The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทสาธยายพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriporn.organizer, 2021-08-05 04:53:09

The Recitation of Tripitaka

บทสาธยายพระไตรปิฎก

Keywords: Tripitaka,Mahachulalongkornrajavidyalaya University

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๖

คําแผส ว นบุญกศุ ล และแผเมตตา

ของ สมเด็จพระพฒุ าจารย (อาจ อาสภมหาเถร)

อิทัง เม ปุญญงั นิพพานสั สะ ปจ จะโย โหตุ
ขอผลบุญน้ี จงเปนปจจยั ใหขาพเจาไดบรรลุมรรคผลนิพพาน

อทิ ัง เม ปุญญะภาคัง, ราชาที่นัญเจวะ, มาตาปต ุ อาทีน่ ญั จะ ปยะชะนานัง, สัพพะสัตตานัญจะ, นิยยาเทมะ
ขาพเจาทั้งหลาย, ขอนอมถวายสวนบุญน้ี, แดอิสระชน, คือชนผูเปนใหญทั้งหลาย, มีองค

พระมหากษัตริย, ผูเปนพระประมุขของชาติ, องคสมเด็จพระสังฆราช, ผูเปนประมุขของศาสนา, และคณะ
รัฐบาล, ผบู รหิ ารประเทศ เปน ตน

ขอแผสวนกุศลน้ี, ใหแกปยชน, คนที่รักทั้งหลาย, มีบิดามารดา ปู ยา ตา ยาย, และครู อุปชฌาย
อาจารยท้งั หลาย เปน ตน

และขอแผสวนกุศลน้ี, ใหแกสรรพสัตวทั้งหลาย, ทุกชาติชัน้ วรรณะ ทุกศาสนา ทุกภาษา, ที่อยูทั่วทุก
มมุ แหง โลก,

สัพเพ สัตตา
อนั วา สตั วทง้ั หลาย, ทกุ ชาติทุกภาษา และทกุ หนทกุ แหง ทีอ่ ยูทางทิศบรู พากด็ ี ที่อยทู างทิศประจิมก็ดี

ท่อี ยูท างทิศอุดรกด็ ี ท่ีอยูทางทิศทกั ษณิ กด็ ี ที่อยทู างทิศอาคเนยก็ดี ท่อี ยทู างทิศพายัพกด็ ี ทอี่ ยูทางทิศอีสานก็ดี
ที่อยทู างทิศหรดีก็ดี ทีอ่ ยูทางทศิ เบื้องลาง ตั้งแตโลกนั ตมหานรกขึ้นมากด็ ี ที่อยูทางทิศเบื้องบนตั้งแตภวัคคะ
พรหมลงมาก็ดี

อเวรา โหนตุ ขอจงอยา ไดสรางกรรมทําเวร และรบราฆา ฟนซง่ึ กัน และกันเลย

อพั ยาปช ฌา โหนตุ ขอจงอยา ไดเบียดเบียน ขม เหงคะเนงรายและปายสีใหแ กก ันและกนั เลย

อนีฆา โหนตุ ขอจงอยา ไดมีความทุกขก าย ทุกขใจเลย

สขุ ี อตั ตานงั ปะรหิ ะรนั ตุ ขอจงมีความสุขกาย สขุ ใจ รกั ษาตนใหร อดพน จากทุกขภ ยั ทกุ ๆ คนเทอญ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๗

หมวดพระสุตตนั ตะปฎ ก
อัญเชิญเทวดา

สะรัชชงั สะเสนัง สะพนั ธงุ นะรนิ ทงั
ปะริตตานุภาโว สะทา รกั ขะตูติ.
ผะรติ วฺ านะ เมตตงั สะเมตตา ภะทนั ตา
อะวกิ ขิตตะจติ ตา ปะรติ ตงั ภะณันตุ.

ทานผูเจรญิ ทั้งหลาย ผูเ พียบพรอมดวยเมตตา จงแผไมตรีจิต ดวยคิดวา ขออานุภาพ แหงพระปริตร

จงรักษาพระราชา ผูเปนเจาแหงนรชน พรอมดวยราชสมบัติ พรอมดวย พระราชวงศ พรอมดวยเหลา
เสนามาตย แลวอยา ไดม ีจติ ฟงุ ซา น จงึ ตั้งใจสวดพระปรติ รเถดิ .

สะมนั ตา จักกะวาเฬสุ อตั ฺราคจั ฉนั ตุ เทวะตา
สทั ธมั มงั มนุ ริ าชัสสะ สณุ นั ตุ สัคคะโมกขะทงั ฯ

ขออัญเชญิ เทวดาในจักรวาลท้ังหลายโดยรอบ มาสสู ถานทน่ี ี้ ขอเชญิ ฟง พระสทั ธรรม ของพระจอมมนุ ี

อนั ช้ีทางสวรรคและนิพพาน.

สัคเค กาเม จะ รูเป คริ ิสขิ ะระตะเฏ จันตะลกิ เข วมิ าเน
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต

ภุมมา จายนั ตุ เทวา ชะละถะละวสิ ะเม ยกั ขะคันธัพพะนาคา
ติฏฐันตา สนั ติเก ยัง มนุ วิ ะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ ันตุ.

ขอเชญิ เหลา เทพเจา ผูสถติ อยูใ นสวรรคช ้ันกามภพกด็ ี ชั้นรปู ภพก็ดี และภุมมเทวดา ผูสถิตอยูใ นวิมาน

บนยอดภเู ขา ในหบุ ผา ในอากาศ บนเกาะ ในแวนแควน ในบาน ในตน พฤกษา ในปาชฏั ในเรือนและในไรนา
ก็ดี และยักษ คนธรรพ นาค ผูส ถิตอยูในนํา บนบก ในทีไ่ มราบเรียบ อันอยูในที่ใกลเคียงก็ดี ขอจงมาประชุม

พรอ มกันในท่ีน้ี ถอยคาํ ใดเปนของพระมหามุนี ขอทา นสาธชุ นท้ังหลาย จงต้ังใจสดบั ถอยคำนนั้ อนั ขา พเจา จักกลาว

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา
ดูกอ นทา นผูเจริญทัง้ หลาย กาลนเ้ี ปน กาลฟงพระสัทธรรม

ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยมั ภะทันตา
ดกู อ นทา นผูเจริญทงั้ หลาย กาลน้ีเปน กาลฟงพระสทั ธรรม

ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ

ดูกอนทา นผูเ จรญิ ท้ังหลาย กาลนเี้ ปนกาลฟง พระสทั ธรรม.

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๘
อะระหะโต
สมั มาสัมพทุ ธสั สะ. ปุพพภาคนมการ

(คาํ นอบนอ มในสว นเบอื้ งตน )

ขอนอบนอมแดพระผมู ีพระภาคเจาพระองคน น้ั
ซึง่ เปนผไู กลจากกเิ ลส
ตรสั รูชอบไดโดยพระองคเอง. (๓ ครงั้ )

เขมาเขมสรณทีปกคาถา

คาถาแสดงสรณะอนั เกษมและไมเกษม

พะหุง เว สะระณงั ยนั ติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ
อารามะรุกขะเจตยฺ านิ มะนสุ สา ภะยะตชซติ า

มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง อาราม และรุกขเจดียบาง
เปนสรณะ

เนตงั โข สะระณงั เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมงั

เนตงั สะระณะมาคัมมะ สพั พะทกุ ขา ปะมจุ จะติ

น่นั มใิ ชส รณะอันเกษมเลย น่ันมิใชส รณะอนั สงู สุด เขาอาศยั สรณะนน้ั แลว ยอ มไมพน จากทกุ ขท้ังปวงได

โย จะ พุทธญั จะ ธมั มญั จะ สังฆญั จะ สะระณงั คะโต

จตั ตาริ อะรยิ ะสจั จานิ สมั มปั ปญ ญายะ ปส สะติ

สว นผใู ดถอื เอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปน สรณะแลว เหน็ อริยสจั จ คอื ความจริงอันประเสริฐส่ี
ดว ยปญญาอนั ชอบ

ทุกขงั ทุกขะสะมปุ ปาทงั ทุกขัสสะ จะ อะตกิ กะมัง

อะริยญั จฏั ฐังคิกงั มคั คงั ทุกขูปะสะมะคามนิ งั

คือเห็นความทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความกาวลวงทุกขเสียได และหนทางมีองคแปด อันประเสริฐ
เครื่องถงึ ความระงบั ทุกข

เอตัง โข สะระณงั เขมงั เอตัง สะระณะมุตตะมงั

เอตงั สะระณะมาคมั มะ สพั พะทุกขา ปะมจุ จะติ

นน่ั แหละ เปน สรณะอันเกษม น่นั เปนสรณะอนั สงู สดุ เขาอาศยั สรณะนั้นแลว ยอ มพนจากทุกขท ั้งปวงได.

(เรื่องปุโรหติ ชอ่ื อดั คิทัต ขุ. ธ.)

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๔๙

โอวาทปาตโิ มกขคาถา

ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา ขันติ คือความอดกลั้น เปน ธรรม เครือ่ งเผากเิ ลสอยางย่งิ

นพิ พานัง ปะระมัง วะทนั ติ พทุ ธา ผรู ทู ัง้ หลาย กลา วพระนพิ พานวา เปนธรรมอันยง่ิ

นะ หิ ปพ พะชิโต ปะรูปะฆาตี ผกู าํ จัดสัตวอ น่ื อยู ไมช่อื วา เปน บรรพชติ เลย

สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยนั โต ผทู าํ สตั วอืน่ ใหล าํ บากอยู ไมช อ่ื วา เปน สมณะเลย
สพั พะปาปสสะ อะกะระณงั การไมทําบาปทง้ั ปวง

กสุ ะลัสสปู ะสมั ปะทา การทํากศุ ลใหถ ึงพรอม

สะจติ ตะปะริโยทะปะนงั การชําระจิตของตนใหขาวรอบ

เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั ธรรม ๓ อยางน้ี เปน คําสง่ั สอนของ พระพุทธเจาทง้ั หลาย

อะนูปะวาโท อะนปู ะมาโต การไมพูดรา ย การไมท าํ ราย

ปาตโิ มกเข จะ สังวะโร การสาํ รวมในพระปาตโิ มกข
มัตตญั ตุ า จะ ภตั ตสั ฺมิง ความเปน ผรู ูประมาณในการบรโิ ภค

ปน ตัญจะ สะยะนาสะนงั การนอน การนง่ั ในทอ่ี นั สงดั

อะธจิ ิตเต จะ อาโยโค ความหมัน่ ประกอบในอธจิ ิต

เอตัง พุทธานสาสะนันติ ธรรม ๕ อยา งนี้ เปน คาํ ส่งั สอนของ พระพุทธเจาท้งั หลาย

ปฐมพุทธภาสติ คาถา

คาถาแสดงปฐมพุทธพจน (ว.ิ พาหริ นทิ าน)

อะเนกะชาตสิ ังสารัง สนั ธาวสิ สงั อะนิพพิสัง

เม่อื เรายังไมพ บญาณ ไดแ ลนทองเท่ยี วไปในสงสารอันเปนอเนกชาติ

คะหะการงั คะเวสนั โต ทกุ ขา ชาติ บนุ ปั ปุนงั

แสวงหาอยูซึง่ นายชา งปลูกเรือน คือตณั หาผูส รา งภพ การเกิดทกุ คราวเปน ทกุ ขร ่ำไป

คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปนุ ะ เคหัง นะ กาหะสิ

น่แี นะ ! นายชา งปลูกเรือน เรารูจักเจาเสยี แลว เจา จะทาํ เรอื นใหเ ราไมไดอีกตอ ไป

สพั พา เต ผาสกุ า ภคั คา คะหะกฎู งั วสิ ังขะตงั

โครงเรอื นท้งั หมดของเจา เราหกั เสยี แลว ยอดเรือนเรากร็ ื้อเสียแลว

วิสงั ขาระตะดงั จิตตัง ตัณหานงั ขะยะมชั ณะคาติ. (อภฐู . ท.ี สีล.)
จติ ของเราถงึ แลวซึ่งสภาพทอ่ี ะไรปรงุ แตง ไมไดอีกตอ ไป

มนั ไดถ งึ แลว ซ่งึ ความสน้ิ ไปแหงตณั หา คือพระนพิ พาน (อฏฐใ ขุ. ขุทก.)

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๐

พุทธอุทานคาถา (ว.ิ มหา. ข.ุ อุทาน.)

ยะทา หะเว ปาตุภะวนั ติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณัสสะ

อะกัสสะ กงั ขา วะปะยันติ สพั พา ยะโต ปะชานาติ สะเหตธุ มั มัง.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน ้นั ยอ มส้ินไป เพราะมารแู จง ธรรมพรอ มท้งั เหตุ

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวนั ติ ธัมมา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณสั สะ

อะถสั สะ กังขา วะปะยนั ติ สพั พา ยะโต ขะยัง ปจจะยานงั อะเวทิ.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฎแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน้นั ยอมสิน้ ไป เพราะไดรคู วามสนิ้ ไปแหงปจจัยทง้ั หลาย.

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวนั ติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พฺราหมฺ ะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง สโู รวะ โอภาสะยะมนั ตะลกิ ขนั ต.ิ

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู พราหมณนั้น ยอมกําจัดมาร
และเสนาเสียได ดจุ พระอาทิตยอุทัยกาํ จัดมดื ทาํ อากาศใหสวา ง ฉะนั้น.

ปจ ฉิมพทุ โธวาทปาฐะ

คาํ แสดงโอวาทคร้งั สุดทา ยของพระพุทธเจา

หันทะทานิ ภิกขะเว อามนั ตะยามิ โว
ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย บดั นี้ เราขอเตือนทา นทง้ั หลายวา

วะยะธัมมา สงั ขารา
สงั ขารทงั้ หลาย มีความเสอื่ มไปเปน ธรรมดา

อปั ปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ
ทา นท้งั หลาย จงทาํ ความไมป ระมาทใหถงึ พรอมเถิด

อะยงั ตะถาคะตัสสะ ปจฉมิ า วาจา (มหาปรินิพพานสูตร ที. มหา.)
น้เี ปนวาจามใี นครง้ั สุดทา ยของพระตถาคต.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๑

รตนสตุ ตงั
ปะณธิ านะโต ปฏ ฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย
ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมตั ถะปาระมิโยติ
สะมะติงสะ ปาระมโิ ย ปูเรตวา ปญจะ มะหาปะรจิ จาเค
ตสิ โส จะรยิ า ปจฉิมพั ภะเว คพั ภาวักกันตงิ
ชาติง อะภนิ กิ ขะมะนัง ปะธานะจะรยิ ัง โพธิปลลงั เก
มาระวชิ ะยัง สัพพัญุตะญาณปั ปะฏเิ วธัง
ธัมมะจกั กปั ปะวัตตะนัง นะวะ โลกตุ ตะระธมั เมติ
สพั เพปเม พุทธะคุเณ อาวชั ชติ วฺ า เวสาลยิ า
ตสิ ุ ปาการนั ตะเรสุ ตยิ ามะรตั ติง ปะริตตงั กะโรนโต
อายสั ฺมา อานนั ทัตเถโร วิยะ การุญญะจติ ตัง อุปฏฐะเปตวฺ า
เราทั้งหลาย จงตั้งจิตอันประกอบไปดวยความกรุณาในสัตวท ั้งหลาย ดุจดังทานพระอานนทเถระผูมี
อายุรําพึงถึงพระพุทธคุณท้ังหลาย แมทัง้ ปวงของพระตถาคตเจา จําเดิมแตทรงปรารถนาพระพุทธภมู ิเปนตน
มา ทรงยงั พระบารมี ๓๐ ถว น ใหบริบรู ณ คอื บารมี ๑๐ อปุ บารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ มหาบริจาค ๕ จรยิ า
๓ เสดจ็ ลงสูคพั โภทร ในภพอนั มใี นทส่ี ุด ประสตู แิ ลว เสด็จออกมหาภิเนษกรมณ บาํ เพญ็ ความเพยี ร ทรงชำนะ
มาร แทงตลอดพระสัพพัญุตญาณ ในโลกตุ ตรมรรม ๙ ณ โพธบิ ัลลงั ก ดังน้ี แลวกระทาํ พระปรติ ร ตลอดราตรี
ทัง้ ๓ ยาม ภายในกาํ แพง ๓ ชนั้ ในเมืองเวสาลี.

โกฏสิ ะตะสะหสั เสสุ จกั กะวาเฬสุ เทวะตา
ยสั สาณัม ปะฏคิ คณั หันติ ยญั จะ เวสาลียัมปเุ ร
โรคามะนสุ สะทุพภิกขะ สัมภูตนั ตวิ ิธมั ภะยัง
ขปิ ปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ
เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ยอมรับเอาซึ่งอาชญา แหงพระปริตรอันใด อนึ่งพระปริตรอันใด
ยังภัย ๓ ประการ อนั เกดิ จากโรค เกิดจากอมนษุ ยและเกดิ จากขา วยาก หมากแพง ในเมอื งเวสาลี ใหอ นั ตรธาน
ไปโดยเร็วพลัน เราท้งั หลาย จงสวดพระปริตรเปน เครือ่ งปองกันภยั อันน้ัน เทอญ.

ยานธี ะ ภตู านิ สะมาคะตานิ รตนสตุ ตัง (รัตนสตู ร)
ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข
สพั เพวะ ภูตา สมุ ะนา ภะวนั ตุ อะโถป สักกัจจะ สณุ ันตุ ภาสิตัง.
หมูเทวดาเหลาใด อยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุมกันแลวในที่นี้
ขอหมเู ทวดาท้ังหมดนัน้ จงมีใจดี และจงฟงสภุ าษติ โดยเคารพ ขอทานทง้ั หมดจงตั้งใจฟง

ตัสฺมา หิ ภตู า นสิ าเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานสุ ยิ า ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรนั ติ เย พะลงิ ตสั ฺมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมตั ตา.
จงแผเมตตาไปในหมูประชาท่ีเปนมนุษย มนุษยเหลาใด ยอมนําพลีกรรม คือ ทําบุญ อุทิศสวนกุศลไปให
ทานทั้งหลาย ทั้งกลางวันและกลางคืน เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลาย จงอยาประมาท จงชวยรักษามนุษย
เหลา น้นั ดว ยเถดิ .

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๒

ยงั กิญจิ วติ ตงั อิธะ วา หรุ ัง วา สคั เคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีดัง

นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ อทิ ัมป พทุ เธ ระตะนงั ปะณตี งั

เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

ทรัพยเครื่องปลื้มใจอยางใดอยางหนึ่ง ในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนใด อันประณีต ในสวรรค

ทรัพยเครื่องปลื้มใจและรัตนะนั้น ที่เสมอดวยพระตถาคตไมมีเลย แมอันนี้เปน รัตนะอันประณีตใน

พระพทุ ธเจา ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวัสดจี งมี.

ชะยัง วริ าคัง อะมะตงั ปะณตี งั ยะทัชฌะคา สกั ยฺ ะมนุ ี สะมาหิโต

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทมั ป ธัมเม ระตะนงั ปะณตี ัง

เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พระศากยมุนี มีพระหฤทัยตั้งมั่น ทรงบรรลุธรรมใด เปนที่สิ้นกิเลส ปราศจาก ราคะ เปนอมตธรรมอัน

ประณีต สิ่งไร ๆ ที่เสมอดวยธรรมน้นั ไมมี แมอนั นี้เปน รัตนะอัน ประณีตในพระธรรม. ดวยคําสัตยนี้ ขอความ

สวัสดีจงม.ี

ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปะรวิ ณั ณะยี สจุ ิง สะมาธมิ านนั ตะริกัญญะมาหุ

สะมาธนิ า เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ มั ป ธัมเม ระตะนงั ปะณตี ัง

เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญสมาธิอันใดวา เปนธรรมอันสะอาด ปราชญท้ังหลายกลาว

สมาธิอันใดวา ใหผลโดยลําดับ สมาธิอื่นที่เสมอดวยสมาธิอันนั้น ไมมี แมอันนี้เปนรัตนะ อันประณีตใน

พระธรรม ดวยคาํ สตั ยน ้ี ขอความสวสั ดจี งม.ี

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสตั ถา จัตตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ

เต ทกั ขเิ ณยยา สุคะตสั สะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหปั ผะลานิ

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

บุคคลเหลาใด ๘ จําพวก ๔ คู อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแลว บุคคลเหลา นั้น เปนสาวกของพระ

สุคต ควรแกทักษิณาทาน ทานทั้งหลายที่เขาถวายในบุคคลเหลานั้น ยอมมีผลมาก แมอันนี้เปนรัตนะ

อนั ประณีตในพระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดีจงม.ี

เย สปุ ปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬฺเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนมั หิ

เต ปตติปต ตา อะมะตงั วคิ ยั หฺ ะ ลัทธา มธุ า นพิ พตุ งิ ภญุ ชะมานา

อิทัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

พระอริยบุคคลเหลาใด ในศาสนาของพระพุทธโคดม ประกอบดวยความเพียร ดีแลว มีใจมั่นคง

ปราศจากความอาลัย พระอรยิ บคุ คลเหลานั้น ถึงพระอรหัตตท่ีควรถึง หยง่ั เขา สูพระนิพพาน ไดความดับกิเลส

เอง เสวยผลอยู แมอ นั นเี้ ปน รัตนะอันประณีตใน พระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดีจงมี.

