The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทสาธยายพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriporn.organizer, 2021-08-05 04:53:09

The Recitation of Tripitaka

บทสาธยายพระไตรปิฎก

Keywords: Tripitaka,Mahachulalongkornrajavidyalaya University

โครงการเผยแผศลี ธรรมนำธรรมสูสงั คม

สาธยายพระไตรปฎก

เพื่อถวายเปน พระราชกุศลแด
สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปห ลวง

ระหวา งวนั ท่ี ๑๑-๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๔
สวนวางแผนและพัฒนาการอบรม สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ

คำนำ

สว นวางแผนและพฒั นาการอบรม สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ เปน หนวยงานหลกั ท่ใี หบรกิ ารดานการปฏบิ ัติ
วิปสสนากรรมฐานตามแนวสติปฏฐาน ๔ และใหการบริการดานการฝกอบรม คุณธรรม จริยธรรม และนำ
ธรรมสูสังคม สำหรับคณาจารย เจาหนาที่ และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตลอดถึง
หนวยงาน และองคก ร ภาครฐั และเอกชน เพ่อื ใหเขาใจหลกั ธรรมอยา งถกู ตอ ง

กจิ กรรมหน่งึ ที่สวนวางแผนและพัฒนาการอบรม สถาบันวิปส สนาธรุ ะ เหน็ คุณคาความสำคญั คอื การ
สาธยายพระไตรปฎก ซึ่งพระพระไตรปฎกถือเปนคัมภีรที่สำคัญสูงสุด แบงเปน ๓ สวนสำคัญไดแก
พระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และพระอภิธรรมปฎก การสาธยายพระไตรปฎกดวยความศรัทธาเปนการ
เชิดชูสิ่งอันทรงคุณคาและการสืบตอพระพุทธศาสนา ทุกทานที่เขารวมกิจกรรม จะไดอานพระไตรปฎกใน
รูปแบบของภาษาบาลี พรอมคำแปล ซ่ึงจะทำใหเ กิดความรูความเขาใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา
และสามารถนำไปปรบั ใชใ นชีวิตประจำวันได

การสาธยายพระไตรปฎกครัง้ นเี้ ปน คร้งั ที่ ๑ โดยความรวมมือกนั ระหวาง สถาบันวิปสสนาธรุ ะรว มกับ
บัณฑิตวิทยาลัยและสถาบันภาษา โดยกำหนดจัดงานระหวางวนั ที่ ๑๑-๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๔ เพื่อถวายเปน
พระราชกุศลแดส มเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง

สว นวางแผนแลพัฒนาการอบรม
สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สารบัญ หนา

ความรูเกี่ยวกบั พระไตรปฎ ก ๓
แผนผงั พระไตรปฎ ก ๖
สาธยายพระไตรปฎ ก
บทเร่มิ ตนกอ นสาธยายพระไตรปฎ ก ๘

บทอัญเชิญเทวดา ๙
ปพุ พภาคนมการ ๑๐
เขมาเขมสรณทปี กคาถา ๑๐
โอวาทปาติโมกขคาถา ๑๑
ปฐมพทุ ธภาสิตคาถา ๑๑
พุทธอุทานคาถา ๑๒
ปจฉมิ พุทโธวาทปาฐะ ๑๖
รตนสตุ ตัง ๑๖
พระวินัยปฎ ก ๓๖
อรุ เุ วลปาฏิหาริยกถา ๔๔
พิมพสิ ารสมาคมกถา ๔๖
บทถวายพรพระ
คำแผสว นกศุ ล และแผเมตตา ๔๗
บทเร่ิมตนกอนสาธยายพระไตรปฎก ๔๘
บทอัญเชญิ เทวดา ๔๘
ปุพพภาคนมการ ๔๙
เขมาเขมสรณทปี กคาถา ๔๙
โอวาทปาติโมกขคาถา ๕๐
ปฐมพทุ ธภาสิตคาถา ๕๐
พุทธอุทานคาถา ๕๑
ปจ ฉมิ พุทโธวาทปาฐะ ๕๕
รตนสตุ ตงั ๕๕
พระสตุ ตันตะปฎ ก ๕๙
ยมกวคฺโค ๖๓
อปฺปมาทวคโฺ ค ๖๕
บทถวายพรพระ
คำแผสวนกุศล และแผเ มตตา

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทเร่ิมตน กอนสาธยายพระไตรปฎก หนา
บทอัญเชญิ เทวดา
ปพุ พภาคนมการ ๖๖
เขมาเขมสรณทีปกคาถา ๖๗
โอวาทปาติโมกขคาถา ๖๗
ปฐมพทุ ธภาสิตคาถา ๖๘
พทุ ธอุทานคาถา ๖๘
ปจ ฉิมพุทโธวาทปาฐะ ๖๙
รตนสตุ ตงั ๖๙
๗๐
พระอภิธรรมปฎ ก
อภิธมมฺ ภาชนียํ ๗๔
๗๔
อาฏานาฏิยะสตู รตอนทา ย
เทวตาอุยโยชนคาถา ๑๐๙
บทถวายพรพระ ๑๐๙
คำแผสว นกุศล และแผเ มตตา ๑๑๓
๑๑๕

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ความรูเกย่ี วกับพระไตรปฎก

คัตจากหนังสือพระไตรปฎก ฉบบั สําหรับประชาชน
ของสชุ พี ปญุ ญานภุ าพ

พระไตรปฎ กคอื อะไร ?

ศาสนาทุกศาสนา ยอมมีคัมภรี หรือตําราทางศาสนาเปนหลักในการสั่งสอน แมเ ดิมจะมไิ ดขดี เขียนไว
เปนลายลักษณอกั ษร แตเม่ือมนุษยรูจักใชตัวหนังสือ กไ็ ดมีการเขียน การจารึกคําสอนในศาสนานั้นๆไว เม่อื
โลกเจริญขึ้นถึงกับมีการพิมพหนังสือเปนเลมๆได คัมภีรศาสนาเหลานั้นก็มีผูพิมพเปนเลมขึ้นโดยลําดับ
พระไตรปฎก หรือที่เรียกในภาษาบาลี ติปฎกหรือเตปฎกนั้นเปนคัมภีรหรือตําราทางพระพุทธศาสนา
เชนเดยี วกบั ไตรเวท เปน คมั ภรี  ของศาสนาพราหมณ ไบเบ้ลิ ของศาสนาครสิ ต อัลกุรอาน ของศาสนาอิสลาม

กลาวโดยรปู ศัพท คาํ วา พระไตรปฎ ก แปลวา ๓ คมั ภีร เมอ่ื แยกเปน คําๆ วา พระ + ไตร + ปฎก

พระ แปลวา เปน คําแสดงความเคารพยกยอง
ไตร แปลวา ๓
ปฎ ก แปลได ๒ อยา ง คือ แปลวา คมั ภรี  หรอื ตาํ ราอยา งหน่งึ

แปลวากระจาดหรอื ตระกรา อยางหน่ึง ท่แี ปลวา กระจาด หรอื ตะกรา
หมายความวาเปนที่รวบรวมคําสั่งสอนของพระพุทธเจาไวเปนหมวดหมู ไมใหกระจัดกระจาย
คลายกระจาดหรอื ตะกรา อนั เปน ภาชนะใสข องฉะน้นั

พระไตรปฎ กแบงออกเปน อะไรบาง ?

เมื่อทราบแลววา คําวา พระไตรปฎก แปลวา ๓ คัมภีร หรือ ๓ ปฎก จึงควรทราบ ตอไปวา ๓ ปฎ ก
นน้ั มอี ะไรบาง และแตละปฎกนัน้ มีความหมายหรือใจความอยา งไร ปฎ ก ๓ นัน้ แบง ออกดงั น้ี

๑. วินยั ปฎก วา ดวยวนิ ยั หรือศีลของภิกษุ ภกิ ษณุ ี
๒. สตุ ตันตปฎก วาดว ยพระธรรมเทศนาท่ัวๆไป
๓. อภธิ รรมปฎ ก วาดว ยธรรมะลวนๆ หรือธรรมะทส่ี าํ คญั

การสาธยายพระไตรปฎก

การจัดสาธยายพระไตรปฎกที่ยุวพุทธฯ ในครั้งนี้ ไดคัดสรรจากพระไตรปฎก ฉบับมหามกุฏราช
วิทยาลัย แลวเรียบเรียงเปนคําบาลีสลับกับคําแปลภาษาไทย เพื่อใหสาธุชนไดเขาใจความหมายในบทที่
สาธยาย โดยทานพระมหาประนอม ธัมมาลังกาโร จาก วัดจากแดง สมุทรปราการ ไดนําเนื้อความจาก
พระไตรปฎกที่คัดสรรออกมาแลวรวบรวม นํามาจัดพิมพไวในเลมเดียวกัน เพื่อใหใชประโยชนในการจัด
สาธยายพระไตรปฎ กใหจ บ ภายใน ๑ วัน

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒

การสาธยายพระไตรปฎ กในครั้งนี้ ประกอบดวย

๑.พระวินยั ปฎ ก
ปาฏหิ าริยท่ี ๑, ปาฏิหาริย ท่ี ๒, ปาฏหิ ารยิ ท ี่ ๓, ปาฏหิ าริยท่ี ๔, ปาฏิหาริยท ี่ ๕, ผา บังสุกุล,
ปาฏิหาริยเกบ็ ผลหวาเปน ตน ปาฏิหารยิ ผ า ฟน , ปาฏหิ ารยิ กอ ไฟ, ปาฏหิ าริยดบั ไฟ, ปาฏิหาริยก องไฟ,
ปาฏหิ ารยิ นำ้ ทวม, ทลู ขอบรรพชาและอุปสมบท, อาทติ ตปรยิ ายสูตรพมิ พสิ ารสมาคมกถา,
ความปรารถนา ๕ อยาง, คาถาสดดุ ีพระผูมีพระภาค, ทรงรบั พระเวฬวุ นั เปนสงั มิกาวาส

๒.พระสุตตนั ตะปฎก
ยมกวรรค, อปั ปมาทวรรค, จติ ตวรรค, ปปุ ผวรรค, พาลวรรค,
บณั ฑติ วรรค, อรหนั ตวรรค, สหัสวรรค, ปาปวรรค, ทัณฑวรรค

๓.พระอภิธรรมปฎ ก
รูปขนั ธ เวทนาขนั ธ (ทุกมูลกวาร]) สัญญาขันธ (ทุกมูลกวาร] สงั ขารขันธ (ทกุ มลู กวาร],
วญิ ญาณขนั ธ (ทกุ มูลกวาร]

ลกั ษณะการสาธยาย
สาธุชนที่มารวมงานสวดพรอมกันโดยการนําของพระมหาประนอม ธัมมาลังกาโร และคณะสงฆ

จากวัดจากแดง จ.สมุทรปราการ โดยพระมหาประนอมจะไดอธบิ ายนํา พรอ มสรุปเนือ้ ความที่ไดสาธยายทุก
บท และจบลงดว ยอริยสจั จกถา

อานสิ งสข องการสาธยายพระไตรปฎก

๑. บุคคลใดไดนําเอาพระไตรปฎกมาสาธยายจะเขาถึงความเปนอริยบุคคล คือ ไดมรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑
ในภายหนา

๒. บุคคลใดไดสาธยายพระไตรปฏกจะชว ยปดประตูอบายภูมิ ๔ คือเปรต อสุรกาย สตั วเ ดรจั ฉาน และสตั วน รก

๓. บุคคลใดไดสาธยายพระไตรปฎกแลวไดนอมจิตตามพระธรรม อาจบรรลุธรรม ชั้นหนึ่งชั้นใดในบรรดา
โสดาบัน พระสกทาคามี และพระอรหนั ต ไดต ามอุปนสิ ัยที่สรางมา

๔. บุคคลใดที่เปนมิจฉาทฐิ ิเมอ่ื ไดสาธยายพระไตรปฎกจะกลายเปน สัมมาทิฐิ

๕. การสาธยายพระไตรปฎ กมผี ลทาํ ใหป ระเทศชาติไมมีภยั พิบัติ ทําใหป ระเทศชาติมีแตความรม เย็น มีสนั ติสุข
ความเจรญิ กาวหนา ปราศจากโรคภยั

๖. สมยั พทุ ธกาลการสาธยายพระไตรปฎ ก ทาํ ใหค างคาวซึ่งเปนสัตวเดรจั ฉานไดฟงทุกวันเกิดอานิสงส เม่ือตาย
ไดไปจตุ เิ ปนเทพบุตรอยูบนสวรรค

๗. ในมงคล ๓๘ ประการไดก ลาวถึงงูเหลือมใหญ ฟงภิกษุสาธยายพระอภิธรรมเฉพาะ สฬายกถา จิตก็ปรีดา
โสมนสั หรรษา คร้ังทาํ กาลกริ ิยาตาย กไ็ ปบงั เกดิ ในสวรรค และเมอ่ื จุตจิ ากสวรรค ก็มาเกดิ ในตระกูลพราหมณ

๘. บคุ คลใดไดส าธยายพระไตรปฎ กและไดฟ งธรรมมีอานิสงสห าประมาณมิได

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓

แผนผงั พระไตรปฎก

หมายเลข ๑

พระไตรปฎก

วนิ ยั ปฎ ก สุตตนั ตปฎ ก อภธิ รรมปฎก
(คัมภีรว า ดวยระเบยี บวินัย)
(คมั ภรี ว า ดวยพระธรรม (คัมภรี วาดว ยขอ ธรรมลวนๆ
เทศนาทวั่ ๆ ไป ไมม ีประวตั ิและหองเรอ่ื ง

มปี ระวัตแิ ละทอ งเรื่อง) ประกอบ)

หมายเลข ๒

วินยั ปฎก

มหาวภิ งั ค มหาวัตต บรวิ าร
(วาดวยขอหามหรือวนิ ัย (วาดว ยพทุ ธประวัติ (วาดวยเบ็ดเตลด็
ท่เี ปนหลกั ใหญๆ ของภิกษุ) ตอนแรกและพิธกี รรม ทางพระวนิ ัย)

ทางพระวนิ ยั )

ภกิ ษุนีวภิ ังค จุลลวัคค
(วาดว ยขอ หามหรือวินยั (วา ตวั ยพิธกี รรมทางพระวินัย
และความเปนมาของนางภิกษุณี
ของนางภกิ ษณุ ี และประวัติการทาํ สังคายนา)

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔

แผนผงั พระไตรปฎ ก

หมายเลข ๓

สตุ ตนั ตปฎก

ทีฆนิกาย สังยุตตนกิ าย ขุททกนิกาย
(วาดว ยพระสูตรหรอื
พระธรรมเทศนาขนาดยาว) (วาดวยพระสูตรหรอื (วา ดวยพระสตู รหรือ
พระธรรมเทศนาอนั ประมวล
มชั ฌมิ นิกาย พระธรรมเทศนาเบด็ เตล็ด
(วา ดว ยพระสตู รหรอื ธรรมะหรอื เร่อื งราว ไวเปน พวกๆ รวมทง้ั ภาษติ ของสาวก
พระธรรมเทศนาขนาดกลาง เชน วาดว ย ประวตั ิตางๆ และซาดก)
ไมยาวหรือส้ันเกินไป)
พระมหากัสสปะ เรียกกสั สปสังยตุ

วา ดวยเหตุการณใ นแควนโกศล

เรยี กโกศลสงั ยตุ วา ดว ยมรรค

(ขอปฏบิ ตั ิ) องั คุตตรนิกาย
เรียกมคั คสงั ยตุ )
(วาดวยพระสูตรหรอื

พระธรรมเทศนาเปนขอ ๆ

ตามลาํ ดับจาํ นวน เชน ธรรมะหมวด ๑

ธรรมะหมวด ๒ ธรรมะหมวด ๓ แตล ะ

ขอ ก็มีจาํ นวน ๑, ๒ หรือ ๓

ตามหมวดน้นั )

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕

แผนผงั พระไตรปฎ ก

หมายเลข ๔

อภธิ ัมมปฎ ก

ธมั มสังคณี ธาตกุ ถา กถาวัตถุ ปฏฐาน
(วาดว ยธรรมะ (วา ดว ยธรรมะ (วาดว ยคาํ ถาม (วา ดว ยปจ จยั
รวมเปน หมวด เปน กลุม) จดั ระเบียบ คาํ ตอบในหลักธรรม คอื สง่ิ ทเ่ี กอ้ื กลู
ความสมั พันธ ประมาณ ๒๑๙ สนบั สนนุ ๒๔ อยาง)
โดยถือธาตุเปนหลกั ) หัวขอ เพ่ือถอื เปน
หลกั ในการตดั สนิ ยมก
(วาดว ยธรรมะ
พระรรม) ที่รวมเปน เปน คูๆ)

วิภงั ค ปุคคลบญั ญัติ
(วาดวยธรรมะ แยกเปน ขอ ๆ) (วา ดวยบัญญัติ ๖ ชนดิ
และแสดงรายละเอยี ดเฉพาะ
บญั ญัตอิ ันเกย่ี วกบั บคุ คล)

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สาธยายพระไตรปฎก

ปญหาและทีม่ า

เมืองไทยของเราไดนับถือพระพุทธศาสนามาชานาน จนอยูในสายเลือด มีวิถีชีวิต การเปนอยูที่
เกี่ยวเนื่องดวยพระพุทธศาสนา มีวัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามที่สืบเนื่อง เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาหลายอยาง
เชนประเพณีขึ้นบานใหม ประเพณีบวชพระ บวชเณรเพื่อ สืบทอดพระศาสนา ประเพณสี วดพระอภิธรรมใน
งานศพ ซึ่งประเพณี หรือวิถีแหงความ เปนชาวพุทธเหลานั้น หากขาดการศึกษาเรียนรูจากพระไตรปฎกแลว
เราจะไมทราบจุด ประสงคอยางถูกตองของประเพณีเหลานั้นไดเลย และยังไมมีโอกาสที่จะไดประโยชนอัน
สูงสุดจากประเพณีเหลานั้นดวย เมื่อไมอาน ไมศึกษา ไมคนควา ในที่สุด ก็เปนเหตุใหคน เสื่อมศรัทธาใน
พระพุทธศาสนาทั้งๆ ที่พระพุทธศาสนาเปนของดี เปนของเลศิ เปน ของ ประเสริฐ แตผูรกั ษา ผูเปนเจาของ
ศาสนาขาดความเขาใจในหลักคําสอน ก็ไมสามารถชี้ ใหคนอื่นเห็นคุณคาของพระศาสนาได เมื่อคนไมเห็น
คุณคา คนกไ็ มนับถือ ไมเสอื่ มใส ไมส นใจ ไมใ หความสําคัญ ไมเ อาเปนสาระ ไมย ึดเปน สรณะทพ่ี ึ่ง ศาสนาคือคํา
สอนก็ เสื่อมสิ้นไป ในที่สุด เหลือเพียงศาสนสถาน โบสถ วิหาร ที่กลายเปนแหลงทองเที่ยวไป เทาน้ัน
ประโยชนทจ่ี ะได จากการนบั ถือพระพุทธศาสนาก็ไมมีอกี ตอไป การศกึ ษาพระ ไตรปฎกจึงเปนสิ่งสําคัญในการ
สบื ตอ พระพทุ ธศาสนาใหย ่งั ยืนตอ ไป

การสาธยายพระไตรปฎกดวยภาษาบาลี “อสชุฌาย มลา มนฺตา มนต มีการไม ทองบนไมสาธยาย
เปนมลทิน” ตามหลักของคัมภรี โ ลกนีติ ที่เราทานท้ังหลายเคยไดยนิ ไดฟ งมาเนิ่นนานแลว พระพุทธมนต คือ
พระไตรปฎกแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธก็เชนกัน ตองมีการเรียนรูใหเขาอกเขาใจทั้งตัวพระบาลี และคํา
ขยายคืออรรถกถาที่เรียกวา อุคคหณะ(การเรียนรู), แลวก็ทองบนสาธยายทรงจําใหไดจนคลองปากไมให
หลงลืมผิดเพี้ยน ที่เรียกวา ธารณะ(การทรงจํา), และหลังจากนั้น จึงนําไปบอกกลาวสั่งสอนผูอื่นไดอยาง
ถกู ตองตรงตามพทุ ธประสงคท่พี ระพุทธองคไ ดต รสั ไวท ี่เรียกวา วาจนะ(การบอกกลา วส่งั สอน)

การท่เี ราจะทรงจําไดนานๆ กต็ อ งพยายามฝกสติ ทาํ สมาธใิ หต ั้งม่ันแลวหมน่ั สาธยาย อยูเนืองๆ หรอื
ที่เรียกวา ทบทวน ถาสวดเขา กันหลายคนๆ กเ็ รียกวา คณสาธยาย การสาธยายน้ัน สามารถที่จะยกเอาสูตรใด
สูตรหนึ่งมาสาธยาย หรือเอานิกายใดนิกายหนึ่ง ปฎกใด ปฏกหนึ่งมาสาธยายก็ได เชนสาธยายคัมภีร
มหาปฏ ฐานเปนตน เพอื่ รักษา พระธรรมคาํ ส่งั สอนไมใหส ญู หายไป

เมื่อไมมีการสาธยาย ความทรงจํากเ็ ริ่มเสือ่ ม พระศาสนาก็นับถอยหลัง คือเริ่ม อันตรธานหายไปทีละ
คัมภีร นับตั้งแตคมั ภีรท ่ียากท่ีสุดคือคัมภรี มหาปฏ ฐาน ก็จะเริ่ม อันตรธานหายไปกอนคมั ภีรอ่ืนๆ เพราะไมมีผู
สามารถทรงจําเอาไวได ไมมีผูสืบทอด แตถาตราบใด ยังมีผูทรงจําไดเขาใจได สืบทอดเอาไวได ตราบน้ัน
พระศาสนาก็ยงั อยูใ นใจ ของเรายังไมเ สื่อมหายไปไหน พระศาสนาท่ตี ้ังมนั่ อยูใ นใจของเรานน้ั เปน ศาสนาทเ่ี ปน
เครื่องมือใหเราไดถือเอาประโยชนทั้งสามได คือประโยชนในโลกนี้ ประโยชนในโลกหนา และประโยชนอ ยาง
ยง่ิ คอื พระนิพพาน แตถา เราปลอยใหพระศาสนาต้ังอยูแตในตําราใบ ลานทโี่ บสถว หิ ารอยางเดียวไมต ั้งอยูในใจ
ของเรา เมื่อนั้น ศาสนาก็ไมใชของเรา เพราะไม สามารถอํานวยประโยชนสุขใหแกเราได ดังที่ทานโบราณา
จารยกลา วไววา

