิ ฐ์)
กระทง
~ ๔๒ ~
การกาหนดหน่วยการจัดประสบการณ์ระดบั ช้นั ปฐมวัย
- สตั ว์นา้ - สภาพท่วั ไปและคุณลกั ษณะของอากาศ
- สตั วค์ ร่ึงบกครึ่งน้า - ประโยชน์และโทษของอากาศ
- สตั วเ์ ลื้อยคลาน - การดูแลและป้องกันตนเองเมอื่ อากาศเปล่ียนแปลง
- สตั ว์เลี้ยงลกู ด้วยนม - การป้องกนั มลพษิ ทางอากาศ
- สัตว์ปีก - ทดลองการเกดิ พลงั งาน
หนว่ ยสตั ว์ในธรรมชาติ หนว่ ยรอบตวั เรามีอากาศ
สาระท่ี 3
เรื่องราวเกีย่ วกับธรรมชาติ
รอบตัวเด็ก
หนว่ ยพลงั งานรอบตวั หน่วยกลางวนั กลางคนื
เรา
- สภาพทั่วไปในเวลากลางวัน
- พลงั งานมาจากไหน - สภาพท่ัวไปในเวลากลางคืน
- พลงั งานลม - สตั ว์ที่ออกหากนิ ในเวลากลางวนั และกลางคืน
- พลังงานนา้ - ปรากฏการณ์ในเวลากลางวนั และกลางคืน
- พลังงานแสงอาทติ ย์ - การปฏิบัติตนในเวลากลางวันและกลางคืน
- พลงั งานไฟฟา้
~ ๔๓ ~
การกาหนดหน่วยการจดั ประสบการณ์ระดบั ช้นั ปฐมวยั
- สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
- การอนุรกั ษส์ ภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
- สภาพแวดล้อมที่มนุษย์สรา้ งข้ึน
- การอนรุ กั ษส์ ภาพแวดลอ้ มที่มนุษยส์ รา้ งขน้ึ
- สภาพแวดลอ้ มแวดล้อมที่เปน็ พษิ
หนว่ ยโลกสวยดว้ ยมือเรา
สาระท่ี 3
เรือ่ งราวเกย่ี วกับธรรมชาติ
รอบตัวเด็ก
หนว่ ยกลว้ ยมหศั จรรย์
- ลกั ษณะของกล้วย
- ชนดิ ของกลว้ ย
- ส่วนประกอบของกล้วย
- ประโยชน์และโทษของกล้วย
- อาหารจากกล้วย
~ ๔๔ ~
การกาหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ระดบั ชั้นปฐมวยั
- การใช้แว่นขยาย - ความหมายของของเล่นของใช้
- แมเ่ หล็ก - ประเภทของเล่น(เรียนรูร้ ปู ทรง วสั ด)ุ
- การเกดิ เสียง - ประเภทของใช(้ ของมีคม พลาสตกิ แก้ว เหลก็ )
- แสง - ประโยชนแ์ ละการดแู ลรักษาของเล่นของใช้
- การจมการลอย - การประดษิ ฐ์ของเล่น(วสั ดเุ หลือใช้)
หน่วยวทิ ยาศาสตร์นา่ รู้ หน่วยของเล่นของใช้
สาระท่ี 4
เร่ืองราวเกีย่ วกับส่ิงต่างๆ
รอบตัวเด็ก
หน่วยสีแสนสวย หนว่ ยการคมนาคม
- ช่ือและความหมายของสี - ความหมายของการคมนาคม
- ประเภทของสี (สไี ม้ สเี ทยี น สชี อล์ค สนี า้ สจี าก - การคมนาคมทางบก
ธรรมชาติ ฯลฯ) - การคมนาคมทางอากาศ
- ประโยชนแ์ ละโทษของสี (ศิลปะและอาหาร) - การคมนาคมทางน้า
- ศิลปะที่ทาจากสธี รรมชาติ (พบั สี เป่าสี ดดี สี พมิ พ์ - ประโยชนแ์ ละโทษของการคมนาคม
ภาพ ฝนสี ฯลฯ)
- อาหารทท่ี าจากสธี รรมชาติ
~ ๔๕ ~
การกาหนดหน่วยการจัดประสบการณ์ระดับชนั้ ปฐมวยั
- รปู รา่ งรูปทรง (เขียน ) - ความหมายของการรบั รูข้ ่าวสาร การพดู การอ่าน
และสญั ลักษณ์ และการเขียน
- ตัวเลข - การรับรขู้ ่าวสารทางไปรษณีย์
- ตาแหนง่ - การติดตอ่ สอ่ื สารโดยการใช้โทรศัพท์
- การบอกเวลา - การรบั รู้ขา่ วสารวิทยุ / โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์
- ค่าของเงิน อินเตอร์เน็ต อีเมลล์
- มารยาทในการพูดและฟัง
หนว่ ยคณิตศาสตร์แสนสนุก
หน่วยการติดตอ่ ส่อื สาร
สาระท่ี 4
เร่ืองราวเกย่ี วกับสิง่ ต่างๆ
รอบตัวเด็ก
หนว่ ยอาเซยี นนา่ รู้ หนว่ ยนักเกษตรตวั น้อย หน่วยเครอ่ื งใช้ไฟฟา้
- ช่ือและธงชาตปิ ระจาอาเซียน - ความหมายของการเกษตร - ช่ือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าชนดิ