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๓

ยะถินทะขโี ล ปะฐะวงิ สิโต สิยา จะตพุ ภิ วาเตกิ อะสัมปะกัมปโ ย

ตะกูปะมงั สัปปรุ ิสัง วะทามิ โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปสสะติ

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

เสาเขื่อนที่ฝงลงดินอยางมัน่ คงแลว ไมหวั่นไหวเพราะลมทั้ง ๔ ทิศ ฉนั ใด ผูใ ด พิจารณาเห็นอริยสัจจ

ทั้งหลาย เราเรียกผูนั้นวา สัตบุรุษ ผูไมหวั่นไหวเพราะโลกธรรม แมอันนี้เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดวยคําสตั ยนี้ ขอความสวสั ดจี งม.ี

เย อะริยะสจั จานิ วภิ าวะยนั ติ คมั ภีระปญเญนะ สุเทสติ านิ

กิญจาป เต โหนติ ภุสัปปะมตั ตา นะ เต ภะวัง อฏั ฐะมะมาทิยนั ติ

อทิ ัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหตฯุ

พระโสดาบันจําพวกใด ทําใหแจงอริยสัจจ ที่พระศาสดาผูมีปญญาลึกซึ้งทรงแสดง ดีแลว ถึงแมวา

พระโสดาบันจําพวกน้นั จะเปนผูประมาทอยางแรงกลา ทานก็ไมถือเอาภพที่ ๘ แมอันนี้เปน รัตนะอันประณตี
ในพระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ้ี ขอความสวัสดีจงมี.

สะหาวสั สะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหติ า ภะวนั ติ
สกั กายะทฏิ ฐิ วจิ ิกจิ ฉิตัญจะ สีลพั พะตัง วาป ยะทตั ถิ กญิ จิ

จะตหู ะปาเยหิ จะ วปิ ปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภพั โพ กาตุง

อทิ มั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

สักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา และสีลัพพตปรามาส อยา งใดอยางหนึง่ มีอยู สังโยชนธ รรม เหลานัน้ ยอมเปน

อนั พระโสดาบันละไดแลว พรอ มกับทัสสนสมั ปทา คือโสดาปต ติมรรค ทเี ดียว อน่ึง พระโสดาบนั เปนผูพนแลว

จากอบายทัง้ ๔ ไมอาจที่จะทาํ อภิฐาน ๕ คอื อนนั ตริยกรรม ๕ กับการเขารีต ๑ แมอนั นี้เปนรัตนะอันประณีต
ในพระสงฆ. ดว ยคําสตั ยน ี้ ขอความสวัสดจี งม.ี

กญิ จาป โส กมั มัง กะโรติ ปาปะกงั กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา

อะภพั โพ โส ตัสสะ ปะฏจิ ฉะทายะ อะภพั พะตา ทฏิ ฐะปะทสั สะ วุตตา

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

ถึงแมวาพระโสดาบันน้ัน ยังทําบาปกรรมทางกาย วาจา หรือใจไปบาง เพราะความ ประมาท ทานไม
อาจจะปกปดบาปกรรมน้ันได พระผูมีพระภาคเจายอ มตรัสความทีพ่ ระโสดาบัน ผูเห็นบทคือพระนิพพานแลว

ไมอ าจปกปด บาปกรรมนั้นไว แมอนั นเ้ี ปนรัตนะอนั ประณตี ในพระสงฆ. ดว ยคาํ สตั ยน ้ี ขอความสวัสดีจงม.ี

วะนปั ปะคมุ เพ ยะถา ผุสสิตคั เค คมิ หานะมาเส ปะฐะมัสมฺ งิ คิมเห

ตะถปู ะมงั ธมั มะวะรงั อะเทสะยิ นพิ พานะคามงิ ปะระมัง หิตายะ

อิทมั ป พทุ เธ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พุม ไมง ามในปา ท่ยี อดมดี อกบานสะพร่งั ในตน เดือนคิมหะแหงฤดูคิมหันต ฉนั ใด พระผูมีพระภาคเจา

ไดท รงแสดงธรรมอนั ประเสรฐิ เปน เครอื่ งใหถ งึ พระนพิ พาน เพือ่ ประโยชน อยางยง่ิ แกสตั วท งั้ หลาย ก็อุปมาฉัน

นน้ั แมอ ันน้ีเปน รัตนะอันประณตี ในพระพุทธเจา ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวสั ดีจงม.ี

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๔

วะโร วะรัญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ

อิทัมป พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐ ทรงรูธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ ทรงนํามาซึ่งธรรม

อันประเสริฐ ไมมีผูอื่นยิ่งไปกวา ไดทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ แมอันนี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจา .

ดวยคําสัตยน้ี ขอความสวสั ดจี งมี.

ขีณัง ปรุ าณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวงั วริ ตั ตะจิตตายะตเิ ก ภะวสั มฺ ิง

เต ขณี ะพีชา อะวิรฬุ ฺหฉิ นั ทา นพิ พนั ติ ธีรา ยะถายมั ปะทโี ป

อิทมั ป สงั เฆ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

กรรมเกาของพระอริยบุคคลเหลาใด สิ้นไปแลว กรรมสมภพใหมยอมไมมี พระอริยบุคคลเหลาใด

มีจิตอันหนายแลวในภพตอไป พระอริยบุคคลเหลานั้น มีพืชสิ้นไปแลว มีความพอใจอันงอกไมไดแลว

เปนผูมีปญญา ยอมปรินิพพานดับสนิท เหมือนประทีปดวงนี้ ฉะนั้น แมอันนีเ้ ปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดวยคาํ สตั ยนี้ ขอความสวสั ดีจงม.ี คร้ันจบพระปริตรแลว ทาวสกั กเทวราชไดตรสั เสรมิ เปน คาถาวาดงั นี้

ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข
ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะ ปูชติ ัง พุทธงั นะมสั สามะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาไดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่นี้
จงพรอ มใจกันนอบนอมพระพทุ ธเจาผเู สดจ็ ไปแลวอยางงาม อนั เทวดา และมนุษยบูชาแลว ขอความสวสั ดีจงมี.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข

ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะ ปูชิตัง ธัมมัง นะมสั สามะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี

จงพรอ มใจกนั นอบนอ มพระธรรมอันเปน ไปแลวอยา งงาม อันเทวดา และมนษุ ยบูชาแลว ขอความสวสั ดจี งมี.

ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข

ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะ ปูชติ ัง สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี

จงพรอ มใจกนั นอบนอมพระสงฆผดู าํ เนินไปแลว อยางงาม อนั เทวดา และมนษุ ยบ ชู าแลว ขอความสวสั ดจี งมี

(ข.ุ ขทุ ก. ขุ. สตุ ต.)

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๕

สุตตฺ นฺปฏเก ขทุ ฺทกนิกายสสฺ ธมมฺ ปทปาลิ

พระบาลีสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนิกาย ธรรมบท

นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ ฯ
ขอนอบนอ มพระผมู ีพระภาคอรหันตสมั มาสมั พุทธเจาพระองคน ั้น

๑. ยมกวคโฺ ค

๑. ยมกวรรค
หมวดวา ดว ยธรรมเปน คกู นั

๑. จกฺขปุ าลตฺเถรวตถฺ ุ
เร่ืองพระจักขุบาลเถระ

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานแ้ี กภ ิกษุท้งั หลาย ดงั นี้)

[๑] มโนปพุ พฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฐา มโนมยา

มนสา เจ ปทุเ ฐน ภาสติ วา กโรติ วา

ตโต นํ ทกุ ฺขมนเฺ วติ จกฺกวํ วหโต ปท.ํ

[๑] ธรรมท้ังหลาย มใี จเปน หวั หนา มีใจเปนใหญ สำเรจ็ ดวยใจ ถา คนมใี จช่วั ก็จะพดู ช่วั หรือทำชั่วตาม
ไปดว ย เพราะความชว่ั นน้ั ทกุ ขยอมตดิ ตามเขาไป เหมือนลอหมนุ ตามรอยเทา โคทล่ี ากเกวียนไป ฉะนั้น

๒. มฐกุณฑฺ ลวี ตถฺ ุ

เร่อื งนายมฏั ฐกุณฑลี

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานแ้ี กอ ทินนปุพพกพราหมณบิดานายมฏั ฐกุณฑลี ดงั น้)ี
[๒] มโนปพุ พฺ งคฺ มา ธมฺมา มโนเสฐ า มโนมยา

มนสา เจ ปสนเฺ นน ภาสติ วา กโรติ วา

ตโต นํ สขุ มนเฺ วติ ฉายาว อนปุ ายิน.ี

[๒] ธรรมท้ังหลาย มีใจเปนหัวหนา มีใจเปนใหญ สำเร็จดวยใจ ถา คนมีใจดี ก็จะพูดดหี รอื ทำดตี ามไป
ดวย เพราะความดนี ั้น สขุ ยอ มติดตามเขาไป เหมอื นเงาตดิ ตามตัวเขาไปฉะน้ัน

๓. ตสิ สฺ เถรวตฺถุ

เร่ืองพระติสสเถระ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานี้แกภกิ ษุทงั้ หลาย ดงั น้)ี
[๓] อกโฺ กจฺฉิ มํ อวธิ มํ อชนิ ิ มํ อหาสิ เม

เย จ ตํ อปุ นยหฺ นฺติ เวรํ เตสํ น สมมฺ ติ.

[๓] ชนเหลา ใด เขาไปผกู เวรวา คนนีไ้ ดดา เรา ไดฆ า เรา ไดช นะเราและไดลักส่ิงของ ของเราไปเวรของ

ชนเหลา นน้ั ยอ มไมสงบระงบั

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๖

๔. กาลียกขฺ นิ วี ตถฺ ุ

เรือ่ งนางยักษช ื่อกาลี

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถาน้ีแกน างยักษช ื่อกาลแี ละหญิงคนหนงึ่ ดังน้ี)

[๔] อกโฺ กจฺฉิ มํ อวธิ มํ อชินิ มํ อหาสิ เม

เย จ ตํ นุปนยฺหนตฺ ิ เวรํ เตสูปสมฺมติ.

[๔] สว นชนเหลาใด ไมเขาไปผูกเวรวา คนนี้ไดดาเรา ไดฆ าเรา ไดชนะเราและไดลักสิ่งของของเราไป
เวรของชนเหลานนั้ ยอมสงบระงับ

๕. โกสมฺพกิ วตถฺ ุ

เร่อื งภกิ ษชุ าวเมืองโกสมั พี

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานี้แกภกิ ษุชาวเมืองโกสมั พผี ูทะเลาะกนั ดงั น)ี้
[๕] น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตธี กทุ าจนํ

อเวเรน จ สมมฺ นฺติ เอส ธมโฺ ม สนนตฺ โน.

[๕] เพราะวาในกาลไหน ๆ เวรท้ังหลายในโลกนี้ ยอมไมสงบระงับดว ยเวร แตเวรทัง้ หลายยอมสงบ

ระงับดว ยการไมจ องเวร นเ้ี ปน ธรรมเกา

[๖] ปเร จ น วชิ านนฺติ มยเมตถฺ ยมาม เส

เย จ ตตถฺ วิชานนฺติ ตโต สมมฺ นตฺ ิ เมธคา.
[๖] ชนเหลาอื่นไมรูชัดวา พวกเรากำลงั ยอยยับอยู ณ ที่นี้ สวนชนเหลาใดในหมูน น้ั รชู ัด ความมุงราย

กนั ยอมระงับ เพราะการปฎิบตั ิของชนเหลา น้นั

๖. มหากาลเถรวตฺถุ

เรื่องพระมหากาลเถระ

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานีแ้ กภ กิ ษุทั้งหลาย ดงั น)้ี

[๗] สุภานุปสฺสึ วหิ รนฺตํ อนิ ฺทฺรเิ ยสุ อสํวตุ ํ

โภชนมหฺ ิ อมตตฺ ฺํุ กุสีตํ หนี วีรยิ ํ

ตํ เว ปสหติ มาโร วาโต รุกฺขวํ ทุพฺพลํ.
[๗] มารยอมครอบงำบุคคลผูพจิ ารณาเหน็ ความงาม ไมสำรวมอินทรีย ไมรูจักประมาณในการบริโภค

เกยี จคราน มคี วามเพยี รยอหยอนเหมอื นพายุพดั ตนไมท ่ีไมมนั่ คงใหหกั โคนลงได ฉะน้นั

[๘] อสภุ านปุ สสฺ ึ วหิ รนฺตํ อนิ ทฺ ฺริเยสุ สุสวํ ุตํ

โภชนมหฺ ิ มตตฺ ฺุํ สทธฺ ํ อารทธฺ วีรยิ ํ

ตํ เว นปฺปสหติ มาโร วาโต เสลวํ ปพพฺ ตํ.

[๘] มารยอมไมครอบงำบุคคลผูไ มพิจารณาเห็นความงามสำรวมอินทรียดีแลว รูจักประมาณในการ
บริโภคมีศรัทธา และปรารภความเพยี รเหมอื นพายุพดั โคนภูเขาศลิ าไมไ ด ฉะน้ัน

สถาบันวิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๗

๗. เทวทตตฺ วตถฺ ุ

เรอื่ งพระเทวทตั

(พระผูมีพระภาคทรงปรารภพระเทวทตั ท่ีไดผ ากาสาวะมรี าคามากจากแควนคนั ธาระ

จงึ ตรสั พระคาถาน้ีแกภ กิ ษุชาวเมืองราชคฤห ดงั นี)้

[๙] อนิกฺกสาโว กาสาวํ โย วตฺถํ ปริทหิสสฺ ติ

อเปโต ทมสจเฺ จน น โส กาสาวมรหต.ิ
[๙] ผูใ ดยงั มีกเิ ลสดจุ นำ้ ฝาด จะนงุ หมผากาสาวะ ปราศจากทมะและสจั จ๔ ผูนนั้ ไมควรท่ีจะนุงหมผา

กาสาวะเลย

[๑๐] โย จ วนฺตกสาวสสฺ สีเลสุ สุสมาหโิ ต

อุเปโต ทมสจเฺ จน ส เว กาสาวมรหต.ิ

[๑๐] สวนผูใ ดคายกเิ ลสดจุ น้ำฝาด ตั้งม่ันดีแลวในศีล ประกอบดวยทมะและสัจจ ผูนั้นแลควรทีจ่ ะนงุ

หม ผากาสาวะได

๘. สฺชยวตถฺ ุ
เร่อื งสัญชยั ปริพาชก

(พระผูมีพระภาคตรสั พระคาถานแ้ี กภ กิ ษุทง้ั หลาย ดงั น)้ี

[๑๑] อสาเร สารมตโิ น สาเร จาสารทสฺสิโน
เต สารํ นาธิคจฉฺ นฺติ มิจฺฉาสงฺกปปฺ โคจรา.

[๑๑] ชนเหลาใดเห็นสิ่งทีไ่ มมีสาระวามีสาระ และเห็นสิง่ ที่มีสาระวาไมมีสาระ ชนเหลานั้น ชื่อวามี

ความดำรผิ ดิ เปน ทางปฎบิ ัติ ยอ มไมประสบส่งิ ท่มี สี าระ

[๑๒] สารจฺ สารโต ญตวฺ า อสารฺจ อสารโต

เต สารํ อธิคจฺฉนตฺ ิ สมมฺ าสงกฺ ปฺปโคจรา

[๑๒] สวนชนเหลาใดที่รูสิ่งที่มีสาระวามีสาระ และรูสิ่งที่ไมมีสาระวาไมมีสาระ ชนเหลาน้ัน ชื่อวามี
ความดำรชิ อบเปน ทางปฎบิ ัติ ยอ มประสบส่งิ ท่มี ีสาระ

๙. นนทเถรวตฺถุ
เร่ืองพระนนั ทเถระ

(พระผูมพี ระภาคตรัสพระคาถานี้แกภกิ ษุท้ังหลาย ดงั น)้ี

[๑๓] ยถา อคารํ ทจุ ฺฉนฺนํ วุฐี สมติวชิ ฌฺ ติ

เอวํ อภาวติ ํ จติ ตฺ ํ ราโค สมติวชิ ฌฺ ติ.

[๑๓] ฝนยอมร่วั รดเรอื นทม่ี ุงไมดีได ฉันใด ราคะยอ มรัว่ รดจติ ทไ่ี มไ ดอ บรมได ฉันน้นั

[๑๔] ยถา อคารํ สจุ ฉฺ นนฺ ํ วุฐ ี น สมตวิ ิชฺฌติ
เอวํ สภุ าวติ ํ จติ ฺตํ ราโค น สมติวิชฌฺ ต.ิ

[๑๔] ฝนยอมรวั่ รดเรอื นทมี่ ุงดแี ลว ไมได ฉันใด ราคะยอ มร่ัวรดจติ ท่อี บรมดีแลวไมไ ด ฉนั น้นั

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๘

๑๐. จนุ ทฺ สูกริกวตถฺ ุ

เรือ่ งนายจุนทะฆาสุกร

(พระผูมีพระภาคตรัสพระคาถานีแ้ กภ กิ ษุทั้งหลาย ดงั นี้)

[๑๕] อธิ โสจติ เปจฺจ โสจติ ปาปการี อุภยตฺถ โสจติ

โส โสจติ โส วิหฺญติ ทสิ วฺ า กมมฺ กลิ ิฐมตฺตโน.

[๑๕] ผูทำบาปเปนปกติ ยอมเศราโศกในโลกนี้ ตายไปแลวกย็ ังเศราโศกในโลกหนา ชื่ีอวาเศราโศกใน
โลกท้ังสองเขายอมเศราโศกเดอื ดรอน เพราะเห็นกรรมทเี่ ศราหมองของตน

๑๑. ธมมฺ กิ อุปาสกวตฺถุ

เรื่องอบุ าสกผปู ระพฤติธรรม

(พระผูมีพระภาคตรสั พระคาถานแ้ี กภ กิ ษุท้งั หลาย ดงั นี้)

[๑๖] อธิ โมทติ เปจฺจ โมทติ กตปุโฺ ญ อภุ ยตฺถ โมทติ

โส โมทติ โส ปโมทติ ทิสวฺ า กมมฺ วสิ ุทธฺ มิ ตตฺ โน.
[๑๖] ผูทำบุญไว ยอมบันเทิงใจในโลกน้ีตายไปแลวก็ยังบนั เทิงใจในโลกหนาชื่อวา บันเทิงใจในโลกท้งั

สองเขายอมบันเทิงรน่ื เริงใจเพราะเหน็ กรรมท่บี ริสุทธ์ขิ องตน

๑๒. เทวทตฺตวตฺถุ

เร่ืองพระเทวทตั
(พระผูมีพระภาคตรสั พระคาถาน้ีแกภกิ ษุท้งั หลาย ดงั น้)ี

[๑๗] อธิ ตปปฺ ติ เปจฺจ ตปฺปติ ปาปการี อุภยตถฺ ตปปฺ ติ

“ปาป เม กต นตฺ ิ ตปปฺ ติ ภยิ ฺโย ตปปฺ ติ ทคุ คฺ ตึ คโต.

[๑๗] ผูทำบาปเปนปกติ ยอมเดือดรอนในโลกนี้ตายไปแลว กย็ ังเดือดรอนในโลกหนา ชื่อวา เดือดรอน
ในโลกทงั้ สอง เขายอ มเดอื ดรอ นใจวา เราไดทำบาปไวแ ลว ครั้นไปสทู คุ ติ เขายง่ิ เดอื ดรอ นมากข้นึ

๑๓. สมุ นาเทวีวตฺถุ

เรอ่ื งนางสุมนาเทวี

(พระผูมพี ระภาคทรงปรารภนางสมุ นาเทวีธดิ าคนเล็กของเศรษฐีซึ่งเสียชีวิต
จึงตรัสพระคาถานี้แกอนาถบิณฑิกเศรษฐี ดงั น้)ี

[๑๘] อธิ นนฺทติ เปจจฺ นนฺทติ กตปุ โฺ ญ อุภยตฺถ นนฺทติ

“ปุฺญํ เม กต นตฺ ิ นนทฺ ติ ภยิ โฺ ย นนฺทติ สคุ ฺคตึ คโต.

[๑๘] ผูทำบุญไว ยอมเพลิดเพลินใจในโลกนี้ ตายไปแลวก็ยังเพลิดเพลินใจในโลกหนา ชื่อวา

เพลิดเพลินใจในโลกทั้งสอง เขายอ มเพลิดเพลินใจวา เราไดทำบญุ ไวแลว คร้ันไปสูสุคติ เขายิ่งเพลิดเพลินใจ

มากขนึ้

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๕๙

๑๔. เทฺวสหายกภิกขฺ วุ ตฺถุ

เรอื่ งภกิ ษุสองสหาย
(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานแี้ กภ กิ ษุทัง้ หลาย ดงั น)ี้
[๑๙] พหุมปฺ  สหํ ติ ภาสมาโน
น ตกกฺ โร โหติ นโร ปมตโฺ ต
โคโปว คาโว คณยํ ปเรสํ
น ภาควา สามญฺ สสฺ โหต.ิ
[๑๙] คนที่กลาวพุทธพจนแมมาก แตมัวประมาท ไมทำตามพุทธพจนน ั้น ยอมไมไ ดรับผลแหงความ
เปน สมณะ เหมอื นคนรบั จา งเล้ยี งโคไดแตน ับโคใหค นอน่ื ฉะน้นั
[๒๐] อปฺปมปฺ  เจ สหํ ิต ภาสมาโน
ธมฺมสสฺ โหติ อนธุ มฺมจาร.ี
ราคจฺ โทสฺจ ปหาย โมหํ
สมมฺ ปปฺ ชาโน สุวิมตุ ฺตจิตโฺ ต.
อนุปาทยิ าโน อธิ วา หุรํ วา
ส ภาควา สามฺญสสฺ โหติ.
[๒๐] คนทีก่ ลา วพุทธพจนแ มนอย แตประพฤติธรรมสมควรแกธรรมเปนปกตลิ ะราคะ โทสะ และโมหะ
ไดแ ลว รชู อบ มีจิตหลุดพนดแี ลว ไมย ดึ ติดในโลกนีแ้ ละโลกหนา เขายอ มไดร ับผลแหง ความเปนสมณะ

ปฐโม ยมกวคฺโค
ยมกวรรคท่ี ๑ จบ

๒. อปฺปมาทวคโฺ ค

๑. อัปปมาทวรรค
หมวดวาดว ยความไมประมาท

๑. สามาวตวี ตฺถุ
เรอ่ื งพระนางสามาวดี
(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานี้แกภ กิ ษุท้งั หลาย ดงั นี้)
[๒๑] อปฺปมาโท อมตปทํ ปมาโท มจจฺ ุโน ปทํ
อปฺปมตฺตา น มียนตฺ ิ เย ปมตฺตา ยถา มตา.
[๒๑] ความไมประมาท เปน ทางแหง อมตะ ความประมาท เปนทางแหงความตาย คนผไู มป ระมาทชื่อ
วา ยอ มไมตาย คนผปู ระมาทจงึ เหมือนคนตายแลว

[๒๒] เอวํ วเิ สสโต ญตวฺ า อปปฺ มาทมหฺ ิ ปณฺฑติ า
อปปฺ มาเท ปโมทนตฺ ิ อริยานํ โคจเร รตา.
[๒๒] บัณฑิตทราบความตางกัน ระหวางความไมประมาทกับความประมาทน้ัน แลวต้ังอยูในความไม
ประมาท ยอ มบันเทงิ ใจในความไมป ระมาท ยนิ ดีในทางปฎบิ ัตขิ องพระอรยิ ะทง้ั หลาย

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๐

[๒๓] เต ฌายิโน สาตติกา นิจจฺ ํ ทฬหฺ ปรกฺกมา

ผสุ นฺติ ธรี า นพิ ฺพานํ โยคกฺเขมํ อนตุ ตฺ รํ.

