The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by fanthai2553, 2020-05-24 06:13:20

แผนเว็บไซด์-อาเซียน-บูรณาการ




แผนกำรจดกำรเรยนรูบูรณำกำร





กลุมสำระกำรเรยนรูสงคมศกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม





รำยวิชำ อำเซยนศกษำ ๑ (ส๒๑๒๐๑) ชนมัธยมศกษำปที่ ๑



บทเรยนสำเรจรูปเว็บไซด เรอง กลุมประเทศอำเซยน






(http://www.sites.google.com/site/dongschool2556)
ื่
และสอประสม จำกโปรแกรม 3D Album CS











































โดย : นำยยรรยง ปกปอง


ครช ำนำญกำรพิเศษ โรงเรยนบ้ำนดงเจรญ



อ ำเภอค ำเขอนแก้ว จังหวัดยโสธร




สำนกงำนเขตพื้นที่กำรศกษำประถมศกษำยโสธร เขต ๑

ค ำน ำ






แผนการจัดการเรียนรู้ที่ดี ต้องสอดคล้องกับหลักสูตร มีความชัดเจน และสอดคล้องกันระหว่าง
จุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผล มีการปรับปรุงและพัฒนา

เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และความพร้อมของผู้เรียนในแต่ละปีการศึกษาอยู่เสมอ

แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา

อาเซียนศึกษา 1 (ส21201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มนี้ เป็นแผนการใช้นวัตกรรมเพื่อการแก้ปัญหาผู้เรียน
ได้แก่บทเรียนส าเร็จรูปเว็บไซด์ “กลุ่มประเทศอาเซียน” และสื่อประสม จากโปรแกรม 3D Album CS


ครูผู้สอนที่จะน าแผนการจัดการเรียนรู้นี้ไปใช้ ควรที่จะศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้นี้ ให้เข้าใจ
เพื่อท าความเข้าใจ และฝึกทักษะในกิจกรรมบางอย่างให้ช านาญ เช่น การใช้โปรแกรมเปิดเว็บไซด์ ของ

บทเรียนส าเร็จรูป ทั้ง 10 เรื่อง ขั้นตอนการศึกษาบทเรียน กิจกรรมต่างๆ ในบทเรียน การใช้โปรแกรมใน
การเล่นเกมอาเซียนทั้ง 10 เกม การใช้ค าถามในกิจกรรมการเรียนรู้ การสรุปบทเรียน ตลอดจนการเตรียม
แบบทดสอบ เครื่องมือวัดและประเมินผล และสื่อการเรียนรู้อื่นๆ ให้เพียงพอ เหมาะสมกับผู้เรียน และ

สภาพห้องเรียน เป็นต้น เพื่อให้การน าแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการนี้ไปใช้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ





นายยรรยง ปกป้อง
ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูช านาญการพิเศษ

โรงเรียนบ้านดงเจริญ สพป.ยส.1

สำรบัญ



หน้า


ตอนที่ 1 “กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม” ....................................................... 1


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 .......................................................................................................... 2
ความส าคัญของสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ......................................................................... 2

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ......................................................................................................... 3

ค าอธิบายรายวิชาสังคมศึกษา 1 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ....................................... 5
ค าอธิบายรายวิชาประวัติศาสตร์ 1 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ......................................... 6

ค าอธิบายรายวิชาอาเซียนศึกษา 1 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ........................................ 7

ตอนที่ 2 “Web site และ Google Sites” ............................................................................................ 8

ความหมายของเว็บไซด์และเว็บเพจ ................................................................................................. 9
ประเภทของเว็บไซด์ ......................................................................................................................... 9

ประโยชน์ของเว็บไซด์ ....................................................................................................................... 11
ความหมายของ Google Sites ........................................................................................................ 11


ตอนที่ 3 “บทเรียนส าเร็จรูป” ................................................................................................................ 13

ความหมายของบทเรียนส าเร็จรูป ..................................................................................................... 14
หลักการสร้างบทเรียนส าเร็จรูป ........................................................................................................ 15

ชนิดของบทเรียนส าเร็จรูป ............................................................................................................... 16
ประโยชน์ของบทเรียนส าเร็จรูป ...................................................................................................... 20

ข้อจ ากัดของบทเรียนส าเร็จรูป ........................................................................................................ 20
ขั้นตอนในการสร้างบทเรียนส าเร็จรูป ............................................................................................. 20


ตอนที่ 4 “การเรียนรู้แบบบูรณาการและทฤษฎีพหุปัญญา” ................................................................. 22
ความหมายของบูรณาการ ............................................................................................................... 23

การสอนแบบบูรณาการ .................................................................................................................. 24
ลักษณะของการบูรณาการ .............................................................................................................. 24
แนวคิดส าคัญของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ........................................................................ 25

ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) ................................................................ 28

หน้า




ตอนที่ 5 “วิเคราะห์หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้อาเซียน” ............................................................. 31

ผังมโนทัศน์รายวิชาอาเซียนศึกษา 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ............................................................... 32
ความสัมพันธ์ของแผนการจัดการเรียนรู้และนวัตกรรมอาเซียน ........................................................ 33

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 “รู้จักกับอาเซียนและเมืองไทย” ............................................................ 35
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 “อยู่ไม่ไกลประเทศลาวเป็นพี่น้อง” ....................................................... 46
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 “ตะวันตกเมียนม่าร์ตามครรลอง” ......................................................... 57

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 “จ าได้คล่องกัมพูชาติดชายแดน” .......................................................... 68
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 “รูปตัวเอสเวียดนามนั้นจ าง่าย” ............................................................ 79

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 “เกาะมากมายฟิลิปปินส์คงจ าแม่น” ...................................................... 90
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 “มาเลเซียภาคใต้ไทยใกล้เขตแดน” ....................................................... 101
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 “คนเนืองแน่นเซ็นโตซ่าสิงคโปร์” .......................................................... 112

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 “เนื้อที่ใหญ่ในอาเซียนอินโดฯ นั้น” ....................................................... 123
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 “เมืองในฝันบรูไนคนสุขโข” ................................................................. 134


บรรณานุกรม ............................................................................................................................................ 145

ภาคผนวก ................................................................................................................................................ 147

-สื่อประสม ได้แก่ เพลงต่างๆ ที่ใช้ประกอบการจัดกิจกรรม ..................................................................... 148
-แบบประเมินการพูดน าเสนอผลงาน ....................................................................................................... 159

-แบบประเมินเจตคติต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ....................................................................... 160
-ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ .......................................................................................................................... 161
-ประวัติของผู้จัดท า ................................................................................................................................... 162

-1-




























ตอนที่ 1












กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

-2-





กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม




ควำมส ำคัญของสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม

สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่ามนุษย์ด ารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล

และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจ ากัด
นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ

ท าให้เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทนอดกลั้น ยอมรับในความแตกต่างและมีคุณธรรม
สามารถน าความรู้ไปปรับใช้ในการด าเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความ

เชื่อมโยงสัมพันธ์กันและมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเอง กับบริบท
สภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

โดยได้ก าหนดสาระต่างๆ ไว้ ดังนี้ (โรงเรียนบ้านดงเจริญ, 2559 : 5-10)


- ศำสนำ ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ การน าหลักธรรมค าสอนไปปฏิบัติ ในการพัฒนาตนเอง

และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระท าความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้ง
บ าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และส่วนรวม

- หน้ำที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรด ำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครอง ในสังคมปัจจุบัน

การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความส าคัญ การ

เป็นพลเมืองดี ความแตกต่าง และความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยมความเชื่อ ปลูกฝังค่านิยมด้าน
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการด าเนินชีวิตอย่างสันติสุข
ในสังคมไทย และสังคมโลก


- เศรษฐศำสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัด อย่างมีประสิทธิภาพ การด ารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการน าหลัก

เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

- ประวัติศำสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของ

มนุษยชาติ จากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์ และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบที่เกิด
จากเหตุการณ์ส าคัญในอดีต บุคคลส าคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอดีต ความเป็นมา

ของชาติไทย วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่ส าคัญของโลก

-3-





- ภูมิศำสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศ

ของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กัน
ของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์ กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์

สร้างขึ้น การน าเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน


สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้


สำระที่ 1 ศำสนำ ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา

ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่อ
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

มาตรฐาน ส1.2 เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตน เป็นศาสนิกชนที่ดี และธ ารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

สำระที่ 2 หน้ำที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรด ำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่าง

สันติสุข
มาตรฐาน ส2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธ ารงรักษาไว้

ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

สำระที่ 3 เศรษฐศำสตร์

มาตรฐาน ส3.1 เข้าใจ และสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต และการบริโภคการใช้ทรัพยากร
ที่มีอยู่จ ากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อการด ารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

มาตรฐาน ส3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจ าเป็น
ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก


สำระที่ 4 ประวัติศำสตร์
มาตรฐาน ส4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ

ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถ

วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น

-4-





มาตรฐาน ส4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจ

และธ ารงความเป็นไทย


สำระที่ 5 ภูมิศำสตร์

มาตรฐาน ส5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน

และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา

วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

มาตรฐาน ส5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ก่อให้เกิดการ

ื่
สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส านึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพอ
การพัฒนาที่ยั่งยืน

-5-






ค ำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน


ส21101 สังคมศึกษำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 60 ชั่วโมง จ ำนวน 1.5 หน่วยกิต





รู้และวิเคราะห์การสังคายนา การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความส าคัญของพระพุทธ

ศาสนาต่อสังคมไทย พระไตรปิฏก วิเคราะห์พุทธประวัติ ประวัติ สาวก ชาดก หลักธรรมส าคัญ อริยสัจ 4

พุทธศาสนสุภาษิต กระบวนการคิดแบบโยนิโสนมสิการ การบริหารจิต เจริญปัญญา ศาสนพิธี วิถีชีวิต

ชาวพุทธ วันส าคัญทางพระพุทธศาสนา หลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ในการด ารงชีวิตแบบพอเพียง
ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขศาสนาอื่นได้

รู้และวิเคราะห์หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระส าคัญของอ านาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่ง

ราชอาณาจักรไทยโดยสังเขป เกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรม ที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ

น าไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน ปฏิบัติตามกฎหมาย ในการคุ้มครองสิทธิของบุคคล รวมทั้งการปฏิบัติตนตาม

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง และแสดงออกถึงการ
เคารพในสิทธิของตนเองและผู้อน
ื่
เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในศาสนา การปฏิบัติตามกฎหมายในชีวิตประจ าวัน มีส่วนร่วมในกิจกรรม

ที่ส่งเสริมประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในประเทศ ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน เข้าใจเรื่องราวส าคัญ

ในอดีต ศรัทธา ยึดมั่นและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมทางศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม เชื่อมั่น รัก ภูมิใจ
และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีในท้องถิ่น ตระหนักในสถานภาพ บทบาท สิทธิ หน้าที่ใน

ฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัดและประเทศ เห็นคุณค่าของหลักการเศรษฐกิจพอเพียง และน าไปประยุกต์

ใช้ในชีวิตประจ าวัน



รหัสตัวชี้วัด
ส1.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5 , ม.1/6 , ม.1/7 , ม.1/8 , ม.1/9 , ม.1/10 , ม.1/11

ส1.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4 , ม.1/5
ส2.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3 , ม.1/4
ส2.2 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3


รวมทั้งหมด 23 ตัวชี้วัด

-6-






ค ำอธิบำยรำยวิชำพื้นฐำน


ส21102 ประวัติศำสตร์ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม

ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 20 ชั่วโมง จ ำนวน 0.5 หน่วยกิต





รู้และวิเคราะห์ความส าคัญของเวลา และยุคสมัยประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์

มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ และเข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีต จนถึงปัจจุบัน

ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง วิธีการนับศักราชในระบบต่าง ๆ

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ความส าคัญ และขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ประเภทของ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ แหล่งที่มาของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การก่อเกิดและพัฒนาการของ

อารยธรรม ในดินแดนของประเทศไทย ประวัติศาสตร์ในยุคก่อนสมัยสุโขทัย วิถีชีวิตของคนไทยใน


สมัยสุโขทัย จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มีผล

ต่อการพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และการด าเนินชีวิตของคนในสมัยก่อนสุโขทัย ผลงานของบุคคล

ส าคัญของไทย และต่างประเทศ ในยุคก่อนสุโขทัย ที่แสดงถึงภูมิปัญญาในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม

และวัฒนธรรม ศึกษาการตั้งถิ่นฐาน การด ารงชีวิตของประชากรไทย และประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉียงใต้ในอดีตและปัจจุบัน






รหัสตัวชี้วัด
ส4.1 ม.1/1 , ม.1/2 , ม.1/3

ส4.2 ม.1/1 , ม.1/2



รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด

-7-







ค ำอธิบำยรำยวิชำเพิ่มเติม


ส21201 อำเซียนศึกษำ 1 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 20 ชั่วโมง จ ำนวน 0.5 หน่วยกิต