- การทานา ต่างๆ
- ชุดแต่งกายประจาชาติ - การทาไร่ - เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ในบา้ น
อาเซียน - การทาสวน - เคร่อื งใช้ไฟฟ้าในโรงเรียน
- ประโยชนแ์ ละโทษของ
- ดอกไมป้ ระจาชาติอาเซยี น - การเลี้ยงสตั ว์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
- การดแู ลรักษา
- อาหารประจาชาตอิ าเซียน เคร่อื งใช้ไฟฟ้า
- คาทักทายประจาชาติ
อาเซยี น
~ ๔๖ ~
การกาหนดหน่วยการจัดประสบการณ์ระดับช้ันปฐมวยั
ภาคเรยี นท่ี 1
หน่ ช่ือหนว่ ย สาระที่ควรเรยี นรู้ วันที่
วย เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตวั เด็ก 17 – 20 พฤษภาคม 2565
ท่ี เรื่องราวเกย่ี วกับตัวเด็ก 23 – 27 พฤษภาคม 2565
1 ปฐมนิเทศ เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ มเดก็ 30 พฤษภาคม – 3
2 ตัวเรา มิถนุ ายน 2565
3 โรงเรยี นของหนู 6 – 10 มิถนุ ายน 2565
11 – 17 มิถนุ ายน 2565
4 ของเล่นของใช้ เรือ่ งราวเกย่ี วกบั ส่ิงต่างๆรอบตวั เด็ก 20 – 24 มิถนุ ายน 2565
5 ปลอดภัย เรื่องราวเกย่ี วกบั สงิ่ ต่างๆรอบตัวเด็ก 27 มิถนุ ายน – 1 กรกฎาคม
6 อนามยั ดีมสี ุข เรอ่ื งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก 2565
7 อาหารดีมปี ระโยชน์ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก 4 – 8 กรกฎาคม 2565
11 – 15 กรกฎาคม 2565
8 วันเฉลมิ พระชนมพรรษารชั กาลที่ 10 เรอ่ื งราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานทีแ่ วดล้อมเด็ก 18 – 22 กรกฎาคม 2565
25 – 29 กรกฎาคม 2565
9 เรยี นร้สู ภู้ ยั โควดิ เรื่องราวเกี่ยวกบั สิง่ ต่างๆรอบตัวเด็ก 1 – 5 สงิ หาคม 2565
8 – 12 สิงหาคม 2565
10 นา เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ธรรมชาติรอบตวั เด็ก 15 – 19 สงิ หาคม 2565
22 – 26 สงิ หาคม 2565
11 แม่ เรอ่ื งราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็ 29 สงิ หาคม – 2 กนั ยายน
2565
12 ประสาทสมั ผสั ทัง5 เรื่องราวเก่ยี วกบั สิ่งต่างๆรอบตวั เด็ก 5 – 9 กันยายน 2565
12 – 16 กันยายน 2565
13 วทิ ยาศาสตร์ เรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตัวเดก็ 19 – 23 กนั ยายน 2565
26 – 30 กนั ยายน 2565
14 ครอบครวั เรื่องราวเกย่ี วกบั บุคคลและสถานทแ่ี วดล้อมเด็ก
15 อาชพี เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั บุคคลและสถานทแี่ วดลอ้ มเด็ก
16 ตน้ ไม้ เรอื่ งราวเกย่ี วกับธรรมชาตริ อบตัวเด็ก
17 สัตว์ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ธรรมชาติรอบตัวเด็ก
18 คณติ เรอ่ื งราวเกย่ี วกับส่ิงต่างๆรอบตัวเดก็
19 ฤดกู าล เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ธรรมชาตริ อบตวั เด็ก
20 โครงงาน เร่ืองราวเกย่ี วกบั สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
~ ๔๗ ~
การกาหนดหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ระดบั ชัน้ ปฐมวยั
ภาคเรยี นที่ 2
หน่วย ช่อื หน่วย สาระทค่ี วรเรยี นรู้ วนั ที่
ท่ี เรื่องราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานที่แวดลอ้ มเดก็ 1-4 พฤศจกิ ายน 2565