[๒๓] บณั ฑิตผเู ปนนักปราชญเหลานั้น เพงพินจิ มีความเพียรตอเนื่อง มีความบกบั่นมั่นคงเปนนิตย

ยอ มบรรลุนิพพานอนั เปน สภาวะยอดเยีย่ ม ปลอดจากโยคะ

๒. กมุ ฺภโฆสกวตฺถุ
เร่อื งนายกุมภโฆสก

(พระผูมีพระภาคตรสั พระคาถานแี้ กพ ระเจาพิมพิสารและนายกุมภโฆสก ดงั น)้ี

[๒๔] อุ ฐ านวโต สตีมโต
สจุ กิ มฺมสฺส นสิ มฺมการิโน.

สฺญตสสฺ ธมฺมชีวโิ น

อปปฺ มตตฺ สฺส ยโสภิวฑฺฒต.ิ

[๒๔] ยศ ยอ มเจริญแกบ ุคคลท่มี ีความขยนั หม่นั เพยี ร มีสติ มกี ารงานสะอาด ใครครวญกอนทำ สำรวม

ดำรงชวี ิตโดยธรรม และไมป ระมาท

๓. จฬู ปนถฺ กวตถฺ ุ

เรือ่ งจฬู ปนถก

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานแี้ กภกิ ษุท้งั หลาย ดงั นี้)

[๒๕] อุ ฐ าเนนปปฺ มาเทน สฺญเมน ทเมน จ.

ทปี  กยิราถ เมธาวี ยํ โอโฆ นาภกิ รี ต.ิ
[๒๕] คนมีปญญาพึงทำที่พึ่งดุจเกาะที่น้ำทวมไมถึง ดวยความขยัน ดวยความไมประมาท ดวยการ

สำรวม และดวยการฝกฝน

๔. พาลนกฺขตตฺ วตถฺ ุ

เรื่องนกั ษัตรของคนพาล

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานี้แกภกิ ษุทั้งหลาย ดงั น)้ี

[๒๖] ปมาทมนุยุชฺ นฺติ พาลา ทุมเฺ มธโิ น ชนา

อปฺปมาทจฺ เมธาวี ธนํ เสฐ วํ รกฺขต.ิ

[๒๖] ความพาลมีปญญาทราม ประกอบความประมาทอยูเสมอ สวนบัณฑิตผูม ีปญญา รักษาความไม
ประมาทไว เหมอื นคนรกั ษาทรพั ยอ นั ประเสรฐิ ฉะนน้ั

[๒๗] มา ปมาทมนุยุเฺ ชถ มา กามรติสนถฺ วํ
อปปฺ มตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุข.ํ

[๒๗] ทา นท้งั หลาย อยาประกอบความประมาท อยา ประกอบความเชยชมยินดีในกามเลย เพราะผูไม
ประมาทแลว เพงพินจิ อยู ยอมไดร บั ความสขุ อนั ไพบลู ย

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๑

๕. มหากสสฺ ปเถรวตถฺ ุ

เรื่องพระมหากสั สปเถระ

(พระผูมพี ระภาคตรัสพระคาถา ดังนี)้

[๒๘] ปมาทํ อปปฺ มาเทน ยทา นทุ ติ ปณฺฑิโต

ปฺญาปาสาทมารยุ ฺห อโสโก โสกินึ ปชํ

ปพพฺ ตโ ฐว ภุมเฐ ธีโร พาเล อเวกขฺ ต.ิ

[๒๘] เมื่อใด บัณฑิตบรรเทาความประมาท ดว ยความไมป ระมาท ขึน้ สปู ญ ญาดจุ ปราสาท ไมเศราโศก

พิจารณาเห็นหมสู ัตวผมู ีความเศราโศก เมื่อนัน้ บัณฑิตผูเ ปน นกั ปราชญย อมเห็นคนพาลได เหมือนคนที่ยืนอยู

บนภูเขาเห็นคนท่ภี าคพืน้ ได ฉะน้นั

๖. เทวฺ สหายกภกิ ขวุ ตถฺ ุ

เรอื่ งภกิ ษสุ องสหาย

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถาน้ีแกภ ิกษุ ๒ รปู ดงั น)้ี

[๒๙] อปฺปมตโฺ ต ปมตเฺ ตสุ สุตเฺ ตสุ พหชุ าคโร

อพลสสฺ วํ สีฆสโฺ ส หติ วฺ า ยาติ สเุ มธโส.

[๒๙] ผูมีปญ ญาดี เปนผูไมประมาท ในเม่ือผูอ ่ืนประมาท เปนผูตื่นอยูโดยมาก ในเมื่อผูอ ื่นหลับ ยอม

ละทิง้ คนมปี ญญาทรามไปไกล เหมอื นมาฝเ ทา จดั วง่ิ ละท้งิ มาท่ีหมดแรงไว ฉะนนั้

๗. มฆวตถฺ ุ

เรื่องทา วมัฆวาน

(พระผูมพี ระภาคตรัสพระคาถาน้แี กเจาลิจฉวนี ามวา มหาลิ ดงั นี้)

[๓๐] อปปฺ มาเทน มฆวา เทวานํ เสฐ ตํ คโต

อปปฺ มาทํ ปสํสนฺติ ปมาโท ครหิโต สทา.

[๓๐] ทา วมฆั วานประเสริฐสดุ ในหมเู ทวดา เพราะความไมป ระมาท บัณฑติ ท้ังหลายสรรเสริญความไม

ประมาท และตเิ ตยี นความประมาททุกเมือ่

๘. อฺญตรภิกฺขุวตฺถุ

เรือ่ งภกิ ษุรูปใดรปู หนึ่ง

(พระผูมีพระภาคตรสั พระคาถาน้แี กภ ิกษุรปู หน่ึง ดงั น)้ี

[๓๑] อปฺปมาทรโต ภกิ ฺขุ ปมาเท ภยทสสฺ ิ วา

สํโยชนํ อณํุ ถลู ํ ฑหํ อคคฺ ีว คจฺฉติ.

[๓๑] ภกิ ษุยนิ ดีในความไมประมาท หรือเห็นภยั ในความประมาท เผาสังโยชนนอยใหญไดห มด เหมอื น

ไฟเผาเชือ้ นอ ยใหญใหหมดไป ฉะน้นั

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๒

๙. นิคมวาสีติสฺสเถรวตฺถุ

เรอ่ื งพระตสิ สเถระผูอยูในนิคม

(พระผูมพี ระภาคตรสั พระคาถานีแ้ กพระตสิ สะเถระผูอยูในนิคม ดงั นี)้

[๓๒] อปปฺ มาทรโต ภกิ ฺขุ ปมาเท ภยทสสฺ ิ วา

อภพโฺ พ ปรหิ านาย นพิ ฺพานสเฺ สว สนตฺ ิเก.

[๓๒] ภิกษุยินดีในความไมป ระมาท หรือมีปกติเห็นภัยในความประมาท เปนผูไมเสือ่ ม ชื่อวา อยูใกล
นพิ พานแนแท

ทุตโิ ย อปปฺ มาทวคโฺ ค

อปั ปมาทวรรคท่ี ๒ จบ

ขออนุโมทนาบุญ
เจา ภาพบทสวด

คุณ ณ.พงษ สขุ สงวน

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๓

บทถวายพรพระ

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ ฯ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ฯ

อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วชิ ชาจะระณะ-สัมปนโน สุคะโต โลกะวทิ ู อะนุตตะโร
ปุรสิ ะทมั มะสาระถิ สัตถาเทวะมะนุสสานงั พุทโธ ภะคะวาติ ฯ

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ
วิญูหตี ิ ฯ

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชปุ ะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญายะปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อฏั ฐะ
ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปญุ ญักเขตตงั โลกสั สาติ ฯ

พาหงุ สะหัสสะมะภนิ ิมมติ ะสาวุธนั ตงั
ค๎รเี มขะลงั อุทติ ะโฆระสะเสนะมารงั
ทานาทิธมั มะวธิ ินา ชิตะวา มนุ นิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ ฯ

มาราตเิ รกะมะภยิ ชุ ฌติ ะสัพพะรตั ตงิ
โฆรัมปะนาฬะวะมกั ขะมะถัทธะยกั ขัง
ขันตีสุทันตะวธิ นิ า ชิตะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นาฬาคริ งิ คะชะวะรงั อะติมัตตะภตู ัง
ทาวคั คจิ ักกะมะสะนีวะ สุทารณุ ันตัง
เมตตมั พเุ สกะวิธนิ า ชิตะวา มนุ นิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

อกุ ขติ ตะขคั คะมะติหัตถะสทุ ารุณนั ตงั
ธาวนั ติโยชะนะปะถงั คลุ มิ าละวันตัง
อิทธีภสิ งั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนนิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ ฯ

กตั ๎วานะ กฏิ ฐะมุทะรงั อิวะ คัพภินยี า
จญิ จายะ ทฏุ ฐะวะจะนงั ชะนะกายะมชั เฌ
สันเตนะ โสมะวธิ ินา ชติ ะวา มนุ นิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๔

สัจจัง วิหายะ มะตสิ ัจจะกะวาทะเกตงุ
วาทาภิโรปตะมะนงั อะติอันธะภูตงั
ปญ ญาปะทปี ะชะลิโต ชติ ะวา มนุ ินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

นันโทปะนันทะภุชะคัง วพิ ุธัง มะหิทธิง
ปตุ เตนะ เถระภชุ ะเคนะ ทะมาปะยันโต
อทิ ธปู ะเทสะวธิ นิ า ชิตะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

ทคุ คาหะทฏิ ฐภิ ุชะเคนะ สุทฏั ฐะหตั ถัง
พ๎รหั ม๎ ัง วสิ ุทธชิ ตุ มิ ทิ ธพิ ะกาภิธานงั
ญาณาคะเทนะ วธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

เอตาป พทุ ธะชะยะมงั คะละอฏั ฐะคาถา
โย วาจะโน ทนิ ะทเิ น สะระเต มะตนั ที
หิตว๎ านะเนกะววิ ธิ านิ จุปท ทะวานิ
โมกขงั สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญ โญ ฯ

มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปเู รต๎วา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธมิ ตุ ตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลงั ฯ
ชะยนั โต โพธิยา มูเล สกั ย๎ านัง นนั ทิวฑั ฒะโน
เอวงั ต๎วัง วชิ ะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปลลังเก สเี ส ปะฐะวโิ ปกขะเร
อะภเิ สเก สัพพะพุทธานงั อัคคัปปต โต ปะโมทะติ ฯ
สุนักขตั ตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหฏุ ฐติ งั
สุขะโณ สุมุหตุ โต จะ สุยฏิ ฐัง พร๎ หั ม๎ ะจารสิ ุ
ปะทกั ขณิ งั กายะกมั มงั วาจากมั มัง ปะทักขิณงั
ปะทกั ขณิ ัง มะโนกมั มัง ปะณธิ ี เต ปะทกั ขณิ า
ปะทกั ขณิ านิ กัตว๎ านะ ละภันตตั เถ ปะทักขเิ ณ ฯ

ภะวะตุ สพั พะมงั คะลัง รกั ขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รกั ขนั ตุ สัพพะเทวะตา
สพั พะธัมมานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ภะวะตุ สัพพะมงั คะลัง รกั ขนั ตุ สพั พะเทวะตา
สัพพะสังฆานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เต ฯ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๕

คําแผส ว นบุญกศุ ล และแผเมตตา

ของ สมเดจ็ พระพุฒาจารย (อาจ อาสภมหาเถร)

อิทัง เม ปุญญงั นิพพานสั สะ ปจ จะโย โหตุ
ขอผลบุญน้ี จงเปนปจจยั ใหขาพเจาไดบรรลุมรรคผลนิพพาน

อทิ ัง เม ปุญญะภาคัง, ราชาที่นัญเจวะ, มาตาปต ุ อาทีน่ ญั จะ ปยะชะนานัง, สัพพะสัตตานญั จะ, นิยยาเทมะ
ขาพเจาทั้งหลาย, ขอนอมถวายสวนบุญน้ี, แดอิสระชน, คือชนผูเปนใหญทั้งหลาย, มีองค

พระมหากษัตริย, ผูเปนพระประมุขของชาติ, องคสมเด็จพระสังฆราช, ผูเปนประมุขของศาสนา, และคณะ
รัฐบาล, ผบู รหิ ารประเทศ เปน ตน

ขอแผสวนกุศลน้ี, ใหแกปยชน, คนที่รักทั้งหลาย, มีบิดามารดา ปู ยา ตา ยาย, และครู อุปชฌาย
อาจารยท้งั หลาย เปน ตน

และขอแผสวนกุศลน้ี, ใหแกสรรพสัตวทั้งหลาย, ทุกชาติชั้นวรรณะ ทุกศาสนา ทกุ ภาษา, ที่อยูทั่วทุก
มมุ แหง โลก,

สัพเพ สัตตา
อนั วา สตั วทง้ั หลาย, ทกุ ชาติทุกภาษา และทุกหนทกุ แหง ทีอ่ ยูทางทิศบรู พากด็ ี ท่อี ยทู างทศิ ประจิมก็ดี

ท่อี ยูท างทิศอุดรกด็ ี ที่อยูทางทิศทกั ษณิ กด็ ี ท่อี ยูทางทิศอาคเนยก็ดี ท่อี ยทู างทิศพายัพกด็ ี ทอ่ี ยูท างทิศอีสานก็ดี
ที่อยทู างทิศหรดีก็ดี ทีอ่ ยูทางทศิ เบื้องลา ง ต้ังแตโลกนั ตมหานรกขึ้นมากด็ ี ที่อยูทางทิศเบื้องบนตั้งแตภวัคคะ
พรหมลงมาก็ดี

อเวรา โหนตุ ขอจงอยา ไดส รา งกรรมทําเวร และรบราฆา ฟนซง่ึ กัน และกนั เลย

อพั ยาปช ฌา โหนตุ ขอจงอยา ไดเ บียดเบียน ขม เหงคะเนงรายและปายสีใหแ กก นั และกันเลย

อนีฆา โหนตุ ขอจงอยา ไดมคี วามทุกขก าย ทุกขใจเลย

สขุ ี อตั ตานงั ปะรหิ ะรนั ตุ ขอจงมีความสุขกาย สขุ ใจ รกั ษาตนใหร อดพน จากทุกขภยั ทกุ ๆ คนเทอญ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๖

หมวดพระอภิธรรมปฎก
อญั เชิญเทวดา

สะรัชชงั สะเสนัง สะพันธงุ นะรนิ ทงั
ปะรติ ตานภุ าโว สะทา รกั ขะตตู .ิ
ผะริตวฺ านะ เมตตัง สะเมตตา ภะทนั ตา
อะวกิ ขิตตะจติ ตา ปะริตตัง ภะณนั ตุ.

ทานผูเจริญทั้งหลาย ผูเ พียบพรอ มดวยเมตตา จงแผไมตรีจติ ดวยคิดวา ขออานุภาพ แหงพระปริตร

จงรักษาพระราชา ผูเปนเจาแหงนรชน พรอมดวยราชสมบัติ พรอมดวย พระราชวงศ พรอมดวยเหลา
เสนามาตย แลวอยา ไดม จี ิตฟงุ ซา น จงึ ตัง้ ใจสวดพระปรติ รเถดิ .

สะมนั ตา จกั กะวาเฬสุ อัตฺราคจั ฉนั ตุ เทวะตา
สทั ธมั มัง มนุ ริ าชสั สะ สณุ นั ตุ สัคคะโมกขะทงั ฯ

ขออญั เชิญเทวดาในจักรวาลท้ังหลายโดยรอบ มาสูสถานทีน่ ้ี ขอเชญิ ฟง พระสทั ธรรม ของพระจอมมนุ ี

อนั ช้ที างสวรรคแ ละนพิ พาน.

สคั เค กาเม จะ รเู ป คริ ิสิขะระตะเฏ จันตะลกิ เข วมิ าเน
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถมุ หิ เขตเต

ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวสิ ะเม ยกั ขะคันธัพพะนาคา
ติฏฐันตา สันติเก ยงั มุนิวะระวะจะนงั สาธะโว เม สณุ ันตุ.

ขอเชญิ เหลา เทพเจา ผสู ถติ อยูใ นสวรรคชัน้ กามภพกด็ ี ชนั้ รูปภพก็ดี และภุมมเทวดา ผูสถิตอยูใ นวิมาน

บนยอดภเู ขา ในหุบผา ในอากาศ บนเกาะ ในแวน แควน ในบา น ในตน พฤกษา ในปาชฏั ในเรือนและในไรนา
ก็ดี และยักษ คนธรรพ นาค ผูสถิตอยูในนํา บนบก ในที่ไมราบเรียบ อนั อยูในที่ใกลเ คียงก็ดี ขอจงมาประชุม

พรอ มกนั ในท่นี ้ี ถอยคาํ ใดเปน ของพระมหามนุ ี ขอทานสาธชุ นทั้งหลาย จงต้งั ใจสดบั ถอยคำนนั้ อนั ขา พเจา จักกลาว

ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยมั ภะทันตา
ดูกอ นทา นผูเจริญท้งั หลาย กาลน้ีเปนกาลฟงพระสัทธรรม

ธมั มัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทนั ตา
ดูกอนทา นผูเจริญทง้ั หลาย กาลนี้เปนกาลฟงพระสทั ธรรม

ธัมมสั สะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ

ดูกอนทานผูเจริญทัง้ หลาย กาลน้เี ปน กาลฟงพระสทั ธรรม.

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๗
อะระหะโต
สมั มาสัมพทุ ธสั สะ. ปุพพภาคนมการ

(คํานอบนอ มในสว นเบอื้ งตน )

ขอนอบนอ มแดพระผมู ีพระภาคเจาพระองคน ั้น
ซงึ่ เปนผไู กลจากกเิ ลส
ตรสั รชู อบไดโ ดยพระองคเ อง. (๓ ครงั้ )

เขมาเขมสรณทีปกคาถา

คาถาแสดงสรณะอนั เกษมและไมเกษม

พะหุง เว สะระณงั ยนั ติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ
อารามะรุกขะเจตยฺ านิ มะนสุ สา ภะยะตชซติ า

มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง อาราม และรุกขเจดียบาง
เปนสรณะ

เนตงั โข สะระณงั เขมัง เนตงั สะระณะมตุ ตะมงั

เนตงั สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมจุ จะติ

น่นั มใิ ชส รณะอนั เกษมเลย นน่ั มิใชส รณะอันสงู สดุ เขาอาศยั สรณะนน้ั แลว ยอ มไมพน จากทกุ ขท้ังปวงได

โย จะ พุทธัญจะ ธัมมญั จะ สังฆญั จะ สะระณัง คะโต

จตั ตาริ อะริยะสจั จานิ สมั มปั ปญ ญายะ ปส สะติ

สว นผใู ดถอื เอาพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ เปน สรณะแลว เหน็ อรยิ สจั จ คอื ความจริงอันประเสริฐสี่
ดว ยปญญาอนั ชอบ

ทุกขงั ทกุ ขะสะมุปปาทงั ทกุ ขัสสะ จะ อะติกกะมัง

อะริยญั จัฏฐงั คิกัง มคั คงั ทุกขูปะสะมะคามินัง

คือเห็นความทุกข เหตุใหเกิดทุกข ความกาวลวงทุกขเสียได และหนทางมีองคแปด อันประเสริฐ
เครื่องถงึ ความระงับทุกข

เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตงั สะระณะมุตตะมงั

เอตงั สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ

นน่ั แหละ เปนสรณะอันเกษม นน่ั เปนสรณะอันสงู สดุ เขาอาศยั สรณะนั้นแลว ยอมพนจากทุกขท ั้งปวงได.

(เรื่องปุโรหติ ชอ่ื อดั คิทัต ขุ. ธ.)

