The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by miw_chaya, 2022-04-21 03:39:07

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

10.บทที่ 10 การวัดน้ำหนัก15 ชม

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมัคคี

กิจกรรม แบ่งลกู ปัดขาย

อปุ กรณ์

1. ลกู ปัดหนัก 1 กิโลกรัม
2. ถุงพลาสติก 10 ถุง
3. เคร่ืองชัง่ สปรงิ

วิธจี ัดกิจกรรม

1. ครูแบ่งนกั เรยี นเป็นกลมุ่ และแจกอปุ กรณ์ข้อ 1 และ 2 พร้อมบอกราคาลูกปดั 1 กิโลกรมั
2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มคิดวธิ แี บ่งลูกปดั เป็น 10 ถงุ ท่ีแต่ละถงุ มนี า้ หนักเทา่ กนั จากน้ันช่วยกันแบ่ง
ลกู ปดั ใสถ่ งุ พลาสตกิ และนาเสนอวิธกี ารแบง่ ลูกปัด
3. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของนา้ หนักลูกปัดแต่ละถุง และร่วมกันอภปิ ราย
เกีย่ วกับวธิ ีการแบง่ ลกู ปัด
4. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มเขียนน้าหนักตดิ หนา้ ถุง และกาหนดราคาขาย พรอ้ มทง้ั บอกเหตุผล

ใบงานท่ี 6 เร่ือง ความสมั พันธ์ระหว่างหนว่ ยน้าหนัก

เลือกเครอ่ื งชั่งท่ีเหมาะสม
1. 2,300 กรัม เท่ากบั กก่ี โิ ลกรัม กี่กรัม

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

2. 3,500 กรัม เทา่ กับกี่กิโลกรมั กี่กรมั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

3. 7 กิโลกรมั 910 กรัม เทา่ กับกี่กรัม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

4. 8 กโิ ลกรัม 253 กรัม เท่ากับกี่กรัม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 7

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 เร่ือง นา้ หนัก

เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหว่างหนว่ ยน้าหนัก (2) เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

สอนวันท่ี_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเก่ยี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทีต่ ้องการวัดและนาไปใช้

ตัวชวี้ ัด : ค 2.1 ป.3/9 เปรียบเทยี บนา้ หนักระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตนั กบั กิโลกรมั จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ
จุดประสงค์การเรยี นรสู้ ่ตู วั ช้ีวัด

1. บอกวิธีเปล่ยี นหนว่ ยนา้ หนกั โดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างเมตริกตันกับกิโลกรัม (K)

2. เปลี่ยนหน่วยนา้ หนกั โดยใช้ความสมั พันธร์ ะหวา่ งเมตรกิ ตันกับกิโลกรัม (P)

3. นักเรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปต่อยอดในการเรยี นเรอ่ื งต่อไป (A)

สาระสาคัญ

การวัดนา้ หนักของสง่ิ ต่าง ๆ ควรเลอื กใช้เคร่ืองชั่งให้เหมาะสมและบอกนา้ หนักโดยใช้หนว่ ยนา้ หนกั ที่เหมาะสม

สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งหน่วยน้าหนัก

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1. ความสามารถในการสอื่ สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเชื่อมโยง

3. การแกป้ ญั หา

3.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวนิ ยั

2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

ชิน้ งานหรอื ภาระงาน

ใบงานท่ี 7 เร่อื ง ความสมั พนั ธ์ระหว่างหนว่ ยน้าหนกั

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้

1.ครยู กตัวอยา่ งสิ่งของท่ีมีน้าหนกั มาก ๆเช่น รถบรรทกุ ข้าว รถบรรทกุ อ้อย กระสอบทราย

เป็นตน้ เม่ือนาส่งิ เหล่าน้ีไปชง่ั นา้ หนักและบอกน้าหนกั จะบอกนา้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั ถา้ สง่ิ ของมี

น้าหนกั มากขึน้ ไปอีก เช่น 23,980 กิโลกรัม นอกจากจะบอกน้าหนกั ของสิง่ เหลา่ น้ีเปน็ กโิ ลกรมั แล้วยงั สามารถ

บอกนา้ หนักเป็นเมตริกตนั

โดยครูอธิบายว่า น้าหนัก 1 เมตรกิ ตนั เท่ากับน้าหนกั 1,000 กโิ ลกรมั หน่วยเมตริกตนั เรยี กส้นั ๆ ว่า
ตนั ครูยกตวั อย่างสงิ่ ของที่มีน้าหนักเป็นตนั ตามหนังสอื เรยี นหน้า 119 เชน่

รถยนตข์ นาดเลก็ หรือ รถยนต์อีโค (Eco car) มีน้าหนักประมาณ 1 ตนั หรือ 1,000 กโิ ลกรมั หรอื
ถงุ ปนู ซเี มนต์ถุงละ 50 กิโลกรัมจานวน 20 ถงุ จะหนักเทา่ กับ 1 ตัน หรอื 1,000 กิโลกรัม จากนัน้ ครถู าม
นักเรยี นว่า สตั วข์ นาดใหญเ่ ช่น ชา้ ง หรือ แรด ตวั โตเต็มทอ่ี าจมนี า้ หนกั ถึง 3,000 กิโลกรมั คิดเปน็ กี่ตัน (3 ตัน)
ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ ว่า หนว่ ยเมตริกตัน หรือ ตัน เขียนเป็นอักษรยอ่ วา่ ต. สามารถเขียนเป็นภาษาองั กฤษว่า
ton หรอื เขยี นเป็นอักษรย่อว่า t

2. ครูติดแผนภาพแสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเมตริกตนั กับกิโลกรัมตามหนังสือเรียนหนา้ 120 ครู
อธบิ ายการอ่านนา้ หนกั จากแผนภาพโดยเน้นให้นกั เรยี นสงั เกตว่า แผนภาพนี้มีหน่วยน้าหนกั อะไรบา้ ง
(ตนั กบั กิโลกรมั )ครูถามนักเรียนว่า 1 ตัน เทา่ กบั ก่ีกิโลกรมั (1,000 กโิ ลกรัม) ครูใหน้ กั เรียนสงั เกตเส้น
ทแี่ สดงนา้ หนกั 1 ตัน ด้านบนจะบอกน้าหนัก เปน็ ตนั ด้านล่างจะบอกนา้ หนกั เป็นกิโลกรัม
ดังนน้ั เสน้ ท่แี สดงนา้ หนัก 1 ตนั กับเส้นทแี่ สดง นา้ หนัก 1,000 กิโลกรมั จงึ เปน็ เสน้ เดียวกัน
จากนั้นครูถามนกั เรยี นวา่ มีน้าหนักอะไรอกี บ้างท่ีแสดงน้าหนกั เปน็ เสน้ เดยี วกนั เชน่ 2 ตนั กับ
2,000 กโิ ลกรมั หรอื 3 ตนั กับ 3,000 กิโลกรัมครูอธบิ ายการอ่านน้าหนกั จากแผนภาพดังน้ี
ถ้านักเรยี นต้องการอ่านนา้ หนักเปน็ ตันให้อา่ นน้าหนกั จากแถบตัวเลขด้านบน แต่ถ้าต้องการอา่ น
น้าหนกั เปน็ กโิ ลกรัมให้อ่านนา้ หนักจากแถบตวั เลขด้านล่าง นักเรียนสามารถอ่านน้าหนักโดยผสมกนั
ระหวา่ งหน่วยเปน็ ตนั และหน่วยเปน็ กิโลกรมั ตามแผนภาพไดด้ งั น้ีอา่ นน้าหนักวาฬ ถุงทรายบ๊กิ แบค
และ รถบรรทุก เปน็ ตัน เป็นกิโลกรัม หรือ เปน็ ตันและกโิ ลกรมั

3.ครใู หน้ ักเรยี นใชค้ วามสัมพนั ธ์ 1 เมตริกตัน เทา่ กับ 1,000 กิโลกรัม ในการเปล่ยี นหนว่ ย

นา้ หนักตามตัวอยา่ งในหนงั สือเรียนหนา้ 121 เช่น นา้ หนัก 1 ตนั 240 กโิ ลกรมั เท่ากบั น้าหนักกี่

