The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by miw_chaya, 2022-04-21 03:39:07

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

โครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ รายวิชา คณติ ศาสตร์ 3 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพืน้ ฐานเก่ียวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทต่ี ้องการวัดและนาไปใช้
ตวั ช้ีวดั : ค 2.1 ป.3/7 เลอื กใช้เคร่อื งช่งั ท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขดี กโิ ลกรัมและกรมั

ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั และเป็นขดี
ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทียบนา้ หนกั ระหวา่ งกโิ ลกรัมกับกรัมเมตริกตันกบั กิโลกรัม จากสถานการณ์
ค 2.1 ป.3/10 แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั นา้ หนักที่มหี น่วยเป็นกิโลกรมั กบั กรมั
เมตรกิ ตนั กับกิโลกรัม

หน่วยการ ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ / แผนการจดั การเรยี นรู้ เวลา
เรยี นรทู้ ี่ (ชัว่ โมง)

การวดั ความยาว 1

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง การเตรียมความพรอ้ ม 1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง การวัดน้าหนกั เป็นกโิ ลกรมั และขดี กโิ ลกรมั และกรัม 1

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง การเลือกเครื่องชัง่ ท่ีเหมาะสม 1

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 เรื่อง การคาดคะเนน้าหนักเปน็ กิโลกรัมและเปน็ ขดี 1 1

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5 เร่ือง การคาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรัมและเป็นขดี 2 1
1
10 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 เรอ่ื ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหนว่ ยน้าหนกั (1) 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 7 เรื่อง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยนา้ หนกั (2)

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 8 เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บน้าหนัก 1

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 เรอ่ื ง การบวกและการลบเก่ยี วกบั นา้ หนัก 1

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง การคณู และการหารเก่ียวกบั นา้ หนัก 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 เรอ่ื ง โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั นา้ หนัก (1) 1

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 12 เร่อื ง โจทย์ปญั หาเกี่ยวกบั นา้ หนกั (2) 1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 เรอื่ ง โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับน้าหนกั (3) 1

หนว่ ยการ ช่ือหน่วยการเรียนรู้ / แผนการจดั การเรยี นรู้ (ตอ่ ) เวลา
เรยี นร้ทู ี่ (ช่ัวโมง)

การวัดความยาว 1
1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 14 เรอ่ื ง กิจกรรม เลือกเสน้ ทาง 1

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 15 เรื่อง แบบทดสอบทา้ ยบท

10

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 10 เรื่อง นา้ หนัก

เรอื่ ง การเตรยี มความพร้อม เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง

สอนวันท่ี_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกย่ี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ ้องการวัดและนาไปใช้

ตัวชว้ี ัด : -

ความรูห้ รอื ทกั ษะพน้ื ฐานของนกั เรียน

1. การบวก การลบ การคูณ การหาร จานวนนับ

2. วัดและเปรยี บเทียบน้าหนักเปน็ กิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด

3. การบวกและการลบเก่ยี วกับน้าหนักท่ีมหี นว่ ยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด

4. การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกบั นา้ หนกั ทีม่ ีหนว่ ยเปน็

กโิ ลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด

คาสาคัญ

หน่วยวัดนา้ หนกั ขีด กรมั กิโลกรมั เมตรกิ ตนั เครอื่ งชงั่ สปริง เครื่องชงั่ แบบใช้ตวั เลขเคร่ืองช่ังแบบ

แขวน เครือ่ งชง่ั นา้ หนักรถ พิกดั น้าหนัก การคาดคะเนนา้ หนกั ความสมั พันธร์ ะหว่างหนว่ ยนา้ หนัก

สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้

การวดั ความยาว

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1.ความสามารถในการสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเชือ่ มโยง

3. การแก้ปญั หา

3.คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มวี ินยั

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้

1.ใชข้ อ้ มูลในหนังสอื เรยี นหนา้ เปิดบทเพ่อื กระตุน้ ความสนใจเกยี่ วกับการวัดนา้ หนักโดยใช้คาถาม เชน่

− นักเรียนเห็นอะไรในภาพ (ให้นกั เรยี นเล่าสิ่งทีเ่ ห็นจากภาพ)
− สถานท่ีท่ปี รากฏในภาพคือทีใ่ ด ใครทาอะไรบา้ ง และมีปา้ ยบอกอะไรบา้ ง
− มีอะไรในภาพทีน่ กั เรยี นไม่เข้าใจบ้าง
− รถบรรทกุ มีนา้ หนกั เทา่ ไร
− รถบรรทกุ คันนีส้ ามารถวง่ิ บนถนนนไ้ี ด้ตามข้อกาหนดของการใชถ้ นนหรอื ไม่
ครูสนทนาเกยี่ วกับนา้ หนักและหนว่ ยนา้ หนกั ของรถบรรทุก เช่น 15,000 กิโลกรมั มากกวา่
หรอื น้อยกวา่ 25 ตัน ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนแสดงความคิด โดยอาจจะไม่คาดหวงั ใหน้ กั เรียนบอกความหมายหรือบอก
คาตอบที่ถูกต้องเกยี่ วกับหนว่ ยเมตรกิ ตนั และบอกนกั เรยี นวา่ เราจะมาเรียนรใู้ นบทเรยี นน้ี
2. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี นโดยใชก้ ิจกรรมเตรียมความพร้อม ชั่งแบบไหนดตี ามหนังสอื เรยี นหนา้ 102 เพอื่ ทบทวน
เกีย่ วกบั การวัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และกรัม กิโลกรมั และขีด และ เตรยี มความพร้อมเก่ียวกบั การวดั น้าหนกั โดยครู
เตรียมถุงทรายท่มี ีน้าหนักแตกต่างกนั เชน่ หนัก 1 กิโลกรมั น้าหนัก 500 กรัม และ น้าหนัก 100 กรมั โดยครไู ม่ต้องบอก
น้าหนกั ของถงุ ทรายท่เี ตรียมไวจ้ ากนน้ั ครูแบง่ นักเรยี นเป็นกลมุ่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มชั่งนา้ หนกั ของถงุ ทรายท่ีครูเตรยี มไว้วา่ แตล่ ะถงุ
หนกั เท่าไร ครเู ตรยี มบัตรแสดงนา้ หนกั ท่เี ป็นกโิ ลกรัมและกรมั กโิ ลกรมั และขดี ไว้หลาย ๆ บตั ร
3.ครูสแกน QRCode จากหนา้ เปดิ บทก็ได้จากนัน้ ครสู มุ่ หยบิ บัตรแสดงนา้ หนักทีละบตั ร แล้วให้นกั เรียน
เลอื กถงุ ทรายทีม่ นี า้ หนักต่าง ๆ มารวมกนั เพ่ือให้ไดน้ า้ หนักรวมเท่ากบั น้าหนักท่แี สดงในบตั รแสดงน้าหนักทค่ี รเู ลือก
ซึง่ แต่ละกลุ่มอาจเลอื กถุงทรายไดแ้ ตกตา่ งกันแต่ผลรวมของนา้ หนกั เทา่ กัน เชน่ บัตรแสดงน้าหนกั 2 กิโลกรมั 5 ขดี นกั เรยี น
อาจเลือกถุงทรายท่นี า้ หนัก 1 กโิ ลกรมั 2 ถุง และถงุ ทรายทนี่ า้ หนัก 500 กรมั 1 ถุงหรอื นักเรยี นอาจเลอื กถงุ ทรายน้าหนัก 500
กรมั 5 ถงุ เปน็ ตน้ จากน้นั ครูใหน้ กั เรยี นชง่ั น้าหนกั ของถงุ ทรายทัง้ หมดท่ีเลอื กมาเพ่อื ตรวจสอบว่าได้น้าหนักเทา่ กับนา้ หนกั ใน
บตั รแสดงน้าหนกั หรอื ไม่ ครอู าจทากิจกรรมเป็นรอบ รอบละ 1 บัตรแสดงน้าหนกั ตรวจสอบน้าหนกั ของถุงทรายท่ีนักเรยี น
เลอื กเปน็ รอบ แลว้ จึงสุ่มหยิบบัตรแสดงน้าหนกั ในรอบตอ่ ไปในแตล่ ะรอบครูอาจใหน้ ักเรียนแลกเปลีย่ นวิธีการหาคาตอบ โดย
ให้ความสาคญั กบั วธิ กี ารทห่ี ลากหลายทน่ี กั เรยี นใชใ้ นการเลอื กถุงทรายทมี่ ีนา้ หนกั ต่าง ๆ แล้วนามาอภปิ รายว่าแตล่ ะวิธีมคี วาม
เหมือนและแตกต่างกนั อยา่ งไรจากนน้ั ให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั เตรยี มความพร้อม หน้า 75 – 76

สอ่ื การเรยี นรู้
1.หนงั สือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

จุดประสงคก์ าร วธิ วี ดั เครือ่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมิน

