The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แก้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย2565รร.บ้านบางเลน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-05-31 07:54:49

แก้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย2565รร.บ้านบางเลน

แก้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย2565รร.บ้านบางเลน

~ ๑๐๑ ~

๒.๑๐ จัดประสบการณ์โดยให้พอ่ แม่ ครอบครัว และชุมชนมสี ่วนรว่ มทง้ั การวางแผน การสนบั สนนุ
สอ่ื แหล่งเรียนรู้ การเข้าร่วมกิจกรรม และการประเมินพัฒนาการ
๓. การจดั กิจกรรมประจาวัน
กจิ กรรมสาหรับเด็กอายุ ๔ – ๖ ปบี ริบูรณ์ สามารถนามาจดั เป็นกิจกรรมประจาวันได้หลายรูปแบบเปน็ การ
ช่วยให้ครูผสู้ อนหรอื ผจู้ ัดประสบการณ์ทราบว่าแตล่ ะวนั จะทากจิ กรรมอะไร เม่ือใด และอย่างไร ทงั้ น้ี การจดั กิจกรรม
ประจาวนั สามารถจัดไดห้ ลายรปู แบบ ขึน้ อยู่กบั ความเหมาะสมในการนาไปใช้ของแต่ละหนว่ ยงานและสภาพชุมชน ที่
สาคัญครผู ูส้ อนต้องคานงึ ถงึ การจดั กิจกรรมให้ครอบคลุมพัฒนาการทกุ ดา้ นการจดั กิจกรรมประจาวันมีหลักการจดั
และขอบขา่ ยกจิ กรรมประจาวัน ดงั น้ี
๓.๑ หลกั การจดั กจิ กรรมประจาวัน

๑. กาหนดระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมแต่ละกจิ กรรมให้เหมาะสมกับวัยของเด็กในแตล่ ะวนั แต่
ยืดหย่นุ ได้ตามความต้องการและความสนใจของเด็ก เชน่

วัย ๔ – ๕ ปี มคี วามสนใจอยู่ไดป้ ระมาณ ๑๒-๑๕ นาที
วัย ๕-๖ ปี มคี วามสนใจอยู่ได้ประมาณ ๑๕- ๒๐ นาที
๒. กิจกรรมท่ตี อ้ งใชค้ วามคดิ ทัง้ ในกลุม่ เล็กและกลุม่ ใหญ่ ไมค่ วรใชเ้ วลาต่อเน่ืองนานเกนิ กวา่
๒๐ นาที
๓. กจิ กรรมที่เดก็ มีอิสระเลือกเล่นเสรี เพ่อื ชว่ ยให้เด็กรูจ้ ักเลือกตดั สินใจ คิดแกป้ ัญหา คิดสร้างสรรค์
เชน่ การเล่นตามมมุ การเล่นกลางแจง้ ฯลฯ ใช้เวลาประมาณ ๔๐-๖๐ นาที
๔. กจิ กรรมควรมีความสมดุลระหว่างกจิ กรรมในห้องและนอกห้อง กิจกรรมทีใ่ ชก้ ลา้ มเน้ือใหญแ่ ละ
กล้ามเน้ือเล็ก กจิ กรรมที่เปน็ รายบุคคล กล่มุ ย่อยและกลุ่มใหญ่ กจิ กรรมท่เี ดก็ เปน็ ผรู้ เิ ริ่มและครูผ้สู อนหรือผูจ้ ดั
ประสบการณเ์ ปน็ ผรู้ ิเร่ิม และกิจกรรมที่ใช้กาลังและไม่ใชก้ าลัง จดั ให้ครบทกุ ประเภท ทั้งนี้ กจิ กรรมท่ีต้องออกกาลงั
กายควรจดั สลับกับกจิ กรรมท่ีไม่ต้องออกกาลงั มากนัก เพื่อเดก็ จะได้ไม่เหน่ือยเกินไป
๓.๒ ขอบข่ายของกจิ กรรมประจาวนั
การเลอื กกจิ กรรมท่ีจะนามาจัดในแตล่ ะวันสามารถจดั ไดห้ ลายรปู แบบ ทั้งนี้ ข้ึนอย่กู ับความเหมาะสมในการ
นาไปใชข้ องแตล่ ะหนว่ ยงานและสภาพชุมชน ท่ีสาคญั ครูผ้สู อนต้องคานึกถงึ การจดั กิจกรรมให้ครอบคลมุ พฒั นาการ
ทุกด้าน ดงั ต่อไปนี้
๓.๒.๑ การพัฒนากลา้ มเนือ้ ใหญ่ เป็นการพฒั นาความแขง็ แรง การทรงตวั ความยืดหย่นุ ความคล่องแคลว่
ในการใช้อวยั วะต่าง ๆ และจังหวะการเคล่ือนไหวในการใช้กล้ามเนือ้ ใหญ่ โดยจัดกิจกรรมให้เดก็ ได้เลน่ อสิ ระกลางแจ้ง
เล่นเคร่ืองเลน่ สนาม ปนี ป่ายเล่นอิสระ เคลอื่ นไหวร่างกายตามจังหวะดนตรี
๓.๒.๒ การพฒั นาการกลา้ มเนอื้ เล็ก เป็นการพฒั นาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเล็ก กลา้ มเน้อื มือ-น้ิวมือการ
ประสานสัมพันธร์ ะหวา่ งกลา้ มเนอ้ื มือและระบบประสาทตามอื ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ และประสานสมั พนั ธ์ โดยจัด
กจิ กรรมให้เด็กได้เล่นเครื่องสัมผสั เล่นเกมการศึกษา ฝึกชว่ ยเหลือตนเองในการแตง่ กาย หยิบจบั ชอ้ นส้อม และใช้
อปุ กรณ์ศิลปะ เช่น สเี ทียน กรรไกร พู่กัน ดินเหนยี ว ฯลฯ
๓.๒.๓ การพัฒนาการอารมณ์ จิตใจ และปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เป็นการปลกู ฝังใหเ้ ดก็ มีความรู้สึกทีด่ ี
ตอ่ ตนเองและผู้อืน่ มคี วามเช่ือมั่น กลา้ แสดงออก มีวินยั รับผดิ ชอบ ซือ่ สัตย์ ประหยดั เมตตากรุณา เอื้อเฟื้อ แบง่ ปนั

~ ๑๐๒ ~

มมี ารยาทและปฏบิ ตั ติ นตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาท่นี ับถือโดยจัดกจิ กรรมต่างๆ ผ่านการเลน่ ให้เด็กไดม้ ีโอกาส
ตดั สนิ ใจเลอื ก ได้รับการตอบสนองตาความต้องการไดฝ้ ึกปฏิบัตโิ ดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอย่างต่อเนอ่ื ง

๓.๒.๔ การพฒั นาสังคมนสิ ยั เป็นการพัฒนาใหเ้ ดก็ มลี ักษณะนิสัยทด่ี ี แสดงออกอยา่ งเหมาะสมและอยู่
ร่วมกับผู้อื่นได้อยา่ งมีความสุข ช่วยเหลอื ตนเองในการทากิจวัตรประจาวนั มนี สิ ยั รักการทางาน ระมดั ระวงั ความ
ปลอดภยั ของตนเองและผู้อื่น โดยรวมทั้งระมัดระวังอนั ตรายจากคนแปลกหนา้ ให้เดก็ ได้ปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั อย่าง
สมา่ เสมอ เชน่ รับประทานอาหาร พกั ผอ่ นนอนหลบั ขบั ถ่าย ทาความสะอาดรา่ งกาย เล่นและทางานรว่ มกบั ผู้อ่นื
ปฏบิ ัตติ ามกฎกติกาข้อตกลงของรว่ มรวม เก็บของเข้าทีเ่ ม่อื เล่นหรอื ทางานเสรจ็

๓.๒.๕ การพัฒนาการคิด เปน็ การพัฒนาใหเ้ ด็กมีความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาความ คิดรวบ
ยอดทางคณิตศาสตร์ และคดิ เชิงเหตผุ ลทางคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์โดยจดั กจิ กรรมใหเ้ ด็กได้สนทนา อภิปราย
และเปล่ยี นความคิดเห็น เชิญวิทยากรมาพดู คยุ กบั เดก็ ศึกษานอกสถานที่ เลน่ เกมการศึกษา ฝึกการแก้ปัญหาใน
ชวี ติ ประจาวนั ฝึกออกแบบและสรา้ งช้นิ งาน และทากิจกรรมทั้งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่และรายบุคคล

๓.๒.๖ การพัฒนาภาษา เป็นการพัฒนาใหเ้ ด็กใช้ภาษาส่ือสารถา่ ยทอดความรู้สึกนึกคดิ ความรู้
ความเขา้ ใจในสง่ิ ตา่ งๆ ท่ีเดก็ มีประสบการณ์โดยสามารถต้ังคาถามในสิง่ ท่สี งสยั ใครร่ ู้ จัดกิจกรรมทางภาษาให้มคี วาม
หลากหลายในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ มุ่งปลูกฝงั ให้เดก็ ไดก้ ล้าแสดงออกในการฟัง พูด อ่าน เขียน มนี ิสัยรัก
การอา่ น และบุคคลแวดลอ้ มต้องเป็นแบบอยา่ งท่ดี ใี นการใชภ้ าษา ทงั้ นต้ี ้องคานกึ ถงึ หลักการจัดกิจกรรมทางภาษาท่ี
เหมาะสมกบั เด็กเปน็ สาคัญ

๓.๒.๗ การส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เป็นการสง่ เสรมิ ให้เด็กมคี วามคิดรเิ รมิ่
สร้างสรรค์ ไดถ้ า่ ยทอดอารมณค์ วามรู้สกึ และเห็นความสวยงามของสิ่งตา่ งๆ โดยจัดกิจกรรมศิลปะสรา้ งสรรคด์ นตรี
การเคล่อื นไหวและจังหวะตามจินตนาการ ประดษิ ฐส์ ิ่งตา่ งๆ อย่างอิสระ เล่นบทบาทสมมตุ ิ เล่นนา้ เลน่ ทราย เล่น
บลอ็ ก และเล่นก่อสร้าง

การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

การจดั สภาพแวดลอ้ มในสถานศกึ ษา มคี วามสาคัญต่อเดก็ เนือ่ งจากธรรมชาติของเด็กในวัยนีส้ นใจทจี่ ะเรยี นรู้
ค้นคว้า ทดลอง และต้องการสมั ผสั กับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ดังนั้น การจดั เตรียมส่ิงแวดล้อมอยา่ งเหมาะสมตามความ
ตอ้ งการของเดก็ จงึ มคี วามสาคัญท่ีเกย่ี วข้องกบั พฤติกรรมและการเรียนรขู้ องเด็ก เด็กสามารถเรยี นรจู้ ากการเลน่ ที่
เป็น ประสบการณ์ตรงทเ่ี กิดจากการรบั รูด้ ว้ ยประสาทสมั ผัสทง้ั ห้าจึงจาเปน็ ต้องจดั สง่ิ แวดลอ้ มในสถานศกึ ษาให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพ และความต้องการของหลกั สูตร เพือ่ ส่งผลให้บรรลจุ ุดหมายในการพัฒนาเด็ก

การจัดสภาพแวดล้อมคานงึ ถึงสิง่ ตอ่ ไปนี้
๑.ความสะอาด ความปลอดภัย
๒.ความมอี ิสระอย่างมีขอบเขตในการเลน่
๓.ความสะดวกในการทากจิ กรรม
๔.ความพร้อมของอาคารสถานที่ เช่น ห้องเรยี น ห้องน้าห้องส้วม สนามเด็กเล่น ฯลฯ
๕.ความเพยี งพอเหมาะสมในเร่ืองขนาด น้าหนัก จานวน สีของสื่อและเครอื่ งเลน่
๖.บรรยากาศในการเรยี นรู้ การจดั ทเ่ี ล่นและมุมประสบการณต์ า่ ง ๆ สภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี น
หลกั สาคัญในการจัดต้องคานึงถงึ ความปลอดภัย ความสะอาด เป้าหมายการพฒั นาเด็ก ความเปน็ ระเบียบ
ความเป็นตวั ของเด็กเอง ให้เด็กเกดิ ความร้สู กึ อบอุ่น มั่นใจ และมีความสขุ ซงึ่ อาจจัดแบง่ พ้ืนทใี่ ห้เหมาะสมกบั การ
ประกอบกิจกรรมตามหลักสตู ร ดังน้ี

~ ๑๐๓ ~

๑. พ้ืนที่อานวยความสะดวกเพือ่ เดก็ และผ้สู อน
๑.๑ ทแ่ี สดงผลงานของเด็ก อาจจดั เปน็ แผ่นป้าย หรือที่แขวนผลงาน
๑.๒ ที่เกบ็ แฟม้ ผลงานของเด็ก อาจจัดทาเปน็ กล่องหรือจดั ใส่แฟม้ รายบุคคล
๑.๓ ท่เี กบ็ เคร่อื งใช้สว่ นตัวของเด็ก อาจทาเป็นช่องตามจานวนเด็ก
๑.๔ ท่เี ก็บเครอื่ งใชข้ องผู้สอน เช่น อปุ กรณ์การสอน ของสว่ นตวั ผู้สอน ฯลฯ
๑.๕ ป้ายนเิ ทศตามหน่วยการสอนหรอื สิง่ ท่เี ด็กสนใจ

๒. พื้นทปี่ ฏบิ ัติกจิ กรรมและการเคลอื่ นไหว ตอ้ งกาหนดใหช้ ดั เจน ควรมพี ้นื ท่ีทเ่ี ด็กสามารถจะทางานได้ดว้ ย
ตนเอง และทากจิ กรรมด้วยกันในกลุ่มเล็ก หรือกลมุ่ ใหญ่ เด็กสามารถเคล่อื นไหวได้อย่างอสิ ระจากกจิ กรรมหนึ่งไปยัง
กิจกรรมหนึง่ โดยไม่รบกวนผูอ้ ่ืน

๓. พืน้ ทีจ่ ัดมุมเล่นหรอื มุมประสบการณ์ สามารถจัดไดต้ ามความเหมาะสมขึ้นอยู่กับสภาพของหอ้ งเรยี น
จัดแยกส่วนทใ่ี ชเ้ สยี งดงั และเงียบออกจากกัน เชน่ มุมบลอ็ กอยู่หา่ งจากมุมหนังสือ
มุมบทบาทสมมติอยตู่ ิดกบั มุมบลอ็ ก มุมวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้มุมศลิ ปะฯ ลฯ ทสี่ าคญั จะตอ้ งมีของเล่น วัสดอุ ุปกรณใ์ นมุม
อยา่ งเพยี งพอต่อการเรยี นรู้ของเดก็ การเลน่ ในมุมเลน่ อยา่ งเสรี มักถูกกาหนดไวใ้ นตารางกิจกรรมประจาวนั เพื่อให้
โอกาสเด็กไดเ้ ล่นอย่างเสรปี ระมาณวันละ ๖๐ นาทกี ารจัดมมุ เลน่ ตา่ งๆ ผู้สอนควรคานึงถึงส่ิงต่อไปน้ี

๓.๑ ในห้องเรยี นควรมมี มุ เลน่ อย่างน้อย ๓-๕ มมุ ทัง้ นขี้ ้นึ อยู่กบั พื้นที่ของห้อง
๓.๒ ควรไดม้ กี ารผลัดเปลยี่ นสือ่ ของเล่นตามมุมบ้าง ตามความสนใจของเด็ก
๓.๓ ควรจดั ให้มปี ระสบการณ์ทเ่ี ดก็ ไดเ้ รียนรไู้ ปแล้วปรากฏอยใู่ นมุมเลน่ เชน่ เดก็ เรียนรู้เรื่องผเี ส้อื
ผสู้ อนอาจจัดให้มีการจาลองการเกดิ ผีเสือ้ ลอ่ งไว้ให้เด็กดูในมุมธรรมชาติศกึ ษาหรือมุมวทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ
๓.๔ ควรเปดิ โอกาสให้เด็กมีส่วนรว่ มในการจดั มุมเลน่ ทงั้ นีเ้ พ่อื จูงใจใหเ้ ด็กรสู้ ึกเปน็ เจ้าของ อยากเรียนรู้
อยากเข้าเล่น
๓.๕ ควรเสริมสร้างวนิ ยั ให้กับเดก็ โดยมขี ้อตกลงรว่ มกันวา่ เมื่อเลน่ เสร็จแล้วจะต้องจัดเก็บอปุ กรณ์ทุก
อย่างเข้าทใ่ี หเ้ รยี บร้อยสภาพแวดล้อมนอกห้องเรียน คือ การจดั สภาพแวดลอ้ มภายในอาณาบริเวณรอบ ๆ
สถานศึกษา รวมท้ังจดั สนามเด็กเล่น พร้อมเครื่องเลน่ สนาม จัดระวังรักษาความปลอดภยั ภายในบรเิ วณสถานศึกษาและ
บรเิ วณรอบนอกสถานศึกษา ดแู ลรกั ษาความสะอาด ปลูกต้นไมใ้ ห้ความร่มรืน่ รอบๆบรเิ วณสถานศกึ ษา สงิ่ ต่างๆ
เหล่านี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ทสี่ ่งผลตอ่ การเรียนรู้และพฒั นาการของเด็ก
บรเิ วณสนามเด็กเลน่ ตอ้ งจดั ให้สอดคล้องกบั หลักสตู ร ดังน้ี

สนามเดก็ เล่น มพี ้นื ผวิ หลายประเภท เช่น ดิน ทราย หญ้า พน้ื ทสี่ าหรับเลน่ ของเล่นทม่ี ลี ้อ รวมทงั้ ที่
รม่ ทโี่ ลง่ แจ้ง พน้ื ดนิ สาหรบั ขุด ท่เี ล่นนา้ บ่อทราย พรอ้ มอุปกรณ์ประกอบการเล่น เคร่ืองเลน่ สนามสาหรับ
ปีนปา่ ย ทรงตวั ฯลฯ ทั้งนี้ต้องไม่ตดิ กับบรเิ วณที่มอี ันตราย ตอ้ งหม่ันตรวจตราเครอื่ งเล่นใหอ้ ยใู่ นสภาพแข็งแรง
ปลอดภยั อยเู่ สมอ และหมน่ั ดูแลเรื่องความสะอาด

ที่นงั่ เลน่ พักผ่อน จดั ท่ีนั่งไว้ใต้ตน้ ไม้มรี ่มเงา อาจใช้กจิ กรรมกลุ่มย่อย ๆ หรอื กิจกรรมท่ีตอ้ งการความ
สงบ หรืออาจจัดเป็นลานนิทรรศการให้ความรู้แกเ่ ด็กและผปู้ กครองบรเิ วณธรรมชาติ ปลูกไม้ดอก ไมป้ ระดับ พชื ผกั
สวนครัว หากบริเวณสถานศกึ ษา มไี มม่ ากนัก อาจปลกู พืชในกระบะหรอื กระถาง