21 การเดินทางแสนสนุก เรื่องราวเกย่ี วกบั ธรรมชาติรอบตวั เด็ก 7-11 พฤศจิกายน 2565
เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก 14-18 พฤศจิกายน 2565
22 วันลอยกระทง เรอ่ื งราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆรอบตวั เดก็ 21-25 พฤศจิกายน 2565
23 ผลไม้แสนอร่อย เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั บุคคลและสถานทีแ่ วดลอ้ มเดก็ 28 พฤศจิกายน – 2 ธนั วาคม 2565
เรื่องราวเกี่ยวกบั สิ่งต่างๆรอบตวั เด็ก 5-9 ธันวาคม 2565
24 ขา้ วแสนอรอ่ ย เรอ่ื งราวเกย่ี วกับสง่ิ ต่างๆรอบตวั เด็ก 12-16 ธันวาคม 2565
เรื่องราวเกย่ี วกบั บุคคลและสถานทแ่ี วดลอ้ มเดก็ 19 -23 ธันวาคม 2565
25 วันพ่อ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ส่ิงต่างๆรอบตัวเดก็ 26-30 ธนั วาคม 2565
เรอ่ื งราวเกย่ี วกับธรรมชาตริ อบตัวเดก็ 3-6 มกราคม 2566
26 สแี สนสวย เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั บุคคลและสถานท่แี วดลอ้ มเดก็ 9-13 มกราคม 2566
เรื่องราวเกี่ยวกบั สง่ิ ต่างๆรอบตวั เดก็ 16 -20 มกราคม 2566
27 เคร่อื งใช้ไฟฟา้ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ธรรมชาตริ อบตัวเด็ก 23 -27 มกราคม 2566
28 ท้องถนิ่ ของเรา เรื่องราวเกย่ี วกับธรรมชาติรอบตัวเดก็ 30 มกราคม - 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2566
เรอ่ื งราวเกย่ี วกับธรรมชาติรอบตวั เด็ก 6-10 กุมภาพนั ธ์ 2566
29 สุขสันตว์ นั ปใี หม่ เรอ่ื งราวเก่ียวกับธรรมชาตริ อบตัวเด็ก 13-17 กมุ ภาพนั ธ์ 2566
เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั สิ่งต่างๆรอบตวั เด็ก 20-24 กุมภาพนั ธ์ 2566
30 กลางวันกลางคนื เรอ่ื งราวเกย่ี วกับสง่ิ ต่างๆรอบตัวเดก็ 27 กุมภาพนั ธ์ – 3 มนี าคม 2566
เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั สิ่งต่างๆรอบตัวเดก็ 6-10 มนี าคม 2566
31 วนั เด็ก วันครู
13-17มีนาคม 2566
32 การติดต่อส่ือสาร
33 กล้วยมหัศจรรย์ 20-24 มนี าคม 2566
34 ดอกไม้แสนสวย
35 โลกสวยด้วยมอื เรา
36 ดิน หิน ทราย
37 นักเกษตรตัวนอ้ ย
38 การสอนแบบโครงงาน
๓๙ กา้ วอย่างภมู ใิ จ(บัณฑิต
น้อย
๔๐ สรุปผลการประเมนิ
พฒั นาการ
๔๑ เตรยี มสู่ ป.1
~ ๔๘ ~
สาระการเรยี นรู้รายปีสาหรบั เด็กปฐมวัย
พัฒนาการ ดา้ นร่างกาย
มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวัยเดก็ มสี ขุ นิสัยท่ดี ี
ตวั บง่ ช้ที ่ี ๑.๑ มนี า้ หนักและสว่ นสูงตามเกณฑ์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
1.1.1 น้าหนักและสว่ นสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามยั 1.1.1 น้าหนกั และส่วนสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั
สาระท่คี วรเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้
สาระที่ 1 เร่อื งราวเกี่ยวกับตัวเดก็ ประสบการณ์สาคัญ
หน่วยตวั เรา 1.สง่ เสรมิ พฒั นาการด้านรา่ งกาย
- เพศของหนู 1.3 การรกั ษาสขุ ภาพอนามัยสว่ นตวั
- การทาความสะอาดรา่ งกาย 1)การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามยั สุขนิสยั ทีด่ ใี นกจิ วตั รประจาวัน