เรยี นรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจกจิ กรรม ชง่ั แบบ กจิ กรรม ชัง่ แบบไหนดี 50% ขน้ึ ไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ไหนดี การประเมนิ

2. ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ คณุ ภาพดีขนึ้ ไป

กระบวนการ

3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั
ทพี่ งึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์
ด้านคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขึ้นไป

ที่พงึ ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดับคุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนื้อหา 4 3 21
2. รปู แบบ
เนอื้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเปน็ ระเบียบ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถูกต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เปน็ สว่ นใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกับ

สถานการณ์

ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไมม่ ีความ

เปน็ ระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เป็นระเบียบ

เลก็ น้อย บางสว่ น

เกณฑป์ ระเมินคุณภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทกั ษะและกระบวนการทางาน
ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลท่ีปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล

3 : ดี มกี ารอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเรจ็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
หลกั การและขนั้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้เข้าใจชดั เจนนามาซ่ึงคาตอบทถี่ ูกต้อง

ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล
3 : ดี หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดกี วา่ นี้

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตผุ ล
หลักการและข้นั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางสว่ น

1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คิดใช้เหตุผล หลักการและขน้ั ตอน
ในการแกป้ ัญหา แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สาเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเช่ือมโยงที่ปรากฏให้เห็น

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมที่ต้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู ่เี รียนได้เปน็ สว่ นใหญ่

เพื่อช่วยในการแกป้ ัญหาหรือประยกุ ต์ใช้ไดบ้ างส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอื่ มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรือ
กจิ กรรมท่ีต้องใช้องค์ความรู้ที่เรยี นไดบ้ างสว่ น

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็
คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเป็นบางครั้ง

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตั้งใจในระยะเวลาสน้ั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียนมีความมุ่งมนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั

2 : ดี - สง่ งานชา้ กว่ากาหนด แต่ได้มีการติดต่อชี้แจงผูส้ อน มีเหตผุ ลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเป็นนิสยั

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากว่ากาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยตอ้ งอาศยั การชีแ้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คดิ เป็นร้อยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรียนรู้ ............... คน คิดเป็นรอ้ ยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมร้คู วำมเข้ำใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อ่นุ เรือน)
ตำแหนง่ ครูผสู้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมัคคี

กจิ กรรม ช่ังแบบไหนดี

อปุ กรณ์
1. เคร่อื งชั่งสปริง
2. ถุงทรายท่ีมนี ้าหนัก 1 กโิ ลกรมั น้าหนัก 500 กรมั และ นา้ หนัก 100 กรัม
อยา่ งละ 5 ถุง โดยไม่บอกนา้ หนัก
3. บัตรแสดงน้าหนกั

วิธจี ัดกิจกรรม
1. ครแู บง่ นกั เรยี นเป็นกล่มุ กลุ่มละเท่า ๆ กัน
2. ให้ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ ออกมาช่ังและบอกน้าหนกั ของถงุ ทรายท้ังหมดที่ครเู ตรยี มไว้
3. ครูสมุ่ หยิบบัตรแสดงนา้ หนัก ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ช่วยกันหาวธิ ีชง่ั ถงุ ทรายเพอ่ื ให้ได้

น้าหนกั รวมตามที่กาหนดในบัตรแสดงนา้ หนัก แล้วออกมาตรวจสอบโดยการช่งั จรงิ

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 2

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 10 เร่ือง น้าหนกั

เรอื่ ง การวัดนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรมั เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

สอนวันท่ี_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเก่ยี วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีต้องการวดั และนาไปใช้

ตัวช้ีวัด : ค 2.1 ป.3/7 เลือกใช้เคร่ืองชง่ั ทเี่ หมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขดี กิโลกรัมและกรัม

จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ู่ตวั ชี้วัด

1. บอกวิธีวดั และบอกนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและกรมั (K)

2. วดั และบอกน้าหนักเปน็ กโิ ลกรมั และขีด กิโลกรัมและกรัม (P)

3. นักเรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความรทู้ ่ีได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องตอ่ ไป (A)

สาระสาคัญ

การบอกนา้ หนกั ของสง่ิ ต่าง ๆ อาจบอกเปน็ กิโลกรมั และขีด กโิ ลกรมั และกรมั

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

การวดั น้าหนักเป็นกโิ ลกรมั และขีด กิโลกรัมและกรัม

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

1.ความสามารถในการสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเชอื่ มโยง

3.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี นิ ัย

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งม่นั ในการทางาน

ชน้ิ งานหรือภาระงาน

ใบงานที่ 2 เรอื่ ง การวดั น้าหนักเปน็ กโิ ลกรมั และขีด กโิ ลกรัมและกรัม

กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้

1.ครูทบทวนเก่ยี วกบั การช่ังน้าหนกั โดยใชเ้ คร่อื งชง่ั สปรงิ นาส่ิงของวางบนเครื่องชงั่ แล้วให้นกั เรยี น

บอกนา้ หนักของสง่ิ ของเปน็ กรัม เป็นขดี เปน็ กโิ ลกรัมและขีด เป็นกโิ ลกรมั และกรัม

จากน้นั ครตู ิดบตั รภาพการชัง่ ส่ิงของตา่ ง ๆ ดว้ ยเคร่อื งชั่งสปรงิ บนกระดานตามภาพในหนังสอื หนา้
103 ทีละภาพ และให้นักเรียนอ่านนา้ หนกั จากเคร่ืองชั่งสปริงเป็นกิโลกรมั และขดี กิโลกรัมและกรัม

ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ วา่ เคร่ืองชั่งสปรงิ ที่ใชใ้ นการชัง่ น้าหนักน้ันมีหลายขนาด ถ้าต้องการชัง่ ส่ิงของท่มี ี
น้าหนักมากกใ็ ช้เครื่องชั่งที่สามารถชงั่ ได้เชน่ เงาะ 50 กิโลกรมั 7 ขดี ก็ใช้เครื่องชัง่ สปรงิ ที่สามารถ
ชั่งส่งิ ของที่มีน้าหนกั ขนาดนี้ไดแ้ ละปกี ไก่หนัก 35 กิโลกรมั 5 ขีด ก็ใช้เคร่ืองชั่งทส่ี ามารถชง่ั ได้

2. จากนนั้ ครูยกตวั อย่างการอ่านน้าหนกั จากเคร่อื งช่ังดิจิทลั หรือเครอ่ื งชง่ั แบบใชต้ ัวเลข ในการใช้
เคร่อื งชั่งดจิ ทิ ัลสามารถอา่ นน้าหนักของสิง่ ของทีช่ ่ังไดจ้ ากหน้าจอแสดงผล ซ่ึงจะแสดงผลเปน็ ตวั เลข
เชน่ การอ่านนา้ หนกั ตัวจากเครือ่ งช่ังน้าหนักตัวแบบใช้ตวั เลขหน้าจอแสดงผลเปน็ 50.7 อา่ นนา้ หนักได้เปน็
ห้าสบิ จุดเจด็ กโิ ลกรัม ตวั เลขหลงั จุดเป็นเลขโดดตวั เดยี ว ตวั เลขนั้นจะแสดงนา้ หนักเปน็ ขดี หรอื 100 กรัม ใน
ทน่ี 5้ี 0.7 กิโลกรมั หมายถึง 50 กิโลกรัม 7 ขีด หรอื 50 กโิ ลกรัม 700 กรัม ตามหนังสือเรียนหนา้ 104
ถา้ หนา้ จอแสดงผลเป็น 9.475 อ่านนา้ หนักได้เปน็ เกา้ จดุ สเ่ี จด็ หา้ กิโลกรัม ตัวเลขหลังจดุ เปน็ เลขโดดสามตัว
ตวั เลขน้จี ะแสดงน้าหนักเปน็ กรมั ในท่นี ี้ 9.475 กิโลกรัม หมายถงึ 9 กิโลกรัม 475 กรมั ตามหนังสือเรียนหน้า
104 ครูแนะนาอกั ษรย่อของหนว่ ยน้าหนกั กโิ ลกรัม ใชอ้ กั ษรยอ่ กก. และ กรัม ใช้อกั ษรยอ่ ก. และแนะนาการ
เขยี น หน่วยนา้ หนักเป็นภาษาองั กฤษ kilogram เขยี นย่อว่า kg

และ gram เขยี นย่อว่า g ครูอาจยกตัวอยา่ งการชั่งน้าหนกั ท่ีใช้เครอื่ งชง่ั น้าหนักแบบใช้ตวั เลข
ในชีวติ จริงเพิ่มเติม เชน่ การชั่งนา้ หนักส่งิ ของที่ซ้อื จากซุปเปอร์มาเก็ต

จากรปู น้าหนัก 0.512 กก. อ่านวา่ ศนู ย์จดุ ห้าหน่ึงสองกโิ ลกรัม หมายถึงนา้ หนัก 512 กรัม