~ ๑๐๔ ~

สือ่ และแหลง่ เรียนรู้

ส่ือประกอบการจัดกิจกรรมเพอื่ พัฒนาเด็กปฐมวัยทัง้ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา ควรมีส่ือ
ทง้ั ทีเ่ ปน็ ประเภท ๒ มิติ และ/หรือ ๓ มิติ ท่เี ปน็ สือ่ ของจริง สื่อธรรมชาติ ส่อื ที่อยูใ่ กล้ตวั เด็ก ส่ือสะท้อนวัฒนธรรม
สอื่ ทป่ี ลอดภยั ต่อตวั เด็ก สือ่ เพ่ือพฒั นาเด็กในด้านต่างๆให้ครบทุกด้านส่ือทเี่ อ้ือใหเ้ ด็กเรียนรผู้ า่ นประสาทสมั ผัสท้ังหา้
โดยการจดั การใช้ส่อื เร่ิมตน้ จาก ส่อื ของจริง ภาพถา่ ย ภาพโครงร่าง และ สัญลักษณ์ ทั้งน้ีการใช้สอ่ื ต้อง
เหมาะสมกบั วัย วุฒิภาวะ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความสนใจและความต้องการของเด็กทห่ี ลากหลาย ตัวอย่าง
สือ่ ประกอบการจดั กจิ กรรม มีดังน้ี

กจิ กรรมเสรี /การเลน่ ตามมุม

๑. มุมบทบาทสมมติ อาจจัดเปน็ มุมเลน่ ดงั น้ี

๑.๑ มมุ บา้ น

 ของเลน่ เครื่องใชใ้ นครัวขนาดเล็ก หรือของจาลอง เช่น เตา กระทะ ครก กาน้า
เขยี ง มดี พลาสตกิ หมอ้ จาน ช้อน ถว้ ยชาม กะละมัง ฯลฯ

 เคร่อื งเลน่ ตุ๊กตา เสอ้ื ผ้าตกุ๊ ตา เตียง เปลเด็ก ตุ๊กตา
 เครื่องแตง่ บ้านจาลอง เชน่ ชดุ รับแขก โต๊ะเคร่ืองแป้ง หมอนอิง กระจกขนาดเห็นเต็มตวั

หวี ตลับแปง้ ฯลฯ
 เครอื่ งแตง่ กายบุคคลอาชพี ตา่ ง ๆ ทใี่ ชแ้ ล้ว เช่น ชุดเครือ่ งแบบทหาร ตารวจ

ชดุ เสอ้ื ผ้าผู้ใหญ่ชายและหญงิ รองเท้า กระเป๋าถือท่ไี มใ่ ช้แล้ว ฯลฯ
 โทรศัพท์ เตารีดจาลอง ทีร่ ีดผ้าจาลอง
 ภาพถา่ ยและรายการอาหาร
๑.๒ มุมหมอ
 เครื่องเลน่ จาลองแบบเครื่องมือแพทยแ์ ละอปุ กรณก์ ารรักษาผู้ปว่ ย เชน่ หฟู ัง

เส้ือคลุมหมอ ฯลฯ
 อปุ กรณส์ าหรับเลียนแบบการบนั ทึกข้อมูลผูป้ ว่ ย เช่น กระดาษ ดนิ สอ ฯลฯ

๑.๓ มุมรา้ นค้า
 กลอ่ งและขวดผลติ ภัณฑ์ต่างๆที่ใช้แล้ว
 อุปกรณ์ประกอบการเลน่ เชน่ เครื่องคิดเลข ลกู คิด ธนบัตรจาลอง ฯลฯ

๒. มุมบล็อก
 ไม้บลอ็ กหรือแท่งไม้ทีม่ ีขนาดและรปู ทรงต่างๆกัน จานวนต้ังแต่ ๕๐ ชิน้ ขึ้นไป
 ของเล่นจาลอง เชน่ รถยนต์ เครื่องบนิ รถไฟ คน สัตว์ ตน้ ไม้ ฯลฯ
 ภาพถา่ ยตา่ งๆ
 ทีจ่ ดั เก็บไมบ้ ลอ็ กหรือแทง่ ไม้อาจเปน็ ชน้ั ลังไม้หรือพลาสติก แยกตามรปู ทรง ขนาด

๓. มุมหนังสือ
 หนังสือภาพนทิ าน สมดุ ภาพ หนงั สอื ภาพทม่ี ีคาและประโยคสัน้ ๆพรอ้ มภาพ
 ช้นั หรือท่วี างหนังสือ

~ ๑๐๕ ~

 อุปกรณ์ต่าง ๆ ทใี่ ช้ในการสรา้ งบรรยากาศการอ่าน เชน่ เส่อื พรม หมอน ฯลฯ
 สมุดเซน็ ยมื หนังสือกลบั บ้าน
 อุปกรณส์ าหรับการเขยี น
 อปุ กรณ์เสรมิ เชน่ เครื่องเล่นเทป ตลับเทปนทิ านพรอ้ มหนงั สือนทิ าน หฟู งั ฯลฯ
๔. มุมวทิ ยาศาสตร์ หรือมุมธรรมชาติศกึ ษา
 วสั ดุต่าง ๆ จากธรรมชาติ เชน่ เมล็ดพชื ตา่ ง ๆ เปลอื กหอย ดิน หิน แร่ ฯลฯ
 เครื่องมือเคร่ืองใช้ในการสารวจ สังเกต ทดลอง เชน่ แว่นขยาย แม่เหลก็ เข็มทศิ

เครื่องชง่ั ฯลฯ
๕.มุมอาเซียน

 ธงของแตล่ ะประเทศในกล่มุ ประเทศอาเซียน
 คากลา่ วทักทายของแตล่ ะประเทศ
 ภาพการแต่งกายประจาชาติในกลุ่มประเทศอาเซยี น
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ควรมวี สั ดุ อุปกรณ์ ดงั น้ี

๑. การวาดภาพและระบายสี
 สีเทยี นแท่งใหญ่ สีไม้ สีชอลก์ สีน้า
 พกู่ นั ขนาดใหญ่ (ประมาณเบอร์ ๑๒ )
 กระดาษ
 เสื้อคลมุ หรือผ้ากนั เปื้อน

๒. การเล่นกบั สี
 การเป่าสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ สนี า้
 การหยดสี มี กระดาษ หลอดกาแฟ พู่กัน สีนา้
 การพบั สี มี กระดาษ สีนา้ พู่กนั
 การเทสี มี กระดาษ สนี า้
 การละเลงสี มี กระดาษ สนี ้า แป้งเปียก

๓. การพิมพภ์ าพ
 แมพ่ ิมพต์ า่ ง ๆ จากของจรงิ เชน่ นิว้ มือ ใบไม้ กา้ นกลว้ ย ฯลฯ
 แมพ่ ิมพจ์ ากวัสดุอืน่ ๆ เชน่ เชือก เส้นดา้ ย ตรายาง ฯลฯ
 กระดาษ ผ้าเช็ดมอื สีโปสเตอร์ (สีนา้ สฝี ุน่ ฯลฯ)

๔.การป้ัน เช่น ดินน้ามัน ดนิ เหนยี ว แปง้ โดว์ แผ่นรองปั้น แมพ่ ิมพร์ ูปต่าง ๆ ไมน้ วดแป้ง ฯลฯ
๕.การพับ ฉกี ตดั ปะ เชน่ กระดาษ หรอื วัสดุอ่ืนๆทจ่ี ะใช้พับ ฉกี ตัด ปะ กรรไกรขนาดเล็ก
ปลายมน กาวนา้ หรอื แป้งเปียก ผา้ เช็ดมือ ฯลฯ
๖. การประดิษฐเ์ ศษวัสดุ เช่น เศษวสั ดุตา่ ง ๆ มีกล่องกระดาษ แกนกระดาษ เศษผา้ เศษไหม กาว กรรไกร
สี ผ้าเชด็ มอื ฯลฯ
๗. การรอ้ ย เชน่ ลกู ปดั หลอดกาแฟ หลอดดา้ ย ฯลฯ
๘.การสาน เช่น กระดาษ ใบตอง ใบมะพร้าว ฯลฯ
๙. การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ พลาสติกชนิ้ เล็ก ๆ รปู ทรงต่าง ๆ ผเู้ ล่นสามารถนามาต่อเปน็ รูปแบบตา่ ง
ๆ ตามความต้องการ
๑๐.การสรา้ งรูป เชน่ จากกระดานปักหมุด จากแปน้ ตะปูทใี่ ชห้ นังยางหรอื เชือก ผกู ดึงใหเ้ ปน็ รูปร่างต่าง ๆ

~ ๑๐๖ ~

เกมการศึกษา ตัวอยา่ งส่ือประเภทเกมการศึกษามดี งั น้ี
๑. เกมจับคู่
 จับคู่รูปรา่ งท่เี หมือนกนั
 จบั คภู่ าพเงา
 จบั คู่ภาพทีซ่ ่อนอยใู่ นภาพหลัก
 จบั คสู่ ิ่งทม่ี ีความสัมพนั ธ์กนั ส่ิงที่ใช้คกู่ นั
 จับคู่ภาพสว่ นเต็มกบั สว่ นยอ่ ย
 จับคู่ภาพกับโครงร่าง
 จบั คูภ่ าพชิ้นสว่ นที่หายไป
 จับคู่ภาพทเี่ ปน็ ประเภทเดยี วกัน
 จบั คูภ่ าพทซี่ ่อนกนั
 จบั คภู่ าพสัมพนั ธแ์ บบตรงกนั ขา้ ม
 จับคู่ภาพท่สี มมาตรกนั
 จบั คู่แบบอุปมาอุปไมย
 จับคู่แบบอนุกรม
๒. เกมภาพตัดต่อ
 ภาพตัดตอ่ ทสี่ ัมพันธ์กับหนว่ ยการเรียนตา่ ง ๆ เชน่ ผลไม้ ผัก ฯลฯ
๓. เกมจดั หมวดหมู่
 ภาพส่งิ ตา่ ง ๆ ท่นี ามาจัดเปน็ พวก ๆ
 ภาพเกี่ยวกับประเภทของใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
 ภาพจัดหมวดหมู่ตามรูปร่าง สี ขนาด รปู ทรงเรขาคณิต
๔. เกมวางภาพตอ่ ปลาย (โดมิโน)
 โดมิโนภาพเหมอื น
 โดมโิ นภาพสมั พนั ธ์
๕. เกมเรยี งลาดบั
 เรียงลาดบั ภาพเหตุการณ์ต่อเนอื่ ง
 เรยี งลาดับขนาด
๖. เกมศกึ ษารายละเอียดของภาพ (ล็อตโต้)
๗. เกมจบั คู่แบบตารางสัมพันธ์ (เมตรกิ เกม)
๘. เกมพืน้ ฐานการบวก

กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ /กิจกรรมในวงกลม ตัวอย่างสื่อมีดงั นี้

๑.สอ่ื ของจริงที่อยู่ใกล้ตัวและส่ือจากธรรมชาตหิ รือวสั ดทุ ้องถิ่น เชน่ ต้นไม้ ใบไม้ เปลือกหอย เสื้อผา้ ฯลฯ
๒. ส่อื ทีจ่ าลองข้ึน เชน่ ลูกโลก ตุก๊ ตาสตั ว์ ฯลฯ
๓. สื่อประเภทภาพ เชน่ ภาพพลกิ ภาพโปสเตอร์ หนังสือภาพ ฯลฯ
๔. สื่อเทคโนโลยี เชน่ วิทยุ เครอ่ื งบนั ทกึ เสียง เครื่องขยายเสยี ง โทรศพั ท์
กจิ กรรมกลางแจง้ ตวั อย่างสื่อมีดงั นี้
๑. เครอ่ื งเลน่ สนาม เช่น เครือ่ งเล่นสาหรับปีนป่าย เคร่ืองเล่นประเภทล้อเลอ่ื น ฯลฯ
๒. ที่เลน่ ทราย มีทรายละเอยี ด เครื่องเลน่ ทราย เคร่ืองตวง ฯลฯ

~ ๑๐๗ ~

๓. ท่เี ลน่ นา้ มภี าชนะใสน่ า้ หรืออ่างนา้ วางบนขาต้ังท่ีมน่ั คง ความสงู พอที่เด็กจะยนื ได้พอดี เส้ือคลุมหรือผ้า
กนั เปื้อนพลาสติก อุปกรณ์เลน่ นา้ เชน่ ถว้ ยตวง ขวดตา่ งๆ สายยาง กรวยกรอกน้า ต๊กุ ตายาง ฯลฯ
กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ ตัวอยา่ งส่ือมดี ังนี้

๑. เคร่อื งเคาะจังหวะ เชน่ ฉ่ิง เหลก็ สามเหลยี่ ม กรับ รามะนา กลอง ฯลฯอุปกรณ์ประกอบการ
เคล่ือนไหว เชน่ หนงั สือพมิ พ์ รบิ บน้ิ แถบผ้า ห่วง

๒. หวาย ถงุ ทราย ฯลฯ
การเลือกส่ือ มวี ธิ ีการเลอื กส่อื ดงั น้ี

๑. เลอื กใหต้ รงกบั จดุ ม่งุ หมายและเรือ่ งทีส่ อน
๒. เลอื กใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก
๓. เลอื กให้เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของท้องถ่นิ ทเ่ี ดก็ อยหู่ รอื สถานภาพของสถานศึกษา
๔. มวี ธิ ีการใช้ง่าย และนาไปใชไ้ ด้หลายกิจกรรม
๕. มคี วามถกู ต้องตามเนื้อหาและทนั สมยั
๖. มคี ณุ ภาพดี เชน่ ภาพชัดเจน ขนาดเหมาะสม ไม่ใชส้ ีสะทอ้ นแสง
๗. เลอื กสอ่ื ท่เี ด็กเขา้ ใจง่ายในเวลาสั้น ๆ ไม่ซับซอ้ น
๘. เลอื กสอ่ื ท่ีสามารถสัมผัสได้
๙. เลือกสอื่ เพ่ือใช้ฝึก และสง่ เสริมการคดิ เปน็ ทาเปน็ และกลา้ แสดงความคดิ เห็นด้วยความมั่นใจ
การจดั หาสอื่ สามารถจดั หาไดห้ ลายวธิ ี คือ
๑. จัดหาโดยการขอยมื จากแหล่งต่างๆ เช่น ศูนยส์ ือ่ ของสถานศึกษาของรัฐบาล หรือ สถานศึกษา
เอกชน ฯลฯ
๒.จัดซอื้ สอ่ื และเครื่องเลน่ โดยวางแผนการจัดซ้ือตามลาดบั ความจาเปน็ เพื่อใหส้ อดคล้องกับงบประมาณทท่ี าง
สถานศึกษาสามารถจดั สรรใหแ้ ละสอดคลอ้ งกับแผนการจดั ประสบการณ์
๓.ผลิตสอื่ และเครอ่ื งเลน่ ข้นึ ใช้เองโดยใช้วัสดุทปี่ ลอดภัยและหาง่ายเปน็ เศษวัสดุเหลอื ใช้
ท่ีมีอยู่ในทอ้ งถ่ินนัน้ ๆ เช่น กระดาษแขง็ จากลงั กระดาษ รปู ภาพจากแผน่ ปา้ ยโฆษณา
รปู ภาพจากหนังสือนิตยสารต่าง ๆ เปน็ ต้น
ข้ันตอนการดาเนินการผลติ สื่อสาหรับเด็ก มดี ังน้ี
๑. สารวจความต้องการของการใชส้ ื่อใหต้ รงกบั จุดประสงค์ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมที่จดั
๒. วางแผนการผลติ โดยกาหนดจดุ มงุ่ หมายและรปู แบบของส่ือใหเ้ หมาะสมกบั วยั และความสามารถของเด็ก

ส่ือนั้นจะต้องมีความคงทนแข็งแรง ประณตี และสะดวกต่อการใช้
๓. ผลิตส่ือตามรปู แบบทเี่ ตรียมไว้
๔. นาส่ือไปทดลองใช้หลาย ๆ คร้ังเพื่อหาข้อดี ข้อเสียจะได้ปรับปรุงแก้ไขใหด้ ยี ่ิงขน้ึ
๕. นาสือ่ ท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้วไปใช้จรงิ
การใชส้ อ่ื ดาเนนิ การดังนี้

๑.การเตรยี มพร้อมก่อนใช้ส่ือ มขี ัน้ ตอน คอื
๑.๑ เตรียมตัวผูส้ อน
 ผสู้ อนจะต้องศึกษาจุดมุง่ หมายและวางแผนว่าจะจดั กจิ กรรมอะไรบา้ ง
 เตรียมจดั หาส่ือและศึกษาวิธีการใช้สอ่ื
 จัดเตรยี มสอื่ และวสั ดุอืน่ ๆ ที่จะต้องใช้รว่ มกนั
 ทดลองใช้ส่อื กอ่ นนาไปใช้จรงิ
๑.๒ เตรียมตัวเด็ก
 ศกึ ษาความรู้พนื้ ฐานเดิมของเดก็ ให้สัมพนั ธ์กับเรอื่ งท่จี ะสอน

~ ๑๐๘ ~

 เรา้ ความสนใจเด็กโดยใชส้ ่อื ประกอบการเรยี นการสอน
 ใหเ้ ดก็ มีความรับผดิ ชอบ รจู้ ักใช้สื่ออยา่ งสร้างสรรค์ ไมใ่ ช่ทาลาย

