The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามความเข้มข้น 3 ระดับสู่สากล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นรีรัตน์ ชลายน, 2022-09-11 03:28:53

English Handbook

คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามความเข้มข้น 3 ระดับสู่สากล

Keywords: English Handbook

คูมอื แนวทางการจัดการ
การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ
ตามความเขม ขน 3 ระดบั สสู ากล

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน IP
กระทรวงศกึ ษาธิการ IEP

International Program (IP) GEP
GenerIanlteEnngsilvisehEPnrgolgisrhamPr(oGgErPa)m (IEP)

คมู อื
แนวทางการจดั การ
การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ
ตามความเขม ขน 3 ระดบั สสู ากล

สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำ� นำ�

กระทรวงศึกษาธิการได้ก�ำหนดนโยบายและจุดเน้นด้านการศึกษา ภายใต้แผนปฏิรูปประเทศ ด้านการศึกษา
โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือยกระดับคุณภาพ ลดความเหลอ่ื มล้ำ� มุ่งความเป็นเลศิ และสร้างขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของ
ประเทศ รวมถึงการปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ที่ผ่านมาส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ได้ให้ความส�ำคัญและส่งเสริมการพัฒนาด้านจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาภาษาอังกฤษ
เช่น การร่วมมือกับบริติช เคานซิล ประเทศไทย ด�ำเนินโครงการพัฒนาครูแกนน�ำภาษาอังกฤษในระดับภูมิภาค
(Boot Camp) โดยมีครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีผ่านการพัฒนากว่า 17,000 คน  รวมถึงการจัดท�ำแอพพลิเคช่ัน
เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ ประกอบดว้ ย  Echo English  สำ� หรบั ประชาชนทว่ั ไป  Echo Hybrid (ประชารฐั ) ใชค้ ขู่ นาน
กบั Echo English เนน้ นกั เรยี นและครู ครอบคลมุ ถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษา และ Echo V  สำ� หรบั ผเู้ รยี นอาชวี ศกึ ษา รวมถงึ การเปดิ
เวบ็ ไซต์ Tuifree.com เพอื่ ใหน้ กั เรยี นสามารถหาความรู้ เทคนคิ เคลด็ ลบั ในการเรยี นรวู้ ชิ าตา่ งๆ และเปน็ การเรยี นเสรมิ นอกบทเรยี น
โดยมีติวเตอร์ชื่อดังมาร่วมให้ความรู้ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของเด็กไทย

2

ก็ยังต้องพัฒนาอีกมาก เพ่ือให้การด�ำเนินการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ มีความเป็นมาตรฐานสากลมากขึ้น
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงได้มีการปรับปรุง พัฒนา น�ำระบบหลักสูตรภาษาอังกฤษท่ีมีมาตรฐาน
นานาชาติ สื่อการสอน การวดั ผลประเมินผลผู้เรียนตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษา (Common European
Framework References : CEFR) โดยไดม้ กี ารพิจารณากลั่นกรองจากผู้เช่ียวชาญและองค์กรภายนอกที่มคี วามเชี่ยวชาญ
เฉพาะดา้ น อาทิ UK Curriculum, International Baccalaureate, USA, Australia เพอื่ ใหก้ ารพฒั นาภาษาองั กฤษเกดิ ผล
อยา่ งเปน็ รปู ธรรมเปน็ แนวทางการพฒั นาภาษาองั กฤษแบบเขม้ 3 ระดบั สสู่ ากล ประกอบดว้ ย 1) General English Program
2) Intensive English Program 3) International Program  คมู่ อื แนวทางการพฒั นาภาษาองั กฤษแบบเขม้ ขน้ 3 ระดบั
สสู่ ากล นี้ ไดอ้ ธบิ ายแนวทางการพฒั นาภาษาองั กฤษตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาในมติ ขิ องคณุ ภาพผเู้ รยี นทตี่ อ้ งการ คณุ สมบตั ิ
ครูผู้สอน ระบบหลักสูตร สื่อการสอน และการวัดผลประเมินผลท่ีมีคุณภาพและเป็นท่ียอมรับในระดับนานาชาติ
โดยสถานศกึ ษา สามารถพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษของตนเองตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั ไดใ้ นทกุ มติ ติ ามความพรอ้ ม
และศกั ยภาพของโรงเรียน

สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 

3

สารบญั

01 02 03 04

บทนำ� 8 กตดราำ� เมอนบหนิ กลงากั ารสนตู ร Pภส(หGrำ� าลoeหษักngราสreบั อaูตrmทงั รaกยุกl ฤก:โEรษGรnงะEgเดรPliยี บัs) hน ภห(PแInบrาลotษบักegาสเrnขอaตู sม้mงัรivกeฤ: IษEEPn)glish
14 28 40
วตั ถปุ ระสงค์ 11
ภาพรวมกรอบ ภาพรวมหลกั สตู ร 29 ภาพรวมหลกั สูตร 41
การดำ� เนินงาน เปา้ หมายการพัฒนา เปา้ หมายการพัฒนา
ตามหลกั สตู ร 15 ระดบั ความสามารถ ระดับความสามารถ
เปา้ หมายการพัฒนา ทางภาษาของผ้เู รยี น ทางภาษาของผู้เรียนในหลกั สูตร 41
ระดับความสามารถ ในหลกั สตู ร 30 ค�ำอธิบายตัวอยา่ งชุดวดั ผล
ทางภาษาองั กฤษ คำ� อธิบายตัวอย่างชุดวดั ผลทกั ษะ ทกั ษะภาษาอังกฤษ
ของผูเ้ รียน 16 ภาษาอังกฤษของ Oxford, ของ Oxford, LanguageCert.
คำ� อธิบายหลักสูตร LanguageCert. Cambridge Cambridge และ Pearson 43
และการประเมนิ และ Pearson 32 คุณสมบัติของครูผสู้ อน
ผลการเรยี นรู้ 19 คุณสมบตั ิของครผู ้สู อน หลักสูตร Intensive English
หลักสูตร General English Program (IEP) 47
Program (GEP) 36

05 06 ภาคผนวก

หลกั สูตร การบริหารจดั การ รายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ
นานาชาติ ดำ� เนนิ งาน หลักสตู ร General English
(International หลกั สูตร 70 Program (GEP) 84
English รายละเอียดเพม่ิ เตมิ
Program : IP) คณุ สมบตั ผิ ูบ้ ริหาร หลักสูตร International
52 สถานศกึ ษา 71 Program (IP) 104
คุณสมบัตบิ ุคลากร ตารางเปรยี บเทียบ
ภาพรวมหลักสตู ร 53 ที่เกย่ี วข้อง 72 ข้อสอบวัดผลภาษาองั กฤษ
เป้าหมายการพัฒนา ขอ้ ควรตระหนกั 78 เทียบกบั กรอบทางด้านภาษา CEFR 113
ระดบั ความสามารถ วธิ กี ารขอดำ� เนินงาน บทเฉพาะกาล 114
ทางภาษาองั กฤษของผเู้ รียน จัดการเรียนการสอน
หลักสตู รนานาชาติ 55 ตามหลักสตู ร 80
ตวั อยา่ งหลักสตู รและ
การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 56
คณุ สมบัติของครผู ูส้ อน
หลกั สูตร International
Program (IP) 68





คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

บทที่

01

บทน�ำ

8

บทที่ 01 บทน�ำ

“ภาษาอใชงั ้ตกิดฤษต่อเปส็นื่อภสาาษรถางึสกานักทลทั่วโน่ี ลากน”าประเทศ

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกยุควิทยาการและสังคมแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการพัฒนา ท�ำให้ข้อมูลข่าวสาร
เผยแพร่อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม และอ่ืนๆ มีการเช่ือมโยงถึงกันเป็น
เครอื ขา่ ย และสง่ อทิ ธพิ ลถงึ กนั ความสามารถในการสอื่ สารดว้ ยภาษาองั กฤษจงึ เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ทางเทคโนโลยี
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั การจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเทยี บเทา่ ระดบั นานาชาติ จงึ เปน็ การยกระดบั ความสามารถ
ดา้ นภาษา (Language proficiency) และเปน็ พนั ธกจิ ทสี่ ำ� คญั ของการพฒั นาการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นในระดบั การศกึ ษา
ขน้ั พนื้ ฐานทง้ั ในระดบั ประถมศกึ ษา และมธั ยมศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ผทู้ มี่ คี ณุ ภาพทงั้ ดา้ นทกั ษะ (Skill) คณุ ลกั ษณะ (Characteristic)
และสมรรถนะ (Competency) ท่ีส�ำคญั ต่อการเปน็ ประชากรโลก (Global Citizen) ในศตวรรษท่ี 21