โปตถฺ เกส จ ยํ สิปปฺ  ปรหตฺเถสุ ยํ ธนํ, ยทา กิจเฺ จ สมปุ บฺ นฺเนน ตํ สปิ ฺป น ตํ ธน.ํ
ซ่งึ แปลวา มีความรู อยใู นตํารา มีทรพั ย แตอยใู นมือผูอื่น เมอ่ื คราวมีกิจรีบดว น ความรนู ้ัน กไ็ มใ ชของ
เรา ทรพั ยน ั้น ก็ไมใชข องเรา เพราะไมสามารถหยนิ นาํ เอามาใชไ ด

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗

วัตถปุ ระสงค

• เพอ่ื เปนการปลกู จิตสาํ นึก ปลูกฝง ความเปนชาวพทุ ธอยางแทจริง
• เพือ่ ความเขา ใจอยา งถูกตอ งตอพระธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธองค
• เพือ่ เปนการปพู น้ื ฐานของการเรยี นรูดว ยการสวดสาธยาย
• เพอ่ื ใหเ หน็ คณุ คาเห็นความสาํ คญั ของภาษาบาลที จี่ ะรักษาพระศาสนา
• เพื่อทําสมาธดิ ว ยการสวดสาธยาย
• เพอื่ ชว ยอนรุ ักษภาษาและวฒั นธรรมอันดีงามของชาวพุทธ
• เพื่อเจริญศรัทธาปสาทะตอ พระศาสนาไดโ ดยงา ย
• เพ่ือจดุ ประกายใหผเู ริ่มศึกษาธรรมไดเ หน็ ทศิ ทางในการศกึ ษาพระไตรปฎ ก
• เพอ่ื สรา งบุคลากรของศาสนาใหม คี ณุ ภาพมีองคความรูอยางถูกตอง ตรงตามพทุ ธประสงค

ผลทคี่ าดวาจะไดรบั

• พุทธบริษัท มีจิตสํานึก ระลึกรูหนาที่ มีความตื่นตัว ตื่นใจ รักพระศาสนา ไดปลูกฝงความเปนชาวพุทธอยาง
แทจ รงิ
• ไดความเขา ใจอยา งถูกตอ งตอ พระพทุ ธพจนซ ึ่งเปน หัวใจหลักของพระพทุ ธศาสนา
• ไดป ูพ้นื ฐานของการเรยี นรูดวยการสวดสาธยายอยา งเปน ระบบ
• ไดเห็นคุณคาเห็นความสาํ คญั ของภาษาบาลที ่ีจะรกั ษาพระศาสนา
• ไดอ นรุ กั ษภาษาและวัฒนธรรมประเพณอี นั ดีงามของชาวพุทธ
• ไดเจริญศรทั ธาปสาทะตอพระศาสนาไดโดยงา ย
• ไดจ ุดประกายใหผ เู ริ่มศึกษาธรรมไดเ หน็ ทศิ ทางในการศกึ ษาพระไตรปฎ ก
• ไดทําสมาธิดวยการสวดสาธยาย
• ไดสรางบคุ ลากรของศาสนาใหมคี ณุ ภาพมอี งคความรูอ ยา งถูกตองตรงตาม

พุทธประสงค ใหสมกบั คาํ วา เปนชาวพุทธ ซึ่งแปลวา ผรู ู ผูต น่ื ผูเบกิ บาน

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘

หมวดพระวินยั ปฎก
อัญเชิญเทวดา

สะรัชชงั สะเสนงั สะพนั ธงุ นะรนิ ทงั
ปะริตตานุภาโว สะทา รกั ขะตตู .ิ
ผะรติ ฺวานะ เมตตงั สะเมตตา ภะทนั ตา
อะวกิ ขติ ตะจติ ตา ปะริตตัง ภะณันตุ.

ทานผูเจริญทั้งหลาย ผูเ พียบพรอมดวยเมตตา จงแผไมตรีจิต ดวยคิดวา ขออานุภาพ แหงพระปริตร

จงรักษาพระราชา ผูเปนเจาแหงนรชน พรอมดวยราชสมบัติ พรอมดวย พระราชวงศ พรอมดวยเหลา
เสนามาตย แลว อยา ไดม จี ติ ฟงุ ซา น จึงต้ังใจสวดพระปรติ รเถดิ .

สะมนั ตา จกั กะวาเฬสุ อัตฺราคจั ฉนั ตุ เทวะตา
สทั ธมั มงั มนุ ริ าชัสสะ สณุ นั ตุ สคั คะโมกขะทงั ฯ

ขออญั เชิญเทวดาในจักรวาลท้ังหลายโดยรอบ มาสูส ถานทีน่ ี้ ขอเชิญฟง พระสทั ธรรม ของพระจอมมนุ ี

อนั ชี้ทางสวรรคแ ละนพิ พาน.

สัคเค กาเม จะ รูเป คริ สิ ิขะระตะเฏ จนั ตะลกิ เข วมิ าเน
ทเี ป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถมุ หิ เขตเต

ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธพั พะนาคา
ตฏิ ฐนั ตา สนั ติเก ยงั มุนวิ ะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ ันตุ.

ขอเชญิ เหลา เทพเจา ผสู ถติ อยูในสวรรคช ้ันกามภพกด็ ี ชนั้ รปู ภพก็ดี และภุมมเทวดา ผูสถิตอยูในวมิ าน

บนยอดภูเขา ในหุบผา ในอากาศ บนเกาะ ในแวน แควน ในบาน ในตน พฤกษา ในปา ชฏั ในเรอื นและในไรนา
ก็ดี และยกั ษ คนธรรพ นาค ผูส ถิตอยูในนํา บนบก ในที่ไมราบเรียบ อันอยูในที่ใกลเคียงก็ดี ขอจงมาประชุม

พรอ มกันในทีน่ ้ี ถอ ยคําใดเปน ของพระมหามนุ ี ขอทานสาธชุ นท้ังหลาย จงต้งั ใจสดบั ถอยคำน้ัน อันขาพเจาจกั กลา ว

ธมั มสั สะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา
ดกู อนทา นผเู จรญิ ทง้ั หลาย กาลนเ้ี ปน กาลฟงพระสทั ธรรม

ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยมั ภะทนั ตา
ดกู อนทา นผูเ จรญิ ท้ังหลาย กาลนีเ้ ปนกาลฟง พระสัทธรรม

ธมั มัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา ฯ

ดูกอนทานผูเจริญทัง้ หลาย กาลน้ีเปนกาลฟงพระสทั ธรรม.

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙
อะระหะโต
สมั มาสัมพุทธสั สะ. ปุพพภาคนมการ

(คาํ นอบนอ มในสว นเบื้องตน )

ขอนอบนอมแดพ ระผมู ีพระภาคเจา พระองคน้ัน
ซงึ่ เปนผไู กลจากกเิ ลส
ตรสั รชู อบไดโดยพระองคเ อง. (๓ ครั้ง)

เขมาเขมสรณทีปกคาถา

คาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษม

พะหงุ เว สะระณัง ยันติ ปพ พะตานิ วะนานิ จะ
อารามะรุกขะเจตฺยานิ มะนสุ สา ภะยะตชซติ า

มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง อาราม และรุกขเจดียบาง
เปนสรณะ

เนตงั โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมัง

เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทกุ ขา ปะมุจจะติ

นน่ั มใิ ชสรณะอันเกษมเลย น่นั มใิ ชส รณะอันสงู สุด เขาอาศยั สรณะนนั้ แลว ยอ มไมพน จากทุกขท ง้ั ปวงได

โย จะ พทุ ธญั จะ ธัมมญั จะ สงั ฆญั จะ สะระณัง คะโต

จตั ตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมปั ปญ ญายะ ปส สะติ

สว นผูใ ดถือเอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว เหน็ อรยิ สจั จ คือ ความจรงิ อันประเสริฐส่ี
ดวยปญ ญาอนั ชอบ

ทกุ ขงั ทุกขะสะมุปปาทงั ทุกขสั สะ จะ อะติกกะมัง

อะรยิ ัญจฏั ฐงั คิกัง มคั คัง ทกุ ขูปะสะมะคามนิ ัง

คือเห็นความทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความกาวลวงทุกขเสียได และหนทางมีองคแปด อันประเสริฐ
เครื่องถึงความระงับทกุ ข

เอตัง โข สะระณงั เขมงั เอตัง สะระณะมตุ ตะมัง

เอตงั สะระณะมาคมั มะ สพั พะทุกขา ปะมจุ จะติ

น่นั แหละ เปนสรณะอันเกษม นน่ั เปน สรณะอันสงู สดุ เขาอาศยั สรณะนนั้ แลว ยอ มพนจากทุกขทั้งปวงได.

(เร่ืองปุโรหติ ช่ืออคั คทิ ตั ข.ุ ธ.)

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๐

โอวาทปาติโมกขคาถา

ขันตี ปะระมงั ตะโป ตีติกขา ขันติ คอื ความอดกลน้ั เปน ธรรม เครือ่ งเผากเิ ลสอยางย่งิ

นพิ พานัง ปะระมัง วะทนั ติ พทุ ธา ผรู ูทัง้ หลาย กลา วพระนพิ พานวา เปนธรรมอันยง่ิ

นะ หิ ปพพะชโิ ต ปะรูปะฆาตี ผกู าํ จดั สตั วอ ่ืนอยู ไมช่อื วาเปน บรรพชติ เลย

สะมะโณ โหติ ปะรงั วเิ หฐะยันโต ผทู ําสตั วอน่ื ใหลําบากอยู ไมช อ่ื วา เปน สมณะเลย
สพั พะปาปส สะ อะกะระณัง การไมทาํ บาปทง้ั ปวง

กสุ ะลสั สูปะสัมปะทา การทํากุศลใหถงึ พรอม

สะจติ ตะปะรโิ ยทะปะนัง การชาํ ระจิตของตนใหข าวรอบ

เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั ธรรม ๓ อยา งนี้ เปนคําสง่ั สอนของ พระพุทธเจาท้ังหลาย

อะนูปะวาโท อะนปู ะมาโต การไมพ ดู ราย การไมทาํ ราย

ปาตโิ มกเข จะ สงั วะโร การสาํ รวมในพระปาตโิ มกข
มัตตัญุตา จะ ภตั ตสั มฺ งิ ความเปนผรู ปู ระมาณในการบรโิ ภค

ปน ตญั จะ สะยะนาสะนงั การนอน การนงั่ ในทอี่ ันสงดั

อะธจิ ติ เต จะ อาโยโค ความหมน่ั ประกอบในอธจิ ติ

เอตัง พุทธานสาสะนันติ ธรรม ๕ อยางนี้ เปนคาํ ส่งั สอนของ พระพุทธเจาท้งั หลาย

ปฐมพทุ ธภาสิตคาถา

คาถาแสดงปฐมพุทธพจน (ว.ิ พาหิรนิทาน)

อะเนกะชาติสงั สารัง สนั ธาวิสสัง อะนพิ พิสัง

เม่อื เรายงั ไมพบญาณ ไดแ ลน ทองเทยี่ วไปในสงสารอนั เปน อเนกชาติ

คะหะการัง คะเวสันโต ทกุ ขา ชาติ บนุ ัปปุนงั

แสวงหาอยูซ ง่ึ นายชา งปลกู เรอื น คือตณั หาผสู รางภพ การเกิดทกุ คราวเปน ทกุ ขร ่ำไป

คะหะการะกะ ทฏิ โฐสิ ปนุ ะ เคหัง นะ กาหะสิ

น่แี นะ ! นายชา งปลูกเรือน เรารจู กั เจาเสยี แลว เจาจะทําเรอื นใหเ ราไมไดอกี ตอ ไป

สพั พา เต ผาสกุ า ภัคคา คะหะกฎู ัง วสิ ังขะตัง

โครงเรอื นท้ังหมดของเจา เราหักเสียแลว ยอดเรอื นเรากร็ ื้อเสยี แลว

วิสงั ขาระตะดงั จิตตงั ตณั หานัง ขะยะมัชณะคาติ. (อภฐู . ท.ี สีล.)
จติ ของเราถงึ แลว ซึง่ สภาพทอ่ี ะไรปรุงแตงไมไดอีกตอ ไป

มนั ไดถงึ แลว ซง่ึ ความสน้ิ ไปแหง ตัณหา คือพระนพิ พาน (อฏฐใ ขุ. ขุทก.)

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๑

พุทธอุทานคาถา (ว.ิ มหา. ข.ุ อุทาน.)

ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณสั สะ

อะกัสสะ กงั ขา วะปะยันติ สพั พา ยะโต ปะชานาติ สะเหตธุ มั มัง.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน ้นั ยอ มส้ินไป เพราะมารูแจง ธรรมพรอ มท้งั เหตุ

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวันติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณสั สะ

อะถสั สะ กังขา วะปะยนั ติ สพั พา ยะโต ขะยัง ปจจะยานงั อะเวทิ.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฎแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน้นั ยอมสิน้ ไป เพราะไดรคู วามสนิ้ ไปแหง ปจจัยทง้ั หลาย.

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวนั ติ ธมั มา อาตาปโ น ฌายโต พรฺ าหฺมะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง สโู รวะ โอภาสะยะมนั ตะลิกขันต.ิ

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู พราหมณนั้น ยอมกําจัดมาร
และเสนาเสียได ดจุ พระอาทิตยอุทัยกาํ จัดมดื ทาํ อากาศใหสวา ง ฉะนั้น.

ปจ ฉิมพุทโธวาทปาฐะ

คาํ แสดงโอวาทคร้งั สุดทา ยของพระพุทธเจา

หันทะทานิ ภิกขะเว อามนั ตะยามิ โว
ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย บดั น้ี เราขอเตือนทา นทง้ั หลายวา

วะยะธัมมา สงั ขารา
สงั ขารทงั้ หลาย มีความเสื่อมไปเปน ธรรมดา

อปั ปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ
ทา นท้งั หลาย จงทาํ ความไมป ระมาทใหถงึ พรอมเถิด

อะยงั ตะถาคะตัสสะ ปจฉมิ า วาจา (มหาปรินิพพานสูตร ท.ี มหา.)
น้เี ปนวาจามใี นครง้ั สุดทา ยของพระตถาคต.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๒

รตนสุตตงั
ปะณิธานะโต ปฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย
ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมัตถะปาระมโิ ยติ
สะมะติงสะ ปาระมิโย ปูเรตวา ปญจะ มะหาปะรจิ จาเค
ตสิ โส จะริยา ปจ ฉมิ ัพภะเว คพั ภาวกั กนั ติง
ชาติง อะภนิ กิ ขะมะนงั ปะธานะจะริยงั โพธิปลลังเก
มาระวชิ ะยัง สัพพญั ุตะญาณปั ปะฏเิ วธัง
ธัมมะจักกปั ปะวตั ตะนัง นะวะ โลกตุ ตะระธมั เมติ
สพั เพปเม พุทธะคุเณ อาวัชชิตวฺ า เวสาลยิ า
ตสิ ุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะรติ ตัง กะโรนโต
อายสั ฺมา อานนั ทตั เถโร วิยะ การุญญะจติ ตัง อุปฏฐะเปตฺวา
เราทั้งหลาย จงตั้งจิตอันประกอบไปดวยความกรุณาในสัตวทั้งหลาย ดุจดังทานพระอานนทเถระผูมี
อายุรําพึงถึงพระพุทธคุณท้ังหลาย แมทั้งปวงของพระตถาคตเจา จาํ เดิมแตทรงปรารถนาพระพุทธภมู ิเปนตน
มา ทรงยงั พระบารมี ๓๐ ถวน ใหบ รบิ ูรณ คือ บารมี ๑๐ อปุ บารมี ๑๐ ปรมตั ถบารมี ๑๐ มหาบรจิ าค ๕ จรยิ า
๓ เสดจ็ ลงสูคพั โภทร ในภพอนั มใี นทส่ี ุด ประสตู ิแลว เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ บาํ เพญ็ ความเพียร ทรงชำนะ
มาร แทงตลอดพระสพั พัญุตญาณ ในโลกุตตรมรรม ๙ ณ โพธบิ ัลลังก ดังนี้ แลว กระทาํ พระปริตร ตลอดราตรี
ทัง้ ๓ ยาม ภายในกาํ แพง ๓ ชนั้ ในเมอื งเวสาลี.

โกฏสิ ะตะสะหสั เสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา
ยสั สาณัม ปะฏคิ คัณหันติ ยญั จะ เวสาลียัมปุเร
โรคามะนสุ สะทุพภิกขะ สมั ภูตนั ตวิ ิธมั ภะยัง
ขปิ ปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตนั ตัมภะณามะ เห ฯ
เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ยอมรับเอาซ่ึงอาชญา แหงพระปริตรอันใด อนึ่งพระปริตรอันใด
ยังภัย ๓ ประการ อนั เกิดจากโรค เกดิ จากอมนษุ ยและเกดิ จากขาวยาก หมากแพง ในเมอื งเวสาลี ใหอ นั ตรธาน
ไปโดยเร็วพลัน เราท้งั หลาย จงสวดพระปรติ รเปน เครื่องปองกนั ภยั อนั น้ัน เทอญ.

ยานธี ะ ภตู านิ สะมาคะตานิ รตนสุตตัง (รัตนสูตร)
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข
สพั เพวะ ภูตา สมุ ะนา ภะวันตุ อะโถป สกั กจั จะ สณุ ันตุ ภาสติ งั .
หมูเทวดาเหลาใด อยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุมกันแลวในที่นี้
ขอหมเู ทวดาท้ังหมดนัน้ จงมใี จดี และจงฟง สภุ าษิตโดยเคารพ ขอทานทง้ั หมดจงต้ังใจฟง

ตัสมฺ า หิ ภตู า นสิ าเมถะ สพั เพ เมตตัง กะโรถะ มานสุ ิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรนั ติ เย พะลิง ตสั ฺมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมตั ตา.
จงแผเมตตาไปในหมูประชาที่เปนมนุษย มนุษยเหลา ใด ยอมนําพลีกรรม คือ ทําบุญ อุทิศสวนกุศลไปให
ทานทั้งหลาย ทั้งกลางวันและกลางคืน เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลาย จงอยาประมาท จงชวยรักษามนุษย
เหลา น้นั ดว ยเถดิ .

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๓

ยงั กิญจิ วติ ตงั อิธะ วา หรุ ัง วา สคั เคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีดัง

นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ อทิ ัมป พุทเธ ระตะนงั ปะณตี งั

เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

ทรัพยเครื่องปลื้มใจอยางใดอยางหนึ่ง ในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนใด อันประณีต ในสวรรค

ทรัพยเครื่องปลื้มใจและรัตนะนั้น ที่เสมอดวยพระตถาคตไมมีเลย แมอันนี้เปน รัตนะอันประณีตใน

พระพทุ ธเจา ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวัสดจี งม.ี

ชะยัง วริ าคงั อะมะตงั ปะณตี งั ยะทัชฌะคา สกั ยฺ ะมุนี สะมาหิโต

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กญิ จิ อิทมั ป ธัมเม ระตะนัง ปะณตี ัง

เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พระศากยมุนี มีพระหฤทัยตั้งมั่น ทรงบรรลุธรรมใด เปนที่สิ้นกิเลส ปราศจาก ราคะ เปนอมตธรรมอัน

ประณีต สิ่งไร ๆ ที่เสมอดวยธรรมนัน้ ไมมี แมอนั น้ีเปน รัตนะอัน ประณีตในพระธรรม. ดวยคําสัตยนี้ ขอความ

สวัสดีจงม.ี

ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สจุ ิง สะมาธมิ านนั ตะรกิ ัญญะมาหุ

สะมาธนิ า เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ มั ป ธัมเม ระตะนัง ปะณตี ัง

เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐสุด ทรงสรรเสรญิ สมาธิอันใดวา เปนธรรมอันสะอาด ปราชญท้ังหลายกลาว

สมาธิอันใดวา ใหผลโดยลําดับ สมาธิอื่นที่เสมอดวยสมาธิอันนั้น ไมมี แมอันนี้เปนรัตนะ อันประณีตใน

พระธรรม ดวยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดจี งม.ี

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสตั ถา จตั ตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ

เต ทกั ขเิ ณยยา สุคะตสั สะ สาวะกา เอเตสุ ทนิ นานิ มะหปั ผะลานิ

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

บุคคลเหลาใด ๘ จําพวก ๔ คู อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแลว บุคคลเหลา นั้น เปนสาวกของพระ

สุคต ควรแกทักษิณาทาน ทานทั้งหลายที่เขาถวายในบุคคลเหลานั้น ยอมมีผลมาก แมอันนี้เปนรัตนะ

อนั ประณีตในพระสงฆ. ดวยคาํ สตั ยนี้ ขอความสวสั ดีจงมี.

เย สปุ ปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬฺเหนะ นิกกามโิ น โคตะมะสาสะนมั หิ

เต ปตตปิ ต ตา อะมะตงั วคิ ยั ฺหะ ลัทธา มุธา นพิ พตุ ิง ภญุ ชะมานา

อิทัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

พระอริยบุคคลเหลาใด ในศาสนาของพระพุทธโคดม ประกอบดวยความเพียร ดีแลว มีใจมั่นคง

ปราศจากความอาลัย พระอรยิ บคุ คลเหลานั้น ถงึ พระอรหัตตที่ควรถึง หยั่งเขา สูพระนิพพาน ไดความดับกิเลส

เอง เสวยผลอยู แมอ นั นเี้ ปน รตั นะอันประณตี ใน พระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยนี้ ขอความสวสั ดีจงมี.