กิโลกรมั นกั เรียนอาจใช้แผนภาพแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างตันกับกโิ ลกรัม จะไดว้ า่ 1 ตัน เทา่ กับ

1,000 กโิ ลกรัมดังนน้ั 1 ตนั 240 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กิโลกรัม กบั 240 กิโลกรัม เปน็ 1,240

กิโลกรัม ครอู าจถามในทางกลบั กนั เช่น น้าหนัก 3,592 กิโลกรัม เท่ากับนา้ หนกั ก่ีตัน กี่กิโลกรมั

นกั เรยี นอาจใช้แผนภาพแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งตันกับกิโลกรมั จะได้วา่ 3 ตัน เท่ากบั 3,000

กิโลกรัม ดังน้ัน 3,592 กโิ ลกรัม เท่ากบั 3 ตนั กบั 592 กิโลกรัม หรือ 3 ตนั 592 กิโลกรมั จากนน้ั ครู

ให้นกั เรยี นชว่ ยกันเปลย่ี นหนว่ ยน้าหนกั ใหเ้ ป็นหน่วยนา้ หนักตามท่ีกาหนดในกรอบท้ายหนังสือเรยี น

หน้า 121

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียนเปน็ รายบุคคลโดยใหน้ ักเรยี นตอบคาถามตามหนงั สือเรยี นหน้า

122ซ่งึ นกั เรยี นต้องใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยนา้ หนักเมตริกตันและกโิ ลกรมั ครูอาจทบทวน

ความสัมพันธ์ 1 เมตริกตนั เท่ากับ 1,000 กิโลกรัม กอ่ นแล้วจงึ ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น

จากนน้ั ครูและนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ สง่ิ ทีไ่ ด้เรียนรู้ จากนั้นให้นกั เรยี นทาใบ

งานเพ่ิมเตมิ

ส่ือการเรียนรู้

1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3

2. ใบงานท่ี 8 เรอื่ ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยนา้ หนัก

การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงคก์ าร วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ

เรยี นรู้

1. ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ

2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป

กระบวนการ

3. ด้านคุณลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดับ

ทพี่ ึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ด้านคุณลกั ษณะ คณุ ภาพดีข้ึนไป

ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนอ้ื หา 4 3 21
2. รูปแบบ
เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเป็นระเบียบ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกบั

สถานการณ์

ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ

เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ
มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ
1 : ควรปรับปรงุ แก้ไข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปญั หาได้สาเรจ็ อย่างมีประสิทธภิ าพ อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปญั หาได้เข้าใจชดั เจนนามาซง่ึ คาตอบที่ถูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ แตน่ ่าจะอธิบายถงึ เหตุผล
หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้

2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สาเร็จเพยี งบางส่วน อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน
ในการแก้ปัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ าเรจ็

ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรปุ องค์ความรู้

คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏให้เหน็

คณุ ภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

4 : ดมี าก หรือกิจกรรมทตี่ ้องใช้องคค์ วามรู้ทเ่ี รยี นได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรอื กิจกรรมทตี่ ้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่

เพือ่ ชว่ ยในการแกป้ ญั หาหรอื ประยุกตใ์ ช้ไดบ้ างสว่ น

2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระคณิตศาสตร์หรอื
กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งคค์ วามรทู้ ี่เรยี นได้บางส่วน

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงยังไมเ่ หมาะสม สรุป

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ : นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะทปี่ รากฏใหเ้ ห็น
คณุ ภาพ

3 : ดีมาก - มคี วามสนใจ / ความตัง้ ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจเป็นบางครัง้

1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาส้ันๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางาน

คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็
คุณภาพ

3 : ดมี าก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - ส่งงานช้ากวา่ กาหนด แต่ได้มกี ารตดิ ต่อชีแ้ จงผ้สู อน มีเหตุผลทีร่ บั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเปน็ นิสยั

1 : พอใช้ - ส่งงานชา้ กวา่ กาหนด
- ปฏบิ ตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชแี้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือใหก้ าลังใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ................... คน คิดเป็นรอ้ ยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คิดเป็นร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหน่ง ครผู ูส้ อน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมคั คี

ใบงานที่ 7 เรื่อง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยน้าหนกั

1. 3,300 กโิ ลกรมั เทา่ กบั ก่ีตนั กีก่ ิโลกรมั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

2. 50,500 กโิ ลกรมั เทา่ กบั กตี่ นั ก่กี โิ ลกรัม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................

3. 7 ตัน 24 กโิ ลกรัม เท่ากับก่ีกิโลกรัม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. 25 ตนั 250 กิโลกรมั เท่ากับกก่ี ิโลกรัม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………….……………………….................................................................................................................……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 10 เร่อื ง นา้ หนัก

เร่อื ง การเปรยี บเทียบน้าหนัก เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง

สอนวนั ท่ี_________เดือน________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกยี่ วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทตี่ ้องการวดั และนาไปใช้

ตวั ช้ีวดั : ค 2.1 ป.3/9 เปรียบเทียบนา้ หนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัมเมตรกิ ตนั กับกิโลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ส่ตู ัวชี้วัด

1. บอกวธิ ีเปรยี บเทียบนา้ หนักโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกโิ ลกรมั กบั กรัมเมตริกตันกับกิโลกรมั (K)

2. เปรยี บเทียบน้าหนกั โดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างกโิ ลกรัมกับกรัม เมตรกิ ตนั กบั กโิ ลกรมั (P)

3. นักเรยี นมคี วามมุ่งในการทางานและสามารถนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปต่อยอดในการเรยี นเรอื่ งตอ่ ไป (A)

สาระสาคญั

การเปรยี บเทียบน้าหนักทีม่ หี น่วยตา่ งกนั ต้องเปลี่ยนหน่วยใหเ้ ป็นหนว่ ยเดยี วกนั กอ่ นแลว้ จึงนามา

เปรยี บเทียบกันโดยใช้ความสัมพนั ธ์

1 กโิ ลกรมั เท่ากับ 1,000 กรัม

หรือ 1 เมตรกิ ตัน เท่ากบั 1,000 กโิ ลกรมั

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

การเปรยี บเทียบนา้ หนัก

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1. ความสามารถในการสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเชื่อมโยง

3.คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

1. มีวนิ ัย

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน

ใบงานท่ี 8 เรือ่ ง การเปรียบเทยี บนา้ หนัก

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
1. ครทู บทวนเก่ยี วกับความสัมพนั ธ์ของหนว่ ยน้าหนัก โดยการถาม - ตอบ เชน่
− น้าหนัก 5 กโิ ลกรมั เทา่ กับกก่ี รัม (5,000 กรัม)
− น้าหนกั 2 ตนั เท่ากบั กี่กิโลกรมั (2,000 กิโลกรมั )
− น้าหนัก 2,370 กรมั เท่ากับกก่ี ิโลกรัม ก่ีกรัม (2 กิโลกรมั 370 กรมั )
− นา้ หนกั 12,500 กิโลกรมั เทา่ กบั กี่ตัน ก่กี โิ ลกรัม (12 ตนั 500 กิโลกรัม)
จากน้นั ครยู กตัวอย่างการเปรียบเทียบนา้ หนกั ของสิ่งของทีเ่ ป็นหน่วยเดียวกันก่อน เช่นปลาหนกั 2

กิโลกรัม 500 กรมั กับ หมึกหนัก 5 กิโลกรัม 100 กรมั สงิ่ ใดหนกั กว่า นกั เรียนควรตอบได้วา่ หมึกหนักกว่า
ปลาเพราะ 5 กโิ ลกรัม มากกวา่ 2 กโิ ลกรัม จากนน้ั ครูยกตัวอยา่ งการเปรยี บเทียบนา้ หนักของสง่ิ ของที่เปน็
หนว่ ยต่างกันซง่ึ ต้องใช้ความสัมพนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยน้าหนกั ในการเปลีย่ นหน่วยนา้ หนักใหเ้ ป็นหน่วยเดียวกัน
ตามหนงั สือเรยี นหนา้ 123 เชน่ องุ่นหนกั 2 กิโลกรัม500 กรมั กบั กงุ้ แหง้ หนัก 1,200 กรมั องุ่นหนกั กว่าหรอื
เบากว่ากุ้งแห้ง ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกตว่าหน่วยน้าหนักของสิ่งของสองสิง่ ที่นามาเปรยี บเทียบกันน้นั มีหนว่ ย
น้าหนกั ต่างกนั ครูอาจใช้ทาการถาม - ตอบ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นใช้ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยน้าหนักในการ
เปล่ยี นหนว่ ยนา้ หนัก ดงั น้ี