ศึกษาประวัติความเป็นมาของประชาคมอาเซียน กลไกอาเซียน และกฎบัตรอาเซียน ตลอดจนสภาพ

ทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ ศิลปวัฒนธรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ
ได้แก่ราชอาณาจักรไทย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า ราชอาณาจักร

กัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐสิงคโปร์
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และ เนการาบรูไนดารุสซาลาม

โดยการบูรณาการ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการท างาน กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการ
คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการสืบค้นจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดย
ใช้สื่อเทคโนโลยี

เพื่อให้เกิดตระหนักมีเจตคติในการเป็นสมาชิกที่ดี และการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ ศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ

ของประเทศสมาชิกอาเซียน สามารถปรับตนในการเป็นพลเมืองที่ดี ภายใต้กฎบัตรของอาเซียน และสามารถ
ด ารงชีวิตในยุคโลกาภิวัฒน์ ได้อย่างเหมาะสม



ผลกำรเรียนรู้
1. มีความรู้ความเข้าใจประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียน

2. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การปกครอง และเศรษฐกิจ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
3. ใช้ทักษะการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี

4. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน

-8-





























ตอนที่ 2












Web site และ Google Sites

-9-






ควำมหมำยของเว็บไซด์และเวบเพจ

เว็บไซต์

เว็บไซต์ (อังกฤษ: website, web site, Web site) หมายถึงหน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงกันผ่าน
ทางไฮเปอร์ลิงก์ ส่วนใหญ่จัดท าขึ้น เพื่อน าเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ หน้า

แรกของเว็บไซต์ที่เก็บไว้ที่ชื่อหลักจะเรียกว่า โฮมเพจ เว็บไซต์โดยทั่วไปจะให้บริการต่อผู้ใช้ฟรีแต่ขณะเดียวกัน
บางเว็บไซต์จ าเป็นต้องมีการสมัครสมาชิก และเสียค่าบริการ เพื่อที่จะดูข้อมูลในเว็บไซต์นั้น ซึ่งได้แก่ ข้อมูล

ทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลสื่อต่างๆ ผู้ท าเว็บไซต์มีหลากหลายระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์
ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์ส าหรับธุรกิจ หรือองค์กรต่างๆ การเรียกดูเว็บไซต์ โดยทั่วไปนิยมเรียกดูผ่านทาง

ซอฟต์แวร์ในลักษณะของ เว็บเบราว์เซอร์ (http://th.wikipedia.org/wiki)
โฮมเพจ

โฮมเพจ (Home Page) คือเว็บเพจหน้าแรกซึ่งเป็นทางเข้าหลักของเว็บไซต์ปกติเว็บเพจทุก ๆ หน้าในเว็บ
ไซท์จะถูกลิงค์ (โดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม) มาจากโฮมเพจ ดังนั้นบางครั้งจึงมีผู้ใช้ค าว่าโฮมเพจโดยหมายถึง

เว็บไซท์ทั้งหมด แต่ความจริงแล้วโฮมเพจหมายถึงหน้าแรกเท่านั้น ถ้าเปรียบกับร้านค้า โฮมเพจก็เป็นเสมือน
หน้าร้านนั่นเอง ดังนั้นจึงมักถูกออกแบบให้โดดเด่นและน่าสนใจมากที่สุด



ประเภทของเว็บไซด์

การที่จะสามารถใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้น จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจถึงลักษณะของ
เว็บไซต์ และจ าแนกแยกแยะได้ว่า เว็บไซต์เหล่านั้นมีความแตกต่าง หรือเหมือนกันประการใด รวมถึงมีหน้าที่

หลักเฉพาะตัวอย่างไรบ้าง เว็บไซต์สามารถแบ่งออกได้เป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 8 ประเภท ตามลักษณะของเนื้อหา
และรูปแบบของเว็บไซต์ กลุ่มเว็บทั้ง 8 ประเภท ได้แก (http://www.gotoknow.org/posts/162487)

1. เว็บท่า (Portal site) เว็บท่านั้นอาจเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่าเว็บวาไรตี้ (variety web) ซึ่งหมายถึง เว็บ
ที่ให้บริการต่างๆ ไว้มากมาย มักประกอบไปด้วยบริการเครื่องมือค้นหา ที่รวบรวมลิงค์ของเว็บไซต์ ที่น่าสนใจไว้

มากมายให้ได้ค้นหา รวมถึงบริการที่เกี่ยวกับเรื่องราวที่มีสาระ และบันเทิงหลากหลายประเภท เช่น ดูหนัง
ฟังเพลง ดูดวง ท่องเที่ยว IT เกม สุขภาพ หรืออื่นๆ นอกจากนั้นแล้ว เว็บท่ายังมีลักษณะในการเป็นแหล่งแลก

เปลี่ยนความคิดเห็นของผู้คนในสังคมในเรื่องเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ซึ่งเรียกว่า เว็บชุมชน (community web)
คือเป็นเว็บที่ให้บริการพื้นที่แก่กลุ่มคน ผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน ได้เข้ามาแลกเปลี่ยนและแสดงความ

คิดเห็นกัน

2. เว็บข่าว (News site)เว็บข่าวมักเป็นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นโดยองค์กรข่าวหรือสถาบันสื่อสารมวลชนต่างๆ
ที่มีสื่อมวลชนประเภทต่างๆ ของตนอยู่เป็นหลักเช่นสถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ หนังสือพิมพ์ นิตยสารวารสาร
หรือแม้กระทั่งกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ แต่องค์กรเหล่านี้ ได้น าเว็บไซต์มาใช้ เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร

-10-





อีกรูปแบบหนึ่ง เพื่อน าเสนอข่าว และสาระที่เป็นการสรุปใจความส าคัญ หรือรวบรวมเนื้อหาจากข่าวในรอบ

เดือนหรือรอบปี ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลและติดตามข่าวสารได้ทุกที่ทุกเวลา แม้ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม

3. เว็บข้อมูล (Information site) เว็บข้อมูลนั้น เป็นเว็บที่ให้บริการเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูล ข่าวสาร
หรือข้อเท็จจริงต่างๆ โดยจัดท าขึ้น เพื่อเป็นช่องทางให้ประชาชนหรือกลุ่มบุคคลที่สนใจ ได้เข้ามาศึกษา
ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์กรของตนได้ อีกทั้งยังเป็นการสร้างโอกาสในการประชาสัมพันธ์ และสร้าง

ความเข้าใจอันดีให้เกิดแก่ประชาชนในสังคมอีกด้วย

4. เว็บธุรกิจหรือการตลาด (Business/ Marketing site) เว็บธุรกิจหรือการตลาด เป็นเว็บไซต์ที่มักสร้าง
ขึ้นโดยองค์กรธุรกิจต่างๆ มีจุดมุ่งหมายหลักในการประชาสัมพันธ์องค์กร และเพิ่มผลก าไรทางการค้าโดยเนื้อหา

ส่วนใหญ่ หรือเกือบทั้งหมด มักจะเป็นการน าเสนอที่มีความน่าสนใจ และตรงใจกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด ทั้งนี้
เพื่อผลก าไรทางธุรกิจนั่นเอง

5. เว็บการศึกษา (Education site) เว็บการศึกษา มักเป็นเว็บที่สร้างขึ้น โดยสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
หรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีนโยบายในการเผยแพร่ความรู้ และให้โอกาสในการค้นคว้าหาข้อมูล เพื่อ

การศึกษาแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา รวมถึงประชาชนทั่วไป เว็บการศึกษาให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเรียนรู้ ทั้งแบบ
ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เว็บที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยตรงนั้นได้แก่ เว็บของสถาบันการศึกษา ห้องสมุด

และเว็บที่ให้บริการการเรียนรู้แบบออนไลน์ที่เรียกว่า อี-เลิร์นนิ่ง (e-learning) นอกจากนี้แล้ว ยังรวมถึงเว็บที่
สอนหรือให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องต่างๆ เช่น การท าเว็บ การท าอาหาร การถ่ายภาพ การเขียนโปรแกรม ฯลฯ

6. เว็บบันเทิง (Entertainment site) เว็บบันเทิงมุ่งเสนอและให้บริการต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างความ
บันเทิง โดยทั่วไปอาจน าเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับการบันเทิงทั่วไป เช่น ดนตรี ภาพยนตร์ ดารา กีฬา ความรัก

บทกลอน การ์ตูน เรื่องข าขัน และรวมถึงการให้บริการดาวน์โหลด โลโก้ และ ริงโทนส าหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่

อีกด้วย เว็บประเภทนี้ อาจมีรูปแบบที่เป็นอินเตอร์แอคทฟ ที่ตื่นตาตื่นใจ หรือใช้เทคโนโลยีมัลติมิเดียได้มาก
กว่าเว็บประเภทอื่น

7. เว็บองค์กรที่ไม่แสวงหาผลก าไร (None-profit organization site) เว็บประเภทนี้ จะเป็นเว็บที่สร้าง
ขึ้นโดยกลุ่มบุคคลหรือองค์กรต่าง ๆ ที่มีนโยบายในการสร้างสรรค์ที่ช่วยเหลือสังคม โดยที่ไม่หวังผลก าไรหรือ
ค่าตอบแทน ซึ่งกลุ่มบุคคลหรือองค์กรเหล่านี้ ได้แก่ สมาคม ชมรม มูลนิธิ และโครงการต่าง ๆ โดยอาจมี

จุดประสงค์เฉพาะที่แตกต่างกันเช่นเพื่อท าความดี สร้างสรรค์สังคม พิทักษ์สิ่งแวดล้อม ปกป้องสิทธิมนุษยชน

รณรงค์ไม่ให้สูบบุหรี่ หรืออาจรวมตัวกันเพื่อดูแลผลประโยชน์ของสมาชิกในกลุ่ม
8. เว็บส่วนตัว (personal site) เว็บส่วนตัว อาจเป็นเว็บของคน ๆ เดียว เพื่อนฝูง หรือครอบครัวก็ได้

โดยอาจจัดท าขึ้น ด้วยเหตุผลที่แตกต่างกัน เช่น แนะน ากลุ่มเพื่อน โชว์รูปภาพ แสดงความคิดเห็น เขียน
ไดอารี่ประจ าวัน น าเสนอผลงาน ถ่ายทอดประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่งที่เชี่ยวชาญ หรือสนใจ โดยทั้งหมดนี้อาจ

ท าเป็นเว็บไซต์หรือเป็นเพียงเว็บเพจหน้าเดียวก็ได้

-11-





ประโยชน์ของเว็บไซด์
เว็บไซด์มีประโยชน์และคุณค่า ดังนี้ (http://www.websuay.com/th/web_page/website_benefit)

1. ช่วยส่งเสริมศักยภาพการแข่งขันในด้านธุรกิจ
2. ช่วยเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและบริการต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย

3. ช่วยให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า หรือผู้ใช้บริการเป้าหมายได้ทุกวัน จึงสามารถซื้อ-ขายสินค้าหรือบริการ
ผ่านเว็บไซต์ได้ตลอด 24 ชั่วโมง และทั่วโลก

4. ช่วยขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต สร้างรายได้โดยไม่ต้องมีหน้าร้าน หรือส านักงาน
5. สามารถให้บริการต่างๆ ของธุรกิจหรือองค์กรแบบออนไลน์ เป็นการอ านวยความสะดวกแก่ลูกค้า
6. ช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และทันสมัย ให้กับองค์กร บริษัท และธุรกิจต่างๆ

7. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ธุรกิจ
8. ช่วยเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพในการโฆษณา

9. คอยท าหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ให้ค าแนะน าต่างๆ เกี่ยวกับสินค้าและบริการแก่ลูกค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง
โดยไม่ต้องรอร้านเปิดให้บริการ
10. เป็นการเพิ่มช่องทางในการขายสินค้าและบริการของบริษัทอีกช่องทางหนึ่ง

11. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ส าหรับการที่จะมีเว็บไซต์เพื่อติดต่อกับโลกภายนอก
12. การมีหน้าร้านทางอินเตอร์เน็ต (Homepage) เป็นการเปิดตัวสู่ตลาดโลก

13. เสริมภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความทันสมัยน่าเชื่อถือมากขึ้น
14. มีอีเมล์ในการติดต่อลูกค้า เพื่อความเป็นสากล และความสะดวก
15. เป็นโฆษณาบริษัทฯ หรือองค์กรให้เป็นที่รู้จักทั้งในจังหวัด ต่างจังหวัดและต่างประเทศ

16. เป็นการยกระดับมาตรฐานการซื้อขายภายในประเทศ

ควำมหมำยของ Google Sites

Google Sites ก็คือเว็บไซต์ของ Google เป็นโปรแกรมออนไลน์ ที่ท าให้การสร้างเว็บไซต์ของทีมให้
ง่ายขึ้นเหมือนกับการแก้ไขเอกสารธรรมดาๆ ด้วย Google เว็บไซต์คุณสามารถรวบรวมความหลากหลายของ