จากรปู นา้ หนัก 1.006 กก. อ่านวา่ หนึง่ จดุ ศูนย์ศนู ยห์ กกโิ ลกรมั หมายถงึ นา้ หนัก 1 กิโลกรัม 6 กรมั หรอื น้าหนักของ
ส่ิงของทีส่ ่งทางไปรษณยี ด์ ังนี้

จากรูปนา้ หนัก 2.274 Kg. อา่ นว่า สองจุดสองเจด็ สก่ี โิ ลกรมั หมายถงึ น้าหนัก 2 กโิ ลกรมั 274 กรัม
ครูอาจเน้นยา้ เกย่ี วกบั การอ่านน้าหนกั จากเครอื่ งชัง่ ดิจิทลั ที่แสดงผลเป็นตวั เลขว่า ตวั เลขหน้าจุดแสดง
น้าหนกั เปน็ กิโลกรัม ตัวเลขหลังจุดแสดงนา้ หนกั เป็นขีดหรือเป็นกรัม
3. ครูนาเสนอวา่ นอกจากเคร่อื งชั่งทเ่ี ราค้นุ เคยในชีวิตประจาวนั แล้ว ยงั มีเคร่ืองช่ังที่ใช้สาหรับช่ัง
สงิ่ ของท่ีมนี ้าหนกั มาก ๆ ซ่ึงใชใ้ นทางอตุ สาหกรรม เชน่ เคร่ืองช่ังรถบรรทุก เครื่องชั่งท่อนเหลก็ เปน็ ต้น ครู
อาจติดรปู เครื่องช่งั นา้ หนักที่มีพกิ ัดน้าหนักมากทห่ี ลากหลายเพอ่ื ใหน้ ักเรียนร้จู กั ครยู กตัวอยา่ งการอ่าน
น้าหนกั จากเคร่อื งชัง่ น้าหนักรถและเครือ่ งชงั่ แบบแขวนตามหนงั สอื เรยี นหน้า 105 โดยอธบิ ายว่า การอ่าน
นา้ หนักให้อ่านแบบเดียวกับการอา่ นน้าหนกั จากเครื่องชั่งดิจทิ ลั ครสู าธิตการอา่ นน้าหนักจากตัวอย่างใน
หนังสอื เรียนหนา้ 105 ดังน้ี

รถบรรทุกหนัก 23,680 กิโลกรัม อ่านว่า รถบรรทุกหนักสองหม่ืนสามพนั หกร้อยแปดสิบกิโลกรมั
ท่อนเหล็กหนัก 4,880 กโิ ลกรัม อา่ นวา่ ทอ่ นเหล็กหนกั สี่พันแปดรอ้ ยแปดสบิ กโิ ลกรัม
ครคู วรชี้ให้นกั เรียนสังเกตหน่วยน้าหนกั ท่รี ะบุบนเครอ่ื งชั่งจะได้รวู้ ่าเครื่องชงั่ แต่ละเครื่องจะต้องอา่ น
น้าหนักอย่างไร จากน้ันให้นกั เรยี นช่วยกันอา่ นน้าหนกั จากเครอื่ งชั่งน้าหนักรถและเครื่องช่ังแบบแขวนในกรอบ
ท้ายหนงั สือเรยี นหนา้ 105 ครูและนักเรียนรว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

4.ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบคุ คล โดยใหน้ กั เรยี นอ่านนา้ หนักจากเคร่ืองช่ังแลว้ บอก

น้าหนกั ของสิง่ ต่าง ๆตามหนังสอื เรียนหน้า 106 ครแู ละนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปสง่ิ ท่ีได้

เรยี นรู้ การบอกนา้ หนกั ของสง่ิ ต่าง ๆ อาจบอกเป็นกโิ ลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและกรัม จากน้นั ให้นักเรียนทา

แบบฝึกหดั 10.1 หนา้ 77 – 78 และรว่ มกันทาใบงานเพิ่มเติม

ส่ือการเรยี นรู้

1.หนงั สอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.3

2. ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง การวัดนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรัมและขดี กิโลกรมั และกรมั

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วิธีวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมนิ

เรียนรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขนึ้ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์

การประเมิน

2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ คณุ ภาพดีข้นึ ไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั

ที่พงึ ประสงค์ (A) คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ด้านคณุ ลักษณะ คุณภาพดีขน้ึ ไป

ที่พงึ ประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดับคุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนื้อหา 4 3 21
2. รปู แบบ
เนื้อหาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ
3. ความเปน็ ระเบียบ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ถูกตอ้ ง

ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เป็นสว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องบางสว่ น เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกบั

สถานการณ์

ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เปน็ ระเบียบ

เล็กน้อย บางส่วน

เกณฑ์ประเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นทักษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอย่างมเี หตุผล

3 : ดี มกี ารอ้างอิงที่ถูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปัญหา

คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก ใชก้ ระบวนการแก้ปญั หาไดส้ าเรจ็ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
หลักการและข้ันตอนในการแก้ปญั หาได้เขา้ ใจชดั เจนนามาซึ่งคาตอบท่ีถูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาไดส้ าเร็จ แตน่ า่ จะอธบิ ายถึงเหตุผล
หลักการและข้นั ตอนในการแก้ปญั หาได้ดีกว่าน้ี

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพยี งบางสว่ น อธบิ ายถงึ เหตุผล
หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้บางสว่ น

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เรม่ิ คดิ ใชเ้ หตุผล หลกั การและขั้นตอน
ในการแก้ปญั หา แลว้ หยดุ อธิบายตอ่ ไม่ได้ แกป้ ญั หาไมส่ าเรจ็

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชื่อมโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเชื่อมโยงที่ปรากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเช่ือมโยงกบั สาระคณิตศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมทีต่ ้องใชอ้ งค์ความรูท้ ีเ่ รียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแก้ปญั หา

หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม

นาความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งคค์ วามรู้ท่ีเรยี นไดเ้ ปน็ ส่วนใหญ่

เพื่อช่วยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกตใ์ ช้ไดบ้ างสว่ น

2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์หรือ
กจิ กรรมท่ีตอ้ งใชอ้ งค์ความรูท้ ่ีเรียนไดบ้ างส่วน

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แกไ้ ข องค์ความรู้ที่ได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลักษณะทีป่ รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจเปน็ บางคร้งั

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความต้ังใจในระยะเวลาสัน้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรยี นมีความม่งุ ม่นั ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คณุ ลักษณะท่ีปรากฏใหเ้ ห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรอื ตรงกาหนดเวลานดั หมาย
- รับผดิ ชอบในงานที่ได้รบั มอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด แตไ่ ด้มกี ารติดต่อชี้แจงผสู้ อน มเี หตุผลท่ีรับฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานที่ไดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเป็นนสิ ัย

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยต้องอาศัยการช้แี นะ แนะนา ตักเตือนหรอื ใหก้ าลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจำนวน ................................................... คน

ผ่ำนจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คิดเป็นร้อยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรียนรู้ ............... คน คิดเป็นร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นักเรยี นมคี วำมสำมำรถพิเศษได้แก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรยี นมคี วำมร้คู วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมีควำมรเู้ กดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรยี นมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรือน)
ตำแหนง่ ครผู ู้สอน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ .......................................................... หวั หนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วชิ ช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมคั คี

ใบงานที่ 2 เรอื่ ง การวดั น้าหนกั เปน็ กิโลกรมั และขีด กโิ ลกรัมและกรมั

บอกน้าหนักของส่ิงตา่ ง ๆ

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 เรือ่ ง น้าหนกั

เรือ่ ง การเลือกเครื่องช่ังทเี่ หมาะสม เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้วี ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ ้องการวัดและนาไปใช้

ตวั ช้วี ัด : ค 2.1 ป.3/7 เลือกใชเ้ ครอื่ งชง่ั ทเ่ี หมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และขีด กิโลกรัมและกรมั

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ วั ชี้วัด

1. บอกวิธีเลือกใช้เครือ่ งชั่งท่ีเหมาะสมกบั สิ่งที่ต้องการชั่งและบอกนา้ หนักโดยใชห้ นว่ ยนา้ หนกั ที่

เหมาะสม (K)

2. เลือกใช้เคร่ืองชง่ั ที่เหมาะสมกับสง่ิ ที่ต้องการช่ังและบอกน้าหนักโดยใช้หน่วยนา้ หนักที่เหมาะสม(P)

3. นักเรยี นมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความร้ทู ี่ได้ไปต่อยอดในการเรยี นเร่อื งต่อไป (A)

สาระสาคัญ

การวดั น้าหนักของส่งิ ตา่ ง ๆ ควรเลอื กใชเ้ ครื่องชงั่ ให้เหมาะสมและบอกน้าหนักโดยใช้หนว่ ยน้าหนกั ทเ่ี หมาะสม

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

การเลอื กเครอ่ื งช่งั ที่เหมาะสม

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

1.ความสามารถในการส่อื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเชอื่ มโยง