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๘

โอวาทปาตโิ มกขคาถา

ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา ขันติ คือความอดกลั้น เปน ธรรม เครือ่ งเผากเิ ลสอยางย่งิ

นพิ พานัง ปะระมัง วะทนั ติ พทุ ธา ผรู ทู ัง้ หลาย กลา วพระนพิ พานวา เปนธรรมอันยง่ิ

นะ หิ ปพ พะชิโต ปะรูปะฆาตี ผกู าํ จัดสัตวอ น่ื อยู ไมช่อื วา เปน บรรพชติ เลย

สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยนั โต ผทู าํ สตั วอืน่ ใหล าํ บากอยู ไมช อ่ื วา เปน สมณะเลย
สพั พะปาปสสะ อะกะระณงั การไมทําบาปทง้ั ปวง

กสุ ะลัสสปู ะสมั ปะทา การทํากศุ ลใหถ ึงพรอ ม

สะจติ ตะปะริโยทะปะนงั การชําระจิตของตนใหขาวรอบ

เอตงั พทุ ธานะสาสะนงั ธรรม ๓ อยางน้ี เปน คําสง่ั สอนของ พระพุทธเจาท้ังหลาย

อะนูปะวาโท อะนปู ะมาโต การไมพูดรา ย การไมท าํ ราย

ปาตโิ มกเข จะ สังวะโร การสาํ รวมในพระปาตโิ มกข
มัตตญั ตุ า จะ ภตั ตสั ฺมิง ความเปน ผรู ูประมาณในการบรโิ ภค

ปน ตัญจะ สะยะนาสะนงั การนอน การนง่ั ในทอ่ี นั สงดั

อะธจิ ิตเต จะ อาโยโค ความหมัน่ ประกอบในอธจิ ิต

เอตัง พุทธานสาสะนันติ ธรรม ๕ อยา งนี้ เปน คาํ ส่งั สอนของ พระพุทธเจาท้งั หลาย

ปฐมพุทธภาสติ คาถา

คาถาแสดงปฐมพุทธพจน (ว.ิ พาหิรนิทาน)

อะเนกะชาตสิ ังสารัง สนั ธาวสิ สงั อะนิพพิสัง

เม่อื เรายังไมพ บญาณ ไดแ ลนทองเท่ยี วไปในสงสารอันเปนอเนกชาติ

คะหะการงั คะเวสนั โต ทกุ ขา ชาติ บนุ ปั ปุนงั

แสวงหาอยูซึง่ นายชา งปลูกเรือน คือตณั หาผูส รา งภพ การเกิดทกุ คราวเปน ทกุ ขร ่ำไป

คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปนุ ะ เคหัง นะ กาหะสิ

น่แี นะ ! นายชา งปลูกเรือน เรารูจักเจาเสยี แลว เจา จะทาํ เรอื นใหเ ราไมไดอีกตอ ไป

สพั พา เต ผาสกุ า ภคั คา คะหะกฎู งั วสิ ังขะตงั

โครงเรอื นท้งั หมดของเจา เราหกั เสยี แลว ยอดเรือนเรากร็ อื้ เสียแลว

วิสงั ขาระตะดงั จิตตัง ตัณหานงั ขะยะมชั ณะคาติ. (อภฐู . ท.ี สีล.)
จติ ของเราถงึ แลวซึ่งสภาพทอ่ี ะไรปรงุ แตง ไมไดอีกตอ ไป

มนั ไดถ งึ แลว ซ่งึ ความสน้ิ ไปแหงตณั หา คือพระนพิ พาน (อฏฐใ ขุ. ขุทก.)

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๖๙

พุทธอุทานคาถา (ว.ิ มหา. ข.ุ อุทาน.)

ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณัสสะ

อะกัสสะ กงั ขา วะปะยันติ สพั พา ยะโต ปะชานาติ สะเหตธุ มั มัง.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน ้นั ยอ มส้ินไป เพราะมารแู จง ธรรมพรอ มท้งั เหตุ

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวันติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พรฺ าหมฺ ะณสั สะ

อะถสั สะ กังขา วะปะยนั ติ สพั พา ยะโต ขะยัง ปจจะยานงั อะเวทิ.

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฎแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้น ความสงสัยทั้งปวง
ของพราหมณน้นั ยอมสิน้ ไป เพราะไดรคู วามสนิ้ ไปแหงปจจัยทง้ั หลาย.

ยะทา หะเว ปาตภุ ะวนั ติ ธมั มา อาตาปโน ฌายโต พฺราหมฺ ะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง สโู รวะ โอภาสะยะมนั ตะลกิ ขนั ต.ิ

เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลาย ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู พราหมณนั้น ยอมกําจัดมาร
และเสนาเสียได ดจุ พระอาทิตยอุทัยกาํ จัดมดื ทาํ อากาศใหสวา ง ฉะนั้น.

ปจ ฉิมพทุ โธวาทปาฐะ

คาํ แสดงโอวาทคร้งั สุดทา ยของพระพุทธเจา

หันทะทานิ ภิกขะเว อามนั ตะยามิ โว
ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย บดั นี้ เราขอเตือนทา นทง้ั หลายวา

วะยะธัมมา สงั ขารา
สงั ขารทงั้ หลาย มีความเสอื่ มไปเปน ธรรมดา

อปั ปะมาเทนะ สมั ปาเทถะ
ทา นท้งั หลาย จงทาํ ความไมป ระมาทใหถงึ พรอมเถิด

อะยงั ตะถาคะตัสสะ ปจฉมิ า วาจา (มหาปรินิพพานสูตร ที. มหา.)
น้เี ปนวาจามใี นครง้ั สุดทา ยของพระตถาคต.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๐

รตนสตุ ตงั
ปะณธิ านะโต ปฏ ฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย
ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมตั ถะปาระมิโยติ
สะมะติงสะ ปาระมโิ ย ปูเรตวา ปญจะ มะหาปะรจิ จาเค
ตสิ โส จะรยิ า ปจฉิมพั ภะเว คพั ภาวักกันตงิ
ชาติง อะภนิ กิ ขะมะนัง ปะธานะจะริยงั โพธิปล ลังเก
มาระวชิ ะยัง สัพพญั ุตะญาณปั ปะฏเิ วธัง
ธัมมะจกั กปั ปะวัตตะนัง นะวะ โลกตุ ตะระธมั เมติ
สพั เพปเม พุทธะคุเณ อาวชั ชิตวฺ า เวสาลยิ า
ตสิ ุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรตั ติง ปะรติ ตัง กะโรนโต
อายสั ฺมา อานนั ทัตเถโร วยิ ะ การุญญะจติ ตัง อปุ ฏฐะเปตวฺ า
เราทั้งหลาย จงตั้งจิตอันประกอบไปดวยความกรุณาในสัตวท ั้งหลาย ดุจดังทานพระอานนทเถระผูมี
อายุรําพึงถึงพระพุทธคุณท้ังหลาย แมทัง้ ปวงของพระตถาคตเจา จําเดิมแตทรงปรารถนาพระพุทธภมู ิเปนตน
มา ทรงยงั พระบารมี ๓๐ ถว น ใหบริบรู ณ คอื บารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมตั ถบารมี ๑๐ มหาบริจาค ๕ จรยิ า
๓ เสดจ็ ลงสูคพั โภทร ในภพอนั มีในทส่ี ุด ประสตู แิ ลว เสดจ็ ออกมหาภิเนษกรมณ บําเพญ็ ความเพยี ร ทรงชำนะ
มาร แทงตลอดพระสัพพัญุตญาณ ในโลกตุ ตรมรรม ๙ ณ โพธบิ ัลลังก ดังน้ี แลวกระทาํ พระปรติ ร ตลอดราตรี
ทัง้ ๓ ยาม ภายในกาํ แพง ๓ ชนั้ ในเมืองเวสาลี.

โกฏสิ ะตะสะหสั เสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา
ยสั สาณัม ปะฏิคคณั หันติ ยญั จะ เวสาลยี ัมปุเร
โรคามะนสุ สะทุพภิกขะ สมั ภูตนั ตวิ ิธมั ภะยัง
ขปิ ปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ
เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ยอมรับเอาซึ่งอาชญา แหงพระปริตรอันใด อนึ่งพระปริตรอันใด
ยังภัย ๓ ประการ อนั เกดิ จากโรค เกิดจากอมนษุ ยและเกดิ จากขาวยาก หมากแพง ในเมอื งเวสาลี ใหอ ันตรธาน
ไปโดยเร็วพลัน เราท้งั หลาย จงสวดพระปริตรเปน เคร่อื งปองกนั ภยั อันน้ัน เทอญ.

ยานธี ะ ภตู านิ สะมาคะตานิ รตนสตุ ตัง (รัตนสตู ร)
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข
สพั เพวะ ภูตา สมุ ะนา ภะวนั ตุ อะโถป สักกจั จะ สณุ ันตุ ภาสิตัง.
หมูเทวดาเหลาใด อยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุมกันแลวในที่นี้
ขอหมเู ทวดาท้ังหมดนัน้ จงมีใจดี และจงฟงสภุ าษติ โดยเคารพ ขอทานทง้ั หมดจงตัง้ ใจฟง

ตัสฺมา หิ ภตู า นสิ าเมถะ สัพเพ เมตตงั กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรนั ติ เย พะลงิ ตัสมฺ า หิ เน รักขะถะ อัปปะมตั ตา.
จงแผเมตตาไปในหมูประชาที่เปนมนุษย มนุษยเ หลาใด ยอมนําพลกี รรม คือ ทําบุญ อุทิศสวนกุศลไปให
ทานทั้งหลาย ทั้งกลางวันและกลางคืน เพราะเหตุนั้น ทานทั้งหลาย จงอยาประมาท จงชวยรักษามนุษย
เหลา น้นั ดว ยเถดิ .

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๑

ยงั กิญจิ วติ ตงั อิธะ วา หรุ ัง วา สคั เคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีดัง

นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ อทิ ัมป พทุ เธ ระตะนงั ปะณตี งั

เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

ทรัพยเครื่องปลื้มใจอยางใดอยางหนึ่ง ในโลกนี้หรือในโลกอื่น หรือรัตนใด อันประณีต ในสวรรค

ทรัพยเครื่องปลื้มใจและรัตนะนั้น ที่เสมอดวยพระตถาคตไมมีเลย แมอันนี้เปน รัตนะอันประณีตใน

พระพทุ ธเจา ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวัสดจี งมี.

ชะยัง วริ าคัง อะมะตงั ปะณตี งั ยะทัชฌะคา สกั ยฺ ะมนุ ี สะมาหิโต

นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทมั ป ธัมเม ระตะนงั ปะณตี ัง

เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พระศากยมุนี มีพระหฤทัยตั้งมั่น ทรงบรรลุธรรมใด เปนที่สิ้นกิเลส ปราศจาก ราคะ เปนอมตธรรมอัน

ประณีต สิ่งไร ๆ ที่เสมอดวยธรรมน้นั ไมมี แมอนั นี้เปน รัตนะอัน ประณีตในพระธรรม. ดวยคําสัตยนี้ ขอความ

สวัสดีจงม.ี

ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สจุ ิง สะมาธมิ านนั ตะริกัญญะมาหุ

สะมาธนิ า เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อทิ มั ป ธัมเม ระตะนงั ปะณตี ัง

เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญสมาธิอันใดวา เปนธรรมอันสะอาด ปราชญท้ังหลายกลาว

สมาธิอันใดวา ใหผลโดยลําดับ สมาธิอื่นที่เสมอดวยสมาธิอันนั้น ไมมี แมอันนี้เปนรัตนะ อันประณีตใน

พระธรรม ดวยคาํ สตั ยน ้ี ขอความสวสั ดจี งม.ี

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสตั ถา จัตตาริ เอตานิ ยคุ านิ โหนติ

เต ทกั ขเิ ณยยา สุคะตสั สะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหปั ผะลานิ

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

บุคคลเหลาใด ๘ จําพวก ๔ คู อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแลว บุคคลเหลา นั้น เปนสาวกของพระ

สุคต ควรแกทักษิณาทาน ทานทั้งหลายที่เขาถวายในบุคคลเหลานั้น ยอมมีผลมาก แมอันนี้เปนรัตนะ

อนั ประณีตในพระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวัสดีจงม.ี

เย สปุ ปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬฺเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนมั หิ

เต ปตติปต ตา อะมะตงั วคิ ยั หฺ ะ ลัทธา มธุ า นพิ พตุ งิ ภญุ ชะมานา

อิทัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

พระอริยบุคคลเหลาใด ในศาสนาของพระพุทธโคดม ประกอบดวยความเพียร ดีแลว มีใจมั่นคง

ปราศจากความอาลัย พระอรยิ บคุ คลเหลานั้น ถึงพระอรหัตตท่ีควรถึง หยง่ั เขา สูพระนิพพาน ไดความดับกิเลส

เอง เสวยผลอยู แมอ นั นเี้ ปน รัตนะอันประณีตใน พระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดีจงมี.

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๒

ยะถินทะขโี ล ปะฐะวงิ สิโต สิยา จะตพุ ภิ วาเตกิ อะสมั ปะกัมปโย

ตะกูปะมงั สัปปรุ สิ ัง วะทามิ โย อะรยิ ะสัจจานิ อะเวจจะ ปส สะติ

อิทมั ป สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

เสาเขื่อนที่ฝงลงดินอยางมัน่ คงแลว ไมหวัน่ ไหวเพราะลมทั้ง ๔ ทิศ ฉนั ใด ผูใ ด พิจารณาเห็นอริยสัจจ

ทั้งหลาย เราเรียกผูนั้นวา สัตบุรุษ ผูไมหวั่นไหวเพราะโลกธรรม แมอันนี้เปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดว ยคําสตั ยนี้ ขอความสวัสดีจงม.ี

เย อะรยิ ะสจั จานิ วภิ าวะยนั ติ คัมภรี ะปญเญนะ สเุ ทสติ านิ

กิญจาป เต โหนติ ภุสปั ปะมตั ตา นะ เต ภะวัง อฏั ฐะมะมาทิยันติ

อทิ ัมป สังเฆ ระตะนงั ปะณตี งั เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิ โหตฯุ

พระโสดาบันจําพวกใด ทําใหแจงอริยสัจจ ที่พระศาสดาผูมีปญญาลึกซึ้งทรงแสดง ดีแลว ถึงแมวา

พระโสดาบันจําพวกนั้น จะเปนผูประมาทอยางแรงกลา ทานก็ไมถือเอาภพที่ ๘ แมอันนี้เปน รัตนะอันประณตี
ในพระสงฆ. ดว ยคาํ สัตยน้ี ขอความสวสั ดีจงม.ี

สะหาวสั สะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยสั สุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สกั กายะทฏิ ฐิ วจิ ิกจิ ฉิตัญจะ สลี ัพพะตัง วาป ยะทัตถิ กิญจิ

จะตหู ะปาเยหิ จะ วปิ ปะมตุ โต ฉะ จาภิฐานานิ อะภพั โพ กาตงุ

อทิ มั ป สังเฆ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

สักกายทิฏฐิ วิจกิ จิ ฉา และสีลัพพตปรามาส อยา งใดอยางหนึง่ มีอยู สังโยชนธ รรม เหลานัน้ ยอมเปน

อนั พระโสดาบันละไดแ ลว พรอ มกับทัสสนสัมปทา คอื โสดาปต ติมรรค ทเี ดียว อนึ่ง พระโสดาบันเปนผูพนแลว

จากอบายทัง้ ๔ ไมอ าจท่ีจะทาํ อภฐิ าน ๕ คือ อนันตรยิ กรรม ๕ กับการเขารีต ๑ แมอนั นี้เปนรัตนะอันประณีต
ในพระสงฆ. ดวยคาํ สตั ยนี้ ขอความสวัสดจี งม.ี

กญิ จาป โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกงั กาเยนะ วาจายทุ ะ เจตะสา วา

อะภพั โพ โส ตสั สะ ปะฏิจฉะทายะ อะภพั พะตา ทฏิ ฐะปะทสั สะ วุตตา

อทิ มั ป สงั เฆ ระตะนัง ปะณีตงั เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

ถึงแมวาพระโสดาบันน้ัน ยังทําบาปกรรมทางกาย วาจา หรือใจไปบา ง เพราะความ ประมาท ทานไม
อาจจะปกปดบาปกรรมนนั้ ได พระผูมีพระภาคเจายอมตรสั ความที่พระโสดาบัน ผูเห็นบทคือพระนิพพานแลว

ไมอ าจปกปด บาปกรรมน้นั ไว แมอนั นเ้ี ปน รตั นะอันประณตี ในพระสงฆ. ดว ยคําสตั ยน ี้ ขอความสวัสดีจงม.ี

วะนปั ปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตคั เค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมฺ ิง คิมเห

ตะถปู ะมงั ธมั มะวะรงั อะเทสะยิ นิพพานะคามงิ ปะระมัง หติ ายะ

อิทมั ป พทุ เธ ระตะนงั ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

พุม ไมง ามในปา ท่ียอดมดี อกบานสะพรง่ั ในตน เดอื นคิมหะแหงฤดูคิมหนั ต ฉันใด พระผูมีพระภาคเจา

ไดท รงแสดงธรรมอนั ประเสริฐ เปน เครื่องใหถงึ พระนพิ พาน เพือ่ ประโยชน อยางยิ่งแกสัตวท งั้ หลาย ก็อุปมาฉนั

นน้ั แมอ ันน้ีเปน รตั นะอันประณตี ในพระพุทธเจา ดวยคาํ สัตยน้ี ขอความสวสั ดีจงมี.

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๓

วะโร วะรัญู วะระโท วะราหะโร อะนตุ ตะโร ธัมมะวะรงั อะเทสะยิ

อิทมั ป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตงั เอเตนะ สจั เจนะ สุวตั ถิ โหตุ ฯ

พระพุทธเจาผูประเสริฐ ทรงรูธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ ทรงนํามาซึ่งธรรม

อันประเสริฐ ไมมีผูอื่นยิ่งไปกวา ไดทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ แมอันนี้ เปนรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจา .

ดวยคาํ สัตยน ี้ ขอความสวสั ดจี งมี.

ขีณัง ปรุ าณัง นะวงั นัตถิ สมั ภะวัง วริ ัตตะจติ ตายะตเิ ก ภะวสั ฺมงิ

เต ขณี ะพีชา อะวริ ฬุ หฺ ฉิ นั ทา นพิ พันติ ธีรา ยะถายมั ปะทโี ป

อทิ ัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณตี ัง เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิ โหตุ ฯ

กรรมเกาของพระอริยบุคคลเหลาใด สิ้นไปแลว กรรมสมภพใหมยอมไมมี พระอริยบุคคลเหลาใด

มีจิตอันหนายแลวในภพตอไป พระอริยบุคคลเหลานั้น มีพืชสิ้นไปแลว มีความพอใจอันงอกไมไดแลว

เปนผูมีปญญา ยอมปรนิ พิ พานดับสนิท เหมือนประทีปดวงนี้ ฉะนัน้ แมอันน้ีเปนรัตนะอันประณีตในพระสงฆ.
ดวยคําสัตยน ี้ ขอความสวัสดีจงมี. คร้นั จบพระปรติ รแลว ทาวสักกเทวราชไดตรัสเสรมิ เปนคาถาวา ดงั นี้

ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข
ตะถาคะตงั เทวะมะนสุ สะ ปูชิตงั พทุ ธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาไดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี
จงพรอ มใจกันนอบนอมพระพทุ ธเจาผเู สดจ็ ไปแลวอยางงาม อนั เทวดา และมนุษยบูชาแลว ขอความสวัสดีจงมี.

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อนั ตะลกิ เข

ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะ ปูชติ ัง ธัมมัง นะมสั สามะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่นี้

จงพรอ มใจกันนอบนอมพระธรรมอันเปน ไปแลว อยางงาม อนั เทวดา และมนษุ ยบ ชู าแลว ขอความสวสั ดจี งมี.

ยานธี ะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภมุ มานิ วา ยานิ วะ อันตะลกิ เข

ตะถาคะตงั เทวะมะนุสสะ ปูชติ งั สงั ฆงั นะมสั สามะ สวุ ตั ถิ โหตุ ฯ

หมูเทวดาเหลาใดอยูบนภาคพื้นดิน หรือเหลาใดอยูในภาคพื้นอากาศ มาประชุม กันแลวในที่น้ี

จงพรอ มใจกันนอบนอ มพระสงฆผดู ําเนนิ ไปแลวอยางงาม อันเทวดา และมนุษยบชู าแลว ขอความสวสั ดีจงมี

(ขุ. ขุทก. ข.ุ สตุ ต.)

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๔

อภธิ มฺมปฏ เก วิภงฺคปาิ

พระบาลีอภิธรรมปฎ ก วิภงั ค

๒. อภธิ มฺมภาชนยี ํ

๒. อภธิ รรมภาชนีย

[๓๒] ปฺจกฺขนธฺ า รูปกขฺ นโฺ ธ เวทนากขฺ นโฺ ธ สญฺ ากขฺ นฺโธ สงขฺ ารกขฺ นโฺ ธ วิ ฺญาณกขฺ นฺโธ.
[๓๒] ขนั ธ ๕ คอื ๑. รปู ขนั ธ ๒. เวทนาขันธ ๓. สญั ญาขนั ธ ๔. สังขารขนั ธ ๕. วิญญาณขันธ

๑. รปู กขฺ นโุ ธ

๑. รปู ขนั ธ

ตตถฺ กตโม รูปกขฺ นโฺ ธ ในขันธ ๕ นน้ั รปู ขนั ธ เปนไฉน

[๓๓] เอกวิเธน รูปกขฺ นโฺ ธ สพพฺ ํ รูป น เหตุ อเหตกุ ํ เหตวุ ปิ ปฺ ยุตฺตํ สปฺปจฺจยํ สงขฺ ตํ รปู  โลกิยํ สาสวํ
สฺโญชนิยํ คนฺถนิยํ โอฆนิยํ โยคนิยํ นิวรณิยํ ปรามฐํ อุปาทานิยํ สงฺกิเลสิกํ อพฺยากตํ อนารมฺมณํ
อเจตสิกํ จิตฺตวิปฺปยุตฺตํ เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมํ อสงฺกิลิฐสงฺกิเลสิกํ น สวิตกฺกสวิจารํ น อวิตกฺก
วิจารมตฺตํ อวิตกฺกอวิจารํ น ปติสหคตํ น สุขสหคตํ น อุเปกฺขาสหคตํ เนวทสฺสเนน น ภาวนายปหาตพฺพํ
เนวทสฺสเนน น ภาวนายปหาตพฺพเหตุกํ เนวาจยคามินา ปจยคามิ เนวเสกฺขนาเสกฺขํ ปริตฺตํ กามาวจรํ
น รูปาวจรํ น อรปู าวจรํ ปรยิ าปนฺนํ โน อปรยิ าปนนฺ ํ อนิยตํ อนยิ ยฺ านิกํ อุปฺปนฺนํ ฉหิ วิ ญฺ าเณหิ วิฺเญยฺยํ
อนจิ จฺ ํ ชราภภิ ูตํ เอวํ เอกวิเธน รปู กขฺ นโฺ ธ.