- การแต่งกาย 1.4 การรกั ษาความปลอดภยั
- การรับประทานอาหาร 1)การปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั ในกจิ วตั รประจาวนั
- การใช้หอ้ งน้า, ห้องส้วม
หน่วยอาหารดมี ีประโยชน์ 2.สง่ เสรมิ พัฒนาการด้านอารมณ์
- อาหารหลัก 5 หมู่ (หมูท่ ี่ 1) 2.1 สนุ ทรยี ภาพ ดนตรี
- อาหารหลกั 5 หมู่ (หมู่ที่ 2) 1)การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏกิ ริ ยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี
- อาหารหลัก 5 หมู่ (หมทู่ ี่ 3)
- อาหารหลัก 5 หมู่ (หมทู่ ี่ 4) 3.ส่งเสริมพัฒนาการดา้ นสังคม
- อาหารหลกั 5 หมู่ (หมูท่ ่ี 5) 3.1 การปฏบิ ัตกิ จิ วตั รประจาวัน
1)การช่วยเหลอื ตนเองในกจิ วัตรประจาวนั
3.2 การดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
1)การมีส่วนร่วมรับผดิ ชอบดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอกหอ้ งเรยี น
3.5 การเล่นแบบร่วมมือรว่ มใจ
1)การรว่ มสนทนาและแลกเปลย่ี นความคิดเหน็
๔.ส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสติปัญญา
๔.1 การใช้ภาษา
4)การแสดงความคดิ ความรู้สกึ และความต้องการ
5)การพดู กับผ้อู น่ื เก่ียวกบั ประสบการณ์ของตนเอง หรอื พูดเลา่ เรอ่ื งราวเก่ียวกับตนเอง
~ ๔๙ ~
พฒั นาการ ดา้ นรา่ งกาย
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั เดก็ มีสขุ นสิ ยั ทดี่ ี
ตวั บง่ ชี้ท่ี ๑.๒ มสี ขุ ภาพอนามยั สุขนสิ ัยที่ดี
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
1.2.1 รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชนแ์ ละดืม่ นา้ 1.2.1 รบั ประทานอาหารทีม่ ีประโยชนไ์ ดห้ ลายชนดิ และดื่มนา้
สะอาดดว้ ยตนเอง สะอาดได้ด้วยตนเอง
1.2.2 ลา้ งมอื ก่อนรบั ประทานอาหารและหลังจากใช้ 1.2.2 ลา้ งมือก่อนรับประทานอาหารและหลังจากใชห้ อ้ งน้า
หอ้ งน้าห้องส้วมด้วยตนเอง หอ้ งส้วมด้วยตนเอง
1.2.3 นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเป็นเวลา
1.2.4 ออกกาลงั กายเปน็ เวลา
1.2.4 ออกกาลังกายเป็นเวลา
สาระท่ีควรเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้
สาระที่ 1 เร่ืองราวเกยี่ วกับตัวเด็ก
ประสบการณ์สาคญั
หน่วยหนูนอ้ ยอนามัยดี
- การเลือกรับประทานอาหาร 1.สง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นร่างกาย
- ตัวหอม ฟนั สวย 1.1การใชก้ ล้ามเนอื้ ใหญ่
- การลา้ งมือ 7 ขนั้ ตอน 2)การเคลอื่ นไหวเคลื่อนท่ี
- การออกกาลงั กาย 1.3 การรกั ษาสขุ ภาพอนามัยส่วนตวั
- การพักผ่อน 1)การปฏิบตั ติ นตามสขุ อนามยั สขุ นิสยั ทด่ี ีในกจิ วตั รประจาวนั
หน่วยอาหารดีมปี ระโยชน์
- อาหารหลกั 5 หมู่ (หม่ทู ี่ 1) 2.ส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์
- อาหารหลัก 5 หมู่ (หมทู่ ี่ 2) 2.1 สุนทรยี ภาพ ดนตรี
- อาหารหลกั 5 หมู่ (หมทู่ ่ี 3) 1)การฟงั เพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกริ ยิ าโตต้ อบเสยี งดนตรี
- อาหารหลัก 5 หมู่ (หมู่ท่ี 4)
- อาหารหลกั 5 หมู่ (หมทู่ ี่ 5) 3.ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
3.1การปฏบิ ตั ิกจิ วตั รประจาวนั
1)การช่วยเหลือตนเองในกจิ วตั รประจาวนั