3.คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. มีวนิ ยั

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ม่งุ ม่ันในการทางาน

ช้นิ งานหรือภาระงาน

ใบงานท่ี 3 เรอื่ ง การเลือกเครือ่ งช่งั ที่เหมาะสม

กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้

1.ครสู นทนากับนักเรียนเกีย่ วกับเครื่องช่ังท่ีพบในชีวิตจรงิ โดยใหน้ ักเรยี นบอกชนิดของเครือ่ งช่งั ตา่ ง ๆ

เชน่ เครอื่ งช่ังสปรงิ เครื่องชง่ั นา้ หนกั ตวั ครูอาจเตรียมบตั รภาพเครือ่ งชั่งชนิดตา่ ง ๆ ไว้หากนกั เรียนพดู ถึง

เคร่ืองช่ังชนดิ ใดใหต้ ดิ บัตรภาพเคร่ืองชงั่ ชนดิ นัน้ บนกระดาน ครูนาอภิปรายเกย่ี วกบั เครื่องช่ังนา้ หนักทต่ี ดิ บน

กระดานตามหนงั สอื เรยี นหน้า 107 ว่ามคี วามเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร ครูสรุปเกี่ยวกับประเภทของ

เคร่ืองช่ังวา่ เคร่ืองช่ังมีหลากหลายประเภท เชน่ เคร่ืองชัง่ นา้ หนักตัวมที ั้งแบบมีเข็มและแบบใชต้ วั เลข เปน็ ต้น
และเคร่ืองชง่ั มีพกิ ดั นา้ หนักสูงสดุ ทีแ่ ตกตา่ งกัน ครูอธิบายคาวา่ พิกดั นา้ หนกั คอื ค่าท่ีบอกน้าหนกั สูงสดุ ท่ี
เครอ่ื งช่งั นั้นสามารถช่ังไดเ้ ช่นเครอ่ื งชงั่ สปริงพิกัด 5 กิโลกรมั แสดงวา่ เคร่ืองช่ังสปรงิ น้ีสามารถช่งั น้าหนกั ได้
สงู สุด 5 กิโลกรมั

จากนั้นครูแสดงบัตรภาพสิง่ ของชนดิ ต่าง ๆ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเลือกเคร่ืองชงั่ ทตี่ ิดอยูบ่ นกระดานว่าจะเลอื ก
เครือ่ งชงั่ ชนิดใดมาช่งั ส่งิ ของในบตั รภาพ โดยใชก้ ารถาม - ตอบพร้อมกบั รว่ มกันอภิปรายเหตผุ ล เช่น

− ถา้ ตอ้ งการชั่งแตงโม 1 ผล ควรเลอื กใช้เคร่ืองชัง่ ชนิดใด เพราะเหตุใด
− ถา้ ต้องการชง่ั ขา้ วสาร 1 กระสอบ ควรเลือกใชเ้ คร่ืองชั่งชนดิ ใด เพราะเหตุใด
− ถา้ ต้องการช่ังหอมหัวใหญ่ 1 หวั ควรเลอื กใชเ้ คร่อื งชั่งชนดิ ใด เพราะเหตุใด
− ถ้าตอ้ งการชั่งรถยนต์1 คนั ควรเลือกใช้เครื่องชงั่ ชนดิ ใด เพราะเหตุใด
ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปวา่ ถ้าตอ้ งการชัง่ สิ่งของที่มนี ้าหนักมาก เช่น กระสอบข้าว ลังผลไม้ขนาดใหญ่
หรอื รถยนตต์ ้องใช้เคร่ืองช่งั ท่ีสามารถชงั่ ส่งิ ของนั้นไดห้ รือเป็นเคร่ืองชัง่ ที่มพี ิกดั น้าหนักสงู ถ้าต้องการช่ังสิง่ ของ
ท่มี ีน้าหนกั น้อย เช่น สว่ นผสมของยา สว่ นผสมต่าง ๆ ในการทาขนม ที่ตอ้ งใชเ้ คร่อื งช่ังท่ีมคี วามละเอียดอาจ
ตอ้ งใช้เครื่องช่งั ดจิ ิทัลทีส่ ามารถชง่ั นา้ หนักเปน็ กรัมไดด้ ังนนั้ ในการช่ังนา้ หนกั ของส่ิงตา่ ง ๆ ควรเลือกเคร่ืองช่ัง
ใหม้ ีความเหมาะสมกบั สิง่ ที่ต้องการชั่ง
2. ครแู บ่งนกั เรยี นเปน็ กลุม่ แลว้ ให้แตล่ ะกลุ่มจบั คบู่ ตั รภาพเครื่องชงั่ กับบตั รภาพส่ิงของทต่ี ้องการชั่งให้
เหมาะสมกัน โดยครอู าจเตรยี มบัตรภาพของสง่ิ ของตามหนังสือเรียนหน้า 108 จากนั้นให้แตล่ ะกลุ่มออกมา
นาเสนอและร่วมกันแลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ ถ้ามกี ลุ่มใดเลอื กเคร่ืองช่งั ที่แตกตา่ งจากกล่มุ อนื่ ครแู ละ
นักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง
3. ครยู กตวั อย่างเก่ยี วกับการใชห้ น่วยนา้ หนักของสงิ่ ตา่ ง ๆ และอภิปรายเกีย่ วกับการเลอื กใชห้ นว่ ย
นา้ หนกั ให้เหมาะสมตามหนังสอื เรียนหนา้ 109 โดยใช้การถาม - ตอบ เชน่

− นา้ หนักของตน้ กล้าควรใช้หน่วยนา้ หนักใด

− น้าตาล 1 ถงุ ควรใช้หนว่ ยนา้ หนักใด

− ขนมกรบุ กรอบ 1 ถุงควรใชห้ นว่ ยนา้ หนักใด

− แตงโม 1 ผลควรใช้หนว่ ยนา้ หนกั ใด

จากนน้ั ครใู ห้นกั เรยี นชว่ ยกันเลือกหนว่ ยนา้ หนักเปน็ กิโลกรัมหรอื เปน็ กรัมให้เหมาะสมกับสิง่ ของท่ี

กาหนดใหต้ ามหนังสือเรียนหนา้ 109 เช่นไก่ 10 น่อง หนัก 2 ……… ควรใช้หนว่ ยนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมหรอื เป็น

กรัม นกั เรียนควรตอบไดว้ ่า นอ่ งไก่ 10 น่อง หนกั 2 กิโลกรัมจากน้ันครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความ

ถูกต้อง

4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใหน้ กั เรยี นเลือกเครื่องช่งั ที่เหมาะสม ใน

ท่ีนจ้ี ะมเี คร่อื งชัง่ มาให้เลือกว่าจะเลือกเคร่อื งชัง่ ชนดิ ใด และใหน้ ักเรยี นเลือกหนว่ ยน้าหนกั ที่เหมาะสม ในท่นี ้ีมี

หน่วยนา้ หนกั ใหเ้ ลอื กเป็นกโิ ลกรัมหรือเป็นกรัม ตามหนงั สอื เรยี นหน้า 110 ครแู ละนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบ

ความถูกตอ้ งและร่วมกนั สรุป สิ่งทไ่ี ด้เรยี นรู้ จากนน้ั ใหน้ กั เรียนทาใบงานเพมิ่ เติม

ส่ือการเรยี นรู้

1.หนังสอื เรียนคณิตศาสตร์ ป.3

2. ใบงานท่ี 3 เร่อื ง การเลอื กเคร่ืองชั่งที่เหมาะสม

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จุดประสงคก์ าร วิธวี ัด เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ

เรยี นรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

การประเมิน

2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคุณลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดบั

ทพ่ี งึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ ดา้ นคุณลกั ษณะ คุณภาพดีขน้ึ ไป

ทพ่ี ึงประสงค์

เกณฑก์ ารประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน

ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ

1. 1.ความถกู ต้องของ 4 3 21
เน้ือหา
เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ

ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานถกู ต้อง ผลงานไม่ถูกตอ้ ง

ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เป็นส่วนใหญ่

2. รปู แบบ การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่
3. ความเป็นระเบียบ นา่ สนใจและ เป็นสว่ นใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกบั
สถานการณ์ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
ผลงานมคี วาม ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เปน็ ระเบียบ
เปน็ ระเบยี บ เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑ์ประเมินคุณภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล

คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตุผลที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดีมาก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล

3 : ดี มีการอ้างอิงทถี่ ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ

ทักษะและกระบวนการ : การแกป้ ัญหา

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการแกป้ ัญหาท่ปี รากฏให้เห็น

4 : ดมี าก ใชก้ ระบวนการแกป้ ญั หาได้สาเร็จ อย่างมีประสทิ ธิภาพ อธบิ ายถึงเหตุผล
หลักการและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้เขา้ ใจชดั เจนนามาซึ่งคาตอบทถี่ ูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ญั หาไดส้ าเร็จ แต่น่าจะอธบิ ายถงึ เหตุผล
หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดีกว่านี้