[๓๓] รูปขันธหมวดละ ๑ คือ รูปทั้งหมด เปนนเหตุ เปนอเหตุกะ เปนเหตุวิปปยุต เปนสัปปจจยะ
เปนสังขตะ เปนรูป เปนโลกิยะ เปนสาสวะ เปนสัญโญชนิยะ เปนคันถนิยะ เปนโอฆนิยะ เปนโยคนิยะ
เปนนีวรณิยะ เปนปรามัฏฐะ เปนอุปาทานิยะ เปนสังกิเลสกิ ะ เปนอัพยากฤต เปน อนารัมมณะ เปนอเจตสิกะ
เปน จิตตวปิ ปยตุ เปนเนววิปากนวปิ ากธัมมธรรม เปนอสงั กสิ ฏิ ฐสงั กิเลสกิ ะ เปนนสวิตักกสวจิ าระ เปน นอวิตกก
วจิ ารมัตตะ เปนอวิตักกอวิจาระ เปนนปติสหคตะ เปนนสุขสหคตะ เปน นอุเปกขาสหคตะ เปนเนวทัสสนนภา
วนาปหาตัพพะ เปนเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เปนเนวาจยคามินาปจยคามี เปนเนวเสกขนาเสกขะ
เปนปริตตะ เปนกามาวจร เปนนรูปาวจร เปนนอรูปาวจรเปนปริยาปนนะ เปนนอปริยาปนนะ เปนอนิยตะ
เปนอนิยยานิกะ เปนอุปปน นฉวิญญาณวิญเญยยะ เปนอนิจจะ เปนชราภิภูตะ รูปขนั ธหมวดละ ๑ ดวยประการ
ฉะนี้

[๓๔] ทุวเิ ธน รูปกขฺ นโฺ ธ
[๓๔] รูปขนั ธหมวดละ ๒ คือ

อตฺถิ รูป อปุ าทา อตถฺ ิ รปู  โน อุปาทา.
รูปเปน อปุ าทา รปู เปนอนปุ าทา

อตถฺ ิ รปู  อปุ าทินนฺ ํ อตฺถิ รูป อนุปาทนิ นฺ ํ.
รปู เปน อปุ าทนิ นะ รูปเปนอนุปาทินนะ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๕

อตถฺ ิ รปู  อุปาทนิ นฺ ุปาทานยิ ํ อตถฺ ิ รปู  อนปุ าทินฺนุปาทานยิ ํ.
รูปเปนอุปาทนิ นปุ าทานยิ ะ รูปเปนอนปุ าทินนปุ าทานยิ ะ
อตถฺ ิ รปู  สนทิ สฺสนํ อตถฺ ิ รปู  อนทิ สสฺ นํ.
รูปเปนสนทิ สั สนะ รปู เปน อนิทัสสนะ
อตฺถิ รปู  สปฺปฏิฆํ อตถฺ ิ รูป อปฺปฏิฆํ.
รูปเปน สัปปฏฆิ ะ รูปเปน อปั ปฏิฆะ
อตฺถิ รปู  อินฺทฺรยิ ํ อตถฺ ิ รปู  น อนิ ฺทรฺ ยิ .ํ
รปู เปน อินทรยี  รปู ไมเ ปน อินทรยี 
อตฺถิ รปู  มหาภูตํ อตถฺ ิ รปู  น มหาภูต.ํ
รูปเปน มหาภูต รปู ไมเ ปนมหาภูต
อตฺถิ รปู  วิ ญฺ ตตฺ ิ อตถฺ ิ รปู  น วิ ญฺ ตฺต.ิ
รปู เปน วญิ ญัตติ รปู ไมเปน วญิ ญตั ติ
อตถฺ ิ รปู  จติ ฺตสมฏุ ฐานํ อตถฺ ิ รูป น จิตตฺ สมฏุ ฐานํ.
รูปเปนจิตตสมุฏฐาน รูปไมเ ปน จิตตสมฏุ ฐาน
อตถฺ ิ รปู  จิตตฺ สหภุ อตฺถิ รปู  น จติ ฺตสหภุ.
รปู เปน จิตตสหภู รปู ไมเปนจิตตสหภู
อตถฺ ิ รปู  จิตฺตานปุ รวิ ตฺติ อตถฺ ิ รปู  น จิตตฺ านุปริวตฺติ.
รูปเปน จติ ตานปุ รวิ ัตติ รปู ไมเปน จติ ตานุปริวตั ติ
อตฺถิ รปู  อชฌฺ ตตฺ ิกํ อตฺถิ รูป พาหิร.ํ
รปู เปนอัชมตั ติกะ รปู เปน พาหิระ
อตฺถิ รปู  โอฬารกิ ํ อตถฺ ิ รูป สุขุม.ํ
รปู เปน โอฬาริกะ รปู เปนสขุ มุ ะ
อตฺถิ รปู  ทเู ร อตฺถิ รปู  สนฺติเก ฯเปฯ
รูปเปนทูเร รปู เปนสันตเิ ก ฯลฯ
อตฺถิ รปู  กพกึ าโร อาหาโร อตฺถิ รูป น กพึกาโร อาหาโร.
รปู เปนกวิงการาหาร รปู ไมเปนกวิงการาหาร
เอวํ ทุวเิ ธน รูปกฺขนโฺ ธ.
รูปขันธหมวดละ ๒ ดว ยประการฉะนี้
[๓๕] ตวิ เิ ธน รปู กขฺ นฺโธ ยนฺตํ รูป อชณฺ ตตฺ กิ ํ ตํ อุปาทา ยนตฺ ํ รูป พาหิรํ ตํ อตถฺ ิ อปุ าทา อตฺถิ อนุปาทา.
[๓๕] รปู ขนั ธห มวดละ ๓ คอื อชั มตั ตกิ รูปเปน อปุ าทา พาหิรรปู เปนอุปาทา พาหิรรูป เปน อนปุ าทา

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๖

ยนตฺ ํ รปู  อชฺฌตตฺ ิกํ ตํ อปุ าทนิ นฺ ํ ยนตฺ ํ รปู  พาหิรํ ตํ อตถฺ ิ อปุ าทินฺนํ อตฺถิ อนปุ าทนิ ฺนํ.
อชั ณตั ติกรปู เปนอปุ าทินนะ พาหิรรูปเปน อปุ าทนิ นะ พาหิรรูปเปนอนปุ าทนิ นะ
ยนตฺ ํ รปู  อชฺฌตตฺ กิ ํ ตํ อปุ าทนิ นฺ ปุ าทานยิ ํ ยนฺตํ รูป พาหริ ํ ตํ อตถฺ ิ อปุ าทนิ ฺนุปาทานยิ ํ อตถฺ ิ อุปาทินฺ
นุปาทานิยํ ฯเปฯ
อัชมัตติกรูปเปนอุปาทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเปน อุปาทินนุปาทานิยะ พาหิรรูปเปน อนุปาทินนุปา
ทานียะ ฯลฯ
ยนฺตํ รูป อชฺฌตฺติกํ ตํ น กพึกาโร อาหาโร ยนฺตํ รูป พาหิรํ ตํ อตฺถิ กพึกาโร อาหาโร อตฺถิ
น กพกึ าโร อาหาโร เอวํ ตวิ เิ ธน รปู กขฺ นโฺ ธ.
อัชมัตติกรูปไมเปนกวิงการาหาร พาหิรรูปเปนกวิงการาหาร พาหิรรูปไมเปน กวิงการาหาร
รูปขันธห มวดละ ๓ ดว ยประการฉะน้ี
[๓๖] จตุพฺพิเธน รปู กขฺ นโฺ ธ ยนตฺ ํ รปู  อปุ าทา ตํ อตฺถิ อปุ าทินนฺ ํ อตถฺ ิ อนปุ าทนิ ฺนํ
[๓๖] รูปขนั ธห มวตละ ๔ คือ อปุ าทารูปเปนอุปาทนิ นะ อุปาทารปู เปนอนปุ าทินนะ
ยนฺตํ รูป อนปุ าทา ตํ อตถฺ ิ อปุ าทนิ นฺ ํ อตถฺ ิ อนปุ าทินฺนํ.
อนปุ าทารูปเปนอุปาทินนะ อนุปาทารูปเปนอนปุ าทนิ นะ
ยนฺตํ รูป อุปาทา ตํ อตถฺ ิ อปุ าทนิ ฺนุปาทานิยํ อตฺถิ อนุปาทนิ นฺ ุปาทานิยํ
อปุ าทารูปเปน อุปาทนิ นปุ าทานยิ ะ อุปาทารปู เปน อนุปาทินนุปาทานยิ ะ
ยนฺตํ รูป อนปุ าทา ตํ อตถฺ ิ อปุ าทินฺนุปาทานยิ ํ อตถฺ ิ อนปุ าทินฺนุปาทานยิ .ํ
อนปุ าทารูปเปนอปุ าทนิ นปุ าทานิยะ อนุปาทารูปเปน อนปุ าทนิ นปุ าทานิยะ
ยนฺตํ รปู  อปุ าทา ตํ อตถฺ ิ สปฺปฏิฆํ อตฺถิ อปปฺ ฏิฆํ
อปุ าทารปู เปนสัปปฏฆิ ะ อปุ าทารูปเปน อปั ปฏิฆะ
ยนตฺ ํ รปู  อนปุ าทา ตํ อตถฺ ิ สปฺปฏฆิ ํ อตถฺ ิ อปปฺ ฏฆิ ํ.
อนุปาทารปู เปนสัปปฏิฆะ อนุปาทารปู เปนอปั ปฏฆิ ะ
ยนฺตํ รปู  อุปาทา ตํ อตถฺ ิ โอฬาริกํ อตถฺ ิ สขุ มุ ํ
อปุ าทารปู เปนโอฬาริกะ อปุ าทารปู เปน สขุ ุมะ
ยนตฺ ํ รปู  อนปุ าทา ตํ อตถฺ ิ โอฬารกิ ํ อตถฺ ิ สขุ มุ ํ.
อนปุ าทารูปเปนโอฬารกิ ะ อนุปาทารปู เปน สขุ มุ ะ
ยนฺตํ รูป อุปาทา ตํ อตฺถิ ทูเร อตฺถิ สนตฺ ิเก
อปุ าทารูปเปนทูเร อุปาทารปู เปน สันติเก
ยนฺตํ รูป อนุปาทา ตํ อตถฺ ิ ทเู ร อตถฺ ิ สนตฺ ิเก ฯเปฯ
อนปุ าทารูปเปนทูเร อนปุ าทารูปเปน สนั ตเิ ก ฯลฯ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๗

ทฏิ ฐํ สุตํ มตุ ํ วิ ญฺ าตํ รปู  เอวํ จตพุ ฺพเิ ธน รูปกฺขนฺโธ.
ทฏิ ฐรูป สตู รปู มุดรูป วิญญาตรูป รูปขนั ธหมวดละ ๔ ดวยประการฉะน้ี

[๓๗] ปฺจวิเธน รูปกฺขนฺโธ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ยฺจ รูป อุปาทา เอวํ
ปจฺ วิเธน รปู กฺขนโฺ ธ.

[๓๗] รูปขันธหมวดละ ๕ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโย ธาตุ อุปาทารูป รปู ขันธหมวดละ ๕
ดว ยประการฉะนี้

[๓๘] ฉพพฺ เิ ธน รปู กขฺ นโฺ ธ จกฺขุวิฺเญยฺยํ รปู  โสตวิฺเญยฺยํ รูป ฆานวิ ฺเญยฺยํ รูป ชวิ ฺหาวิฺเญยฺยํ
รปู  กายวิ เฺ ญยฺยํ รปู  มโนวิฺเญยยฺ ํ รปู  เอวํ ฉพฺพเิ ธน รูปกขฺ นฺโธ.

[๓๘] รูปขันธหมวดละ ๖ คือ จักขวุ ิญเญยยรูป โสตวิญเญยยรปู ฆานวิญเญยยรูป ชิวหาวิญเญยยรูป
กายวิญเญยยรูป มโนวิญเญยยรปู รูปขนั ธห มวดละ ๖ ดวยประการฉะน้ี

[๓๙] สตฺตวิเธน รูปกฺขนฺโธ จกฺขุวิฺเญยฺยํ รูป ฯเปฯ มโนธาตุวิฺเญยฺยํ รูป มโนวิฺญาณธาตุ
วิ ฺเญยฺยํ รปู  เอวํ สตฺตวิเธน รปู กขฺ นฺโธ.

[๓๙] รูปขันธห มวดละ ๗ คือ จักขุวิญเญยยรปู ฯลฯ มโนธาตุวิญเญยยรูป มโนวิญญาณ ธาตวุ ิญเญยย
รูป รูปขันธห มวดละ ๗ ดวยประการฉะนี้

[๔๐] อฐวิเธน รูปกฺขนฺโธ จกฺขุวิฺเญยฺยํ รูปฯเปฯ กายวิฺเญยฺยํ รูป อตฺถิ สุขสมฺผสฺสํ อตฺถิ
ทกุ ฺขสมฺผสสฺ ํ มโนธาตวุ ิ เฺ ญยฺยํ รูป มโนวิญฺ าณธาตวุ ิเฺ ญยฺยํ รูป เอวํ อฐวิเธน รูปกขฺ นโฺ ธ.

[๔๐] รูปขันธหมวดละ ๘ คือ จกั ขวุ ิญเญยยรปู ฯลฯ สขุ สัมผสั สกายวิญเญยยรูป ทกุ ขสัมผสั สกายวิญเญยย
รูป มโนธาตวุ ญิ เญยยรปู มโนวิญญาณธาตวุ ิญเญยยรูป รปู ขนั ธ หมวดละ ๘ ดว ยประการฉะน้ี

[๔๑] นววิเธน รูปกฺขนฺโธ จกฺขุนฺทฺริยํ โสตินฺทฺริยํ ฆานินฺทฺริยํ ชิวฺหินฺทฺริยํ กายินฺทฺริยํ อิตถินฺทฺริยํ
ปรุ สิ นิ ฺทฺริยํ ชวี ติ นิ ฺทฺรยิ ํ ยจฺ รูป น อินฺทรฺ ยิ ํ เอวํ นววิเธน รูปกฺขนโฺ ธ.

[๔๑] รูปขันธหมวดละ ๙ คือ จักขุนทรีย โสตินทรีย ฆานินทรีย ชิวหินทรีย กายินทรีย อิตถินทรีย
ปุริสินทรยี  ชีวติ ินทรีย รปู ไมเปนอนิ ทรยี รูปขันธหมวดละ ๙ ดว ยประการฉะน้ี

[๔๒] ทสวิเธน รูปกฺขนฺโธ จกฺขนุ ฺทฺริยํ ฯเปฯ ชีวติ ินฺทฺริยํ น อนิ ฺทฺริยํ รูปํ อตฺถิ สปฺปฏิฆํ อตฺถิ อปฺปฏิฆํ
เอวํ ทสวเิ ธน รปู กฺขนโฺ ธ.

[๔๒] รูปขันธหมวดละ ๑๐ คือ จักขุนทรียฯลฯ ชีวิตินทรีย รูปไมเปนอินทรียเปน สัปปฏิฆะ รูปไมเปน
อนิ ทรยี เปนอปั ปฏิฆะ รูปขนั ธหมวดละ ๑๐ ดว ยประการฉะน้ี

[๔๓] เอกาทสวิเธน รูปกฺขนฺโธ จกฺขายตนํ โสตายตนํ ฆานายตนํ ชิวฺหายตนํ กายายตนํ รูปายตนํ
สทฺทายตนํ คนฺธายตนํ รสายตนํ โผฐพฺพายตนํ ยฺจ รูป อนิทสฺสนํ อปฺปฏิฆํ ธมฺมายตนปริยาปนฺนํ เอวํ
เอกาทสวิเธน รปู กขฺ นฺโธ.

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๘

[๔๓] รปู ขนั ธหมวดละ ๑๑ คือ จักขายตนะ โสตายตนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ กายายตนะ รูปายตนะ

สัททายตนะ คันธายตนะ รสายตนะ โผฏฐัพพายตนะ และรูปที่เห็น ไมไดกระทบไมได นับเนื่องในธัมมายตนะ
รูปขนั ธหมวดละ ๑๑ ดว ยประการฉะน้ี

อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนโฺ ธ. สภาวธรรมน้ีเรียกวา รปู ขันธ

๒. เวทนากฺขนโธ

๒. เวทนาขนั ธ

ตตฺถ กตโม เวทนากฺขนโฺ ธ เวทนาขนั ธ เปน ไฉน

[ทุกมูลกวาร]

[๔๔] เอกวิเธน เวทนากขฺ นโฺ ธ ผสฺสสมฺปยุตโฺ ต.
[๔๔] เวทนาขันธห มวดละ ๑ คอื เวทนาขนั ธเปน ผสั สสมั ปยุต

ทวเิ ธน เวทนากขฺ นโฺ ธ อตฺถิ สเหตโุ ก อตถฺ ิ อเหตโุ ก.
เวทนาขันธหมวดละ ๒ คอื เวทนาขนั ธเ ปนสเหตุกะ เปนอเหตุกะ

ติวิเธน เวทนากขฺ นฺโธ อตถฺ ิ กสุ โล อตถฺ ิ อกุสโล อตถฺ ิ อพยฺ ากโต.
เวทนาขันธหมวดละ ๓ คือ เวทนาขนั ธเ ปนกุศล เปน อกศุ ล เปน อัพยากฤต

จตพุ ฺพเิ ธน เวทนากฺขนฺโธ อตถฺ ิ กามาวจโร อตฺถิ รูปาวจโร อตถฺ ิ อรปู าวจโร อตฺถิ อปุ ริยาปนฺโน.
เวทนาขนั ธห มวดละ ๔ คอื เวทนาขันธเ ปนกามาวจร เปนรูปาวจร เปนอรูปาวจร เปนอปริยาปน นะ

ปจฺ วเิ ธน เวทนากฺขนโฺ ธ อตถฺ ิ สุขนิ ฺทฺรยิ ํ อตฺถิ ทกุ ขฺ ินทฺ ฺรยิ ํ อตถฺ ิ โสมนสฺสินฺทฺริยํ อตฺถิ โทมนสฺสินฺทฺริยํ
อตฺถิ อเุ ปกฺขนิ ทฺ ฺรยิ ํ.

เวทนาขันธหมวดละ ๕ คือ เวทนาขันธเปนสุขินทรีย เปนทุกขินทรียเปนโสมนัสสินทรีย เปนโทมนัส-
สนิ ทรยี  เปนอเุ ปกขนิ ทรยี 

ฉพฺพิเธน เวทนากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา เวทนา โสตสมฺผสฺสชา เวทนา ฆานสมฺผสฺสชา เวทนา
ชิวฺหาสมผฺ สฺสชา เวทนา กายสมผฺ สสฺ ชา เวทนา มโนสมผฺ สฺสชา เวทนา เอวํ ฉพพฺ ิเธน เวทนากฺขนโฺ ธ.

เวทนาขันธหมวดละ ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัส สชาเวทนา ชิวหา
สมั ผัสสชาเวทนา กายสมั ผสั สชาเวทนา มโนสมั ผัสสชาเวทนา เวทนาขนั ธ หมวดละ ๖ ดว ยประการฉะน้ี

สตฺตวิเธน เวทนากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา เวทนา มโนธาตุสมฺผสฺสชา
เวทนา มโนวิญญาณธาตสุ มฺผสฺสชา เวทนา เอวํ สตฺตวิเธน เวทนากขฺ นฺโธ.

เวทนาขันธหมวดละ ๗ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุ สัมผัสสชาเวทนา
มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา เวทนาขนั ธห มวดละ ๗ ดว ยประการฉะน้ี

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๗๙

อฐวเิ ธน เวทนากฺขนฺโธ จกฺขสุ มฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา เวทนา อตฺถิ สุขา อตฺถิ ทุกฺขา
มโนธาตสุ มผฺ สสฺ ชา เวทนา มโนวิฺญาณธาตสุ มผฺ สฺสชา เวทนา เอวํ อฐ วิเธน เวทนากขฺ นฺโธ.

เวทนาขนั ธห มวดละ ๘ คือ จักขสุ มั ผัสสชาเวทนา ฯลฯ สขุ กายสัมผสั สชาเวทนา ทกุ ขกายสัมผัสสชาเวทนา
มโนธาตุสมั ผสั สชาเวทนา มโนวิญญานธาตุสมั ผสั สชาเวทนา เวทนา ขนั ธหมวดละ ๘ ดว ยประการฉะนี้

นววเิ ธน เวทนากขฺ นฺโธ จกฺขสุ มผฺ สสฺ ชา เวทนา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา เวทนา มโนธาตสุ มผฺ สสฺ ชา เวทนา
มโนวิญญาณธาตุสมฺผสสฺ ชา เวทนา อตถฺ ิ กสุ ลา อตฺถิ อกสุ ลา อตถฺ ิ อพยฺ ากตา เอวํ นววเิ ธน เวทนากขฺ นฺโธ.

เวทนาขันธหมวดละ ๙ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ กายสัมผัสสชาเวทนา มโนธาตุสัมผัสสชา
เวทนา กุสลมโนวิญญาณธาตสุ มั ผัสสชาเวทนา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผสั สซาเวทนา อพั ยากตมโนวิญญาณ
ธาตุสมั ผสั สชาเวทนา เวทนาขนั ธหมวดละ ๙ ดวยประการฉะนี้

ทสวิเธน เวทนากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา เวทนา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา เวทนา อตฺถิ สุขา อตฺถิ
ทุกฺขา มโนธาตุสมฺผสฺสชา เวทนา มโนวิฺญาณธาตุสมฺผสฺสชา เวทนา อตฺถิ กุสลา อตฺถิ อกุสลา อตฺถิ
อพฺยากตา เอวํ ทสวิเธน เวทนากฺขนฺโธ.