เลน่ แลว้ เก็บใหถ้ กู ที่
๑.๓ เตรยี มสือ่ ใหพ้ ร้อมก่อนนาไปใช้

 จดั ลาดับการใช้สือ่ ว่าจะใช้อะไรกอ่ นหรอื หลงั เพ่อื ความสะดวกในการสอน
 ตรวจสอบและเตรยี มเครื่องมือใหพ้ ร้อมที่จะใช้ได้ทนั ที
 เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณท์ ใี่ ช้รว่ มกับสอ่ื
๒.การนาเสนอสือ่ เพ่อื ใหบ้ รรลผุ ลโดยเฉพาะใน กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ / กิจกรรมวงกลม /
กจิ กรรมกลุ่มยอ่ ย ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้
๒.๑ สร้างความพร้อมและเร้าความสนใจใหเ้ ด็กก่อนจดั กจิ กรรมทกุ ครัง้
๒.๒ ใชส้ ือ่ ตามลาดบั ขน้ั ของแผนการจัดกจิ กรรมท่ีกาหนดไว้
๒.๓ ไมค่ วรใหเ้ ด็กเหน็ สือ่ หลายๆชนดิ พร้อมๆกัน เพราะจะทาใหเ้ ดก็ ไม่สนใจ
กจิ กรรมทีส่ อน
๒.๔ ผสู้ อนควรยืนอยู่ด้านข้างหรอื ด้านหลังของสอ่ื ที่ใชก้ ับเด็ก
ผสู้ อนไม่ควรยนื หันหลังใหเ้ ด็ก จะต้องพดู คุยกับเด็กและสงั เกตความสนใจ
ของเด็ก พร้อมทงั้ สารวจขอ้ บกพร่องของส่ือที่ใช้ เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขใหด้ ีขึ้น
๒.๕ เปิดโอกาสให้เด็กได้รว่ มใช้สื่อ
ข้อควรระวังในการใชส้ ่ือการเรยี นการสอน การใชส้ อ่ื ในระดบั ปฐมวยั ควรระวังในเร่ืองต่อไปนี้
๑.วัสดุทีใ่ ช้ ต้องไม่มีพิษ ไม่หัก และแตกงา่ ย มีพ้นื ผิวเรียบ ไมเ่ ปน็ เสี้ยน
๒.ขนาด ไมค่ วรมขี นาดใหญเ่ กินไป เพราะยากต่อการหยิบยก อาจจะตกลงมา
เสยี หาย แตก เป็นอนั ตรายต่อเดก็ หรือใชไ้ ม่สะดวก เช่น กรรไกรขนาดใหญ่ โตะ๊ เก้าอ้ที ี่ใหญ่
และสูงเกนิ ไป และไม่ควรมีขนาดเล็กเกนิ ไป เด็กอาจจะนาไปอมหรอื กลนื ทาใหต้ ดิ คอหรือ
ไหลลงทอ้ งได้ เช่น ลกู ปัดเล็ก ลกู แกว้ เลก็ ฯลฯ
๓. รูปทรง ไม่เปน็ รปู ทรงแหลม รูปทรงเหล่ยี ม เปน็ สนั
๔. น้าหนกั ไม่ควรมีน้าหนักมาก เพราะเด็กยกหรือหยบิ ไม่ไหว อาจจะตกลงมาเป็นอันตรายตอ่ ตัวเด็ก
๕. สอื่ หลีกเลีย่ งสอื่ ท่เี ปน็ อันตรายต่อตวั เดก็ เชน่ สารเคมี วัตถุไวไฟ ฯลฯ
๖. สี หลีกเลย่ี งสที ี่เปน็ อนั ตรายตอ่ สายตา เช่น สีสะท้อนแสง ฯลฯ
การประเมินการใชส้ อื่
ควรพิจารณาจากองค์ประกอบ 3 ประการ คอื ผ้สู อน เด็ก และสอื่ เพื่อจะได้ทราบวา่ สื่อนนั้ ช่วยใหเ้ ด็กเรียนรู้
ไดม้ ากน้อยเพียงใด จะได้นามาปรบั ปรงุ การผลติ และการใช้ส่ือให้ดยี ิ่งขน้ึ โดยใชว้ ิธีสงั เกต ดังนี้
๑. สอ่ื นนั้ ชว่ ยใหเ้ ด็กเกิดการเรยี นรเู้ พยี งใด
๒. เดก็ ชอบส่ือน้ันเพียงใด
๓. ส่อื นน้ั ชว่ ยให้การสอนตรงกบั จดุ ประสงค์หรอื ไม่ ถูกต้องตามสาระการเรยี นร้แู ละทนั สมัยหรือไม่
๔. ส่ือนนั้ ชว่ ยให้เด็กสนใจมากนอ้ ยเพียงใด เพราะเหตุใด
การเกบ็ รักษา และซ่อมแซมส่ือ
การจดั เกบ็ สื่อเป็นการส่งเสริมให้เดก็ ฝึกการสังเกต การเปรยี บเทียบ การจัดกลุ่ม ส่งเสริมความรับผิดชอบ
ความมีนา้ ใจ ชว่ ยเหลอื ผู้สอนไม่ควรใชก้ ารเกบ็ สือ่ เป็นการลงโทษเดก็ โดยดาเนินการดังน้ี
๑. เกบ็ สือ่ ให้เป็นระเบยี บและเป็นหมวดหมตู่ ามลกั ษณะประเภทของสอ่ื สือ่ ทเ่ี หมือนกนั จัดเกบ็ หรอื จดั วางไว้
ด้วยกนั
๒. วางสือ่ ในระดับสายตาของเด็ก เพ่ือใหเ้ ด็กหยบิ ใช้ จดั เก็บไดด้ ้วยตนเอง

~ ๑๐๙ ~

๓. ภาชนะทีจ่ ัดเก็บส่อื ควรโปร่งใส เพื่อใหเ้ ด็กมองเห็นสิง่ ท่ีอย่ภู ายในได้งา่ ยและควรมมี ือจบั เพอื่ ให้สะดวกใน
การขนย้าย

๔. ฝึกให้เด็กรูค้ วามหมายของรปู ภาพหรอื สที ี่เป็นสัญลกั ษณ์แทนหมวดหมู่ ประเภทส่ือ เพอื่ เด็กจะไดเ้ กบ็ เขา้
ทไ่ี ดถ้ ูกต้อง การใชส้ ญั ลักษณ์ควรมีความหมายต่อการเรียนร้ขู องเด็ก สญั ลักษณค์ วรใชส้ ื่อของจริง ภาพถ่ายหรือสาเนา
ภาพวาด ภาพโครงรา่ งหรอื ภาพประจดุ หรือบัตรคาตดิ คู่กับสัญลกั ษณ์อย่างใดอย่างหน่ึง

๕.ตรวจสอบสอ่ื หลงั จากท่ใี ชแ้ ลว้ ทุกคร้ังว่ามสี ภาพสมบรู ณ์ จานวนครบถว้ นหรอื ไม่
๖. ซ่อมแซมสื่อชารุด และทาเติมส่วนท่ขี าดหายไปให้ครบชุด
การพฒั นาสอื่
การพฒั นาส่ือเพ่ือใช้ประกอบการจดั กจิ กรรมในระดับปฐมวัยน้ัน กอ่ นอนื่ ควรไดส้ ารวจข้อมูล สภาพปญั หา
ต่างๆของสอื่ ทุกประเภทที่ใช้อยูว่ ่ามอี ะไรบ้างทีจ่ ะต้องปรับปรุงแกไ้ ข เพื่อจะได้ปรบั เปล่ียนใหเ้ หมาะสมกับความต้องการ
แนวทางการพัฒนาส่อื ควรมีลกั ษณะเฉพาะ ดังนี้
๑. ปรับปรุงส่อื ใหท้ นั สมัยเขา้ กบั เหตกุ ารณ์ ใชไ้ ด้สะดวก ไม่ซบั ซอ้ นเกินไป เหมาะสมกบั วยั ของเด็ก
๒. รักษาความสะอาดของส่ือ ถา้ เปน็ วัสดทุ ล่ี า้ งน้าได้ เมื่อใช้แล้วควรไดล้ ้างเชด็ หรอื ปัดฝนุ่ ใหส้ ะอาด เก็บไว้
เป็นหมวดหมู่ วางเปน็ ระเบียบหยิบใช้ง่าย
๓. ถ้าเปน็ สือ่ ท่ีผสู้ อนผลติ ขนึ้ มาใช้เองและผ่านการทดลองใช้มาแลว้ ควรเขยี นคูม่ ือประกอบการใชส้ ่ือนน้ั
โดยบอกช่อื สื่อ ประโยชนแ์ ละวิธใี ชส้ ื่อ รวมทัง้ จานวนชน้ิ สว่ นของสื่อในชุดนั้นและเก็บคู่มือไว้ในซองหรือถุง พร้อมส่ือ
ท่ีผลติ
๔. พัฒนาสือ่ ทสี่ รา้ งสรรค์ ใช้ไดเ้ อนกประสงค์ คือ เป็นได้ท้ังสื่อเสริมพฒั นาการ
และเปน็ ของเลน่ สนุกสนานเพลดิ เพลนิ

แหลง่ การเรียนรู้

โรงเรยี นบา้ นบางเลน ไดแ้ บ่งประเภทของแหลง่ เรียนรู้ ได้ดังนี้
๑. แหลง่ เรียนรูป้ ระเภทบุคคล ไดแ้ ก่ วทิ ยากรหรือผเู้ ชยี วชาญเฉพาะดา้ น ท่ีจัดหามาเพอ่ื ใหค้ วามรู้
ความเข้าใจอย่างกระจา่ งแก่เด็กโดยสอดคล้องกบั เน้อื หาสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ ไดแ้ ก่

- กานันตาบลบางเลน
- เจ้าหนา้ ท่ใี น เทศบาล .
- เจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ
- พระสงฆ์
- พอ่ คา้ – แม่ค้า
- เจ้าหน้าทตี่ ารวจ
- ผูป้ กครอง
- ชา่ งตดั ผม / ช่างเสรมิ สวย
- ครู
- ภารโรง
- ฯลฯ
๒. แหลง่ เรยี นรู้ภายในชมุ ชน ไดแ้ ก่ แหลง่ ข้อมูลหรือแหลง่ วิทยาการตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ในชมุ ชน
มีความสัมพันธก์ บั เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีช่วยให้เดก็ สามารถเชื่อมโยงโลกภายในและโลกภายนอก
(inner world & outer world) ได้ และสอดคลอ้ งกบั วิถีการดาเนนิ ชวี ิตของเด็กปฐมวัย ได้แก่
- ห้องสมดุ โรงเรียนบา้ นบางเลน
- ห้องวทิ ยาศาสตร์
- วัดชมุ นุมศรัทธา

~ ๑๑๐ ~

- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนอาเภอบางเลน
- สถานตี ารวจ
- โรงพยาบาลบางเลน
- โลตสั บางเลน
- รา้ นเซเว่นสาขาชมุ พพู งษ์
- ธนาคาร
๓. สถานที่สาคญั ตา่ งๆ ได้แก่ แหลง่ ความรสู้ าคัญต่างๆ ท่ีเด็กใหค้ วามสนใจ ไดแ้ ก่
- ตลาดน้าลาพญา
- วดั ชุมนุมศรัทธา
- ตลาดชมพพู งษ์
- โรงไฟฟ้าบางเลน

การประเมนิ พฒั นาการ

การประเมินพฒั นาการเด็กอายุ ๔ – ๖ ปี เปน็ การประเมนิ พฒั นาการทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และ
สติปญั ญาของเดก็ โดยถือเป็นกระบวนการต่อตนเอง และเป็น สว่ นหนึ่งของกิจกรรมปกติทจ่ี ดั ให้เดก็ ในแตล่ ะวัน ผลท่ี
ได้จากการสังเกตพฒั นาการเดก็ ตอ้ งนามาจัดทาสารนิทัศน์หรอื จัดทาข้อมูลหลกั ฐานหรือเอกสารอย่างเป็นระบบ ดว้ ย
การวบรวมผลงานสาหรับเด็กเปน็ รายบุคคลทีส่ ามารถบอกเร่อื งราวหรือประสบการณ์ท่ีเด็กไดร้ ับวา่ เด็กเกิดการเรยี นรู้
และมีความกา้ วหนา้ เพยี งใด ทงั้ นี้ ให้นาข้อมูลผลการประเมินพฒั นาการเดก็ มาพจิ ารณา ปรับปรุงวางแผล การจัด
กจิ กรรม และสง่ เสริมใหเ้ ด็กแต่ละคนไดร้ ับการพฒั นาตามจุดหมายของหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง การประเมนิ พัฒนาการ
ควรยึดหลัก ดงั นี้

๑. วางแผนการประเมินพฒั นาการอยา่ งเปน็ ระบบ
๒. ประเมินพฒั นาการเด็กครบทุกด้าน
๓. ประเมินพฒั นาการเด็กเป็นรายบุคคลอยา่ งสม่าเสมอตอ่ เนื่องตลอดปี
๔. ประเมินพฒั นาการตามสภาพจรงิ จากกิจกรรมประจาวนั ด้วยเครอ่ื งมือและวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย ไมค่ วรใช้

แบบทดสอบ
๕. สรุปผลการประเมนิ จดั ทาขอ้ มลู และนาผลการประเมินไปใชพ้ ฒั นาเด็ก
สาหรบั วิธกี ารประเมินทเี่ หมาะสมและควรใชก้ ับเด็กอายุ ๔ – ๖ ปี ได้แก่ การสังเกต การบนั ทึกพฤติกรรม
การสนทนากับเดก็ การสัมภาษณ์ การวเิ คราะห์ข้อมูลจากผลงานเด็กทีเ่ กบ็ อย่างมรี ะบบ

ประเภทของการประเมนิ พัฒนาการ

การพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู้ของเด็ก ประกอบดว้ ย ๑) วัตถปุ ระสงค์ (Obejetive) ซ่ึงตามหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ หมายถึง จดุ หมายซ่ึงเป็นมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งชี้และ
สภาพที่พึงประสงค์ ๒) การจัดประสบการณการเรยี นรู้ (Leanning) ซ่งึ เปน็ กระบวนการไดม้ าของความร้หู รือทักษะ
ผ่านการกระทาส่งิ ตา่ งๆทส่ี าคัญตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั กาหนดใหห้ รอื ทีเ่ รยี กว่า ประสบการณ์สาคัญ ในการ
ช่วยอธบิ ายให้ครูเขา้ ใจถึงประสบการณ์ที่เด็กปฐมวยั ต้องทาเพ่ือเรยี นรสู้ ิง่ ตา่ งๆรอบตวั และช่วยแนะผสู้ อนในการ
สังเกต สนบั สนนุ และวางแผนการจัดกิจกรรมให้เด็กและ ๓) การประเมินผล(Evaluation) เพ่อื ตรวจสอบพฤตกิ รรม
หรือความสามารถตามวยั ท่ีคาดหวังให้เด็กเกดิ ขึน้ บนพื้นฐานพัฒนาการตามวัยหรอื ความสามารถตามธรรมชาตใิ นแต่

~ ๑๑๑ ~

ละระดับอายุ เรียกว่า สภาพทพี่ ึงประสงค์ ทใี่ ช้เปน็ เกณฑ์สาคญั สาหรบั การประเมนิ พฒั นาการเดก็ เป็นเป้าหมายและ

กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพเดก็ ท้ังนปี้ ระเภทของการประเมนิ พฒั นาการ อาจแบ่งได้เป็น ๒ ลกั ษณะ คือ

๑) แบง่ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ

การแบ่งตามวัตถปุ ระสงคข์ องการประเมิน แบง่ ได้ ๒ ประเภท ดังนี้
๑.๑) การประเมินความกา้ วหนา้ ของเดก็ (Formative Evaluation) หรอื การประเมนิ เพ่อื พัฒนา
(Formative Assessment) หรอื การประเมนิ เพื่อเรยี น (Assessment for Learning) เปน็ การประเมนิ ระหว่างการ
จดั ระสบการณ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมลู เกยี่ วกับผลพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กในระหวา่ งทากิจกรรมประจาวนั /
กิจวัตรประจาวันปกติอยา่ งต่อเน่ือง บันทึก วเิ คราะห์ แปลความหมายข้อมูลแล้วนามาใชใ้ นการส่งเสริมหรอื ปรับปรุง
แก้ไขการเรยี นรู้ของเดก็ และการจดั ประสบการณ์การเรียนรขู้ องผู้สอน การประเมินพัฒนาการกบั การจดั
ประสบการณ์การเรยี นรู้ของผู้สอนจงึ เป็นเรื่องที่สมั พนั ธ์กันหากขาดส่งิ หน่ึงสงิ่ ใดการจัดประสบการณ์การเรยี นรกู้ ็ขาด
ประสทิ ธภิ าพ เป็นการประเมินผลเพอ่ื ใหร้ ู้จดุ เด่น จดุ ทค่ี วรสง่ เสริม ผสู้ อนตอ้ งใชว้ ธิ ีการและเคร่ืองมือประเมนิ
พัฒนาการท่ีหลากหลาย เช่น การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานทแี่ สดงออกถึงความก้าวหนา้ แตล่ ะด้าน
ของเด็กเป็นรายบุคคล การใช้แฟ้มสะสมงาน เพื่อให้ไดข้ ้อสรุปของประเดน็ ท่ีกาหนด สิง่ ที่สาคัญทีส่ ดุ ในการประเมนิ
ความกา้ วหนา้ คือ การจัดประสบการณ์ใหก้ ับเดก็ ในลกั ษณะการเชือ่ มโยงประสบการณ์เดิมกบั ประสบการณ์ใหม่ทาให้
การเรยี นร้ขู องเดก็ เพ่ิมพูน ปรับเปลยี่ นความคดิ ความเขา้ ใจเดิมทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง ตลอดจนการใหเ้ ด็กสามารถพฒั นาการ
เรียนรูข้ องตนเองได้
๑.๒) การประเมินผลสรปุ (Summatie Evaluation) หรือ การประเมินเพ่ือตัดสินผลพัฒนาการ
(Summatie Assessment) หรือการประเมินสรปุ ผลของการเรยี นรู้ (Assessment of Learning) เปน็ การประเมนิ
สรุปพฒั นาการ เพอื่ ตัดสินพัฒนาการของเด็กวา่ มีความพร้อมตามมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของหลักสูตร
การศึกษาปฐมวยั หรอื ไม่ เพอ่ื เป็นการเชือ่ มต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
ดงั น้ัน ผู้สอนจงึ ควรใหค้ วามสาคัญกบั การประเมินความกา้ วหนา้ ของเด็กในระดับห้องเรียนมากกวา่ การ
ประเมนิ เพอ่ื ตัดสินผลพัฒนาการของเด็กเมื่อสน้ิ ภาคเรยี นหรือสน้ิ ปกี ารศึกษา