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแกป้ ัญหา สาเร็จเพยี งบางสว่ น อธิบายถงึ เหตผุ ล
หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มรี อ่ งรอยการแกป้ ัญหาบางส่วน เรมิ่ คิดใชเ้ หตผุ ล หลักการและข้ันตอน
ในการแกป้ ญั หา แล้วหยดุ อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ าเรจ็

ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเชื่อมโยงทป่ี รากฏใหเ้ หน็

คณุ ภาพ

นาความรู้ หลกั การ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์

4 : ดมี าก หรอื กจิ กรรมที่ต้องใชอ้ งค์ความรู้ทเ่ี รียนได้ถกู ต้องทุกกจิ กรรมเพ่ือช่วยในการแก้ปญั หา

หรือประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม

นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู ่เี รยี นได้เปน็ สว่ นใหญ่

เพ่ือช่วยในการแก้ปัญหาหรอื ประยุกตใ์ ช้ได้บางส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์หรือ
กิจกรรมที่ตอ้ งใชอ้ งคค์ วามรู้ที่เรยี นไดบ้ างสว่ น

1 : ควรปรับปรุง นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชือ่ มโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แก้ไข องค์ความรู้ท่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ : นักเรยี นใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ ห็น

คณุ ภาพ

3 : ดีมาก - มคี วามสนใจ / ความต้งั ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเป็นบางครง้ั

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาส้ันๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรยี นมีความมงุ่ มนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะทีป่ รากฏใหเ้ ห็น

คณุ ภาพ

3 : ดมี าก - ส่งงานก่อนหรอื ตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - สง่ งานชา้ กวา่ กาหนด แต่ได้มีการติดต่อชีแ้ จงผสู้ อน มเี หตผุ ลท่รี บั ฟังได้

1 : พอใช้ - รับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเป็นนิสยั

- ส่งงานชา้ กว่ากาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยตอ้ งอาศยั การช้ีแนะ แนะนา ตักเตือนหรือใหก้ าลังใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรยี นจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรียนรู้ ................... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผ่ำนจดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นักเรียนมคี วำมสำมำรถพิเศษได้แก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรยี นมคี วำมรคู้ วำมเข้ำใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรยี นมคี วำมรเู้ กิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นกั เรยี นมีคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อนุ่ เรือน)
ตำแหน่ง ครผู ู้สอน

ความคิดเห็นของฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .......................................................... หัวหน้ำฝำ่ ยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรัตน์ สลี ำด)ี

ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไมเ่ หมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชอ่ื ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อคุ ต)

รกั ษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผูอ้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมัคคี

ใบงานท่ี 3 เร่อื ง การเลือกเครื่องชง่ั ท่ีเหมาะสม

เลือกเครื่องชั่งท่เี หมาะสม

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

ก เคร่ืองช่งั สปริงพกิ ดั 3 กโิ ลกรมั ข เครอื่ งช่งั สปริงพกิ ัด 300 กโิ ลกรมั

เลอื กหน่วยน้าหนักที่เหมาะสม

1) ว้นุ เสน้ 1 ห่อ หนัก 80
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
2) ตู้เยน็ 1 ตู้ หนัก 56
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
3) ฟกั ทอง 1 ลูก หนกั 2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
4) จดหมาย 1 ฉบับ หนัก 15
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10 เรอื่ ง น้าหนัก

เรอื่ ง การคาดคะเนน้าหนักเปน็ กิโลกรมั และเปน็ ขีด เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง

สอนวันที่_________เดือน________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเก่ยี วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ ้องการวดั และนาไปใช้

ตัวชี้วดั : ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และเปน็ ขีด

จดุ ประสงค์การเรยี นรสู้ ู่ตวั ชี้วดั

1. บอกวธิ ีคาดคะเนนา้ หนกั เปน็ กิโลกรัมและเปน็ ขดี (K)

2. คาดคะเนน้าหนกั เป็นกิโลกรมั และเปน็ ขีด (P)

3. นกั เรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความร้ทู ี่ไดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเรือ่ งตอ่ ไป (A)

สาระสาคญั

การคาดคะเนน้าหนักของสงิ่ ต่าง ๆ เป็นการบอกนา้ หนักใหใ้ กลเ้ คยี งนา้ หนักจริงโดยไมใ่ ชเ้ ครอ่ื งช่ังอาจ

เทยี บกบั นา้ หนักของส่งิ ต่าง ๆ ที่เราทราบน้าหนักแลว้

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

การคาดคะเนน้าหนักเป็นกโิ ลกรัมและเปน็ ขีด

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1.ความสามารถในการสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเช่อื มโยง

3.คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. มวี นิ ัย

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งมั่นในการทางาน

กิจกรรมการจดั การเรียนรู้

1. ครใู ห้นักเรยี นฝกึ การคาดคะเนน้าหนักเปน็ ขีดโดยการทากิจกรรมเรือ่ ง คาดคะเนนา้ หนัก

เปน็ ขีดตามหนังสือเรียนหนา้ 111 ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุม่ และแจกอปุ กรณก์ ลมุ่ ละ 1 ชดุ จากน้นั วาง

แถบกระดาษบนโตะ๊ และวางขวดนา้ ท่ีมีน้าหนัก 5 ขดี 10 ขีด 15 ขดี และ 20 ขดี ใหต้ รงตามขีดบอกนา้ หนัก

บนแถบกระดาษครใู หน้ ักเรียนคาดคะเนน้าหนกั ของสิง่ ต่าง ๆ ทีค่ รเู ตรยี มไวใ้ ห้ซงึ่ ในการคาดคะเนนา้ หนัก

ของสง่ิ ตา่ ง ๆ นั้น ครูอาจใหน้ ักเรยี นลองยกขวดนา้ ท่ีทราบน้าหนกั แลว้ และลองยกสิง่ ต่าง ๆ เทียบกบั นา้ หนัก

ของขวดนา้ เพื่อเทียบน้าหนักและคาดคะเนน้าหนักของสง่ิ ตา่ ง ๆ ประกอบการตัดสินใจวา่ นา้ หนักของสง่ิ น้ัน

ควรจะหนักเท่าไร นกั เรยี นสามารถยกขวดนา้ เพ่ือทดสอบกี่ครง้ั ก็ไดจ้ นกวา่ จะม่ันใจในการคาดคะเนนา้ หนกั

ของส่งิ น้นั จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นวางบตั รคาที่ระบชุ ่ือของส่ิงนั้นบนแถบกระดาษในตาแหนง่ ที่คาดคะเนว่าจะเปน็

นา้ หนกั ของสงิ่ นนั้ ดงั ภาพตวั อยา่ งในหนงั สือเรยี นหน้า 111ให้นกั เรยี นทาเช่นเดียวกนั กับส่ิงของท่คี รกู าหนดให้

ทกุ ช้นิ ครอู าจใหน้ ักเรียนบันทกึ น้าหนักทคี่ าดคะเนของสง่ิ ของทุกช้ินลงในแบบบันทกึ กจิ กรรม เม่อื ทุกกลมุ่ วาง

บัตรคาของส่ิงตา่ ง ๆ ในตาแหนง่ ท่คี าดคะเนน้าหนักของส่งิ น้นั เสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้ว ให้นกั เรยี นตรวจสอบนา้ หนัก

จรงิ ของสิง่ ต่าง ๆทุกช้นิ ด้วยเครื่องช่ังสปริง ครูอาจใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ น้าหนักจริงของส่ิงตา่ ง ๆ เพอ่ื ตรวจสอบ

ผลการคาดคะเน จากนัน้ ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ว่า การคาดคะเนนา้ หนักของสง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นขดี เป็นการ

บอกน้าหนักใหใ้ กล้เคียงกับน้าหนกั จริงเป็นขีดโดยไมใ่ ชเ้ คร่ืองช่ัง อาจเทียบกับน้าหนกั ของสงิ่ ตา่ ง ๆท่ีเราทราบ

นา้ หนักแล้ว ในทน่ี ีน้ กั เรยี นทราบน้าหนักของขวดน้าแต่ละขวดวา่ หนักเท่าไร แลว้ ลองยกส่ิงของท่ีต้องการ

คาดคะเนนา้ หนกั เทียบกับขวดนา้ แต่ละขวดแลว้ คาดคะเนน้าหนกั ของสิ่งน้นั

2. ครใู หน้ ักเรยี นฝกึ การคาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรัมโดยให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทากจิ กรรม คาดคะเนน้าหนัก

เปน็ กิโลกรมั ก่อนทากิจกรรมครูอาจใหน้ ักเรียนอภิปรายเก่ียวกบั วธิ กี ารคาดคะเนน้าหนักเปน็ ขดี ทที่ าผา่ น

มาแลว้ โดยให้แต่ละกล่มุ นาเสนอวธิ ีการที่ใชใ้ นการคาดคะเนน้าหนักเปน็ ขีดและให้กลุ่มอ่ืนนาเสนอวิธีการที่