เวทนาขนั ธห มวดละ ๑๐ คือ จักขุสัมผัสสชาเวทนา ฯลฯ สุขกายสมั ผัสสชาเวทนา ทุกขกายสัมผัสสชา
เวทนา มโนธาตุสัมผัสสชาเวทนา กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเวทนา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชา
เวทนา อัพยากตมโนวิญญาณธาตสุ ัมผสั สชาเวทนา เวทนา ขนั ธหมวดละ ๑๐ ดวยประการฉะน้ี

[๔๕] เอกวิเธน เวทนากฺขนฺโธ ผสฺสสมฺปยตุ โฺ ต.
[๔๕] เวทนาขันธห มวดละ ๑ คือ เวทนาขันธเปนสัมผสั สสัมปยตุ .
ทุวเิ ธน เวทนากขฺ นฺโธ อตถฺ ิ สเหตโุ ก อตถฺ ิ อเหตโุ ก.
เวทนาขนั ธห มวดละ ๒ คอื เวทนาขนั ธเ ปน สเหตุกะ เปน อเหตกุ ะ.
ตวิ เิ ธน เวทนากขฺ นโฺ ธ อตถฺ ิ วปิ าโก อตถฺ ิ วปิ ากธมฺมธมโฺ ม อตถฺ ิ เนววปิ ากน วิปากธมมฺ ธมฺโม
เวทนาขันธหมวดละ ๓ คอื เวทนาขันธเ ปนวบิ ากเปนวปิ ากธัมมธรรม เปน เนววบิ ากนวิปากธัมมธรรม
อตถฺ ิ อุปาทนิ นฺ ปุ าทานิโย อตฺถิ อนุปาทินนฺ ปุ าทานโิ ย อตฺถิ อนปุ าทนิ นฺ านุปาทานิโย
เวทนาขันธเ ปนอปุ าทินนุปาทานิยะ เปน อนุปาทินนปุ าทานิยะ เปน อนปุ าทนิ นานปุ าทานิยะ
อตถฺ ิ สงฺกิลิฐสงฺกิเลสิโก อตถฺ ิ อสงกฺ ลิ ิฐสงกฺ เิ ลสิโก อตฺถิ อสงฺกลิ ิ ฐ าสงกฺ ิเลสิโก
เวทนาขันธเปนสังกลิ ฏิ ฐสังกิเลสกิ ะ เปน อสังกิสฏิ ฐสงั กเิ ลสกิ ะ เปน อสังกสิ ฏิ ฐาสงั กิเลสกิ ะ
อตฺถิ สวิตกกฺ สวิจาโร อตถฺ ิ อวติ กกฺ วจิ ารมตโฺ ต อตฺถิ อวิตกกฺ าวจิ าโร
เวทนาขันธเปน สวติ ักกสวิจาระ เปนอวิตกั กวิจารมัตตะ เปนอวติ กการวิจาระ
อตถฺ ิ ทสฺสเนน ปหาตพโฺ พ
เวทนาขันธเ ปนทัสสนปหาตพั พะ
อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพฺโพ
เปน ภาวนาปหาตัพพะ

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๐

อตถฺ ิ เนว ทสสฺ เนน น ภาวนาย ปหาตพฺโพ
เปนเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ
อตถฺ ิ ทสฺสเนน ปหาตพพฺ เหตโุ ก
เวทนาขนั ธเ ปน ทัสสนปหาตัพพเหตุกะ
อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตุโก
เปน ภาวนาปหาตัพพเหตกุ ะ
อตฺถิ เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตุโก
เปนเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ
อตถฺ ิ อาจยคามิ อตฺถิ อปจยคามี อตถฺ ิ เนวาจยคามินาปจยคามิ
เวทนาขนั ธเ ปนอาจยคามี เปน อปจยคามี เปน เนวาจยคามีนาปจยคามี
อตถฺ ิ เสกฺโข อตถฺ ิ อเสกโฺ ข อตฺถิ เนวเสกฺโขนาเสกฺโข
เวทนาขนั ธเ ปน เสกขะ เปน อเสกขะ เปนเนวเสกขนาเสกขะ
อตถฺ ิ ปริตฺโต อตถฺ ิ มหคุคโต อตถฺ ิ อปฺปมาโณ
เวทนาขนั ธเปน ปรติ ตะ เปน มหคั คตะ เปน อปั ปมาณะ
อตถิ ปรติ ตารมมุ โณ อตถฺ ิ มหตคุ ตารมมุ โณ อตถฺ ิ อปปมาการมมุ โณ
เวทนาขนั ธ เปน ปรติ ตารมั มณะ เปน มหคั คตามมณะ เปน อปั ปมาณารัมมณะ
อตถิ หีโน อตถิ มชฺฌิโม อตถิ ปณีโต
เวทนาขันธเปน หนี ะ เปน มชั ฌิมะ เปนปณตี ะ
อตถิ มจิ ฺฉตฺตนิยโต อตถิ สมมฺ ตตฺ นยิ โต อตถิ อนยิ โต
เวทนาขนั ธ เปน มจิ ฉตั ตนยิ ตะ เปน สมั มตั ตนยิ ตะ เปน อนิยตะ
อตถิ มคฺคารมมฺ โณ อตถิ มคฺคเหตโุ ก อตถิ มคฺคาธปิ ติ
เวทนาขันธเ ปนมัคคารมั มณะ เปนมคั คเหตกุ ะ เปน มคั คาธปิ ติ
อตถิ อปุ ปฺ นฺโน อตถิ อนุปปฺ นฺโน อตถิ อุปฺปาที
เวทนาขนั ธเปนอปุ ปน นะ เปน อนปุ ปน นะ เปน อปุ ปาที
อตถิ อตีโต อตถิ อนาคโต อตถิ ปจจฺ ุปฺปนฺโน
เวทนาขนั ธเปนอดตี เปน อนาคต เปน ปจ จุบัน
อตถิ อตตี ารมมฺ โณ อตถิ อนาคตารมฺมโณ อตถิ ปจจฺ ุปฺปนฺนารมฺมโณ
เวทนาขันธเปนอตีตารัมมณะ เปน อนาคตารมั มณะ เปน ปจจปุ ปนนารัมมณะ
อตถิ อชฺฌตโฺ ต อตถิ พหทิ โฺ ธ อตถิ อชฺฌตตฺ พหิทฺโธ
เวทนาขนั ธเปนอัชมัตตะ เปน พหิทธา เปนอชั ญตั ตพิ หทิ ธา

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๑

อตถิ อชฌฺ ตฺตารมมฺ โณ อตถิ พหทิ ธฺ ารมฺมโน อตถิ อชฺฌตฺตพหิทฺธารมฺมโณ ฯเปฯ
เวทนาขนั ธเปน อัชฌัตตารมั มณะ เปนพหิทธารัมมณะ เปน อชั ญัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ
เอวํ ทสวเิ ธน เวทนากขฺ นโฺ ธ.
เวทนาขนั ธหมวดละ ๑๐ ดวยประการฉะน้ี
[๔๖] เอกวิเธน เวทนากฺขนโฺ ธ ผสสฺ สมปฺ ยตุ ฺโต.
[๔๖] เวทนาขันธหมวดละ ๑ คอื เวทนาขนั ธเปน ผัสสสัมปยตุ .
ทวิเธน เวทนากขฺ นฺโธ อตถิ เหตสุ มปฺ ยตุ ฺโต อตถิ เหตวุ ิปปฺ ยตุ ฺโต
เวทนาขันธหมวดละ ๒ คอื เวทนาขันธเปนเหตุสัมปยุต เปนเหตวุ ปิ ปยตุ
อตฺถิ น เหตุ สเหตโุ ก อตถฺ ิ น เหตุ อเหตุโก
เวทนาขนั ธเ ปนนเหตุสเหตกุ ะ เปนนเหตอุ เหตุกะ
อตถฺ ิ โลกิโย อตฺถิ โลกุตฺตโร
เวทนาขันธเปนโลกียะ เปนโลกุตตระ
อตฺถิ เกนจิ วิ เฺ ญยฺโย อตถฺ ิ เกนจิ น วิ ฺเญยฺโย
เวทนาขันธเ ปน เกนจวิ ญิ เญยยะ เปนเกนจิ นวิญเญยยะ
อตฺถิ สาสโว อตฺถิ อนาสโว
เวทนาขันธเปนสาสวะ เปน อนาสวะ
อตถฺ ิ อาสวสมปฺ ยตุ ฺโต อตฺถิ อาสววิปฺปยตุ โฺ ต
เวทนาขนั ธเ ปนอาสวสมั ปยุต เปน อาสววปิ ปยตุ
อตฺถิ อาสววปิ ปฺ ยุตฺตสาสโว อตฺถิ อาสววปิ ปฺ ยุตฺตอนาสโว
เวทนาขันธเปน อาสววิปปยตุ ตสาสวะ เปน อาสววปิ ปยตุ ตอนาสวะ
อตฺถิ สโฺ ญชนโิ ย อตถฺ ิ อสโฺ ญชนโิ ย
เวทนาขนั ธเปน สญั โญชนยิ ะ เปน อสญั โญชนยิ ะ
อตถฺ ิ สฺโญชนสมฺปยุตฺโต อตฺถิ สโฺ ญชนวปิ ปฺ ยตุ ฺโต
เวทนาขนั ธเปน สญั โญชนสมั ปยตุ เปน สญั โญชนวปิ ปยุต
อตถฺ ิ สฺโญชนวปิ ฺปยตุ ฺตสโฺ ญชนโิ ย อตถฺ ิ สฺโญชนวปิ ฺปยตุ ฺตอสฺโญชนโิ ย
เวทนาขนั ธเ ปน สญั โญชนวิปปยุตตสญั โญชนียะ เปน สญั โญชนวิปปยตุ ตอสัญโญชนิยะ
อตฺถิ คนฺถนโิ ย อตถฺ ิ อคนถฺ นิโย
เวทนาขันธเ ปน คนั ถนยิ ะ เปนอคนั ถนิยะ
อตฺถิ คนถฺ สมปฺ ยุตฺโต อตฺถิ คนถฺ วิปปฺ ยตุ ฺโต
เวทนาขันธเปน คนั ถสัมปยตุ เปนคันถวิปปยุต

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๒

อตถฺ ิ คนถฺ วปิ ปฺ ยตุ ฺตคนถฺ นิโย อตฺถิ คนถฺ วิปปฺ ยตุ ฺตอคนถฺ นโิ ย
เวทนาขันธเ ปน คนั ถวปิ ปยตุ ตคนั ถนยิ ะ เปนคันถวิปปยุตตอคันถนยิ ะ
อตถฺ ิ โอฆนโิ ย อตฺถิ อโนฆนโิ ย
เวทนาขันธเ ปนโอฆนิยะ เปน อโนฆนิยะ
อตถฺ ิ โอฆสมฺปยตุ ฺโต อตฺถิ โอฆวปิ ปฺ ยตุ ฺโต
เวทนาขันธเปนโอฆสมั ปยุต เปน โอฆวิปปยุต
อตฺถิ โอฆวิปปฺ ยตุ ฺตโอมนิโย อตฺถิ โอฆวปิ ฺปยุตฺตอโนมนิโย
เวทนาขนั ธเปนโอฆวปิ ปยุตตโอฆนิยะ เปน โอฆวิปปยตุ ตอโนฆนยิ ะ
อตฺถิ โยคนิโย อตฺถิ อโยคนโิ ย
เวทนาขนั ธเปน โยคนิยะ เปนอโยคนยิ ะ
อตถฺ ิ โยคสมปฺ ยุตฺโต อตถฺ ิ โยควปิ ฺปยตุ ฺโต
เวทนาขันธเ ปน โยคสมั ปยตุ เปน โยควปิ ปยตุ
อตฺถิ โยควิปฺปยตุ ฺตโยคนโิ ย อตฺถิ โยควิปปฺ ยตุ ฺตอโยคนโิ ย
เวทนาขันธเปน โยควปิ ปยตุ ตโยคนิยะ เปน โยควิปปยุตตอโยคนิยะ
อตถฺ ิ นีวรณโิ ย อตถฺ ิ อนวี รณโิ ย
เวทนาขนั ธเ ปนนวี รณยิ ะ เปนอนีวรณยิ ะ
อตฺถิ นวี รณสมปฺ ยตุ ฺโต อตฺถิ นวี รณวิปปฺ ยตุ ฺโต
เวทนาขนั ธเปน นวี รณสัมปยุต เปน นวี รณวปิ ปยตุ
อตฺถิ นวี รณวิปปฺ ยตุ ฺตนีวรณิโย อตถฺ ิ นีวรณวิปปฺ ยุตตฺ อนวี รณิโย
เวทนาขันธเ ปน นวี รณวิปปยุตตนีวรณิยะ เปน นวี รณวิปปยตุ ตอนวี รณยิ ะ
อตถฺ ิ ปรามโฐ อตฺถิ อปรามโฐ
เวทนาขนั ธเ ปน ปรามฏั ฐะ เปน อปรามัฏฐะ
อตฺถิ ปรามาสสมฺปยุตฺโต อตฺถิ ปรามาสวิปปฺ ยุตฺโต
เวทนาขันธเปนปรามาสสมั ปยุต เปนปรามาสวปิ ปยตุ
อตฺถิ ปรามาสวิปฺปยตุ ฺตปรามโฐ อตฺถิ ปรามาสวปิ ปฺ ยตุ ฺตอปรามโ ฐ
เวทนาขนั ธเปน ปรามาสวิปปยตุ ตปรามฏั ฐะ เปนปรามาสวปิ ปยตุ ตอปรามฏั ฐะ
อตฺถิ อุปาทนิ โฺ น อตถฺ ิ อนปุ าทินฺโน
เวทนาขนั ธเ ปน อปุ าทนิ นะ เปน อนุปาทนิ นะ
อตถฺ ิ อปุ าทานโิ ย อตถฺ ิ อนุปาทานโิ ย
เวทนาขันธเ ปนอุปาทานิยะ เปน อนปุ าทานยิ ะ

สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๓

อตถฺ ิ อุปาทานสมฺปยุตฺโต อตฺถิ อปุ าทานวิปปฺ ยุตโฺ ต
เวทนาขนั ธเ ปนอปุ าทานสัมปยุต เปน อุปาทานวิปปยุต
อตถฺ ิ อปุ าทานวปิ ฺปยุตฺตอปุ าทานิโย อตฺถิ อุปาทานวิปฺปยุตฺตอนุปาทานโิ ย
เวทนาขนั ธเ ปนอุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยะ เปน อุปาทานวิปปยุตตอนปุ าทานยิ ะ
อตฺถิ สงฺกิเลสิโก อตฺถิ อสงกฺ ิเลสิโก
เวทนาขนั ธเปนสงั กเิ ลสกิ ะ เปนอสังกิเลสิกะ
อตฺถิ สงฺกลิ โ ฐ อตถฺ ิ อสงฺกลิ โ ฐ
เวทนาขนั ธเ ปน สังกิลฎิ ฐะ เปน อสงั กสิ ิฏฐะ
อตฺถิ กิเลสสมปฺ ยตุ ฺโต อตฺถิ กเิ ลสวิปฺปยตุ โฺ ต
เวทนาขนั ธเปน กเิ ลสสมั ปยุต เปนกเิ ลสวิปปยุต
อตถฺ ิ กิเลสวปิ ปฺ ยุตฺตสงฺกเิ ลสิโก อตฺถิ กเิ ลสวปิ ปฺ ยตุ ฺตอสงกฺ เิ ลสิโก
เวทนาขนั ธเปน กเิ ลสวิปปยุตตสังกเิ ลสกิ ะ เปนกเิ ลสวปิ ปยตุ ตอสังกิเลสิกะ
อตถฺ ิ ทสฺสเนน ปหาตพฺโพ อตถฺ ิ น ทสฺสเนน ปหาตพฺโพ
เวทนาขนั ธเ ปนทสั สนปหาตัพพะ เปนนทสั สนปหาตพั พะ
อตถฺ ิ ภาวนาย ปหาตพฺโพ อตฺถิ น ภาวนาย ปหาตพฺโพ
เวทนาขนั ธเ ปนภาวนาปหาตพั พะ เปน นภาวนาปหาตพั พะ
อตถฺ ิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺพเหตโุ ก อตถฺ ิ น ทสสฺ เนน ปหาตพฺพเหตโุ ก
เวทนาขนั ธเ ปน ทสั สนปหาตพั พเหตกุ ะ เปนนทสั สนปหาตพั พเหตุกะ
อตถฺ ิ ภาวนาย ปหาตพฺพเหตโุ ก อตฺถิ น ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตโุ ก
เวทนาขันธเปน ภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เปนนภาวนาปหาตัพพเหตกุ ะ
อตฺถิ สวิตกฺโก อตฺถิ อวิตกโฺ ก
เวทนาขนั ธเปน สวิตกั กะ เปนอวิตกั กะ
อตฺถิ สวจิ าโร อตถฺ ิ อวจิ าโร
เวทนาขนั ธ เปน สวิจาระ เปนอวิจาระ
อตถฺ ิ สปฺปต โิ ก อตฺถิ อปปฺ ต ิโก
เวทนาขนั ธเปน สปั ปต กิ ะ เปน อปั ปติกะ
อตถฺ ิ ปตสิ หคโต อตถฺ ิ น ปตสิ หคโต
เวทนาขนั ธเ ปน ปต สิ หคตะ เปน น ปต ิสหคตะ
อตถฺ ิ กามาวจโร อตถฺ ิ น กามาวจโร
เวทนาขนั ธเปนกามาวจร เปน น กามาวจร

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๔

อตฺถิ รูปาวจโร อตฺถิ น รปู าวจโร
เวทนาขนั ธเปน รปู าวจร เปน น รปู าวจร
อตถฺ ิ อรปู าวจโร อตฺถิ น อรปู าวจโร
เวทนาขนั ธเปน อรปู าวจร เปน น อรปู าวจร
อตถฺ ิ ปริยาปนฺโน อตถฺ ิ อปรยิ าปนโฺ น
เวทนาขันธเ ปนปรยิ าปน นะ เปน อปริยาปนนะ
อตถฺ ิ นยิ ฺยานโิ ก อตถฺ ิ อนิยฺยานิโก
เวทนาขันธเปนนิยยานกิ ะ เปนอนิยยานิกะ
อตถฺ ิ นยิ โต อตฺถิ อนิยโต
เวทนาขันธเปน นิยตะ เปน อนิยต
อตถฺ ิ สอุตตฺ โร อตฺถิ อนุตฺตโร
เวทนาขนั ธเ ปนสอุตตระ เปน อนุตตระ
อตฺถิ สรโณ อตถฺ ิ อรโณ.
เวทนาขันธเ ปนสรณะ เปนอรณะ
ติวเิ ธน เวทนากขฺ นโฺ ธ อตฺถิ กสุ โล อตฺถิ อกุสโล อตถฺ ิ อพฺยากโต ฯเปฯ
เวทนาขันธห มวดละ ๓ คอื เวทนาขนั ธเ ปนกุศล เปน อกศุ ล เปนอัพยากฤตฯลฯ
เอว ทสวิเธน เวทนากฺขนฺโธ.
เวทนาขันธห มวดละ ๑๐ ดวยประการฉะนี้
[๔๗] เอกวเิ ธน เวทนากขฺ นโฺ ธ ผสสฺ สมปฺ ยตุ ฺโต.
[๔๗] เวทนาขันธหมวดละ ๑ คอื เวทนาขันธเ ปนผสั สสัมปยตุ .
ทุวเิ ธน เวทนากฺขนฺโธ อตถฺ ิ สรโน อตถฺ ิ อรโณ.
เวทนาขนั ธห มวดละ ๒ คอื เวทนาขนั ธเปน สรณะ เปนอรณะ
ติวิเธน เวทนากขฺ นฺโธ อตฺถิ วปิ าโก อตฺถิ วิปากธมฺมธมฺโม อตฺถิ เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺโม อตฺถิ
อปุ าทนิ ฺนปุ าทานโิ ย ฯเปฯ
เวทนาขนั ธหมวดละ ๓ คอื เวทนาขนั ธเ ปนวิบาก เปนวิปากธัมมธรรม เปนเนววปิ ากนวปิ ากธมั มธรรมฯลฯ
อตฺถิ อชฺฌตฺตารมฺมโณ อตฺถิ พหิทฺธารมฺมโณ อตฺถิ อชฺฌตฺตพหิทฺธาร มฺมโณ ฯเปฯ เอวํ ทสวีเธน
เวทนากฺขนโฺ ธ.
เวทนาขันธเปนอัชฌัตตารัมมณะ เปนพหิทธารัมมณะ เปนอัชมัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ เวทนาขนั ธ
หมวดละ ๑๐ ดวยประการฉะน้ี

ทกุ มูลกํ.
ทุกมลู กวาร จบ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๕

๓. สญฺ ากฺขนโฺ ธ

๓. สัญญาขันธ

ตตฺถ กตโม สฺญากฺขนโฺ ธ สญั ญาขันธ เปนไฉน

[ทุกมลู กวาร]

[๕๔] เอกวเิ ธน สญฺ ากขฺ นโฺ ธ ผสสฺ สมฺปยุตฺโต.
[๕๔] สญั ญาขันธหมวดละ ๑ คือ สญั ญาขนั ธเ ปน ผัสสสัมปยุต

ทุวเิ ธน สญฺ ากขฺ นโฺ ธ อตถฺ ิ สเหตุโก อตถฺ ิ อเหตโุ ก.
สญั ญาขนั ธหมวดละ ๒ คอื สญั ญาขันธเ ปนสเหตกุ ะ เปนอเหตกุ ะ

ติวเิ ธน สญฺ ากขฺ นฺโธ อตถฺ ิ กสุ โล อตถฺ ิ อกสุ โล อตฺถิ อพยฺ ากโต.
สญั ญาขันธห มวตละ ๓ คือ สญั ญาขันธเ ปน กศุ ล เปนอกศุ ล เปน อัพยากฤต

จตพุ ฺพิเธน สญฺ ากขฺ นโฺ ธ อตถฺ ิ กามาวจโร อตฺถิ รปู าวจโร อตถฺ ิ อรูปาวจโร อตถฺ ิ อปริยาปนฺโน.
สญั ญาขันธหมวดละ ๔ คือ สัญญาขนั ธเ ปน กามาวจร เปน รปู าวจร เปน อรูปาวจร เปนอปรยิ าปนนะ

ปฺจวิเธน สฺญากฺขนฺโธ อตฺถิ สุขินฺทฺรยิ สมฺปยตุ ฺโต อตฺถิ ทุกฺขินฺทฺริยสมฺปยุตฺโต อตฺถิ โสมนสสฺ ินฺ-

ทรฺ ิยสมฺปยุตฺโต อตถฺ ิ โทมนสฺสินทฺ ฺรยิ สมปฺ ยตุ โฺ ต อตฺถิ อเุ ปกขฺ นิ ฺทรฺ ิยสมฺปยุตโฺ ต.
สัญญาขันธหมวดละ ๕ คือ สัญญาขันธเ ปน สุขินทรยิ สัมปยตุ เปนทุกขินทริยสัมปยุต เปนโสมนัสสินท

รยิ สัมปยุต เปน โทมนสั สินทรยิ สัมปยตุ เปน อุเปกขนิ ทริยสัมปยตุ

ฉพฺพิเธน สฺญากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา สฺญา โสตสมฺผสฺสชา สฺญา ฆานสมฺผสฺสชา สฺญา
ชิวฺหาสมผฺ สฺสชา สญฺ า กายสมฺผสฺสชา สฺญา มโนสมผฺ สฺสชา สฺญา เอวํ ฉพฺพเิ ธน สฺญากขฺ นโฺ ธ.