− องุน่ หนักเทา่ ไร (2 กิโลกรมั 500 กรมั )
− กุ้งแห้งหนักเท่าไร (1,200 กรมั )
− สองสง่ิ น้มี หี นว่ ยนา้ หนกั เหมอื นกนั หรือตา่ งกัน (ตา่ งกัน)
− ถ้าตอ้ งการเปรยี บเทยี บนา้ หนักของสองสิง่ นี้ต้องทาอยา่ งไร (เปลยี่ นหน่วยนา้ หนกั ให้เป็นหน่วย
เดยี วกัน)
− เปล่ียนหน่วยน้าหนกั ของส่ิงใดให้เปน็ หน่วยอะไร (เปลี่ยนหน่วยน้าหนักขององนุ่ เปน็ กรมั
หรอื เปลยี่ นหน่วยนา้ หนกั ของก้งุ แหง้ เป็นกิโลกรมั และกรัม)
− ถ้าเปลย่ี นหน่วยนา้ หนักขององนุ่ เปน็ กรมั จะได้องุ่นหนักก่กี รัม (2,500 กรมั )
− เปรียบเทยี บน้าหนกั ขององุ่น 2,500 กรัม กับ กงุ้ แหง้ 1,200 กรมั องนุ่ เบากวา่ หรอื
หนกั กวา่ กงุ้ แห้ง (องุน่ หนกั กวา่ กุ้งแหง้ )
− ถ้าเปลี่ยนหนว่ ยน้าหนักของกุง้ แห้งเปน็ กิโลกรัมและกรัม จะได้กงุ้ แห้งหนักกี่กโิ ลกรัม กี่กรัม
(1 กิโลกรมั 200 กรมั )

− เปรียบเทยี บน้าหนักขององุ่น 2 กิโลกรัม 500 กรัม กับ กุ้งแห้ง 1 กโิ ลกรมั 200 กรมั องุ่นเบากวา่
หรอื หนักกวา่ กุ้งแหง้ (องุน่ หนักกว่ากุ้งแหง้ )

2. ครูยกตวั อยา่ งการเปรียบเทยี บน้าหนกั ที่เป็นหน่วยตา่ งกนั เพิ่มเตมิ อีก 2 - 3 ตวั อยา่ ง
3. ครยู กตัวอย่างการเปรยี บเทยี บน้าหนักของสงิ่ ท่ีมหี นว่ ยนา้ หนกั ต่างกันโดยใชส้ ถานการณ์ที่
เกดิ ขนึ้ ในชวี ิตจริง เช่น การกาหนดนา้ หนกั รถท่ีตอ้ งการใช้สะพานตามหนงั สอื เรียนหน้า 124 ครูติด
บตั รภาพสะพานและป้ายกาหนดนา้ หนักรถ 7 ตัน ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่าป้าย
กาหนดน้าหนักรถที่ตดิ บนสะพานหมายความว่าอย่างไร ซง่ึ ป้ายดงั กลา่ ว จะเป็นป้ายกาหนดนา้ หนัก
สงู สุดของรถท่สี ามารถใชส้ ะพานนี้ ไดเ้ ช่น ปา้ ยน้ีกาหนดให้รถท่สี ามารถใชส้ ะพานนมี้ นี า้ หนักได้ไม่เกนิ
7 ตนั ครใู ห้นกั เรียนชว่ ยกันบอกนา้ หนักของรถบรรทุก แล้วครถู ามนกั เรียนว่ารถบรรทกุ คนั นี้สามารถ
ใช้สะพานน้ีไดห้ รอื ไมเ่ พราะเหตุใด ครอู าจใช้การถาม - ตอบ เพือ่ ให้นักเรยี นเปรียบเทียบน้าหนักของ
รถบรรทกุ กับนา้ หนักท่กี าหนดไวท้ ีป่ า้ ยกาหนดนา้ หนักรถ ดังนี้

− รถบรรทุกหนกั เท่าไร (8,800 กิโลกรัม)
− ปา้ ยกาหนดน้าหนักรถไวเ้ ท่าไร (7 ตนั )
− จะร้ไู ด้อยา่ งไรว่า รถคนั น้สี ามารถใช้สะพานนี้ได้หรือไม่ (เปรียบเทยี บน้าหนัก8,800
กิโลกรมั กบั 7 ตนั )
− เปรียบเทียบนา้ หนัก 8,800 กิโลกรัม กบั 7 ตัน ได้อยา่ งไร (เปล่ียนหน่วยน้าหนกั
กิโลกรัมเป็นตนั หรอื เปล่ยี นหนว่ ยน้าหนกั ตนั เปน็ กโิ ลกรัม)
− นา้ หนกั 8,800 กโิ ลกรมั เทา่ กบั ก่ตี นั ก่ีกโิ ลกรัม (8 ตนั 800 กิโลกรมั )
− น้าหนกั รถ 8 ตนั 800 กโิ ลกรัม มากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ น้าหนกั 7 ตัน ท่ปี ้ายกาหนด
(มากกว่า) หรืออาจเปล่ียนหน่วยน้าหนกั ดงั นี้
− นา้ หนกั 7 ตนั เท่ากับกี่กิโลกรมั (7,000 กิโลกรมั )
− น้าหนกั 8,800 กโิ ลกรมั มากกว่าหรือน้อยกว่า น้าหนกั 7,000 กโิ ลกรมั (มากกว่า)
ดงั น้นั รถบรรทุกคันนสี้ ามารถใช้สะพานนี้ไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ไดเ้ พราะมนี ้าหนกั
เกินจากที่ป้ายกาหนดน้าหนักไว้)

4.ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คลโดยให้นักเรยี นบอกวา่ สิง่ ใดเบาท่สี ุดและสิง่ ใด

หนักที่สุดตามหนงั สือเรยี นหน้า 126 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ ส่งิ ที่ได้

เรียนรู้ จากน้ันใหท้ าใบงานเพิ่มเติม

สอ่ื การเรยี นรู้

1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3

2. ใบงานท่ี 9 เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บนา้ หนกั

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วธิ ีวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน

เรยี นรู้

1. ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ข้ึนไป ถือว่าผ่านเกณฑ์

การประเมิน

2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นทักษะ คณุ ภาพดีขึ้นไป

กระบวนการ

3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ

ทีพ่ ึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดา้ นคุณลักษณะ คุณภาพดีข้ึนไป

ทพ่ี ึงประสงค์

เกณฑก์ ารประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนือ้ หา 4 3 21
2. รปู แบบ
เนื้อหาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเปน็ ระเบียบ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เป็นส่วนใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถูกต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เปน็ ส่วนใหญ่ ถูกต้องบางสว่ น เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกบั

สถานการณ์

ผลงานมีความ ผลงานสว่ นใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เป็นระเบยี บ ข้อบกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เป็นระเบียบ

เลก็ น้อย บางส่วน

เกณฑ์ประเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นทักษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏใหเ้ หน็
4 : ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มกี ารอ้างอิงที่ถูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ
มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ
1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปัญหา

คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก ใชก้ ระบวนการแก้ปญั หาไดส้ าเรจ็ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
หลักการและข้ันตอนในการแก้ปญั หาได้เขา้ ใจชดั เจนนามาซึ่งคาตอบท่ีถูกต้อง

ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาไดส้ าเร็จ แตน่ า่ จะอธบิ ายถึงเหตุผล
3 : ดี หลักการและข้นั ตอนในการแก้ปญั หาได้ดีกว่าน้ี

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพยี งบางสว่ น อธบิ ายถงึ เหตุผล
หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้บางสว่ น