ข้อมูลในที่เดียว เช่น รวมวิดีโอ ปฏิทินการน าเสนอ เอกสาร หรือสิ่งที่แนบ และข้อความอ านวยความสะดวก
ให้คุณร่วมกันดู หรือแก้ไขหน้าเว็บ จะเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หรือทั้งองค์กรของคุณ หรือจะทั้งโลกเลย ก็ได้
(https://support.google.com/a/answer/90915?hl=th)

ความเป็นมาและคุณลักษณะของ Google Sites
1. กูเกิ้ลไซต์ ให้บริการครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551

2. สร้างเว็บไซต์ได้สุดแสนจะง่ายดาย ใช้เวลากี่นาทีก็โชว์ผลงาน
3. ไม่จ าเป็นต้องรู้ภาษาเขียนเว็บ (HTML) ให้ปวดหัว แค่ใช้เวิร์ดพิมพ์งานเป็นก็เริ่มได้เลย แถมเมนู
เป็นภาษาไทยอีกต่างหาก

4. มีแบบเทมเพลตส าเร็จรูปให้เลือกมากมาย คล้ายๆ กับแบบส าเร็จเพาเวอร์พอยต์

-12-





5. สามารถแชร์เว็บให้เพื่อน ๆ ร่วมสร้างสรรค์ได้

6. เป็นเพื่อนพ้องน้องพี่กูเกิ้ลทั้งหมด เอามาใช้ด้วยกันได้เลย เช่น อีเมล์ (Gmail) ปฏิทิน (Calendar)

เอกสาร (Documents) ยูทูบ (YouTube) อัลบั้มภาพ (Picasa) แผนที่ (Map) ฯลฯ
7. ที่ว่ามาทั้งหมด ให้บริการฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่ายแต่อย่างใด




คุณลักษณะที่ส ำคัญของผลิตภัณฑ์
1. ก าหนดส่วนติดต่อของเว็บไซต์ด้วยตนเอง เพื่อท าให้รูปลักษณ์ของกลุ่มหรือโครงการของคุณม ี

ความคล้ายคลึงกัน

2. สร้างหน้าย่อยใหม่ด้วยการคลิกปุ่ม
3. เลือกประเภทหน้าเว็บจากรายการที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ได้แก่ หน้าเว็บ ประกาศ ตู้เอกสาร กระดาน

ข้อมูลและรายชื่อ

4. รวมศูนย์ข้อมูลที่ใช้งานร่วมกัน: ฝังเนื้อหาที่มีข้อมูลมาก (วิดีโอ เอกสารใน Google Documents
สเปรดชีต งานน าเสนอ สไลด์โชว์ภาพถ่ายใน Picasa, Gadget ของ iGoogle) ลงในหน้าเว็บใดๆ

และอัปโหลดไฟล์แนบต่างๆ

5. จัดการการตั้งค่าการอนุญาต เพื่อให้เว็บไซต์ของคุณเป็นส่วนตัวหรือสามารถแก้ไขและดูได้อย่าง
กว้างขวางตามที่คุณต้องการ

6. ค้นหาในเนื้อหาของ Google Sites ด้วยเทคโนโลยีการค้นหาของ Google


การสร้างเว็บไซด์บน Google Site นอกจากที่เราจะได้เว็บไซด์แล้ว Google ยังให้พื้นที่ในการเก็บ

เว็บไซด์ไว้บน Google ซึ่งแน่นอนว่าไม่มีวันล่ม ดังนั้นจึงมีทั้ง เว็บไซด์และโฮสติ้งในคราวเดียวกัน Google

ให้พื้นที่ในการเก็บเว็บไซด์ส าหรับ Free Account ไว้ที่ 100 MB

- พื้นที่จัดเก็บ 10 GB* (GB=กิกะไบต์)

- ขนาดไฟล์สูงสุด 10 MB (MB=เมกกะไบต์)

- จ านวนหน้าเว็บเพจไม่จ ากัด

-13-




























ตอนที่ 3











บทเรียนส าเร็จรูป (บทเรียนแบบโปรแกรม)

-14-




ควำมหมำยของบทเรียนส ำเร็จรูป


มีผู้ให้ความหมายของบทเรียนส าเร็จรูป หรือบทเรียนแบบโปรแกรมไว้ดังนี้

บทเรียนแบบโปรแกรม เป็นบทเรียนที่สร้างขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเอง และก้าวขึ้นไปตาม


ความสามารถของตน เนื้อหาจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนย่อย และเป็นขั้น ๆ จากง่ายไปสู่ยาก กรอบที่เขียน
ต่อเนื่องกันนั้น จะต้องค านึงถึงวิธีสอน ที่จะให้นักเรียนได้ค้นพบค าตอบด้วยตนเอง แต่ละกรอบจะมีค า

ถามและเฉลยไว้ เมื่อจบบทเรียนแล้ว นักเรียนจะได้รับความรู้ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ (สุโขทัยธรรมธิราช,

2556 : 228)
บุญชม ศรีสะอาด (บุญชม ศรีสะอาด, 2551 : 76-77) กล่าวว่า บทเรียนแบบโปรแกรม หรือ บทเรียน

ส าเร็จรูป (Programmed Instruction) คือ สื่อการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเอง จะเร็วหรือ

ช้า ตามความสามารถของแต่ละบุคคล โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นหลายๆ กรอบ (Frames) แต่ละกรอบจะมี
เนื้อหาที่เรียบเรียงไว้มุ่งให้เกิดการเรียนรู้ตามล าดับ โดยมีส่วนที่ผู้เรียนจะต้องตอบสนอง ด้วยการเขียน

ค าตอบซึ่งอาจอยู่ในรูปเติมค าในช่องว่าง เลือกค าตอบ ฯลฯ และมีส่วนที่เป็นเฉลยค าตอบที่ถูกต้องซึ่งอาจ

จะอยู่ข้างหน้าของกรอบนั้นหรือกรอบถัดไปหรืออยู่ที่ส่วนอื่นของบทเรียนก็ได้บทเรียนแบบโปรแกรมที่สมบูรณ์
จะมีแบบทดสอบวัดความก้าวหน้าของการเรียน โดยท าการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนแล้วพิจารณาว่า

หลังเรียนผู้เรียนแต่ละคนมีคะแนนมากกว่าก่อนเรียนมากน้อยเพียงใด

-15-





หลักของกำรสร้ำงบทเรียนส ำเร็จรูป
การสร้างบทเรียนส าเร็จรูป หรือบทเรียนแบบโปรแกรม จะยึดหลักที่ส าคัญของการสอน 4 ประการ

ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2551 : 77-78)

1. หลักของกำรเรียนรู้เพิ่มทีละน้อย (Gradual Approximation) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้ามีการจัด

แบ่งขั้นของกิจกรรมการเรียนให้เป็นขั้นตอนสั้นๆ พอสมควร เพื่อให้เรียนรู้ เป็นขั้นๆ ขั้นแรก ๆ เป็นพื้นฐาน

เสริม หรือเชื่อมโยง หรือเอื้อให้เกิดการเรียนรู้ในขั้นต่อ ๆ ไป ถ้ากิจกรรมการเรียนมีขั้นตอนที่ยาว และ

ซับซ้อนเกินไป อาจท าให้ผู้เรียนเบื่อหน่าย ท้อถอยได้ จากหลักดังกล่าว ในการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม

จึงมีการแบ่งเนื้อหาการเรียนออกเป็นตอนๆ เป็นกรอบ ผู้เรียนจะค่อยเรียนรู้สั่งสมขึ้นไปเรื่อย ๆ เมื่อเรียน
หลาย ๆ กรอบจนจบบทเรียน ก็จะบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ครบตามต้องการ


2. หลักของกำรมีส่วนร่วมอย่ำงจริงจัง (Active Participation) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียน

ท ากิจกรรม เช่น คิดแก้ปัญหา ค้นหาความสัมพันธ์ ระลึกความรู้เดิม ฯลฯ จากหลักดังกล่าว ในการ
สร้างบทเรียนแบบโปรแกรม จึงมีส่วนที่ผู้เรียนจะต้องตอบสนองออกมา เช่น เติมข้อความลงในช่องว่าง

หรือเลือกค าตอบที่เหมาะสม ฯลฯ โดยจะต้องตอบสนองอยู่บ่อย ๆ แทบทุกกรอบ บางกรอบอาจตอบ
มากกว่า 1 ครั้ง ลักษณะดังกล่าวจะท าให้ผู้เรียนติดตามบทเรียนตลอดเวลา

3. หลักของกำรรู้ผล (Feedback) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนได้รู้ผลของการกระท าของตน

รู้ว่าสิ่งที่ท าไปนั้นถูกหรือผิด ถ้าผิดที่ถูกควรเป็นอย่างไร จากหลักดังกล่าวในการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม

จึงมีการเฉลยค าตอบที่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนทราบว่า ที่ได้ตอบสนองไปนั้น (ที่ได้เติมข้อความที่เหมาะสมลง

ในช่องว่าง หรือได้เลือกค าตอบแล้วนั้น) ถูกต้องหรือไม่ โดยเทียบกับค าตอบที่เฉลยไว้ให้แล้ว

4. หลักของควำมส ำเร็จ (Success Experience) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนรู้สึกว่า ได้รับ
ความส าเร็จท าได้ถูกต้อง ในทางกลับกันถ้าผู้เรียนไม่ได้รับความส าเร็จ ท าไม่ได้อยู่บ่อยๆ ก็จะเกิดความรู้สึก

เบื่อหน่ายท้อถอยไมอยากท า จากหลักดังกล่าวเหล่านี้ จึงมีการปูพื้นฐานเริ่มจากง่ายๆ มีการเขียนย้ าความรู้
และที่ส าคัญคือ ในการตอบสนองบทเรียนจะพยายาม ให้ตอบโดยที่มั่นใจว่า ถ้าผู้เรียนติดตามอย่างตั้งใจ

ก็จะสามารถตอบได้ถูกต้อง

นอกจากนี้แล้วในการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรม ยังใช้หลักของการวิจัย หลักการทางวิทยาศาสตร์
กล่าวคือ กระบวนการสร้างบทเรียน หลังจากที่เขียนบทเรียนเสร็จ จะมีการทดลอง และปรับปรุงหลายครั้ง

ุ่
ในครั้งสุดท้ายทดลองกับกลุ่มตัวอย่างของประชากรที่มงจะให้เรียน โดยใช้จ านวนค่อนข้างมาก บทเรียน
ที่จะน าไปใช้อย่างมั่นใจได้ จะต้องผ่านการทดลองดังกล่าว โดยปรากฏผลที่เชื่อถือได้ นั่นคือ สามารถช่วยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มขึ้นอย่างแน่นอนและเด่นชัด (มีนัยส าคัญ)

-16-





ชนิดของบทเรียนแบบโปรแกรม


บทเรียนแบบโปรแกรมแบ่งออกตามแผนผังได้ดังนี้ (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 :229)



บทเรียนแบบโปรแกรม






แบบต ารา แบบเครื่องช่วยสอน
(Programmed text) (Teaching machine program)







ชนิดเส้นตรง ชนิดสาขา ชนิดผสม
(Linear program) (Branching program) (Mixed program)






ประเภท Straight forward linear program
ประเภท Complex linear program

ประเภท Upside down linear program









รูปแบบของบทเรียนแบบโปรแกรมแบบต ำรำ

แบ่งรูปแบบได้ดังนี้ (สุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 :229-246)

บทเรียนแบบโปรแกรมแบบต ารา (Programmed text) มักเป็นรูปเล่มคล้ายต ารา นักเรียน

สามารถเรียนด้วยตนเอง แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรง (Linear program) บทเรียนแบบนี้จะจัดเรียงจาก
หน่วยย่อยที่ง่าย ไปหายาก ผู้เรียนจะต้องเริ่มจากหน่วยแรก จนถึงหน่วยสุดท้ายของบทเรียน จะข้าม

หน่วยหนึ่งหน่วยใดไม่ได้ บทเรียนชนิดเส้นตรงนี้ ยังแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

-17-





1.1 ประเภท Straight forward linear program คือ โปรแกรมที่มการเรียงข้อ

ตามล าดับในหน้าเดียวกัน ตัวค าถามจะมีที่ว่างเว้นไว้ให้เติมค าตอบ หรือมีค าตอบให้เลือกตอบ ส่วน
เฉลยอาจอยู่ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านบน หรือด้านล่าง ก็ได้ แต่ต้องอยู่ในหน้าเดียวกันกับค าตอบ ที่