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๔

ยะถินทะขีโล ปะฐะวงิ สิโต สยิ า จะตพุ ภิ วาเตกิ อะสัมปะกัมปโย

ตะกปู ะมงั สัปปรุ ิสัง วะทามิ โย อะรยิ ะสัจจานิ อะเวจจะ ปส สะติ

อิทมั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

เสาเขื่อนที่ฝงลงดินอยางมัน่ คงแลว ไมหวั่นไหวเพราะลมทั้ง ๔ ทิศ ฉนั ใด ผูใด พิจารณาเห็นอริยสัจจ

ทั้งหลาย เราเรียกผูนั้นวา สัตบุรุษ ผูไมหวั่นไหวเพราะโลกธรรม แมอันนี้เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดว ยคาํ สตั ยนี้ ขอความสวสั ดจี งม.ี

เย อะริยะสจั จานิ วภิ าวะยนั ติ คัมภรี ะปญเญนะ สุเทสติ านิ

กิญจาป เต โหนติ ภสุ ัปปะมตั ตา นะ เต ภะวัง อฏั ฐะมะมาทิยนั ติ

อทิ มั ป สังเฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตฯุ

พระโสดาบันจําพวกใด ทําใหแจงอริยสัจจ ที่พระศาสดาผูมีปญญาลึกซึ้งทรงแสดง ดีแลว ถึงแมวา

พระโสดาบันจําพวกน้นั จะเปนผูประมาทอยางแรงกลา ทานก็ไมถือเอาภพที่ ๘ แมอนั นี้เปน รัตนะอันประณตี
ในพระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ้ี ขอความสวัสดีจงม.ี

สะหาวสั สะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยสั สุ ธัมมา ชะหิตา ภะวนั ติ
สกั กายะทฏิ ฐิ วจิ ิกจิ ฉิตัญจะ สีลัพพะตัง วาป ยะทตั ถิ กญิ จิ

จะตูหะปาเยหิ จะ วปิ ปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภพั โพ กาตงุ

อทิ มั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

สักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา และสีลัพพตปรามาส อยา งใดอยางหนึง่ มีอยู สังโยชนธ รรม เหลานัน้ ยอมเปน

อนั พระโสดาบันละไดแลว พรอ มกับทสั สนสัมปทา คอื โสดาปต ติมรรค ทเี ดียว อนง่ึ พระโสดาบนั เปนผูพนแลว

จากอบายทงั้ ๔ ไมอาจทจ่ี ะทาํ อภฐิ าน ๕ คอื อนนั ตรยิ กรรม ๕ กับการเขารีต ๑ แมอ ันนี้เปนรัตนะอันประณีต
ในพระสงฆ. ดว ยคําสตั ยน ี้ ขอความสวัสดจี งมี.

กญิ จาป โส กมั มงั กะโรติ ปาปะกงั กาเยนะ วาจายทุ ะ เจตะสา วา

อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏจิ ฉะทายะ อะภัพพะตา ทฏิ ฐะปะทัสสะ วตุ ตา

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

ถึงแมวาพระโสดาบันน้ัน ยังทําบาปกรรมทางกาย วาจา หรือใจไปบาง เพราะความ ประมาท ทานไม
อาจจะปกปดบาปกรรมน้นั ได พระผูมีพระภาคเจายอมตรัสความที่พระโสดาบัน ผูเห็นบทคือพระนิพพานแลว

ไมอ าจปกปดบาปกรรมน้นั ไว แมอนั น้เี ปนรัตนะอนั ประณีตในพระสงฆ. ดว ยคําสตั ยน ี้ ขอความสวัสดีจงม.ี

วะนปั ปะคมุ เพ ยะถา ผุสสติ ัคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมฺ งิ คมิ เห

ตะถปู ะมงั ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ นิพพานะคามงิ ปะระมัง หิตายะ

อิทมั ป พทุ เธ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พุม ไมง ามในปา ท่ยี อดมดี อกบานสะพร่งั ในตน เดอื นคิมหะแหงฤดคู ิมหันต ฉันใด พระผูมีพระภาคเจา

ไดท รงแสดงธรรมอนั ประเสรฐิ เปน เคร่ืองใหถึงพระนพิ พาน เพือ่ ประโยชน อยางยิ่งแกสัตวท งั้ หลาย ก็อุปมาฉนั

นน้ั แมอ ันนีเ้ ปน รัตนะอันประณีตในพระพทุ ธเจา ดว ยคําสตั ยน้ี ขอความสวสั ดีจงมี.

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๕

วะโร วะรัญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ

อทิ ัมป พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐ ทรงรูธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ ทรงนํามาซึ่งธรรม

อันประเสริฐ ไมมีผูอื่นยิ่งไปกวา ไดทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ แมอันนี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจา .

ดวยคําสตั ยน้ี ขอความสวัสดีจงม.ี

ขณี ัง ปรุ าณัง นะวัง นัตถิ สมั ภะวัง วริ ตั ตะจิตตายะตเิ ก ภะวสั มฺ ิง

เต ขีณะพชี า อะวริ ฬุ ฺหฉิ นั ทา นพิ พนั ติ ธีรา ยะถายมั ปะทโี ป

อิทมั ป สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

กรรมเกาของพระอริยบุคคลเหลาใด สิ้นไปแลว กรรมสมภพใหมยอมไมมี พระอริยบุคคลเหลาใด

มีจิตอันหนายแลวในภพตอไป พระอริยบุคคลเหลานั้น มีพืชสิ้นไปแลว มีความพอใจอันงอกไมไดแลว

เปนผูมีปญญา ยอมปรนิ พิ พานดับสนิท เหมือนประทีปดวงนี้ ฉะนัน้ แมอันนี้เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดวยคําสตั ยน้ี ขอความสวสั ดีจงมี. คร้ันจบพระปริตรแลว ทาวสกั กเทวราชไดตรสั เสรมิ เปน คาถาวาดงั นี้

ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข
ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะ ปชู ิตงั พุทธงั นะมสั สามะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาไดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่นี้
จงพรอ มใจกันนอบนอมพระพทุ ธเจา ผเู สดจ็ ไปแลวอยางงาม อนั เทวดา และมนุษยบูชาแลว ขอความสวสั ดีจงมี.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข

ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะ ปูชติ ัง ธัมมัง นะมสั สามะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี

จงพรอ มใจกนั นอบนอมพระธรรมอนั เปน ไปแลว อยางงาม อนั เทวดา และมนุษยบชู าแลว ขอความสวัสดจี งมี.

ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข

ตะถาคะตงั เทวะมะนสุ สะ ปชู ิตัง สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี

จงพรอ มใจกนั นอบนอมพระสงฆผ ดู าํ เนนิ ไปแลว อยางงาม อนั เทวดา และมนษุ ยบ ชู าแลว ขอความสวัสดจี งมี

(ข.ุ ขทุ ก. ขุ. สตุ ต.)

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๖

วินยปฎเก มหาวคคฺ ปาลยิ า ปฐมภาเค

พระวินยั ปฎก มหาวรรค ภาค ๑
มหาขนธฺ โก
มหาขันธกะ

อุรุเวลปาฏหิ ารยิ กถา

เร่ืองอุรเุ วลปาฏหิ าริย

[๓๗] อถโข ภควา อนปุ ุพฺเพน จาริกํ จรมาโน เยน อุรุเวลา ตทวสร.ิ
[๓๗] คร้งั นนั้ พระผูม พี ระภาคเสดจ็ จารกิ โดยลำดบั ถึงตำบลอรุ เุ วลาแลว.
เตน โข ปน สมเยน อรุ เุ วลายํ ตโย ชฎลิ า ปฎวิ สนตฺ ิ อุรเุ วลกสสฺ โป นทีกสฺสโป คยากสสฺ โปต.ิ
กโ็ ดย สมยั น้นั แล ชฎิล ๓ คน คือ อุรเุ วลกัสสป ๑ นทีกสั สป ๑ คยากัสสป ๑ อาศยั อยูในตำบลอุรุเวลา.
เตสุ อรุ ุเวลกสฺสโป ชฎโิ ล ปฺจนนฺ ํ ชฎิลสตานํ นายโก โหติ วนิ ายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข.
บรรดาชฎิล ๓ คนนั้น ชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป เปนผูนำ เปนผูฝกสอน เปนผูเลิศ เปนหัวหนา
เปนประธานของชฎิล ๕๐๐ คน.
นทกี สฺสโป ชฎิโล ติณณฺ ํ ชฎลิ สตานํ นายโก โหติ วินายโก อคฺโค ปมโุ ข ปาโมกโฺ ข.
ชฎิลช่ือนทีกสั สป เปน ผูน ำ เปน ผูฝก สอน เปน ผเู ลิศ เปนหัวหนา เปน ประธานของชฎลิ ๓๐๐ คน.
คยากสฺสโป ชฎิโล ทวฺ ินนฺ ํ ชฎลิ สตานํ นายโก โหติ วนิ ายโก อคฺโค ปมโุ ข ปาโมกฺโข.
ชฎิลช่ือคยากสั สป เปน ผนู ำ เปน ผูฝกสอน เปนผเู ลิศ เปนหวั หนา เปนประธานของชฎิล ๒๐๐ คน.
อถโข ภควา เยน อรุ ุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส อสฺสโม เตนุปสงฺกมิ อุปสงกฺ มิตวฺ า อุรุเวลกสฺสป ชฎิลํ
เอตทโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยฺยาม เอกรตตฺ ึ อคยฺ าคาเรติ.
ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคไดเสด็จเขาไปสูอาศรมของชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสป แลวไดตรัสกะชฎิลช่ือ
อรุ ุเวลกัสสป วา ดกู รกัสสป ถา ทานไมห นักใจ เราขออาศัยอยใู นโรงบูชาเพลงิ สกั คนื หน่ึง.
“น โข เม มหาสมณ ครุ อปจ โข จณฺเฑตถฺ นาคราชา อทิ ฺธมิ า อาสวี ิโส โฆรวโิ ส โส ตํ มา วิเหเฐสตี .ิ
อรุ .ุ ขา แตม หาสมณะ ขาพเจา ไมห นกั ใจเลย แตในโรงบชู าเพลงิ น้นั มพี ญานาคดรุ ายมีฤทธิ์ เปนอสรพิษ
มพี ิษรายแรง อยา เลย มันจะทำใหท านลำบาก.
ทุติยมปฺ  โข ภควา อรุ ุเวลกสสฺ ป ชฎิลํ เอตทโวจ สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยยฺ าม เอกรตตฺ ึ อคฺยาคาเรติ.
แมครั้งที่สอง พระผูมีพระภาคไดตรัสแกชฎิลชื่ออุรุเวลกัสสปวา ดูกรกัสสป ถาทานไมหนักใจ
เราขออาศยั อยใู นโรงบูชาเพลงิ สกั คนื หนึ่ง.
“น โข เม มหาสมณ ครุ อปจ โข จณเฺ ฑตถฺ นาคราชา อิทฺธมิ า อาสีวโิ ส โฆรวโิ ส โส ตํ มา วิเหเฐสีต.ิ
อรุ .ุ ขาแตม หาสมณะ ขา พเจา ไมห นักใจเลย แตในโรงบูชาเพลิงนน้ั มพี ญานาคดุรายมีฤทธ์ิ เปนอสรพิษ
มพี ษิ รา ยแรง อยา เลย มันจะทำใหท านลำบาก.

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๗

ตติยมปฺ  โข ภควา อรุ เุ วลกสฺสป ชฎลิ ํ เอตทโวจ สเจ เต กสฺสป อครุ วเสยยฺ าม เอกรตฺตึ อคฺยาคาเรติ.
แมครั้งที่สาม พระผูมีพระภาคไดต รัสแกชฎิลชื่ออุรเุ วลกัสสปวา ดูกรกัสสป ถาทานไมหนักใจ เราขอ
อาศยั อยูใ นโรงบชู าเพลิงสักคืนหนงึ่ .

“น โข เม มหาสมณ ครุ อปจ โข จณฺเฑตถฺ นาคราชา อทิ ธฺ มิ า อาสีวโิ ส โฆรวโิ ส โส ตํ มา วิเหเฐสตี ิ.
อรุ .ุ ขาแตม หาสมณะ ขาพเจา ไมหนักใจเลย แตใ นโรงบูชาเพลิงน้ันมีพญานาคดรุ ายมีฤทธ์ิ เปนอสรพิษ
มีพษิ รายแรง อยา เลย มนั จะทำใหท านลำบาก

“อปฺเปว มํ น วเิ หเฐยยฺ องิ ฆฺ ตฺวํ กสสฺ ป อนุชานาหิ อคฺยาคารนฺต.ิ
ภ. ลางที พญานาคจะไมท ำใหเ ราลำบาก ดกู รกสั สป เอาเถดิ ขอททา นจงอนุญาตโรงบชู าเพลงิ .

“วิหร มหาสมณ ยถาสขุ นฺต.ิ
อรุ ุ. ขา แตม หาสมณะ เชญิ ทา นอยูตามสบายเถิด.

อถโข ภควา อคฺยาคารํ ปวิสิตฺวา ติณสนฺถรกํ ปฺญาเปตฺวา นิสีทิ ปลฺลงฺกํ อาภุชิตฺวา อุชุํ กายํ
ปณธิ าย ปริมุขํ สตึ อปุ ฐเปตฺวา.

ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเสด็จเขาไปสูโรงบูชาเพลิง แลวทรงปูหญา เครื่องลาดประทับนั่งคูบัลลังก
ตงั้ พระกายตรง ดำรงพระสติมั่น.

[๓๘] อถโข โส นาโค อททฺ ส ภควนตฺ ํ ปวิ ฐํ ทิสฺวาน ทุกฺขี ทมุ ฺมโน ปธปู าสิ
[๓๘] คร้งั นัน้ พญานาคนั้นไดเ หน็ พระผมู พี ระภาคเสด็จเขาไปดงั น้นั ครนั้ แลว มคี วามข้ึงเคียด ไมพ อใจ
จงึ บงั หวนควันขึน้ .

ปาฏิหาริยที่ ๑

อถโข ภควโต เอตทโหสิ “ยนฺนูนาหํ อิมสสฺ นาคสฺส อนปุ หจฺจ ฉวิจฺ จมฺมฺจ มํสฺจ นฺหารุฺจ
อฏฐิมิ ชฺ ฺจ เตชสา เตชํ ปริยาเทยยฺ นฺติ.

ลำดับนั้น พระผูม ีพระภาคไดทรงดำริวา ไฉนหนอ เราพึงครอบงำเดชของพญานาคนีด้ วยเดช ของตน
ไมกระทบกระทง่ั ผิวหนัง เนอ้ื เอน็ กระดูก และเยื่อในกระดกู ดังน.้ี

อถโข ภควา ตถารปู  อิทธฺ าภสิ งฺธารํ อภสิ งขฺ รติ ฺวา ปธูปาสิ.
แลวทรงบนั ดาลอิทธาภสิ งั ขารเชน นั้น ทรงบงั หวนควนั แลว.

อถโข โส นาโค มกขฺ ํ อสหนโฺ ต ปชฺชล.ิ
พญานาคน้ันทนความลบหลูไมไ ด จงึ พนไฟสใู นทนั ท.ี

ภควา เตโชธาตํุ สมาปชชฺ ิตฺวา ปชฺชล.ิ
แมพ ระผูม พี ระภาคกท็ รงเขา กสณิ สมาบัตมิ ีเตโชธาตุเปนอารมณ บนั ดาลไฟตานทานไว.

อุภนิ ฺนํ สโฺ ชติภูตานํ อคฺยาคารํ อาทติ ฺตํ วยิ โหติ สมฺปชฺชลิตํ สโฺ ชติภูต.ํ
เมือ่ ทั้งสองฝา ยโพลงไฟขนึ้ โรงบูชาเพลงิ รงุ โรจน เปน เปลวเพลงิ ดุจไฟลกุ ไหมท ว่ั ไป.

สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๘

อถโข เต ชฎิลา อคยฺ าคารํ ปริวาเรตฺวา เอวมาหํสุ อภริ ูโป วต โภ มหาสมโณ นาเคน วเิ หฐยิ ตตี ิ.
จึงชฎิลพวกนั้นพากันลอมโรงบูชาเพลิง แลวกลาวอยางนี้วา ชาวเรา พระมหาสมณะรูปงาม คงถูก
พญานาคเบยี ดเบียนแน.
อถโข ภควา ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน ตสฺส นาคสฺส อนุปหจฺจ ฉวิฺจ จมฺมฺจ มํสฺจ นฺหารุ ฺจ
อฐิฺจ อฐิมิฺชจฺ เตชสา เตชํ ปริยาทยิตฺวา ปตฺเต ปกฺขปิ ตวฺ า อุรเุ วลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส ทสเฺ สสิ อยนฺ
เต กสสฺ ป นาโค ปริยาทนิ ฺโน อสสฺ เตชสา เตโชติ.
ตอมา พระผูมีพระภาคไดทรงครอบงำเดชของพญานาคนั้น ดวยเดชของพระองค ไมก ระทบกระท่ัง
ผิวหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก และเยื่อในกระดูก ทรงขดพญานาคไวในบาตร โดยผานราตรีน้ัน แลวทรงแสดงแก
ชฎิลอุรุเวลกัสสปดวย พระพุทธดำรัสวา ดูกรกัสสป นีพ่ ญานาคของทาน เราครอบงำ เดชของมันดวยเดชของ
เราแลว
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
จณฺฑสฺส นาคราชสฺส อิทธฺ ิมโต อาสวี ิสสสฺ โฆรวสิ สฺส เตชสา เตชํ ปริยาทยิสฺสติ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา
อหนตฺ .ิ
จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปไดดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท จึงครอบงำเดชของ
พญานาคที่ดุราย มีฤทธิ์ เปนอสรพิษ มีพิษรายแรง ดวยเดชของตนได แตพระมหาสมณะนี้ ก็ไมเปน
พระอรหันตเ หมอื นเราแน

[๓๙] เนรฺชราย ภควา อุรุเวลกัสฺสป ชฎิลมโวจ “สเจ เต กสฺสป อครุ วิหเรมุ อชฺชุโณฺห อคฺคิ
สรณมหฺ ีติ

[๓๙] ที่แมน้ำเนรัญชรา พระผูมีพระภาคไดตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปวาดังนี้ ดูกรกัสสป ถาทานไม
หนกั ใจ เราขออาศยั อยูในโรงบชู าเพลงิ สักวันหนึ่ง.

“น โข เม มหาสมณ ครุ ผาสกุ าโม จ ตํ นิวาเรมิ จณเฺ ฑตฺถ นาคราชา อทิ ฺธิมา อาสีวโิ ส โฆรวโิ ส โส
ตํ วเหเฐสีต.ิ

อุรุ. ขาแตมหาสมณะ ขาพเจาไมหนักใจเลย แตขาพเจาหวังความสำราญจึงหามทานวา ในโรงบูชา
เพลิงน้นั มีพญานาคดุราย มฤี ทธ์ิ เปน อสรพิษ มพี ษิ รา ยแรง อยา เลย มันจะทำใหท านลำบาก.

“อปเฺ ปว มํ น วเิ หเฐยฺย อิงฺฆ ตฺวํ กสสฺ ป อนชุ านาหิ อคฺยาคารนิติ.
ภ. ลางที พญานาคนัน้ จะไมทำใหเ ราลำบาก ดูกรกัสสป เอาเถิด ทา นจงอนญุ าตโรงบชู าเพลงิ .
“ทนิ ฺนนตฺ ิ นํ วิทิตวฺ า อภโี ต ปาวิสิ ภยมตีโต.
พระผูมีพระภาคทรงทราบอุรุเวลกัสสปนั้นวา อนุญาตใหแลว ไมทรงครั่นครามปราศจาก ความกลัว
เสด็จเขา ไป.
ทสิ วฺ า อสิ ึ ปวิ ฐ ํ อหนิ าโค ทุมฺมโน ปธปู าสิ.
พญานาคเหน็ พระผมู พี ระภาคผแู สวงคุณความดี เสดจ็ เขาไปแลว ไมพ อใจ จงึ บังหวนควันข้นึ .

สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๑๙

สุมนมานโส น วิมโน มนสุ สฺ นาโคป ตตถฺ ปธูปาส.ิ
สว นพระพุทธเจา ผูเปนมนษุ ยประเสริฐ มีพระทยั ดี มีพระทัยไมขดั เคือง ทรงบังหวนควนั ขึ้น ในทีน่ ั้น.
มกขฺ จฺ อสหมาโน อหนิ าโค ปาวโกว ปชฺชล.ิ
แตพ ญานาคทนความลบหลูไมไ ด จึงพนไฟส.ู
เตโชธาตุกสุ โล มนุสสฺ นาโคป ตตถฺ ปชชฺ ล.ิ
สว นพระพุทธเจา ผูเปน มนษุ ยป ระเสริฐ ทรงฉลาดในกสณิ สมาบตั มิ เี ตโชธาตเุ ปน อารมณ ไดท รงบนั ดาล
ไฟตา นทานไวใ นทนี่ ้นั .
อภุ ินฺนํ สโฺ ชติภตู านํ อคยฺ าคารํ อุทิจจฺ เร.
เมื่อทั้งสองฝา ยโพลงไฟขึ้นแลว โรงบชู าเพลิงรุงโรจนเ ปน เปลวเพลิง.
ชฎิลา “อภริ ูโป วต โภ มหาสมโณ นาเคน วิเหฐยิ ตตี ิ ภณนตฺ .ิ
พวกชฎลิ กลาวกนั วา ชาวเรา พระสมณะรูปงามคงถกู พญานาคเบยี ดเบียนแน.
อถ รตตฺ ยิ า อจจฺ เยน อหินาคสสฺ อจฺจิโย น โหนตฺ .ิ
ครน้ั ราตรีผานไป เปลวไฟของพญานาคไมป รากฏ.
อทิ ฺธมิ โต ปน ฐติ า อเนกวณฺณา อจฺจโิ ย โหนฺต.ิ
แตเปลวไฟสีตาง ๆ ของพระผูมีพระภาคผทู รงฤทธ์ิ ยังสถิตอยู.
นลี า อถ โลหติ กา มเฺ ชฐา ปตกา ผลิกวณณฺ าโย องฺคริ สสฺส กาเย อเนกวณฺณา อจฺจิโย โหนตฺ ิ.
พระรัศมีตาง ๆ คือสีเขยี ว สีแดง สีหงสบาท สีเหลอื ง สีแกว ผลึก ปรากฏท่ีพระกายพระอังครี ส.
ปตฺตมฺหิ โอทหิตฺวา อหินาคํ พฺราหฺมณสฺส ทสฺเสสิ อยํ เต กสฺสป นาโค ปริยาทินฺโน อสฺส เตชสา
เตโชติ
พระพุทธองคทรงขดพญานาคไวในบาตรแลว ทรงแสดงแกพราหมณวา ดูกรกัสสป นี่พญานาค
ของทาน เราครอบงำเดชของมันดว ยเดชของเราแลว .
อถโข อรุ เุ วลกสสฺ โป ชฎิโล ภควโต อมิ ินา อิทฺธปิ าฏหิ าริเยน อภปิ ปฺ สนโฺ น ภควนฺตํ เอตทโวจ “อเิ ธว
มหาสมณ วิหร อหนฺเต ธุวภตเฺ ตนาติ.
ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสป เลื่อมใสยิ่งนัก เพราะอิทธิปาฏิหารยนี้ของพระผูมีพระภาค ไดทูลคำน้ี
ตอ พระผูม พี ระภาควา ขาแตมหาสมณะ นมิ นตอยใู นที่น้แี หละ ขา พเจาจกั บำรุงทานดวยภตั ตาหารประจำ.