๒) แบง่ ตามระดบั ของการประเมิน

การแบ่งตามระดบั ของการประเมนิ แบ่งได้เปน็ ๒ ประเภท
๒.๑) การประเมนิ พฒั นาการระดบั ชั้นเรียน เป็นการประเมนิ พัฒนาการที่อยู่ในกระบวนการจดั
ประสบการณ์การเรียนรู้ ผ้สู อนดาเนินการเพือ่ พัฒนาเด็กและตัดสินผลการพัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคม และสติปญั ญา จากกิจกรรมหลัก/หน่วยการเรยี นร(ู้ Unit) ทผี่ ู้สอนจัดประสบการณ์ให้กบั เด็ก ผ้สู อนประเมินผล
พฒั นาการตามสภาพท่ีพงึ ประสงคแ์ ละตวั บ่งชี้ท่กี าหนดเป็นเป้าหมายในแตล่ ะแผนการจัดประสบการณ์ของหน่วยการ
เรยี นรู้ด้วยวธิ ตี ่างๆ เชน่ การสงั เกต การสนทนา การสมั ภาษณ์ การรวบรวมผลงานทแ่ี สดงออกถึงความกา้ วหนา้ แต่
ละดา้ นของเด็กเปน็ รายบุคคล การแสดงกรยิ าอาการต่างๆของเดก็ ตลอดเวลาทจ่ี ัดประสบการณ์เรยี นรู้ เพื่อตรวจสอบ
และประเมนิ ว่าเดก็ บรรลุตามสภาพที่พึงประสงคล์ ะตัวบ่งช้ี หรอื มแี นวโน้มวา่ จะบรรลุสภาพที่พึงประสงค์และตัวบง่ ช้ี
เพยี งใด แลว้ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ งเปน็ ระยะๆอย่างตอ่ เนื่อง ทั้งน้ี ผู้สอนควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการวา่ เด็กมผี ลอัน
เกดิ จากการจัดประสบการณ์การเรยี นร้หู รือไม่ และมากน้อยเพียงใด โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือรวบรวมหรือสะสมผลการ
ประเมินพัฒนาการในกิจกรรมประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั /หน่วยการเรยี นรู้ หรืผลตามรูปแบบการประเมิน
พฒั นาการทส่ี ถานศึกษากาหนด เพ่อื นามาเป็นข้อมูลใช้ปรังปรุงการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และเปน็ ข้อมูลในการ
สรปุ ผลการประเมินพัฒนาในระดบั สถานศึกษาตอ่ ไปอีกดว้ ย
๒.๒) การประเมนิ พฒั นาการระดบั สถานศกึ ษา เปน็ การตรวจสอบผลการประเมินพฒั นาการของเด็กเป็น
รายบุคคลเป็นรายภาค/รายปี เพื่อให้ได้ข้อมลู เก่ียวกบั การจัดการศึกษาของเด็กในระดับปฐมวัยของสถานศึกษาวา่
สง่ ผลตาการเรียนรูข้ องเดก็ ตามเปา้ หมายหรอื ไม่ เด็กมสี ิง่ ที่ตอ้ งการไดร้ บั การพฒั นาในดา้ นใด รวมทัง้ สามารถนาผล

~ ๑๑๒ ~

การประเมนิ พัฒนาการของเด็กในระดับสถานศึกษาไปเปน็ ข้อมลู และสารสนเทศในการปรับปรุงหลักสตู รสถานศึกษา
ปฐมวัย โครงการหรือวิธีการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ตลอดจนการจัดแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของ
สถานศึกษาตามแผนการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและการรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ต่อผูป้ กครอง นาเสนอ
คณะกรรมการถานศึกษาข้ันพื้นฐานรับทราบ ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธรณชน ชุมชน หรอื หนว่ ยงานต้นสงั กัดหรอื
หนว่ ยงานตน้ สังกดั หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องต่อไป

อนึ่ง สาหรับการประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัยในระดับเขตพื้นที่การศกึ ษาหรือระดบั ประเทศนน้ั หากเขต
พ้ืนทกี่ ารศึกษาใดมีความพรอ้ ม อาจมีการดาเนนิ งานในลักษณะของการสมุ่ กล่มุ ตวั อยา่ งเด็กปฐมวัยเข้ารบั การประเมิน
ก็ได้ ทง้ั น้ี การประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยขอให้ถือปฏิบัติตามหลกั การการประเมนิ พัฒนาการตามหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

บทบาทหนา้ ทขี่ องผูเ้ กย่ี วขอ้ งในการดาเนนิ งานประเมินพฒั นาการ

การดาเนนิ งานประเมินพฒั นาการของสถานศึกษานั้น ต้องเปิดโอกาสใหผ้ เู้ กยี่ วข้องเข้ามามสี ่วนรว่ มในการ

ประเมนิ พฒั นาการและร่วมรับผดิ ชอบอย่างเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาแตล่ ะขนาด ดังนี้

ผูป้ ฏิบตั ิ บทบาทหน้าท่ีในการประเมินพัฒนาการ

ผูส้ อน ๑. ศึกษาหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย และแนวการปฏิบตั ิการประเมินพฒั นาการตาม

หลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั

๒. วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการประเมนิ พฒั นาการที่สอดคลอ้ งกับหนว่ ยการเรียนร/ู้ กจิ กรรม

ประจาวนั /กิจวตั รประจาวนั

๓. จัดประสบการณ์ตามหน่วยการเรยี นรู้ ประเมินพัฒนาการ และบันทกึ ผลการประจาวัน/

กิจวัตรประจาวัน

๔. รวบรวมผลการประเมินพัฒนาการ แปลผลและสรุปผลการประเมนิ เมื่อส้ินภาคเรยี น

และสนิ้ ปีการศึกษา

๕. สรุปผลการประเมินพฒั นาการระดับชั้นเรยี นลงในสมุดบันทกึ ผลการประเมินพฒั นาการ

ประจาชัน้

๖. จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน

๗. เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการตอ่ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาลงนามอนุมัติ

ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ๑.กาหนดผูร้ บั ผดิ ชอบงานประเมินพฒั นาการตามหลักสูตร และวางแนวทางปฏิบตั ิการ

ประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

๒. นเิ ทศ กากบั ติดตามให้การดาเนนิ การประเมนิ พัฒนาการให้บรรลุเป้าหมาย

๓. นาผลการประเมนิ พัฒนาการไปจัดทารายงานผลการดาเนนิ งานกาหนดนโยบายและ

วางแผนพฒั นาการจดั การศึกษาปฐมวยั

พ่อ แม่ ผ้ปู กครอง ๑. ให้ความร่วมมือกับผูส้ อนในการประเมนิ พฤติกรรมของเด็กที่สังเกตได้จากทีบ่ ้านเพ่ือเป็น

ขอ้ มลู ประกอบการแปลผลท่เี ที่ยงตรงของผู้สอน

๒. รับทราบผลการประเมนิ ของเดก็ และสะท้อนให้ข้อมลู ย้อนกลับที่เป็นประโยชนใ์ นการ

ส่งเสรมิ และพัฒนาเด็กในปกครองของตนเอง

๓. รว่ มกบั ผู้สอนในการจัดประสบการณห์ รือเป็นวิทยากรท้องถ่นิ

คณะกรรมการ ๑. ให้ความเหน็ ชอบและประกาศใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัยและแนวปฏบิ ตั ใิ นการ

สถานศกึ ษาข้ัน ประเมินพฒั นาการตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั

พืน้ ฐาน ๒. รบั ทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

~ ๑๑๓ ~

ผู้ปฏิบตั ิ บทบาทหนา้ ท่ีในการประเมนิ พัฒนาการ

สานกั งานเขตพ้ืนท่ี ๑. ส่งเสรมิ การจดั ทาเอกสารหลักฐานว่าดว้ ยการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวยั ของ
การศึกษา สถานศึกษา
๒. ส่งเสริมให้ผ้สู อนในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในแนวปฏบิ ตั กิ ารประเมิน
พฒั นาการตามมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั
ตลอดจนความเขา้ ใจในเทคนิควธิ กี ารประเมินพฒั นาการในรปู แบบตา่ งๆโดยเนน้ การ
ประเมินตามสภาพจริง
๓. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษาพัฒนาเคร่ืองมอื พฒั นาการตามมาตรฐานคณุ ลักษณะที่
พงึ ประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และการจดั เกบ็ เอกสารหลักฐานการศึกษาอย่าง
เปน็ ระบบ
๔. ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาเกีย่ วกับการประเมนิ พฒั นาการและการจดั ทาเอกสารหลกั ฐาน
๕. จัดใหม้ ีการประเมนิ พฒั นาการเด็กที่ดาเนนิ การโดยเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือหนว่ ยงานต้น
สังกัดและใหค้ วามรว่ มมือในการประเมนิ พฒั นาการระดับประเทศ

แนวปฏิบัตกิ ารประเมินพฒั นาการ

การประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยเปน็ กจิ กรรมทีส่ อดแทรกอยใู่ นการจัดประสบการณ์ทุกข้นั ตอนโดยเรมิ่
ตง้ั แตก่ ารประเมินพฤติกรรมของเดก็ ก่อนการจัดประสบการณ์ การประเมินพฤตกิ รรมเด็กขณะปฏบิ ตั ิกจิ รรม และการ
ประเมินพฤติกรรมเด็กเมื่อสน้ิ สุดการปฏบิ ัติกจิ กรรม ทงั้ น้ี พฤติกรรมการเรียนรู้และพฒั นาการด้านตา่ งๆ ของเด็กที่
ไดร้ ับการประเมินนน้ั ต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ตัวบง่ ชี้ และสภาพทพ่ี ึงประสงค์ของหลกั สูตร
สถานศกึ ษาระดับปฐมวยั ทผ่ี ูส้ อนวางแผนและออกแบบไว้ การประเมนิ พัฒนาการจึงเปน็ เครื่องมือสาคัญท่จี ะชว่ ยให้
การเรยี นรู้ของเดก็ บรรลตุ ามเป้าหมายเพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุง พฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ
ใช้เปน็ ข้อมูลสาหรบั การพัฒนาเดก็ ต่อไป สถานศกึ ษาควรมีกระบวนการประเมินพัฒนาการและการจดั การอย่างเปน็
ระบบสรุปผลการประเมินพฒั นาการท่ีตรงตามความรู้ ความสามารถ ทักษะและพฤติกรรมทแี่ ท้จรงิ ของเดก็ สอดคล้อง
ตามหลักการประเมินพฒั นาการ รวมทั้งสะท้อนการดาเนินงานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาอย่างเป็น
ระบบและต่อเน่ือง แนวปฏบิ ัติการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ของสถานศกึ ษา มีดงั น้ี

๑. หลกั การสาคัญของการดาเนินการประเมนิ พฒั นาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐

สถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษาปฐมวัยควรคานึงถงึ หลักสาคัญของการดาเนินงานการประเมินพัฒนาการตาม
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย สาหรบั เด็กปฐมวยั อายุ ๔-๖ ปี ดังน้ี

๑.๑ ผู้สอนเป็นผู้รบั ผดิ ชอบการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย โดยเปดิ โอกาสให้ผู้ที่เก่ียวข้องมีส่วนรว่ ม
๑.๒ การประเมนิ พฒั นาการ มีจดุ ม่งุ หมายของการประเมินเพอ่ื พฒั นาความกา้ วหนา้ ของเดก็ และสรุปผลการ
ประเมินพัฒนาการของเดก็
๑.๓ การประเมนิ พฒั นาการต้องมีความสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ี
สภาพทพี่ ึงประสงค์แตล่ ะวัยซ่ึงกาหนดไว้ในหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั
๑.๔ การประเมนิ พฒั นาการเป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูต้ ้องดาเนินการดว้ ย
เทคนิควิธีการท่หี ลากหลาย เพ่ือใหส้ ามารถประเมินพฒั นาการเดก็ ได้อย่างรอบด้านสมดุลทง้ั ด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา รวมท้งั ระดับอายุของเด็ก โดยตั้งอยบู่ นพน้ื ฐานของความเที่ยงตรง ยุตธิ รรมและเชือ่ ถือได้

~ ๑๑๔ ~

๑.๕ การประเมินพัฒนาการพิจารณาจากพฒั นาการตามวัยของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรแู้ ละการ
รว่ มกจิ กรรม ควบคู่ไปในกระบวนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรตู้ ามความเหมาะสมของแต่ละระดับอายุ และรูปแบบ
การจัดการศึกษา และต้องดาเนนิ การประเมินอยา่ งตอ่ เน่ือง

๑.๖ การประเมินพัฒนาการต้องเปดิ โอกาสให้ผู้มสี ่วนเก่ยี วข้องทุกฝา่ ยไดส้ ะท้อนและตรวจสอบผลการ
ประเมินพัฒนาการ

๑.๗ สถานศึกษาควรจดั ทาเอกสารบันทึกผลการประเมินพัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยในระดับชั้นเรยี นและ
ระดับสถานศึกษา เช่น แบบบันทึกการประเมินพฒั นาการตามหนว่ ยการจดั ประสบการณ์ สมุดบนั ทึกผลการประเมน
พัฒนาการประจาชนั้ เพ่ือเปน็ หลักฐานการประเมนิ และรายงานผลพฒั นาการและสมุดรายงานประจาตัวนกั เรียน เพื่อ
เปน็ การสื่อสารข้อมลู การพัฒนาการเดก็ ระหวา่ งสถานศกึ ษากับบา้ น

๒. ขอบเขตของการประเมนิ พฒั นาการ

หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ได้กาหนดเปา้ หมายคณุ ภาพของเด็กปฐมวยั เป็นมาตรฐาน
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ซึง่ ถือเป็นคุณภาพลกั ษณะที่พึงประสงคท์ ี่ต้องการใหเ้ กิดขน้ึ ตัวเดก็ เม่ือจบหลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวยั คณุ ลักษณะทร่ี ะบุไวใ้ นมาตรฐานคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ถือเป็นสิง่ จาเปน็ สาหรับเดก็ ทุกคน ดังน้นั
สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วข้องมีหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบในการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาเด็กใหม้ ีคณุ ภาพ
มาตรฐานที่พึงประสงค์กาหนด ถือเปน็ เคร่ืองมือสาคัญในการขับเคลือ่ นและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวัย แนวคดิ
ดังกลา่ วอยบู่ นฐานความเช่ือท่ีวา่ เดก็ ทุกคนสามารถพัฒนาอย่างมคี ุณภาพและเท่าเทยี มได้ ขอบเขตของการประเมนิ
พฒั นาการประกอบดว้ ย

๒.๑ สิง่ ทจี่ ะประเมนิ
๒.๒ วธิ ีและเคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ
๒.๓ เกณฑ์การประเมนิ พฒั นาการ

๒.๑ ส่ิงท่ีจะประเมิน

การประเมินพฒั นาการสาหรับเดก็ อายุ ๔-๖ ปี มีเปา้ หมายสาคญั คือ มาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
จานวน ๑๒ ข้อ ดงั น้ี

๑. พฒั นาการดา้ นร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๑ ร่างกายเจรญิ เตบิ โตตามวัยและมีสขุ นสิ ยั ทีด่ ี
มาตรฐานที่ ๒ กลา้ มเนื้อใหญ่และกลา้ มเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่วและประสานสมั พันธ์

กนั
๒. พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๓ มีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสุข
มาตรฐานท่ี ๔ ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
มาตรฐานท่ี ๕ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และมจี ิตใจทดี่ ีงาม
๓. พฒั นาการดา้ นสังคม ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานท่ี ๖ มที ักษะชวี ติ และปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
มาตรฐานท่ี ๗ รักธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม วฒั นธรรม และความเป็นไทย
มาตรฐานที่ ๘ อยูร่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ย่างมคี วามสุขและปฏิบตั ิตนเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของสงั คมในระบอบ

ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข
๔. พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ประกอบดว้ ย ๔ มาตรฐาน คือ
มาตรฐานที่ ๙ ใช้ภาษาสอ่ื สารไดเ้ หมาะสมกบั วยั
มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถในการคิดท่ีเป็นพน้ื ฐานในการเรียนรู้

~ ๑๑๕ ~

มาตรฐานที่ ๑๑ มจี นิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์
มาตรฐานท่ี ๑๒ มเี จตคติท่ีดีต่อการเรียนรแู้ ละมีความสามารถในการแสวงหาความร้ไู ด้เหมาะสมกับ
วยั
ส่ิงทีจ่ ะประเมนิ พฒั นาการของเด็กปฐมวัยแตล่ ะด้าน มดี งั น้ี
ดา้ นรา่ งกาย ประกอบด้วย การประเมินการมีน้าหนักและส่วนสงู ตามเกณฑ์ สุขภาพอนามัย สขุ นิสัยทีด่ ี การ
รจู้ ักรักษาความปลอดภยั การเคลอ่ื นไหวและการทรงตวั การเล่นและการออกกาลังกาย และการใช้มืออย่าง
คลอ่ งแคล่วประสานสัมพันธ์กัน
ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ประกอบดว้ ย การประเมนิ ความสามารถในการแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับ
วยั และสถานการณ์ ความร้สู กึ ทดี่ ีตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ มีความรสู้ ึกเห็นอกเหน็ ใจผู้อ่นื ความสนใจ/ความสามารถ/และมี
ความสุขในการทางานศลิ ปะ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว ความรบั ผิดชอบในการทางาน ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ และรูส้ ึก
ถกู ผดิ ความเมตตากรุณา มีน้าใจและชว่ ยเหลือแบง่ ปนั ตลอดจนการประหยดั อดออม และพอเพียง
ด้านสงั คม ประกอบด้วย การประเมนิ ความมีวนิ ยั ในตนเอง การชว่ ยเหลือตนเองในการปฏบิ ัตกิ จิ วตั ร
ประจาวนั การระวงั ภัยจากคนแปลกหน้า และสถานการณ์ท่ีเสย่ี งอนั ตราย การดแู ลรกั ษาธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม
การมีสมั มาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย รักษาความเป็นไทย การยอมรบั ความเหมอื นและความแตกต่าง
ระหว่างบคุ คล การมีสมั พันธ์ทดี่ ีกับผู้อ่นื การปฏิบัตติ นเบื้องต้นในการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข
ดา้ นสตปิ ัญญา ประกอบด้วย การประเมนิ ความสามารถในการสนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองใหผ้ ้อู น่ื เข้าใจ
ความสามารถในการอา่ น เขยี นภาพและสญั ลกั ษณ์ ความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หา คดิ เชิงเหตุผล คิดรวบยอด การ
เลน่ /การทางานศลิ ปะ/การแสดงท่าทาง/เคลอ่ื นไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง การมีเจตคติที่
ดีต่อการเรยี นรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้

๒.๒ วธิ ีการและเครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมินพัฒนาการ

การประเมนิ พฒั นาการเดก็ แต่ละครงั้ ควรใช้วธิ กี ารประเมินอยา่ งหลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีสมบูรณ์ทสี่ ุด
วธิ กี ารท่ีเหมาะสมและนิยมใชใ้ นการประเมนิ เด็กปฐมวัยมดี ้วยกนั หลายวธิ ี ดงั ต่อไปนี้