นิยมมักจะเอาค าตอบไว้ด้านหน้าของข้อถัดไป


แผนผังของบทเรียนชนิดนี้ มีดังนี้คือ




1 2 3 4







ก. 1

ค าถาม …………………………

…………………………………. ค าตอบ





เฉลย ก. 2


ค าถาม …………………………
…………………………………. ค าตอบ





เฉลย ก. 3


ค าถาม …………………………
…………………………………. ค าตอบ






1.2 ประเภท Complex linear program การเขียนบทเรียนแบบนี้ จะแบ่ง
หน้ากระดาษออกเป็น 3-4 ส่วน ข้อที่ 1 จะอยู่ส่วนบนของหน้า 1 ค าตอบของข้อ 1 จะอยู่

ส่วนบนของหน้า 2 ข้อ 2 จะอยู่ส่วนบนของหน้า 2 ค าตอบของข้อ 2 จะอยู่ส่วนบนของหน้า 3
เรียงตามล าดับจนถึงหน้าสุดท้าย แล้วจึงวนกลับมาหน้าแรก

-18-






แผนผังของบทเรียนชนิดนี้ มีดังนี้คือ


หน้า 1. หน้า 2. หน้า 50. (สุดท้าย)



ก.1 เฉลย ก.2 เฉลย ก.50
ค าถาม...……… 1 ค าถาม...……… 49 ค าถาม...………

………...ค าตอบ ………...ค าตอบ ………...ค าตอบ


เฉลย ก.51 เฉลย ก.52 เฉลย ก.53

50 ค าถาม...……… 51 ค าถาม...……… 52 ค าถาม...………
………..ค าตอบ ………...ค าตอบ ………...ค าตอบ


เฉลย ก.54 เฉลย ก.55 เฉลย ก.56

53 ค าถาม...……… 54 ค าถาม...……… 55 ค าถาม...………
………..ค าตอบ ………...ค าตอบ ………...ค าตอบ







การเขียนบทเรียนแบบโปรแกรมชนิดนี้ ท าให้ยุ่งยากเสียเวลาเปล่าๆ การเขียนกรอบก็จะเหมือน

ประเภท Straight forward linear program ทุกประการ เพียงแต่ว่า เฉลยค าตอบจะอยู่คนละ
หน้ากับค าถาม

1.3 ประเภท Upside down linear program แบบนี้คล้ายกับแบบ Straight forward
linear program คือ เขียนกรอบเรียงลงมา เมื่อเรียงล าดับเต็มหน้า 1 แล้ว ก็ข้ามไปหน้า 3 หน้า 5
… ต่อไปจนจบเล่ม พอถึงหน้าสุดท้ายซึ่งเป็นหน้าเลขค ก็กลับสมุด หรือหนังสือ แล้วเขียนกรอบย้อน
ี่
มาจบตรงหน้า 2 แต่กลับหัวกันกับหน้า 1



2. บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดสำขำ (Branching program) บทเรียนแบบนี้ จะประกอบ
ด้วยกรอบหลัก ซึ่งผู้เรียนทุกคนจะต้องเรียน กรอบเหล่านี้ เรียกว่ากรอบยืนหมายถึง กรอบที่เป็นล าดับ

ที่แท้จริงของบทเรียน ถ้าผู้เรียนท าแต่ละกรอบถูกต้องกจะเรียนตามกรอบยืนไปตลอด ในแต่ละกรอบ
ยืนจะบรรจุเนื้อหาที่เป็นหลักของเรื่อง แล้วต่อด้วยปัญหาให้ผู้เรียนตอบ ลักษณะของปัญหานิยมใช้
แบบให้เลือกตอบชนิด 3 ตัวเลือก

-19-







ในแต่ละตัวเลือก จะบอกหน้าและข้อก ากับไว้ หรืออาจจะบอกให้ดูค าตอบที่กรอบใดก็ได้ ผู้เรียนก็
จะพลิกไปดูตามที่บอกไว้

เมื่อผู้เรียนเลือกค าตอบแล้วก็จะมีค าสั่งท้ายตัวเลือกให้ไปอ่านที่กรอบสาขา ซึ่งจะเป็นกรอบที่

บอกว่าผู้เรียนท าผิดหรือถูก ถ้าผู้เรียนท าถูก ก็จะท ากรอบยืนต่อไป ถ้าผู้เรียนท าผิดก็จะอ่านค าอธิบาย
เพิ่มเติมที่กรอบสาขา แล้วย้อนมาท าที่กรอบยืนใหม่ จนกว่าจะท าถูกต้อง


บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดนี้ ประกอบด้วยกรอบหลัก หรือกรอบยืน และกรอบสาขาดังนี้





กรอบ กรอบ กรอบ
สาขา สาขา สาขา





กรอบยืน กรอบยืน กรอบยืน





กรอบ กรอบ กรอบ

สาขา สาขา สาขา





ก.1

ค าถาม………………………..
ก. ……………………… เปิดไปหน้า 4 ข้อ 2
ข. ……………..……….. เปิดไปหน้า 10 ข้อ 37

ค. ……………………… เปิดไปหน้า 8 ข้อ 30







3. บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดผสม (Mixed program) เป็นบทเรียนที่ใช้ แบบเส้นตรง

และแบบสาขาผสมกัน

-20-






ประโยชน์ของบทเรียนแบบโปรแกรม

บทเรียนแบบโปรแกรมมีประโยชน์ ดังนี้ ( สุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 : 252 )
1. ผู้เรียนมีโอกาสเรียนด้วยตนเอง และมีอิสระในการเรียน
2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสามารถ

3. ช่วยผ่อนแรงของผู้สอนและแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้สอน
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักการค้นคว้า และศึกษาด้วยตนเอง

5. ฝึกความสุจริตและความมีวินัยในตนเอง


ข้อจ ำกัดของบทเรียนแบบโปรแกรม

บทเรียนแบบโปรแกรมมีข้อจ ากัด ดังนี้ ( สุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 : 252 )
1. บทเรียนแบบโปรแกรมที่ยืดยาวเกินไปถึง 200 - 300 กรอบนั้น จะท าให้ผู้เรียนเบื่อหน่าย

2. ไม่สามารถใช้บทเรียนแบบโปรแกรมแทนครูได้โดยสิ้นเชิง บางครั้งผู้เรียนก็อาจจะต้องขอ
ค าแนะน าจากผู้สอนบ้าง
3. ถ้าผู้เรียนไม่สุจริต เปิดดูค าตอบแล้วมาเติม ก็จะท าให้เสียผลการเรียน และประเมินผลได้ไม่

แน่นอน



ขั้นตอนในกำรสร้ำงบทเรียนแบบโปรแกรม
ในการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมอาจแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนใหญ่ๆ แต่ละขั้นตอนมีขั้นตอน

ย่อย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ( บุญชม ศรีสะอาด, 2551 : 79 - 83 )

1. ขั้นเตรียม ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 4 ขั้น ดังนี้

1.1 ศึกษาหลักสูตร ขั้นแรกสุดจะต้องศึกษาหลักสูตรให้ละเอียด เพื่อให้ทราบว่า จะต้องสอน
อะไร มีเนื้อหาอะไรบ้าง ทั้งนี้ควรศึกษาเอกสารหลักสูตรต่างๆ เช่นประมวลการสอน คู่มือครู ต ารา

เรียน สมุดแบบฝึกหัด ฯลฯ
ื่
1.2 ก าหนดจุดประสงค์ เมื่อได้ก าหนดเนื้อหาไว้แล้ว ต่อไปก็จะต้องก าหนดจุดประสงค์เพอ
เป็นแนวในการเขียนบทเรียนและในการสร้างแบบทดสอบ จุดประสงค์ ที่จะก าหนดเป็นจุดประสงค์การ
เรียนรู้ เป็นการคาดหวังของผู้เขียนบทเรียนนั้น ๆ ว่า หลังจากที่ผู้เรียนเรียนจบบทเรียนนั้นแล้ว จะเกิด

การเรียนรู้อะไรบ้าง โดยจะก าหนดเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)

1.3 วิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) เป็นการวิเคราะห์เพื่อทราบว่า ในการเรียนเรื่องนั้น
ๆ จะต้องอาศัยความรู้พื้นฐานหรือพฤติกรรมเมื่อเริ่มเข้าเรียนอะไรบ้างระหว่างที่เรียนนั้นจะต้องเรียนรู้

อะไรบ้าง และพฤติกรรมขั้นสุดท้าย ( Terminal Behavioral ) คืออะไร

-21-





1.4 สร้างแบบทดสอบ เป็นการสร้างแบบทดสอบเพื่อวัดผลการเรียนรู้ในบทเรียนเรื่องนั้น

ซึ่งจะสร้างโดยยึดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเป็นหลัก แบบทดสอบนี้ นอกจากจะช่วยให้ทราบผล
การเรียนหลังจากเรียนบทเรียนนั้นแล้ว ยังช่วยให้ทราบถึงความงอกงามในการเรียนจากจุดเริ่มต้น ถึง

จุดสุดท้าย โดยการพิจารณาคะแนนสอบหลังเรียน กับก่อนเรียน ถ้าผลการสอบหลังเรียนสูงกว่า
ก่อนเรียนมาก ก็ชี้ถึงว่าผู้เรียนเกิดความงอกงามมาก และชี้ถึงว่า บทเรียนนั้นมีประสิทธิภาพด้วย


2. ขั้นด ำเนินกำรเขียน ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 2 ขั้น ดังนี้

2.1 เขียนบทเรียน เขียนบทเรียนโดยแบ่งเป็นกรอบ (Frame) ต่างๆ ตั้งแต่กรอบแรก
จนถึงกรอบสุดท้าย อาจเลือกเขียนแบบเส้นตรง (Linear Programs) หรือ แบบแตกกิ่ง

(Branching Programs) ก็ได้
2.2 ทบทวนและแก้ไข หลังจากที่เขียนบทเรียนเสร็จแล้วควรทิ้งไว้สักระยะหนึ่งแล้วน ามา

พิจารณาหาจุดบกพร่อง เพื่อแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น โดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ดังนี้

2.2.1 การแก้ไขด้านความถูกต้องของเนื้อหา จะต้องพิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง
ด้านนี้เป็นอันดับแรก นอกจากผู้เขียนจะเป็นผู้พิจารณาเองแล้ว ควรมีผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหาวิชา
นั้นโดยเฉพาะตรวจสอบ 2-3 คน

2.2.2 การแก้ไขด้านการเรียบเรียงภาษา ผู้เขียนลองเรียนบทเรียนนั้น โดยสมมติว่า

ตนเองเป็นนักเรียน ที่ยังไม่รู้เรื่องมาก่อน และเป็นเด็กระดับปานกลางถ้าเห็นว่า ณ ที่ใดมีข้อความที่
ยังไม่สื่อความหมายดีพอ นักเรียนอาจไม่เข้าใจ ก็จะต้องแก้ไขตรงจุดนั้น

2.2.3 การแก้ไขด้านเทคนิคการเขียน จะต้องพิจารณาหลายด้าน เช่น ความต่อเนื่อง

ของบทเรียน ความเหมาะสมของการแบ่งกรอบ ความเหมาะสม และคุณภาพของภาพที่ใช้ (ถ้าม)
เป็นต้น
3. ขั้นทดลองและปรับปรุง

หลังจากที่เขียนบทเรียนเสร็จเรียบร้อยแล้วนั่นคือ หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่ 2 แล้ว กจะ

น าบทเรียนนั้นไปทดลองใช้กับนักเรียนในระดับชั้นนั้น โดยเลือกที่เรียนออนหรือเกือบปานกลาง

เพราะจะช่วยให้ได้ข้อมูลในการแก้ไขจุดบกพร่อง ดีกว่าการเลือกเด็กเก่ง อนึ่งถ้าเด็กออนสามารถ

เรียนบทเรียนได้ ก็ย่อมสามารถประกันได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่หรือทั้งหมดน่าจะเรียนได้เช่นกัน

ถ้าข้อความตอนใดที่ผู้เรียนไม่เข้าใจ ไม่แน่ใจในการตอบหรือมีความคิดเห็นใดๆ จากการเรียน

บทเรียนนั้น ผู้เขียนบทเรียนจะบันทึก และอภิปรายกับผู้เรียน เพอที่จะทราบจุดที่ต้องปรับปรุง การ
ื่
ทดลองใช้เป็นรายบุคคลดังกล่าว จะท าไปทีละคนประมาณ 3-4 ค น แล้วน าข้อมูลทั้งหมดมาปรับปรุง
บทเรียน

-22-



























ตอนที่ 4












การเรียนรู้แบบบูรณาการ และทฤษฎีพหุปัญญา

-23-




กำรเรียนรแบบบูรณำกำร
ู้
ควำมหมำยของบูรณำกำร

ส าหรับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Management) หมายถึง กระบวนการ


จัดประสบการณการเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ โดยเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของศาสตร์ต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สามารถน าความรู้ ทักษะ และเจตคติไปสร้างงาน
แก้ปัญหา และใช้ในชีวิตประจ าวันได้ด้วยตนเอง