สัญญาขันธหมวดละ ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชาสัญญา ฆานสัมผัสสชาสัญญา ซิวหา
สมั ผสั สชาสญั ญา กายสัมผสั สชาสญั ญา มโนสมั ผสั สชาสัญญา สญั ญาขันธ หมวดละ ๖ ดว ยประการฉะนี้

สตตฺ วเิ ธน สฺญากขฺ นโฺ ธ จกขฺ สุ มผฺ สฺสชา สฺญา ฯเปฯ กายสมฺผสสฺ ชา สฺญา มโนธาตสุ มผฺ สสฺ ชา
สฺญา มโนวิ ฺญาณธาตสุ มฺผสสฺ ชา สฺญา เอวํ สตฺตวิเธน สญฺ ากขฺ นฺโธ.

สญั ญาขนั ธหมวดละ ๗ คอื จกั ขสุ มั ผัสสชาสัญญาฯลฯ กายสมั ผสั สชาสญั ญา มโนธาตสุ มั ผสั สชาสญั ญา
มโนวญิ ญาณธาตุสัมผัสสชา สัญญาสญั ญาขันธหมวดละ ๗ ดวยประการ ฉะน้ี

อฐวิเธน สฺญากฺขนฺโธ จกฺขสุ มฺผสฺสชา สฺญา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา สฺญา อตถฺ ิ สุขสหศตา
อตฺถิ ทุกฺขสหคตา มโนธาตุสมฺผสฺสชา สฺญา มโนวิญญาณธาตุสมฺผสฺสชา สฺญา เอวํ อฐวิเธน
สฺญากฺขนโฺ ธ.

สัญญาขันธหมวดละ ๘ คือ จกั ขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ สขุ สหคตกายสัมผัสสชา สัญญา ทุกขสหคต

กายสัมผสั สชาสัญญา มโนธาตุสัมผัสสชาสัญญา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธหมวดละ ๘
ดวยประการฉะน้ี

สถาบันวปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๖

นววิเธน สฺญากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา สญฺ า ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา สญฺ า มโนธาตุสมฺผสฺสชา
สฺญา มโนวิฺญาณธาตุสมฺผสฺสชา สฺญา อตฺถิ กุสลา อตฺถิ อกุสลา อตฺถิ อพฺยากตา เอวํ นววิเธน
สญฺ ากฺขนโฺ ธ.

สญั ญาขันธหมวดละ ๙ คือ จกั ขุสมั ผัสสชาสัญญาฯลฯ กายสัมผัสสชาสัญญา มโนธาตุสมั ผัสสชาสญั ญา
กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสญั ญา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา อัพยากตมโนวิญญาณธาตุ
สมั ผสั สชาสัญญา สญั ญาขนั ธห มวดละ ๙ ดวยประการฉะน้ี

ทสวิเธน สฺญากฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา สฺญา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา สฺญา อตฺถิ สุขสหคตา
อตฺถิ ทุกฺขสหคตา มโนธาตุสมฺผสฺสชา สฺญา มโนวิฺญาณธาตุสมฺผสฺสชา สฺญา อตฺถิ กุสลา อตฺถิ
อกสุ ลา อตถฺ ิ อพยฺ ากตา

สัญญาขันธหมวดละ ๑๐ คือ จกั ขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ สุขสหคตกายสัมผสั สชา สญั ญา ทุกขสหคต
กายสัมผสั สชาสัญญา มโนธาตุสัมผัสสชาสัญญา กุสลมโนวิญญาณธาตสุ ัมผัสสชาสัญญา อกุสลมโนวญิ ญาณ
ธาตสุ มั ผัสสชาสัญญา อพั ยากตมโนวญิ ญาณธาตผุ สั สชาสัญญา

เอวํ ทสวเิ ธน สญฺ ากฺขนฺโธ.
สญั ญาขันธ หมวดละ ๑๐ ดว ยประการฉะน้ี

[๕๕] เอกวเิ ธน สญฺ ากขฺ นโฺ ธ ผสสฺ สมฺปยตุ ฺโต.
[๕๕] สัญญาขันธห มวดละ ๑ คือ สญั ญาขันธเ ปน ผัสสสมั ปยุต.

[๕๖] เอกวเิ ธน สฺญากฺขนฺโธ ผสสฺ สมปฺ ยุตฺโต.
[๕๖] สญั ญาขันธห มวดละ ๑ คอื สญั ญาขันธเปนผัสสสัมปยตุ

ทุวเิ ธน สฺญากฺขนโฺ ธ อตฺถิ สเหตุโก อตถฺ ิ อเหตุโก.
สญั ญาขนั ธห มวดละ ๒ คือ สญั ญาขนั ธเ ปนสเหตกุ ะ เปน อเหตกุ ะ

ติวิเธน สฺญากฺขนฺโธ อตฺถิ สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ
อทุกขฺ มสขุ าย เวทนาย สมฺปยุตฺโต ฯเปฯ

สัญญาขันธหมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธเปนสุขเวทนาสัมปยุต เปนทุกขเวทนาสัมปยุต เปน อทุกขมสุข
เวทนาสัมปยุต

อตฺถิ วิปาโก อตถฺ ิ วปิ ากธมฺมธมโฺ ม อตถฺ ิ เนววปิ ากนวิปากธมฺมธมฺโม
สญั ญาขันธเ ปนวบิ าก เปนวบิ ากธมั มธรรม เปน เนววปิ ากนวิปากธมั มธรรม

อตฺถิ อปุ าทนิ นฺ ปุ าทานิโย อตฺถิ อนุปาทินนฺ ปุ าทานโิ ย อตถฺ ิ อนุปาทินฺนานุปาทานโิ ย
สญั ญาขันธเ ปน อุปาทนิ นุปาทานิยะ เปน อนปุ าทนิ นปุ าทานยี ะ เปนอนุปาทนิ นานปุ าทานยะ

อตฺถิ สงฺกิลิฐสงกฺ ิเลสโิ ก อตถฺ ิ อสงฺกิลิฐสงฺกิเลสิโก อตถฺ ิ อสงฺกลิ ิฐ าสงฺกิเลสิโก
สญั ญาขันธเปนสงั กลิ ฏิ ฐสังกเิ ลสิกะ เปนอสังกิลิฎฐสังกเิ ลสิกะ เปนอสังกลิ ฏิ ฐาสังกเิ ลสิกะ

สถาบันวิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๗

อตถฺ ิ สวติ กฺกสวิจาโร อตถฺ ิ อวิตกฺกวจิ ารมตุโต อตฺถิ อวิตกกฺ าวจิ าโร
สญั ญาขันธเปน สวิตักกสวจิ าระ เปน อวติ กั กวจิ ารมัตตะ เปน อวติ กั กาวิจาระ
อตฺถิ ปติสหคโต อตถฺ ิ สุขสหคโต อตฺถิ อุเปกขฺ าสหคโต
สญั ญาขนั ธเ ปนปต สิ หคตะ เปน สขุ สหคตะ เปน อเุ ปกขาสหคตะ
อตถฺ ิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺโพ อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพฺโพ อตถฺ ิ เนวทสฺสเนน น ภาวนายปหาตพโฺ พ
สญั ญาขนั ธเปนทัสสนปหาตัพพะ เปนภาวนาปหาตพั พะ เปนเนวทสั สนนภาวนา ปหาตพั พะ
อตฺถิ ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุโก อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุโก อตฺถิ เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย
ปหาตพพฺ เหตโุ ก
สัญญาขันธเปนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เปนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เปนเนวทัสสนนภาวนา
ปหาตพั พเหตกุ ะ
อตฺถิ อาจยคาม อตถฺ ิ อปจยคามิ อตถฺ ิ เนวาจยตามนาปจยตาม
สญั ญาขันธเปน อาจยคามี เปน อปจยคามี เปนเนวาจยคามนิ าปจยคามี
อตถฺ ิ เสกฺขา อตฺถิ อเสกขฺ า อตฺถิ เนวเสกขฺ นาเสกขฺ า
สญั ญาขนั ธเปนเสกขะ เปนอเสกขะ เปนเนวเสกขนาเสกขะ
อตถฺ ิ ปรติ ฺโต อตถฺ ิ มหคฺคโต อตถฺ ิ อปฺปมาโณ
สญั ญาขันธเปน ปริตตะ เปน มหคั คตะ เปน อัปปมาณะ
อตฺถิ ปรติ ฺตารมมฺ โณ อตฺถิ มหคคุ ตารมฺมโณ อตฺถิ อปฺปมาณารมฺมโณ
สญั ญาขนั ธเปน ปรติ รตารมั มณะ เปนมหัคคตารัมมณะ เปนอัปปมาณารมั มณะ
อตฺถิ หโี น อตฺถิ มชฌฺ โิ ม อตถฺ ิ ปณโี ต
สญั ญาขันธเ ปน หนี ะ เปน มชั ฌิมะ เปนปณีตะ
อตถฺ ิ มิจฺฉตฺตนิยโต อตฺถิ สมฺมตตฺ นยิ โต อตถฺ ิ อนยิ โต
สญั ญาขันธเ ปน มจิ ฉตั ตนิยตะ เปนสัมมตั ตนยิ ตะ เปน อนยิ ตะ
อตถฺ ิ มคคฺ ารมมฺ โณ อตถฺ ิ มคคฺ เหตุโก อตถฺ ิ มคคฺ าธปิ ติ
สญั ญาขนั ธเ ปนมคั คารมั มณะ เปน มคั คเหตกุ ะ เปนมัคคาธิปติ
อตถฺ ิ อปุ ปฺ นฺโน อตฺถิ อนปุ ปฺ นฺโน อตถฺ ิ อปุ ปฺ าที
สญั ญาขนั ธเ ปน อุปปน นะ เปนอนุปปนนะ เปน อุปปาที
อตฺถิ อตโี ต อตถฺ ิ อนาคโต อตฺถิ ปจจฺ ุปฺปนฺโน
สญั ญาขนั ธเ ปนอดีต เปน อนาคต เปน ปจ จุบัน
อตฺถิ อตีตารมมฺ โณ อตถฺ ิ อนาคตารมฺมโณ อตถฺ ิ ปจจฺ ุปฺปนฺนารมฺมโณ
สญั ญาขนั ธเ ปน อตีตารัมมณะ เปนอนาคตามมณะ เปน ปจ จปุ ปนนารมั มณะ

สถาบนั วปิ สสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๘

อตฺถิ อชฺฌตฺโต อตฺถิ พหทิ โฺ ธ อตถฺ ิ อชฺฌตตฺ พหทิ ฺโธ
สญั ญาขันธเ ปน อัชญตั ตะ เปนพหิทธา เปน อชั ฌตั ตพหิทธา
อตถฺ ิ อชฌฺ ตฺตารมมฺ โณ อตฺถิ พหิทธฺ ารมฺมโณ อตฺถิ อชฌฺ ตฺตพหิทฺธารมฺมโณ ฯเปฯ
สญั ญาขันธเ ปนอัชฌัตตารัมมณะ เปน พหทิ ธารัมมณะ เปน อัชฌตั ตพหทิ ธารมั มะ ฯลฯ
เอวํ ทสวเิ ธน สญฺ ากขฺ นโฺ ธ.
สญั ญาขันธหมวดละ ๑๐ ดวยประการฉะน้ี
[๕๗] เอกวิเธน สญฺ ากฺขนโฺ ธ ผสสฺ สมฺปยุตฺโต
[๕๗] สัญญาขนั ธห มวดละ ๑ คือ สญั ญาขันธเ ปน ผัสสสมั ปยตุ .
ทุวเิ ธน สฺญากขฺ นโฺ ธ อตถฺ ิ เหตสุ มปฺ ยตุ ฺโต อตฺถิ เหตุวปิ ปฺ ยตุ ฺโต
สญั ญาขนั ธหมวดละ ๒ คอื สัญญาขนั ธเ ปนเหตสุ ัมปยตุ เปน เหตุวิปปยุต
อตฺถิ น เหตุ สเหตโุ ก อตถฺ ิ น เหตุ อเหตโุ ก
สญั ญาขนั ธเ ปน นเหตสุ เหตุกะ เปนเหตุอเหตกุ ะ
อตฺถิ โลกโิ ย อตถฺ ิ โลกุตตฺ โร
สญั ญาขันธเ ปนโลกยิ ะ เปน โลกุตตระ
อตถฺ ิ เกนจิ วิฺเญยฺโย อตถฺ ิ เกนจิ น วิฺเญยฺโย
สญั ญาขนั ธเ ปนเกนจิวญิ เญยยะ เปนเกนจนิ วญิ เญยยะ
อตถฺ ิ สาสโว อตถฺ ิ อนาสโว
สญั ญาขนั ธเ ปน สาสวะ เปน อนาสวะ
อตฺถิ อาสวสมฺปยตุ ฺโต อตฺถิ อาสววิปปฺ ยุตโฺ ต
สญั ญาขนั ธเ ปน อาสวสมั ปยุต เปนอาสววปิ ปยุต
อตฺถิ อาสววปิ ฺปยุตฺตสาสโว อตถฺ ิ อาสววิปปฺ ยตุ ฺตอนาสโว
สญั ญาขนั ธเปน อาสววิปปยุตสาสวะ เปนอาสววปิ ปยุตตอนาสวะ
อตถฺ ิ สโฺ ญชนโิ ย อตถฺ ิ อสฺโญชนโิ ย
สญั ญาขนั ธ เปน สัญโญชนยิ ะ เปน อสัญโญชนิยะ
อตถฺ ิ สฺโญชนสมฺปยุตฺโต อตฺถิ สโฺ ญชนวปิ ปฺ ยตุ ฺโต
สญั ญาขันธเปน สญั โญชนสมั ปยตุ เปนสัญโญชนวปิ ปยุต
อตถฺ ิ สฺโญชนวิปปฺ ยตุ ฺตสโฺ ญชนิโย อตฺถิ สโฺ ญชนวปิ ปฺ ยุตฺตอสฺโญซนโิ ย
สญั ญาขันธเปนสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนยิ ะ เปน สญั โญชนวิปปยุตตอสัญโญชนิยะ
อตฺถิ คนฺถนิโย อตถฺ ิ อคนถฺ นิโย
สญั ญาขนั ธเ ปนคนั ถนยิ ะ เปนอคันถนิยะ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๘๙

อตถฺ ิ คนถฺ สมปฺ ยตุ ฺโต อตถฺ ิ คนฺถวิปปฺ ยตุ ฺโต
สญั ญาขันธเปน คนั ถสมั ปยตุ เปน คันถวปิ ปยตุ
อตถฺ ิ คนฺถวิปปฺ ยตุ ฺตคนถฺ นิโย อตถฺ ิ คนถฺ วปิ ปฺ ยตุ ฺตอคนฺถนโิ ย
สญั ญาขนั ธเ ปนคันถวปิ ปยตุ ตคันถนยิ ะ สัญญาขันธเปน คันถวิปปยุตตอคันถนยิ ะ
อตฺถิ โอฆนิโย อตฺถิ อโนฆนิโย
สญั ญาขันธเ ปนโอฆนยิ ะ เปนอโนฆนยิ ะ
อตฺถิ โอฆสมปฺ ยตุ ฺโต อตถฺ ิ โอฆวปิ ปฺ ยตุ ฺโต
สญั ญาขนั ธเปนโอฆสัมปยตุ เปน โอฆวิปปยตุ
อตถฺ ิ โอฆวิปปฺ ยตุ ฺตโอฆนิโย อตถฺ ิ โอฆวิปปฺ ยุตฺตอโนฆนิโย
สญั ญาขันธเปนโอฆวปิ ปยตุ ตโอฆนยิ ะ เปน โอฆวปิ ปยุตตอโนฆนิยะ
อตถฺ ิ โยคนโี ย อตถฺ ิ อโยคนโิ ย
สญั ญาขันธเปนโยคนยิ ะ เปน อโยคนิยะ
อตถฺ ิ โยคสมฺปยุตฺโต อตถฺ ิ โยควปิ ฺปยตุ ฺโต
สญั ญาขนั ธเ ปนโยคสัมปยตุ เปนโยควปิ ปยตุ
อตฺถิ โยควิปปฺ ยตุ ฺตโยคนิโย อตฺถิ โยควิปปฺ ยตุ ฺตอโยคนิโย
สญั ญาขันธเปนโยควปิ ปยตุ ตโยคนยิ ะ เปนโยควิปปยตุ ตอโยคนยิ ะ
อตถฺ ิ นวี รณโิ ย อตถฺ ิ อนีวรณโิ ย
สญั ญาขนั ธเ ปนนวี รณิยะ เปน อนีวรณยี ะ
อตถฺ ิ นวี รณสมปฺ ยตุ ฺโต อตฺถิ นีวรณวปิ ปฺ ยุตฺโต
สญั ญาขันธเปนนวี รณสมั ปยุต เปน นวี รณวปิ ปยตุ
อตถฺ ิ นวี รณวปิ ปฺ ยตุ ฺตนิวรณโิ ย อตถฺ ิ นวี รณวิปปฺ ยตุ ตฺ อนีวรณิโย
สญั ญาขนั ธเปน นวี รณวปิ ปยตุ ตนีวรณิยะ เปน นวี รณวปิ ปยตุ ตอนวี รณิยะ
อตฺถิ ปรามโ ฐ อตถฺ ิ อปรามโ ฐ
สญั ญาขนั ธเ ปนปรามัฏฐะ เปนอปรามฏั ฐะ
อตฺถิ ปรามาสสมฺปยตุ ฺโต อตถฺ ิ ปรามาสวิปปฺ ยตุ ฺโต
สญั ญาขนั ธเปน ปรามาสสัมปยุต เปนปรามาสวิปปยุต
อตถฺ ิ ปรามาสวปิ ปฺ ยตุ ฺตปรามโฐ อตถฺ ิ ปรามาสวปิ ปฺ ยตุ ฺตอปรามโ ฐ
สญั ญาขันธเ ปนปรามาสวปิ ปยุตตปรามัฏฐะ เปน ปรามาสวปิ ปยตุ ตอปรามัฏฐะ
อตฺถิ อปุ าทินฺโน อตถฺ ิ อนปุ าทนิ โฺ น
สญั ญาขนั ธเปนอุปาทนิ นะ เปนอนปุ าทินนะ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๐

อตถฺ ิ อปุ าทานโิ ย อตถฺ ิ อนุปาทานโิ ย
สญั ญาขนั ธเ ปนอปุ าทานยิ ะ เปนอนปุ าทานยิ ะ
อตถฺ ิ อปุ าทานสมปฺ ยุตฺโต อตฺถิ อปุ าทานวิปปฺ ยตุ โฺ ต
สญั ญาขันธเปน อุปาทานสัมปยตุ เปน อุปาทานวปิ ปยตุ
อตถฺ ิ อปุ าทานวปิ ปฺ ยุตฺตอปุ าทานิโย อตถฺ ิ อปุ าทานวิปปฺ ยุตฺตอนปุ าทานิโย
สญั ญาขนั ธเปนอุปาทานวปิ ปยตุ ตอปุ าทานยิ ะ เปน อปุ าทานวปิ ปยุตตอนปุ าทานยิ ะ
อตถฺ ิ สงกฺ เิ ลสิโก อตถฺ ิ อสงฺกเิ ลสิโก
สญั ญาขันธเ ปนสังกิเลสกิ ะ เปนอสังกเิ ลสกิ ะ
อตฺถิ สงกฺ ลิ ิโฐ อตถฺ ิ อสงกฺ ลิ ิ โ ฐ
สญั ญาขนั ธเ ปน สงั กิลิฏฐะ เปน อสังกลิ ิฏฐะ
อตฺถิ กเิ ลสสมฺปยุตฺโต อตถฺ ิ กเิ ลสวิปปฺ ยุตโฺ ต
สญั ญาขันธเปน กเิ ลสสัมปยุต เปนกเิ ลสวปิ ปยุต
อตถฺ ิ กเิ ลสวิปฺปยตุ ฺตสงฺกเิ ลสิโก อตฺถิ กเิ ลสวปิ ฺปยุตฺตอสงกฺ เิ ลสิโก
สญั ญาขนั ธเปนกเิ ลสวปิ ปยตุ ตสงั กิเลสกิ ะ เปน กิเลสวิปปยตุ ตอสงั กิเลสิกะ
อตฺถิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺโพ อตฺถิ น ทสฺสเนน ปหาตพฺโพ
สญั ญาขันธเ ปน ทัสสนปหาตพั พะ เปนนทสั สนปหาตพั พะ
อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพฺโพ อตฺถิ น ภาวนาย ปหาตพโฺ พ
สญั ญาขนั ธเ ปนภาวนาปหาตพั พะ เปนนภาวนาปหาตพั พะ
อตถฺ ิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺพเหตโุ ก อตฺถิ น ทสสฺ เนน ปหาตพฺพเหตุโก
สญั ญาขันธเ ปนทสั สนปหาตัพพเหตุกะ เปน นทสั สนปหาตัพพเหตกุ ะ
อตถฺ ิ ภาวนาย ปหาตพฺพเหตโุ ก อตถฺ ิ น ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตุโก
สญั ญาขนั ธเปนภาวนาปหาตพั พเหตกุ ะ เปน นภาวนาปหาตัพพเหตกุ ะ
อตฺถิ สวติ กฺโก อตถฺ ิ อวิตกโฺ ก
สญั ญาขนั ธเปนสวิตกั กะ เปน อวิตกั กะ
อตฺถิ สวจิ าโร อตฺถิ อวิจาโร
สญั ญาขันธเ ปนสวจิ าระ เปนอวิจาระ
อตถฺ ิ สปฺปต ิโก อตถฺ ิ อปปฺ ต โิ ก
สญั ญาขนั ธเ ปน สัปปต กิ ะ เปน อปั ปต ิกะ
อตฺถิ ปต ิสหคโต อตถฺ ิ น ปติสหคโต
สญั ญาขันธเปนปต ิสหคตะ เปน นปตสิ หคะ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๑