แตกตา่ ง ครูอาจต้ังคาถามเพ่ือให้นักเรียนอภปิ รายเกย่ี วกับวิธีการคาดคะเนน้าหนัก เช่น

− จะคาดคะเนน้าหนกั ของสง่ิ ต่าง ๆ ต้องรู้อะไรบ้าง(ตอ้ งรู้น้าหนกั ของส่งิ ทจี่ ะนามาเทียบ)

− ตอ้ งรนู้ า้ หนกั ของส่งิ ท่จี ะนามาเทียบอย่างนอ้ ยกี่สง่ิ เพราะอะไร (อยา่ งน้อย 1 สิง่ เพราะต้อง

เทยี บวา่ นา้ หนักของส่งิ ทีจ่ ะคาดคะเนน้าหนักนั้นหนักกว่าส่งิ ที่จะนามาเทียบหรอื เบากว่าส่ิงท่จี ะนามาเทยี บ)

สื่อการเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

จุดประสงคก์ าร วธิ ีวดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน

เรียนรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจกจิ กรรมคาดคะเน กิจกรรมคาดคะเน 50% ขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

นา้ หนกั เปน็ ขีด น้าหนกั เป็นขีด การประเมนิ

2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ

กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทักษะ คณุ ภาพดีข้ึนไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั

ทพ่ี ึงประสงค์ (A) คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะ คณุ ภาพดีข้นึ ไป

ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนอ้ื หา 4 3 21
2. รูปแบบ
เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเป็นระเบียบ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกบั

สถานการณ์

ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ

เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทางาน

ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ
มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ
1 : ควรปรับปรงุ แก้ไข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปญั หาได้สาเรจ็ อย่างมีประสิทธภิ าพ อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปญั หาได้เข้าใจชดั เจนนามาซง่ึ คาตอบที่ถูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ แตน่ ่าจะอธิบายถงึ เหตุผล
หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้

2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สาเร็จเพยี งบางส่วน อธบิ ายถึงเหตผุ ล
หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน
ในการแก้ปัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ าเรจ็

ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏให้เหน็

คณุ ภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

4 : ดมี าก หรือกิจกรรมทตี่ ้องใช้องคค์ วามรู้ทเ่ี รยี นได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรอื กิจกรรมทตี่ ้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่

เพือ่ ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกตใ์ ช้ไดบ้ างสว่ น

2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรอื
กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งคค์ วามรทู้ ี่เรยี นได้บางส่วน

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงยังไมเ่ หมาะสม สรุป

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ : นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะทปี่ รากฏใหเ้ ห็น
คณุ ภาพ

3 : ดีมาก - มคี วามสนใจ / ความตัง้ ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจเป็นบางครัง้

1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาส้ันๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางาน

คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็
คุณภาพ

3 : ดมี าก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - ส่งงานช้ากวา่ กาหนด แต่ได้มกี ารตดิ ต่อชีแ้ จงผ้สู อน มีเหตุผลทีร่ บั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเปน็ นิสยั

1 : พอใช้ - ส่งงานชา้ กวา่ กาหนด
- ปฏบิ ตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชแี้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือใหก้ าลังใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คดิ เป็นร้อยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คิดเปน็ ร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมรคู้ วำมเข้ำใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหนง่ ครูผูส้ อน

ความคิดเหน็ ของฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หน้ำฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคิดเหน็ ของผู้อานวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมคั คี

กิจกรรม คาดคะเนนา้ หนกั เป็นขีด

อปุ กรณ์

1. เคร่อื งชั่งสปริง
2. ขวดบรรจุนา้ ตดิ ป้ายระบุน้าหนกั 5 ขีด 10 ขดี 15 ขดี และ 20 ขดี อย่างละ 1 ขวด
3. สิง่ ของทมี่ ีน้าหนักแตกต่างกัน เชน่ แตงโม สม้ หนังสอื นมกล่อง
4. บตั รคาสาหรับเขียนชื่อสิง่ ของ
5. แถบกระดาษที่มีรอยขีด ดังรปู

วิธีจัดกจิ กรรม

1. ครูแบง่ นกั เรยี นเปน็ กลุ่ม และแจกอปุ กรณ์ข้อ 2 ถึง 5 กลมุ่ ละ 1 ชดุ
2. นกั เรียนวางขวดนา้ บนแถบกระดาษตามน้าหนัก 5 ขีด 10 ขีด 15 ขดี และ 20 ขีด
3. นกั เรยี นคาดคะเนน้าหนกั ของสิง่ ของในรายการอุปกรณ์ข้อ 3 แลว้ เขยี นชอื่ สงิ่ ของ บนแถบกระดาษ
ตรงตาแหนง่ ของน้าหนักตามที่คาดคะเนไว้ เชน่

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 10 เร่อื ง น้าหนัก

เรอ่ื ง การคาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรัมและเปน็ ขดี เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพน้ื ฐานเก่ยี วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ที่ต้องการวัดและนาไปใช้

ตวั ช้ีวัด : ค 2.1 ป.3/8 คาดคะเนนา้ หนักเปน็ กิโลกรัมและเปน็ ขดี

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. บอกวธิ ีคาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรมั และเปน็ ขดี (K)

2. คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรมั และเปน็ ขีด (P)

3. นกั เรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความรทู้ ่ีไดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเรอ่ื งต่อไป (A)

สาระสาคัญ

การคาดคะเนนา้ หนักของสิ่งต่าง ๆ เปน็ การบอกน้าหนักใหใ้ กล้เคยี งน้าหนักจริงโดยไม่ใช้เครอื่ งชงั่ อาจ

เทียบกบั นา้ หนักของสิง่ ตา่ ง ๆ ทีเ่ ราทราบน้าหนักแล้ว

สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้

การคาดคะเนนา้ หนักเป็นกิโลกรมั และเป็นขดี

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1.ความสามารถในการสือ่ สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2.การเช่ือมโยง

3.คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. มวี นิ ัย

2. ใฝ่เรยี นรู้

3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

กิจกรรมการจดั การเรียนรู้

1.ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ทากจิ กรรม ชว่ ยแม่จ่ายตลาด ตามหนังสอื เรียนหน้า 113 และแจกบตั ร

นา้ หนกั กลุ่มละ 1 บตั รแลว้ ให้นักเรียนเลือกผักและผลไมใ้ ห้ไดน้ ้าหนักตามบตั รน้าหนักและตรวจสอบนา้ หนกั

ของผักและผลไม้โดยใช้เครื่องชงั่ สปรงิ และบนั ทกึ ในแบบบันทึกกิจกรรมครูใหน้ ักเรยี นเลอื กผักและผลไม้ใหม่อีก

2 คร้ัง เพื่อใหไ้ ด้น้าหนักใกล้เคยี งกับน้าหนักในบตั รนา้ หนักมากท่สี ดุ แล้วให้แต่ละกลุ่มนาเสนอวธิ ีการเลือกผัก

และผลไมท้ ี่ใกล้เคียงกบั น้าหนักในบตั รน้าหนักมากทส่ี ดุ ครูและนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกบั การคาดคะเน

นา้ หนักเป็นกโิ ลกรมั และเป็นขดี ครอู าจใชค้ าถามต่อไปน้ใี นการอภปิ ราย เชน่

− หน่วยน้าหนักในบัตรน้าหนกั คอื อะไร

− หน่วยน้าหนักนน้ั ชว่ ยในการเลอื กส่ิงของอย่างไร เปน็ ตน้

ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ว่า หน่วยของน้าหนักชว่ ยในการคาดคะเนน้าหนักของสิง่ ของทีต่ อ้ งการได้

โดยพิจารณาจากน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขดี

2.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนคาดคะเนน้าหนักของสิง่ ของท่ี

ครเู ตรียมไว้และบันทึกผลตามหนงั สอื เรียนหน้า 114 จากนั้นร่วมกันตรวจสอบผลการคาดคะเนน้าหนักโดยชัง่

นา้ หนกั จริงของส่งิ ของดว้ ยเครอ่ื งช่ังสปริง ครอู าจนาสิ่งของทท่ี ราบน้าหนักแล้วมาให้นกั เรียนลองยกเทยี บ

น้าหนักก่อนก็ได้เพ่ือใหน้ ักเรียนไดเ้ ทียบกับนา้ หนักของสง่ิ ของทตี่ ้องการคาดคะเน จากน้ันครูและนักเรยี น

รว่ มกนั สรุปสงิ่ ท่ีได้เรียนรู้ การคาดคะเนนา้ หนักของส่งิ ต่าง ๆ เปน็ การบอกน้าหนักใหใ้ กล้เคยี งนา้ หนกั จรงิ โดย

ไมใ่ ช้เคร่ืองชั่งอาจเทียบกบั น้าหนักของสง่ิ ต่าง ๆ ท่เี ราทราบน้าหนักแล้วจากนน้ั ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัด 10.3