หลักสูตรบูรณาการ (Integrated Curriculum) หมายถึง การรวมเนื้อหาสาระ ของวิชาต่างๆ
ในหลักสูตรที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายกันและทักษะในการเรียนรู้ ให้เชื่อมโยงสัมพันธ์เป็นสิ่งเดียวกัน

โดยการตั้งเป็นหัวข้อเรื่องขึ้นใหม่ และมีหัวข้อย่อยตามเนื้อหาสาระ อีกทั้งสอดคล้องกับบริบทการเรียนรู้ของ
สังคมอย่างสมดุล มีความหมายแก่ผู้เรียน และให้โอกาสผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองให้มากที่สุด

และการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ใช้วิธีสอนหลายวิธี จัดกิจกรรม
ต่างๆ ในการสอนเนื้อหาสาระที่เชื่อมโยงกัน ตลอดจนมีการฝึกทักษะที่หลากหลาย (สิริพัชร์ เจษฏาวิโรจน์.
2546 : 16)

นักวิชาการศึกษาหลายท่าน ได้กล่าวถึง ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ไว้ดังนี้
Lardizabal and Others. (1970 :141) กล่าวว่าการเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึงการ

สอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองยังผล
ให้เกิดการพัฒนาในด้านบุคลิกภาพในทุก ๆ ด้าน ผู้เรียนสามารถปรับตัว และตอบสนองต่อทุกสถานการณ์
การแก้ปัญหานี้ขึ้นอยู่กับ ประสบการณ์ และความรู้พื้นฐาน การสอนแบบบูรณาการจะให้ความส าคัญกับครู

และนักเรียนเท่าเทียมกัน สามารถท ากิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกันแบบประชาธิปไตย

กาญจนา คุณารักษ.( 2522:21) กล่าวว่า การเรียนการสอนแบบบูรณาการหมายถึง กระบวนการ

หรือการปฏิบัติเกี่ยวกับการเรียนรู้ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางจิตพิสัย และพุทธิพิสัยหรือกระบวนการ
หรือการปฏิบัติ ในอันที่จะรวบรวมความคิด มโนภาพ ความรู้ เจตคติ ทักษะ และประสบการณ์ในการแก้

ปัญหา เพื่อให้ชีวิตมีความสมดุล

สุมานิน รุ่งเรืองธรรม.(2522:32) กล่าวว่าการเรียนการสอนแบบบูรณาการหมายถึงการสอนเพื่อจัด

ประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้ที่มีความหมาย ให้เข้าใจลักษณะความเป็นไปอันส าคัญของสังคม เพื่อ
ดัดแปลงปรับปรุงพฤติกรรมของผู้เรียนให้เข้ากับสภาพชีวิตได้ดียิ่งขึ้น


ผกา สัตยธรรม.( 2523:45-54) กล่าวว่าการเรียนการสอนแบบบูรณาการหมายถึงลักษณะการสอน
ที่น าเอาวิชาต่างๆ เข้ามาผสมผสานกัน โดยใช้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็นแกนหลักและน าเอาวิชาต่างๆ มาเชื่อมโยง
สัมพันธ์กันตามความเหมาะสม

-24-




นที ศิริมัย. (2529:63-65) กล่าวว่าการเรียนการสอนแบบบูรณาการ หมายถึง เทคนิคการสอนโดย

เน้นความสนใจ ความสามารถ และความต้องการของผู้เรียน ด้วยการผสมผสานเนื้อหาวิชา ในแง่มุมต่าง ๆ
อย่างสัมพันธ์กัน เป็นการสร้างความคิดรวบยอดให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียน และยังสามารถน าความคิดรวบยอด
ไปสร้างเป็นหลักการ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วย


โดยสรุป การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้
แก่ผู้เรียนตามความสนใจ ความสามารถ และความต้องการ โดยการเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ในศาสตร์สาขา

ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงพฤติกรรมของผู้เรียนทั้งทางด้าน
สติปัญญา(Cognitive) ทักษะ (Skill) และจิตใจ (Affective) สามารถน าความรู้และทักษะที่ได้ไปแก้ไขปัญหา

ด้วยตนเอง และสามารถน าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจ าวัน


กำรสอนแบบบูรณำกำร มีกรอบแนวความคิด ดังนี้


1. ศาสตร์ทุกศาสตร์ไม่อาจแยกจากกันโดยเด็ดขาดได้ เช่นเดียวกับวิถีชีวิตของคนที่ต้องด ารงอยู่
อย่างประสาน กลมกลืนเป็นองค์รวม การจัดให้เด็กได้ฝึกทักษะ และเรียนรู้เนื้อหาต่าง ๆ อย่างเชื่อมโยง

สัมพันธ์กัน จะท าให้การเรียนรู้มีความหมายสอดคล้องกับชีวิตจริง
2. การจัดการเรียนรู้อย่างบูรณาการ จะช่วยลดความซ้ าซ้อนของเนื้อหาวิชา ลดเวลาการเรียนรู้

ของผู้เรียน เป็นการแบ่งเบาภาระในการสอนของครู
3. การเรียนแบบบูรณการ ท าให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้ความคิด ประสบการณ์ ความสามารถ และ
ทักษะต่างๆ อย่างหลากหลาย ก่อให้เกิดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการ และเนื้อหาสาระไปพร้อมๆ กัน




ลักษณะของกำรบูรณำกำร มีลักษณะโดยสรุป ดังนี้


1. การบูรณาการเชิงเนื้อหาสาระ เป็นการผสมผสานเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ ในลักษณะการหลอม
รวมกันโดยการตั้งเป็นหน่วย (Unit) หรือหัวเรื่อง (Theme)

2. การบูรณาการเชิงวิธีการ เป็นการผสมผสานวิธีการสอนแบบต่าง ๆ เข้าในการสอน โดยการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายวิธี การสนทนา การอภิปราย การใช้ค าถาม การบรรยาย การค้นคว้า

และการท างานกลุ่ม การไปศึกษานอกห้องเรียน และการน าเสนอข้อมูลเป็นต้น
3. การบูรณาการความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ โดยออกแบบการเรียนรู้ ให้มีทั้งการให้ความรู้และ
กระบวนการไปพร้อม ๆ กัน เช่น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา และ กระบวนการ

สร้างความคิดรวบยอดเป็นต้น
4. การบูรณาการความรู้ ความคิด กับคุณธรรม โดยเน้นทั้งพุทธิพิสัยและจิตพิสัย เป็นการเรียน

ที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อม ๆ กัน เพื่อที่นักเรียนจะได้เป็น “ผู้มีความรู้ คู่คุณธรรม

-25-





แนวคิดส ำคัญของกำรจัดกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร


Lardizabal and others. (1970:142-143) ได้กล่าวถึง การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ต้องยึด

หลักส าคัญที่ว่าแกนกลางของประสบการณ์อยู่ที่ความต้องการของผู้เรียน และประสบการณ์ในการเรียนรู้จัดเป็น


หน่วยการเรียน

หน่วยการเรียนอาจแบ่งแยกออกเป็นประเภทใหญ่ได้ 3 ประเภท
1. หน่วยเนื้อหา (Subject – Matter Unit) เป็นการเน้นหน่วยเนื้อหาหรือหัวข้อเรื่องต่างๆ หลักการ
หรือสิ่งแวดล้อม

2. หน่วยความสนใจ (Center of Interest Unit) จัดเป็นหน่วยขึ้น โดยยึดพื้นฐานความสนใจ และ
ความต้องการ หรือจุดประสงค์เด่นๆของผู้เรียน

3. หน่วยเสริมสร้างประสบการณ์ (Integrative Experience Unit) เป็นการรวบรวมประสบการณ์
หรือจุดเน้น อยู่ที่ผลการเรียนรู้ และสามารถน าไปสู่การปรับพฤติกรรม การปรับตัวของผู้เรียน

หน่วยดังกล่าว หมายถึง กลุ่มกิจกรรมหรือ ประสบการณ์ที่จัดไว้ เพื่อสนองจุดมุ่งหมายหรือส าหรับ

การแก้ปัญหาใด ปัญหาหนึ่ง การเรียนเริ่มจากจุดสนใจใหญ่ แล้วแยกไปสู่กิจกรรมในแง่มุมต่าง ๆ จนกระทั่ง
ผู้เรียนสามารถตอบสนองสถานการณ์ที่ก าหนดไว้ได้


Unesco-unep. (1994: 51) ก าหนดลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอนไว้ 2 แบบ คือ
1. แบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ได้แก่ การสร้างเรื่อง (Theme) ขึ้น มาแล้วน าความรู้จาก

วิชาต่างๆมาโยงสัมพันธ์กับ หัวเรื่องนั้น ซึ่งบางครั้งเราก็อาจเรียกวิธีการบูรณาการ แบบนี้ว่า สหวิทยาการแบบ
หัวข้อ (Themetic Interdisciplinary Studies) หรือบูรณาการที่เน้นการน าไปใช้ เป็นหลัก (Application

-First Approach)
2. แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) ได้แก่ การน าเรื่องที่ต้องการจะจัด ให้เกิดการบูรณาการ
ไปสอดแทรก (Infusion) ไว้ในวิชาต่างๆ ซึ่งบางครั้ง ก็อาจเรียกวิธีการบูรณาการแบบนี้ว่า การบูรณาการที่เน้น

เนื้อหารายวิชาเป็นหลัก (Discipline-First Approach)

สุวิทย์ มูลค า และอรทัย มูลค า. (2546 : 184-191) ให้แนวคิดในการแบ่งประเภทการจัดการเรียนรู้

แบบบูรณาการ เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ คือ

ี่
แบบท 1. จ าแนกตามจ านวนผู้สอน มี 3 ลักษณะ คือ
1.1 การบูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว ผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ โดยเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้
ต่างๆ กับหัวเรื่อง ที่สอดคล้อกับชีวิตจริง หรือสาระที่ก าหนดขึ้นมาเชื่อมโยงสาระ และกระบวนการเรียนรู้ท าให้

ี่
ผู้เรียนได้ใช้ทักษะ และกระบวนการเรียนรู้ไปแสวงหาความรู้ความจริงจากหัวข้อเรื่องทก าหนด

-26-





1.2 การบูรณาการแบบคู่ขนาน มีผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันจัดการเรียนการสอนโดยอาจ

ยึดหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วบูรณาการเชื่อมโยงแบบคู่ขนานกันไป ภายใต้หัวเรื่องเดียวกัน

1.3 การบูรณาการแบบสอนเป็นทีม ผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันคิดหัวข้อเรื่องหรือโครงการ


โดยใช้เวลาเรียนต่อเนื่องกัน อาจรวมจ านวนชั่วโมงของสาระการเรียนรู้ต่างๆ แบบมีเป้าหมายเดียวกัน

ี่
แบบท 2. จ าแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ แบ่งเป็น 2 ลักษณะ ได้แก ่
2.1 การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มุ่งให้
ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงแนวคิด ทักษะและความคิดรวบยอดของสาระการเรียนรู้สาระใดสาระหนึ่งนั่นเอง

2.2 การบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่น าเอา

สาระการเรียนรู้จากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ มาเชื่อมโยงกันเพื่อจัดการเรียนรู้ภายใต้หัวข้อเรื่องเดียวกัน

แบบท 3. จ าแนกตามประเภทของการบูรณาการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก ่
ี่
3.1 การบูรณาการแบบสหวิทยาการ เป็นลักษณะการบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ การ

น าเอาสาระการเรียนรู้ จากหลายกลุ่มสาระ มาเชื่อมโยงร้อยรัดให้เป็นเนื้อเดียวกัน เพื่อจัดการเรียนรู้ภายใต้
หัวเรื่องเดียวกัน
3.2 การบูรณาการแบบพหุวิทยาการ เป็นลักษณะการบูรณาการ ที่ผู้สอนน าเอาเรื่อง หรือสาระ

การเรียนรู้ที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ไปสอดแทรกในสาระการเรียนรู้หรือวิชาที่ตัวเองรับผิดชอบสอน
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2548: 188-192) แบ่งประเภทการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เป็น

2 รูปแบบดังนี้ คือ

1. กำรบูรณำกำรภำยในวิชำ (Interdisciplinary) หมายถึง การน าเนื้อหาสาระในวิชาเดียวกัน
หรือกลุ่มประสบการณ์เดียวกันมาสัมพันธ์กัน ผู้สอนสามารถน าสาระทุกเรื่องมาสัมพันธ์กันเป็นเรื่องเดียวได้

2. กำรบูรณำกำรระหว่ำงวิชำ (Interdisciplinary หรือ multidisciplinary) หมายถึง การน า

เนื้อหาสาระของสองวิชาหรือหลายๆ วิชา มาสัมพันธ์ให้เป็นเรื่องเดียวกัน ภายใต้หัวข้อเรื่อง “theme” ที่
เลือกนั้นในการบูรณาการระหว่างวิชา สามารถจัดได้หลายลักษณะด้วยกัน และน าเสนอ 3 รูปแบบ ดังนี้