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เรม่ิ คดิ ใชเ้ หตุผล หลกั การและขั้นตอน
ในการแก้ปญั หา แลว้ หยดุ อธิบายตอ่ ไม่ได้ แกป้ ญั หาไมส่ าเรจ็

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเช่ือมโยงที่ปรากฏให้เห็น

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมที่ต้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู ่เี รียนได้เปน็ สว่ นใหญ่

เพื่อช่วยในการแกป้ ัญหาหรือประยกุ ต์ใช้ไดบ้ างส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอื่ มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรือ
กจิ กรรมท่ีต้องใช้องค์ความรู้ที่เรยี นไดบ้ างสว่ น

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเป็นบางครั้ง

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตั้งใจในระยะเวลาสน้ั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียนมีความมุ่งมนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั

2 : ดี - สง่ งานชา้ กว่ากาหนด แต่ได้มีการติดต่อชี้แจงผูส้ อน มีเหตผุ ลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเป็นนิสยั

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากว่ากาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยตอ้ งอาศยั การชีแ้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมร้คู วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหนง่ ครูผสู้ อน

ความคิดเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หัวหนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไมเ่ หมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อคุ ต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรียนบ้ำนศรที องสำมัคคี

ใบงานท่ี 8 เร่ือง การเปรียบเทยี บนา้ หนัก

สิ่งใดเบาทส่ี ุด

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

สิ่งใดหนกั ทส่ี ดุ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 9

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 10 เรื่อง น้าหนกั

เรอื่ ง การบวกและการลบเกีย่ วกบั น้าหนัก เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง

สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพนื้ ฐานเก่ียวกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ท่ีต้องการวดั และนาไปใช้

ตวั ช้วี ัด : ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทียบนา้ หนกั ระหวา่ งกิโลกรมั กบั กรัมเมตริกตันกบั กิโลกรัม จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ
จุดประสงค์การเรียนร้สู ่ตู วั ชี้วดั

1. บอกวธิ ีหาผลบวกและผลลบเกีย่ วกบั น้าหนกั (K)

2. หาผลบวกและผลลบเก่ียวกบั น้าหนัก (P)

3. นักเรียนมีความมุ่งในการทางานและสามารถนาความรทู้ ่ีได้ไปต่อยอดในการเรยี นเรอ่ื งตอ่ ไป (A)

สาระสาคญั

การหาผลบวกหรอื ผลลบเก่ียวกับนา้ หนกั ทาไดโ้ ดยนาน้าหนักท่ีเป็นหนว่ ยเดียวกนั มาบวกหรอื ลบกัน

สาระการเรยี นรู้

1.ความรู้

การบวกและการลบเก่ยี วกบั น้าหนกั

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1. ความสามารถในการสอ่ื สารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเช่อื มโยง

3.คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี นิ ัย

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน

ช้นิ งานหรือภาระงาน

ใบงานท่ี 9 เรอ่ื ง การเปรียบเทยี บน้าหนัก

กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้

1. ครูทบทวนการบวกและการลบเก่ียวกบั น้าหนกั ท่ีเปน็ หน่วยเด่ยี วและเปน็ หน่วยเดียวกัน เช่น

− 2 ตัน บวก 1 ตนั เท่ากบั เท่าไร (3 ตัน)

− 500 กโิ ลกรมั ลบดว้ ย 150 กิโลกรมั เทา่ กับเทา่ ไร (350 กิโลกรัม)

− 1,420 กรัม ลบด้วย 872 กรัม เทา่ กบั เทา่ ไร (548 กรมั )

ครูทบทวนการบวกเกย่ี วกบั น้าหนักทเ่ี ป็นหน่วยผสมและเป็นหนว่ ยเดยี วกัน โดยสมุ่ ให้นกั เรียนออกมาเขยี น
แสดงวิธีหาผลบวกบนกระดาน เช่น

− 20 กิโลกรัม 430 กรมั บวก 10 กิโลกรมั 120 กรมั เท่ากับเทา่ ไร นกั เรยี นอาจเขียนแสดง
วธิ หี าผลบวก ไดด้ ังนี้

ดงั นน้ั 20 กิโลกรมั 430 กรัม บวก 10 กโิ ลกรัม 120 กรัม เท่ากบั 30 กิโลกรมั 550 กรมั
จากนัน้ ครยู กตวั อยา่ งการบวกเก่ียวกบั นา้ หนกั ทเี่ ป็นหนว่ ยต่างกันและเปน็ หนว่ ยผสมตามหนังสือเรยี น

หน้า 127 เชน่ 2 ตนั บวก 1,750 กโิ ลกรมั เท่ากับเท่าไร ครอู าจใชก้ ารถาม – ตอบ ให้นักเรียนสังเกตว่า หน่วย
น้าหนักเป็นหนว่ ยเดยี วกันหรือหนว่ ยตา่ งกัน ถ้าต้องการนามาบวกกันต้องเปลี่ยนหนว่ ยใหเ้ ปน็ หน่วยเดียวกัน
แล้วนาจานวนทเ่ี ป็นหนว่ ยเดียวกันมาบวกกัน เชน่ ตอ้ งเปลี่ยน 2 ตนั เป็น 2,000 กิโลกรัม แลว้ นามาบวกกับ
1,750 กโิ ลกรมั ได้3,750 กโิ ลกรมั หรือ3 ตนั 750 กโิ ลกรมั หรอื เปลย่ี น 1,750 กิโลกรมั เปน็ 1 ตนั 750
กิโลกรัม แล้วจึงนาไปบวกกับ 2 ตัน เขียนแสดงวิธีหาคาตอบไดด้ ังน้ี

ซง่ึ ในการสอนการบวกเกย่ี วกับน้าหนักทเ่ี ปน็ หนว่ ยต่างกนั น้ัน ครูอาจเน้นยา้ โดยการให้นกั เรยี นหาคาตอบหลาย
ๆ โจทย์เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปการบวกเกี่ยวกับน้าหนัก ดังน้คี รูติดบตั รโจทย์

− 2 ตนั บวก 750 กิโลกรัม เท่ากับเท่าไร
− 2 ตัน บวก 1 ตัน 750 กิโลกรัม เท่ากับเท่าไร
− 2 ตัน บวก 1,750 กโิ ลกรัม เท่ากบั เท่าไร
2.ครูทบทวนการลบเกี่ยวกับน้าหนักที่เปน็ หนว่ ยผสมและเป็นหน่วยเดียวกนั โดยส่มุ ใหน้ ักเรยี นออกมา
เขยี นแสดงวธิ ีหาผลลบบนกระดาน เช่น
− 6 กโิ ลกรัม 750 กรมั ลบด้วย 4 กิโลกรัม 295 กรัม เท่ากับเท่าไร นกั เรียนอาจเขยี นแสดงวิธีหาผลลบ ได้
ดงั น้ี

ดังนั้น 6 กิโลกรัม 750 กรมั ลบดว้ ย 4 กิโลกรัม 295 กรัม เทา่ กับ 2 กโิ ลกรัม 455 กรัม
จากน้นั ครยู กตวั อย่างการลบเกย่ี วกบั นา้ หนกั ทเ่ี ป็นหน่วยผสมตามหนังสอื เรียนหน้า 128 เช่น 6 กโิ ลกรัม
400 กรมั ลบด้วย 2 กิโลกรมั 500 กรัม เทา่ กบั เทา่ ไร

ครูอาจใช้การถาม - ตอบ ใหน้ ักเรยี นสงั เกตวา่ หน่วยน้าหนักเป็นหนว่ ยเดยี วกนั หรือหนว่ ยตา่ งกันถ้า
ต้องการนามาลบกันต้องนาจานวนทเ่ี ปน็ หนว่ ยเดยี วกันมาลบกนั เขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบไดด้ งั นี้