หนา้ 82 - 83

ส่อื การเรียนรู้

1.หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วิธวี ดั เครือ่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน

เรยี นรู้

1. ด้านความรู้ (K) ตรวจกจิ กรรม หนกั เท่าไร กิจกรรม หนกั เท่าไร 50% ข้ึนไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

การประเมนิ

2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ

กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ด้านทักษะ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั

ท่พี ึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีข้ึนไป

ท่ีพึงประสงค์

เกณฑก์ ารประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน

ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนื้อหา 4 3 21

2. รูปแบบ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ

ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ต้องเปน็ ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์

3. ความเป็นระเบยี บ เหมาะสมกบั ผลงานสว่ นใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
สถานการณ์ ข้อบกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เป็นระเบียบ
เลก็ น้อย บางสว่ น
ผลงานมคี วาม
เปน็ ระเบียบ

เกณฑป์ ระเมินคณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดบั 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถงึ ปรับปรุง ระดบั 1

เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านทักษะและกระบวนการทางาน

ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลท่ีปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล

3 : ดี มกี ารอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สนิ ใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตุสมผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ

1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ

ทักษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแกป้ ัญหาท่ปี รากฏใหเ้ ห็น

4 : ดมี าก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ อธิบายถงึ เหตุผล
หลกั การและขน้ั ตอนในการแก้ปัญหาได้เขา้ ใจชัดเจนนามาซึง่ คาตอบทีถ่ ูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแก้ปัญหาไดส้ าเรจ็ แตน่ ่าจะอธิบายถงึ เหตุผล
หลักการและข้ันตอนในการแก้ปัญหาได้ดกี ว่านี้

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตผุ ล
หลักการและข้นั ตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มีรอ่ งรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เร่ิมคดิ ใชเ้ หตผุ ล หลกั การและขั้นตอน
ในการแกป้ ญั หา แล้วหยุด อธิบายตอ่ ไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ าเรจ็

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชอื่ มโยง สรปุ องค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเชอ่ื มโยงทปี่ รากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งค์ความรู้ที่เรยี นได้ถูกต้องทุกกจิ กรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ญั หา

หรอื ประยุกต์ใชไ้ ด้อยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชอ่ื มโยงกับสาระคณิตศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามรู้ทีเ่ รียนได้เป็นส่วนใหญ่

เพื่อช่วยในการแก้ปญั หาหรือประยุกตใ์ ช้ได้บางสว่ น

2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์หรอื
กจิ กรรมที่ต้องใชอ้ งค์ความรทู้ ่ีเรียนได้บางสว่ น

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยงั ไม่เหมาะสม สรุป

แกไ้ ข องค์ความรู้ท่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลักษณะท่ปี รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตัง้ ใจเป็นบางครง้ั

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาส้นั ๆ ชอบเล่นในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นกั เรียนมีความม่งุ มนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานกอ่ นหรอื ตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานท่ีได้รับมอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - สง่ งานช้ากว่ากาหนด แต่ได้มกี ารตดิ ต่อชีแ้ จงผู้สอน มเี หตุผลท่ีรบั ฟังได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเปน็ นิสยั

1 : พอใช้ - สง่ งานชา้ กวา่ กาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยต้องอาศัยการช้ีแนะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรยี นจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไมผ่ ่ำนจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพเิ ศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมีควำมร้คู วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรียนมคี วำมรู้เกดิ ทกั ษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหนง่ ครผู ู้สอน

ความคิดเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หัวหนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไมเ่ หมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อคุ ต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรียนบ้ำนศรที องสำมัคคี

กจิ กรรม หนักเท่าไร

อุปกรณ์
1. เครือ่ งชงั่ สปริง
2. สิ่งของทมี่ นี า้ หนักเปน็ กโิ ลกรัม และสงิ่ ของท่ีมนี า้ หนักเป็นขดี

วธิ จี ดั กจิ กรรม
1. ครเู ตรยี มสิ่งของท่ีมนี า้ หนักเป็นกโิ ลกรัม และส่งิ ของทีม่ ีน้าหนกั เป็นขีด
2. ครใู หน้ กั เรยี นยกส่ิงของที่มนี า้ หนักเป็นกิโลกรมั ทคี่ รเู ตรียมไว้ เพือ่ คาดคะเนน้าหนัก และบันทึกผล
3. ครูใหน้ ักเรยี นยกส่ิงของที่มีน้าหนักเปน็ ขีดทค่ี รูเตรยี มไว้ เพ่ือคาดคะเนน้าหนักและบันทกึ ผล
4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบผลการคาดคะเนนา้ หนกั โดยการช่ังจรงิ

หมายเหต:ุ การตรวจสอบความเขา้ ใจในเร่ืองการคาดคะเนนา้ หนักเปน็ กิโลกรัม
และเปน็ ขีดนี้ อาจใชก้ ารสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนขณะทากิจกรรม

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 6

กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 10 เร่ือง น้าหนัก

เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหน่วยน้าหนกั (1) เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง

สอนวันที่_________เดือน________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้นื ฐานเกย่ี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนาไปใช้

ตัวชีว้ ดั : ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทยี บนา้ หนกั ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัมเมตริกตันกับกโิ ลกรัม จากสถานการณต์ า่ ง ๆ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สู่ตวั ช้ีวัด

1.บอกวธิ ีเปล่ียนหน่วยนา้ หนกั โดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหวา่ งกิโลกรัมกบั กรัม (K)

2. เปลย่ี นหนว่ ยน้าหนักโดยใชค้ วามสมั พันธ์ระหวา่ งกโิ ลกรัมกับกรัม (P)

3. นกั เรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความรู้ที่ไดไ้ ปต่อยอดในการเรยี นเรอ่ื งต่อไป (A)

สาระสาคญั

การวดั นา้ หนกั ของส่งิ ต่าง ๆ ควรเลอื กใชเ้ ครื่องชั่งให้เหมาะสมและบอกนา้ หนักโดยใช้หนว่ ยนา้ หนกั ที่เหมาะสม

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยน้าหนัก

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด

1. ความสามารถในการส่อื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเชอ่ื มโยง

3. การแก้ปัญหา

3.คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี นิ ยั

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มงุ่ มั่นในการทางาน

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้

1.ครูทบทวนความสัมพันธข์ องหนว่ ยนา้ หนกั

1 กโิ ลกรมั เท่ากับ 10 ขีด

1 ขดี เท่ากบั 100 กรมั

1 กโิ ลกรัม เทา่ กบั 1,000 กรัม

แลว้ แบง่ นักเรียนเปน็ กล่มุ ให้แตล่ ะกลมุ่ ทากจิ กรรมแบ่งลกู ปัดขาย ตามหนงั สือหนา้ 115 และแจก

อุปกรณ์กลมุ่ ละ 1 ชดุ ให้แบ่งลกู ปัด 1 กิโลกรัม เปน็ 10 ถุงท่มี นี ้าหนกั เทา่ กัน แลว้ ตรวจสอบน้าหนกั ลกู ปดั แต่

ละถงุ โดยใชเ้ คร่ืองช่งั สปริง เขียนนา้ หนักติดทห่ี น้าถุง พร้อมกาหนดราคาขาย ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ ราย
วิธกี ารแบ่งลูกปดั ออกเป็น 10 ถงุ ทม่ี ีนา้ หนักเท่ากนั

2. ครูควรใหน้ กั เรียนทม่ี ีวิธีการแตกต่างกนั มานาเสนอวิธกี ารของตนเอง ครูต้ังคาถามว่า หากแบ่งลูกปัด
1 กิโลกรมั ออกเป็น 10 ถงุ ทีม่ นี า้ หนักเท่ากนั แต่ละถงุ จะมีนา้ หนักเท่าไร

3.จากกิจกรรมครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปว่า ถ้าแบ่งลูกปดั หนัก 1 กโิ ลกรมั ออกเปน็ 10 ส่วน เทา่ ๆ กนั
เมอื่ นาแต่ละสว่ นไปชง่ั จะไดน้ ้าหนกั ส่วนละ 100 กรัม ดังน้ัน 1 กิโลกรมั เท่ากับ 1,000 กรัมครใู หน้ ักเรียนใช้
ความสมั พันธ์“1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรมั ” ตอบคาถามต่อไปน้ี

− ลูกปัดหนัก 2 กิโลกรัม คิดเปน็ กีก่ รัม (2,000 กรมั )
− ลูกปัดหนัก 3 กิโลกรัม คิดเป็นก่กี รมั (3,000 กรัม)
− ลูกปดั หนกั 2 กิโลกรัม 500 กรมั คิดเปน็ กีก่ รัม (2,500 กรัม)
ครใู ห้นักเรยี นอภปิ รายร่วมกันเพื่อหาคาตอบที่ถูกต้องและควรให้โอกาสนกั เรยี นแสดงคาตอบ
และวิธคี ดิ ที่หลากหลาย
1.ครตู ิดแผนภาพแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างกิโลกรมั กับกรัมตามหนังสือหน้า 116 บนกระดาน
ครูอธิบายการอา่ นน้าหนักจากแผนภาพโดยเนน้ ให้นักเรยี นสังเกตวา่
แผนภาพนมี้ ีหน่วยน้าหนักอะไรบา้ ง (กโิ ลกรัมกับ กรัม)
ครูถามนักเรยี นว่า 1 กโิ ลกรัม เทา่ กบั กี่กรัม(1,000 กรัม)