2.1 แบบสอดแทรก (Infusion) คือลักษณะการจัดการเรียนรู้ จะสอดแทรกเนื้อหาหรือทักษะ

กระบวนการของกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นเข้าในการจัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระของตน โดยมีผู้สอน 1 คน
2.2 แบบคู่ขนาน(Parallel) คือลักษณะการจัดการเรียนรู้จะมีครู 2 คนขึ้นไป 2 กลุ่มสาระ

การเรียนรู้ขึ้นไปวางแผนร่วมกัน ตามหัวเรื่อง มโนทัศน์ (concept) ปัญหา (problem) เดียวกัน และ
เชื่อมโยงเนื้อหาสาระ กระบวนการและคุณธรรม แล้วต่างคนต่างสอนเนื้อหาตามกลุ่มสาระของตนเอง โดย
มีเป้าหมายร่วมกัน

-27-




2.3 แบบพหุวิทยาการ(Multidisciplinary) แบ่งเป็น 4 ลักษณะดังนี้คือ

2.3.1 แบบสอนคนเดียว คือ การจัดการเรียนรู้โดยเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่างๆกับหัวเรื่อง/
มโนทัศน์/ปัญหาที่สอดคล้องกับชีวิตจริง หรือสาระที่ก าหนดขึ้นมา
2.3.2 แบบแยกกันสอน คือ การจัดการเรียนรู้ จะคล้ายแบบคู่ขนาน โดยเชื่อมโยงสาระการ

เรียนรู้ต่างๆ ตามหัวเรื่อง/มโนทัศน์/ปัญหา แล้วต่างคนต่างสอนเนื้อหาตามกลุ่มสาระของตัวเองแต่มอบหมาย
ให้ท าโครงงานเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้ต่างๆร่วมกัน หรือบางเรื่องจัดสอนด้วยกัน

2.3.3 แบบสอนร่วมกันหรือแบบคณะ คือ การจัดการเรียนรู้จะร่วมกันวางแผน ปรึกษาหารือ
ก าหนดหัวเรื่องความคิดรวบยอด หรือปัญหาร่วมกันสร้างหน่วยเรียนรู้บูรณาการร่วมกัน และสอนเป็นทีมหรือ
แยกกันสอนในบางเรื่อง

2.3.4 แบบข้ามวิชา (Transdisciplinary) คือลักษณะการจัดการเรียนรู้เป็นการบูรณาการที่สูง
ขึ้น สลัดความเป็น “วิชา” ของแต่ละศาสตร์ออกไปเป็นการเรียนโดยมีเค้าโครง หรือโจทย์ประเด็นปัญหาที่วาง

ไว้ ผู้เรียนเรียนรู้หรือแสวงหาแนวทางการแก้ปัญหา โดยผ่านกิจกรรมและการศึกษาค้นคว้าที่หลากหลาย


กรมวิชาการ. (2549 : 3-4) ได้แบ่งประเภทการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการออกเป็น 2 แบบ คือ

1. กำรบูรณำกำรภำยในวิชำ เป็นการเชื่อมโยงการสอนระหว่างเนื้อหาวิชา/กลุ่มประสบการณ์
หรือรายวิชาเดียวกันเข้าด้วยกัน

2. กำรบูรณำกำรระหว่ำงวิชำ มี 4 รูปแบบ ดังนี้
2.1 การสอนบูรณาการแบบสอดแทรก เป็นการสอนในลักษณะที่ผู้สอนในวิชาหนึ่งสอด
แทรกเนื้อหาวิชาอื่นๆ ในการสอนของตน

2.2 การสอนบูรณาการแบบคู่ขนาน เป็นการสอนโดยผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกัน
วางแผนการสอน โดยมุ่งสอนหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด หรือปัญหาเดียวกัน แต่สอนต่างวิชากัน หรือ

ต่างคนต่างสอน
2.3 การสอนบูรณาการแบบสหวิทยาการ เป็นการสอนบูรณาการแบบคู่ขนาน แต่มีการ
มอบหมายงาน หรือโครงการร่วมกัน

2.4 การสอนบูรณาการแบบข้ามวิชา หรือสอนเป็นคณะ เป็นการสอนที่ผู้สอนวิชาต่าง ๆ
ร่วมกันสอนเป็นคณะ หรือเป็นทีมวางแผนปรึกษาหารือร่วมกัน โดยก าหนดหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด

ปัญหาร่วมกันแล้วร่วมกันสอนผู้เรียนเป็นกลุ่มเดียว

จากการศึกษาการจัดการเรียนรู้บูรณาการดังกล่าว ท าให้ผู้วิจัย มีแนวคิดที่จะใช้การจัดกิจกรรม

แบบบูรณาการ ในการแก้ปัญหาผู้เรียนในรายวิชาอาเซียนศึกษา โดยน าสาระการเรียนรู้อื่นๆ ได้แก่ วิชา
ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ มาบูรณาการแบบสอด

แทรก และแบบคู่ขนาน เพื่อให้การจัดกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ และมประสิทธิภาพ

-28-





ทฤษฎีพหุปัญญำ (Theory of Multiple Intelligences)

การจะบอกว่าเด็กคนหนึ่งฉลาด หรือมีความสามารถมากน้อยเพียงใด ถ้าเราน าระดับสติปัญญา

หรือไอคิว ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันมาเป็นมาตรวัด ก็อาจได้ผลเพียงเสี้ยวเดียว เพราะว่าวัดได้เพียงเรื่องของ
ภาษา ตรรกศาสตร์ คณิตศาสตร์ และมิติสัมพันธ์เพียงบางส่วนเท่านั้น ยังมีความสามารถอีกหลายด้านที่

แบบทดสอบในปัจจุบัน ไม่สามารถวัดได้ครอบคลุมถึง เช่น ความสามารถทางดนตรี ความสามารถทางกีฬา
และความสามารถทางศิลปะ เป็นต้น (http://www.babybestbuy.in.th/shop/theory_of_multiple_

Intelligence)

ศาสตราจารย์โฮวาร์ด การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) นักจิตวิทยา มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เป็นผู้
หนึ่งที่พยายามอธิบายถึง ความสามารถที่หลากหลาย โดยคิดเป็น “ ทฤษฎีพหุปัญญา ” (Theory of

Multiple Intelligences) เสนอแนวคิดว่า สติปัญญาของมนุษย์ มีหลายด้านที่มีความส าคัญเท่าเทียมกัน
ขึ้นอยู่กับว่าใครจะโดดเด่นในด้านไหนบ้าง แล้วแต่ละด้านผสมผสานกัน แสดงออกมาเป็นความสามารถใน
เรื่องใด เป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละคนไป

ในปี พ.ศ. 2526 การ์ดเนอร์ ได้เสนอว่าปัญญาของมนุษย์มีอยู่อย่างน้อย 7 ด้าน คือ ด้านภาษา
ด้านตรรกศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านร่างกาย และการเคลื่อนไหว ด้านดนตรี ด้าน

มนุษยสัมพันธ์ และด้านการเข้าใจตนเอง ต่อมาปี พ.ศ. 2540 ได้เพิ่มเติมเข้ามาอีก 1 ด้าน คือ ด้านธรรมชาติ
วิทยา เพื่อให้สามารถอธิบายได้ครอบคลุมมากขึ้น จึงสรุปได้ว่า พหุปัญญาตามแนวคิดของการ์ดเนอร์ ใน
ปัจจุบันมีปัญญาอยู่อย่างน้อย 8 ด้าน ดังนี้


1. ปัญญำด้ำนภำษำ (Linguistic Intelligence)
คือความสามารถในการใช้ภาษาแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมืองจนถึงภาษาอื่นๆ สามารถ

รับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น ก็มักเป็น
กวี นักเขียน นักพูด นักหนังสือพิมพ์ ครู ทนายความ หรือนักการเมือง

2. ปัญญำด้ำนตรรกศำสตร์และคณิตศำสตร์ (Logical-Mathematical Intelligence)
คือ ความสามารถในการคิด แบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และ
การคิดค านวณทางคณิตศาสตร์ ผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่นก็มักเป็นนักบัญชี นักสถิติ นักคณิตศาสตร์ นักวิจัย

นักวิทยาศาสตร์ นักเขียนโปรแกรม หรือวิศวกร
3. ปัญญำด้ำนมิติสัมพันธ์ (Visual-Spatial Intelligence)

คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และ
ต าแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่อง
ทิศทาง ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น จะมีทั้งสายวิทย์ และสายศิลป์ สายวิทย์ ก็มักเป็น นักประดิษฐ์

วิศวกร ส่วนสายศิลป์ ก็มักเป็นศิลปินในแขนงต่างๆ เช่น จิตรกร วาดรูป ระบายสี เขียนการ์ตูน นักปั้น
นักออกแบบ ช่างภาพ หรือสถาปนิก เป็นต้น

-29-





4. ปัญญำด้ำนร่ำงกำยและกำรเคลื่อนไหว (Bodily Kinesthetic Intelligence)

คือ ความสามารถในการควบคุม และแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ
ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความ

ยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักกีฬาหรือ
ไม่ก็ศิลปินในแขนง นักแสดง นักฟ้อน นักเต้น นักบัลเล่ย์ หรือนักแสดงกายกรรม

5. ปัญญำด้ำนดนตรี (Musical Intelligence)

คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจ า
และการแต่งเพลง สามารถจดจ าจังหวะ ท านอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการ

ฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักดนตรี นัก
ประพันธ์เพลง หรือนักร้อง


6. ปัญญำด้ำนมนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Intelligence)
คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่

ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ าเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพ
ได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จ าเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน แต่
ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นครูบาอาจารย์ ผู้ให้ค าปรึกษา นักการทูต เซลแมน พนักงาน

ขายตรง พนักงานต้อนรับ ประชาสัมพันธ์ นักการเมือง หรือนักธุรกิจ

7. ปัญญำด้ำนกำรเข้ำใจตนเอง (Intrapersonal Intelligence)

คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออก
อย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้อง

ขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกัน
ก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาด
หวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง เป็นปัญญาด้านที่จ าเป็นต้องมีอยู่ในทุกคนเช่นกัน

เพื่อให้สามารถด ารงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีความสุข ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มักจะเป็นนักคิด นัก
ปรัชญา หรือนักวิจัย


8. ปัญญำด้ำนธรรมชำติวิทยำ (Naturalist Intelligence)
คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ปรากฏการณ์ และ

การรังสรรค์ต่าง ๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความ
สามารถในการจัดจ าแนก แยกแยะ ประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์ ส าหรับผู้ที่มีปัญญาด้านนี้โดดเด่น มัก
จะเป็นนักธรณีวิทยา นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือนักส ารวจธรรมชาติ

-30-






ทฤษฎีนี้ได้ถูกน าไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในกระบวนการส่งเสริมการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้มี
ประสิทธิภาพสูงสุด โดยเน้นความส าคัญใน 3 เรื่องหลัก ดังนี้

1. แต่ละคน ควรได้รับการส่งเสริมให้ใช้ปัญญาด้านที่ถนัด เป็นเครื่องมือส าคัญในการเรียนรู้

2. ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้สอดรับกับปัญญาที่

มีอยู่หลายด้าน
3. ในการประเมินผลการเรียนรู้ ควรวัดจากเครื่องมือที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถครอบคลุม
ปัญญาในแต่ละด้าน


ทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ ชี้ให้เห็นถึงความหลากหลายทางปัญญาของมนุษย์ ซึ่งมีหลายด้าน
หลายมุม แต่ละด้านก็มีความอิสระ ในการพัฒนาตัวของมันเองให้เจริญงอกงาม ในขณะเดียวกันก็มีการ

บูรณาการเข้าด้วยกัน เติมเต็มซึ่งกันและกัน แสดงออกเป็นเอกลักษณ์ทางปัญญาของมนุษย์แต่ละคน คน
หนึ่งอาจเก่งเพียงด้านเดียว หรือเก่งหลายด้าน หรืออาจไม่เก่งเลยสักด้าน แต่ที่ชัดเจน คือ แต่ละคนมักม ี

ปัญญาด้านใดด้านหนึ่งโดดเด่นกว่าเสมอ ไม่มีใครที่มีปัญญาทุกด้านเท่ากันหมด หรือไม่มีเลยสักด้านเดียว
นับเป็นทฤษฎี ที่ช่วยจุดประกายความหวัง เปิดกระบวนทัศน์ใหม่ ในการศึกษาด้านสติปัญญาของมนุษย์
สามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในกลุ่มเด็กปกติ เด็กที่มีความบกพร่อง และเด็กที่มีความสามารถพิเศษ