9

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

นอกจากน้ี ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งมั่นพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ผู้เรียนเป็น
คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยการบริหารจัดการ
แบบมีส่วนร่วมบูรณาการ การจัดการศึกษาบนพื้นฐานของความรับผิดชอบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ซึ่งการปรับปรุงหลักสูตรในระดับปฐมวัยและหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และน�ำหลกั สูตรไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ให้เกิดประสิทธิภาพ และการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั หลักสูตร
ตรงตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และสงั คม รวมถงึ การสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รยี นมคี วามมนั่ ใจในการสอ่ื สาร
ภาษาองั กฤษ ภาษาประเทศคคู่ า้ และภาษาอาเซยี นอยา่ งนอ้ ย 1 ภาษา ตา่ งเปน็ จดุ เนน้ ของนโยบายที่ 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการพฒั นา
คณุ ภาพผเู้ รยี น และสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั โดยมตี วั ชวี้ ดั ความสำ� เรจ็ ของการจดั การเรยี นรู้
ตามหลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พอ่ื สอดคลอ้ งตามความจำ� เปน็ และความตอ้ งการของผเู้ รยี น ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และสงั คมทร่ี อ้ ยละ 100
และการประเมนิ ความสามารถดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษของผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่ร้อยละ 80 จึงเห็นได้ว่า ความส�ำคัญของ
การเลอื กใชห้ ลกั สตู รภาษาองั กฤษทเี่ หมาะสมจะนำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรยี นรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสทิ ธผิ ลสงู สดุ
กับผูเ้ รยี นเป็นส�ำคัญ

พนั ธกจิ ทส่ี ำ� คญั ดงั กลา่ ว จงึ มกี ารกำ� หนดเปา้ หมาย (Aims) กรอบการดำ� เนนิ การตามหลกั สตู ร (Framework) โครงสรา้ ง
หลักสูตร (Program) และการวัดประเมินผลผู้เรียน (Assessment and evaluation) ตามกรอบทางด้านภาษา
ทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั นานาชาติ คอื CEFR* โดยผา่ นกระบวนการการจดั การเรยี นการสอนจำ� นวน 3 หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย
1) หลักสูตรนานาชาติ International Program (IP) 2) หลักสูตรภาษาอังกฤษแบบเข้ม Intensive English
Program (IEP) และ 3) หลักสูตรยกระดับภาษาอังกฤษส�ำหรับทุกโรงเรียน General English Program (GEP)
เพื่อเป็นคู่มือ (Handbook) แก่สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
และส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) ที่เปิดหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตรภาษาอังกฤษ
ตามโครงการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเนน้ ภาษาองั กฤษ (English Program / Mini-English
Program) สถานศึกษาทเ่ี ปิดห้องเรียนภาษา โดยเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา เช่น โครงการห้องเรยี นพิเศษภาษาอังกฤษ (English
Gifted Classroom Program) โครงการหอ้ งเรยี นภาษาองั กฤษแบบเขม้ (Intensive English Program) รวมทงั้ สถานศกึ ษา
ท่วี างแผนจะเปิดหลักสตู รภาษาอังกฤษในระดับตา่ งๆ อกี ด้วย

CEFR* (Common European Framework Reference) ซ่ึงจัดระดบั ความสามารถดา้ นภาษาไว้ 6 ระดับ คอื A1, A2, B1, B2,
10 C1, C2 รายละเอียดเพม่ิ เตมิ ศึกษาท่หี นา้ 31

บทท่ี 01 บทน�ำ

วัตถุประสงค์
คมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษตามความเข้มขน้ 3 ระดับสู่สากล มีวัตถุประสงค์ดงั นี้

1. เสนอแนะแนวทางการด�ำเนินงานตามหลักสูตรภาษาอังกฤษให้ได้มาตรฐานทั้งระบบมุ่งสู่ความเป็นสากลเพ่ือเทียบเท่า

ระดับนานาชาติ และเปน็ ทางเลือกใหส้ ถานศกึ ษาน�ำไปปฏิบตั ิให้เหมาะสมกบั บริบทของตนเอง

2. น�ำเสนอกระบวนการจัดการเรียนรู้คู่มือ และเอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอน ตัวอย่าง เอกสาร

การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาของผู้เรียน แนวทางการยกระดับและพัฒนาครูไทยและครูต่างชาติท้ังด้าน
ภาษาอังกฤษและการสอนรายวิชาเป็นภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับสมรรถนะขีดความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียน
ให้เพ่ิมสงู ขน้ึ

3. ลดความเหลื่อมล�้ำและลดช่องว่างทางการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนทุกระดับได้มีโอกาสในการเข้าถึงการจัดการเรียนรู้

ภาษาองั กฤษทม่ี ีประสิทธภิ าพตามมาตรฐานสากลไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียม

4. สร้างคุณภาพผู้เรียนสู่สากลโดยการสร้างส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน ในการบริหารงานของนักการศึกษา ครู

ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา สำ� นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สถานศกึ ษาเอกชน และองคก์ รภายนอก
คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามความเข้มข้น 3 ระดับสู่สากล มุ่งเน้นการจัดการ
เรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อยกระดับความรู้ความสามารถภาษาอังกฤษท้ังระบบโดยมีเป้าหมายส�ำคัญเพ่ือสร้าง
ความเทียบเท่าในระดับนานาชาติถือเป็นกรอบและแนวทางปฏิบัติท่ีจะน�ำไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาตา่ งประเทศ และเป็นภาษาสอ่ื กลางในการจดั การเรยี นรู้ของกล่มุ สาระการเรียนร้อู ื่นๆ ด้วย
คณะอนุกรรมการการพัฒนาการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสู่สากล จึงได้จัดท�ำเอกสารคู่มือเล่มน้ีขึ้น เพ่ือให้สถานศึกษาน�ำไป
เปน็ แนวทาง และแนวปฏบิ ตั ใิ นการดำ� เนนิ โครงการดงั กลา่ วใหม้ คี วามเปน็ สากลและสอดคลอ้ งกบั สภาพปจั จบุ นั ของการจดั
หลกั สูตรการเรียนการสอนในโปรแกรมภาษาองั กฤษประเภทต่างๆ ให้มากยิง่ ข้ึน

11



Easy English

02บทที่

กรอบการดำ� เนนิ งาน
ตามหลกั สูตร

บทท่ี 02 กรอบการด�ำเนินงานตามหลักสตู ร

ภาพรวมกรอบการดำ� เนนิ งานตามหลกั สูตร
ตามที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ด�ำเนินโครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง

การศึกษาในภูมิภาค (Education Hub) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสถานศึกษาเข้าร่วมโครงการ
International Program (IP) ท่ัวประเทศโดยใช้หลักสูตรนานาชาติ จ�ำนวน 19 สถานศึกษาและประกอบกับขณะน้ี
มีสถานศึกษาในสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน (สช.) สว่ นหนึง่ ใชต้ ามโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรกระทรวงศึกษาธกิ ารเปน็ ภาษาองั กฤษ
English Program (EP) และ Mini-English Program (MEP) ในการจดั การเรยี นการสอนทว่ั ประเทศ จำ� นวนมากกว่า 400
สถานศึกษา นอกจากนี้ สถานศึกษาที่เปิดห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ โดยส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เช่น โครงการ
ห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ English Gifted ท่ีมีมากกว่า 1,500 ห้องเรียนทั่วประเทศ ดังน้ันเพื่อให้การจัดการเรียน
การสอนโดยใช้หลักสูตรนานาชาติ International Program (IP) และหลักสูตรภาษาอังกฤษ English
Program (EP), Mini-English Program (MEP) และการด�ำเนินงานโครงการห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ คณะอนุกรรมการการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่สากล จึงได้พิจารณาทบทวนและพัฒนา
กรอบแนวคิดการด�ำเนินงานตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อเทียบเท่าระดับสากล และเสนอแนะแนวทางการจัดการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษให้ได้มาตรฐานทั้งระบบมุ่งสู่ความเป็นสากลเพื่อเทียบเท่าระดับนานาชาติ พร้อมท้ัง
น�ำเสนอกระบวนการจัดการเรียนรู้ คู่มือและเอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอน ตัวอย่าง เอกสาร

15

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

การสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาของผู้เรียน แนวทางการยกระดับและพัฒนาครูไทยและครูต่างชาติ
ทั้งด้านการสอนภาษาอังกฤษ และการใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการสอนรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรเพื่อ
ยกระดับ สมรรถนะขีดความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้เพ่ิมสูงขึ้น โดยจัดท�ำเป็นคู่มือ แนวทางการจัด
การเรียนการสอนตามหลักสูตรภาษาอังกฤษมาตรฐานสากล มีประเด็นส�ำคัญที่สถานศึกษาท่ีมีความประสงค์จัดการเรียน
การสอน ตามหลกั สูตรต้องพิจารณากรอบการด�ำเนินงานตามหลักสูตรอยา่ งถถ่ี ว้ น สรา้ งความเข้าใจในเปา้ หมายการพัฒนา
ระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษของผเู้ รยี น ศกึ ษาการจดั การเรียนการสอนดว้ ยหลักสตู รภาษาองั กฤษมาตรฐานสากล
คณุ สมบตั คิ รใู นแตล่ ะหลกั สตู ร กระบวนการขนั้ ตอนการขอด�ำเนนิ การตามหลกั สตู ร การวดั ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ
ของผูเ้ รียนและครูผสู้ อน การพฒั นาครู ตลอดจนการประกนั คณุ ภาพของหลักสตู ร
เปา้ หมายการพัฒนาระดบั ความสามารถทางภาษาอังกฤษของผ้เู รียน

การยกระดับคุณภาพความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนถือเป็นเป้าหมายหลักในการพัฒนาคุณภาพ
ผ้เู รยี นผา่ นการจดั หลักสูตรภาษาอังกฤษเทียบเท่าระดบั นานาชาติ สะทอ้ นกระบวนการพัฒนาผเู้ รยี น ท่ไี ดร้ ับการยกระดบั
ขดี ความสามารถทางภาษาองั กฤษ จากระดบั เรม่ิ ตน้ สรู่ ะดบั สงู ผา่ นการจดั การเรยี นการสอนตามกรอบแนวคดิ การดำ� เนนิ งาน
ตามหลกั สูตรจากระดบั พืน้ ฐานส่รู ะดบั สากล ดังแผนผงั มโนทัศน์ในหน้า 17

การพัฒนาความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนจากระดับเร่ิมต้นไปสู่ระดับกลาง และพัฒนาจนถึงระดับสูง
โดยมกี ระบวนการพฒั นาขดี ความสามารถทางภาษาอังกฤษของผเู้ รยี น ดังนี้

1. ความสามารถทางภาษาองั กฤษระดับเร่ิมต้น (Beginner)
2. ความสามารถทางภาษาองั กฤษระดบั กลาง (Intermediate)
3. ความสามารถทางภาษาอังกฤษระดบั สูง (Advanced)

16

บทที่ 02 กรอบกำรดำ� เนนิ งำนตำมหลกั สูตร

BBBBeBeBeBgeBgeBgegeigeingeingingingininineinenenrenrenrsersersersersrsrsss IInInInIntIntIentIentIentrentretrmetrmetrmermermermermemdemdededeideiadeiadiaditaditaietaietaietaetaetetetee AAAAdAdAdAdvAdvAdvdavdavdavnavnavnavnacnacnacnecnecnecdecdecdecdedededdd

GGGGGeGeGenGenGenenenenenrenrenraeraeraelraelralralralalalll IInInInIntIntIentIentIententetnetnestnesnesnisnisvnisvisvisevisevievievieveveee IInInInIntIntIentIentIentrentretrnetrnetrnernearnarnarntantaintaitaoitaoitaoitonitonitonionaionaonanlanlanlalalalalll
EEEEnEnEnEngEngEngnglnglingligsligsligslihslihslihslihsihshshhh EEEEnEnEnEngEngEngnglnglingligsligsligslihslihslihslihsihshshhh PPPPrPrProProProProgrogrogrogogrogragragragmramramramramamammm
PPPPrPrProProProProgrogrogrogogrogragragragmramramramramamammm PPPPrPrProProProProgrogrogrogogrogragragragmramramramramamammm

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีการวางกรอบแนวการด�าเนินงานตามหลักสูตร
ที่มีประสิทธิภาพ ผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรภาษาอังกฤษ เร่ิมต้นต้ังแต่ระดับพื้นฐาน
และพัฒนาขึ้นเทียบเท่าระดับนานาชาติโดยคณะอนุกรรมการการพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐานสู่สากล ได้เสนอ
รูปแบบการจัดหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนให้เป็น
ไปตามเปา้ หมายตามระดับ ดังนี้

1. หลกั สูตรยกระดบั ภาษาอังกฤษสา� หรบั ทุกโรงเรียน General English Program (GEP)
2. หลักสูตรภาษาองั กฤษแบบเข้ม Intensive English Program (IEP)
3. หลักสูตรภาษาอังกฤษนานาชาติ International Program (IP) ส�าหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แบบเข้มและมกี ารจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าอื่นๆ เป็นภาษาอังกฤษดว้ ย
สา� หรบั สถานศกึ ษาทจี่ ะใชห้ ลกั สตู รนานาชาติ International Program (IP) หลักสูตรภาษาอังกฤษแบบเขม้
Intensive English Program (IEP) และหลกั สตู รยกระดบั ภาษาองั กฤษสา� หรบั ทกุ โรงเรยี น General English Program (GEP)
ควรศึกษาประเดน็ ส�าคญั ในการพิจารณาทบทวนการด�าเนนิ งานตามหลักสูตร ดังต่อไปน้ี

17

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

GenPe(rrGoaglEErPan)mglish IntenPsri(ovIEgePrEa)mnglish IntPerron(IgaPrt)aiomnal

ควเทาตมยี ้งัจบสแนาเตจทม่เบร่าาิ่มกรCาถเรEรทียFศานRกึ งทษภขี่ าาอPษทงre่ีาผBอเู้ A1รงั ยี1กนฤษ เทคียวบาเมเรจทสิ่มน่าาเจรมCบียาEกนรFาถทRรที่ ศPาขึกrงอeษภงาาผAษท้เู1ร่ีา/ียBอAน2งั1ตกงั้ฤแษต่ เรเม่ิทคเียวรบายี มเนทสทา่าี่ มACา1EรFจถRนทจาขบงอภกงาาผษรู้เรศาียึกอนษงั ตกางั้ฤทแษ่ี Cต่1
การศึกทษเ่ี ขหาอมหงาลสะกั ถสสามตู นกรศบั ภกึ บาษษราบิ าทองั กฤษ การศกึทษ่เี ขหาอมหงาลสะกั ถสสามตู นกรศับภกึ บาษษราิบาทอังกฤษ ท่ีเกหามราศะึกกษับาบหรลิบักทสขตู อรงนสาถนาานชศาึกตษิ า
กกำ� าหตรานกศมดาึกหรเษกเลรณากั ียรสฑนะตูบเ์รขร้ขูบา้ อแกรงลาะผระดู้เวตบัรดัาียมปมนหทรทาะี่ วีต่ ทเมิทรปงนิยอผา.ลลยั
การผศลึกทกษต่ีาารรรเงระตียบานบมรกหขู้ าลอรกั งวสผดั ูต้เูปรรรยี ะนเมนิ การศึกกษทาารีต่ รเรระงียบตนบารกมูข้ าหอรลงวักผัดสูเ้ปรูตรยี ระนเมนิ ผล กาเรพศื่อึกขษอาใขช้ันห้ ตลอักนสกตู ารรนดาำ�นเานชนิ างตาิน