๑. การสังเกตและการบนั ทกึ การสังเกตมีอยู่ ๒ แบบคือ การสังเกตอยา่ งมรี ะบบ ได้แก่ การสงั เกตอยา่ งม
จดุ ม่งุ หมายที่แนน่ อนตามแผนที่วางไว้ และอีกแบบหนึง่ คือ การสงั เกตแบบไม่เปน็ ทางการ เป็นการสงั เกตในขณะที่
เด็กทากจิ กรรมประจาวันและเกิดพฤตกิ รรมท่ีไมค่ าดคิดว่าจะเกดิ ขึ้นและผสู้ อนจดบนั ทึกไวก้ ารสงั เกตเปน็ วธิ กี ารที่
ผ้สู อนใช้ในการศึกษาพฒั นาการของเด็ก เม่ือมีการสังเกตก็ตอ้ งมีการบนั ทึก ผสู้ อนควรทราบว่าจะบนั ทึกอะไรการ
บนั ทกึ พฤติกรรมมคี วามสาคัญอย่างย่ิงทต่ี อ้ งทาอย่างสมา่ เสมอ เนื่องจากเด็กเจรญิ เติบโตและเปลยี่ นแปลงอย่าง
รวดเร็ว จึงตอ้ งนามาบนั ทึกเป็นหลกั ฐานไวอ้ ย่างชดั เจน การสงั เกตและการบันทึกพฒั นาการเดก็ สามารถใชแ้ บบงา่ ยๆ
คอื

๑.๑ แบบบันทึกพฤติกรรม ใช้บนั ทึกเหตกุ ารณ์เฉพาะอยา่ งโดยบรรยายพฤติกรรมเด็ก ผบู้ นั ทึกต้อง
บนั ทกึ วัน เดอื น ปเี กดิ ของเด็ก และวนั เดือน ปี ท่ีทาการบันทกึ แต่ละครั้ง

๑.๒ การบันทกึ รายวัน เปน็ การบนั ทึกเหตุการณห์ รือประสบการณห์ รือประสบการณท์ ี่เกิดขน้ึ ในชน้ั เรยี น
ทกุ วนั ถา้ หากบนั ทึกในรปู แบบของการบรรยายก็มักจะเนน้ เฉพาะเด็กรายทตี่ ้องการศกึ ษา ข้อดีของการบันทึกรายวัน
คือ การชใ้ี ห้เหน็ ความสามารถเฉพาะอย่างของเด็ก จะช่วยกระตนุ้ ให้ผูส้ อนได้พจิ ารณาปัญหาของเดก็ เป็นรายบุคคล
ชว่ ยให้ผเู้ ชยี วชาญมขี ้อมลู มากข้ึนสาหรับวนิ ิจฉยั เด็กวา่ สมควรจะได้รับคาปรกึ ษาเพ่ือลดปญั หาและสง่ เสรมิ พัฒนาการ
ของเด็กได้อยา่ งถูกต้อง นอกจากนนั้ ยงั ชว่ ยช้ใี ห้เห็นขอ้ เสียของการจดั กจิ กรรมและประสบการณ์ไกเ้ ปน็ อย่างดี

๑.๓ แบบสารวจรายการ ชว่ ยให้สามารถวเิ คราะห์เดก็ แตล่ ะคนได้ค่อนข้างละเอยี ด
๒. การสนทนา สามารถใชก้ ารสนทนาได้ทั้งเป็นกลมุ่ หรือรายบุคคล เพ่ือประเมนิ ความสามารถในการแสดง
ความคิดเห็น และพฒั นาการดา้ นภาษาของเด็กและบนั ทึกผลการสนทนาลงในแบบบนั ทึกพฤตกิ รรมหรือบันทึกรายวนั

~ ๑๑๖ ~

๓. การสมั ภาษณ์ ด้วยวธิ ีพดู คยุ กับเด็กเปน็ รายบคุ คลและควรจดั ในสภาวะแวดลอ้ มเหมาะสมเพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ
ความเครยี ดและวติ กกังวล ผ้สู อนควรใชค้ าถามทเ่ี หมาะสมเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและตอบอย่างอิสระจะทาให้ผู้สอน
สามารถประเมนิ ความสามารถทางสติปัญญาของเด็กแต่ละคนและค้นพบศักยภาพในตวั เดก็ ได้โดยบันทึกข้อมูลลงใน
แบบสมั ภาษณ์

การเตรยี มการก่อนการสมั ภาษณ์ ผสู้ อนควรปฏิบัติ ดังนี้
- กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์
- กาหนดคาพูด/คาถามทจี่ ะพดู กบั เด็ก ควรเปน็ คาถามทเ่ี ด็กสามารถตอบโตห้ ลากหลาย ไม่ผดิ /ถกู
การปฏบิ ตั ขิ ณะสัมภาษณ์
- ผสู้ อนควรสรา้ งความคุ้นเคยเปน็ กันเอง
- ผู้สอนควรสรา้ งสภาพแวดลอ้ มที่อบอนุ่ ไม่เครง่ เครียด
- ผสู้ อนควรเปิดโอกาสเวลาให้เดก็ มีโอกาสคิดและตอบคาถามอยา่ งอสิ ระ
- ระยะเวลาสมั ภาษณ์ไม่ควรเกิน ๑๐-๒๐ นาที
๔. การรวบรวมผลงานท่ีแสดงออกถงึ ความก้าวหนา้ แตล่ ะด้านของเดก็ เปน็ รายบคุ คล โดยจัดเกบ็ รวบรวม
ไวใ้ นแฟ้มผลงาน (portfolio) ซง่ึ เป็นวธิ ีรวบรวมและจัดระบบข้อมลู ต่างๆท่ีเกย่ี วกับตัวเดก็ โดยใช้เคร่อื งมือตา่ งๆ
รวบรวมเอาไวอ้ ย่างมจี ดุ มุ่งหมายทีช่ ัดเจน แสดงการเปลยี่ นแปลงของพฒั นาการแต่ละด้าน นอกจากนี้ยังรวมเครื่องมือ
อื่นๆ เชน่ แบบสอบถามผูป้ กครอง แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบบันทึกสุขภาพอนามยั ฯลฯ เอาไว้ในแฟม้ ผลงาน เพื่อ
ผู้สอนจะได้ขอ้ มลู เก่ียวกับตวั เดก็ อย่างชดั เจนและถูกต้อง การเก็บผลงานของเด็กจะไม่ถือว่าเปน็ การประเมินผลถา้ งาน
แตล่ ะช้นิ ถกู รวบรวมไว้โดยไม่ไดร้ ับการประเมินจากผสู้ อนและไม่มีการนาผลมาปรับปรงุ พฒั นาเดก็ หรือปรบั ปรงุ การ
สอนของผู้สอน ดงั น้ันจงึ เปน็ แตก่ ารสะสมผลงานเท่าน้ัน เชน่ แฟ้มผลงานขีดเขยี น งานศลิ ปะ จะเปน็ เพียงแคแ่ ฟ้ม
ผลงานทไี่ ม่มีการประเมิน แฟ้มผลงานน้จี ะเปน็ เคร่ืองมอื การประเมนิ ต่อเน่ืองเมื่องานที่สะสมแต่ละชน้ิ ถูกใช้ในการบง่
บอกความกา้ วหน้า ความตอ้ งการของเด็ก และเป็นการเกบ็ สะสมอย่างตอ่ เนื่องที่สรา้ งสรรค์โดยผู้สอนและเด็ก
ผู้สอนสามารถใชแ้ ฟ้มผลงานอยา่ งมีคณุ ค่าส่อื สารกบั ผู้ปกครองเพราะการเกบ็ ผลงานเด็กอย่างต่อเนื่องและ
สมา่ เสมอในแฟ้มผลงานเป็นข้อมูลใหผ้ ้ปู กครองสามารถเปรียบเทียบความก้าวหนา้ ทีล่ กู ของตนมีเพ่ิมขึน้ จากผลงาน
ชิ้นแรกกับชน้ิ ต่อๆมาข้อมลู ในแฟม้ ผลงานประกอบด้วย ตวั อยา่ งผลงานการเขียดเขียน การอ่าน และขอ้ มูลบาง
ประการของเดก็ ท่ีผสู้ อนเป็นผู้บนั ทึก เชน่ จานวนเลม่ ของหนังสอื ท่เี ด็กอ่าน ความถี่ของการเลือกอ่านท่มี ุมหนังสอื ใน
ช่วงเวลาเลอื กเสรี การเปล่ยี นแปลงอารมณ์ ทศั นคติ เปน็ ต้น ขอ้ มูลเหล่าน้ีจะสะท้อนภาพของความงอกงามในเดก็ แต่
ละคนได้ชัดเจนกว่าการประเมนิ โดยการใหเ้ กรด ผูส้ อนจะต้องชีแ้ จงใหผ้ ปู้ กครองทราบถึงที่มาของการเลือกช้นิ งานแต่
ละชิน้ งานทส่ี ะสมในแฟ้มผลงาน เชน่ เปน็ ชน้ิ งานทดี่ ที ส่ี ดุ ในชว่ งระยะเวลาทเี่ ลือกช้นิ งานนนั้ เปน็ ชิ้นงานท่ีแสดงความ
ต่อเนือ่ งของงานโครงการ ฯลฯ ผูส้ อนควรเชญิ ผ้ปู กครองมามีส่วนร่วมในการคัดสรรชิ้นงานทบี่ รรจุลงในแฟ้มผลงาน
ของเด็ก
๕. การประเมินการเจริญเตบิ โตของเดก็ ตวั ช้ขี องการเจริญเติบโตในเด็กที่ใชท้ ่วั ๆไป ได้แก่ น้าหนัก ส่วนสงู เสน้ รอบ
ศีรษะ ฟัน และการเจริญเตบิ โตของกระดูก แนวทางประเมินการเจริญเติบโต มดี ังนี้
๕.๑ การประเมนิ การเจรญิ เติบโต โดยการชั่งนา้ หนักและวัดสว่ นสงู เด็กแลว้ นาไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกติ
ในกราฟแสดงนา้ หนักตามเกณฑ์อายุกระทรวงสาธารณสุข ซึง่ ใช้สาหรับตดิ ตามการเจรญิ เติบโตโดยรวม วธิ กี ารใช้
กราฟมีขน้ั ตอน ดงั นี้
เมอ่ื ช่ังน้าหนักเดก็ แลว้ นาน้าหนกั มาจดุ เครื่องหมายกากบาทลงบนกราฟ และอ่านการเจรญิ เตบิ โตของเด็ก
โดยดูเคร่ืองหมายกากบาทวา่ อย่ใู นแถบสใี ด อ่านข้อความบนแถบสนี ้นั ซงึ่ แบง่ ภาวะโภชนาการเปน็ ๓ กลมุ่ คือ
น้าหนกั ท่อี ยู่ในเกณฑป์ กติ น้าหนักมากเกนเกณฑ์ น้าหนักน้อยกวา่ เกณฑ์ ข้อควรระวงั สาหรบั ผู้ปกครองและผูส้ อนคือ

~ ๑๑๗ ~

ควรดแู ลนา้ หนกั เดก็ อยา่ งใหแ้ บง่ เบนออกจากเส้นประเมนิ มิเชน่ นั้นเด็กมโี อกาสนา้ หนกั มากเกนิ เกณฑห์ รือน้าหนกั น้อย
กวา่ เกณฑไ์ ด้

ข้อควรคานึงในการประเมินการเจรญิ เตบิ โตของเด็ก
-เดก็ แตล่ ะคนมีความแตกต่างกนั ในดา้ นการเจริญเติบโต บางคนรปู รา่ งอว้ น บางคนช่วงครึ่งหลังของ

ขวบปแี รก นา้ หนักเด็กจะขึ้นชา้ เน่ืองจากหว่ งเล่นมากขน้ึ และความอยากอาหารลดลงร่างใหญ่ บางคนรา่ งเลก็
-ภาวะโภชนาการเปน็ ตัวสาคัญทเ่ี กย่ี วข้องกบั ขนาดของรูปรา่ ง แตไ่ ม่ใช่สาเหตุเดยี ว
-กรรมพนั ธ์ุ เด็กอาจมีรปู ร่างเหมอื นพ่อแม่คนใดคนหนึ่ง ถ้าพอ่ หรือแมเ่ ต้ยี ลูกอาจเต้ียและพวกน้ีอาจ

มนี า้ หนักตา่ กวา่ เกณฑเ์ ฉล่ียได้และมักจะเป็นเดก็ ท่ีทานอาหารไดน้ อ้ ย
๕.๒ การตรวจสขุ ภาพอนามัย เปน็ ตวั ชวี้ ดั คณุ ภาพของเดก็ โดยพิจารณาความสะอาดสิ่งปกตขิ อร่างกายที่จะ

สง่ ผลตอ่ การดาเนนิ ชวี ติ และการเจรญิ เตบิ โตของเด็ก ซง่ึ จะประเมนิ สุขภาพอนามยั ๙ รายการคือ ผมและศรี ษะ หูและ
ใบหู มอื และเลบ็ มือ เทา้ และเล็บเท้า ปาก ล้นิ และฟนั จมูก ตา ผิวหนังและใบหน้า และเส้อื ผ้า

๒.๓ เกณฑก์ ารประเมินพฒั นาการ

การสร้างเกณฑห์ รือพฒั นาเกณฑห์ รือกาหนดเกณฑ์การประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ปฐมวัย ผู้สอนควรให้
ความสนใจในสว่ นท่เี กยี่ วข้อ ดังนี้

๑. การวางแผนการสงั เกตพฤติกรรมของเด็กอย่างเปน็ ระบบ เชน่ จะสังเกตเดก็ คนใดบ้างในแต่ละวนั กาหนด
พฤติกรรมท่ีสังเกตใหช้ ดั เจน จดั ทาตารางกาหนดการสงั เกตเด็กเปน็ รายบคุ คล รายกลมุ่ ผ้สู อนต้องเลือกสรร
พฤติกรรมทตี่ รงกบั ระดับพฒั นาการของเด็กคนน้นั จริงๆ

๒. ในกรณีทห่ี อ้ งเรยี นมีนักเรียนจานวนมาก ผสู้ อนอาจเลือกสงั เกตเฉพาะเด็กท่ีทาได้ดแี ลว้ และเด็กทีย่ ังทา
ไมไ่ ด้ ส่วนเด็กปานกลางให้ถือว่าทาได้ไปตามกิจกรรม

๓. ผสู้ อนต้องสังเกตจากพฤติกรรม คาพดู การปฏิบัติตามขั้นตอนในระหว่างทางาน/กจิ กรรม และคุณภาพ
ของผลงาน/ช้ินงาน ร่องรอยทีน่ ามาใชพ้ ิจารณาตัดสินผลของการทางานหรือการปฏิบตั ิ ตวั อย่างเชน่

๑) เวลาท่ีใช้ในการทากจิ กรรม/ทางาน ถ้าเด็กไม่ชอบ ไม่ชานาญจะใช้เวลามาก มที า่ ทางอิดออด ไม่
กลา้ ไม่เต็มใจทางาน

๒) ความต่อเนื่อง ถ้าเดก็ ยังมีการหยุดชะงัก ลังเล ทางานไม่ตอ่ เนื่อง แสดงว่าเด็กยังไมช่ านาญหรอื ยงั
ไม่พร้อม

๓) ความสัมพันธ์ ถา้ การทางาน/ปฏบิ ัติน้ันๆมีความสัมพนั ธ์ต่อเนอ่ื ง ไม่ราบรื่น ท่าทางมือและเท้าไม่
สัมพันธ์กนั แสดงวา่ เด็กยังไม่ชานาญหรอื ยงั ไมพ่ ร้อม ท่าที่แสดงออกจึงไม่สงา่ งาม

๔) ความภูมใิ จ ถ้าเด็กยงั ไมช่ ่ืนชม กจ็ ะทางานเพยี งใหแ้ ลว้ เสร็จอย่างรวดเร็ว ไม่มีความภูมิใจในการ
ทางาน ผลงานจงึ ไมป่ ระณีต

๒.๓.๑ ระดับคุณภาพผลการประเมนิ พัฒนาการเด็ก
การใหร้ ะดับคณุ ภาพผลการประเมนิ พฒั นาการของเดก็ ทั้งในระดับชน้ั เรียนและระดับสถานศึกษาควรกาหนด
ในทิศทางหรอื รูปแบบเดยี วกัน สถานศกึ ษาสามารถใหร้ ะดับคุณภาพผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กทีส่ ะทอ้ น
มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวบ่งช้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ หรอื พฤตกิ รรมทจี่ ะประเมิน เป็นระบบตัวเลข เชน่ ๑
หรือ ๒ หรอื ๓ หรอื เปน็ ระบบทใ่ี ชค้ าสาคญั เชน่ ดี พอดี หรอื ควรส่งเสริม ตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ตัวอย่างเชน่

~ ๑๑๘ ~

ระบบตัวเลข ระบบทีใ่ ช้คาสาคญั

๓ ดี

๒ พอใช้

๑ ควรสง่ เสรมิ

สถานศกึ ษาอาจกาหนดระดับคุณภาพของการแสดงออกในพฤติกรรม เป็น ๓ ระดบั ดงั น้ี

ระดับคุณภาพ ระบบที่ใชค้ าสาคญั

๑ หรือ ควรส่งเสรมิ เด็กมีความลงั เล ไมแ่ น่ใจ ไม่ยอมปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ท้ังน้ี เน่ืองจากเดก็ ยังไม่พร้อม ยงั

ม่นั ใจ และกลวั ไมป่ ลอดภยั ผู้สอนต้องย่วั ยุหรือแสดงให้เหน็ เป็นตัวอยา่ งหรือต้อง

คอยอยู่ใกลๆ้ คอ่ ยๆให้เด็กทาทลี ะข้ันตอน พร้อมต้องให้กาลงั ใจ

๒ หรือ พอใช้ เดก็ แสดงไดเ้ อง แตย่ ังไม่คล่อง เดก็ กล้าทามากข้ึนผูส้ อนกระตนุ้ นอ้ ยลง ผู้สอนตอ้ ง

คอยแก้ไขในบางครัง้ หรือคอยให้กาลังใจใหเ้ ด็กฝกึ ปฏิบัตมิ ากขึน้

๓ หรือ ดี เดก็ แสดงไดอ้ ยา่ งชานาญ คล่องแคล่ว และภมู ิใจ เด็กจะแสดงไดเ้ องโดยไม่ตอ้ ง

กระตุ้น มีความสมั พนั ธ์ท่ดี ี

ตัวอยา่ งคาอธิบายคุณภาพ

พัฒนาการดา้ นร่างกาย : สขุ ภาพอนามยั พัฒนาการดา้ นร่างกาย : กระโดดเท้าเดียว

ระดับคณุ ภาพ คาอธิบายคณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ คาอธบิ ายคณุ ภาพ