ปฐมํ ปาฏิหาริยํ
ปาฏิหารยิ ท ี่ ๑ จบ

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๐

ปาฏิหารยิ  ที่ ๒

[๔๐] อถโข ภควา อรุ ุเวลกสฺสปสสฺ ชฎลิ สฺส อสสฺ มสสฺ อวิทูเร อฺญตรสฺมึวนสณเฺ ฑ วิหาส.ิ
[๔๐] ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ ไพรสณฑแหงหนึ่ง ไมไกลจากอาศรมของชฎิล
อรุ เุ วลกสั สป.
อถโข จตฺตาโร มหาราชา อภิกฺกนตฺ าย รตตฺ ิยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺป วนสณฺฑํ โอภาเสตวฺ า
เยน ภควา เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฐํสุ เสยฺยถาป มหนฺตา
อคฺคกิ ฺขนธฺ า.
คร้ังนน้ั ทา วมหาราชทั้ง ๔ เมอื่ ราตรีปฐมยามผานไปแลว เปลงรัศมีงาม ยงั ไพรสณฑท ้งั สิ้นใหสวางไสว
แลวเขาไปเฝาพระผูม ีพระภาค ครั้นถึงแลวจึงถวายบังคมพระผูมีพระภาค ไดยืนเฝาอยูทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟ
ใหญฉ ะนัน้ .
อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฎิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ
เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฐิตํ ภตฺตํ เก นุ โข เต มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา
เกวลกปฺป วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตวํ เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา จตุทฺทิสา อฐํสุ
เสยยฺ ถาป มหนฺตา อคคฺ ิกขฺ นธฺ าติ.
ตอ มาชฎิลอุรเุ วลกัสสป เขา ไปเฝาพระผูมีพระภาคโดยผานราตรนี ั้น คร้นั ถึงแลว ไดท ูลคำน้ตี อพระผูมี
พระภาควา ถึงเวลาแลว มหาสมณะ ภตั ตาหารเสรจ็ แลว พวกนั้นคอื ใครกันหนอ เมอ่ื ราตรปี ฐมยามผานไปแลว
มีรศั มีงาม ยังไพรสณฑท้ังสิ้นใหสวางไสว เขาไปหาทาน ครั้นถึงแลวอภิวาททา น ไดยืนอยูทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟ
ใหญฉะนั้น?

“เอเต โข กสฺสป จตฺตาโร มหาราชาโน เยนาหํ เตนปุ สงฺกมึสุ ธมฺมสสฺ วนายาต.ิ
พระผมู ีพระภาคตรัสตอบวา ดกู รกสั สป พวกนน้ั คอื ทาวมหาราชท้ัง ๔ เขา มาหาเราเพ่อื ฟงธรรม.

อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ มหิทฺธิโก โข “มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
จตตฺ าโรป มหาราชาโน อปุ สงกฺ มสิ สฺ นตฺ ิ ธมมฺ สสฺ วนาย น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.ิ

ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปไดมีความดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับ
ทา วมหาราชท้ัง ๔ เขามาหาเพอื่ ฟง ธรรม แตก ไ็ มเปน พระอรหันตเหมอื นเราแน.

อถโข ภควา อรุ ุเวลกสสฺ ปสฺส ชฎลิ สฺส ภตตฺ ํ ภุฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณเฺ ฑ วหิ าสิ.
ครง้ั น้ัน พระผูมีพระภาคเสวยภตั ตาหารของชฎิลอรุ เุ วลกสั สป แลวประทบั อยูใ นไพรสณฑ ตำบลน้ันแล.

ทตุ ิยํ ปาฏิหารยิ ํ.
ปาฏหิ าริยที่ ๒ จบ

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๑

ปาฏิหาริยท ี่ ๓

[๔๑] อถโข สกฺโก เทวานมินฺโท อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปฺป วนสณฺฑํ
โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฐาสิ เสยฺยถาป
มหาอคคฺ กิ ฺขนโฺ ธ ปุรมิ าหิ วณณฺ นภิ าหิ อภกิ ฺกนฺตตโร จ ปณีตตโร จ.

[๔๑] ครัง้ นั้น ทาวสักกะจอมทวยเทพ เมื่อราตรีปฐมยามลวงไปแลว เปลงรัศมีงาม ยังไพรสณฑทั้งสน้ิ
ใหสวางไสว เขา ไปเฝาพระผูม ีพระภาค ครั้นถึงแลวจึงถวายบังคมพระผูมีพระภาค ไดประทับยืนอยู ณ ท่ีควร
สว นขางหน่งึ ดจุ กองไฟใหญ งามแลประณีตกวารศั มีแตก อน.

อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฎิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมติ ฺวา ภควนฺตํ
เอตทโวจ “กาโล โข มหาสมณ นิฺตํ ภตฺตํ โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนตฺ าย รตฺติยา อภิกกฺ นฺตวณฺโณ
เกวลกปฺป วนสณฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฐาสิ
เสยฺยถาป มหาอคฺคกิ ขฺ นโฺ ธ ปรุ ิมาหิ วณฺณนภิ าหิ อภิกกฺ นุตตโร จ ปณตี ตโร จาต.ิ

ตอ มา ชฎิลอรุ เุ วลกสั สปเขาไปเฝา พระผมู ีพระภาคโดยผานราตรีน้ัน คร้นั ถงึ แลว ได ทูลคำนตี้ อ พระผูมี
พระภาควา ถงึ เวลาแลว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแลว ผูน้ันคอื ใครกันหนอ เมื่อราตรปี ฐมยาม ผานไปแลว
เปลงรศั มงี าม ยงั ไพรสณฑท ั้งสนิ้ ใหส วา งไสว เขา มาหาทา น ครั้นถงึ แลว อภวิ าททาน ไดยนื อยู ณ ทคี่ วรสวนขาง
หนง่ึ ดจุ กองไฟใหญ งามและประณตี กวา รศั มีแตกอน?

เอโส โข กสฺสป สกฺโก เทวานมินโฺ ท เยนาหํ เตนปุ สงกฺ มิ ธมฺมสสฺ วนายาติ.
พระผมู พี ระภาคตรสั ตอบวา ดกู รกสั สป ผนู ้นั คือทา วสักกะ จอมทวยเทพเขามาหาเราเพือ่ ฟงธรรม.
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
สกฺโกป เทวานมนิ โฺ ท อุปสงกฺ มสิ สฺ ติ ธมฺมสฺสวนาย น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.ิ
ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปไดมีความดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับ
ทา วสกั กะจอมทวยเทพเขา มาหาเพือ่ ฟงธรรม แตก ไ็ มเ ปน พระอรหนั ตเ หมือนเราแน.
อถโข ภควา อรุ ุเวลกสฺสปสฺส ชฎลิ สฺส ภตตฺ ํ ภุฺชติ ฺวา ตสฺมเึ ยว วนสณเฺ ฑ วหิ าส.ิ
ครง้ั นั้น พระผูมพี ระภาคเสวยภตั ตาหารของชฎลิ อรุ เุ วลกสั สป แลว ประทับอยูใน ไพรสณฑ ตำบลน้ันแล.

ตติยํ ปาฏหิ ารยิ ํ.
ปาฏิหารยิ ท ่ี ๓ จบ

ปาฏหิ าริยท ี่ ๔

[๔๒] อถโข พฺรหมฺ า สหมฺปติ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ เกวลกปปฺ  วนสณฺฑํ โอภาเสตฺ
วา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อปุ สงกฺ มิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏิฐาสิ เสยฺยถาป มหาอคฺคิกฺขนฺโธ
ปุรมิ าหิ วณฺณนิภาหิ อภิกกฺ นฺตโร จ ปณีตตโร จ.

[๔๒] ครั้งนั้น ทาวสหัมบดีพรหม เมื่อราตรีปฐมยามลวงไปแลว เปลงรัศมีงาม ยังไพรสณฑทั้งสิ้น
ใหสวา งไสว เขาไปเฝาพระผูมีพระภาค ครั้นถึงแลวจึงถวายบังคมพระผูมีพระภาค ไดยืนอยู ณ ที่ควรสวน
ขางหน่งึ ดจุ กองไฟใหญ งามและประณตี กวารศั มแี ตกอ น.

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๒

อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฎิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมติ ฺวา ภควนฺตํ
เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฐิตํ ภตฺตํ โก นุ โข โส มหาสมณ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺโณ
เกวลกปฺป วนสณฺฑํ โอภาเสตฺวา เยน ตวํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฐาสิ
เสยยฺ ถาป มหาอคคฺ กิ ขฺ นฺโธ ปรุ ิมาหิ วณฺณนภิ าหิ อภิกฺกนฺตตโร จ ปณตี ตโร จาต.ิ

ครั้นลวงราตรีนั้น ชฏลิ อุรเุ วลกัสสป ไดเขาไปเฝาพระผูมีพระภาค คร้ันถงึ แลวไดทูลคำนี้ตอ พระผูมี
พระภาควา ถงึ เวลาแลว มหาสมณะ ภตั ตาหารเสร็จแลว ผูน้ันคอื ใครกันหนอ เมื่อราตรปี ฐมยาม ผานไปแลว
เปลงรัศมีงาม ยังไพรสณฑทั้งสิ้นใหสวางไสว เขามาหาทาน ครั้นถึงแลวอภิวาททาน ไดยืนอยู ณ ที่ควรสวน
ขา งหนงึ่ ดจุ กองไฟใหญ งามและประณตี กวารศั มีแตก อ น?

“เอโส โข กสสฺ ป พรฺ หฺมา สหมฺปติ เยนาหํ เตนุปสงกฺ มิ ธมมฺ สฺสวนายาติ.
พระผูมีพระภาคตรัสตอบวา ดกู รกสั สป ผูน้นั คอื ทา วสหัมพรหมเขามาหาเราเพ่อื ฟงธรรม.
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
พฺรหมฺ า สหมปฺ ติ อุปสงกฺ มิสสฺ ติ ธมมฺ สฺสวนาย น เตฺวว จ โข อรหา ยถา อหนฺติ.
ครั้งน้ัน ชฎิลอุรเุ วลกสั สปไดดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับทาวสหัมบดี
พรหมเขามาหาเพือ่ ฟง ธรรม แตก ไ็ มเ ปน พระอรหนั ตเหมอื นเราแน.
อถโข ภควา อรุ ุเวลกสฺสปสฺส ชฎลิ สสฺ ภตตฺ ํ ภุ ชฺ ติ ฺวา ตสมึเยว วนสณฺเฑ วิหาสิ.
ครงั้ นั้น พระผมู ีพระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอรุ ุเวลกสั สปแลว ประทับอยใู นไพรสณฑ ตำบลนนั้ แล.

จตตุ ถฺ ํ ปาฏิหารยิ ํ.
ปาฏหิ ารยิ ที่ ๔ จบ

ปาฏหิ ารยิ ท่ี ๕

[๔๓] เตน โข ปน สมเยน อุรเุ วลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส มหายฺโญ ปจฺจปุ ฏฐิ ิโต โหต.ิ
[๔๓] กโ็ ดยสมัยนนั้ แล ชฎิลอุรุเวลกสั สปไดเ ตรียมการบูชายัญเปนการใหญ.
เกวลกปปฺ า จ องฺคมคธา ปหตู ํ ขาทนียํ โภชนยี ํ อาทาย อภกิ ฺกมติ กุ ามา โหนต.ิ
และประชาชนชาวอังคะและมคธทง้ั สิ้น ถือของเคีย้ วของบรโิ ภคเปน อนั มาก บา ยหนา มุงไปหา.
อถโข อุรุเวลกสสฺ ปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “เอตรหิ โข เม มหายฺโญ ปจฺจปฐิโต เกวลกปฺปา จ
องฺคมคธา ปหูตํ ขาทนียํ โภชนียํ อาทาย อภิกฺกมิสฺสนฺติ สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อิทฺธิปาฏิหาริยํ
กริสฺสติ มหาสมณสฺส ลาภสกฺกาโร อภิวฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ อโห นูน มหาสมโณ
สฺวาตนายนาคจฺเฉยฺยาต.ิ
จึงชฎิลอุรุเวลกัสสปไดดำริวา บัดนี้ เราไดเตรียมการบูชายัญเปนการใหญและประชาชน ชาวอังคะ
และมคธทั้งสิ้น ไดนำของเคี้ยวของบริโภคเปนอันมากบายหนามุงมาหา ถาพระมหาสมณะ จักทำ
อิทธิปาฏิหาริยในหมูมหาชน ลาภสักการะจักเจริญยิ่งแกพระมหาสมณะ ลาภลักการะของเราจักเสื่อม
โอ ทำไฉน วนั พรงุ น้ี พระมหาสมณะจึงจะไมมาฉัน.

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๓

อถโข ภควา อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เจตสา เจโตปริวตกฺกมฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต
ปณฑฺ ปาตํ อาหริตวฺ า อโนตตตฺ ทเห ปรภิ ุ ชฺ ิตวฺ า ตตฺเถว ทิวาวหิ ารํ อกาสิ.

ครั้งนน้ั พระผูมพี ระภาคทรงทราบความปรวิ ิตกแหงจิตของชฎิลอุรเุ วลกัสสปดว ยพระทยั แลว เสด็จไป
อุตตรกุรุทวีป ทรงนำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น แลวเสวยที่ริมสระอโนดาต ประทับกลางวันอยู
ณ ท่ีนน่ั แหละ.

อถโข อุรุเวลกัสฺสโป ชฎิโล ตสฺสา รตฺติยา อจจฺ เยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ
เอตทโวจะ “กาโล มหาสมณ นิฐิตํ ภตฺตํ กึ นุ โข มหาสมณ หิยฺโย นาคมาสิ อปย มยํ สราม กึ นุ โข
มหาสมโณ นาคจฺฉตตี ิ ขาทนยี สสฺ จ เต ปฏิวโิ ส ฐปโ ตต.ิ

ครัน้ ลว งราตรนี น้ั ชฎลิ อุรุเวลกัสสปไดเขา ไปเฝาพระผูมีพระภาค ครัน้ ถงึ แลว ไดทูลคำนี้ตอพระผูมีพระ
ภาควา ถงึ เวลาแลว มหาสมณะ ภตั ตาหารเสร็จแลว เพราะเหตุไรหนอ วานนี้ทา นจงึ ไมม า เปน ความจริง พวก
ขา พเจา ระลึกถึงทา นวา เพราะเหตุไรหนอ พระมหาสมณะจึงไมมา แตส วนหน่ึง ขาทนียาหาร ขาพเจาไดจัดไว
เพื่อทาน.

นนุ เต กสฺสป เอตทโหสิ “เอตรหิ โข เม มหายฺโญ ปจจฺปฐโิ ต เกวลกปฺปา จ องฺคมคธา ปหูตํ
ขาทนยี ํ โภชนยี ํ อาทาย อภิกฺกมสิ สฺ นฺติ สเจ มหาสมโณ มหาชนกาเย อทิ ธฺ ิปาฏหิ ารยิ ํ กริสฺสติ มหาสมณสฺส
ลาภสกฺกาโร อภวิ ฑฺฒิสฺสติ มม ลาภสกฺกาโร ปริหายิสฺสติ อโห นูน มหาสมโณ สฺวาตนาย นาคจฺเฉยฺยาติ
“โส โข อหํ กสฺสป ตว เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย อุตฺตรกุรุํ คนฺตฺวา ตโต ปณฺฑปาตํ อาหริตฺวา
อโนตตตฺ ทเห ปรภิ ุ ชฺ ติ วฺ า ตตเฺ ถว ทวิ าวิหารํ อกาสนิ ฺต.ิ

พระผมู พี ระภาคตรัสยอนถามวา ดกู รกสั สป ทา นไดดำรอิ ยางน้ีมิใชหรือวา บัดน้ี เราไดเตรียมการบชู า
ยัญเปน การใหญ และประชาชนชาวองั คะและมคธทั้งสิ้นไดน ำของเค้ียวและของบรโิ ภคเปน อนั มากบายหนามุง
มาหา ถาพระมหาสมณะจักทำอิทธิปาฏิหาริย ในหมูมหาชน ลาภสักการะจักเจริญยิ่งแกพระมหาสมณะ
ลาภสักการะของเราจักเสื่อม โอ ทำไฉน วันพรุงน้ี พระมหาสมณะจึงจะไมมาฉัน ดูกรกสั สป เรานั้นแลทราบ
ความปริวิตกแหงจิตของทานดวยใจของเรา จึงไปอุตตรกุรุทวีป นำบิณฑบาตมาจากอุตตรกุรุทวีปนั้น มาฉัน
ที่ริมสระอโนดาตแลว ไดพักกลางวันอยู ณ ทนี่ ั้นแหละ.

อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
เจตสาป จติ ฺตํ ปชานิสสฺ ติ น เตฺวว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.ิ

ทีนั้น ชฎลิ อรุ ุเวลกัสสปไดด ำรวิ า พระมหาสมณะมฤี ทธม์ิ าก มอี านภุ าพมากแท จงึ ไดท ราบความคดิ นึก
แมดว ยใจได แตก็ไมเปน พระอรหันตเ หมือนเราแน.

อถโข ภควา อรุ ุเวลกสฺสปสสฺ ชฎลิ สฺส ภตตฺ ํ ภุชฺ ติ ฺวา ตสฺมึเยว วนสณเฺ ฑวหิ าส.ิ
คร้งั น้ัน พระผมู ีพระภาคเสวยภตั ตาหารของชฎลิ อรุ ุเวลกสั สป แลว ประทบั อยู ณ ไพรสณฑ ตำบลน้นั แล.

ปจฺ มํ ปาฏหิ าริย.ํ
ปาฏิหาริยท ี่ ๕ จบ

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๔

ผา บงั สุกุล

[๔๔] เตน โข ปน สมเยน ภควโต ปสุกลู ํ อุปปฺ นนฺ ํ โหต.ิ
[๔๔] กโ็ ดยสมัยนนั้ ผา บังสกุ ลุ บังเกิดแกพ ระผูม ีพระภาค.
อถโข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย ปาณินา โปกฺขรณึ ขนิตฺวา
ภควนตฺ ํ เอตทโวจ “อธิ ภนฺเต ภควา ปส ุกลู ํ โธวตูต.ิ
ลำดับนั้น ทาวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริ ในพระทัยของพระผูม ีพระภาค ดวยพระทัย
ของพระองค จึงขุดสระโบกขรณีดวยพระหัตถแลว ไดทูลพระผูมีพระภาควา พระพุทธเจาขา ขอพระผูมี
พระภาค โปรดซกั ผา บงั สุกลุ ในสระน.ี้
อถโข ภควโต เอตทโหสิ “กมิ หฺ ิ นุ โข อหํ ปส กุ ลู ํ ปรมิ ทเฺ ทยฺยนตฺ .ิ
ที่นัน้ พระผูมพี ระภาคไดท รงพระดำริวา เราจะพึงขยำผาบังสกุ ุล ณ ท่ไี หนหนอ.
อถโข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขปิ  “อิธ ภนฺเต
ภควา ปสุกลู ํ ปรมิ ทฺทตูต.ิ
ลำดับนั้น ทาวสักกะ จอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระทัยของพระผูมีพระภาค ดวยพระทัย
ของพระองคแลว ไดย กศิลาแผนใหญมาวางพลางทูลวา พระพุทธเจาขา ขอพระผูมีพระภาคโปรดทรงขยำ
ผา บังสุกุล บนศิลาแผน น้.ี
อถโข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตวฺ า อุตตฺ เรยฺยนตฺ ิ.
ลำดบั นั้น พระผมู ีพระภาคไดทรงดำริวา เราจะพงึ พาดผาบังสุกลุ ไว ณ ท่ไี หนหนอ.
อถโข กกุเธ อธิวตฺถา เทวตา ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย สาขํ โอนาเมสิ “อิธ ภนฺเต
ภควา อาลมพฺ ติ ฺวา อตุ ตฺ รตูต.ิ
ครง้ั น้นั เทพยดาท่ีสงิ สถติ อยูทีต่ นกุมบก ทราบพระดำริในพระหทยั ของพระผูมีพระภาคดวยใจของตน
จงึ นอมก่งิ กุมลงมา พลางกราบทลู วา พระพทุ ธเจาขา ขอพระผมู ีพระภาค โปรดทรงพาดผาบังสกุ ุลไว ทก่ี ง่ิ กมุ นี้.
อถโข ภควโต เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปสกุ ลู ํ วิสสฺ ชเฺ ชยฺยนตฺ .ิ
คร้งั น้นั พระผูมีพระภาคไดทรงดำริวา เราจะผ่งึ ผา บงั สุกุล ณ ที่ไหนหนอ.
อถโข สกฺโก เทวานมินฺโท ภควโต เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขปิ  “อิธ ภนฺเต
ภควา ปส ุกลู ํ วิสฺสชเฺ ชตูติ.
ครั้งนั้น ทาวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบพระดำริในพระหทัยของพระผูมีพระภาค ดวยพระทัย
ของพระองคแลว ไดย กแผนศลิ าใหญมาวางไว พลางกราบทลู วา พระพุทธเจา ขาขอพระผูมีพระภาคโปรดทรง
ผง่ึ ผาบังสกุ ุลบนศลิ าแผนน้.ี
อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฎิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมติ ฺวา ภควนฺตํ
เอตทโวจ “กาโล มหาสมณ นิฐิตํ ภตฺตํ กึ นุ โข มหาสมณ นายํ ปุพเฺ พ อิธ โปกฺขรณี สายํ อิธ โปกฺขรณี
นยมิ า สิลา ปพุ ฺเพ อุปนกิ ฺขติ ฺตา เกนมิ า สลิ า อุปนกิ ขฺ ติ ตฺ า นยิมสฺส กกุธสสฺ ปพุ เฺ พ สาขา โอนตา สายํ สาขา
โอนตาต.ิ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๕

หลังจากนั้น ชฎลิ อุรเุ วลกัสสปเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคโดยลวงราตรีนั้น ครั้นถึงแลว ไดทูลคำนี้ตอ
พระผูมีพระภาควา ถึงเวลาแลว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแลว เพราะเหตุไรหนอ มหาสมณะ เมือ่ กอนสระนี้
ไมม ที ่นี ี้ เดีย๋ วนี้มสี ระอยูที่นี้ เมอื่ กอนศลิ าเหลาน้ีไมม วี างอยู ใครยกศิลาเหลานี้มาวางไว เม่ือกอนกิ่งกุมบกตนนี้
ไมนอมลง เดีย๋ วนีก้ ิง่ นั้นนอมลง?