3.5การเล่นแบบร่วมมือร่วมใจ
1)การรว่ มสนทนาและแลกเปล่ียนความคดิ เห็น
4.สง่ เสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
4.3จนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์
1)การรบั รู้ และแสดงความคดิ ความรสู้ ึกผา่ นสอ่ื วสั ดุ ของเลน่ และช้นิ งาน
~ ๕๐ ~
พัฒนาการ ด้านร่างกาย (ต่อ)
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนอ้ื ใหญ่และกลา้ มเนอื้ เล็กแขง็ แรงใชไ้ ด้อยา่ งคล่องแคล่วและประสาน
สัมพันธก์ นั
ตวั บ่งชีท้ ่ี ๒.๑ เคลื่อนไหวรา่ งกายอย่างคล่องแคลว่ ประสานสมั พันธ์และทรงตวั ได้
สภาพที่พงึ ประสงค์
อายุ ๔-5 ปี อายุ ๕-6 ปี
2.1.1 เดนิ ต่อเทา้ ไปข้างหน้าเปน็ เส้นตรงได้โดยไม่ 2.1.1 เดนิ ต่อเทา้ ถอยหลงั เป็นเส้นตรงได้โดยไม่ตอ้ งกางแขน
ตอ้ งกางแขน
2.1.2 กระโดดขาเดยี วอยู่กบั ท่ไี ดโ้ ดยไม่เสยี การทรง 2.1.2 กระโดดขาเดียว ไปขา้ งหน้าได้อย่างต่อเน่อื งโดยไม่เสยี
ตวั การทรงตัว
2.1.3 ว่งิ หลบหลกี ส่งิ กดี ขวางได้ 2.1.3 ว่งิ หลบหลกี ส่ิงกดี ขวางไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว
2.1.4 รับลูกบอลไดด้ ว้ ยมือทั้ง ๒ ขา้ ง 2.1.4 รับลูกบอลท่ีกระดอนข้ึนจากพน้ื ได้
สาระท่ีควรเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
สาระที่ 1 เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตัวเด็ก ประสบการณ์สาคัญ
หนว่ ยหนูนอ้ ยอนามยั ดี 1.ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย
- การเลือกรบั ประทานอาหาร 1.1การใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่
- ตัวหอม ฟันสวย 1)การเคลอ่ื นไหวอย่กู บั ที่
- การลา้ งมอื 7 ข้นั ตอน 2)การเคลอ่ื นไหวเคล่ือนที่
- การออกกาลังกาย 3)การเคลอ่ื นไหวพรอ้ มวัสดอุ ุปกรณ์
- การพกั ผอ่ น 4)การเคลอ่ื นไหวท่ใี ช้การประสานสมั พันธข์ องการใช้กล้ามเนอ้ื มดั ใหญ่ในการขวา้ ง
หนว่ ยการเล่นและการเคล่อื นไหวร่างกาย
- ความหมายของการเลน่ และการ การจบั การโยน การเตะ
เคลอื่ นไหว 5)การเล่นเครื่องเล่นสนามอยา่ งอิสระ
- การเล่นภายในห้องเรียน
- การเล่นเคร่ืองเลน่ สนาม 1.2 การใชก้ ล้ามเนอ้ื เลก็
- การเลน่ กจิ กรรมกลางแจ้ง 2)การเขยี นภาพและการเลน่ กับสี
- การเลน่ การละเล่นพนื้ บ้าน
สาระที่ 3 เรอ่ื งราวเกีย่ วกับธรรมชาติ 1.3 การรกั ษาสุขภาพอนามัยส่วนตวั
รอบตัวเด็ก 1)การปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามยั สุขนิสยั ท่ดี ีในกิจวัตรประจาวัน
หนว่ ยสตั วใ์ นธรรมชาติ
- สัตว์น้า 1.4 การรักษาความปลอดภยั
- สตั ว์ครง่ึ บกครงึ่ นา้ 4)การเลน่ บทบาทสมมติเหตกุ ารณต์ ่างๆ
- สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน
- สัตวเ์ ลยี้ งลูกด้วยนม 1.5การตระหนกั รูเ้ กี่ยวกับรา่ งกายตนเอง
- สัตวป์ ีก 1)การเคลอื่ นไหวเพื่อควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และพนื้ ที่
2)การเคลื่อนไหวขา้ มสงิ่ กดี ขวาง
2.สง่ เสรมิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์
2.1 สุนทรียภาพ ดนตรี
1)การฟงั เพลง การร้องเพลง และการแสดงปฏกิ ริ ยิ าโต้ตอบเสยี งดนตรี
3)การเลน่ บทบาทสมมติ
4)การทากิจกรรมศลิ ปะต่างๆ