ครูให้นกั เรยี นสังเกตว่า ในหน่วยกรมั ตัวตง้ั 400 กรัม นอ้ ยกว่า ตัวลบ 500 กรัม จึงต้องกระจายจานวนท่ีเปน็
หนว่ ยกิโลกรมั มา 1 กิโลกรัม หรอื 1,000 กรมั รวมกบั 400 กรัม เปน็ 1,400 กรัม แลว้ จึงนามาลบกบั 500
กรัม ไดผ้ ลลบในหน่วยกรมั เป็น 900 กรมั ตัวต้งั ในหน่วยกโิ ลกรมั 6 กโิ ลกรมั กระจายไปแล้ว 1 กิโลกรมั เหลอื
ตวั ตั้งในหน่วยกิโลกรมั 5 กิโลกรมั นามาลบกบั 2 กิโลกรัม ไดผ้ ลลบในหน่วยกิโลกรัมเปน็ 3 กโิ ลกรัม ดงั นัน้ 6
กิโลกรมั 400 กรัมลบด้วย 2 กโิ ลกรมั 500 กรัม เท่ากบั 3 กิโลกรมั 900 กรัม

จากน้ันครูยกตัวอย่างการลบเกี่ยวกับนา้ หนกั เพิ่มเติมอกี 2 - 3 ตวั อยา่ ง เช่น7 ตัน 450 กโิ ลกรัม ลบดว้ ย
5 ตนั 500 กโิ ลกรัม เท่ากบั เท่าไร เขยี นแสดงวธิ หี าคาตอบได้ ดงั น้ี

ครูใหน้ กั เรยี นช่วยกันเขียนแสดงวธิ หี าคาตอบในกรอบทา้ ยหนังสอื เรียนหน้า 128 ครูและ นกั เรียนรว่ มกนั
ตรวจสอบความถูกต้อง ครอู าจแสดงขั้นตอนการลบโดยใช้การวาดรูป เช่น 6 กโิ ลกรัม 400 กรัม ลบดว้ ย 2
กิโลกรัม 500 กรมั เท่ากบั เทา่ ไร โดยใชก้ ารวาดรูปดังน้ี

ดงั น้ัน 6 กิโลกรัม 400 กรัม ลบดว้ ย 2 กิโลกรมั 500 กรมั เท่ากับ 3 กโิ ลกรัม 900 กรัม
3. ครูยกตัวอยา่ งการบวกและการลบเกยี่ วกับนา้ หนักตามหนังสอื เรยี นหน้า 129 โดยสุ่มนักเรียนออกมา
เขยี นแสดงวธิ หี าคาตอบ เชน่ 2 ตัน 496 กิโลกรมั บวก 5,749 กิโลกรัม เท่ากับเทา่ ไร เขียนแสดงวิธีหาคาตอบ
ไดด้ งั น้ี

จากนน้ั ครใู หน้ กั เรียนจับค่กู นั แลว้ ชว่ ยกันเขยี นแสดงวิธีหาคาตอบคู่ละ 1 ข้อ และออกมานาเสนอ
จนครบทกุ ขอ้ ตามหนังสือเรียนหน้า 129 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ครูอาจเน้นย้า

เรื่องการบวกและการลบเก่ียวกบั น้าหนกั โดยนานา้ หนักท่มี ีหน่วยนา้ หนักเดยี วกันมาบวกหรือลบกนั ถา้

ผลบวกในหน่วยใดสามารถเปล่ยี นหน่วยไดใ้ ห้เปลีย่ นหนว่ ยและถ้าตวั ตั้งในหน่วยใดนอ้ ยกว่าตัวลบให้กระจาย

จากหน่วยถดั ไปทางซ้ายมารวมกับตัวตงั้ เดิมก่อนแล้วจึงนามาลบกัน

4.ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบคุ คลโดยให้นกั เรยี นเขยี นแสดงวิธหี าคาตอบตามหนังสือ

เรยี นหนา้ 130 ครแู ละนักเรยี นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรุปส่งิ ที่ได้เรียนรู้ถ้าพบวา่ มีนักเรียนเขียน

แสดงวิธหี าคาตอบไม่ถูกต้อง ครคู วรให้นกั เรียนฝึกเพมิ่ เตมิ

ส่ือการเรยี นรู้

1.หนังสือเรยี นคณิตศาสตร์ ป.3

2. ใบงานท่ี 9 เร่อื ง การบวกและการลบเก่ียวกบั นา้ หนกั

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วธิ วี ดั เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน

เรยี นรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขนึ้ ไป ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ

2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขน้ึ ไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดบั

ทีพ่ ึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดา้ นคุณลกั ษณะ คุณภาพดีขน้ึ ไป

ทพ่ี ึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถกู ต้องของ
เนอ้ื หา 4 3 21
2. รูปแบบ
เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเป็นระเบียบ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง

ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกบั

สถานการณ์

ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ

เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็
4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล
3 : ดี มีการอ้างอิงท่ถี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ
2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ
มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ
1 : ควรปรับปรงุ แก้ไข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดบั คุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปญั หาได้สาเรจ็ อย่างมีประสิทธภิ าพ อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปญั หาได้เข้าใจชดั เจนนามาซง่ึ คาตอบที่ถูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ แตน่ ่าจะอธิบายถงึ เหตุผล
หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้

2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สาเร็จเพยี งบางส่วน อธบิ ายถงึ เหตผุ ล
หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน
ในการแก้ปัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ าเรจ็

ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรปุ องค์ความรู้

คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏให้เหน็

คณุ ภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

4 : ดมี าก หรือกิจกรรมทตี่ ้องใช้องคค์ วามรู้ทเ่ี รยี นได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรอื กิจกรรมทตี่ ้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่

เพือ่ ชว่ ยในการแกป้ ญั หาหรอื ประยุกตใ์ ช้ไดบ้ างสว่ น

2 : พอใช้ นาความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระคณิตศาสตร์หรอื
กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งคค์ วามรทู้ ี่เรยี นได้บางส่วน

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชอ่ื มโยงยังไมเ่ หมาะสม สรุป

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ : นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะทปี่ รากฏใหเ้ ห็น
คณุ ภาพ

3 : ดีมาก - มคี วามสนใจ / ความตัง้ ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจเป็นบางครัง้

1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาส้ันๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนมคี วามมงุ่ มัน่ ในการทางาน

คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็
คุณภาพ

3 : ดมี าก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รบั ผิดชอบในงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเป็นนิสัย

2 : ดี - ส่งงานช้ากวา่ กาหนด แต่ได้มกี ารตดิ ต่อชีแ้ จงผ้สู อน มีเหตุผลทีร่ บั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ด้รบั มอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเปน็ นิสยั

1 : พอใช้ - ส่งงานชา้ กวา่ กาหนด
- ปฏบิ ตั ิงานโดยตอ้ งอาศยั การชแี้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือใหก้ าลังใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ................... คน คิดเป็นรอ้ ยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คิดเป็นร้อยละ ………………………….

ไดแ้ ก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกิดทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหน่ง ครผู ู้สอน

ความคิดเห็นของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หวั หนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผูอ้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไม่เหมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อุคต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรยี นบ้ำนศรีทองสำมคั คี

ใบงานท่ี 9 เรอ่ื ง การเปรยี บเทยี บน้าหนกั

4 กิโลกรัม 800 กรัม บวก 4 กโิ ลกรัม 500 กรัม เท่ากบั เทา่ ไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….………………………...............................................................................................................
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
2 ตัน ลบด้วย 7 ตัน 390 กโิ ลกรัม เทา่ กบั เท่าไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 10 เรื่อง น้าหนัก

เรื่อง การคณู และการหารเกย่ี วกับนา้ หนัก เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง

สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพน้ื ฐานเกย่ี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทต่ี ้องการวัดและนาไปใช้

ตวั ชวี้ ดั : ค 2.1 ป.3/9 เปรยี บเทียบนา้ หนักระหวา่ งกิโลกรมั กบั กรัมเมตริกตันกบั กโิ ลกรัม จากสถานการณต์ า่ ง ๆ
จดุ ประสงคก์ ารเรียนร้สู ู่ตวั ชี้วดั

1. บอกวธิ ีหาผลคูณและผลหารเกีย่ วกบั นา้ หนัก (K)

2. หาผลคูณและผลหารเกี่ยวกบั น้าหนกั (P)