ทากงาฟภรางัศษึกพาษดูอางั วอกดั่าฤนคษวแคาลรมบะสเาข4มียทานรักถษะ ทากงาฟภราังศษกึ พาษดูอาังวอกดั่าฤนคษวแคาลรมบะสเาข4มียทานรักถษะ กทาารงศฟภึกาังษษพาาแูดอบังอกบา่ ฤวนษดั แคคลรวบาะมเข4สียาทนมักาษระถ
เพื่อกใแาชลรใ้ ศะนกกึ กาษารารกคพำ� ุณจิหาสนรมดณบเงาตั ินคิขเดั ดอเืองลคนอื รกู ครู
เพคกอ่ื ราใแูรชลศใ้ ะกึนกษกาาารครกพุณำ� ิจหสานมรดบณเัตงาขินิ คอเดั ดงเือคลนรือู ก เพ่อื กใแาชลรใ้ ศะนกึกกาษารารกคพ�ำุณิจหาสนรมดณบเงาตั ินคิขเัดดอเอืงลคนือรกู ครู

18

บทท่ี 02 กรอบการดำ� เนินงานตามหลกั สตู ร

คำ� อธบิ ายหลักสูตรและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ในสว่ นของภาพรวมการพฒั นาขดี ความสามารถทางภาษาองั กฤษของผเู้ รยี นในหลกั สตู รนานาชาติ สถานศกึ ษาสามารถ

ใชผ้ ลการสอบวดั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของผ้เู รียน (Language Proficiency) ตามความเหมาะสม เช่น ข้อสอบ
วดั ความสามารถทางภาษาองั กฤษทเ่ี ปน็ มาตรฐานสากล และไดร้ บั การยอมรบั จากหนว่ ยงานทน่ี า่ เชอ่ื ถอื ในระดบั โลก เชน่ ALTE
(Association of Language Testers in Europe), Ofqual (Office of Qualifications an Examinations Regulation)
ส�ำนักงานรับรองคุณวุฒิและการทดสอบแห่งสหราชอาณาจักรท่ีใช้อธิบายระดับความเชี่ยวชาญทางภาษา เช่น Pearson
Test of English, Oxford Test of English, LanguageCert, Cambridge English Exam, Linguaskill หรอื IELTS เปน็ ตน้

สถานศึกษาที่มีความประสงค์จัดการเรียนการสอนด้วยหลักสูตรนานาชาติ International Program (IP)
ต้องศึกษาหลักสูตรและเลือกใช้หลักสูตรระดับนานาชาติท่ีเหมาะสมสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษารวมถึง
ต้องศึกษาระบบการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตรงตามหลักสูตร และตามท่ีประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย
(ทปอ.) ก�ำหนดเกณฑ์เข้าระดับมหาวิทยาลัยระบบนานาชาติ การศึกษาเกณฑ์การเข้ารับนิสิต/นักศึกษาของมหาวิทยาลัย
ระบบนานาชาติ การศึกษาขั้นตอนการด�ำเนินงานเพื่อขอใช้หลักสูตรนานาชาติในสถานศึกษา การประเมินความพร้อม
ของสถานศึกษา เพื่อขอใช้หลักสูตรนานาชาติในการจัดการเรียนการสอน การประกันคุณภาพภายในและภายนอก
การวางแนวทาง การด�ำเนินงานและการบริหารจัดการหลักสูตรนานาชาติในสถานศึกษา การก�ำหนดเงินเดือน
ครตู ่างชาติ เป็นต้น

ทงั้ นี้ สถานศกึ ษาสามารถศกึ ษาภาพรวมโดยสรปุ ของหลกั สตู รนานาชาตจิ ากองคป์ ระกอบสำ� คญั ไดแ้ ก่ ระดบั ชนั้ เรยี น
ความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรียน หลักสูตรและการวัดประเมินผลการเรียนรู้ คุณสมบัติครู การเทียบวุฒิการจบ
การศึกษา โดยทป่ี ระชุมอธิการบดแี ห่งประเทศไทย (ทปอ.) และตามตวั อยา่ งเกณฑ์การรับเขา้ มหาวทิ ยาลัยระบบนานาชาติ
จากแผนผัง รายละเอยี ดเกี่ยวกบั หลักสูตรนานาชาติอยา่ งละเอยี ดในบทที่ 5 และภาคผนวกต่อไป

19

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

หลกั สตู รยกระดบั ภาษาอังกฤษสำ� หรับทกุ โรงเรียน General English Program (GEP)

หลักสูตรยกระดบั ภาษาองั กฤษส�ำหรบั ทุกโรงเรยี น (GEP) เปน็ หลกั สตู รเฉพาะวิชาภาษาองั กฤษ ทส่ี ถานศึกษา
ควรพิจารณาด�ำเนินการตามหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ก�ำหนดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) โดยสามารถเลอื กใชส้ อื่ / แหลง่ การเรยี นรู้ / การวดั ผลประเมนิ ผลทเ่ี ปน็
มาตรฐานสากล เพอ่ื ยกระดบั ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษใหก้ บั ผเู้ รยี นจากแหลง่ ตา่ งๆ เพม่ิ เตมิ ได้ อาทิ Cambridge
English, Pearson English, Oxford English ซงึ่ ควรศกึ ษารายละเอยี ดเกย่ี วกบั หลกั สตู รยกระดบั ภาษาองั กฤษสำ� หรบั
ทุกโรงเรียน (GEP) ในบทท่ี 3 และภาคผนวก

20

บทท่ี 02 กรอบการดำ� เนนิ งานตามหลักสตู ร

GenGeeranleEranl gElnisghlisPhroPgrorgarmamme(G(GEPE)P)

Levels P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6 Higher Education / Work Life
Student
Language Pre A1 ≥ A1 ≥ A1 ≥ A2 ≥ A2 ≥ B1
Proficiency
4 skills language proficiency test 4 skills language proficiency test 4 skills language proficiency test

Curriculum Thai National Curriculum Thai National Curriculum Thai National Curriculum

Teacher - NS + Bachelor’s degree in any field. - NS + Bachelor’s degree in any field.
Qualifications - NNS with A2 in CEFR + Bachelor’s degree in - NNS with ≥ B1 in CEFR (M1- M3) + Bachelor’s degree in
any field any field.
PLUS one of : - NNS with ≥ B2 in CEFR (M4 - M6) + Bachelor’s degree in
- Standard TEFL Certificate any field.
- TKT modules 1-3 and YL module PLUS one of :
- Program designed in consultation with MoE i.e. Boot - Standard TEFL Certificate
Camp Turbo - TKT modules 1-3 and CLIL module
- Teacher Development Interactive (TDI) - Program designed in consultation with MoE i.e. Boot Camp
Turbo
- Teacher Development Interactive (TDI)

21

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

หลกั สตู รภาษาองั กฤษแบบเขม้ Intensive English Program (IEP)

หลกั สตู รภาษาองั กฤษแบบเขม้ (IEP) เปน็ หลกั สตู รสำ� หรบั สถานศกึ ษาทม่ี กี ารเปดิ หอ้ งเรยี นพเิ ศษภาษาองั กฤษ
โดยมกี ารจัดการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษแบบเขม้ และมกี ารจัดการเรียนการสอนรายวชิ าอ่ืนๆ เป็นภาษาองั กฤษ
ดว้ ย ซงึ่ ควรศกึ ษารายละเอยี ดเก่ียวกับหลกั สตู รภาษาอังกฤษแบบเขม้ (IEP) ในบทท่ี 4 และภาคผนวก

22

บทท่ี 02 กรอบการด�ำเนนิ งานตามหลกั สตู ร

IntenInstievnesEivnegElinsghlisPhroPgroragmramme(I(EIEPP) )