๑ หรอื ควรส่งเสรมิ สง่ เสริมความสะอาด ๑หรือ ควรส่งเสรมิ ทาได้แต่ไม่ถูกต้อง

๒ หรอื พอใช้ สะอาดพอใช้ ๒ หรือ พอใช้ ทาได้ถกู ต้อง แต่ไม่คล่องแคล่ว

๓ หรือ ดี สะอาด ๓ หรือ ดี ทาได้ถูกต้อง และคลอ่ งแคลว่

พฒั นาการด้านอารมณ์ : ประหยัด

ระดบั คุณภาพ คาอธิบายคุณภาพ

๑ หรอื ควรส่งเสริม ใชส้ ิ่งของเคร่อื งใชเ้ กนิ ความจาเปน็

๒ หรือ พอใช้ ใช้สงิ่ ของเครอ่ื งใชอ้ ย่างประหยัดเปน็ บางครัง้

๓ หรือ ดี ใชส้ ิง่ ของเคร่ืองใชอ้ ยา่ งประหยดั ตามความจาเปน็ ทกุ คร้ัง

พัฒนาการดา้ นสงั คม : ปฏิบัติตามข้อตกลง

ระดบั คณุ ภาพ คาอธิบายคณุ ภาพ

๑ หรอื ควรสง่ เสริม ไมป่ ฏิบัตติ ามข้อตกลง

๒ หรือ พอใช้ ปฏิบตั ิตามข้อตกลง โดยมีผชู้ ้ีนาหรือกระตุน้

๓ หรือ ดี ปฏบิ ัติตามข้อตกลงไดด้ ว้ ยตนเอง

พฒั นาการดา้ นสติปญั ญา : เขยี นชือ่ ตนเองตามแบบ

ระดบั คณุ ภาพ คาอธบิ ายคุณภาพ

๑ หรือ ควรสง่ เสรมิ เขยี นชอ่ื ตนเองไมไ่ ด้ หรือเขียนเป็นสญั ลักษณ์ที่ไม่เปน็ ตวั อักษร

๒ หรือ พอใช้ เขียนช่อื ตนเองได้ มีอักษรบางตวั กลบั หัว กลบั ด้านหรอื สลับท่ี

๓ หรือ ดี เขียนชอื่ เองได้ ตัวอกั ษรไม่กลับหวั ไมก่ ลับดา้ นไมส่ ลบั ที่

~ ๑๑๙ ~

๒.๓.๒ การสรปุ ผลการประเมินพัฒนาการเดก็
หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ กาหนดเวลาเรียนสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ต่อปกี ารศึกษาไม่นอ้ ย
กวา่ ๑๘๐ วนั สถานศึกษาจงึ ควรบริหารจดั การเวลาทีไ่ ด้รับน้ใี ห้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ต่อการพัฒนาเดก็ อยา่ งรอบดา้ น
และสมดุล ผูส้ อนควรมีเวลาในการพัฒนาเด็กและเติมเต็มศักยภาพของแด็ก เพื่อให้การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้มี
ประสทิ ธิภาพ ผู้สอนต้องตรวจสอบพฤติกรรมทแ่ี สดงพฒั นาการของเด็กตอ่ เนื่องมีการประเมินซา้ พฤติกรรมนน้ั ๆอยา่ ง
น้อย ๑ ครัง้ ต่อภาคเรยี น เพื่อยนื ยันความเชื่อมนั่ ของผลการประเมินพฤติกรรมนัน้ ๆ และนาผลไปเป็นขอ้ มลู ในการ
สรุปการประเมินสภาพที่พึงประสงค์ของเด็กในแตล่ ะสภาพท่พี งึ ประสงค์ นาไปสรุปการประเมนิ ตัวบง่ ชี้และมาตรฐาน
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ตามลาดบั
อนงึ่ การสรุประดบั คุณภาพของการประเมนิ พฒั นาการเด็ก วิธกี ารทางสถิตทิ ี่เหมาะสมและสะดวกไม่ย่งุ ยาก
สาหรับผู้สอน คอื การใชฐ้ านนิยม (Mode) ในบางครั้งพฤติกรรม หรือสภาพท่ีพงึ ประสงค์หรอื ตัวบง่ ชี้นยิ มมากวา่ ๑
ฐานนิยม ใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา กลา่ วคือ เมือ่ มีระดับคุณภาพซ้ามากกว่า ๑ ระดบั สถานศึกษาอาจตัดสนิ
สรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการบนพื้นฐาน หลักพัฒนาการและการเตรียมความพร้อม หากเป็นภาคเรยี นที่ ๑
สถานศึกษาควรเลือกตดั สินใจใชฐ้ านนยิ มทีม่ ีระดบั คุณภาพตา่ กวา่ เพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพฒั นาเดก็ ใหพ้ ร้อมมากข้นึ
หากเปน็ ภาคเรียนท่ี ๒ สถานศึกษาควรเลอื กตัดสินใจใชฐ้ านนิยมท่มี รี ะดบั คุณภาพสงู กว่าเพอื่ ตัดสินและการส่งต่อเด็ก
ในระดบั ช้ันทีส่ ูงข้นึ

๒.๓.๓ การเลอ่ื นชน้ั อนุบาลและเกณฑ์การจบการศึกษาระดบั ปฐมวยั

เมื่อส้ินปีการศึกษา เด็กจะได้รบั การเลือ่ นชน้ั โดยเด็กต้องไดร้ ับการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย เพื่อเป็นขอ้ มลู ในการส่งตอ่ ยอดการพัฒนาให้กับเด็กในระดับสงู ข้นึ ต่อไป
และเนือ่ งจากการศึกษาระดบั อนุบาลเป็นการจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐานท่ีไมน่ ับเป็นการศึกษาภาคบงั คับ จึงไม่มีการ
กาหนดเกณฑ์การจบชน้ั อนุบาล การเทยี บโนการเรยี น และเกณฑก์ ารเรยี นซ้าชนั้ และหากเดก็ มีแนวโน้มวา่ จะมปี ญั หา
ต่อการเรียนรใู้ นระดับทส่ี งู ขน้ึ สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการเพื่อพจิ ารณาปัญหา และประสานกับหนว่ ยงานท่ี
เกย่ี วขอ้ งในการให้ความชว่ ยเหลอื เช่น เจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ ส่งเสรมิ ตาบล นักจิตวทิ ยา ฯลฯ เขา้ ร่วมดาเนินงาน
แก้ปัญหาได้

อยา่ งไรก็ตาม ทกั ษะทน่ี าไปสู่ความพร้อมในการเรยี นรทู้ ่สี ามารถใชเ้ ปน็ รอยเช่ือมต่อระหวา่ งชัน้ อนบุ าลกับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๑ ท่คี วรพิจารณามที ักษะดังนี้

๑. ทักษะการชว่ ยเหลอื ตนเอง ไดแ้ ก่ ใชห้ อ้ งนา้ หอ้ งส้วมได้ด้วยตนเอง แต่งกายได้เอง เก็บของเขา้ ทเี่ มอ่ื เล่น
เสรจ็ และช่วยทาความสะอาด รจู้ กั รอ้ งขอใหช้ ่วยเมอื่ จาเปน็

๒. ทกั ษะการใชก้ ล้ามเน้ือใหญ่ ไดแ้ ก่ ว่งิ ไดอ้ ย่างราบร่ืน วง่ิ กา้ วกระโดดได้ กระดว้ ยสองขาพน้ จากพ้นื ถือจบั
ขว้าง กระดอนลูกบอลได้

๓. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเลก็ ได้แก่ ใช้มือหยิบจบั อปุ กรณว์ าดภาพและเขยี น วาดภาพคนมีแขน ขา และ
สว่ นต่างๆของร่างกาย ตัดตามรอยเสน้ และรปู ต่างๆ เขียนตามแบบอยา่ งได้

๔. ทักษะภาษาการรู้หนังสือ ได้แก่ พดู ให้ผ้อู ืน่ เข้าใจได้ ฟงั และปฏิบัตติ ามคาชี้แจงงง่ายๆ ฟงั เรือ่ งราวและคา
คล้องจองตา่ งๆอยา่ งสนใจ เข้ารว่ มฟงั สนทนาอภปิ รายในเร่ืองตา่ งๆ รู้จักผลัดกนั พูดโต้ตอบ เล่าเรื่องและทบทวน
เร่ืองราวหรือประสบการณ์ตา่ งๆ ตามลาดับเหตุการณ์เล่าเรื่องจากหนังสือภาพอย่างเป็นเหตเุ ปน็ ผล อา่ นหรอื จดจาคา
บางคาที่มคี วามหมายต่อตนเอง เขยี นชอื่ ตนเองได้ เขียนคาทม่ี ีความหมายตอ่ ตนเอง

๕. ทักษะการคิด ไดแ้ ก่ แลกเปลี่ยนความคิดและให้เหตผุ ลได้ จดจาภาพและวสั ดุทีเ่ หมือนและต่างกนั ได้ ใช้
คาใหม่ๆในการแสดงความคิด ความรสู้ ึก ถามและตอบคาถามเก่ียวกับเร่ืองท่ีฟังเปรยี บเทียบจานวนของวัตถุ ๒ กลุ่ม
โดยใชค้ า “มากกวา่ ” “น้อยกว่า” “เท่ากัน” อธบิ ายเหตุการณ/์ เวลา ตามลาดบั อยา่ งถกู ตอ้ ง รจู้ ักเชอื่ มโยงเวลากบั
กิจวตั รประจาวัน

~ ๑๒๐ ~

๖. ทกั ษะทางสังคมและอารมณ์ ไดแ้ ก่ ปรบั ตัวตามสภาพการณ์ ใชค้ าพูดเพ่ือแก้ไขขอ้ ขัดแย้งนั่งได้นาน ๕-๑๐
นาที เพื่อฟงั เรื่องราวหรือทากิจกรรม ทางานจนสาเร็จ ร่วมมอื กบั คนอ่นื และรจู้ ักผลัดกันเล่น ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้
เม่อื กังวลหรอื ตืน่ เตน้ หยุดเล่นและทาในสง่ิ ท่ีผใู้ หญต่ ้องการให้ทาได้ ภูมิใจในความสาเร็จของตนเอง

๓. การายงานผลการประเมินพัฒนาการ

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการเปน็ การส่ือสารให้พ่อแม่ ผปู้ กครองได้รบั ทราบความก้าวหน้าในการ
เรยี นร้ขู องเด็ก ซง่ึ สถานศกึ ษาต้องสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการ และจดั ทาเอกสารรายงานให้ผปู้ กครองทราบเปน็
ระยะๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง

การรายงานผลการประเมินพัฒนาการสามารถรายงานเป็นระดบั คุณภาพท่ีแตกตา่ งไปตามพฤติกรรมที่
แสดงออกถึงพฒั นาการแตล่ ะด้าน ท่ีสะท้อนมาตรฐานคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ทั้ง ๑๒ ข้อ ตามหลกั สตู รการศึกษา
ปฐมวัย

๓.๑ จดุ มุง่ หมายการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ

๑) เพื่อใหผ้ ู้เกย่ี วข้อง พ่อ แม่ และผูป้ กครองใช้เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แก้ไข สง่ เสริม และ
พัฒนาการเรียนรู้ของเด็ก

๒) เพื่อให้ผู้สอนใช้เป็นข้อมลู ในการวางแผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
๓) เพือ่ เป็นข้อมลู สาหรบั สถานศึกษา เขตพ้นื ที่การศึกษา และหนว่ ยงานต้นสงั กดั ใชป้ ระกอบในการ
กาหนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

๓.๒ ขอ้ มูลในการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ

๓.๒.๑ ขอ้ มูลระดับชน้ั เรยี น ประกอบดว้ ย เวลาเรียนแบบบันทึกการประเมินพัฒนาการตาม
หนว่ ยการจดั ประสบการณ์ สมดุ บันทกึ ผลการประเมินพัฒนาการประจาชน้ั และสมดุ รายงานประจาตัวนกั เรยี น และ
สารนิทศั นท์ ี่สะท้อนการเรยี นร้ขู องเด็ก เป็นข้อมลู สาหรบั รายงานให้ผ้มู สี ่วนเก่ยี วข้อง ได้แก่ ผบู้ ริหารสถานศึกษา
ผูส้ อน และผู้ปกครอง ได้รบั ทราบความก้าวหน้า ความสาเร็จในการเรยี นรขู้ องเด็กเพื่อนาไปในการวางแผนกาหนด
เปา้ หมายและวิธีการในการพัฒนาเด็ก

๓.๒.๒ ข้อมูลระดับสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย ผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ทง้ั ๑๒ ข้อตามหลักสตู ร เพ่ือใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลและสารสนเทศในการพฒั นาการจดั ประสบการณก์ ารเรียนการสอนและ
คุณภาพของเด็ก ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์และแจ้งให้ผปู้ กครอง และผเู้ ก่ียวข้องไดร้ ับทราบ
ขอ้ มูล โดยผู้มีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบแตล่ ะฝา่ ยนาไปปรบั ปรุงแกไ้ ขและพฒั นาเดก็ ใหเ้ กดิ พฒั นาการอยา่ งถูกต้อง เหมาะสม
รวมท้งั นาไปจัดทาเอกสารหลักฐานแสดงพัฒนาการของผูเ้ รียน

๓.๒.๓ ข้อมลู ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษา ได้แก่ ผลการประเมินมาตรฐานคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ท้ัง
๑๒ ข้อ ตามหลกั สูตรเป็นรายสถานศกึ ษา เพื่อเปน็ ข้อมลู ท่ีศึกษานิเทศก/์ ผูเ้ ก่ยี วข้องใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษาในเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา เพื่อใหเ้ กดิ การยกระดับคณุ ภาพเด็กและมาตรฐาน
การศึกษา

๓.๓ ลกั ษณะขอ้ มูลสาหรับการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ สถานศึกษาสามารถเลอื กลกั ษณะข้อมลู สาหรับการรายงานไดห้ ลาย
รปู แบบใหเ้ หมาะสมกับวธิ กี ารรายงานและสอดคลอ้ งกับการให้ระดบั ผลการประเมนิ พฒั นาการโดยคานึงถึงประสิทธิ
ภาพของการรายงานและการนาขอ้ มลู ไปใช้ประโยชนข์ องผู้รายงานแตล่ ะฝ่ายลกั ษณะข้อมลู มรี ูปแบบ ดงั นี้

๓.๓.๑ รายงานเป็นตัวเลข หรอื คาท่ีเป็นตัวแทนระดบั คุณภาพพัฒนาการของเด็กทเ่ี กดิ จากการ
ประมวลผล สรุปตดั สินข้อมลู ผลการประเมินพฒั นาการของเด็ก ได้แก่

~ ๑๒๑ ~

- ระดับผลการประเมนิ พัฒนาการมี ๓ ระดับ คือ ๓ ๒ ๑

- ผลการประเมนิ คุณภาพ “ดี” “พอใช้” และ “ควรส่งเสรมิ ”

๓.๓.๒ รายงานโดยใช้สถติ ิ เปน็ รายงานจากข้อมลู ที่เป็นตัวเลข หรอื ขอ้ ความให้เป็นภาพแผนภูมิหรือ

เส้นพัฒนาการ ซ่ึงจะแสดงใหเ้ หน็ พฒั นาการความกา้ วหนา้ ของเด็กว่าดีขึ้น หรือควรไดร้ ับการพฒั นาอย่างไร เม่อื เวลา

เปลีย่ นแปลงไป

๓.๓.๓ รายงานเป็นข้อความ เป็นการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพทผ่ี ู้สอนสงั เกตพบ เพื่อรายงาน

ใหท้ ราบวา่ ผู้เกี่ยวข้อง พ่อ แม่ และผ้ปู กครองทราบว่าเด็กมีความสามารถ มีพฤติกรรมตามคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์

ตามหลักสูตรอยา่ งไร เช่น

- เด็กรับลูกบอลที่กระดอนจากพนื้ ด้วยมือท้ัง ๒ ข้างได้โดยไม่ใชล้ าตัวช่วยและลูกบอลไมต่ กพ้ืน

- เด็กแสดงสหี นา้ ท่าทางสนใจ และมคี วามสุขขณะทางานทุกชว่ งกจิ กรรม

- เดก็ เล่นและทางานคนเดียวเป็นสว่ นใหญ่

- เดก็ จบั หนังสือไมก่ ลับหัว เปิด และทาท่าทางอา่ นหนังสือและเล่าเร่ืองได้

๓.๔ เป้าหมายของการรายงาน

การดาเนนิ การจดั การศึกษาปฐมวัย ประกอบด้วย บคุ ลากรหลายฝา่ ยรว่ มมอื ประสานงานกันพฒั นา

เด็กทางตรงและทางอ้อม ใหม้ ีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะทพี่ ึง

ประสงค์โดยผมู้ สี ว่ นร่วมเกยี่ วข้องควรได้รับการายงานผลการประเมินพฒั นาการของเด็กเพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการ

ดาเนินงาน ดังนี้

กลมุ่ เป้าหมาย การใช้ข้อมูล

ผู้สอน -วางแผนและดาเนนิ การปรับปรุงแกไ้ ขและพฒั นาเด็ก

-ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาการจัดการเรียนรู้

ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา -สง่ เสรมิ พฒั นากระบวนการจัดการเรียนรูร้ ะดบั ปฐมวัยของสถานศกึ ษา

พอ่ แม่ และผ้ปู กครอง -รบั ทราบผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็ก

-ปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนาการเรยี นร้ขู องเด็ก รวมทงั้ การดูแลสขุ ภาพอนามัยร่างกาย

อารมณ์ จติ ใจ สังคม และพฤตกิ รรมต่างๆของเดก็

คณะกรรมการสถานศึกษา -พฒั นาแนวทางการจดั การศึกษาปฐมวัยสถานศึกษา

ขนั้ พ้นื ฐาน

สานกั งานเขตพืน้ ที่ -ยกระดบั และพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษาในเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา

การศกึ ษา/หนว่ ยงานต้น นิเทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผลและให้ความชว่ ยเหลอื การพฒั นาคุณภาพการศึกษา

สงั กดั ปฐมวยั ของสถานศึกษาในสังกดั

๓.๕ วธิ ีการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ

การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการให้ผู้เกย่ี วข้องรับทราบ สามารถดาเนนิ การ ไดด้ งั น้ี

๓.๕.๑ การรายงานผลการประเมินพฒั นาการในดอกสารหลักฐานการศึกษา ข้อมูลจากแบบ

รายงาน สามารถใช้อา้ งอิง ตรวจสอบ และรับรองผลพฒั นาการของเด็ก เช่น

- แบบบนั ทึกผลการประเมนิ พฒั นาการประจาช้ัน

- แฟ้มสะสมงานของเด็กรายบุคคล

-สมุดรายงานประจาตัวนักเรียน

-สมดุ บนั ทกึ สุขภาพเดก็

ฯลฯ

~ ๑๒๒ ~

๓.๕.๒ การรายงานคุณภาพการศึกษาปฐมวัยให้ผเู้ กีย่ วข้องทราบสามารถรายงานได้หลายวิธี เช่น
- รายงานคณุ ภาพการศึกษาปฐมวัยประจาปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
-จดหมายส่วนตัว
-การใหค้ าปรึกษา
-การให้พบครทู ีป่ รึกษาหรือการประชมุ เครือขา่ ยผ้ปู กครอง
- การใหข้ ้อมูลทางอนิ เตอรเ์ น็ตผ่านเวป็ ไซต์ของสถานศึกษา