3. นกั เรียนมคี วามมุ่งในการทางานและสามารถนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเรอ่ื งต่อไป (A)

สาระสาคญั

การหาผลคณู หรือผลหารเก่ียวกับน้าหนกั ทาได้โดยคูณหรือหารนา้ หนกั ทลี ะหน่วยนา้ หนัก

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

การคูณและการหารเก่ยี วกับน้าหนัก

2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1. ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเช่อื มโยง

3.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

1. มวี ินยั

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

ชิน้ งานหรือภาระงาน

ใบงานที่ 10 เรื่อง การคณู และการหารเกีย่ วกับน้าหนัก

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้

1. ครทู บทวนการคณู เก่ียวกบั นา้ หนักท่ีเป็นหนว่ ยเดีย่ ว ดังน้คี รูตดิ บตั รโจทย์

− ส่งิ ของ 2 ถงุ หนกั ถุงละ 3 กิโลกรัม สง่ิ ของทัง้ หมดหนกั เท่าไร

− สง่ิ ของ 3 กล่อง หนักกล่องละ 300 กรมั สิง่ ของท้ังหมดหนักเทา่ ไร

แล้วใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันหาผลคณู เก่ียวกับนา้ หนกั ดังน้ี สิง่ ของ 2 ถงุ หนักถงุ ละ 3 กิโลกรัม สง่ิ ของท้ังหมด
หนัก 2 × 3 = 6 กิโลกรมั ส่งิ ของ 3 กล่อง หนกั กลอ่ งละ 300 กรมั ส่งิ ของ ท้งั หมดหนัก 3 × 300 = 900 กรมั
จากนน้ั ครยู กตัวอยา่ ง การคูณเกย่ี วกบั นา้ หนกั ทีเ่ ปน็ หนว่ ยผสมตามหนงั สอื เรยี น หนา้ 131 เชน่ 6 กโิ ลกรมั
620 กรัม คณู 9 เท่ากับเทา่ ไร ครูและนักเรยี นร่วมกนั เขียนแสดงวธิ หี าคาตอบดังน้ี

ครใู ห้นกั เรียนสงั เกตว่า การคูณเก่ียวกบั น้าหนักจะคณู ทีละหน่วยนา้ หนัก ในทน่ี ี้จะคณู ในหนว่ ยกรมั
กอ่ นแล้วจึงคูณในหนว่ ยกิโลกรมั เมอื่ ไดผ้ ลคณู แลว้ เขียนผลคูณให้ตรงกับหน่วยนา้ หนักถ้าหนว่ ยน้าหนักใดไดผ้ ล
คูณทีส่ ามารถเปลยี่ นหน่วยนา้ หนักได้ให้เปลี่ยนหน่วยน้าหนัก และนาหนว่ ยนา้ หนักท่เี ปลี่ยนแล้วไปรวมกบั ผล
คณู ในหนว่ ยถัดไปทางซ้าย ในท่ีนี้ได้ผลคูณในหนว่ ยกรัมเป็น 5,580 กรมั จงึ เปล่ียนเปน็ หน่วยกิโลกรัมและกรัม
ได้5 กิโลกรัม 580 กรัม แลว้ นาไปรวมกบั ผลคูณในหน่วยกิโลกรัมได5้ 9 กโิ ลกรมั 580 กรัม
จากน้นั ครูยกตัวอยา่ งการคณู เกี่ยวกบั นา้ หนักที่เปน็ หน่วยผสมเพ่ิมเติมอีก 2 - 3 ตวั อยา่ ง เช่น
2 ตัน 393 กโิ ลกรัม คูณ 4 เท่ากบั เท่าไร เขียนแสดงวธิ หี าคาตอบได้ดังน้ี

ครใู ห้นักเรยี นชว่ ยกันเขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบในกรอบทา้ ยหนังสือเรียนหน้า 131 แล้วร่วมกนั
ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
2. ครทู บทวนการหารเกีย่ วกับน้าหนักท่เี ปน็ หนว่ ยเด่ียว ดังนี้ ครูติดบัตรโจทย์

− ขา้ วสาร 6 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุง 2 ถงุ ถงุ ละเทา่ ๆ กันจะได้ขา้ วสารถงุ ละกี่กโิ ลกรมั
− พรกิ แห้ง 900 กรัม แบง่ ใส่ถุง 5 ถุง ถุงละเท่าๆ กนั

จะได้พรกิ แห้งถุงละก่ีกรัมแล้วใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั หาผลหารเกย่ี วกับนา้ หนกั ดงั น้ีข้าวสาร 6 กโิ ลกรมั แบ่งใส่ถุง
2 ถุง ถุงละเท่าๆ กัน จะได้ขา้ วสารถุงละ 6 ÷ 2 = 3 กโิ ลกรัม พริกแห้ง 900 กรัม แบง่ ใส่ถงุ 5 ถุง ถุงละเท่าๆ
กันจะได้พริกแห้งถงุ ละ 900 ÷ 5 = 180 กรัม จากน้ันครูยกตัวอยา่ งการหารเก่ียวกับนา้ หนักทเ่ี ปน็ หนว่ ยผสม
ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 132 เชน่ 44 กโิ ลกรมั 100 กรัม หารดว้ ย 7 เท่ากับเทา่ ไร ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เขียน
แสดงวธิ ีหาคาตอบดังนี้

จากน้ันครยู กตัวอยา่ งการหารเก่ยี วกบั นา้ หนักท่เี ป็นหนว่ ยผสมเพ่มิ เติมอกี 2 - 3 ตวั อย่าง เชน่ 16 ตัน
500 กิโลกรมั หารดว้ ย 3 เทา่ กับเท่าไรครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เขยี นแสดงวิธีหาคาตอบได้ดังน้ี

ครอู าจแสดงการหาผลหารเก่ยี วกับนา้ หนกั โดยใชก้ ารวาดรปู ดงั น้ี 4 กิโลกรมั 200 กรมั หารดว้ ย 3
เทา่ กับเท่าไร

แบง่ 4 กิโลกรัมเป็น 3 กลุ่ม กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั ได้กลมุ่ ละ 1 กิโลกรัม เศษ 1 กโิ ลกรมั นาเศษ 1
กิโลกรัม หรือ 1,000 กรัม ไปรวมกบั หนว่ ยกรมั 200 กรัม เป็น 1,200 กรัม

แบง่ 1,200 กรัม เปน็ 3 กลมุ่ กลุ่มละเทา่ ๆ กัน ได้กลุ่มละ 400 กรมั

ดงั น้นั 4 กโิ ลกรัม 200 กรมั หารด้วย 3 เทา่ กับ 1 กโิ ลกรมั 400 กรัม

ครูให้นักเรียนตรวจคาตอบโดยนา 1 กโิ ลกรัม 400 กรมั คณู 3 จะได้4 กิโลกรมั 200 กรมั
ดังนนั้ 1 กิโลกรมั 400 กรมั เปน็ คาตอบที่ถูกต้อง
3. ครยู กตัวอย่างการคูณและการหารเก่ียวกบั นา้ หนกั ตามหนังสือเรียนหนา้ 133 โดยส่มุ นกั เรยี นออกมา
เขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบ เชน่ 9 ตัน 500 กิโลกรัม คูณ 7 เทา่ กบั เท่าไร เขียนแสดงวิธีหาคาตอบไดด้ ังน้ี

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเปน็ รายบุคคลโดยใหน้ กั เรียนเขยี นแสดงวิธหี าคาตอบตามหนงั สือเรียน
หน้า 134 ครูและนกั เรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ สง่ิ ท่ีได้เรยี นรู้ถา้ พบวา่ มนี กั เรียนเขยี นแสดง
วิธีหาคาตอบไมถ่ ูกตอ้ ง ครูควรให้นักเรียนฝึกเพ่ิมเตมิ
ส่ือการเรียนรู้

1.หนังสือเรยี นคณิตศาสตร์ ป.3
2. ใบงานที่ 10 เรือ่ ง การคณู และการหารเกีย่ วกับน้าหนัก