Levels P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
Student
Language Pre A1/A1 ≥ A2 ≥ A2 ≥ B1 ≥ B1 ≥ B2 Higher Education
Proficiency
4 skills language proficiency test 4 skills language proficiency test 4 skills language proficiency test

Curriculum Thai National Curriculum Thai National Curriculum Thai National Curriculum

Teacher - NS + Bachelor’s degree in any field. - NS + Bachelor’s degree in any field.
Qualifications - NNS with ≥ B1 in CEFR + Bachelor’s degree - NNS with ≥ B2 in CEFR + Bachelor’s degree in any field.
in any field. Plus one of:
Plus one of: - CELT-S including TKT CLIL module
- CELT-P including TKT YL module - Trinity TESOL Level 5 Cert.
- Trinity TESOL Level 5 Cert. - TEFL + TKT Modules 1-3, and CLIL Module
- TEFL + TKT Modules 1-3, and YL Module - Teacher Development Interactive (TDI)
- Teacher Development Interactive (TDI)

23

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

หลกั สตู รนานาชาติ International Program (IP)

หลักสูตรนานาชาติ International Program (IP) ยกระดับการศึกษาทุกรายวิชาและเนื้อหาสู่สากล
โดยใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ สอื่ กลาง โดยสถานศกึ ษาควรเลอื กพจิ ารณาหลกั สตู รใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท การกำ� หนดจำ� นวน
นกั เรยี นตอ่ หอ้ งเรยี นทส่ี มั พนั ธก์ บั การกำ� หนดเงนิ เดอื นครตู า่ งชาติ การดำ� เนนิ งานการสอบระดบั นานาชาตกิ บั ทางศนู ยส์ อบ
ของหลักสูตร เป็นต้น ซ่ึงสามารถสรุปกรอบแนวคิดการด�ำเนินงานตามหลักสูตรนานาชาติไว้หลายรูปแบบด้วยกัน
เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษาสามารถนำ� ไปพจิ ารณาได้ ดงั นี้
1) หลกั สตู ร International Baccalaureate (IB)
2) หลักสูตร UK Curriculum

2.1) หลักสตู ร Cambridge International Programmes & Qualifications
2.2) หลกั สตู ร Pearson Edexcel
2.3) หลักสูตร BTEC Level 3
2.4) หลักสตู ร Oxford International AQA
3) หลกั สตู รอเมรกิ ัน (AP)
4) หลักสูตรออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ/หรือหลักสูตรอื่นๆ ที่คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (กพฐ.)
พิจารณาว่าเหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา

24

บทที่ 02 กรอบการด�ำเนนิ งานตามหลักสตู ร

InterInntaetrinoantaiolnParloPgrroagmramme(I(PIP) )

Levels P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6 Degree Equivalency Examples of
Student by CUPT University
Language ≥ A1 ≥ A2 ≥ B1 ≥ B2 ≥ C1 Requirements
Proficiency TOEFL/ IELTS/ CUTEP/
Curriculum 4 skills language proficiency test 4 skills language proficiency test TU-GET/CEFR TCAS
SAT/ NEW SAT
Teacher International Baccalaureate : IB MYP IB Diploma Mahidol University
Qualifications PYP Primary Years Program (18 points) 5 IGCSE + Medicine
UK International Curriculum Lower 5 IGCSE 3 A levels Admissions:
Secondary Or 5AS or 3 A - A Level ≥ A :
levels 90 credits BTEC bio/ chem/
Lower International Diploma L3 / math/ physics
Secondary GCSEs BTEC Level 3 3 A levels - SAT II ≥ 650
(90 Credits) - IB Standard
IB Diploma IB Diploma or Level ≥ 6
(18points) IBCR (Course Results) - TOEFL ≥ 80
- IELTS ≥ 6.5
USA USA Core Subjects 3 AP Subjects 5 subjects at ≥ 3 - BMAT

Australia Middle years HSC Bands 4-6 ATAR High School Diploma/ High Chulalongkorn
School Diploma Equivalency University Nano-
Engineering
ACT Year 12 Certificate Admissions:
- A Level ≥ B :
Degree, Degree Language Pedagogical training and experience chem/
Language Proficiency, Proficiency math/ physics
Pedagogical training and experience - SAT II ≥ 620
If degree is in school - IB Standard
NS (or NNS with CEFR at management, psychology and Bachelor in NNS with At least one year of experience Level ≥ 6
C1) and degree in Primary library science, candidate must subject CEFR in C1 teaching in home country or - TOEFL ≥ 80
Education plus one year have one of the following: related international school PLUS one of: - IELTS ≥ 6.0
teaching experience. At • BTEC Level 5 area • BTEC Level 5 Education &
least one year of Education & Training
experience teaching in • CAIE PDQ Teaching Bilingual Training
home country or Level 5 • CAIE PDQ Teaching Bilingual Level 5
international school. • PGCE Level 6/7 • PGCE Level 6/7 in Subject area

25





03บทท่ี

หลกั สตู ร
ยกระดบั ภาษาอังกฤษ
ส�ำหรบั ทกุ โรงเรยี น

(General English Program : GEP)

บทที่ 03 หลักสูตรยกระดับภาษาอังกฤษสำ� หรับทกุ โรงเรยี น (General English Program : GEP)

ภาพรวมหลักสูตร
หลักสูตรยกระดับภาษาอังกฤษส�ำหรับทุกโรงเรียน (General English Program : GEP) เกิดจากแนวคิด

การใหโ้ อกาสในการพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษแกเ่ ดก็ ไทย เพอื่ ยกระดบั มาตรฐานภาษาองั กฤษ โดยวางเปา้ หมายใหเ้ ดก็ ไทย
ทุกคนสามารถใช้ภาษาองั กฤษได้ในระดบั ดี ภายในระยะเวลา 10 ปี บนพน้ื ฐานความเช่อื ทวี่ า่ เด็กต้องเรยี นภาษาอังกฤษ
ครบทุกทักษะต้ังแต่ยังเล็กๆ เน้นการสอนให้ส่ือสารได้ ครูใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้จริง มีเวลาเรียนที่เพียงพอ
และมสี ภาพแวดลอ้ มทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ตลอดจนปรบั ระบบการสอนและการวดั ผลทเ่ี นน้ เรอื่ งการสอ่ื สารดว้ ย จงึ จะสามารถ
พฒั นาได้เตม็ ศกั ยภาพ

ดังน้ัน หลักสูตรยกระดับภาษาอังกฤษส�ำหรับทุกโรงเรียน (General English Program) ถือว่าเป็นหลักสูตร
ทม่ี ปี ระโยชนแ์ ละสอดคลอ้ งกบั นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื งการยกระดบั ภาษาองั กฤษทย่ี งั่ ยนื หากเดก็ สามารถสอ่ื สาร
ภาษาอังกฤษไดด้ ี กจ็ ะมีความสุขกบั การเรยี น และเมอ่ื ไปเรียนวชิ าอนื่ ก็จะนำ� ความคดิ และทศั นคตแิ บบเดียวกันไปใช้ ทำ� ให้
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนดีขน้ึ สามารถสร้างศักยภาพในการแข่งขนั ของผเู้ รียนทส่ี งู ข้นึ

29

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

เป้าหมายการพัฒนาระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษของผ้เู รียนในหลักสตู ร

ระดับผเู้ รยี น ระดับความสามารถทางภาษา ระดบั ความสามารถทางภาษา
ส�ำเร็จการศกึ ษาช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ผู้ใช้ภาษาขนั้ พนื้ ฐาน (Breakthrough) ตามกรอบ CEFR
ส�ำเร็จการศึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ผู้ใช้ภาษาข้ันพื้นฐาน (Waystage) A1
ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ผใู้ ช้ภาษาข้ันอสิ ระ (Threshold)
A2

B1

จากตารางด้านบน คือ ระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR ที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศไว้
โดยสถาบนั การศกึ ษาควรมกี ารทดสอบหรอื วดั ผลโดยใชแ้ บบทดสอบมาตรฐานทเ่ี ทยี บเคยี งผลคะแนนกบั ระดบั ความสามารถ
ทางภาษา ตามกรอบอา้ งอิง CEFR เพื่อตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาผา่ นเกณฑ์ระดับความสามารถ
ท่กี ำ� หนดหรือไม่