-31-


























ตอนที่ 5











วิเคราะห์หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้อาเซียน

-32-

-33-




ความสัมพันธ์ของแผนการจัดการเรียนรู้และนวัตกรรมอาเซียน







แผนการจัดการเรียนรู้ บทเรียนส าเร็จรูปเว็บไซด์ สื่อประสม เวลา






แผนที่ 1 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 1 2 ชั่วโมง

“รู้จักกับอาเซียนและเมืองไทย” “ราชอาณาจักรไทย” 2. เกม “ธงชาติ”
www.sites.google.com/site/dongschool52 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง





แผนที่ 2 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 2 2 ชั่วโมง

“อยู่ไม่ไกลประเทศลาวเป็นพี่น้อง” 2. เกม “เมืองหลวง”
“สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” 3. สรุปบทเรียน
www.sites.google.com/site/dongschool54 4. เรียนเล่น เต้นร้อง





1. ชุดกิจกรรม เล่ม 3
แผนที่ 3 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 2. เกม “สัญลักษณ์” 2 ชั่วโมง
“ตะวันตกเมียนม่าร์ตามครรลอง” “สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า 3. สรุปบทเรียน

www.sites.google.com/site/dongschool55 4. เรียนเล่น เต้นร้อง



1. ชุดกิจกรรม เล่ม 4 2 ชั่วโมง
แผนที่ 4 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 2. เกม “ดอกไม้
“จ าได้คล่องกัมพูชา ติดชายแดน” “ราชอาณาจักรกัมพูชา” ประจ าชาติ”

www.sites.google.com/site/dongschool56 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง



1. ชุดกิจกรรม เล่ม 5 2 ชั่วโมง
แผนที่ 5 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 2. เกม “สัตว์
“รูปตัวเอสเวียดนามนั้นจ าง่าย” “สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม” ประจ าชาติ”

www.sites.google.com/site/dongschool57 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง

-34-





แผนการจัดการเรียนรู้ บทเรียนส าเร็จรูปเว็บไซด์ สื่อประสม เวลา




แผนที่ 6 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 6 2 ชั่วโมง
“เกาะมากมายฟิลิปปินส์คงจ าแม่น” “สาธารณรัฐฟิลิปปินส์” 2. เกม“ชุดประจ าชาติ”
www.sites.google.com/site/dongschool58 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง

แผนที่ 7 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 7 2 ชั่วโมง

“มาเลเซียภาคใต้ไทยใกล้เขตแดน” 2. เกม “อาหาร
“สหพันธรัฐมาเลเซีย” ประจ าชาติ”
www.sites.google.com/site/dongschool59 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง


แผนที่ 8 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 8 2 ชั่วโมง

“คนเนืองแน่นเซ็นโตซ่าสิงคโปร์” “สาธารณรัฐสิงคโปร์” 2. เกม “สกุลเงิน”

www.sites.google.com/site/dongschool60 3. สรุปบทเรียน
4. เรียนเล่น เต้นร้อง


แผนที่ 9 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 1. ชุดกิจกรรม เล่ม 9 2 ชั่วโมง
“เนื้อที่ใหญ่ในอาเซียนอินโดฯนั้น” “สาธารณรัฐอินโดนีเซีย” 2. เกม “มรดกโลก”
3. สรุปบทเรียน
www.sites.google.com/site/dongschool61 4. เรียนเล่น เต้นร้อง



1. ชุดกิจกรรม เล่ม 10 2 ชั่วโมง
แผนที่ 10 เรื่อง บทเรียนเว็บไซด์ เรื่อง 2. เกม “ผู้น าประเทศ”
“เมืองในฝันบรูไนคนสุขโข” “เนการาบรูไนดารุสซาลาม” 3. สรุปบทเรียน

www.sites.google.com/site/dongschool62 4. เรียนเล่น เต้นร้อง

-35-

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้บูรณำกำร


แผนที่ 1 เรื่อง “รู้จักกับอำเซียนและเมืองไทย” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง


ประจ าวัน ...................ที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. .......... ครูผู้สอน นายยรรยง ปกป้อง




1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ผลกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด


อำเซียนศึกษำ


มาตรฐาน ส5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน
และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา

วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ

สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส านึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียน

2. มีความรู้ความเข้าใจ สภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การปกครองและเศรษฐกิจ ของประเทศสมาชิกอาเซียน

3. ใช้ทักษะการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
4. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน

ภำษำไทย

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ด าเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ม.1/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

ม.1/2 จับใจความส าคัญจากเรื่องที่อ่าน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน

รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ม.1/2 เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยค าถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย


มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด ม.1/1 พูดสรุปใจความส าคัญของเรื่องที่ฟังและด ู

-36-




ภำษำอังกฤษ

มาตรฐาน ต 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด
และการเขียน
ตัวชี้วัด ม.1/1 พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจ าวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อม
ใกล้ตัว


มาตรฐาน ต 1.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน
ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน

ตัวชี้วัด ม.1/1 ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล / ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
จากแหล่งเรียนรู้ และน าเสนอด้วยการพูด / การเขียน



คณิตศำสตร์

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจ านวนและการใช้จ านวนในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด ม.1/1 ระบุหรือยกตัวอย่าง และเปรียบเทียบจ านวนเต็มบวก จ านวนเต็มลบ ศูนย์ เศษส่วน

และทศนิยม
ม.1/2 เข้าใจเกี่ยวกับเลขยกก าลังที่มีเลขชี้ก าลังเป็นจ านวนเต็ม และเขียนแสดงจ านวน
ให้อยู่ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร์ (scientific notation)


มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการด าเนินการของจ านวนและความสัมพันธ์ระหว่าง
การด าเนินการต่าง ๆ และใช้การด าเนินการในการแก้ปัญหา

ตัวชี้วัด ม.1/1 บวก ลบ คูณ หารจ านวนเต็ม และน าไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึงความสมเหตุ
สมผลของค าตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ การหาร และ

บอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของจ านวนเต็ม
ม.1/2 บวก ลบ คูณ หารเศษส่วนและทศนิยม และน าไปใช้แก้ปัญหา ตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของค าตอบ อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ

การหาร และบอกความสัมพันธ์ของการบวกกับการลบ การคูณกับการหารของ
เศษส่วนและทศนิยม

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด

ตัวชี้วัด ม.1/1 เปรียบเทียบหน่วยความยาว หน่วยพื้นที่ ในระบบเดียวกัน และต่างระบบ และเลือก

ใช้หน่วยการวัดได้อย่างเหมาะสม

มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด

ตัวชี้วัด ม.1/1 ใช้ความรู้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ

-37-




2. สำระส ำคัญ / ควำมคิดรวบยอด

2.1 การศึกษาประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียน จะช่วยสร้างความรู้
ความเข้าใจ และตระหนักถึงการเป็นส่วนร่วมของประชาคมอาเซียน

2.2 การสรุปสาระส าคัญจากเรื่องที่อ่านและชมวีดีโอ จะช่วยส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ
สภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ และศิลปวัฒนธรรมของประเทศไทย

ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น
2.3 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต มีความจ าเป็นส าหรับการสืบค้นข้อมูลในปัจจุบัน

3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้


3.1 สรุปประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียนได้
3.2 บอกที่ตั้ง อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศของประเทศไทยได้

3.3 บอกประชากร เชื้อชาติ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทยได้
3.4 อ่านค าศัพท์ภาษาอังกฤษชื่อประเทศต่างๆ ในอาเซียนได้
3.5 ตอบค าถามและสรุปความรู้เป็นภาษาอังกฤษเกี่ยวกับประเทศไทยได้

3.6 แต่งประโยคโดยใช้ค าส าคัญเกี่ยวกับประเทศไทยได้
3.7 เขียนสรุปสาระส าคัญจากการชมวีดีโอเกี่ยวกับประเทศไทยได้

3.8 พูดสรุปสาระส าคัญจากการชมวิดีโอเกี่ยวกับประเทศไทยได้
3.9 คิดค านวณและเปรียบเทียบปริมาณของเงินไทยได้ถูกต้อง
3.10 แปลงปริมาณการวัดความยาวหรือระยะทางในหน่วยต่างๆ ได้ถูกต้อง

3.11 เปลี่ยนจ านวนให้อยู่ในรูปจ านวนเต็ม ทศนิยม และสัญกรณวิทยาศาสตร์ได้

3.12 ฟังเพลงในบทเรียนอย่างมีความสุขและเกิดการเรียนรู้

3.13 ใช้ทักษะคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในการเล่นเกม น าเสนอและสืบค้นข้อมูลได้

4. สำระกำรเรียนร ู้

4.1 ความรู้เรื่อง “ประชำคมอำเซียน” (ประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียน)
4.2 ความรู้เรื่อง “รำชอำณำจักรไทย” (สภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ

ศิลปวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ)
4.3 ทักษะการอ่านค าศัพท์/ประโยคภาษาอังกฤษ

4.4 ทักษะการพูดตอบค าถาม/สรุปสาระส าคัญเป็นภาษาอังกฤษ
4.5 ทักษะการสรุปเรื่อง (แต่งประโยค/สรุปสาระส าคัญจากเนื้อหาที่อ่าน และจากการชมวีดีโอ)
4.6 ทักษะการคิดค านวณ และการจ าแนก (เงินไทย ความยาวและระยะทาง)

4.7 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (การเรียนรู้ สืบค้นข้อมูล น าเสนอและเล่นเกม)

-38-




5. สมรรถนะที่ส ำคัญของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการสื่อสาร (การเขียนสรุปสาระส าคัญ พูดตอบค าถามและน าเสนอข้อมูล)

5.2 ความสามารถในการคิด (ฝึกตอบค าถาม คิดค านวณ คิดเปรียบเทียบ และคิดวิเคราะห์จากวีดีโอ)
5.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (ฝึกการใช้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล
และเรียนรู้บทเรียนเว็บไซด์ ตลอดจนการสร้างเกมจากโปรแกรม 3D Album CS)


6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ (บูรณาการประวัติศาสตร์ชาติไทย ฝึกร้องเพลงปลุกใจ เพลงเกี่ยวกับ
องค์ความรู้ของชาติไทย และชาติต่างๆ ในอาเซียน)

6.2 ซื่อสัตย์สุจริต (บทเรียนส าเร็จรูปส่งเสริมในด้านความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่เปิดดูเฉลยก่อน)
6.3 มีวินัย (บทเรียนส าเร็จรูปส่งเสริมให้ผู้เรียนท าตามขั้นตอนในการเรียน จึงจะบรรลุจุดประสงค์)

6.4 ใฝ่เรียนรู้ (การมอบหมายให้ผู้เรียนไปสืบค้นข้อมูล และศึกษาด้วยตนเองเพิ่มเติม)

7. ชิ้นงำน / ภำระงำน

7.1 บันทึกคะแนนการทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน

7.2 บันทึกคะแนนการเล่นเกม “ธงชำติ”
7.3 ชุดกิจกรรม : เปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1 เรื่อง “ราชอาณาจักรไทย”
7.4 เกมและสรุปบทเรียนอาเซียนจากโปรแกรม 3D Album CS

7.5 บัตรค า หรือสไลด์ Power Point ค าศัพท์/ประโยคภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับประเทศไทย
7.6 บัตรค า/แผนภูมิประโยคสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย

7.7 แฟ้มงานการเขียน / รายงานการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
7.8 ใบงานคณิตศาสตร์ (การเปรียบเทียนจ านวน/การแปลงหน่วยการวัดความยาวหรือระยะทาง)
7.9 แผนภูมิเพลง “เมืองหลวงของไทย” และเพลง “รัตนโกสินทร์”

7.10 แบบประเมินเจตคติต่อการจัดกิจกรรม และการพูดน าเสนอผลงาน

8. กิจกรรมกำรเรียนรู้


8.1 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “อำเซียนศึกษำ 1” (1 ชั่วโมง 40 นาที)

ขั้นน ำเข้ำสู่บทเรียน
1. ครูและนักเรียนจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ได้แก่ คอมพิวเตอร์ สายไฟ โปรเจคเตอร์

หรือโทรทัศน์ (หน้าจอขนาดใหญ่) แบบทดสอบและสื่อการเรียนรู้ ให้เพียงพอและเหมาะสม
2. แนะน าเว็บไซด์และวิธีใช้เว็บไซด์ (http://www.sites.google.com/site/dongschool2556) ซึ่ง
เป็นชื่อเว็บไซด์บทเรียนส าเร็จรูป เรื่อง “กลุ่มประเทศอาเซียน” ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

3. นักเรียนฝึกเปิดเว็บไซด์นี้หน้าชั้นเรียน โดยให้น าเสนอต่อเพื่อนๆ ทางโปรเจคเตอร์หรือโทรทัศน์

-39-




4. ก่อนศึกษาบทเรียนให้เปิดดูวีดีโอน าเรื่อง เพื่อท าความรู้จักกับประเทศสมาชิกอาเซียนก่อน ดังภำพ
































5. สนทนาซักถามเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในวีดีโอโดยใช้ความรู้และประสบการณ์เดิมของนักเรียน เช่น
-มีธงชาติประเทศใดบ้าง -เมืองหลวงของประเทศต่างๆ ชื่ออะไรบ้าง