“อิธ เม กสฺสป ปสุกูลํ อุปฺปนฺนํ อโหสิ ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข อหํ ปสุกูลํ
โธเวยฺยนฺติ อถโข กสฺสป สกฺโก เทวานมินโฺ ท มม เจตสา เจโตปรวิ ิตกฺกมฺญาย ปาณนิ า โปกฺขรณึ ขนิตวฺ า
มํ เอตทโวจ “อธิ ภนเฺ ต ภควา ปสกุ ลู ํ โธวตูติ อมนสุ เฺ สน ปาณินา ขนิตา โปกขฺ รณี

พระผูมีพระภาคตรัสตอบวา ดูกรกัสสป ผาบังสุกุลบังเกิดแกเรา ณ ที่นี้ เรานั้นไดดำริวา จะพึงซัก
ผาบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ ครั้งน้ัน ทาวสักกะจอมทวยเทพ ทรงทราบความดำริในจิตของเราดว ยพระทัยของ
พระองคแลว จงึ ขุดสระโบกขรณดี วยพระหัตถ แลวตรัสบอกแกเ ราวา พระพทุ ธเจา ขา ขอพระผมู พี ระภาคโปรด
ทรงซกั ผาบงั สกุ ุลในสระนี้ สระนอี้ นั ผูมใิ ชม นุษย ไดขุดแลวดว ยมือ

ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมหฺ ิ นุ โข อหํ ปสกุ ลู ํ ปริมทฺเทยฺยนตฺ ิ
ดกู รกสั สป เราน้นั ไดด ำริวา จะพงึ ขยำผา บงั สกุ ลุ ณ ทีไ่ หนหนอ

อถโข กสสฺ ป สกฺโก เทวานมนิ ฺโท มม เจตสา เจโตปริวติ กกฺ มญฺ าย มหตึ สลิ ํ อปุ นิกขฺ ปิ  “อธิ ภนฺเต
ภควา ปส กุ ูลํ ปริมททฺ ตูติ สายํ อมนสุ ฺเสน นิกขฺ ติ ตฺ า สลิ า

ครั้งน้ัน ทาวสักกะจอมทวยเทพ ทราบความดำรใิ นจิตของเราดวยพระทยั ของพระองคแ ลว ไดทรงยก
ศิลาแผนใหญมาวางไว โดยทูลวา พระพุทธเจาขา ขอพระผูมีพระภาค โปรดทรงขยำผาบังสุกุลบนศิลาแผนนี้
ศิลาแผน น้ีอนั ผูมใิ ชม นุษยไ ดยกมาวางไว

ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ อาลมฺพิตฺวา อุตฺตเรยฺยนฺติ อถโข กสฺสป กกุเธ
อธิวตฺถา เทวตา มม เจตสา เจโตปริวิตกฺกมฺญาย สาขํ โอนาเมสิ “อิธ ภนฺเต ภควา อาลมฺพิตฺวา อุตฺตระตูติ
สฺวายํ อาหรหตโฺ ถ กกโุ ธ

ดูกรกัสสป เรานั้นไดดำริวา จะพึงพาดผาบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ ครั้งนั้น เทพยดาที่สิงสถิตอยูท่ีตน
กมุ บก ทราบความดำริในจิตของเราดว ยใจของตนแลว จงึ นอมก่งิ กุมลงมา โดยทูลวา พระพุทธเจาขา ขอพระผู
มีพระภาค โปรดทรงพาดผา บงั สุกุลไวบนกิง่ กุมนี้ ตน กมุ บกน้นี น้ั ประหนึง่ จะกราบทูลวา ขอพระองคจงทรงนำ
พระหตั ถมาแลว นอมลง

ตสฺส มยฺหํ กสฺสป เอตทโหสิ “กิมฺหิ นุ โข อหํ ปสุกูลํ วิสฺสชฺเชยฺยนฺติ อถโข กสฺสป สกฺโก
เทวานมินฺโท มม เจตสา เจโตปริวติ กฺกมฺญาย มหตึ สิลํ อุปนิกฺขปิ  “อิธ ภนฺเต ภควา ปสุกูลํ วิสฺสชฺเชตูติ
สายํ อมนสุ เฺ สน นิกขฺ ิตฺตา สิลาติ.

ดูกรกัสสป เรานั้นไดดำริวา จะพึงผึ่งผาบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอ ครั้งนั้น ทาวสักกะ จอมทวยเทพ
ทรงทราบความดำริแหงจิตของเราดวยพระทัยของพระองคแลว ไดยกศิลา แผนใหญมาวางไว โดยทูลวา
พระพทุ ธเจา ขอพระผมู พี ระภาคโปรดทรงผง่ึ ผาบังสกุ ลุ บนศลิ าแผน น้ี ศลิ าแผน นี้อนั ผูมิใชม นษุ ย ไดยกมาวางไว.

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๖

อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฎิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
สกโฺ ก เทวานมนิ โฺ ท เวยฺยาวจจฺ ํ กรสิ สฺ ติ น เตฺวว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.ิ

ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกสั สปไดดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับทาวสักกะ
จอมทวยเทพไดทำการชว ยเหลือ แตกไ็ มเ ปนพระอรหนั ตเ หมือนเราแน.

อถโข ภควา อรุ เุ วลกสฺสปสสฺ ชฏลิ สสฺ ภตตฺ ํ ภุชฺ ิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณเฺ ฑ วหิ าส.ิ
คร้งั น้ัน พระผูมพี ระภาคเสวยภัตตาหารของชฎิลอรุ เุ วลกัสสป แลว ประทับอยูในไพรสณฑ ตำบลนั้นแล

ผา บังสุกลุ จบ.

ปาฏหิ าริยเกบ็ ผลหวา เปนตน

[๔๕] อถโข อุรุเวลกสั ฺสโป ชฏิโล ตสฺสา รตฺติยา อจฺจเยน เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา
ภควโต กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิฐติ ํ ภตตฺ นตฺ .ิ

[๔๕] ครนั้ ลวงราตรนี น้ั ไป ชฎิลอุรเุ วลกัสสปเขาไปเฝาพระผูมีพระภาค ครนั้ แลว จงึ กราบทูล ภัตตกาล
แดพระผมู พี ระภาควา ถงึ เวลาแลว มหาสมณะ ภตั ตาหารเสรจ็ แลว .

“คจฉฺ ตวฺ ํ กสสฺ ป อายามหนฺต.ิ
พระผมู ีพระภาคตรสั วา ดูกรกัสสป ทา นไปเถดิ เราจะตามไป.

อุรุเวลกสฺสป ชฏิลํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ชมฺพุทีโป ปฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ
อาคนฺตฺวา อคยฺ าคาเร นสิ ีทิ.

พระผูมีพระภาคทรงสงชฎิลอุรุเวลกัสสปไปแลว ทรงเก็บผลหวาจากตนหวาประจำชมพูทวีป แลว
เสดจ็ มาประทบั นัง่ ในโรงบูชาเพลิงกอ น.

อทฺทสา โข อุรุเวลกสสฺ โป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทสิ ฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน
ตวฺ ํ มหาสมณ มคเฺ คน อาคโต อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกกฺ นโฺ ต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนตฺ ฺวา อคยฺ าคาเร นสิ ินฺโนต.ิ

ชฎลิ อุรุเวลกัสสปไดเหน็ พระผมู ีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิงแลว ไดท ลู คำนต้ี อพระผูมีพระภาค
วา ขาแตมหาสมณะ ทานมาทางไหน ขา พเจา กลับมากอนทาน แตทา นยงั มานั่งในโรงบูชาเพลงิ กอ น?

“อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ยาย ชมฺพุยา ชมฺพุทีโป ปฺญายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ
อาคนตฺ วฺ า อคฺยาคาเร นสิ ินฺโน อิทํ โข กสฺสป ชมฺพผุ ลํ วณฺณ สมฺปนนฺ ํ คนธฺ สมปฺ นฺนํ รสสมฺปนนฺ ํ สเจ อากงฺขสิ
ปรภิ ุ ชฺ าติ.

ภ. ดูกรกสั สป เราสง ทา นไปแลว ไดเ ก็บผลหวา จากตนหวา ประจำชมพูทวปี แลว มานัง่ ในโรงบูชาเพลงิ
น้กี อน ดูกรกัสสป ผลหวา นแ้ี ล สมบูรณดว ยสี กลน่ิ รส ถา ทานตองการเชิญบริโภคเถิด.

“อลํ มหาสมณ ตวฺ ํเยเวตํ อาหรสิ ตฺวเํ ยเวตํ ปรภิ ุชฺ าติ.
อรุ ุ. อยา เลย มหาสมณะ ทา นน่ันแหละเกบ็ ผลไมน ีม้ า ทานนนั่ แหละ จงฉนั ผลไมน ้เี ถดิ .

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๗

อถโข อุรุเวลกสสฺ ปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ
ปฐมตรํ อุยฺโยเชตวฺ า ยาย ชมฺพุยา ชมฺพุทีโป ปญฺ ายติ ตโต ผลํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตวฺ า อคฺยาคาเร
นิสีทสิ สฺ ติ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนตฺ ิ.

ลำดับนัน้ ชฎลิ อุรเุ วลกัสสปไดม คี วามดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิม์ าก มีอานุภาพมากแท เพราะสง
เรามากอนแลว ยังเก็บผลหวาจากตนหวาประจำชมพูทวีปแลว มานั่งในโรงบูชาเพลิงกอน แตก็ไมเปนพระ
อรหันตเ หมือนเราแน.

อถโข ภควา อรุ เุ วลกสสฺ ปสฺส ชฏลิ สฺส ภตตฺ ํ ภุ ฺชิตฺวา ตสฺมึเยว วนสณเฺ ฑวหิ าส.ิ
ครงั้ นน้ั พระผูมพี ระภาคเสวยภตั ตาหารของชฎิลอรุ เุ วลกัสสปแลว ประทับอยใู นไพรสณฑตำบล นัน้ แล.
อถโข อรุ ุเวลกสฺสปสฺส ชฏโิ ล ตสสฺ า รตฺติยา อจจฺ เยน เยน ภควา เตนุปสงกฺ มิ อปุ สงกฺ มติ ฺวา ภควโต
กาลํ อาโรเจสิ “กาโล มหาสมณ นิ ฐ ิตํ ภตฺตนฺต.ิ
ครั้นลวงราตรีนั้นไป ชฎิลอุรุเวลกัสสปไปเฝาพระผูมีพระภาค ครั้นแลว จึงทูลภัตตกาล แดพระผูมี
พระภาควา ถึงเวลาแลว มหาสมณะ ภัตตาหารเสร็จแลว.
“คจฺฉ ตวฺ ํ กสฺสป อายามหนฺติ อุรุเวลกสฺสป ชฏิลํ อุยฺโยเชตวฺ า ยาย ชมฺพุยา ชมพฺ ุทีโป ปญฺ ายติ
ตสฺสา อวิทูเร อมฺโพ ฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร อามลกี ฯเปฯ ตสฺสา อวิทูเร หรีตกี ฯเปฯ ตาวตึสํ คนฺตฺวา
ปาริจฺฉตตฺ กปปุ ฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนตฺ วฺ า อคยฺ าคาเร นสิ ที ิ.
พระผูมีพระภาคทรงสงชฎิลอุรุเวลกัสสปไปดวยพระดำรัสวา ดูกรกัสสป ทานไปเถิด เราจักตามไป
แลวทรงเกบ็ ผลมะมวง ... ผลมะขามปอ ม ... ผลสมอ ในทีไ่ มไกลตนหวา ประจำชมพูทวีปน้ัน ... เสด็จไปสูภพ
ดาวดึงส ทรงเกบ็ ดอกปาริฉตั ตกะ แลว มาประทบั น่ังในโรงบชู าเพลงิ กอ น.
อทฺทสา โข อรุ ุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ อคฺยาคาเร นิสินฺนํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “กตเมน
ตฺวํ มหาสมณ มคฺเคน อาคโต อหํ ตยา ปฐมตรํ ปกกฺ นโฺ ต โส ตฺวํ ปฐมตรํ อาคนตฺ วฺ า อคยฺ าคาเร นิสนิ ฺโนต.ิ
ชฎิลอุรุเวลกัสสปไดเห็นพระผูมีพระภาคประทับนั่งในโรงบูชาเพลิง ครั้นแลวไดทูลคำนี้ตอพระผูมี
พระภาควา ขาแตมหาสมณะ ทา นมาทางไหน ขาพเจากลับมากอ นทาน แตท านยงั มาน่งั ในโรงบชู าเพลิงกอ น?
“อิธาหํ กสฺสป ตํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา
อคฺยาคาเร นสิ ินโฺ น อทิ ํ โข กสฺสป ปารจิ ฺฉตฺตกปุปฺผํ วณณฺ สมปฺ นนฺ ํ คนฺธสมฺปนฺนนฺต.ิ
พระผูมีพระภาคตรัสตอบวา ดูกรกสั สป เราสงทานแลวไดไปสูภพดาวดึงส เก็บดอกปาริฉัตตกะแลว
มานั่งในโรงบชู าเพลงิ กอน ดกู รกสั สป ดอกปาริฉตั ตกะนี้แล สมบรู ณด วยสีและกลนิ่ .
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม มํ
ปฐมตรํ อุยฺโยเชตฺวา ตาวตึสํ คนฺตฺวา ปาริจฺฉตฺตกปุปฺผํ คเหตฺวา ปฐมตรํ อาคนฺตฺวา อคฺยาคาเร นิสีทิสฺสติ
น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนตฺ ิ.
ครง้ั นน้ั ชฎลิ อรุ เุ วลกสั สปไดมคี วามดำรวิ า พระมหาสมณะมีฤทธ์ิมาก มอี านภุ าพมากแท เพราะสงเรา
มากอนแลวยังไปสูภพดาวดึงส เก็บดอกปาริฉัตตกะแลว มานั่งในโรงบูชาเพลิงกอน แตก็ไมเปนพระอรหนั ต
เหมือนเราแน.

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๘

ปาฏิหาริยผา ฟน

[๔๖] เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา อคฺคี ปริจริตกุ ามา น สกโฺ กนตฺ ิ กฐ านิ ผาเลตุํ.
[๔๖] ก็โดยสมัยน้ันแล ชฎิลเหลานัน้ ปรารถนาจะบำเรอไฟ แตไ มอาจจะผาฟนได.
อถโข เตสํ ชฏลิ านํ เอตทโหสิ “นิสสฺ ํสยํ โข มหาสมณสฺส อทิ ธฺ านภุ าโว ยถา มยํ น สกฺโกม กฐานิ
ผาเลตุนตฺ ิ.
จึงชฎิลเหลานั้นไดมีความดำริตองกันวา ขอที่พวกเราไมอาจผาฝนไดนั้น คงเปนอิทธานุภาพของ
พระมหาสมณะ ไมต อ งสงสัยเลย.
อถโข ภควา อรุ เุ วลกสสฺ ป ชฏิลํ เอตทโวจ “ผาลิยนตฺ ุ กสฺสป กฐ านีต.ิ
ครัง้ น้นั พระผูมพี ระภาคไดตรัสกะชฎลิ อุรุเวลกสั สปวา ดกู รกสั สป พวกชฎลิ จงผาฟน เถดิ .
“ผาลิยนฺตุ มหาสมณาติ.
ชฎลิ อรุ เุ วลกัสสป รับพระพทุ ธดำรัสวา ขาแตม หาสมณะ พวกชฏลิ จงผา ฟนกัน.
สกิเทว ปฺจ กฐสตานิ ผาลยิ สึ .ุ
ชฏิลท้ังหลายไดผ า ฟน ๕๐๐ ทอ นคราวเดียวเทานน้ั .
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
กฐานปิ  ผาลยิ ิสฺสนตฺ ิ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนตฺ .ิ
ครั้งนั้นแล ชฏิลอรุ เุ วลกัสสป ไดมีความดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานภุ าพมากแท ถึงกับให
พวกชฎลิ ผา ฟน ได แตก็ไมเ ปนพระอรหันตเ หมอื นเราแน.

ปาฎหิ าริยก อไฟ

[๔๗] เตน โข ปน สมเยน เต ชฏลิ า อคคฺ ี ปริจรติ กุ ามา น สกฺโกนฺติ อคคฺ ีอุชฺชเลตุํ.
[๔๗] กโ็ ดยสมยั น้ันแล ชฎิลเหลา น้นั ปรารถนาจะบำเรอไฟ แตไ มอาจจะกอไฟใหลกุ ได.
อถโข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคฺคึ
อชุ ฺชเลต.ํุ
จึงชฎิลเหลาน้ันไดมีความดำริตองกันวา ขอที่พวกเราไมอาจจะกอไฟใหลกุ ขึ้นไดน ั้น คงเปนอิทธานภุ าพ
ของพระมหาสมณะ ไมตองสงสัยเลย.
อถโข ภควา อรุ เุ วลกสสฺ ป ชฏิลํ เอตทโวจ “อชุ ชฺ ลิยนตฺ ุ กสสฺ ป อคคฺ ตี .ิ
ครงั้ น้นั พระผูมพี ระภาคไดต รัสกะชฎิลอุรเุ วลกสั สปวา ดกู รกสั สป พวกชฎลิ จงกอ ไฟใหลุกเถดิ .
“อุชชฺ ลยิ นตฺ ุ มหาสมณาต.ิ
ชฎลิ อรุ ุเวลกัสสป รับพระพุทธดำรัสวา ขาแตมหาสมณะ พวกชฎิลจงกอไฟใหล กุ .
สกิเทว ปฺจ อคคฺ สิ ตานิ อุชฺชลึสุ.
ไฟท้ัง ๕๐๐ กอง ไดล กุ ข้นึ คราวเดียวกันเทยี ว.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๒๙

อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
อคคฺ ีป อชุ ชฺ ลิยิสฺสนตฺ ิ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.ิ

ลำดับนัน้ ชฎลิ อุรเุ วลกัสสป ไดมีความดำริวา พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับให
ไฟลุกข้ึนได แตก็ไมเปน พระอรหันตเ หมือนเราแน.

ปาฏหิ าริยดบั ไฟ

[๔๘] เตน โข ปน สมเยน เต ชฏลิ า อคคฺ ึ ปริจริตวฺ า น สกโฺ กนตฺ ิ อคฺคี วชิ ฌฺ าเปตํ.ุ
[๔๘] กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ชฎลิ เหลานน้ั บำเรอไฟกนั แลว ไมอาจดบั ไฟได.
อถโข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถา มยํ น สกฺโกม อคคฺ ี
วชิ ฺฌาเปตุนตฺ .ิ
จึงไดค ดิ ตองกันวา ขอ ท่ีพวกเราไมอาจดับไฟไดน ้นั คงเปน อิทธานภุ าพของพระสมณะไมตองสงสยั เลย.
อถโข ภควา อรุ ุเวลกสั สป ชฏลิ ํ เอตทโวจ “วชิ ฌฺ ายนฺตุ กสสฺ ป อคคฺ ีต.ิ
คร้งั นน้ั พระผูมีพระภาคไดต รัสกะชฏลิ อรุ เุ วลกัสสปวา ดกู รกัสสป พวกชฎิลจงดับไฟเถิด.
วชิ ฺฌายนฺตุ มหาสมณาต.ิ
ชฎิลอรุ เุ วลกัสสป รับพระพุทธดำรสั วา ขาแตมหาสมณะ พวกชฎิลจงดบั ไฟกนั .
สกิเทว ปจฺ อคคฺ ิสตานิ วิชฺฌายึส.ุ
ไฟทั้ง ๕๐๐ กอง ไดดับคราวเดยี วกันเทียว.
อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
อคฺคปี  วิชฺฌายิสฺสนฺติ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนฺติ.
ครั้งน้ันแล ชฎิลอุรเุ วลกัสสปไดมีความดำริวา พระมหาสมณะมฤี ทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท ถึงกับให
พวกชฎิลดบั ไฟได แตกไ็ มเ ปน พระอรหันตเหมือนเราแน.

ปาฏหิ ารยิ ก องไฟ

[๔๘] เตน โข ปน สมเยน เต ชฏิลา สีตาสุ เหมนฺติกาสุ รตฺตีสุ อนฺตรฐกาสุ หิมปาตสมเย นชฺชา
เนรชฺ รายํ นิมชุ ฺชนฺติป อุมฺมุชฺชนตฺ ิป อุมมฺ ุชชฺ นมิ ชุ ชฺ มปฺ  กโรนตฺ ิ.

[๔๙] ก็โดยสมัยน้ันแล ชฎิลเหลานั้น พากันดำลงบาง ผุดขึ้นบาง ทัง้ ดำทั้งผุดบา งในแมน้ำเนรัญชรา
ในราตรหี นาวเหมันตฤดู ระหวางทา ยเดอื น ๓ ตน เดอื น ๔ ในสมัยน้ำคา งตก.

อถโข ภควา ปฺจมตตฺ านิ มนทฺ ามขุ ิสตานิ อภนิ ิมมฺ นิ ิ ยตฺถ เต ชฏิลา อุตตฺ ริตวฺ า วิสิพเฺ พส.ุํ
ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคไดทรงนิรมิตกองไฟไว ๕๐๐ กอง สำหรับใหชฎิลเหลานั้นขึ้นจากน้ำแลว
จะไดผ ิง.
อถโข เตสํ ชฏิลานํ เอตทโหสิ “นิสฺสํสยํ โข มหาสมณสฺส อิทฺธานุภาโว ยถายิมา มนฺทามุขิโย
นิมมฺ ติ าต.ิ
จึงชฎิลเหลานั้นไดมีความดำริตองกันวา ขอที่กองไฟเหลานี้ถูกนิรมิตไวนั้น คงตองเปนอิทธานุภาพ
ของพระมหาสมณะ โดยไมตอ งสงสยั เลย.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๐

อถโข อุรเุ วลกสฺสปสฺส ชฏลิ สสฺ เอตทโหสิ “มหิทฺธโิ ก โข มหาสมโณ มหานภุ าโว ยตฺร หิ นาม ตาว
พหู มนฺทามขุ โิ ยป อภนิ มิ มฺ ินิสสฺ ติ น เตวฺ ว จ โข อรหา ยถา อหนตฺ ิ.

ครั้งน้ัน ชฎิลอุรุเวลกสั สปไดม ีความดำรวิ า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มอี านุภาพมากแท ถึงกับนริ มิต
กองไฟไดม ากมายถงึ เพยี งนัน้ แตก ไ็ มเ ปน พระอรหันตเหมอื นเราแน.

ปาฎิหารยิ นำ้ ทว ม

[๕๐] เตน โข ปน สมเยน มหาอกาลเมโฆ ปาวสสฺ ิ มหาอุทกวาหโกสชฺ าย.ิ
[๕๐] กโ็ ดยสมยั นนั้ แล เมฆใหญในสมยั ทมี่ ใิ ชฤดูกาลยงั ฝนใหต กแลว หวงน้ำใหญไดไหลนองไป.

ยสฺมึ ปเทเส ภควา วิหรติ โส ปเทโส อุทเกน โอตฺถโต โหติ.
ประเทศท่พี ระผูมีพระภาคประทับอยนู ั้นถกู นำ้ ทว ม.