30

บทท่ี 03 หลกั สตู รยกระดับภาษาองั กฤษส�ำหรับทุกโรงเรยี น (General English Program : GEP)

คำ� อธิบายความสามารถในการใช้ภาษาตามกรอบ CEFR

ระดับ คำ� อธิบาย

ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้ภาษาได้อยา่ งดีเย่ยี มใกล้เคยี งเจ้าของภาษาสามารถใชภ้ าษามาตรฐาน
ได้อย่างสละสลวย ถูกต้องตามจุดประสงค์ที่จะสื่อสารได้ดี สามารถอ่านบทความท่ีเป็นภาษาต้นฉบับ
C2 (โดยเฉพาะวรรณกรรม) ได้เข้าใจ สามารถ และเลือกใช้ภาษาส�ำหรับพูดและเขียนได้อย่างเหมาะสม

Proficient User ผ้เู รยี นสามารถเข้าใจขอ้ ความยาวๆ ท่ีซับซ้อนในหัวข้อหลากหลาย และเข้าใจความหมายแฝงได้
ผูใ้ ช้ภาษาระดับคลอ่ งแคลว่
ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ใจขอ้ ความยาว ๆ ทซ่ี บั ซอ้ นในหวั ขอ้ หลากหลาย และเขา้ ใจความหมายแฝงไดส้ ามารถ
C1 แสดงความคิด ความรู้สึกของตน ได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยไม่ต้องหยุดคิดค�ำศัพท์สามารถใช้ภาษา
ท้งั ในด้านสังคม การท�ำงาน หรือดา้ นการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

B2 ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาในระดับดี สามารถใช้ภาษาพูดและเขียนได้แทบทุกเร่ือง
อย่างถูกตอ้ งและคลอ่ งแคล่ว รวมท้งั สามารถอา่ นและทำ� ความเข้าใจบทความทีม่ ีเนื้อหายากข้ึนได้

Independent User ผเู้ รยี นสามารถพดู เขยี น และจบั ใจความสำ� คญั ของขอ้ ความทว่ั ๆ ไปถา้ เปน็ หวั ขอ้ ทค่ี นุ้ เคยหรอื สนใจ เชน่
ผู้ใช้ภาษาขน้ั อสิ ระ การทำ� งาน โรงเรยี น เวลาวา่ ง ฯลฯ สามารถจดั การกบั สถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ ระหวา่ งการเดนิ ทางในประเทศ
Basic User B1 ทใ่ี ชภ้ าษาองั กฤษได้ สามารถบรรยายประสบการณ์ เหตกุ ารณค์ วามคิดฝนั ความหวงั พร้อมให้เหตผุ ล
ผู้ใชภ้ าษาขัน้ พืน้ ฐาน
สน้ั ๆ ได้

ผู้เรียนสามารถใช้และเข้าใจประโยคในชีวิตประจ�ำวัน (ในระดับกลาง) เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัว
A2 การจับจา่ ยใชส้ อย สถานท่ี ภูมิศาสตร์ การทำ� งาน และสามารถสื่อสารแลกเปลยี่ นขอ้ มูลทวั่ ไปในการใช้

ชวี ิตประจำ� วนั สามารถบรรยายความคดิ ฝนั ความคาดหวัง ประวตั ิ สิ่งแวดลอ้ ม และสิ่งอืน่ ๆ

ผเู้ รยี นสามารถใชแ้ ละเขา้ ใจประโยคงา่ ย ๆ ในชวี ติ ประจ�ำวนั สามารถแนะนำ� ตวั เองและผอู้ นื่ สามารถตงั้ คำ� ถาม
A1 เกย่ี วกับบคุ คลอนื่ เชน่ เขาอยทู่ ่ไี หน รจู้ ักใครบ้าง มอี ะไรบ้าง และตอบค�ำถามเหลา่ นีไ้ ด้ ทั้งยังสามารถ
เขา้ ใจบทสนทนา เมอ่ื ค่สู นทนาพูดชา้ และชัดเจน

แ หล่งท่มี า : 1. https://www.coe.int/en/web/common-european-framework-reference-languages/table-1-cefr-3.3-
common-reference-levels-global-scale
2. http://ebcl.eu.com/wp-content/uploads/2011/11/CEFR-all-scales-and-all-skills.pdf

31

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

คำ� อธบิ ายตวั อยา่ งชดุ วดั ผลทกั ษะภาษาองั กฤษของ Oxford, LanguageCert,
Cambridge และ Pearson

ตวั อย่างชุดวัดผลทกั ษะภาษาองั กฤษของ Oxford Test of English (OTE)

แบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาองั กฤษอา้ งอิงตามกรอบ CEFR ทัง้ 4 ทักษะ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน
และการเขยี น ได้รับการพัฒนาโดยผู้เชย่ี วชาญจาก Oxford University Press และไดร้ บั การรับรองจาก University of
Oxford รายงานผลตามระดบั CEFR แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ A2, B1 และ B2 ซ่ึงการรายงานผลจะรายงานในภาพรวม
4 ทักษะ และแยกผลทดสอบตามแต่ละทักษะ การฟัง การพดู การอ่าน และการเขยี น การทดสอบเปน็ แบบ Online และ
Adaptive สามารถทดสอบทั้ง 4 ทกั ษะ หรอื แยกสอบแตล่ ะทกั ษะได้ การท�ำแบบทดสอบใชเ้ วลาทัง้ หมด 2 ชวั่ โมง ผสู้ อบ
จะได้รับใบประกาศนยี บตั รรายงานผลท่ีไดร้ ับการรับรองจาก University of Oxford ภายใน 14 วัน

แบง่ รายละเอยี ดขอ้ สอบในแตล่ ะทักษะ ดังน้ี

Module Number of Parts Number of Tasks Number of Items Time
Speaking 4 6 15 15 min.
Listening 4 12 20 30 min.
Reading 4 9 22 30 min.

Writing 2 22 45 min.
TOTAL 14 29 59 2 hours

32

บทท่ี 03 หลกั สูตรยกระดบั ภาษาอังกฤษสำ� หรับทุกโรงเรยี น (General English Program : GEP)

แนะน�ำชดุ วดั ผลของ Oxford ส�ำหรับผู้เรยี นในหลกั สูตร General English Program ตามแตล่ ะระดบั ช้ัน ดงั น้ี

Level P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
CEFR Level Pre A1 ≥A1 ≥A2 ≥B1
LT4eaSnsktgilulasgEengPlrioshficiency Oxford Young Learners
OSocfxhfEoonrogdllsisThesftor EOnxgfolisrdh Test of

ตัวอย่างชดุ วดั ผลทกั ษะภาษาอังกฤษของ LanguageCert

Level P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
CEFR Level Pre- A1 ≥A1 ≥ A2 ≥ B1
EAnssgelissshmCeunrtriculum/ EYoSOunLgOLwelarners
YEoSuOnLgFLOeXarners IEnStOerLnaAt2io-Ancacless EBInS1tO-eArLcnhaiteiovnearl

ตวั อย่างชุดวัดผลทกั ษะภาษาอังกฤษของ Cambridge Assessment English

P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6

CEFR Level Pre-A1 ≥A1 ≥A2 ≥B1

English Curriculum / Pre A1-Starters A1- Movers A2-KEY for B1-Preliminary for
Assessment Schools (KET) Schools (PET)/
Linguaskill Test

33

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

ระดับความสามารถทางภาษาของผูเ้ รียน (Learner Language Proficiency)
ชดุ ทดสอบทกั ษะภาษาองั กฤษ Cambridge English Exam เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสามารถในการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ

ทัง้ 4 ทกั ษะ คือ การฟงั การพูด การอ่าน และการเขยี น

ระดับ ค�ำอธิบาย
Pre A1 – Starters เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมต้น โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียน สามารถแสดง / บอกความรู้สึก
A1 – Movers ของตนเอง ไดอ้ ยา่ งง่ายๆ เข้าใจค�ำศพั ทท์ ีง่ ่ายๆ และไม่ซับซ้อน
เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาตอนกลาง หรือตอนปลาย โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียน
A2 – Flyers สามารถแสดงความคดิ เหน็ ได้ เขา้ ใจประโยคส้นั ๆ งา่ ยๆ ไดใ้ นระดับพน้ื ฐาน เขา้ ใจป้ายประกาศ หรอื
คำ� แนะนำ� งา่ ยๆ รวมทั้งสามารถจดบนั ทึกวัน เวลา สถานที่ได้
A2 - Key for schools (KET) เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย หรือมัธยมศึกษาตอนต้นโดยมีเป้าหมาย
ให้ผู้เรียน สามารถอธิบายเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันได้ และเข้าใจประโยคค�ำอธิบาย
B1 - Preliminary for schools (PET) หรือข้อความอธบิ ายจากสอ่ื หรอื ประกาศตา่ งๆ ได้
เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีพื้นฐานภาษาอังกฤษในระดับ A1 มาก่อน
B2 - First for schools (FCE) โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียน สามารถอธิบายเร่ืองราวต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันได้ และเข้าใจประโยค
ค�ำอธิบาย หรือข้อความอธิบาย จากสื่อ หรอื ประกาศตา่ งๆ ได้
เหมาะสำ� หรบั ผเู้ รยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ทม่ี พี นื้ ฐานภาษาองั กฤษในระดบั A2 มากอ่ น หรอื
ผู้เรยี นท่ีเตรยี มตวั จะเขา้ เรียนในหลกั สตู รนานาชาติ IGCSE โดยมเี ปา้ หมายให้ผู้เรยี นไดม้ ที ักษะภาษา
องั กฤษ ท่สี ามารถใช้งานได้จริงในชวี ิตประจ�ำวนั
เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับมัธยมปลายหลักสูตร Intensive English Program หรือระดับ
มหาวิทยาลัย หรือผู้เรียนท่ีมีพ้ืนฐานภาษาอังกฤษในระดับ B1 มาก่อน โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียน
มีทกั ษะภาษาองั กฤษ ในระดบั ท่ีสามารถสอ่ื สาร เรยี นรู้ และท�ำงานในสภาพแวดลอ้ ม หรอื ประเทศ
ทใ่ี ชภ้ าษาองั กฤษเปน็ หลกั

34

บทท่ี 03 หลกั สตู รยกระดบั ภาษาอังกฤษส�ำหรับทกุ โรงเรยี น (General English Program : GEP)

ตวั อยา่ งชดุ วดั ผลทกั ษะภาษาองั กฤษของ Pearson Test of English (PTE) PTE General

อ้างอิงตามมาตรฐาน The Global Scale of English (GSE)

ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 (Primary) ระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6 (Secondary)
ใช้ชุดทดสอบ Pearson Test of English Young ใชช้ ดุ ทดสอบ Pearson Test of English General Levels
Learners, (PTE Young Learners) ในการวัดระดับ 1 and 2 (PTE General) ในการวัดระดบั ความสามารถ
ความสามารถทางภาษาองั กฤษสำ� หรบั เด็กประถมศกึ ษา ทางภาษาอังกฤษส�ำหรับเด็กมธั ยมศึกษา

• เป็นการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ • เป็นการสอบวัดระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษ
ส�ำหรับเด็กประถมศึกษา และสามารถท�ำการทดสอบ (ESOL)
ได้ตลอดเวลา
• การสอบวดั ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษในเดก็
• ทดสอบความสามารถทง้ั 4 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั ระหว่างอายุ 13-16 ปี
การพูด การอ่านและการเขยี น
• ทดสอบความสามารถทั้ง 4 ทักษะ ไดแ้ ก่ ทักษะการฟงั
• การทดสอบผ่านทางการวัดผล และรายงานผลด้วย การพูด การอา่ นและการเขียน
คะแนนของ Global Scale of English (GSE)
และ CEFR • ผลการสอบความสามารถทางภาษาองั กฤษสามารถเทยี บ
มาตรฐานตามกรอบ CEFR (Common European
• ใชท้ ดสอบในระดบั เดก็ อายตุ ง้ั แต่ 6 – 14 ปี และมี 5 ระดบั Framework of Reference)
(pre-A1 – B1+) ในแตล่ ะระดบั จะมขี อ้ สอบจำ� นวน 3 ชดุ

• สามารถทราบผลใน 1 ชั่วโมง พรอ้ มใบประกาศรบั รอง
ผลการสอบ

35

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

คณุ สมบัติของครูผสู้ อนหลกั สูตร General English Program (GEP)

ระดบั ประถมศึกษา

ครูในระดบั ประถมศกึ ษาตอ้ งมคี ณุ สมบัตขิ อ้ ใดข้อหน่งึ ดังต่อไปนี้

1. ครเู จา้ ของภาษาทมี่ ีวฒุ ิการศึกษาระดบั ปริญญาตรีข้นึ ไป สาขาวชิ าใดก็ได้

2. ครตู า่ งชาตทิ ไี่ มใ่ ชเ่ จา้ ของภาษา สญั ชาตใิ ดกไ็ ดท้ ม่ี วี ฒุ กิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป สาขาวชิ าใดกไ็ ด้ และมคี วามสามารถ
ทางภาษาเทยี บเท่า CEFR ตัง้ แตร่ ะดับ A2 ขน้ึ ไป

3. ครทู อ่ี ยู่ภายใตข้ อ้ ตกลงรว่ มกันระหว่างสถานศึกษากับองคก์ รความร่วมมอื ระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานทางการศกึ ษา
ในตา่ งประเทศ รวมทงั้ ต้องมคี ุณสมบัตเิ พิ่มเติมขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดังตอ่ ไปนี้

3.1 ได้รับประกาศนียบัตรท่ีเก่ียวข้องกับการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (TEFL) จากสถาบันท่ีได้
มาตรฐานและเป็นทีย่ อมรับ

3.2 ผา่ นการทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบวดั ความสามารถของครูภาษาอังกฤษ Teaching Knowledge Test (TKT)
โมดูลที่ 1-3 และหลักสตู ร TKT Young Learners ซง่ึ มรี ายละเอียดดังตอ่ ไปน้ี
1) โมดูลท่ี 1 Language and background to language learning and teaching
- การบรรยายลกั ษณะภาษาและทกั ษะภาษาตา่ งๆ (Describing language and language skills)
- ภมู ิหลงั ในการเรยี นภาษา (Background to language learning)
- ภมู ิหลังในการสอนภาษา (Background to language teaching)
2) โมดลู ท่ี 2 Planning lessons and use of resources for language teaching
- การวางแผนและเตรยี มความพรอ้ มของบทเรยี นหรอื ลำ� ดบั ในการจดั กจิ กรรม (Planning and preparing a lesson or
sequence of lessons)
- Selection and use of resources and material

36

บทท่ี 03 หลักสตู รยกระดบั ภาษาองั กฤษส�ำหรับทกุ โรงเรียน (General English Program : GEP)

3) โมดลู ท่ี 3 Managing the teaching and learning process
- ภาษาของครูและผเู้ รยี นทใ่ี ช้ในหอ้ ง (Teachers’ and learners’ language in the classroom)
- การจดั การชั้นเรยี น (Classroom management)

3.3 ผ่านการอบรมหลักสูตรทีไ่ ดร้ ับการรบั รองจากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เชน่ Boot Camp, Boot Camp Turbo
3.4 ผา่ นการอบรมหลกั สูตรของ Pearson Teacher Development Interactive (TDI) จ�ำนวน 6 โมดลู
ระดบั มัธยมศกึ ษา
ครูในระดบั มัธยมศึกษาต้องมีคณุ สมบัตขิ อ้ ใดข้อหนง่ึ ดงั ต่อไปนี้
1. ครเู จา้ ของภาษาทม่ี ีวฒุ ิการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรขี น้ึ ไป สาขาวชิ าใดกไ็ ด้
2. ครูต่างชาติท่ีไม่ใช่เจ้าของภาษา สัญชาติใดก็ได้ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึนไป สาขาวิชาใดก็ได้ และมี