6. จัดกิจกรรมบูรณาการแบบสอดแทรก วิชาภาษาอังกฤษ (ดังรายละเอียดในกิจกรรม ข้อ 8.2)

ขั้นจัดกิจกรรมโดยใช้บทเรียนเว็บไซด์

7. นักเรียนใช้เม้าส์คลิกไปที่ธงชาติประเทศไทย เพื่อเริ่มศึกษาบทเรียน ดังภำพ

-40-




8. จะได้หน้าเว็บไซด์หน้าแรกคือบทน า ให้ผู้เรียนอ่านความรู้ในกรอบ เพื่อน าเข้าสู่เรื่อง ดังภำพ






























9. เปิดฟังเพลงจำกวีดีโอ ซึ่งจะมีภาพเคลื่อนไหวเกี่ยวกับสถานที่ส าคัญของประเทศไทย
สนทนา ซักถามเกี่ยวกับภาพต่างๆ

10. ใช้เม้าส์คลิกไปที่ขั้นตอนในกำรเรียน (อยู่แถบด้านข้าง) ศึกษาขั้นตอนในการเรียน โดยครูชี้แจง
เพิ่มเติมว่า นักเรียนต้องปฏิบัติไปตามล าดับ และเพื่อให้การเรียนบรรลุจุดประสงค์ นักเรียนจะ

ต้องไม่เปิดดูเฉลยก่อนหาค าตอบเสมอ ไม่เช่นนั้นการศึกษาบทเรียนจะไม่เกิดประโยชน์เลย
11. นักเรียนควรศึกษาความรู้ และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นความรู้เสริมที่ปรากฏอยู่ในแต่ละหน้า

-41-




12. ใช้เม้าส์คลิกไปที่จุดประสงค์กำรเรียนรู้ ในแถบด้านข้างของหน้าเว็บเพจ ดังภำพ





























13. อ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อท าความเข้าใจว่าเมื่อเรียนจบบทเรียนนี้แล้ว นักเรียนจะต้อง

สามารถท าอะไรได้ โดยครูชี้แจงเพิ่มเติม
14. ใช้เม้าส์คลิกไปที่แบบทดสอบก่อนเรียน ที่อยู่ด้านข้างของหน้าเว็บเพจ ดังภำพ






























15. เริ่มท าแบบทดสอบก่อนเรียน จากแบบทดสอบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ เพื่อท าให้
ทราบความรู้พื้นฐานเดิมของตนเอง โดยเขียนตอบลงในสมุดแบบฝึกหัด หรือในเอกสารที่ครู

จัดเตรียมให้ (นักเรียนต้องซื่อสัตย์ต่อตนเอง โดยจะต้องไม่เปิดดูเฉลยก่อนทุกครั้ง ไม่เช่นนั้น
การเรียนบทเรียนครั้งนี้ ก็จะไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย)

-42-




16. ใช้เม้าส์คลิกไปที่กรอบ 1.1 เป็นการเริ่มศึกษาเนื้อหาของบทเรียนจากกรอบแรก โดยนักเรียน

จะต้องใช้ทักษะการสังเกต (ดูแผนที่) ทักษะการจับใจความส าคัญจากการอ่านเนื้อหาในกรอบ
เพื่อใช้ในการตอบค าถามในกรอบถัดไป




























17. ศึกษาบทเรียนจากกรอบ 1.1 ไปจนถึงกรอบสุดท้ายตามล าดับ โดยการอ่าน ตอบค าถาม แล้วจึง

ตรวจสอบค าตอบในกรอบถัดไป ซึ่งในบางกรอบจะมีวีดีโอให้นักเรียนดู แล้วจึงตอบค าถาม
18. ให้นักเรียนตอบค าถามลงในชุดกิจกรรมเปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1

19. จัดกิจกรรมบูรณาการแบบสอดแทรก วิชาภาษาไทย (ดังรายละเอียดในกิจกรรม ข้อ 8.3)
20. เมื่อนักเรียนศึกษาบทเรียนถึงกรอบสุดท้ายแล้ว จึงท าแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจค าตอบ

ขั้นสรุปบทเรียน

21. แบ่งกลุ่มแข่งขันเล่น “เกมธงชำติ” โดยครูแนะน าวิธีเปิดโปรแกรมและวิธีเล่นให้นักเรียนเข้าใจ

แล้วจึงเริ่มเล่นไปทีละค าถาม แต่ละกลุ่มบันทึกค าตอบทีละขอจนครบทุกข้อ กลุ่มไหนท าคะแนน
ได้มากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ
22. ครูซักถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ “รำชอำณำจักรไทย” จากเนื้อหาในบทเรียนเพิ่มเติม เช่น

- ฝั่งตะวันออกภาคใต้ของประเทศไทย คือมหาสมุทรใด
- เทือกเขาใดเป็นพรมแดนกั้นระหว่างไทยกับมาเลเซีย
- กรุงเทพมหานคร หรือ “กรุงรัตนโกสินทร์” สร้างขึ้นเมื่อใด

- ดอกไม้ประจ าชาติไทยมีชื่ออะไร
- จังหวัดล่าสุดของประเทศไทย คือจังหวัดใด

23. ศึกษาสรุปบทเรียนจาก 3D Album CS และร้องเพลง “เมืองหลวงของไทย หรือ รัตนโกสินทร์”
24. มอบหมายให้นักเรียนไปศึกษาบทเรียนเว็บไซด์ และค้นคว้าความรู้ในเนื้อหาเพิ่มเติมในเวลาว่าง

-43-




8.2 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “ภำษำอังกฤษ” (5 นาที)
จัดกิจกรรมบูรณำกำรแบบสอดแทรก ในขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1. นักเรียนอ่านค าศัพท์ภาษาอังกฤษประเทศต่างๆ ในอาเซียน 10 ประเทศ จากบัตรค า
2. ฝึกเขียนศัพท์ภาษาอังกฤษ เกี่ยวกับประเทศไทยเช่น Thailand , Bangkok , Wat Phra Kaew
3. ฝึกอ่านชื่อเต็มของค าว่า “ASEAN” (Association of Southeast Asian Nations)

4. ฝึกตอบค าถามและสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย ตัวอย่างเช่น
4.1 The capital of Thailand is Bangkok.

4.2 Thailand is in Southeast Asia.
4.3 The King of Thailand is Bhumibol.
4.4 Wat Phra Kaew is in Bangkok. 4.5 Ratchaphruek is a nation flower of Thailand.

8.3 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “ภำษำไทย” (15 นาที)
จัดกิจกรรมบูรณำกำรแบบสอดแทรก ในขั้นจัดกิจกรรมบทเรียนเว็บไซด์

1. นักเรียนอ่านค าศัพท์เกี่ยวกับประเทศไทยได้แก่ ประเทศไทย, ทะเลอันดามัน, ดอยอินทนนท์ ฯลฯ
2. ฝึกอ่านค าศัพท์ เต้นและร้องเพลง จากชุดกิจกรรม “เรียนเล่น เต้นร้อง”
3. ฝึกแต่งประโยคจากค าเหล่านี้ ให้ได้ใจความสมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น

3.1 ประเทศไทย : ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3.2 ทะเลอันดามัน : ทะเลอันดามันอยู่ติดกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก

3.3 ดอยอินทนนท์ : ดอยอินทนนท์ เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย
4. อ่านออกเสียงเพลง “เมืองหลวงของไทย” สนทนาซักถามความรู้เกี่ยวกับเพลง
5. เลือกอ่านความรู้ในกรอบใดกรอบหนึ่งของบทเรียนเว็บไซด์ แล้วเขียนสรุปสาระส าคัญ

ให้ได้ใจความสมบูรณ์ (ใครท าอะไร/ที่ไหน/อย่างไร)
6. นักเรียนท าชุดกิจกรรมเปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1 ชุดที่ 9-10

8.4 กิจกรรมกำรเรียนรู้ “คณิตศำสตร์” (30 นาที)
จัดกิจกรรมบูรณาการแบบคู่ขนาน ในชั่วโมงการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
1. แข่งขันการบวกลบ คูณหารจ านวนนับ และทศนิยม จากประโยคสัญลักษณ์

2. ฝึกการแปลงจ านวนเต็มให้อยู่ในรูป a x 10 (สัญกรณ์วิทยาศาสตร์)
n
3. นักเรียนท าใบงานการบวกลบ คูณหารจ านวนนับ และทศนิยม

4. นักเรียนท าใบงานการแปลงจ านวนเต็มให้อยู่ในรูป a x 10 n
5. ทบทวนและฝึกการเปลี่ยนปริมาณการวัดความยาว หรือพื้นที่ ตัวอย่างเช่น
5.1 ส่วนที่กว้างที่สุดของประเทศไทยมีความยาว 750 กิโลเมตร หรือ 750,000 เมตร

53
5.2 ยอดอินทนนท์มีความสูง 2,597 เมตร หรือเท่ากับ 2.597 x 10 เมตร
5
5.3 ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,000 ตารางกิโลเมตร หรือเท่ากับ 5.13 x 10 ตารางกิโลเมตร
6. นักเรียนท าชุดกิจกรรมเปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1 ชุดที่ 11

-44-




9. สื่อกำรเรียนร ู้


9.1 บทเรียนส าเร็จรูป ประเภทเว็บไซด์ เรื่อง “รำชอำณำจักรไทย”

ชื่อเว็บไซด์ http://www.sites.google.com/site/dongschool52


9.2 ชุดกิจกรรมเปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1
9.3 เกมอาเซียน จากโปรแกรม 3D Album CS ได้แก่ “เกมธงชำติ”

9.4 คอมพิวเตอร์ โปรเจคเตอร์ หรือโทรทัศน์จอขนาดใหญ่

9.5 สไลด์สรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย จากโปรแกรม 3D Album CS

9.6 บัตรค าหรือสไลด์ Power Point ค าศัพท์/ประโยคภาษาอังกฤษ
9.7 ตัวอย่างค าศัพท์ส าคัญ และประโยคสรุปความรู้เกี่ยวกับประเทศไทย

9.8 ใบงานเกี่ยวกับการแปลงจ านวนและปริมาณการวัดความยาว

9.9 เพลง “เมืองหลวงของไทย” และเพลง “รัตนโกสินทร์”

9.10 “เรียนเล่น เต้นร้อง” จากโปรแกรม 3D Album CS
9.11 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ




10. กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้

10.1 การวัดและประเมินผลระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้

-การซักถาม ความรู้ความเข้าใจ

-การตรวจผลงาน การท าชุดกิจกรรมเปิดโลกการเรียนรู้สู่โลกกว้าง เล่ม 1
-การตรวจผลงาน การเขียนสรุปเรื่อง

-การตรวจผลงาน การคิดค านวณ/การแปลงปริมาณการวัด

-การสังเกตพฤติกรรม ได้แก่ การตอบค าถาม การอ่านค า/ข้อความ และการพูดสรุปเรื่อง


10.2 การวัดและประเมินผลหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้

-การท าแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
-การสังเกตพฤติกรรม ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

-การสังเกตพฤติกรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์ มีวินัย และใฝ่เรียนรู้

-45-





11. บันทึกผลหลังกำรสอน
11.1 ด้านพุทธิพิสัย (K)

…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………..
11.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..

11.3 ด้านจิตพิสัย (A)
…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………..




(ลงชื่อ) ............................................ ครูผู้สอน

(นายยรรยง ปกป้อง)

ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านดงเจริญ



12. ควำมเห็นของหัวหน้ำสถำนศึกษำ

…………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………..




(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการ โรงเรียนบ้านดงเจริญ

-46-

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้บูรณำกำร


แผนที่ 2 เรื่อง “อยู่ไม่ไกลประเทศลำวเป็นพี่น้อง” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 2 ชั่วโมง


ประจ าวัน ...................ที่ ........ เดือน ...................... พ.ศ. .......... ครูผู้สอน นายยรรยง ปกป้อง




1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ผลกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด


อำเซียนศึกษำ


มาตรฐาน ส5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน
และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา

วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ

สร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตส านึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลการเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจประวัติการก่อตั้งประชาคมอาเซียน กลไกและกฎบัตรอาเซียน

2. มีความรู้ความเข้าใจ สภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม ประชากร ภาษา เชื้อชาติ ศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี การปกครองและเศรษฐกิจ ของประเทศสมาชิกอาเซียน

3. ใช้ทักษะการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในอาเซียนโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
4. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน

ภำษำไทย

มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อน าไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ

ด าเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
ตัวชี้วัด ม.1/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน

ม.1/2 จับใจความส าคัญจากเรื่องที่อ่าน

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน

รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด ม.1/2 เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยค าถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย


มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด ม.1/1 พูดสรุปใจความส าคัญของเรื่องที่ฟังและด ู


Click to View FlipBook Version