อถโข ภควโต เอตทโหสิ “ยนฺนูนาหํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเทตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา
จงกฺ เมยฺยนฺต.ิ

ขณะน้นั พระผูมพี ระภาค ไดทรงดำริวา ไฉนหนอ เราพึงบันดาลใหน ำ้ หางออกไปโดยรอบ แลวจงกรม
อยูบนภาคพื้น อันมีฝนุ ฟุงขน้ึ ตอนกลาง.

อถโข ภควา สมนฺตา อุทกํ อุสสฺ าเทตฺวา มชฺเฌ เรณหุ ตาย ภมู ิยา จงฺกม.ิ
ครั้นแลวจึงทรงบันดาลใหน้ำหางออกไปโดยรอบแลว เสด็จจงกรมอยูบนภาคพื้นอันมีฝุนฟุงขึ้น
ตอนกลาง.

อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล “มา เหว โข มหาสมโณ อุทเกน วุโฬฺห อโหสีติ. นาวาย สมฺพหุเลหิ
ชฏเิ ลหิ สทฺธึ ยสิมึ ปเทเส ภควา วิหรติ ตํ ปเทสํ อคมาส.ิ

ตอ มา ชฎิลอรุ ุเวลกัสสปกลาววา พระมหาสมณะอยาได ถกู น้ำพัดไปเสียเลย ดงั นี้ แลวพรอมดวยชฎิล
มากดว ยกนั ไดเอาเรอื ไปสปู ระเทศที่พระผมู ีพระภาคประทับอย.ู

อทฺทสา โข อรุ ุเวลกสฺสโป ชฏิโล ภควนฺตํ สมนฺตา อุทกํ อุสฺสาเทตฺวา มชฺเฌ เรณุหตาย ภูมิยา
จงฺกมนฺตํ ทิสฺวาน ภควนฺตํ เอตทโวจ “อธิ นุ ตวํ มหาสมณาต.ิ

ไดเ หน็ พระผมู พี ระภาคผทู รงบันดาลใหน ้ำหางออกไปโดยรอบแลว เสดจ็ จงกรมอยูบนภาคพ้ืนอันมีฝุน
ฟุงข้นึ ตอนกลาง แลวไดท ลู พระผมู ีพระภาควา ขา แตมหาสมณะ ทานยังอยูท น่ี ่ดี อกหรอื ?

“อาม อหมสฺมิ กสสฺ ปาติ ภควา เวหาสํ อพภฺ คุ ฺคนฺตวฺ า นาวาย ปจจฺ ฏุ ฐาส.ิ
พระผมู ีพระภาคตรสั ตอบวาถกู ละ กัสสป เรายงั อยูท่ีนี่ ดงั นี้แลว เสดจ็ ขนึ้ สเู วหาสปรากฏอยทู เี่ รือ.

อถโข อุรุเวลกสฺสปสฺส ชฏิลสฺส เอตทโหสิ “มหิทฺธิโก โข มหาสมโณ มหานุภาโว ยตฺร หิ นาม
อุทกํป นปปฺ วาหิสสฺ ติ น เตฺวว จ โข อรหา ยถา อหนฺต.

จึงชฎลิ อุรเุ วลกสั สปไดมคี วามดำรวิ า พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มอี านุภาพมากแท ถึงกับบันดาลไมให
นำ้ ไหลไปได แตก ไ็ มเ ปน พระอรหนั ตเหมอื นเราแน.

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๑

ทูลขอบรรพชาและอุปสมบท

[๕๑] อถโข ภควโต เอตทโหสิ “จริ ํป โข อมิ สสฺ โมฆปรุ สิ สฺส เอวํ ภวสิ ฺสติ ‘มหิทธฺ โิ ก โข มหาสมโณ
มหานุภาโว น เตฺวว จ โข อรหา ยถา อหนตฺ ิ “ยนฺนนู าหํ อิมํ ชฏิลํ สํเวเชยยฺ นฺติ.

[๕๑] ลำดับนั้น พระผูมีพระภาคไดทรงพระดำริวา โมฆบุรุษนี้ ไดมีความคิดอยางนี้ มานานแลววา
พระมหาสมณะมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมากแท แตก ็ไมเปน พระอรหนั ตเหมือนเราแน ถากระไรเราพึงใหชฎลิ น้ี
สลดใจ

อถโข ภควา อุรุเวลกสฺสป ชฏิลํ เอตทโวจะ “เนว โข ตฺวํ กสสฺ ป อรหา นาป อรหตฺตมคคฺ ํ สมาปนฺโน
สาป เต ปฏิปทา นตฺถิ ยาย ตวฺ ํ อรหา วา อสฺสสิ อรหตฺตมคฺคํ วา สมาปนฺโนติ.

แลวจึงตรัสกะชฎิลอุรุเวลกัสสปวา ดูกรกสั สป ทานไมใช พระอรหันตแน ท้ังยังไมพบทางแหงความ
เปนพระอรหันต แมปฏิปทาของทานที่จะเปนเหตุใหเ ปนพระอรหันต หรือพบทางแหงความเปนพระอรหันต
กไ็ มม .ี

อถโข อุรุเวลกสสฺ โป ชฏิโล ภควโต ปาเทสุ สริ สา นปิ ตติ ฺวา ภควนตฺ ํ เอตทโวจ “ลเภยยฺ ามหํ ภนฺเต
ภควโต สนฺติเก ปพพฺ ชฺชํ ลเภยยฺ ามิ อปุ สมฺปทนตฺ .ิ

ทีนนั้ ชฎิลอรุ ุเวลกัสสปได ซบเศียรลงทพ่ี ระบาทของพระผูมีพระภาค แลว ทูลขอบรรพชาอุปสมบทตอ
พระผมู พี ระภาควาขอขา พระพทุ ธเจาพึงไดบ รรพชา พงึ ไดอ ปุ สมบทในสำนักพระผมู ีพระภาค พระพทุ ธเจาขา .

ตฺวํ โขสิ กสฺสป ปจฺ นฺนํ ชฏิลสตานํ นายโก วนิ ายโก อคฺโค ปมุโข ปาโมกฺโข เตป ตาว อปโลเกหิ
ยถา เต มญฺ ิสสฺ นฺติ ตถา กริสฺสนตฺ ีต.ิ

พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกรกัสสป ทานเปนผูนำ เปนผูฝก สอน เปนผูเลิศ เปนหวั หนาเปนประธาน
ของชฎลิ ๕๐๐ คน ทา นจงบอกกลาวพวกน้ันกอน พวกนนั้ จักทำตามทเี่ ขา ใจ.

อถโข อุรุเวลกสฺสโป ชฏิโล เยน เต ชฏิลา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา เต ชฏิเล เอตทโวจ
“อจิ ฉฺ ามหํ โภ มหาสมเณ พฺรหมฺ จริยํ จรติ ุํ ยถา ภวนฺโต มญฺ นฺติ ตถา กโรนฺตตู ิ.

ลำดับนัน้ ชฎลิ อุรเุ วลกัสสปเขาไปหาชฎิลเหลานั้น คร้ันแลวไดแจงความประสงค ตอชฎิลเหลา นัน้ วา
ผูเจริญทั้งหลาย เราปรารถนาจะประพฤติพรหมจรรยในพระมหาสมณะ ทานผูเจริญทั้งหลาย จงทำตามท่ี
เขา ใจ.

จิรปฏิกา มยํ โภ มหาสมเณ อภิปฺปสนฺนา สเจ ภวํ มหาสมเณ พฺรหฺมจริยํ จริสฺสติ สพฺเพ ว มยํ
มหาสมเณ พรฺ หิมจริยํ จริสสฺ ามาต.ิ

ชฎิลพวกน้นั กราบเรียนวา พวกขาพเจา เลื่อมใสยงิ่ ในพระมหาสมณะมานานแลว ขอรับถาทา นอาจารย
จักประพฤติพรหมจรรยในพระมหาสมณะ พวกขาพเจาทั้งหมดก็จักประพฤติพรหมจรรยในพระมหาสมณะ
เหมอื นกนั .

อถโข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสสฺ ํ อคฺคิหุตฺตมิสิสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา
เตนปุ สงกฺ มึสุ อุปสงกฺ มิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นปิ ตติ วฺ า ภควนฺตํ เอตทโวจํุ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๒

ตอมา ชฎิลเหลา นั้นไดล อยผม ชฎา เคร่อื งบริขาร และเครอ่ื งบูชาเพลงิ ในน้ำ แลว พากันเขาเฝา พระผูมี
พระภาค ซบเศยี รลงแทบพระบาทของพระผูมพี ระภาค

“ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต ภควโต สนฺตเิ ก ปพพฺ ชชฺ ํ ลเภยฺยาม อปุ สมฺปทนตฺ ิ
แลวไดทูลขอบรรพชา อุปสมบทตอพระผูมีพระภาควา ขอพวกขาพระองคพึงไดบรรพชา พึงได
อปุ สมบทในสำนกั พระผูมีพระภาค พระพทุ ธเจา ขา.
“เอถ ภกิ ฺขโวติ ภควา อโวจ “สวฺ ากขฺ าโต ธมโฺ ม จรถ พฺรหมฺ จริยํ สมฺมา ทุกฺขสสฺ อนตฺ กริ ยิ ายาต.ิ
พระผูมพี ระภาคตรสั วา พวกเธอจงเปน ภิกษุมาเถิด ดังนี้แลว ไดต รสั ตอ ไปวา ธรรมอนั เรา กลาวดแี ลว
พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรยเพอื่ ทำทส่ี ดุ ทกุ ขโดยชอบเถดิ .
สา ว เตสํ อายสฺมนฺตานํ อปุ สมปฺ ทา อโหส.ิ
พระวาจานน้ั แล ไดเปนอปุ สมบทของทา นผูมีอายุเหลา นน้ั .
[๕๒] อทฺทสา โข นทีกสฺสโป ชฏิโล เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสฺสํ อคฺคิหุตฺตมิสฺสํ อุทเก
วุยหฺ มาเน. ทิสฺวานสฺส เอตทโหสิ “มา เหว เม ภาตุโน อปุ สคฺโค อโหสีต.ิ
[๕๒] ชฎลิ นทีกัสสปไดเห็นผม ชฎา เคร่ืองบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงลอยนำ้ มา คร้ันแลว ไดมคี วาม
ดำรวิ า อปุ สรรคอยา ไดมีแกพ่ชี ายเราเลย.
ชฏเิ ล ปาเหสิ คจฺฉถ เม ภาตรํ ชานาถาติ สามจฺ ตีหิ ชฏิลสเตหิ สทหฺ ึ เยนายสฺมา อุรุเวลกสสฺ โป
เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตวฺ า อายสฺมนฺตํ อรุ เุ วลกสสฺ ป เอตทโวจ “อทิ ํ นุ โข กสฺสป เสยโฺ ยติ.
จึงสง ชฎลิ ไปดว ยคำส่งั วา พวกเธอจงไป จงรูพี่ชายของเรา ดงั น้แี ลว ทงั้ ตนเองกับชฏิล ๓๐๐ ไดเ ขาไป
หาทา นพระอุรเุ วลกสั สป แลว เรียนถามวา ขา แตพก่ี สั สป พรหมจรรยน ้ปี ระเสริฐแนหรือ?
อามาวุโส อทิ ํ เสยโฺ ยต.ิ
พระอรุ ุเวลกสั สปตอบวา แนล ะเธอ พรหมจรรยน้ปี ระเสรฐิ .
อถโข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสสฺ ํ อคฺคิหุตฺตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา
เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจํุ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต
ภควโต สนตฺ ิเก ปพพฺ ชฺชํ ลเภยฺยาม อปุ สมปฺ ทนตฺ .ิ
หลงั จากนน้ั ชฎิลเหลา นั้นลอยผม ชฎา เครอ่ื งบริขารและเครอ่ื งบชู าเพลิงในน้ำ แลวพากนั เขาเฝาพระ
ผมู พี ระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผูมพี ระภาค แลว ไดทลู ขอบรรพชา อุปสมบทตอ พระผมู ีพระภาค
วา ขอพวกขาพระพทุ ธเจาพงึ ไดบ รรพชา พึงไดอ ปุ สมบทในสำนกั พระผูมีพระภาค พระพุทธเจาขา.
“เอถ ภกิ ฺขโวติ ภควา อโวจ “สวฺ ากฺขาโต ธมโฺ ม จรถ พฺรหฺมจริยํ สมมฺ า ทกุ ฺขสฺส อนตฺ กิรยิ ายาติ.
พระผูมีพระภาคตรัสวา พวกเธอจงเปนภิกษุมาเถดิ ดังนี้แลว ไดต รัสตอ ไปวา ธรรมอันเรากลาวดีแลว
พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรยเพื่อทำทส่ี ุดทุกขโดยชอบเถิด.
สา ว เตสํ อายสมฺ นตฺ านํ อปุ สมปฺ ทา อโหส.ิ
พระวาจาน้นั แล ไดเปนอปุ สมบทของทา นผูมีอายุเหลานน้ั .

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๓

[๕๓] อทฺทสา โข คยากสฺสโป ชฏิโล เกสมสิ สฺ ํ ชฏามสิ สฺ ํ ขาริกาชมิสสฺ ํ อคคฺ หิ ุตฺตมิสฺสํ อุทเก วุยฺหมาเน.
[๕๓] ชฎลิ คยากสั สปไดเหน็ ผม ชฎา เคร่ืองบริขาร และเคร่อื งบชู าเพลงิ ลอยนำ้ มา.

ทิสฺวานสสฺ เอตทโหสิ “มา เหว เม ภาตูนํ อปุ สคโฺ ค อโหสตี .ิ
คร้นั แลว ไดมีความดำริวา อปุ สรรคอยาไดมีแกพีช่ ายทั้งสองของเราเลย.

ชฏิเล ปาเหสิ คจฉฺ ถ เม ภาตโร ชานาถาติ สามฺจ ทฺวีหิ ชฏิลสเตหิ สุทฺธึเยนายสมฺ า อรุ ุเวลกสฺสโป
เตนุปสงฺกมิ อปุ สงฺกมิตฺวา อายสฺมนตฺ ํ อุรเุ วลกสฺสป เอตทโวจ “อทิ ํ นุ โข กสสฺ ป เสยโฺ ยต.ิ

จึงสงชฎิลไปดวยคำสั่งวา พวกเธอจงไป จงรูพ่ีชายทงั้ สองของเรา ดังนี้แลว ทั้งตนเองกับชฎิล ๒๐๐ คน
ไดเขา ไปหาทานพระอุรุเวลกสั สปแลวเรียนถามวา ขา แตพ ก่ี ัสสป พรหมจรรยน ้ปี ระเสริฐแนหรอื ?

อามาวโุ ส อิทํ เสยโฺ ยติ.
พระอรุ เุ วลกสั สปตอบวา แนล ะเธอ พรหมจรรยน ปี้ ระเสริฐ.

อถโข เต ชฏิลา เกสมิสฺสํ ชฏามิสฺสํ ขาริกาชมิสสฺ ํ อคฺคิหุตฺตมิสฺสํ อุทเก ปวาเหตฺวา เยน ภควา
เตนุปสงฺกมึสุ อุปสงฺกมิตฺวา ภควโต ปาเทสุ สิรสา นิปติตฺวา ภควนฺตํ เอตทโวจุํ “ลเภยฺยาม มยํ ภนฺเต
ภควโต สนฺติเก ปพพฺ ชฺชํ ลเภยยฺ าม อปุ สมปฺ ทนตฺ ิ.

หลังจากนั้น ชฎิลเหลานั้นลอยผม ชฎา เครื่องบริขาร และเครื่องบูชาเพลิงในน้ำ แลว พากันเขาเฝา
พระผูมีพระภาค ซบเศียรลงแทบพระบาทของพระผูมีพระภาคแลว ไดทูลขอบรรพชาอุปสมบทตอพระผูมี
พระภาควา ขอพวกขาพระพทุ ธเจา พึงไดบรรพชา พงึ ไดอ ุปสมบทในสำนกั พระผูมีพระภาค พระพุทธเจา ขา .

“เอถ ภิกฺขโวติ ภควา อโวจ “สวฺ ากฺขาโต ธมฺโม จรถ พฺรหิมจริยํ สมมฺ า ทกุ ฺขสฺส อนตฺ กิรยิ ายาต.ิ
พระผูมีพระภาคตรัสวา พวกเธอจงเปนภิกษุมาเถิด ดังนี้แลว ไดต รัสตอ ไปวา ธรรมอันเรากลาวดีแลว
พวกเธอจงประพฤติพรหมจรรยเ พื่อทำทีส่ ดุ ทกุ ขโ ดยชอบเถดิ .

สา ว เตสํ อายสฺมนตฺ านํ อุปสมฺปทา อโหส.ิ
พระวาจาน้นั แล ไดเปนอปุ สมบทของทา นผูมอี ายเุ หลา น้ัน.

ภควโต อธิฐาเนน ปฺจ กฐสตานิ น ผาลิยึสุ ผาลิยึสุ อคิคี น อุชฺชลึสุ อุชฺชลึสุ น วิชฺฌายึสุ
วิชฌฺ ายึสุ ปจฺ มนทฺ ามขุ ิสตานิ อภินมิ มฺ นิ .ิ เอเตน นเยน อฑฒฺ ุฑฒฺ ปาฏหิ าริยสหสฺสานิ โหนตฺ ิ.

พวกชฎลิ นน้ั ผาฟน ๕๐๐ ทอนไมไ ด แลวผา ได กอไฟไมตดิ แลว กอ ไฟตดิ ข้ึนไดด ับไฟไมด ับ แลวดับได
ดวยการเพงอธิษฐานของพระผูมีพระภาค พระผูมีพระภาคทรงนิรมิตกองไฟไว ๕๐๐ กอง. ปาฏิหารยิ  ๓๕๐๐ วิธี
ยอมมีโดยนยั น้.ี

อาทติ ตปริยายสูตร

[๕๔] อถโข ภควา อุรุเวลายํ ยถาภริ นตฺ ํ วิหริตวฺ า เยน คยาสสี ํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหาตา ภิกฺขุสงฺเฆน
สทธฺ ึ ภกิ ขฺ ุสหสเฺ สน สพฺเพเหว ปรุ าณชฏเิ ลห.ิ

[๕๔] ครั้นพระผูมีพระภาคประทับอยู ณ ตำบลอุรุเวลา ตามพระพุทธาภริ มยแลวเสด็จจาริกไปโดย
มรรคาอนั จะไปสูต ำบลคยาสีสะ พรอ มดว ยภกิ ษสุ งฆหมใู หญ ๑๐๐๐ รูป ลวนเปน ปุราณชฎิล.

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๔

ตตรฺ สุทํ ภควา คยายํ วหิ รติ คยาสเี ส สทธฺ ึ ภกิ ฺขสุ หสเฺ สน.
ไดย นิ วา พระองคป ระทบั อยูท่ตี ำบลคยาสสี ะ ใกลแมน้ำคยาน้ัน พรอมดวยภกิ ษุ ๑๐๐๐ รูป.
ตตฺร โข ภควา ภิกขฺ ู อามนฺเตสิ
ณ ทน่ี นั้ พระผูมพี ระภาครับสั่งกะภกิ ษุทั้งหลาย วาดังน:้ี -
“สพพฺ ํ ภิกขฺ เว อาทติ ตฺ ํ กิฺจ ภกิ ฺขเว สพพฺ ํ อาทิตตฺ ํ
ดกู รภกิ ษุท้ังหลาย สงิ่ ทัง้ ปวงเปนของรอน ก็อะไรเลา ช่ือวา ส่ิงทง้ั ปวงเปน ของรอน?
จกฺขุ ภิกฺขเว อาทิตฺตํ รูปา อาทิตฺตา จกฺขุวิฺญาณํ อาทิตฺตํ จกฺขุสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมฺปทํ
จกฺขสุ มฺผสฺสปจฺจยา อปุ ฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกฺขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺป อาทิตฺตํ เกน อาทิตฺตํ อาทิตฺตํ
ราคคคฺ นิ า โทสคคฺ ินา โมหคคฺ ินา อาทิตฺตํ ชาตยิ า ชรามรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทกุ เฺ ขหิ โทมนสเฺ สหิ อุปายา
เสหิ อาทติ ฺตนตฺ ิ วทาม.ิ
ดกู รภกิ ษุทงั้ หลาย จักษเุ ปน ของรอน รปู ทัง้ หลายเปนของรอ น วิญญาณอาศัยจักษุ เปน ของรอน สัมผัส
อาศัยจักขุเปนของรอน ความเสวยอารมณ เปนสุขเปนทุกข หรือมิใชสุขมิใชทุกข ที่เกิดขึ้น เพราะจกั ษุสัมผัส
เปนปจจัย แมนั้นก็เปนของรอน รอนเพราะอะไร? เรากลาววา รอน เพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ
เพราะไฟคือโมหะ รอ นเพราะความเกิด เพราะความแกแ ละความตาย รอ นเพราะความโศก เพราะความรำพนั
เพราะทุกขก าย เพราะทกุ ขใ จ เพราะความคบั แคน .
โสตํ อาทติ ตฺ ํ สทฺทา อาทติ ฺตา ฯเปฯ
โสตเปน ของรอ น เสยี งทั้งหลายเปน ของรอน ...
ฆานํ อาทิตฺตํ คนธฺ า อาทิตตฺ า ฯเปฯ
ฆานะเปนของรอน กล่ินท้ังหลายเปนของรอน ...
ชิวฺหา อาทติ ตฺ า รสา อาทิตฺตา ฯเปฯ
ชวิ หาเปนของรอ น รสทงั้ หลายเปน ของรอน ...
กาโย อาทติ ฺโต โผฐพพฺ า อาทติ ตฺ า ฯเปฯ
กายเปน ของรอ น โผฏฐพั พะท้ังหลายเปน ของรอน .
มโน อาทิตฺโต ธมฺมา อาทิตฺตา มโนวิฺญาณํ อาทิตฺตํ มโนสมฺผสฺโส อาทิตฺโต ยมฺปทํ
มโนสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทกุ ขํ วา อทุกฺขมสุขํ วา ตมฺป อาทิตฺตํ เกน อาทติ ฺตํ อาทติ ฺตํ
ราคคฺคนิ า โทสคฺคนิ า โมหคคฺ ินา อาทติ ตฺ ํ ชาตยิ า ชรามรเณน โสเกหิ ปรเิ ทเวหิ ทกุ เฺ ขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายา
เสหิ อาทติ ฺตนตฺ ิ วทาม.ิ
มนะเปนของรอน ธรรมทั้งหลายเปนของรอน วิญญาณอาศัยมนะเปนของรอน สัมผัสอาศัยมนะเปน
ของรอน ความเสวยอารมณเ ปน สุข เปน ทกุ ขห รือมิใชท ุกขม ิใชส ุข ทเี่ กิดข้ึนเพราะมโนสัมผสั เปนปจจัย แมนั้นก็
เปนของรอน รอนเพราะอะไร? เรากลาววา รอนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ รอน
เพราะความเกิด เพราะความแกและความตาย รอ นเพราะความโศก เพราะความรำพนั เพราะทกุ ขก าย เพราะ
ทกุ ขใจเพราะความคับแคน .