ภารกจิ ของผสู้ อนในการประเมนิ พัฒนาการ

การประเมนิ พฒั นาการตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั ท่ีมีคุณภาพและประสิทธภิ าพนัน้ เกิดขน้ึ ในห้องเรยี น
และระหว่างการจัดกจิ กรรมประจาวนั และกิจวตั รประจาวัน ผ้สู อนต้องไม่แยกการประเมินพฒั นาการออกจากการจดั
ประสบการณ์ตามตารางประจาวัน ควรมีลกั ษณะการประเมนิ พฒั นาการในชนั้ เรยี น (Classroom Assessment) ซง่ึ
หมายถึง กระบวนการและการสังเกต การบันทึกและรวบรวมข้อมลู จากการปฏิบัติกิจวตั รประจาวัน/กจิ กรรม
ประจาวนั ตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ผู้สอนควรจัดทาข้อมูลหลักฐานหรอื เอกสารอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อ
เปน็ หลักฐานแสดงให้เห็นร่องรอยของการเจรญิ เตบิ โตพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย แล้วนามาวิเคราะห์
ตีความ บันทึกข้อมูลทีไ่ ด้จากการประเมนิ พฒั นาการว่าเดก็ รูอ้ ะไร สามารถทาอะไรได้ และจะทาต่อไปอย่างไร ดว้ ย
วธิ ีการและเคร่ืองมือทหี่ ลากหลายท้งั ท่เี ปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ ท้ังน้นั การดาเนนิ การดงั กลา่ วเกิดข้ึนตลอด
ระยะเวลาของการปฏบิ ัตกิ ิจวัตรประจาวนั /กจิ กรรมประจาวันและการจัดประสบการณเ์ รียนรู้

ดงั น้ัน ข้อมูลทเ่ี กิดจากการประเมินที่มีคุณภาพเท่านน้ั จึงสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ ตรงตามเปา้ หมาย ผูส้ อน
จาเปน็ ตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้ในหลักการ แนวคิด วิธีดาเนนิ งานในส่วนตา่ งๆท่ีเกี่ยวข้องกับหลักสตู รการ
จัดประสบการเรียนรู้ เพื่อสามารถนาไปใช้ในการวางแผนและออกแบบการประเมนิ พฒั นาการได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
บนพืน้ ฐานการประเมินพัฒนาการในช้นั เรยี นทีม่ ีความถูกตอ้ ง ยุติธรรม เชอื่ ถือได้ มคี วามสมบรู ณ์ ครอบคลุมตาม
จุดหมายของหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย สะท้อนผลและสภาพความสาเร็จเมอื่ เปรียบเทียบกับเปา้ หมายของการ
ดาเนินการจดั การศกึ ษาปฐมวัย ทั้งในระดบั นโยบาย ระดับปฏบิ ัติการ และผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องต่อไป

๑. ขั้นตอนการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั

การประเมนิ พฒั นาการเด็กของผ้สู อนระดบั ปฐมวยั จะมขี ้นั ตอนสาคญั ๆคล้ายคลึงกบั การประเมนิ การศกึ ษา
ทว่ั ไป ข้ันตอนต่างๆอาจปรับลด หรอื เพิม่ ไดต้ ามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษาและสอดคล้องกับการจัด
ประสบการณ์ หรืออาจสลับลาดับก่อนหลังไดบ้ า้ ง ขน้ั การประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยสรปุ ควรมี ๖ ขน้ั ตอน
ดงั นี้

ขนั้ ตอนท่ี ๑ การวเิ คราะห์มาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ตัวบง่ ช้ี และสภาพที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และ
สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ที่สัมพันธ์กับหนว่ ยการจัดประสบการณ์ต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการดาเนนิ งานการประเมนิ
พฒั นาการอยา่ งเป็นระบบและครอบคลมุ ทวั่ ถึง

ขั้นตอนท่ี ๒ การกาหนดสงิ่ ที่จะประเมินและวิธกี ารประเมิน ในขน้ั ตอนน้สี งิ่ ท่ีผ้สู อนต้องทาคือ การ
กาหนดการประเดน็ การประเมนิ ไดแ้ ก่ สภาพที่พึงประสงค์ในแต่ละวัยของเด็กทีเ่ กดิ จากกาจัดประสบการณ์ในแต่ การ
จัดประสบการณ์ มากาหนดเป็นจดุ ประสงค์การเรยี นรูข้ องหนว่ ยการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ยอ่ ยของกิจกรรมตามตาราง
ประจาวัน ๖กิจกรรมหลัก หรือตามรูปแบบการจัดประสบการณ์ท่กี าหนด ผ้สู อนตอ้ งวางแผนและออกแบบวธิ ีการ
ประเมินให้เหมาะสมกับกจิ กรรม บางครัง้ อาจใช้การสังเกตพฤติกรรม การประเมนิ ผลงาน/ชิน้ งาน การพดู คยุ หรอื
สัมภาษณเ์ ด็ก เปน็ ตน้ ทั้งนว้ี ธิ ีการท่ผี ้สู อนเลือกใชต้ ้องมีความหมายหลากหลาย หรอื มากว่า ๒ วธิ ีการ

~ ๑๒๓ ~

ขั้นตอนท่ี ๓ การสรา้ งเคร่ืองมือและเกณฑ์การประเมิน ในขั้นตอนน้ี ผู้สอนจะต้องกาหนดเกณฑ์การ ประเมนิ
พัฒนาการให้สอดคล้องกับพฤตกิ รรมท่จี ะประเมนิ ในขัน้ ตอนท่ี ๒ อาจใชแ้ นวทางการกาหนดเกณฑ์ที่ กล่าวมาแลว้
ขา้ งตน้ ในส่วนที่ ๒ เปน็ เกณฑ์การประเมินแยกส่วนของแตล่ ะพฤตกิ รรมและเกณฑส์ รปุ ผลการ ประเมนิ พร้อมกบั
จดั ทาแบบบันทึกผลการสงั เกตพฤติกรรมตามสภาพท่ีพงึ ประสงคข์ องแต่ละหน่วยการจัดประสบการณ์นั้นๆ

ขน้ั ตอนท่ี ๔ การดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู เปน็ ขั้นตอนท่ีผู้สอนออกแบบ/วางแผนและทาการสังเกต
พฤติกรรมของเด็กเป็นรายบุคคล รายกลุม่ การพดู คุยหรือการสมั ภาษณ์เดก็ หรือการประเมนิ ผลงาน/ชนิ้ งานของเดก็
อย่างเปน็ ระบบ เพ่ือรวบรวมขอ้ มลู พัฒนาการของเด็กให้ท่ัวถงึ ครบทกุ คน สอดคลอ้ งและตรงประเด็นการประเมนิ ที่
วางแผนไวใ้ นขน้ั ตอนท่ี ๔ บนั ทกึ ลงในเครอ่ื งมือทผ่ี ้สู อนพฒั นาหรือจดั เตรียมไว้

การบนั ทึกผลการประเมินพัฒนาการตามสภาพท่ีพึงประสงค์ของแตล่ ะหน่วยการจดั ประสบการณน์ นั้
ผ้สู อนเป็นผปู้ ระเมินเด็กเป็นรายบุคคลหรอื รายกลมุ่ อาจให้ระดบั คุณภาพ ๓ หรอื ๒ หรอื ๑ หรอื ใหค้ าสาคัญ
ท่ีเป็นคุณภาพ เช่น ดี พอใช้ ควรส่งเสรมิ กไ็ ด้ ทั้งน้ีควรเป็นระบบเดียวกนั เพอ่ื สะดวกในการวิเคราะห์ขอ้ มลู และแปล
ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ในระยะต้นควรเป็นการประเมินเพ่ือความกา้ วหน้าไม่ควรเปน็ การประเมนิ เพื่อตัดส้ิน
พฒั นาการเด็ก หากผลการประเมินพบวา่ เดก็ อยใู่ นระดับ ๑ พฤติกรรมหนึ่งพฤติกรรมใดผสู้ อนตอ้ งทาความเข้าใจวา่
เด็กคนนัน้ มีพฒั นาการเร็วหรอื ช้า ผ้สู อนจะต้องจัดประสบการณ์สง่ เสริมในหนว่ ยการจัดประสบการณ์ต่อไปอย่างไร
ดังนั้น การเก็บรวบรวมข้อมูลผลการประเมินพฒั นาการในแตล่ ะหนว่ ยการจัดประสบการณข์ องผ้สู อน จึงเป็น การ
สะสมหรือรวบรวมข้อมลู ผลการประเมินพัฒนาการของเด็กรายบุคคล หรอื รายกลมุ่ น่ันเอง เม่อื ผู้สอนจัดประสบการณ์
ครบทุกหนว่ ยการจัดประสบการณต์ ามท่วี ิเคราะหส์ าระการเรยี นรรู้ ายปีของแตล่ ะภาคเรียน

ขน้ั ตอนที่ ๕ การวิเคราะห์ขอ้ มลู และแปลผล ในข้ันตอนนี้ ผสู้ อนทีเ่ ปน็ ผปู้ ระเมนิ ควรดาเนนิ ดาร ดังน้ี
๑) การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินพัฒนาการเม่ือส้ินสุดหน่วยการจดั ประสบการณ์ ผูส้ อนจะ

บนั ทึกผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ลงในแบบบันทกึ ผลการสังเกตพฤตกิ รรมตามสภาพทีพ่ ึงประสงคข์ องหนว่ ย
การจัดประสบการณ์หน่วยที ๑ จนถึงหนว่ ยสดุ ทา้ ยของภาคเรยี น

๒) การวเิ คราะห์และแปลผลการประเมินประจาภาคเรยี นหรือภาคเรยี นที่ ๒ เมื่อส้ินปีการศึกษา
ผู้สอนจะนาผลการประเมินพัฒนาการสะสมท่ีรวบรวมไวจ้ ากทุกหนว่ ยการเรยี นรูส้ รุปลงในสมุดบันทกึ ผลประเมนิ
พฒั นาการประจาชน้ั และสรุปผลพฒั นาการรายดา้ นทงั้ ช้ันเรียน

ข้ันตอนท่ี ๖ การสรุปรายงานผลและการนาข้อมลู ไปใช้ เป็นข้นั ตอนท่ีผสู้ อนซง่ึ เปน็ ครูประจาชน้ั จะสรปุ ผล
เพ่ือตัดสนิ พฒั นาการของเด็กปฐมวยั เป็นรายตัวบ่งชร้ี ายมาตรฐานและพฒั นาการท้ัง ๔ ด้าน เพอ่ื นาเสนอผบู้ ริหาร
สถานศกึ ษาอนุมตั กิ ารตัดสิน และแจง้ คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พรอ้ มกับครปู ระจาชน้ั จะจดั ทารายงานผล
การประเมนิ ประจาตัวนักเรียน นาข้อมลู ไปใชส้ รปุ ผลการประเมนิ คุณภาพเด็ก ของระบบประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาเม่ือสน้ิ ภาคเรียนท่ี ๒ หรือเมือ่ สิ้นปีการศึกษา

~ ๑๒๔ ~

การบริหารจดั การหลักสตู ร

การนาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัยสกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดประสิทธภิ าพตามจดุ หมายของ หลักสูตร ผูเ้ กีย่ วขอ้ งกับ
การบรหิ ารจดั การหลักสูตรในระบบสถานศึกษา ไดแ้ ก่ ผู้บริหาร ผสู้ อน พ่อแม่ หรือผู้ปกครอง และชุมชน มบี ทบาท
สาคัญยงิ่ ตอ่ การพฒั นาคุณภาพของเด็ก

๑. บทบาทผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาปฐมวยั

การจดั การศกึ ษาแก่เดก็ ปฐมวัยในระบบสถานศกึ ษาให้เกิดประสิทธผิ ลสูงสุด
ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาควรมบี ทบาท ดังน้ี

๑.๑ ศึกษาทาความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและมีวิสยั ทศั นด์ ้านการจัดการศึกษาปฐมวัย
๑.๒ คัดเลอื กบุคลากรทีท่ างานกับเด็ก เชน่ ผสู้ อน พ่เี ล้ยี ง อยา่ งเหมาะสม โดยคานงึ ถงึ คุณสมบัติ
หลกั ของบุคลากร ดังน้ี

๑.๒.๑ มีวุฒทิ างการศึกษาด้านการอนบุ าลศกึ ษา การศึกษาปฐมวยั หรอื ผา่ นการอบรมเก่ยี วกบั
การจดั การศกึ ษาปฐมวยั

๑.๒.๒ มีความรักเด็ก จิตใจดี มีอารมณ์ขันและใจเย็น ให้ ความเป็นกันเองกบั เด็กอยา่ ง
เสมอภาค

๑.๒.๓ มบี ุคลิกของความเป็นผสู้ อน เขา้ ใจและยอมรับธรรมชาตขิ องเดก็ ตามวยั
๑.๒.๔ พดู จาสุภาพเรียบร้อย ชดั เจนเป็นแบบอยา่ งได้
๑.๒.๕ มคี วามเป็นระเบยี บ สะอาด และรู้จักประหยดั
๑.๒.๖ มคี วามอดทน ขยัน ซ่ือสตั ยใ์ นการปฏิบตั ิงานในหน้าทแ่ี ละ การปฏบิ ัตติ ่อเด็ก
๑.๒.๗ มีอารมณร์ ่วมกบั เด็ก รู้จักรับฟงั พจิ ารณาเร่ืองราวปัญหาต่างๆ ของเด็กและตัดสนิ ปญั หา
ตา่ งๆอยา่ งมเี หตุผลด้วยความ เปน็ ธรรม
๑.๒.๘ มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ สมบูรณ์
๑.๓ สง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารทางการศึกษาให้เดก็ ไดเ้ ข้าเรยี นอยา่ งทัว่ ถึง และเสมอภาค และ
ปฏิบัติการรับเด็กตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
๑.๔ สง่ เสริมให้ผู้สอนและผู้ทป่ี ฏบิ ัติงานกบั เด็กพัฒนาตนเองมีความรูก้ า้ วหน้าอยู่เสมอ
๑.๕ เปน็ ผ้นู าในการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาโดยรว่ มใหค้ วามเหน็ ชอบ กาหนดวสิ ยั ทัศน์ และ
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องเดก็ ทกุ ชว่ งอายุ
๑.๖ สร้างความรว่ มมอื และประสานกบั บุคลากรทุกฝ่ายในการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา
๑.๗ จดั ใหม้ ีข้อมูลสารสนเทศเกีย่ วกับตวั เด็ก งานวิชาการหลักสูตร อยา่ งเป็นระบบและมีการ
ประชาสมั พนั ธ์หลกั สูตรสถานศกึ ษา
๑.๘ สนบั สนนุ การจดั สภาพแวดลอ้ มตลอดจนสื่อ วสั ดุ อปุ กรณท์ ีเ่ ออ้ื อานวยต่อ
การเรยี นรู้
๑.๙ นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามการใช้หลกั สตู ร โดยจดั ใหม้ ีระบบนิเทศภายในอย่างมีระบบ
๑.๑๐ กากับตดิ ตามให้มีการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาและนาผลจากการประเมินไปใช้ใน
การพัฒนาคุณภาพเดก็
๑.๑๑ กากับ ตดิ ตาม ให้มกี ารประเมนิ การนาหลกั สตู รไปใช้ เพื่อนาผลจากการประเมินมา
ปรบั ปรุงและพฒั นาสาระของหลกั สตู รของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก บรบิ ทสังคมและให้มี
ความทันสมัย

~ ๑๒๕ ~

๒. บทบาทผู้สอนปฐมวัย

การพัฒนาคุณภาพเด็กโดยถือวา่ เดก็ มคี วามสาคัญทสี่ ุด กระบวนการจดั การศึกษาต้องสง่ เสริมให้
เดก็ สามารถพฒั นาตนตามธรรมชาติ สอดคล้องกบั พัฒนาการและเต็มตามศักยภาพ ดังน้ัน ผสู้ อนจึงมบี ทบาทสาคัญ
ยง่ิ ทจ่ี ะทาให้กระบวนการจดั การเรียนรู้ดังกล่าวบรรลผุ ลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้สอนจงึ ควรมบี ทบาท / หนา้ ท่ี ดงั นี้

๒.๑ บทบาทในฐานะผู้เสริมสร้างการเรียนรู้
๒.๑.๑ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรสู้ าหรบั เด็กทีเ่ ดก็ กาหนดขนึ้ ดว้ ยตัวเด็กเองและผู้สอนกับ

เด็กร่วมกนั กาหนด โดยเสริมสร้างพฒั นาการเด็กให้ครอบคลมุ ทกุ ด้าน
๒.๑.๒ ส่งเสริมให้เดก็ ใช้ข้อมูลแวดล้อม ศกั ยภาพของตวั เด็ก และหลกั ทางวิชาการในการ

ผลติ กระทา หรือหาคาตอบในสิ่งที่เด็กเรียนรู้อย่างมีเหตผุ ล
๒.๑.๓ กระต้นุ ใหเ้ ดก็ ร่วมคิด แก้ปัญหา ค้นคว้าหาคาตอบดว้ ยตนเองดว้ ยวิธีการศกึ ษาท่ี

นาไปสู่การใฝร่ ู้ และพัฒนาตนเอง
๒.๑.๔ จดั สภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศการเรียนทีส่ ร้างเสรมิ ให้เด็กทากจิ กรรมได้

เต็มศักยภาพและความแตกต่างของเด็กแต่ละบุคคล
๒.๑.๕ สอดแทรกการอบรมด้านจริยธรรมและคา่ นิยมที่พึงประสงคใ์ นการจัดการเรยี นรู้

และกิจกรรมต่างๆอย่างสม่าเสมอ
๒.๑.๖ ใชก้ จิ กรรมการเล่นเปน็ สอ่ื การเรียนรสู้ าหรบั เด็กให้เป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ
๒.๑.๗ ใช้ปฏสิ ัมพนั ธท์ ่ดี ีระหวา่ งผู้สอนและเด็กในการดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน

อยา่ งสม่าเสมอ
๒.๑.๘ จัดการประเมินผลการเรียนรทู้ ส่ี อดคล้องกับสภาพจรงิ และนาผลการประเมนิ มา

ปรบั ปรุงพฒั นาคุณภาพเด็กเต็มศักยภาพ
๒.๒ บทบาทในฐานะผูด้ แู ลเดก็
๒.๒.๑ สังเกตและส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กทุกดา้ นทั้งทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม

และ สติปญั ญา
๒.๒.๒ ฝกึ ให้เดก็ ชว่ ยเหลอื ตนเองในชีวติ ประจาวนั
๒.๒.๓ ฝกึ ให้เด็กมคี วามเช่อื มน่ั มคี วามภูมใิ จในตนเองและกล้าแสดงออก
๒.๒.๔ ฝกึ การเรยี นรู้หน้าที่ ความมีวินัย และการมีนิสยั ท่ีดี
๒.๒.๕ จาแนกพฤติกรรมเด็กและสรา้ งเสรมิ ลกั ษณะนสิ ัยและแก้ปัญหาเฉพาะบุคคล
๒.๒.๖ ประสานความรว่ มมือระหว่างสถานศึกษา บา้ น และชมุ ชน เพือ่ ให้เดก็ ได้พฒั นาเตม็

ตามศกั ยภาพและมีมาตรฐานคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์
๒.๓ บทบาทในฐานะนกั พฒั นาเทคโนโลยกี ารสอน
๒.๓.๑ นานวตั กรรม เทคโนโลยีทางการสอนมาประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพบรบิ ท

สังคม ชุมชน และทอ้ งถน่ิ
๒.๓.๒ ใช้เทคโนโลยแี ละแหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชนในการเสรมิ สร้างการเรยี นรู้ใหแ้ ก่เด็ก
๒.๓.๓ จดั ทาวิจยั ในช้ันเรยี น เพือ่ นาไปปรบั ปรุงพัฒนาหลกั สูตร / กระบวนการเรยี นรู้

และพฒั นาสื่อการเรียนรู้
๒.๓.๔ พฒั นาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ มีคุณลักษณะของผูใ้ ฝ่รู้มีวสิ ยั ทัศน์และ

ทันสมยั ทนั เหตุการณใ์ นยุคของข้อมลู ข่าวสาร
๒.๔ บทบาทในฐานะผู้บรหิ ารหลักสูตร
๒.๔.๑ ทาหน้าท่ีวางแผนกาหนดหลักสูตร หนว่ ยการเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

การประเมนิ ผลการเรียนรู้

~ ๑๒๖ ~

๒.๔.๒ จดั ทาแผนการจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคัญ ใหเ้ ด็กมอี สิ ระในการเรยี นรู้ทั้ง
กายและใจ เปดิ โอกาสใหเ้ ด็กเล่น/ทางาน และเรียนรู้ท้ังรายบุคคลและเป็นกลุ่ม

๒.๔.๓ ประเมนิ ผลการใชห้ ลักสูตร เพื่อนาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ พัฒนาหลกั สูตรให้
ทนั สมัย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ ผู้เรยี น ชุมชน และท้องถ่นิ

๓. บทบาทของพ่อแมห่ รอื ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย

การศึกษาระดบั ปฐมวัยเปน็ การศึกษาท่จี ดั ให้แกเ่ ด็กที่ผูส้ อนและพ่อแมห่ รือผปู้ กครองตอ้ งส่ือสารกนั
ตลอดเวลา เพ่ือความเข้าใจตรงกนั และพรอ้ มร่วมมือกันในการจัดการศึกษาให้กบั เด็ก ดังนัน้ พอ่ แม่หรอื ผู้ปกครอง
ควรมบี ทบาทหนา้ ที่ ดังน้ี

๓.๑ มีสว่ นรว่ มในการกาหนดแผนพัฒนาสถานศึกษาและให้ความเห็นชอบ กาหนด
แผนการเรยี นรูข้ องเด็กร่วมกับผสู้ อนและเด็ก

๓.๒ สง่ เสริมสนบั สนุนกจิ กรรมของสถานศึกษา และกจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาเดก็ ตาม
ศักยภาพ

๓.๓ เป็นเครือขา่ ยการเรียนรู้ จดั บรรยากาศภายในบา้ นใหเ้ อือ้ ต่อการเรยี นรู้
๓.๔ สนบั สนุนทรัพยากรเพื่อการศกึ ษาตามความเหมาะสมและจาเป็น
๓.๕ อบรมเลย้ี งดู เอาใจใสใ่ ห้ความรกั ความอบอนุ่ สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ
ของเด็ก
๓.๖ ป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาพฤติกรรมท่ีไม่พึงประสงค์ตลอดจนสง่ เสรมิ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
โดยประสานความร่วมมือกับผสู้ อน ผ้เู กย่ี วข้อง
๓.๗ เป็นแบบอย่างทด่ี ที ั้งในด้านการปฏิบัตติ นใหเ้ ปน็ บุคคลแหง่ การเรยี นรู้ และมี คุณธรรมนาไปสู่
การพฒั นาให้เป็นสถาบันแหง่ การเรียนรู้
๓.๘ มีสว่ นรว่ มในการประเมินผลการเรยี นรู้ของเด็กและในการประเมินการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา

๔. บทบาทของชมุ ชน

การปฏริ ูปการศึกษา ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดก้ าหนดให้ชมุ ชนมีบทบาทใน
การมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความรว่ มมอื เพ่ือ ร่วมกนั พัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ ดังนน้ั
ชมุ ชนจึงมีบทบาทในการจดั การศึกษาปฐมวัย ดงั นี้

๔.๑ มสี ว่ นรว่ มในการบริหารสถานศกึ ษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคม /
ชมรมผปู้ กครอง

๔.๒ มีสว่ นร่วมในการจดั ทาแผนพฒั นาสถานศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการดาเนนิ การของ
สถานศกึ ษา

๔.๓ เป็นศูนย์การเรยี นรู้เครอื ขา่ ยการเรียนรู้ ใหเ้ ด็กได้เรยี นร้แู ละมปี ระสบการณ์จากสถานการณจ์ รงิ
๔.๔ ให้การสนับสนุนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา
๔.๕ สง่ เสริมให้มีการระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอก และภูมิปญั ญา
ท้องถนิ่ เพื่อเสรมิ สร้างพฒั นาการของเดก็ ทกุ ดา้ น รวมทั้งสืบสานจารตี ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของท้องถน่ิ และของ
ชาติ
๔.๖ ประสานงานกับองค์กรทง้ั ภาครฐั และเอกชน เพ่อื ให้สถานศกึ ษาเป็นแหล่งวทิ ยาการของ
ชมุ ชน และมีสว่ นในการพฒั นาชมุ ชนและท้องถนิ่
๔.๗ มสี ว่ นร่วมในการตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
ทาหนา้ ทีเ่ สนอแนะในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา

~ ๑๒๗ ~

การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ( เดก็ อายุ ๔ – ๖ ปี )สาหรับกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ

การจัดการศกึ ษาสาหรับกล่มุ เปา้ หมายเฉพาะสามารถนาหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยไปปรบั ใช้ได้ ทั้งในสว่ นของ
โคตรสรา้ งหลักสูตร สาระการเรียนรู้ การจดั ประสบการณ์ และการประเมนิ พฒั นาการให้เหมาะสมกับสภาพ บริบท
ความต้องการ และศกั ยภาพของเดก็ แต่ละประเภทเพอ่ื พัฒนาให้เด็กมีคุณภาพตามมาตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์
ทหี่ ลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกาหนดโดยดาเนินการดังนี้

๑. เป้าหมายคุณภาพเด็ก หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัยได้กาหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสาระ
การเรียนรู้ เปน็ เป้าหมายและกรอบทิศทางเพื่อใหท้ ุกฝ่ายทเ่ี กีย่ วขอ้ งใช้ในการพฒั นาเด็ก สถานศกึ ษาหรอื ผจู้ ัดการ
ศึกษาสาหรบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ สามารถเลอื กหรือปรับใช้ ตวั บง่ ชี้และสภาพทพี่ ึงประสงคใ์ นการพัฒนาเด็ก เพ่ือ
นาไปทาแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคลแตย่ ังคงไวซ้ ึ่งคุณภาพพฒั นาการของเด็กทั้งด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ
สงั คม และสตปิ ัญญา

๒. การประเมนิ พัฒนาการ จะต้องคานึงถึงปจั จัยความแตกตา่ งของเดก็ อาทิ เด็กท่ีพกิ ารอาจต้องมีการปรับ
การประเมนิ พัฒนาการท่ีเออ้ื ต่อสภาพเด็ก ทัง้ วิธีการเคร่ืองมือท่ีใช้ หรือกลุ่มเด็กที่มีจุดเน้นเฉพาะดา้ น

การเชื่อมตอ่ ของการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั กับระดบั ประถมศึกษาปีที่ ๑

การเช่อื มต่อของการศึกษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ มีความสาคัญอยา่ งย่ิง บคุ ลากรทุกฝา่ ย
จะตอ้ งใหค้ วามสนใจต่อการชว่ ยลดช่องวา่ งของความไมเ่ ขา้ ใจในการจัดการศกึ ษาทั้งสองระดับ ซง่ึ จะส่งผลต่อการ
จดั การเรียนการสอน ตวั เด็ก ครู พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการศึกษาอน่ื ๆทั้งระบบ การเช่อื มต่อของ
การศกึ ษาระดับปฐมวยั กบั ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ จะประสบผลสาเรจ็ ไดต้ ้องดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้

๑. ผู้บริหารสถานศกึ ษา
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาเปน็ บคุ คลสาคัญทม่ี ีบทบาทเปน็ ผู้นาในการเช่อื มต่อโดยเฉพาะระหว่างหลักสูตร
การศึกษาปฐมวัยในช่วงอายุ ๔ – ๖ ปี กับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ โดยตอ้ ง
ศกึ ษาหลักสูตรทง้ั สองระดับ เพือ่ ทาความเข้าใจ จดั ระบบการบรหิ ารงานด้านวชิ าการทจ่ี ะเอื้อต่อการเชอ่ื มโยง
การศึกษาโดยการจัดกิจกรรมเพ่อื เช่ือมต่อการศึกษา ดงั ตัวอยา่ งกิจกรรมต่อไปนี้

๑.๑ จัดประชมครูระดับปฐมวัยและครูระดับประถมศกึ ษาร่วมกนั สรา้ งรอยเชอื่ มต่อของหลักสตู รท้ังสอง
ระดับใหเ้ ปน็ แนวปฏบิ ัติของสถานศึกษาเพอ่ื ครทู ้ังสองระดับจะได้เตรียมการสอนให้สอดคลอ้ งกับเดก็ วยั น้ี

๑.๒ จัดหารเอกสารดา้ นหลกั สตู รและเอกสารทางวชิ าการของทงั้ สองระดับมาไวใ้ ห้ครูและบคุ ลากรอืน่ ๆ
ได้ศึกษาทาความเขา้ ใจ อยา่ งสะดวกและเพียงพอ

๑.๓ จัดกจิ กรรมให้ครทู ั้งสองระดบั มีโอกาสแลกเปลี่ยนเผยแพร่ความรู้ใหมๆ่ ท่ีไดร้ ับจากการอบรม ดู
งาน ซึง่ ไม่ควรจดั ใหเ้ ฉพาะครูในระดบั เดียวกนั เทา่ นน้ั

๑.๔ จดั เอกสารเผยแพร่ตลอดจนกจิ กรรมสมั พันธ์ในรปู แบบตา่ งๆ ระหวา่ งสถานศึกษา พ่อแม่
ผปู้ กครองและบุคลากรทางการศกึ ษาอย่างสม่าเสมอ

~ ๑๒๘ ~

๑.๕ จดั ให้มีการพบปะ หรือการทากิจกรรมรว่ มกบั พ่อแม่ ผู้ปกครองอยา่ งสมา่ เสมอต่อเน่ือง ในระหว่าง
ทีเ่ ด็กอยู่ในระดับปฐมวัย เพ่ือพ่อแม่ ผ้ปู กครอง จะไดส้ ร้างความเขา้ ใจและสนับสนนุ การเรยี น การสอนของบตุ รหลาน
ตนได้อย่างถูกต้อง

๑.๖ จดั กิจกรรมใหค้ รูทั้งสองระดับได้ทากิจกรรมร่วมกนั กับพอ่ แม่ ผ้ปู กครองและเด็กในบางโอกาส
๑.๗ จดั กจิ กรรมปฐมนิเทศพอ่ แม่ ผู้ปกครองอยา่ งน้อย ๒ ครัง้ คอื ก่อนเดก็ เข้าเรียนระดับปฐมวัยศึกษา
และก่อนเดก็ จะเลอื่ นข้นึ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เพ่ือให้พอ่ แม่ ผู้ปกครองเข้าใจ การศึกษาท้งั สองระดับและใหค้ วาม
ร่วมมือในการชว่ ยเด็กใหส้ ามารถปรบั ตวั เข้ากับสภาพแวดลอ้ มใหม่ไดด้ ี
๒. ครูระดบั ปฐมวัย
ครรู ะดบั ปฐมวยั นอกจากจะตอ้ งศึกษาทาความเขา้ ใจหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย และจดั กิจกรรมพัฒนาเด็ก
ของตนแล้ว ควรศกึ ษาหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน การจัดการเรียนการสอนในชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ และสร้าง
ความเขา้ ใจให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคลากรอืน่ ๆ รวมทั้งชว่ ยเหลือเด็กในการปรับตวั ก่อนเลื่อนขนึ้ ชัน้
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ โดยครูอาจจดั กจิ กรรมดงั ตวั อย่างต่อไปนี้
๒.๑ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกับตวั เด็กเปน็ รายบคุ คลเพ่ือส่งตอ่ ครูชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ซง่ึ จะทาให้ครู
ระดบั ประถมศึกษาสามารถใช้ข้อมูลนั้นช่วยเหลือเด็กในการปรบั ตวั เขา้ กบั การเรยี นรูใ้ หม่ต่อไป
๒.๒ พดู คุยกับเดก็ ถงึ ประสบการณท์ ีด่ ีๆ เกีย่ วกับการจดั การเรยี นร้ใู นระดับชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เพ่ือให้
เด็กเกิดเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรียนรู้
๒.๓ จัดให้เด็กได้มโี อกาสทาความรจู้ กั กับครูตลอดจนสภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศของห้องเรยี นชน้ั
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ทง้ั ทอี่ ยู่ในสถานศกึ ษาเดยี วกันหรือสถานศึกษาอน่ื
๓. ครรู ะดบั ประถมศกึ ษา
ครรู ะดับประถมศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพฒั นาการเด็กปฐมวยั และมีเจตคติท่ีดตี ่อการจัด
ประสบการณ์ตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั เพื่อนามาเปน็ ข้อมูลในการพฒั นาจดั การเรยี นร้ใู นระดบั ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ ๑ ของตนใหต้ ่อเนื่องกับการพฒั นาเดก็ ในระดบั ปฐมวยั ดังตัวอย่าง ต่อไปน้ี
๓.๑ จดั กจิ กรรมให้เดก็ พอ่ แม่ และผูป้ กครอง มีโอกาสได้ทาความรูจ้ กั คุ้นเคยกบั ครแู ละหอ้ งเรียนชน้ั
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ก่อนเปดิ ภาคเรียน
๓.๒ จดั สภาพห้องเรียนให้ใกลเ้ คยี งกับห้องเรียนระดับปฐมวัย โดยจัดให้มมี มุ ประสบการณ์ภายในหอ้ ง
เพื่อใหเ้ ดก็ ได้มโี อกาสทากจิ กรรมได้อย่างอิสระเชน่ มมุ หนังสือ มุมของเลน่ มุมเกมการศึกษา เพื่อช่วยใหเ้ ดก็ ชั้น
ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ไดป้ รบั ตัวและเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิจริง
๓.๓ จดั กจิ กรรมรว่ มกันกบั เด็กในการสร้างข้อตกลงเกยี่ วกับการปฏบิ ตั ติ น
๓.๔ เผยแพร่ข่าวสารด้านการเรียนรแู้ ละสร้างความสัมพันธ์ทดี่ กี ับเด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชน
๔. พอ่ แม่ ผปู้ กครองและบุคลากรทางการศกึ ษา
พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และบุคลากรทางการศกึ ษาต้องทาความเข้าใจหลกั สตู รของการศึกษาทง้ั สองระดบั และ
เขา้ ใจวา่ ถึงแมเ้ ดก็ จะอยู่ในระดบั ประถมศึกษาแล้วแต่เด็กยังต้องการความรักความเอาใจใส่ การดแู ลและการ
ปฏสิ ัมพนั ธท์ ีไ่ ม่ไดแ้ ตกต่างไปจากระดบั ปฐมวยั และควรให้ความร่วมมือกบั ครูและสถานศึกษาในการชว่ ยเตรยี มตัวเด็ก
เพ่ือให้เด็กสามารถปรับตัวได้เรว็ ยิง่ ข้นึ

~ ๑๒๙ ~

การกากบั ติดตาม ประเมิน และรายงาน

การจัดสถานศกึ ษาปฐมวยั มลี ักการสาคัญในการใหส้ งั คม ชมุ ชน มีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาและกระจาย
อานาจการศกึ ษาลงไปยังท้องถน่ิ โดยตรง โดยเฉพาะสถานศึกษาหรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ซงึ่ เป็นผ้จู ดั การศึกษาใน
ระดบั น้ี ดงั นัน้ เพื่อให้ผลผลติ ทางการศึกษาปฐมวยั มีคุณภาพตามมาตรฐานคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคแ์ ละสอดคล้องกับ
ความต้องการของชุมชนและสังคมจาเป็นต้องมรี ะบบการกากับ ติดตาม ประเมินและรายงานท่ีมีประสทิ ธิภาพ เพื่อให้
ทกุ กลมุ่ ทกุ ฝา่ ยทมี่ ีสว่ นรว่ มรับผิดชอบในการจดั การศึกษา เห็นความก้าวหนา้ ปัญหา อปุ สรรค ตลอดจนการให้ความ
ร่วมมือช่วยเหลอื ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การวางแผน และดาเนินงานการจัดการศึกษาปฐมวัยให้มีคณุ ภาพอย่างแท้จริง

การกากบั ตดิ ตาม ประเมินและรายงานผลการจดั การศกึ ษาปฐมวัยเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการบริหาร
การศึกษาและระบบการประกนั คุณภาพทต่ี ้องดาเนินการอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือนาไปสกู่ ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาปฐมวยั สรา้ งความมน่ั ใจให้ผเู้ กีย่ วข้อง โดยตอ้ งมีการดาเนนิ การท่ีเป็นระบบเครือข่ายครอบคลุมท้งั
หนว่ ยงานภายในและภายนอกตัง้ แต่ระดบั ชาติ เขตพนื้ ที่ทุกระดับละทุกอาชพี การกากับดแู ลประเมนิ ผลต้องมีการ
รายงานผลจากทุกระดับให้ทกุ ฝา่ ยรวมทัง้ ประชาชนท่ัวไปทราบ เพอื่ นาขอ้ มลู จากรายงานผลมาจดั ทาแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาหรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ต่อไป

~ ๑๓๐ ~


Click to View FlipBook Version