2. ครใู ห้นักเรียนสังเกตเสน้ ทแ่ี สดงน้าหนกั 1 กิโลกรัม ดา้ นบนจะบอกน้าหนักเป็นกโิ ลกรัม ด้านลา่ งจะ
บอกน้าหนักเปน็ กรัม ดังนัน้ เสน้ ทแ่ี สดงน้าหนัก 1 กิโลกรัมกบั เส้นที่แสดงนา้ หนัก 1,000 กรัม จงึ เปน็ เส้น
เดียวกันจากนนั้ ครูถามนักเรยี นว่า มีนา้ หนกั อะไรอีกบา้ งทแี่ สดงนา้ หนกั เปน็ เส้นเดียวกัน เช่น 2 กโิ ลกรัม กบั
2,000 กรมั หรือ 3 กิโลกรัม กับ 3,000 กรมั ครูอธบิ ายการอ่านนา้ หนักจากแผนภาพดังน้ีถา้ นกั เรยี นต้องการ
อ่านนา้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมให้อ่านน้าหนักจากแถบตวั เลขดา้ นบน แต่ถ้าต้องการอา่ นนา้ หนักเป็นกรัมให้อา่ น
น้าหนักจากแถบตวั เลขดา้ นล่าง นกั เรยี นสามารถอ่านนา้ หนักโดยผสมกันระหว่างหน่วยเป็นกิโลกรัมและ
หนว่ ยเป็นกรัม ตามแผนภาพได้ดงั นี้

อ่านนา้ หนกั เงาะ มะมว่ ง และ แตงโม เป็นกิโลกรัม เปน็ กรมั หรือ เปน็ กิโลกรมั และกรัม

จากนน้ั ครูใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันบอกนา้ หนักของส่งิ ต่าง ๆ ตามแผนภาพในกรอบท้ายหนังสือเรยี นหนา้ 116

1) ปลาสวายหนัก 1 กโิ ลกรมั 500 กรัม หรือ 1,500 กรัม

2) ปลากะพงหนัก 2 กโิ ลกรัม 200 กรัม หรือ 2,200 กรัม

3. ครใู หน้ ักเรยี นใช้ความสัมพนั ธ์ 1 กิโลกรัม เท่ากบั 1,000 กรมั ในการเปลย่ี น หน่วยนา้ หนักตาม

ตัวอย่างในหนงั สือเรียนหน้า117 เช่น นา้ หนัก 3 กิโลกรมั 756 กรมั เท่ากับนา้ หนักกก่ี รัม นักเรียนอาจใช้

แผนภาพแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรมั จะได้ว่า3 กโิ ลกรัม เทา่ กับ 3,000 กรัม ดงั นั้น 3 กิโลกรัม

756 กรัม เทา่ กบั 3,000 กรัม กบั 756 กรมั เป็น 3,756 กรัม ครอู าจถามในทางกลับกนั เช่น นา้ หนัก 2,498

กรัม เท่ากบั น้าหนักกี่กโิ ลกรมั กกี่ รมั นกั เรียนอาจใชแ้ ผนภาพแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างกโิ ลกรัมกบั กรมั จะได้

วา่ 2 กิโลกรัม เท่ากบั 2,000 กรัม ดังนั้น2,498 กรัม เทา่ กับ 2 กโิ ลกรัม กบั 498 กรัมหรอื 2 กโิ ลกรมั 498

กรัม จากนั้นครูให้นักเรยี นช่วยกนั เปลยี่ นหน่วยนา้ หนักใหเ้ ปน็ หน่วยน้าหนักตามที่กาหนดในกรอบท้ายหนังสือ

เรยี นหนา้ 117

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรยี นตอบคาถามตามหนังสอื เรียนหน้า

118 ซ่ึงนกั เรียนต้องใช้ความสัมพันธร์ ะหว่างหนว่ ยนา้ หนกั กิโลกรัมและกรัมครูอาจทบทวนความสมั พนั ธ1์

กโิ ลกรมั เทา่ กบั 1,000 กรัม กอ่ นแลว้ จงึ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น จากน้นั ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั

ตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ สิง่ ทไี่ ดเ้ รียนรู้ การบอกน้าหนักของสงิ่ ตา่ ง ๆ อาจบอกเป็นกโิ ลกรัมและกรมั

หรอื บอกเปน็ กรมั โดยใช้ ความสมั พันธ์1 กโิ ลกรมั เทา่ กับ 1,000 กรัมจากน้ันใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัด 10.4

หนา้ 84 – 86 จากน้นั ให้ทาใบงานเพิม่ เติม

ส่อื การเรียนรู้

1.หนงั สือเรยี นคณิตศาสตร์ ป.3

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จดุ ประสงค์การ วธิ วี ดั เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน

เรยี นรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจกิจกรรม หนกั เท่าไร กจิ กรรม หนักเท่าไร 50% ขึน้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

การประเมนิ

2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ

กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นทักษะ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป

กระบวนการ

3. ด้านคุณลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั
ท่ีพงึ ประสงค์ (A) คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณลกั ษณะ คุณภาพดีขนึ้ ไป

ท่พี งึ ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝึกหัด/ใบงาน

ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถูกต้องของ
เนอ้ื หา 4 3 21
2. รปู แบบ
เนือ้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ
3. ความเปน็ ระเบยี บ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เป็นส่วนใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

นา่ สนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางสว่ น เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกับ

สถานการณ์

ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบยี บ

เล็กน้อย บางสว่ น

เกณฑ์ประเมินคณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดบั 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทางาน

ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการให้เหตุผลทป่ี รากฏให้เห็น
4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอยา่ งมีเหตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงทถี่ ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสนิ ใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไม่สมเหตุสมผลในการประกอบการตดั สินใจ
มีความพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ
1 : ควรปรับปรุงแก้ไข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแกป้ ัญหาที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดีมาก ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาไดส้ าเรจ็ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลกั การและข้นั ตอนในการแก้ปญั หาได้เขา้ ใจชัดเจนนามาซ่งึ คาตอบทีถ่ ูกต้อง

3 : ดี ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สาเรจ็ แต่นา่ จะอธบิ ายถึงเหตุผล
หลักการและข้ันตอนในการแก้ปญั หาได้ดกี วา่ น้ี

2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สาเรจ็ เพียงบางสว่ น อธิบายถงึ เหตุผล
หลกั การและขั้นตอนในการแกป้ ญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มรี อ่ งรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เรมิ่ คิดใชเ้ หตุผล หลักการและขนั้ ตอน
ในการแกป้ ญั หา แล้วหยุด อธิบายตอ่ ไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สาเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเช่ือมโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชอื่ มโยงท่ีปรากฏใหเ้ ห็น

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดมี าก หรือกจิ กรรมที่ต้องใช้องค์ความรทู้ ี่เรียนได้ถูกต้องทุกกจิ กรรมเพื่อชว่ ยในการแก้ปญั หา

หรือประยุกตใ์ ช้ได้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู เี่ รยี นได้เปน็ ส่วนใหญ่

เพ่อื ชว่ ยในการแก้ปัญหาหรือประยกุ ตใ์ ช้ไดบ้ างส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่ือมโยงกับสาระคณิตศาสตร์หรอื
กจิ กรรมท่ีตอ้ งใช้องค์ความรูท้ ่ีเรียนได้บางสว่ น

1 : ควรปรบั ปรงุ นาความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงยงั ไม่เหมาะสม สรุป

แกไ้ ข องค์ความร้ทู ี่ได้

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดบั คุณลักษณะทป่ี รากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

3 : ดีมาก - มคี วามสนใจ / ความต้ังใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเปน็ บางครั้ง

1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาสนั้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรียน

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ : นกั เรียนมคี วามมุ่งม่ันในการทางาน

คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏใหเ้ ห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผิดชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบัติตนเองจนเป็นนิสยั

2 : ดี - ส่งงานช้ากว่ากาหนด แตไ่ ด้มีการติดต่อชีแ้ จงผ้สู อน มีเหตผุ ลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผดิ ชอบในงานทไี่ ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเป็นนสิ ยั

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กาหนด
- ปฏิบตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชแ้ี นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรียนรู้ ............... คน คิดเปน็ ร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมร้คู วำมเข้ำใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุน่ เรือน)
ตำแหนง่ ครผู ู้สอน


Click to View FlipBook Version