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

จดุ ประสงคก์ าร วธิ วี ัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ

เรียนรู้ ใบงาน 60% ขึน้ ไป ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
การประเมิน
1. ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดบั
ดา้ นทักษะ คณุ ภาพดีขนึ้ ไป
2. ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน กระบวนการ
กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดบั
ดา้ นคุณลกั ษณะ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป
3. ด้านคุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น ท่ีพึงประสงค์
ท่ีพึงประสงค์ (A) คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์

เกณฑก์ ารประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน

ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ
1. 1.ความถูกต้องของ
เนือ้ หา 4 3 21
2. รปู แบบ
เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เน้อื หาสาระของ
3. ความเป็นระเบยี บ
ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง

ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถูกต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

นา่ สนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เปน็ ไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกับ

สถานการณ์

ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เปน็ ระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เป็นระเบยี บ

เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑ์ประเมินคุณภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทกั ษะและกระบวนการทางาน
ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลท่ีปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล

3 : ดี มกี ารอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา

คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏให้เห็น

4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สาเรจ็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
หลกั การและขนั้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้เข้าใจชดั เจนนามาซ่ึงคาตอบทถี่ ูกต้อง

ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สาเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล
3 : ดี หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดกี วา่ นี้

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตผุ ล
หลักการและข้นั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางสว่ น

1 : ควรปรับปรุงแก้ไข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คิดใช้เหตุผล หลักการและขน้ั ตอน
ในการแกป้ ัญหา แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สาเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเช่ือมโยงที่ปรากฏให้เห็น

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมที่ต้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู ่เี รียนได้เปน็ สว่ นใหญ่

เพื่อช่วยในการแกป้ ัญหาหรือประยกุ ต์ใช้ไดบ้ างส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอื่ มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรือ
กจิ กรรมท่ีต้องใช้องค์ความรู้ที่เรยี นไดบ้ างสว่ น

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเป็นบางครั้ง

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตั้งใจในระยะเวลาสน้ั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียนมีความมุ่งมนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั

2 : ดี - สง่ งานชา้ กว่ากาหนด แต่ได้มีการติดต่อชี้แจงผูส้ อน มีเหตผุ ลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเป็นนิสยั

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากว่ากาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยตอ้ งอาศยั การชีแ้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรยี นจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไมผ่ ่ำนจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพเิ ศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นกั เรยี นมีควำมร้คู วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรียนมคี วำมรู้เกดิ ทกั ษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอ้ เสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหนง่ ครผู ู้สอน

ความคิดเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หัวหนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไมเ่ หมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อคุ ต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรียนบ้ำนศรที องสำมัคคี

ใบงานท่ี 10 เรื่อง การคูณและการหารเก่ยี วกบั นา้ หนกั

แสดงวิธหี าคาตอบ

1. 18 กโิ ลกรมั 900 กรัม คูณ 3 เทา่ กบั เท่าไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….………………………...............................................................................................................
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

2. 52 ตัน 600 กิโลกรัม หารด้วย 5 เท่ากับเทา่ ไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………….……………………….................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 11

กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 เรื่อง น้าหนัก

เรื่อง โจทย์ปญั หาเกีย่ วกบั นา้ หนัก (1) เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง

สอนวันที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเก่ยี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี ้องการวดั และนาไปใช้

ตวั ชวี้ ัด : ค 2.1 ป.3/10 แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับนา้ หนักที่มีหน่วยเปน็ กิโลกรัมกับกรัมเมตริกตนั
กบั กิโลกรมั

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ส่ตู ัวช้ีวดั

1. บอกวธิ ีหาแสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั น้าหนกั (K)

2. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาเกย่ี วกับน้าหนกั (P)

3. นักเรียนมคี วามมุ่งในการทางานและสามารถนาความร้ทู ่ีได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)

สาระสาคัญ

การแก้โจทย์ปัญหาทาได้โดยอ่านทาความเข้าใจปญั หา วางแผนแก้ปญั หา หาคาตอบและ

ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบซ่ึงในการแก้โจทย์ปญั หาอาจใชค้ วามร้เู รอ่ื งการหาผลบวก ผลลบ ผล

คณู และผลหารเก่ยี วกับน้าหนัก

สาระการเรียนรู้

1.ความรู้

โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับน้าหนัก

2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ

1. ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์

2. การเช่ือมโยง

3. การแกป้ ัญหา

3.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. มวี นิ ัย

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน

ชิ้นงานหรือภาระงาน

ใบงานท่ี 12 เร่ือง โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับนา้ หนัก

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
1.ครทู บทวนการบวกและการลบเกย่ี วกบั นา้ หนักว่า ต้องนาน้าหนักในหนว่ ยเดยี วกนั มาบวกหรอื ลบ

กนั แลว้ เขยี นผลบวกหรือผลลบให้ตรงกับหน่วยนา้ หนักท่ีนามาบวกหรือลบกนั เชน่ 4 กโิ ลกรัม 150 กรัม บวก
2 กิโลกรมั 380 กรัม หาผลบวกไดโ้ ดยนาน้าหนกั ท่ีเปน็ หน่วยเดียวกนั มาบวกกนั จะได้ 4 กโิ ลกรมั บวก 2
กโิ ลกรัม ไดผ้ ลบวกเปน็ 6 กิโลกรัม และนา 150 กรัม บวก 380 กรมั ได้ผลบวกเป็น 530 กรัม ดังนัน้ 4
กิโลกรมั 150 กรมั บวก 2 กโิ ลกรัม 380 กรมั เท่ากบั 6 กโิ ลกรมั 530 กรัม จากนนั้ ครยู กตัวอย่างสถานการณท์ ่ี
เปน็ โจทยป์ ัญหาการบวกตามหนงั สือเรยี นหนา้ 135เชน่
แม่ซ้อื ทุเรยี นผลใหญ่หนกั 3 กโิ ลกรมั 200 กรัมผลเล็กหนัก 1 กโิ ลกรมั 900 กรัม แม่ซื้อทเุ รียนหนักรวมกัน
เท่าไร

ครถู ามนักเรยี นว่า ในการแกโ้ จทยป์ ัญหาต้องวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาอย่างไรบ้าง นกั เรยี นควรตอบได้วา่
ต้องวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาว่า โจทยถ์ ามอะไร โจทยบ์ อกอะไรหาคาตอบได้อย่างไร แลว้ ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกัน
วเิ คราะห์โจทย์ข้อน้ีวา่

− โจทยถ์ ามอะไร (แม่ซื้อทุเรียนหนักรวมกนั เท่าไร)
− โจทย์บอกอะไร (แมซ่ ้ือทุเรยี นผลใหญห่ นกั 3 กิโลกรมั 200 กรัม ผลเล็กหนกั 1 กิโลกรมั 900 กรัม)
− หาคาตอบได้อย่างไร (หาคาตอบไดโ้ ดยการนาน้าหนักมาบวกกัน)
2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันเขียนแสดงวธิ ีหาคาตอบดงั นี้

จากน้นั ครูและนักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบดงั นี้ 5 กโิ ลกรมั 100 กรัม เป็น
คาตอบทีส่ มเหตุสมผลเพราะทเุ รยี นผลใหญ่หนักมากกว่า 3 กโิ ลกรมั ทุเรียนผลเลก็ หนักมากกวา่ 1 กโิ ลกรมั
เมอ่ื นามารวมกนั ควรหนกั มากกว่า 4 กโิ ลกรัม

ดังนน้ั 5 กิโลกรัม 100 กรัม จึงเปน็ คาตอบทส่ี มเหตสุ มผล

3. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการลบเกย่ี วกับน้าหนักตามหนังสอื เรยี นหนา้ 136 เชน่

ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั วิเคราะหโ์ จทยโ์ ดยใช้ การถาม - ตอบ ดงั น้ี
− โจทย์ถามอะไร (ควรเลือกใช้ลฟิ ต์ตัวใดและยังสามารถบรรทุกนา้ หนักได้อีกเทา่ ไร)
− โจทย์บอกอะไร (โรงงานแห่งหนง่ึ ติดตง้ั ลิฟต์ 3 ตวั ลฟิ ต์ A มพี ิกัดบรรทุก 2 ตนั ลฟิ ต์B มีพกิ ัด