อตถฺ ิ สขุ สหคโต อตถฺ ิ น สขุ สหคโต
สญั ญาขันธเ ปนสขุ สหคตะ เปนนสขุ สหคตะ
อตฺถิ อเุ ปกขฺ าสหคโต อตฺถิ น อเุ ปกขฺ าสหคโต
สญั ญาขันธเปนอุเปกขาสหคตะ เปน นอเุ ปกขาสหคตะ
อตฺถิ กามาวจโร อตถฺ ิ น กามาวจโร
สญั ญาขันธเ ปน กามาวจร เปน นกามาวจร
อตถฺ ิ รปู าวจโร อตฺถิ น รปู าวจโร
สญั ญาขันธเ ปน รปู าวจร เปนนรปู าวจร
อตถฺ ิ อรูปาวจโร อตฺถิ น อรูปาวจโร
สญั ญาขันธเ ปนอรูปาวจร เปนนอรูปาวจร
อตฺถิ ปรยิ าปนฺโน อตถฺ ิ อปริยาปนโฺ น
สญั ญาขนั ธ เปน ปรยิ าปน นะ เปนอปริยาปนนะ
อตฺถิ นยิ ยฺ านโิ ก อตถฺ ิ อนิยฺยานโิ ก
สญั ญาขันธเ ปนนยิ ยานกิ ะ เปน อนิยยานกิ ะ
อตถฺ ิ นยิ โต อตถฺ ิ อนิยโต
สญั ญาขันธเปน นิยตะ เปน อนยิ ตะ
อตฺถิ สอุตตฺ โร อตถฺ ิ อนุตฺตโร
สญั ญาขนั ธเ ปนสอตุ ตระ เปนอนุตตระ
อตถฺ ิ สรโณ อตถฺ ิ อรโณ.
สญั ญาขันธเ ปน สรณะ เปน อรณะ
ติวิเธน สญฺ ากฺขนโฺ ธ อตถฺ ิ กสุ โล อตถฺ ิ อกสุ โล อตถฺ ิ อพยฺ ากโต ฯเปฯ เอวํ ทสวเิ ธน สฺญากฺขนฺโธ.
สัญญาขันธหมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธเปน กุศล เปนอกศุ ล เปนอัพยากฤต ฯลฯ สัญญาขันธหมวดละ
๑๐ ดว ยประการฉะน้ี
[๕๘] เอกวิเธน สญฺ ากฺขนฺโธ ผสสฺ สมฺปยุตฺโต.
[๕๔] สัญญาขนั ธห มวดละ ๑ คอื สญั ญาขนั ธเ ปนผสั สสัมปยุต
ทุวเิ ธน สญญากขนโุ ธ อตถฺ ิ สรโณ อตถฺ ิ อรโณ.
สญั ญาขนั ธหมวดละ ๒ คือ สญั ญาขนั ธเ ปนสรณะ เปน อรณะ

สถาบนั วปิ ส สนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๒

ติวิเธน สฺญากฺขนฺโธ อตฺถิ สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ
อทกุ ขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต ฯเปฯ

สญั ญาขันธห มวดละ ๓ คือ สัญญาขันธเปนสขุ เวทนาสัมปยุต เปนทกุ ขเวทนา สัมปยุต เปนอทกุ ขมสุข
เวทนาสมั ปยตุ ฯลฯ

อตฺถิ อชฺฌตฺตารมมฺ โณ อตถฺ ิ พหิทธฺ ารมฺมโณ อตถฺ ิ อชฺฌตตฺ พหทิ ฺธารมมฺ โณ ฯเปฯ
สญั ญาขนั ธเ ปนอชั ฌตั ตารัมมณะ เปนพหทิ ธารัมมณะ เปน อชั ฌัตตพหทิ ธารัมมณะฯลฯ

เอวํ ทสวเิ ธน สญฺ ากฺขนโฺ ธ. สญั ญาขนั ธห มวดละ ๖๐ ดวยประการฉะน้ี

ทกุ มูลกํ.
ทุกมลู กวาร จบ

๔. สงขฺ ารกฺขนฺโธ

๔. สังขารขันธ

ตตถฺ กตโม สงขฺ ารกฺขนโฺ ธ สงั ขารขันธ เปน ไฉน

[ทุกมูลกวาร]

[๖๙] เอกวิเธน สงขฺ ารกฺขนฺโธ จิตฺตสมปฺ ยตุ ฺโต.
[๖๔] สงั ขารขนั ธหมวดละ ๑ คอื สงั ขารขนั ธเปน จติ ตสัมปยุต

ทุวิเธน สงขฺ ารกขฺ นโฺ ธ อตฺถิ เหตุ อตถฺ ิ น เหตุ.
สงั ขารขนั ธหมวดละ ๒ คอื สงั ขารขันธเปนเหตุ เปนนเหตุ

ติวิเธน สงฺขารกขฺ นโฺ ธ อตถฺ ิ กสุ โล อตฺถิ อกสุ โล อตฺถิ อพฺยากโต.
สงั ขารขนั ธหมวดละ ๓ คือ สงั ขารขนั ธเปน กศุ ล เปนอกศุ ล เปนอพั ยากฤต

จตวุ เิ ธน สงฺขารกฺขนโฺ ธ อตถฺ ิ กามาวจโร อตถฺ ิ รูปาวจโร อตถฺ ิ อรูปาวจโร อตฺถิ อปรยิ าปนโฺ น.
สงั ขารขันธหมวดละ ๔ คือ สงั ขารขนั ธเปนกามาวจร เปน รูปาวจร เปนอรูปาวจร เปนอปรยิ าปนนะ

ปฺจวิเธน สงฺขารกฺขนฺโธ อตฺถิ สุขินฺทฺริยสมฺปยุตฺโต อตฺถิ ทุกฺขุนฺทฺริยสมฺปยุตฺโต อตฺถิ โสมนสฺสินฺ
ทฺรยิ สมฺปยุตโฺ ต อตถฺ ิ โทมนสฺสินทฺ รฺ ยิ สมปฺ ยุตฺโต อตถฺ ิ อเุ ปกขินทฺ รฺ ยิ สมฺปยุตโฺ ต.

สังขารขันธหมวดละ ๕ คือ สังขารขันธเ ปนสุขินทริยสัมปยุต เปนทุกขินทริยสัมปยตุ เปน โสมนัสสนิ
ทริยสมั ปยุต เปน โทมนสั สนิ ทรยิ สัมปยุตเปน อเุ ปกขินทริยสมั ปยุต

ฉพฺพิเธน สงฺขารกฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา เจตนา โสตสมฺผสฺสชา เจตนา ฆานสมฺผสฺสชา เจตนา
ชวิ หฺ าสมผฺ สฺสชา เจตนา กายสมผฺ สสฺ ชา เจตนา มโนสมผฺ สฺสชา เจตนา เอวํ ฉพฺพิเธน สงฺขารกฺขนฺโธ.

สงั ขารขนั ธห มวดละ ๖ คอื จกั ขุสัมผัสสชาเจตนา โสตสมั ผัสสชาเจตนา ฆานสมั ผสั สชาเจตนา ชิวหาสัมผัสส
ชาเจตนา กายสมั ผสั สชาเจตนามโนสัมผสั สชาเจตนา สงั ขารขันธ หมวดละ ๖ ดว ยประการฉะน้ี

สถาบันวปิ สสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๓

สตฺตวิเธน สงฺขารกขฺ นฺโธ จกขสุ มฺผสฺสชา เจตนา ฯเปฯ กายสมฺผสสฺ ชา เจตนา มโนธาตุสมผฺ สสฺ ชา
เจตนา มโนวิ ฺญาณธาตสุ มผฺ สสฺ ชา เจตนา เอวํ สตฺตวิเธน สงขฺ ารกขฺ นโฺ ธ.

สังขารขันธหมวดละ ๗ คือ จักขุสัมผัสสชาเจตนา ฯลฯ กายสัมผัสสชาเจตนา มโนธาตุสัมผัสสชา
เจตนา มโนวญิ ญาณธาตสุ มั ผัสสชาเจตนาสงั ขารขนั ธห มวดละ ๗ ดวยประการฉะนี้

อฐ วเิ ธน สงฺขารกขฺ นโฺ ธ จกฺขสุ มฺผสสฺ ชา เจตนา ฯเปฯ กายสมฺผสฺสชา เจตนา อตฺถสิ ขุ สหคตา อตฺถิ
ทุกฺขสหคตา มโนธาตสุ มผฺ สสฺ ชา เจตนา มโนวิ ญฺ าณธาตสุ มผฺ สสฺ ชา เจตนา เอวํ อฐ วเิ ธน สงขฺ ารกฺขนโฺ ธ.

สงั ขารขันธห มวดละ ๘ คอื จักขุสัมผสั สชาเจตนา ฯลฯ สขุ สหคตกายสัมผัสสชาเจตนา ทุกขสหคตกาย
สัมผัสสชาเจตนา มโนธาตุสัมผัสสชาเจตนา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาเจตนา สังขารขันธห มวดละ ๘ ดวย
ประการฉะน้ี

นววิเธน สงฺขารกฺขนฺโธ จกฺขุสมฺผสฺสชา เจตนาฯเปฯ มโนธาตุสมฺผสฺสชา เจตนา มโนวิฺญาณ
ธาตสุ มฺผสสฺ ชา เจตนา อตถฺ ิ กุสลา อตถฺ ิ อกุสลา อตฺถิ อพยฺ ากตา เอวํ นววเิ ธน สงขฺ ารกฺขนโฺ ธ.

สงั ขารขนั ธห มวดละ ๙ คือ จกั ขุสมั ผสั สชาเจตนาฯลฯ มโนธาตุสมั ผสั สชาเจตนา กุสลมโนวญิ ญาณธาตุ
สัมผัสสชาเจตนา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสมั ผสั สชาเจตนา อัพยากตมโนวิญญาณธาตสุ ัมผัสสชาเจตนา สังขาร
ขนั ธห มวดละ ๙ ดว ยประการฉะนี้

ทสวเิ ธน สงขฺ ารกขฺ นโฺ ธ จกขฺ สุ มผฺ สฺสชา เจตนา ฯเปฯ กายสมฺผสสฺ ชา เจตนา อตฺถิ สุขสหคตา อตฺถิ
ทุกฺขสหคตา มโนธาตสุ มฺผสฺสชา เจตนา มโนวิญฺ าณธาตสุ มฺผสฺสชา เจตนา อตฺถิ กสุ ลา อตฺถิ อกุสลา อตฺถิ
อพฺยากตา เอวํ ทสวิเธน สงฺขารกขฺ นโฺ ธ.

สังขารขันธหมวดละ ๑๐ คือ จักขุสัมผัสสชาเจตนาฯลฯ สุขสหคตกายสัมผัสสชา เจตนา ทุกขสหคต
กายสมั ผสั สชาเจตนา มโนธาตุสัมผัสสชาเจตนากสุ ล มโนวญิ ญาณธาตุสมั ผสั สชาเจตนา อกสุ ลมโนวญิ ญาณธาตุ
สมั ผสั สชาเจตนา อพั ยากตมโนวญิ ญาณธาตุสมั ผัสสชาเขตนา สังขารขนั ธห มวดละ ๑๐ ดวยประการฉะน้ี

[๖๕] เอกวิเธน สงขฺ ารกฺขนโฺ ธ จติ ฺตสมปฺ ยุตฺโต.
[๖๕] สังขารขนั ธห มวดละ ๑ คือ สังขารขนั ธเ ปนจติ ตสัมปยุต.
ทุวิเธน สงขฺ ารกฺขนโฺ ธ อตฺถิ เหตุ อตฺถิ น เหตุ.
สงั ขารขันธห มวดละ ๒ คอื สงั ขารขนั ธเปนเหตุ เปน นเหต.ุ
ติวิเธน สงฺขารกฺขนฺโธ อตฺถิ สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต อตฺถิ
อทกุ ขฺ มสุขาย เวทนาย สมฺปยุตโฺ ต
สังขารขันธหมวดละ ๓ คือ สังขารขันธเปนสุขเวทนาสัมปยตุ เปน ทุกขเวทนาสัมปยุต เปนอทุกขมสุข
เวทนาสมั ปยตุ
อตถฺ ิ วปิ าโก อตถฺ ิ วิปากธมฺมธมโฺ ม อตถฺ ิ เนววิปากนวปิ ากธมฺมธมฺโม
สงั ขารขันธเ ปน วิปาก เปนวิปากธมั มธรรม เปน เนววปิ ากนวิปากธัมมธรรม
อตถฺ ิ อุปาทินฺนุปาทานโิ ย อตฺถิ อนุปาทนิ นฺ ุปาทานิโย อตถฺ ิ อนุปาทินนฺ านปู าทานโิ ย
สงั ขารขันธเปนอปุ าทนิ นปุ าทานยิ ะ เปน อนปุ าทนิ นุปาทานยิ ะ เปน อนปุ าทินนานปุ าทานิยะ

สถาบนั วิปส สนาธรุ ะ | มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๔

อตฺถิ สงฺกิลิฐสงกฺ ิเลสิโก อตถฺ ิ อสงฺกิลิฐสงฺกเิ ลสโิ ก อตถฺ ิ อสงกฺ ลิ ิฐ าสงกฺ ิเลสิโก
สงั ขารขนั ธเ ปน สังกิลิฏฐสังกเิ ลสิกะ เปนเปน อสังกสิ ิฏฐสงั กเิ ลสกิ ะ เปนอสังกิลฏฐา สงั กิเลสิกะ
อตฺถิ สวติ กกฺ สวจิ าโร อตฺถิ อวติ กฺกวิจารมตฺโต อตถฺ ิ อรติ กกฺ าวิจาโร
สงั ขารขันธเปนสวติ กั กสวจิ าระ เปนอวติ ักกวจิ ารมตั ตะ เปนอวิตกั กาวจิ าระ
อตถฺ ิ ปต ิสหคโต อตถฺ ิ สขุ สหคโต อตฺถิ อเุ ปกฺขาสหคโต
สงั ขารขนั ธเ ปนปต ิสหคตะ เปน สขุ สหคตะ เปน อเุ ปกขาสหคตะ
อตถฺ ิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺโพ
สงั ขารขนั ธเปนทสั สนปหาตพั พะ
อตถฺ ิ ภาวนาย ปหาตพโฺ พ
เปน ภาวนาปหาตพั พะ
อตถฺ ิ เนว ทสสฺ เนน น ภาวนาย ปหาตพโฺ พ
เปนเนวทสั สนนภาวนาปหาตัพพะ
อตฺถิ ทสสฺ เนน ปหาตพฺพเหตุโก
สงั ขารขนั ธเปน ทัสสนปหาตพั พเหตกุ ะ
อตฺถิ ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตโุ ก
เปน ภาวนาปหาตพั พเหตกุ ะ
อตฺถิ เนว ทสสฺ เนน น ภาวนาย ปหาตพพฺ เหตุโก
เปน เนวทัสสนนภาวนาปหาตพั พเหตกุ ะ
อตถฺ ิ อาจยอามี อตถฺ ิ อปจยคามี อตฺถิ เนวาจยคามินาปจยคามี
สงั ขารขันธเ ปน อาจยอามี เปนอปจยคามี เปน เนวาจยคามนิ าปจยคามี
อตฺถิ เสกฺโข อตถฺ ิ อเสกโฺ ข อตถฺ ิ เนวเสกฺขนาเสกโฺ ข
สงั ขารขันธเปน เสกขะ เปนอเสกขะ เปน เนวเสกขนาเสกขะ
อตถฺ ิ ปรติ ฺโต อตถฺ ิ มหคฺคโต อตฺถิ อปฺปมาโณ
สงั ขารขนั ธเปนปริตตะ เปน มหคั คตะ เปน อปั ปมานะ
อตถฺ ิ ปริตฺตารมมฺ โณ อตถฺ ิ มหคคฺ ตารมฺมโณ อตถฺ ิ อปฺปมาณารมฺมโณ
สงั ขารขันธเ ปนปริตตารมั มณะ เปนมหคั คตารัมมณะ เปนอัปปมาณารัมมณะ
อตถฺ ิ หโี น อตถฺ ิ มชฌฺ โิ ม อตฺถิ ปณีโต
สงั ขารขันธเ ปน หีนะ เปน มัชฌมิ ะ เปน ปณีตะ
อตฺถิ มจิ ฺฉตฺตนิยโต อตถฺ ิ สมฺมตตฺ นยิ โต อตถฺ ิ อนยิ โต
สงั ขารขันธเปนมิจฉตั ตนิยตะ เปนสัมมตั ตนยิ ตะ เปนอนยิ ตะ

สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ | มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ส า ธ ย า ย พ ร ะ ไ ต ร ป ฎ ก | ๙๕

อตถฺ ิ มคคฺ ารมมฺ โณ อตถฺ ิ มคคฺ เหตโุ ก อตฺถิ มคคฺ าธิปติ
สงั ขารขันธเปน มคั คารัมมนะ เปนมัคคเหตุกะ เปน มคั คาธปิ ติ
อตถฺ ิ อปุ ปฺ นฺโน อตถฺ ิ อนปุ ปฺ นฺโน อตฺถิ อปุ ปฺ าที
สงั ขารขันธเ ปนอุปปน นะ เปน อนปุ ปนนะ เปน อปุ ปาที
อตถฺ ิ อตีโต อตฺถิ อนาคโต อตถฺ ิ ปจจฺ ุปฺปนโน
สงั ขารขันธเปนอดีต เปน อนาคต เปนปจ จุบัน
อตฺถิ อตีตารมมฺ โณ อตถฺ ิ อนาคตารมฺมโณ อตถฺ ิ ปจจฺ ุปปนฺนารมฺมโณ
สงั ขารขนั ธเ ปน อตีตารมั มณะ เปนอนาคตารมั มณะ เปน ปจจุปปน นารมั มณะ
อตถฺ ิ อชฺฌตฺโต อตถฺ ิ พหิทโฺ ธ อตถฺ ิ อชฌฺ ตฺตพรทิ โฺ ธ
สงั ขารขนั ธเปนอัชมตั ตะ เปนพหทิ ธา เปนอัชญตั ตพหิทธา
อตฺถิ อชฺฌตฺตารมฺมโน อตฺถิ พหิทฺธารมฺมโณ อตฺถิ อชฺฌตฺตพหิทฺธารมฺมโณ ฯเปฯ เอวํ ทสวิเธน
สงฺขารกฺขนโฺ ธ.
สังขารขันธเปน อัชฌัตตารัมมณะ เปนพหิทธารัมมณะ เปนอัชญัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ สังขารขนั ธ
หมวดละ ๑๐ ดว ยประการฉะนี้
[๖๖] เอกวเิ ธน สงฺขารกฺขนโฺ ธ จติ ฺตสมปฺ ยุตฺโต.
[๖๖] สังขารขนั ธห มวดละ ๑ คอื สังขารขันธเ ปนจติ ตสมั ปยตุ .
ทุวเิ ธน สงฺขารกขฺ นฺโธ อตถฺ ิ สเหตโุ ก อตฺถิ อเหตุโก
สงั ขารหมวดละ ๒ คอื สงั ขารขันธเปน สเหตุกะ เปนเหตุกะ
อตฺถิ เหตสุ มฺปยตุ ฺโต อตถฺ ิ เหตุวิปปฺ ยตุ ฺโต
สงั ขารขนั ธเปน เหตุสัมปยตุ เปนเหตวุ ิปปยุต
อตฺถิ เหตุ เจว สเหตุโก จ อตฺถิ สเหตโุ ก เจว น จ เหตุ
สงั ขารขันธเปนเหตสุ เหตุกะ เปน สเหตุกนเหตุ
อตฺถิ เหตุ เจว เหตสุ มปฺ ยตุ ฺโต จ อตฺถิ เหตุสมปฺ ยตุ ฺโต เจว น จ เหตุ
สงั ขารขันธเ ปนเหตเุ หตุสัมปยตุ เปน เหตสุ ัมปยุตตนเหตุ
อตฺถิ น เหตุ สเหตุโก อตฺถิ น เหตุ อเหตโุ ก
สงั ขารขันธเ ปน นเหตสุ เหตกุ ะ เปน นเหตุอเหตกุ ะ
อตฺถิ โลกโิ ย อตถฺ ิ โลกตุ ตฺ โร
สงั ขารขันธเ ปน โลกิยะ เปนโลกุตตระ
อตฺถิ เกนจิ วิฺเญยฺโย อตถฺ ิ เกนจิ น วิฺเญยฺโย
สงั ขารขันธเปนเกนจวิ ญิ เญยยะ เปน เกนจนิ วิญเญยยะ

สถาบนั วิปสสนาธรุ ะ | มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย


Click to View FlipBook Version