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๕

เอวํ ปสฺสํ ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก จกฺขุสฺมึป นิพฺพินฺทติ รูเปสุป นิพฺพินฺทติ จกฺขุวิฺญาเณป
นิพฺพินฺทติ จกฺขุสมฺผสฺเสป นิพฺพินฺทติ ยมฺปทํ จกฺขุสมฺผสฺสปจฺจยา อุปฺปชฺชติ เวทยิตํ สุขํ วา ทุกขํ วา
อทุกฺขมสขุ ํ ตสฺมึป นพิ ฺพินทฺ ติ

ดกู รภกิ ษุทง้ั หลาย อรยิ สาวกผไู ดฟงแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอ มเบอ่ื หนา ยแมในจักษุ ยอมเบื่อหนายแมใน
รูปทั้งหลาย ยอมเบื่อหนายแมในวญิ ญาณอาศัยจักษุ ยอมเบื่อหนาย แมในสัมผัสอาศยั จกั ษุ ยอมเบือ่ หนา ยแม
ในความเสวยอารมณ ท่เี ปน สขุ เปนทุกขหรอื มิใชท ุกข มิใชสุข ทีเ่ กดิ ขนึ้ เพราะจักษสุ มั ผสั เปนปจ จัย

โสตสมฺ ปึ  นิพพฺ นิ ฺทติ สทฺเทสุป นพิ พฺ ินฺทติ ฯเปฯ
ยอ มเบ่ือหนา ยแมในโสต ยอมเบ่ือหนา ยแมใ นเสียงท้ังหลาย .

ฆานสฺมปึ  นิพฺพนิ ทฺ ติ คนเฺ ธสปุ  นพิ ฺพนิ ฺทติ ฯเปฯ
ยอ มเบ่อื หนายแมในฆานะ ยอมเบ่ือหนายแมในกลน่ิ ทง้ั หลาย .

ชิวหฺ ายป นพิ พฺ นิ ฺทติ รเสสุป นพิ ฺพินทฺ ติ ฯเปฯ
ยอ มเบ่อื หนา ยแมในชิวหา ยอ มเบ่อื หนา ยแมในรสท้งั หลาย .

กายสมฺ ึป นพิ ฺพินทฺ ติ โผฐพเฺ พสุป นพิ พฺ นิ ทฺ ติ ฯเปฯ
ยอ มเบ่อื หนา ยแมในกาย ยอมเบือ่ หนายแมในโผฏฐัพพะท้งั หลาย .

มนสฺมึป นิพฺพินฺทติ ธมฺเมสุป นิพฺพินฺทติ มโนวิฺญาเณป นิพฺพินฺทติ มโนสมฺผสฺเสป นิพฺพินฺเทติ
ยมปฺ ท ํ มโนสมผฺ สฺสปจฺจยา อปุ ฺปชชฺ ติ เวทยิตํ สขุ ํ วา ทกุ ขฺ ํ วา อทกุ ฺขมสุขํ วา ตสฺมปึ  นพิ พฺ ินทฺ ติ

ยอ มเบอ่ื หนายแมในมนะ ยอ มเบ่ือหนายแมใ นธรรมท้ังหลาย ยอมเบือ่ หนา ยแมในวิญญาณ อาศัยมนะ
ยอ มเบื่อหนา ยแมใ นสัมผัสอาศัยมนะ ยอมเบื่อหนายแมในความเสวยอารมณท่ีเปนสุข เปนทุกข หรือมิใชทุกข
มิใชสขุ ท่เี กิดขน้ึ เพราะมโนสมั ผัสเปน ปจ จยั .

นิพฺพินทฺ ํ วิรชฺชติ วิราคา วิมุจจฺ ติ วมิ ตุ ฺตสมฺ ึ วมิ ตุ ตฺ มิติ ญาณํ โหติ “ขีณา ชาติ วสุ ติ ํ พฺรหมฺ จริยํ กตํ
กรณียํ นาปรํ อิตฺถตตฺ ายาติ ปชานาตตี .ิ

เมือ่ เบ่ือหนาย ยอมสิ้นกำหนัด เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พน เมื่อจิตพนแลว ก็รูวาพนแลว อริยสาวกนั้น
ทราบชัดวา ชาติสน้ิ แลว พรหมจรรยไดอ ยูจ บแลว กิจที่ควรทำไดท ำเสรจ็ แลว กจิ อน่ื อีกเพื่อความเปนอยางนี้ไมม ี.

อมิ สฺมึ จ ปน เวยฺยากรณสมฺ ึ ภญฺ มาเน ตสฺส ภกิ ขฺ สุ หสฺสสสฺ อนปุ าทาย อาสเวหิ จติ ตฺ านิ วิมจุ ฺจสึ ุ.
ก็แล เมื่อพระผูมีพระภาคตรัสไวยากรณภาษติ นี้อยู จิตของภิกษุ ๑๐๐๐ รูปนั้น พนแลวจากอาสวะ
ท้ังหลาย เพราะไมถอื มั่น.

อาทติ ฺตปรยิ ายํ นิฐติ ํ.
อาทติ ตปรยิ ายสูตร จบ
ตติยภาณวารํ นิ ฐติ .ํ
อุรเุ วลปาฏิหารยิ  ตติยภาณวาร จบ.

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๖

พมิ พิสารสมาคมกถา

[๕๕] อถโข ภควา คยาสีเส ยถาภิรนฺตํ วิหริตฺวา เยน ราชคหํ เตน จาริกํ ปกฺกามิ มหตา
ภิกขฺ สุ งเฺ ฆน สทธฺ ึ ภกิ ฺขสุ หสเฺ สน สพฺเพเหว ปรุ าณชฏิเลห.ิ

[๕๕] ครั้งนัน้ พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ ตำบลคยาสสี ะ ตามพระพุทธาภิรมยแลวเสดจ็ จาริกไป
โดยมรรคาอนั จะไปสพู ระนครราชคฤห พรอ มดว ยภิกษสุ งฆห มใู หญจำนวน ๑๐๐๐ รูป ลว นเปน ปรุ าณชฎลิ .

อถโข ภควา อนปุ พุ เฺ พน จาริกํ จรมาโน เยน ราชคหํ ตทวสร.ิ
เสด็จจาริกโดยลำดบั ถึงพระนครราชคฤหแ ลว .
ตตรฺ สทุ ํ ภควา ราชคเห วิหรติ ลฐวิ นุยฺยาเน สปุ ปฺ ติเ ฐ เจตเิ ย.
ทราบวา พระองคป ระทับอยูใตตน ไทรชื่อ สปุ ระดษิ ฐเจดียในสวนตาลหนมุ เขตพระนครราชคฤหน นั้ .
อสฺโสสิ โข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร “สมโณ ขลุ โภ โคตโม สกฺยปุตฺโต สกฺยกุลา ปพฺพชิโต
ราชคหํ อนปุ ฺปตโฺ ต ราชคเห วหิ รติ ลฐ ิวนุยยฺ าเน สปุ ฺปติเฐ เจติเย
พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ไดทรงสดับขาวถนัดแนวา พระสมณโคดมศากบุตรทรงผนวช
จากศากยตระกูล เสด็จพระนครราชคฤหโดยลำดับ ประทับอยูใตตนไทรชื่อสุประดิษฐเจดีย ในสวนตาลหนุม
เขตพระนครราชคฤห
ตํ โข ปน ภควนตฺ ํ โคตมํ เอวํ กลยฺ าโณ กติ ตฺ ิสทฺโท อพภฺ คุ ฺคโต อิตปิ  โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
วิชฺชาจรณสมฺปนโฺ น สคุ โต โลกวทิ ู อนตุ ตฺ โร ปุรสิ ทมฺมสารถิ สตถฺ า เทวมนุสฺสานํ พุทโฺ ธ ภควาติ โส อิมํ โลกํ
สเทวกํ สมารกํ สพฺรหฺมกํ สสฺสมณพฺราหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ สยํ อภิฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ โส ธมฺมํ
เทเสติ อาทกิ ลฺยาณํ มชฺเฌกลยฺ าณํ ปรโิ ยสานกลยฺ าณํ สาตฺถํ สพฺยฺชนํ เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พรฺ หฺมจริยํ
ปกาเสติ
ก็แลพระกิตติศัพทอันงามของทาน พระโคดมพระองคนั้น ขจรไปแลวอยางนี้วา แมเพราะเหตุนี้ ๆ
พระผูมีพระภาคพระองคนั้นทรงเปน พระอรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ สมบูรณ ดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี
ทรงทราบโลก ทรงเปน สารถีฝกบุรุษที่ควรฝก ไมมีผูอื่นยิ่งกวา เปนศาสดาของเทพและมนุษยทั้งหลาย เปนผู
เบิกบานแลว เปนผูจำแนกธรรม พระองคทรงทำโลกนี้ พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกใหแจงชัด
ดวยพระปญญาอันยิ่งของพระองคเอง แลวทรงสอนหมูสัตวพรอมทั้งสมณะ พราหมณ เทพ และมนุษย ใหรู
ทรงแสดงธรรม งามในเบื้องตน งามในทามกลาง งามในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรย พรอมทั้งอรรถ
ท้งั พยญั ชนะบรบิ รู ณบ ริสทุ ธิ์.
สาธุ โข ปน ตถารูปานํ อรหตํ ทสสฺ นํ โหตตี .ิ
อน่ึง การเห็นพระอรหันตท ้ังหลาย เหน็ ปานนัน้ เปน ความด.ี
อถโข ราชา มาคโธ เสนโิ ย พมิ พฺ ิสาโร ทวฺ าทสนหเุ ตหิ มาคธิเกหิ พรฺ าหมฺ ณคหปตเิ กหิ ปริวโุ ต เยน
ภควา เตนุปสงกฺ มิ อปุ สงฺกมติ ฺวา ภควนตฺ ํ อภวิ าเทตวฺ า เอกมนตฺ ํ นสิ ที ิ.
หลงั จากน้นั พระเจาพมิ พสิ ารจอมเสนามาคธราช ทรงแวดลอ มดวยพราหมณค หบดชี าวมคธ ๑๒ นหตุ
เสด็จเขาไปเฝา พระผมู ีพระภาค คร้ันถงึ จงึ ถวายบังคมพระผูม พี ระภาคแลว ประทบั น่ัง ณ ทีค่ วรสว นขา งหน่งึ .

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๗

เตป โข ทฺวาทสนหุตา มาคธิกา พฺราหฺมณคหปติกา อปฺเปกจฺเจ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ
นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควตา สทฺธึ สมฺโมทึสุ สมฺโมทนียํ กถํ สาราณียํ วีติสาเรตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ
อปฺเปกจฺเจ เยน ภควา เตนฺชลึ ปณาเมตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทึสุ อปฺเปกจฺเจ ภควโต สนฺติเก นามโคตฺตํ
สาเวตวฺ า เอกมนตฺ ํ นสิ ีทึสุ อปฺเปกจเฺ จ ตุณหฺ ภึ ูตา เอกมนตฺ ํ นสิ ที ึสุ.

สวนพราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นแล บางพวกถวายบังคมพระผมู ีพระภาคแลวนั่ง ณ ที่ควร
สวนขางหนึ่ง บางพวกไดทูลปราศรัยกับพระผูมีพระภาค ครั้นผานการทูลปราศรยั พอใหเปนที่บนั เทิง เปนที่
ระลกึ ถงึ กันไปแลว จึงนง่ั ณ ทค่ี วรสวนขางหนง่ึ บางพวกประคองอัญชลีไปทางท่ีพระผูมีพระภาคประทับ แลว
นั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง บางพวกประกาศนามและโคตรในสำนักพระผูมีพระภาค แลวนั่ง ณ ทีค่ วรสวนขาง
หน่งึ บางพวกนงั่ นิ่งอยู ณ ทคี่ วรสว นขา งหนึ่ง.

อถโข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ “กึ นุ โข มหาสมโณ
อรุ ุเวลกสสฺ เป พฺรหฺมจรยิ ํ จรติ อุทาหุ อรุ เุ วลกสฺสโป มหาสมเณ พฺรหฺมจรยิ ํ จรตตี .ิ

ครั้งน้ัน พราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้นไดม ีความดำรวิ า พระมหาสมณะประพฤตพิ รหมจรรย
ในทานอรุ เุ วลกสั สป หรือวาทานอุรุเวลกสั สป ประพฤติพรหมจรรยใ นพระมหาสมณะ.

อถโข ภควา เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวิตกฺกมญฺ าย
อายสมฺ นตฺ ํ อุรเุ วลกสสฺ ป คาถาย อชฌฺ ภาสิ

ลำดับน้ัน พระผูมีพระภาคทรงทราบความดำริในใจของพราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุตนั้น
ดว ยพระทัยของพระองค ไดต รสั กะทา นพระอุรเุ วลกสั สป ดวยพระคาถาวา ดังน้ี :-

กเิ มว ทิสวฺ า อุรเุ วลวาสิ
ปหาสิ อคฺคึ กสิ โกวทาโน.
ปจุ ฺฉามิ ตํ กสฺสป เอตมตฺถ
กถํ ปหีนํ ตว อคคฺ ิหตุ ฺต.ํ
ดูกรทานผูอยูในอุรุเวลามานาน เคยเปนอาจารยสั่งสอนหมูชฎิลผูผอม เพราะกำลังพรต กัสสปะ
เราถามเนอ้ื ความนีก้ ะทาน ทานละเพลงิ ทบี่ ชู าเสียทำไมเลา
รูเป จ สทเฺ ท จ อโถ รเส จ
กามิตถฺ โิ ย จาภิวทนตฺ ิ ยฺญา
เอตํ มลนตฺ ิ อุปธีสุ ญตวฺ า
ตสฺมา น ยิ เ ฐ น หุเต อรชฺ .ึ
ทานพระอุรุเวลกัสสปตอบวา ยัญทั้งหลาย กลาวยกยองรูปเสียง และรสที่นาปรารถนาและสตรี
ทั้งหลาย ขาพระพุทธเจารูวานั้น เปนมลทินในอุปธิทั้งหลายแลว เพราะเหตุนั้น จึงไมยินดี ในการเซนสรวง
ในการบชู า
เอตถฺ จ เต มโน น รมิตถฺ กสฺสปาติ ภควา
รเู ปสุ สทฺเทสุ อโถ รเสสุ
อถ โกจรหิ เทวมนสุ สฺ โลเก
รโต มโน กสฺสป พรฺ ูหิ เมตํ.

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๘

พระผูมีพระภาคตรัสถามวากัสสป ก็ใจของทานไมยินดีแลวในอารมณ คือรูป เสียงและรสเหลาน้ัน
กสั สป กเ็ ม่ือเปน เชนน้ันใจของทานยนิ ดใี นส่งิ ไรเลาในเทวโลก หรือมนษุ ยโลกทา นจงบอกขอ น้ันแกเ รา?

ทสิ วฺ า ปทํ สนฺตมนปู ธีกํ
อกิ จฺ นํ กามภเว อสตฺตํ
อนฺญถาภาวิมนญฺ เนยยฺ ํ
ตสฺมา น ยิ เฐ น หุเต อรชฺ นิ ตฺ ิ.
ทานพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบวา ขา พระพุทธเจา ไดเ ห็นทางอันสงบ ไมมีอุปธิ ไมมกี ังวล ไมติดอยูใน
กามภพ ไมมีภาวะเปนอยางอืน่ ไมใชธรรมที่ผูอื่นแนะใหบรรลุ เพราะฉะนัน้ จึงไมยนิ ดี ในการเซนสรวงในการ
บชู า
[๕๖] อถโข อายสฺมา อุรเุ วลกสฺสโป อุ ฐายาสนา เอกสํ ํ อตุ ฺตราสงฺคํ กรติ วฺ า ภควโต ปาเทสุ สิรสา
นิปติตวฺ า ภควนตฺ ํ เอตทโวจะ “สตฺมา เม ภนเฺ ต ภควา สาวโกหมสมฺ ิ สตฺถา เม ภนฺเต ภควา สาวโกหมสฺมีติ.
[๕๖] ลำดับนั้น ทา นพระอุรุเวลกัสสปลุกจากอาสนะ หมผาอุตราสงคเฉวยี งบา ซบเศียรลงที่พระบาท
ของพระผูมีพระภาค แลวไดกราบทูลพระผูมีพระภาควา พระพุทธเจาขาพระผูมีพระภาคเปนพระศาสดา
ของขาพระพุทธเจา ขาพระพุทธเจาเปนสาวก, พระผูมีพระภาคเปนพระศาสดาของขาพระพุทธเจา
ขาพระพุทธเจาเปนสาวก พระพทุ ธเจา ขา .
อถโข เตสํ ทฺวาทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เอตทโหสิ “อุรุเวลกสฺสโป มหาสมเณ
พรฺ หมฺ จริยํ จรตตี ิ.
ลำดับนั้น พราหมณคหบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุต นั้น ไดมีความเขาใจวา ทานพระอุรุเวลกัสสป
ประพฤติพรหมจรรยใ นพระมหาสมณะ.
อถโข ภควา เตสํ ทวฺ าทสนหุตานํ มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ เจตสา เจโตปริวติ กฺกมญฺ าย
อนุปุพพฺ กิ าถํ กเถสิ เสยฺยถที ํ ทานกถํ สลี กถํ สคคฺ กถํ กามานํ อาทนี วํ โอการํ สงกฺ ิเลสํ เนกขฺ มเฺ ม อานิสสํ ํ ปกาเสสิ.
ครั้งน้ัน พระผูมีพระภาคทรงทราบความปรวิ ติ กแหงจิตของพราหมณค หบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุตนั้น
ดวยพระทัยของพระองคแลว ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ
ความต่ำทราม ความเศรา หมองของกามทงั้ หลายและอานสิ งฆในความออกจากกาม.
ยถา เต ภควา อฺญาสิ กลฺลจิตฺเต มุทุจิตฺเต วินีวรณจิตฺเต อุทคฺคจิตฺเต ปสนฺนจิตฺเต อถ ยา
พุทฺธานํ สามุกกฺ ํสิกา ธมฺมเทสนา ตํ ปกาเสสิ ทกุ ขํ สมุทยํ นิโรธํ มคฺคํ.
เมื่อพระผูมีพระภาคทรงทราบวา พวกเขามีจิตสงบ มีจิตออน มีจิตปลอดจากนิวรณ มีจิตเบิกบาน
มีจิตผอนใสแลว จึงทรงประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจาทั้งหลายทรงยกขึน้ แสดงดวยพระองคเอง คือ
ทกุ ข สมทุ ยั นโิ รธ มรรค.
เสยฺยถาป นาม สุทฺธํ วตฺถํ อปคตกาฬกํ สมฺมเทว รชนํ ปฏิคฺคเณฺหยฺย เอวเมว เอกาทสนหุตานํ
มาคธิกานํ พฺราหฺมณคหปติกานํ พิมพฺ สิ ารปฺปมุขานํ ตสฺมึเยวาสเน วริ ชํ วตี มลํ ธมมฺ จกขฺ ํุ อทุ ปาทิ “ยงฺกิฺจิ
สมุทยธมมฺ ํ สพฺพนตฺ ํ นโิ รธธมมฺ นุติ.

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๓๙

ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน วาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้น
ทั้งหมดมีความดับเปน ธรรมดา ไดเ กดิ แกพราหมณค หบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต ซึง่ มพี ระเจาพิมพสิ าร เปนประมุข
ณ ทีน่ ง่ั นั้นแล ดจุ ผาท่สี ะอาด ปราศจากมลทิน ควรไดร บั น้ำยอ มเปนอยางดี ฉะน้นั .

เอกนหุตํ อุปาสกตตฺ ํ ปฏิเวเทส.ิ
พราหมณคหบดีอกี ๑ นหุต แสดงตนเปนอุบาสก.

[๕๗] อถโข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร ทิฐธมฺโม ปตฺตธมฺโม วิทิตธมฺโม ปริโยคาฬฺหธมฺโม
ติณฺณวิจิกิจฺโฉ วิคตกถํกโถ เวสารชฺชปฺปตฺโต อปรปฺปจฺจโย สตฺถุ สาสเน ภควนฺตํ เอตทโวจ “ปุพฺเพ เม
ภนเฺ ต กุมารสสฺ สโต ปจฺ อสสฺ าสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมทิ ฺธา

[๕๗] ครง้ั น้ัน พระเจา พิมพิสารจอมเสนามาคธราช ไดท รงเห็นธรรมแลว ไดท รงบรรลุธรรมแลว ไดท รง
รูธ รรมแจม แจงแลว ทรงมธี รรมอันหย่ังลงแลว ทรงขามความสงสัยไดแ ลว ปราศจากถอ ยคำแสดงความสงสัย
ทรงถึงความเปนผูแกลวกลา ไมต องทรงเชือ่ ผูอ ืน่ ในคำสอนของพระศาสดา ไดทูลพระวาจานี้ ตอพระผูมีพระ
ภาควา ครงั้ กอ น เมอื่ หมอ มฉันยังเปน ราชกุมาร ไดม ีความปรารถนา ๕ อยา ง บดั นี้ ความปรารถนา ๕ อยา งน้นั
ของหมอ มฉันสำเรจ็ แลว.