บรรทุก 1 ตนั และ ลฟิ ต์C มพี กิ ดั บรรทุก 750 กิโลกรัม ต้องการ ขนสินคา้ หนกั 1,500 กโิ ลกรัม)
− หาคาตอบได้อย่างไร (หาคาตอบได้โดยเลือกลฟิ ต์ตัวท่ีสามารถรบั น้าหนกั สินคา้ 1,500 กโิ ลกรัม

ไดแ้ ลว้ นาน้าหนกั ท่ลี ิฟตส์ ามารถรับน้าหนักไดม้ าลบกับน้าหนักสนิ คา้ )
ครูและนักเรียนร่วมกนั เขียนแสดงวิธหี าคาตอบ ดงั น้ี

3. ครูยกตวั อย่างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปญั หาการลบเกย่ี วกบั นา้ หนกั ตามหนังสือเรียนหนา้ 137
แลว้ ใหน้ ักเรยี นอา่ นโจทยป์ ญั หาพรอ้ มกนั และช่วยกันวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาว่า โจทย์ถามอะไร โจทยบ์ อกอะไร
และจะหาคาตอบได้อย่างไร ครใู หน้ ักเรยี นช่วยกันแสดงวิธีคดิ ทีห่ ลากหลาย และตรวจสอบความสมเหตสุ มผล
ของคาตอบ แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคาตอบ ดงั นี้

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเปน็ รายบคุ คลโดยใหน้ กั เรยี นเขียนแสดงวิธหี าคาตอบตามหนงั สือ

เรยี นหน้า 138 ครูและนักเรยี นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและสรปุ สิ่งทไ่ี ดเ้ รียนรู้ถ้าพบวา่ มนี กั เรยี นคนใดที่

เขยี นแสดงวธิ ีหาคาตอบไม่ถกู ตอ้ ง ครูควรให้นักเรียนฝกึ เพ่มิ เตมิ

สอ่ื การเรียนรู้

1.หนงั สอื เรยี นคณิตศาสตร์ ป.3

2. ใบงานที่ 11 เรือ่ ง โจทย์ปัญหาเกยี่ วกบั นา้ หนกั

การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

จุดประสงค์การ วิธีวดั เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน

เรยี นรู้

1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ข้ึนไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

การประเมนิ

2. ด้านทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั

กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ คุณภาพดีขนึ้ ไป

กระบวนการ

3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ

ท่พี งึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขน้ึ ไป

ทีพ่ งึ ประสงค์

เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝกึ หัด/ใบงาน

ประเดน็ การประเมิน ระดบั คุณภาพ
1. 1.ความถูกต้องของ
เนือ้ หา 4 3 21
2. รูปแบบ
เนอ้ื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ความเป็นระเบียบ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง

ครบถว้ น ส่วนใหญ่ บางประเด็น เปน็ สว่ นใหญ่

การนาเสนอ การนาเสนอถกู ต้อง การนาเสนอ การนาเสนอไม่

น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางสว่ น เปน็ ไปตามเกณฑ์

เหมาะสมกับ

สถานการณ์

ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ

เป็นระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบยี บ

เล็กนอ้ ย บางส่วน

เกณฑ์ประเมนิ คณุ ภาพ

10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2

7 - 9 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นทักษะและกระบวนการทางาน
ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล

คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจอยา่ งมเี หตุผล

3 : ดี มกี ารอ้างอิงที่ถูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคดิ ประกอบการตดั สนิ ใจ

2 : พอใช้ เสนอแนวคดิ ไมส่ มเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสนิ ใจ

1 : ควรปรบั ปรุงแก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจ

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปัญหา

คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏใหเ้ หน็

4 : ดมี าก ใชก้ ระบวนการแก้ปญั หาไดส้ าเรจ็ อย่างมีประสทิ ธิภาพ อธิบายถึงเหตุผล
หลักการและข้ันตอนในการแก้ปญั หาได้เขา้ ใจชดั เจนนามาซึ่งคาตอบท่ีถูกต้อง

3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาไดส้ าเร็จ แต่นา่ จะอธบิ ายถงึ เหตุผล
หลักการและข้นั ตอนในการแก้ปญั หาได้ดกี ว่าน้ี

2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สาเร็จเพยี งบางสว่ น อธบิ ายถงึ เหตุผล
หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้บางสว่ น

1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มีร่องรอยการแก้ปัญหาบางสว่ น เรม่ิ คดิ ใชเ้ หตุผล หลักการและข้ันตอน
ในการแก้ปญั หา แลว้ หยดุ อธิบายตอ่ ไม่ได้ แกป้ ญั หาไมส่ าเรจ็

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้

คะแนน:ระดบั ความสามารถในการเช่ือมโยงที่ปรากฏให้เห็น

คุณภาพ

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

4 : ดีมาก หรือกิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรทู้ เ่ี รียนได้ถูกต้องทุกกิจกรรมเพ่ือช่วยในการแกป้ ัญหา

หรอื ประยุกต์ใช้ได้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์

3 : ดี หรือกิจกรรมที่ต้องใชอ้ งคค์ วามร้ทู ่เี รียนได้เปน็ สว่ นใหญ่

เพื่อช่วยในการแกป้ ัญหาหรือประยกุ ต์ใช้ไดบ้ างส่วน

2 : พอใช้ นาความรู้ หลักการ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชอื่ มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรือ
กจิ กรรมท่ีต้องใช้องค์ความรู้ที่เรยี นไดบ้ างสว่ น

1 : ควรปรับปรงุ นาความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรปุ

แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนใฝเ่ รียนรู้

คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏใหเ้ หน็

คุณภาพ

3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความตั้งใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้

2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจเป็นบางครั้ง

1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความตั้งใจในระยะเวลาสน้ั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรียนมีความมุ่งมนั่ ในการทางาน

คะแนน : ระดับ คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เห็น

คุณภาพ

3 : ดีมาก - ส่งงานก่อนหรือตรงกาหนดเวลานัดหมาย
- รับผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั

2 : ดี - สง่ งานชา้ กว่ากาหนด แต่ได้มีการติดต่อชี้แจงผูส้ อน มีเหตผุ ลที่รบั ฟงั ได้
- รบั ผิดชอบในงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ตั ิตนเองจนเป็นนิสยั

1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากว่ากาหนด
- ปฏิบตั งิ านโดยตอ้ งอาศยั การชีแ้ นะ แนะนา ตักเตือนหรือให้กาลงั ใจ

บนั ทกึ หลังการสอน

สรปุ ผลการเรยี นการสอน

1. นกั เรียนจำนวน ................................................... คน

ผำ่ นจดุ ประสงค์กำรเรยี นรู้ ................... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............................

ไม่ผำ่ นจุดประสงค์กำรเรยี นรู้ ............... คน คดิ เป็นร้อยละ ………………………….

ได้แก่

1. ……………………………………………………………………………………………………………………….

2. ……………………………………………………………………………………………………………………….

3. ……………………………………………………………………………………………………………………….

นกั เรียนมีควำมสำมำรถพิเศษไดแ้ ก่

1. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. ………………………………………………………………………………………………………………………

2. นักเรียนมีควำมร้คู วำมเขำ้ ใจ (K)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นกั เรียนมคี วำมรู้เกดิ ทักษะ (P)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ......................................................
(นำงสำวชยำภรณ์ อุ่นเรอื น)
ตำแหนง่ ครูผสู้ อน

ความคิดเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่อื .......................................................... หัวหนำ้ ฝ่ำยวชิ ำกำร
(นำงสำวเบญจรตั น์ สลี ำดี)

ความคดิ เห็นของผอู้ านวยการ
 เหมำะสม เนื้อหำครบถ้วน
 ไมเ่ หมำะสม เพรำะ ....................................................................................................................

ลงชื่อ ..........................................................
(นำยพิรชั วิชช์ อคุ ต)

รักษำกำรในตำแหน่งตำแหนง่ ผอู้ ำนวนกำรโรงเรียนบ้ำนศรที องสำมัคคี


Click to View FlipBook Version