ความปรารถนา ๕ อยาง

ปพุ ฺเพ เม ภนฺเต กมุ ารสสฺ สโต เอตทโหสิ ‘อโห วต มํ รชเฺ ช อภิสิเฺ จยฺยุนฺติ
๑. ครงั้ กอ น เมอื่ หมอมฉันยังเปน ราชกุมาร ไดม คี วามปรารถนาวา ไฉนหนอ ชนทั้งหลายพึงอภิเษกเราใน

ราชสมบัติดังน้ี
อยํ โข เม ภนฺเต ปฐโม อสสฺ าสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมิทฺโธ
นี้เปนความปรารถนาของหมอมฉันประการที่ ๑ บัดนี้ ความปรารถนานั้นของหมอมฉันสำเร็จแลว
พระพทุ ธเจา ขา
‘ตสฺส เม วิชิตํ อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ โอกฺกเมยฺยาติ อยํ โข เม ภนฺเต ทุติโย อสฺสาสโก อโหสิ โส เม
เอตรหิ สมิทฺโธ
๒. ขอพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พึงเสด็จมาสูแวนแควนของหมอมฉันน้ัน นี้เปนความปรารถนาของ
หมอมฉนั ประการท่ี ๒ บดั นี้ ความปรารถนานนั้ ของหมอมฉนั สำเรจ็ แลวพระพทุ ธเจา ขา
‘ตจฺ าหํ ภควนตฺ ํ ปยิรปุ าเสยฺยนตฺ ิ อยํ โข เม ภนฺเต ตตโิ ย อสสฺ าสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมทิ โฺ ธ
๓. ขอหมอ มฉันพึงไดเขาเฝาพระผมู ีพระภาคพระองคน น้ั นเี้ ปนความปรารถนาของหมอมฉันประการท่ี ๓
บัดนี้ ความปรารถนานน้ั ของหมอมฉนั สำเรจ็ แลว พระพุทธเจา ขา
‘โส จ ภควา ธมมฺ ํ เทเสยฺยาติ อยํ โข เม ภนเฺ ต จตตุ ฺโถ อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ สมทิ ฺโธ
๔. ขอพระผูมีพระภาคพระองคนนั้ พงึ แสดงธรรมแกห มอมฉนั น้ีเปนความปรารถนาของหมอมฉนั ประการ
ท่ี ๔ บดั น้ี ความปรารถนานัน้ ของหมอ มฉันสำเรจ็ แลว พระพทุ ธเจาขา
ตสสฺ จาหํ ภควโต ธมฺมํ อาชาเนยฺยนฺติ อยํ โข เม ภนฺเต ปฺจโม อสฺสาสโก อโหสิ โส เม เอตรหิ
สมิทโฺ ธ

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๐

๕. ขอหมอมฉันพึงรูทั่วถึงธรรมของพระผูมีพระภาคพระองคนั้น นี้เปนความปรารถนาของหมอมฉัน
ประการท่ี ๕ บดั นี้ ความปรารถนาน้นั ของหมอมฉันสำเร็จแลว พระพุทธเจาขา
ปพุ ฺเพ เม ภนฺเต กมุ ารสสฺ สโต อเิ ม ปจฺ อสสฺ าสกา อเหสุํ เต เม เอตรหิ สมิทธฺ า
พระพุทธเจาขา ครั้งกอนหมอมฉันยังเปนราชกุมาร ไดมีความปรารถนา ๕ อยางนี้ บัดนี้ความ

ปรารถนา ๕ อยา งน้ันของหมอ มฉนั สำเร็จแลว

อภิกกฺ นตฺ ํ ภนเฺ ต อภกิ กฺ นตฺ ํ ภนฺเต เสยยฺ ถาป ภนเฺ ต นิกฺกชุ ชฺ ิตํ วา อุกกฺ ชุ ฺเชยยฺ ปฏิจฉฺ นนฺ ํ วา วิวเรยฺย
มูฬฺหสฺส วา มคฺคํ อาจิกฺเขยฺย อนฺธกาเร วา เตลปฺปชฺโชตํ ธาเรยฺย ‘จกฺขุมนฺโต รูปานิ ทกฺขนฺตีติ เอวเมวํ
ภควตา อเนกปริยาเยน ธมโฺ ม ปกาสิโต เอสาหํ ภนฺเต ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมฺจ ภิกฺขุสงฺฆฺ อุปาสกํ
มํ ภควา ธาเรตุ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ สรณํ คตํ อธิวาเสตุ จ เม ภนฺเต ภควา สฺวาตนาย ภตฺตํ สทธฺ ึ ภิกฺขสุ งฺ
เฆนาต.ิ

ภาษิตของพระองคแจมแจง นกั ภาษิตของพระองคไ พเราะนัก พระพทุ ธเจาขา พระองค ทรงประกาศ
ธรรมโดยอเนกปริยายอยา งนี้ เปรยี บเหมือนบุคคลหงายของท่ีคว่ำ เปด ของที่ปด บอกทางแกคนหลงทาง หรือ
สองประทีปในที่มืด ดวยตั้งใจวา คนมีจักษุจกั เห็นรปู ดังนี้ หมอมฉนั นี้ ขอถึงพระผูมีพระภาค พระธรรมและ
พระภกิ ษสุ งฆ วา เปนสรณะ ขอพระองค จงทรงจำหมอมฉันวา เปน อุบาสกผมู อบชีวติ ถึงสรณะ จำเดิมแตวันน้ี
เปนตนไป และขอพระผมู ีพระภาคพรอมดวยภกิ ษุสงฆจ งทรงรับภัตตาหารของหมอมฉนั ในวนั พรุงน.ี้

อธวิ าเสสิ ภควา ตุณฺหภี าเวน.
พระผูมีพระภาคทรงรบั ดว ยดุษณีภาพ.

อถโข ราชา มาคโธ เสนิโย พมิ ฺพิสาโร ภควโต อธิวาสนํ วิทิตวฺ า อุฐายาสนา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺ
วา ปทกขฺ ณิ ํ กตฺวา ปกฺกามิ.

ครั้นพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงทราบการรับนิมนตของพระผูมีพระภาคแลว เสด็จลุก
จากทปี่ ระทบั ถวายบงั คมพระผมู ีพระภาค ทรงทำประทักษณิ แลว เสด็จกลับไป.

อถโข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมพฺ ิสาโร ตสสฺ า รตฺตยิ า อจจฺ เยน ปณตี ํ ขาทนยี ํ โภชนียํ ปฏยิ าทาเปตฺ
วา ภควโต กาลํ อาโรจาเปสิ “กาโล ภนฺเต นิฐิตํ ภตตฺ นตฺ .ิ

หลังจากนั้น พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช รับสั่งใหตกแตง ของเคี้ยว ของฉันอันประณีตโดย
ผานราตรีนั้น แลวใหเจาพนักงานไปกราบทูลภัตตกาลแดพระผูมีพระภาควา ถึงเวลาแลว พระพุทธเจาขา
ภตั ตาหารเสร็จแลว.

[๕๘] อถโข ภควา ปุพฺพณฺหสมยํ นิวาเสตฺวา ปตฺตจีวรมาหาย ราชคหํ ปาวสิ ิ มหตา ภิกฺขุสงฺเฆน
สทฺธึ ภิกขฺ ุสหสเฺ สน สพเฺ พเหว ปรุ าณชฏเิ ลห.ิ

[๕๘] ขณะนั้นเปนเวลาเชา พระผูมีพระภาคทรงอันตรวาสกแลว ทรงถือบาตรจีวรเสดจ็ พระพุทธ
ดำเนินสพู ระนครราชคฤห พรอ มดวยภกิ ษุสงฆห มูใหญ จำนวน ๑๐๐๐ รูป ลว นปรุ าณชฎลิ .

[๕๙] เตน โข ปน สมเยน สกฺโก เทวานมินฺโท มาณวกวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา พุทฺธปฺปมุขสฺส
ภิกฺขสุ งฺฆสสฺ ปุรโต ปรุ โต คจฺฉติ อิมา คาถาโย คายมาโน

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๑

[๕๙] ก็โดยสมัยนั้นแล ทาวสักกะจอมทวยเทพทรงนิรมิตเพศเปนมาณพ เสด็จพระดำเนิน นำหนา
ภกิ ษสุ งฆม พี ระพทุ ธเจา เปนประมุข พลางขบั คาถาเหลา น้ี วา ดงั น้:ี -

คาถาสดุดีพระผูม ีพระภาค

ทนฺโต ทนเฺ ตหิ สห ปุราณชฏเิ ลหิ วปิ ฺปมุตฺโต วปิ ปฺ มุตเฺ ตหิ สิงคฺ ีนกิ ขฺ สุวณโฺ ณ ราชคหํ ปาวสิ ิ ภควา.
พระผูมีพระภาค มีพระฉวีเสมอดวยลิ่มทองสงิ คี ทรงฝกอินทรียแลว ทรงพนวิเศษแลวเสดจ็ ประเวศสู
พระนครราชคฤหพรอ มดวยพระปรุ าณชฎลิ ทัง้ หลาย ผูฝก อินทรียแลว ผพู นวเิ ศษแลว .

มุตโฺ ต มตุ เฺ ตหิ สห ปรุ าณชฏิเลหิ วปิ ปฺ มุตฺโต วปิ ปฺ มตุ เฺ ตหิ สิงคฺ นี ิกฺขสวุ ณโฺ ณราชคหํ ปาวิสิ ภควา.
พระผูมพี ระภาค มพี ระฉวีเสมอดวยล่มิ ทองสิงคี ทรงพนแลว ทรงพน วิเศษแลวเสดจ็ ประเวศสูพระนคร
ราชคฤห พรอมดวยพระปรุ าณชฎิลท้ังหลาย ผูพนแลว ผพู น วิเศษแลว.

ติณฺโณ ติณฺเณหิ สห ปุราณชฏิเลหิ วิปฺปมุตฺโต วิปฺปมุตฺเตหิ สิงฺคีนิกฺขสุวณฺโณ ราชคหํ ปาวิสิ
ภควา.

พระผูมีพระภาคมีพระฉวีเสมอดวยลิ่มทองสิงคี ทรงขามแลว ทรงพนวิเศษแลว เสด็จประเวศสูพระ
นครราชคฤห พรอ มดวยพระปรุ าณชฎลิ ท้ังหลาย ผพู น แลว ผพู นวเิ ศษแลว.

สนโฺ ต สนฺเตหิ สห ปุราณชฏเิ ลหิ วิปฺปมุตโฺ ต วปิ ปฺ มตุ ฺเตหิ สงิ คฺ ีนกิ ขฺ สวุ ณโฺ ณ ราชคหํ ปาวสิ ิ ภควา.
พระผูมีพระภาค มพี ระฉวีเสมอดวยลิ่มทองสิงคี ทรงสงบแลว ทรงพนวิเศษแลว เสด็จประเวศสูพ ระ
นคร ราชคฤห พรอมดวยพระปุราณชฎิลทง้ั หลาย ผสู งบแลว ผูพ น วเิ ศษแลว.

ทสวาโส ทสพโล ทสธมมฺ วทิ ู ทสภิ จุเปโต โส ทสสตปรวิ าโร ราชคหํ ปาวิสิ ภควาต.ิ
พระผูมีพระภาคพระองคน้ันทรงมีอริยวาสธรรม ๑๐ พลญาณ ๑๐ รูแจงธรรม ๑๐ เขาถึงธรรม ๑๐
ทรงมีภิกษุบริวาร ๑๐ รอย เสดจ็ ประเวศสพู ระนครราชคฤห

มนุสฺสา สกฺกํ เทวานมินฺทํ ปสสฺ ิตฺวา เอวมาหสํ ุ “อภริ ูโป วตายํ มาณวโก ทสสฺ นีโย วตายํ มาณวโก
ปาสาทิโก วตายํ มาณวโก กสสฺ นุ โข อยํ มาณวโกติ.

ประชาชนไดเหน็ ทา วสักกะจอมทวยเทพแลว พากนั กลาวอยางนว้ี า พอหนมุ น้ี มรี ูป งามย่งิ นัก นาดูนัก
นา ชมนัก พอ หนุม นี้ของใครหนอ.

เอวํ วตุ เฺ ต สกฺโก เทวานมนิ โฺ ท เต มนุสเฺ ส คาถาย อชฺฌภาสิ
เม่อื ประชาชนกลา วอยางนแ้ี ลว ทา วสกั กะจอมทวยเทพไดกลาวตอบประชาชนพวกนัน้ ดว ยคาถาวา ดงั นี้:-

โย ธโี ร สพพฺ ธิ ทนฺโต สทุ ฺโธ อปปฺ ฏิปคุ ฺคโล

อรหํ สคุ โต โลเก ตสสฺ าหํ ปริจารโกต.ิ

พระผูมีพระภาคพระองคใดเปนนักปราชญ ทรงฝกอินทรีย ทั้งปวงแลว เปน ผูผ องแผว หาบุคคเปรยี บ
มไิ ด ไกลจากกเิ ลส เสดจ็ ไปดแี ลว ในโลก ขาพเจาเปน ผูรบั ใชของพระผูมพี ระภาคพระองคน้นั .

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๒

ทรงรับพระเวฬุวันเปน สงั ฆิกาวาส

[๕๙] อถโข ภควา เยน รฺโญ มาคธสฺส เสนยิ สฺส พิมฺพสิ ารสสฺ นิเวสนํ เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตวฺ า
ปุ ฺญตเฺ ต อาสเน นิสีทิ สทธฺ ึ ภิกขฺ สุ งฺเฆน.

[๕๙] ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเสด็จพระพุทธดำเนินไปสูพระราชนิเวศนของพระเจาพิมพิสาร
จอมเสนามาคธราช ครั้นถึงแลว ประทับนงั่ เหนอื พระพุทธอาสนท ่ีเขาจดั ถวายพรอมดว ยภิกษุสงฆ.

อถโข ราชา มาคโธ เสนโิ ย พมิ ฺพิสาโร พุทฺธปฺปมขุ ํ ภกิ ฺขุสงฺฆํ ปณีเตน ขาทนเี ยน โภชนีเยน สหตฺถา
สนตฺ ปฺเปตวฺ า สมปฺ วาเรตฺวา ภควนฺตํ ภตุ ฺตาวึ โอนีตปตตฺ ปาณึ เอกมนตฺ ํ นสิ ที ิ.

จึงพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงอังคาสภิกษุสงฆมีพระพุทธเจา เปนประมุข ดวยขาทนีย
โภชนียาหารอันประณีต ดวยพระหัตถของพระองคจนใหพระผูมีพระภาคเสวยเสร็จ ทรงนำพระหตั ถออกจาก
บาตร หา มภตั แลว จึงประทบั น่ัง ณ ท่ีควรสวนขางหน่ึง.

เอกมนฺตํ นิสินฺนสฺส โข รฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ “กตฺถ นุ โข ภควา
วหิ เรยยฺ ํ ยํ อสสฺ คามโต เนว อตทิ เู ร น อจฺจาสนเฺ น คมนาคมนสมฺปนนฺ ํ อตฺถกิ านํ มนุสสฺ านํ อภิกกฺ มนยี ํ ทิวา
อปฺปกณิ ฺณํ รตตฺ ึ อปฺปสททฺ ํ อปฺปนคิ ฺโฆสํ วชิ นวาตํ มนุสฺสราหเสยยฺ กํ ปฎสิ ลลฺ านสารปุ ฺปนตฺ ิ.

ทา วเธอไดท รงพระราชดำริวา พระผมู ีพระภาคพงึ ประทับอยู ณ ทีไ่ หนดหี นอ ซ่งึ จะเปน สถานท่ีไมไกล
ไมใกลจากบานนัก สะดวกดวยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผูตองประสงคจะเขาไป เฝาได กลางวันไม
พลุกพลาน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไมกกึ กอง ปราศจากลมแตชนทีเ่ ดินเขาออก ควรเปนท่ีประกอบกิจของผู
ตองการท่สี งดั และควรเปนทห่ี ลีกเรนอยตู ามสมณวสิ ยั .

อถโข รฺโญ มาคธสฺส เสนิยสฺส พิมฺพิสารสฺส เอตทโหสิ “อิทํ โข อมฺหากํ เวฬุวนํ อุยฺยานํ คามโต
เนว อติทูเร น อจฺจาสนฺเน คมนาคมนสมฺปนฺนํ อตฺถิกานํ มนุสฺสานํ อภิกฺกมนียํ ทิวา อปฺปกิณฺณํ รตฺตึ
อปฺปสทฺทํ อปปฺ นิคโฺ ฆสํ วิชนวาตํ มนุสสฺ ราหเสยฺยกํ ปฎสิ ลลฺ านสารุปปฺ  ยนนฺ ูนาหํ เวฬุวนํ อยุ ฺยานํ พุทฺธปฺป
มุขสสฺ ภกิ ขฺ ุสงฆฺ สฺส ทเทยยฺ นฺติ.

แลวไดทรงพระราชดำริตอ ไปวา สวนเวฬุวันของเรานี้แล ไมไกลไมใกลจ ากบานนัก สะดวกดวยการ
คมนาคม ควรที่ประชาชนผูตองประสงคจะพึงเขา ไปได กลางวันไมพลุกพลาน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไม
กึกกอ ง ปราศจากลมแตชนที่เดินเขา ออก ควรเปนที่ประกอบกิจของ ผูต องการที่สงัด และควรเปนท่ีหลกี เรน
อยตู ามสมณวสิ ัย มิฉะนน้ั เราพงึ ถวายสวนเวฬุวนั แกภ ิกษสุ งฆ มีพระพุทธเจา เปน ประมุข ดังนี้.

อถโข ราชา มาคโธ เสนิโย พิมฺพิสาโร โสวณฺณมยํ ภิงฺคารํ คเหตฺวา ภควโต โอโณเชสิ “เอตาหํ
ภนเฺ ต เวฬวุ นํ อยุ ยฺ านํ พทุ ธฺ ปฺปมุขสฺส ภิกฺขสุ งฺฆสสฺ ทมฺมตี ิ.

ลำดับนั้น จึบทรงจบั พระสุวรรณภงิ คาร ทรงหลั่งนำ้ นอมถวายแดพ ระผูม ีพระภาค ดวยพระราชดำรสั
วา หมอ มฉนั ถวายสวนเวฬวุ ันน่นั แกภ กิ ษสุ งฆ มพี ระพุทธเจาเปนประมขุ พระพุทธเจา ขา .

ปฏคิ ฺคเหสิ ภควา อาราม.ํ
พระผมู ีพระภาคทรงรบั อารามแลว

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๓

อถโข ภควา ราชานํ มาคธํ เสนิยํ พิมฺพิสารํ ธมฺมิยา กถาย สนฺททสฺเสตฺวา สมาทเปตฺวา สมุตฺเต
เชตวฺ า สมปฺ หํเสตวฺ า อุฐ ายาสนา ปกฺกาม.ิ

และทรงชี้แจงใหพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงเห็นแจง สมาทาน อาจหาญ ราเริง ดวย
ธรรมิกถา แลว เสดจ็ ลุกจากทป่ี ระทบั เสด็จกลับ.

อถโข ภควา เอตสฺมึ นิทาเน ธมฺมึ กถํ กตฺวา ภกิ ขฺ ู อามนเฺ ตสิ “อนชุ านามิ ภกิ ขฺ เว อารามนฺต.ิ
ตอมา พระองคทรงทำธรรมมิกถาในเพราะเหตเุ ปน เคา มลู นั้น แลวรับส่งั กะภิกษุทั้งหลายวา ดูกรภกิ ษุ
ทง้ั หลาย เราอนญุ าตอาราม.

พิมพิสารสมาคมกถา นิ ฐิตา.
ทรงเทศนาโปรดพระเจา พมิ พิสาร จบ.

ขออนโุ มทนาบญุ
เจาภาพบทสวด
๑. คณุ ลลติ า สริ ิพชั รนันท
๒. นางสาววยิ ะดา พรี รฐั กุล

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๔

บทถวายพรพระ

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ ฯ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ฯ

อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วชิ ชาจะระณะ-สัมปนโน สุคะโต โลกะวทิ ู อะนุตตะโร
ปุรสิ ะทมั มะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานงั พุทโธ ภะคะวาติ ฯ

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ
วิญูหตี ิ ฯ

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชปุ ะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อฏั ฐะ
ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปญุ ญักเขตตงั โลกสั สาติ ฯ

พาหงุ สะหสั สะมะภนิ ิมมติ ะสาวุธนั ตงั
ค๎รเี มขะลงั อุทติ ะโฆระสะเสนะมารงั
ทานาทิธมั มะวธิ ินา ชติ ะวา มนุ นิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ ฯ

มาราตเิ รกะมะภยิ ุชฌติ ะสัพพะรตั ตงิ
โฆรัมปะนาฬะวะมกั ขะมะถัทธะยกั ขัง
ขันตีสุทันตะวธิ นิ า ชิตะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นาฬาคริ ิง คะชะวะรงั อะติมัตตะภตู ัง
ทาวคั คจิ ักกะมะสะนีวะ สุทารณุ ันตัง
เมตตมั พเุ สกะวิธินา ชิตะวา มนุ นิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

อกุ ขติ ตะขัคคะมะติหัตถะสทุ ารุณนั ตงั
ธาวนั ติโยชะนะปะถงั คุลมิ าละวันตัง
อิทธีภสิ งั ขะตะมะโน ชติ ะวา มุนนิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ ฯ

กตั ๎วานะ กฏิ ฐะมุทะรงั อิวะ คัพภินยี า
จญิ จายะ ทฏุ ฐะวะจะนัง ชะนะกายะมชั เฌ
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มนุ นิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๕

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตงุ
วาทาภิโรปตะมะนงั อะติอนั ธะภูตงั
ปญ ญาปะทปี ะชะลิโต ชติ ะวา มนุ ินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วพิ ุธัง มะหิทธิง
ปตุ เตนะ เถระภชุ ะเคนะ ทะมาปะยนั โต
อทิ ธปู ะเทสะวธิ นิ า ชิตะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

ทคุ คาหะทฏิ ฐภิ ุชะเคนะ สุทฏั ฐะหตั ถัง
พ๎รหั ม๎ ัง วสิ ุทธชิ ตุ มิ ทิ ธพิ ะกาภิธานงั
ญาณาคะเทนะ วธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

เอตาป พทุ ธะชะยะมงั คะละอฏั ฐะคาถา
โย วาจะโน ทนิ ะทเิ น สะระเต มะตนั ที
หิตว๎ านะเนกะววิ ธิ านิ จุปท ทะวานิ
โมกขงั สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญ โญ ฯ

มะหาการุณโิ ก นาโถ หติ ายะ สัพพะปาณินัง
ปเู รต๎วา ปาระมี สัพพา ปต โต สัมโพธมิ ตุ ตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั ฯ
ชะยนั โต โพธิยา มูเล สกั ๎ยานัง นันทิวฑั ฒะโน
เอวงั ต๎วัง วชิ ะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมงั คะเล
อะปะราชิตะปลลังเก สเี ส ปะฐะวโิ ปกขะเร
อะภเิ สเก สัพพะพุทธานงั อัคคัปปต โต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขตั ตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐติ ัง
สุขะโณ สุมุหตุ โต จะ สุยฏิ ฐัง พร๎ หั ม๎ ะจารสิ ุ
ปะทกั ขณิ งั กายะกมั มงั วาจากัมมัง ปะทักขิณงั
ปะทกั ขณิ ัง มะโนกมั มัง ปะณธิ ี เต ปะทกั ขณิ า
ปะทกั ขณิ านิ กัตว๎ านะ ละภันตตั เถ ปะทักขเิ ณ ฯ

ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รกั ขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รกั ขนั ตุ สัพพะเทวะตา
สพั พะธัมมานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมงั คะลัง รกั ขันตุ สพั พะเทวะตา
สัพพะสังฆานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย


Click to View FlipBook Version