ความสามารถทางภาษาเทียบเทา่ CEFR ระดับ B2 ขึน้ ไป
3. ครูท่ีอยู่ภายใต้ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ หรือหน่วยงาน

ทางการศกึ ษาในต่างประเทศ

37

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

รวมทัง้ ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิเพม่ิ เติมขอ้ ใดข้อหน่ึง ดงั ต่อไปนี้

1. ไดร้ บั ประกาศนยี บตั รทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศ (TEFL) จากสถาบนั ทไี่ ดม้ าตรฐาน
และเปน็ ที่ยอมรับ

2. ผ่านการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถของครูภาษาอังกฤษ (Teaching Knowledge
Test: TKT) โมดูลที่ 1-3 และหลักสูตร TKT : CLIL (Content and Language Integrated Learning)
ซงึ่ มรี ายละเอียดดังต่อไปนี้
1) โมดลู ท่ี 1 Language and background to language learning and teaching
- การบรรยายลกั ษณะภาษาและทกั ษะภาษาต่างๆ (Describing language and language skills)
- ภูมิหลังในการเรียนภาษา (Background to language learning)
- ภูมหิ ลงั ในการสอนภาษา (Background to language teaching)
2) โมดลู ท่ี 2 Planning lessons and use of resources for language teaching
- การวางแผนและเตรยี มความพรอ้ มของบทเรยี นหรอื ลำ� ดบั ในการจดั กจิ กรรม (Planning and preparing a lesson or
sequence of lessons)
- Selection and use of resources and material
3) โมดูลที่ 3 Managing the teaching and learning process
- ภาษาของครแู ละผ้เู รยี นท่ีใช้ในห้อง (Teachers’ and learners’ language in the classroom)
- การจัดการชัน้ เรียน (Classroom management)
4) TKT: CLIL (Content and Language Integrated Learning)

3. ผ่านการอบรมหลกั สตู รท่ไี ดร้ บั การรับรองจากกระทรวงศกึ ษาธิการ เช่น Boot Camp, Boot Camp Turbo
4. ผ่านการอบรมหลกั สตู ร Teacher Development Interactive (TDI) จ�ำนวน 6 โมดูล

38



บทท่ี

04

หลักสตู ร
ภาษาองั กฤษแบบเข้ม

(Intensive English Program: IEP)

บทท่ี 04 หลักสตู รภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Intensive English Program : IEP)

ภาพรวมหลกั สูตร
หลักสูตรภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Intensive English Program : IEP) คือการจัดการเรียนการสอนภาษา

องั กฤษสำ� หรบั สถานศกึ ษาทม่ี กี ารเปดิ หอ้ งเรยี นพเิ ศษภาษาองั กฤษ โดยมกี ารจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษแบบเขม้ และ
มีการจัดการเรียนการสอนรายวิชาอื่นๆ เป็นภาษาอังกฤษด้วย เพื่อยกระดับความสามารถด้านภาษา (Language
proficiency) ของผเู้ รียนทงั้ 4 ทักษะ การฟัง การพดู การอา่ น และการเขียนใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน CEFR level
เปา้ หมายการพัฒนาระดบั ความสามารถทางภาษาอังกฤษของผเู้ รียนในหลักสูตร

เปา้ หมายในการพฒั นาความสามารถทางภาษาองั กฤษของผเู้ รยี นในหลกั สตู ร Intensive English Program นน้ั
ไดย้ ดึ หลกั มาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษของประชากรของประเทศในกลมุ่ สหภาพยโุ รป (Common European
Framework of Reference for Languages: CEFR) ซง่ึ ถือว่าเปน็ มาตรฐานในการพัฒนาหลักสูตรการเรยี นภาษาองั กฤษ
ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั จากทวั่ โลกสำ� หรบั หลกั สตู รIntensiveEnglishProgram(IEP)นน้ั ผเู้ รยี นตอ้ งผา่ นการประเมนิ วดั ความสามารถ
ทางภาษาแตล่ ะชว่ งชัน้ ตามกรอบมาตรฐาน CEFR ดงั ต่อไปนี้ (Active English, 2012 และ Council of Europe, 2018)

41

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

1. ระดบั ประถมศึกษา จากระดับ Pre A1 หรอื A1 ถงึ A2 ดังนี้
เรม่ิ จากผเู้ รยี นสามารถใชภ้ าษาองั กฤษไดอ้ ยา่ งมขี อ้ จำ� กดั เนอ่ื งจากเพง่ิ เรม่ิ ตน้ เรยี นภาษาองั กฤษหรอื ไมม่ คี วามรภู้ าษาองั กฤษ

เบอื้ งตน้ มากอ่ น หรอื สามารถเขา้ ใจประโยคภาษาองั กฤษทตี่ อ้ งใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้ โดยเฉพาะในสว่ นของทเี่ ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และ
รูปธรรม สามารถแนะนำ� ตนเอง และผอู้ ่นื ได้ สามารถถาม-ตอบคำ� ถามเก่ยี วกบั ข้อมูลส่วนตัวเกยี่ วกับท่อี ยอู่ าศยั คนท่รี จู้ กั
ส่ิงของที่ตนเองมีได้ สามารถโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษได้ ในกรณีที่คู่สนทนาพยายามช่วยพูดอย่างช้าๆ ชัดๆ จนกระทั่ง
ผู้เรียนสามารถเข้าใจประโยคภาษาอังกฤษท่ีมักจะพบเจอบ่อยๆ ในเรื่องที่เก่ียวข้องกับเร่ืองส่วนตัว ครอบครัว การซื้อ
สินคา้ การเดนิ ทาง ฯลฯ ได้ สามารถสอ่ื สารภาษาอังกฤษทเี่ กยี่ วข้องกบั กจิ วัตรประจำ� วนั ได้ สามารถอธบิ ายความตอ้ งการ
ของตนเองโดยใช้ประโยคพน้ื ฐานได้

2. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น จากระดับ A2 ถงึ B1 ดงั น้ี
เรมิ่ จากผเู้ รยี นสามารถเขา้ ใจประโยคภาษาองั กฤษทม่ี กั จะพบเจอบอ่ ยๆ ในเรอื่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั เรอ่ื งสว่ นตวั ครอบครวั

การซ้ือสินค้า การเดินทาง ฯลฯ ได้ สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวข้องกับกิจวัตรประจ�ำวันได้ สามารถอธิบาย
ความตอ้ งการของตนเองโดยใชป้ ระโยคพน้ื ฐานได้ จนกระทงั่ ผเู้ รยี นสามารถเขา้ ใจใจความส�ำคญั ของภาษาองั กฤษในโครงสรา้ ง
พนื้ ฐาน ในเรอื่ งทตี่ นเองมคี วามคนุ้ เคย เชน่ เรอื่ งในทท่ี ำ� งาน โรงเรยี น เวลาวา่ ง ฯลฯ สามารถใชภ้ าษาองั กฤษในการเดนิ ทางได้
สามารถสร้างประโยคพื้นฐานในการส่ือสารในเร่ืองท่ีตนเองสนใจได้ สามารถเล่าเร่ืองเก่ียวกับประสบการณ์ เหตุการณ์
ความมุง่ หวงั ของตนเองเป็นภาษาอังกฤษได้ สามารถอธบิ ายเหตุผล และความคิดเหน็ ของตนเองสั้นๆ ได้

3. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จากระดบั B1 ถงึ B2 ดังน้ี
เร่ิมจากผู้เรียนผู้เรียนสามารถเข้าใจใจความส�ำคัญของภาษาอังกฤษในโครงสร้างพ้ืนฐาน ในเรื่องที่ตนเอง

มีความคุ้นเคย เช่น เรื่องในท่ีท�ำงาน โรงเรียน เวลาว่าง ฯลฯ สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการเดินทางได้ สามารถ
สร้างประโยคพ้ืนฐานในการสื่อสารในเรื่องท่ีตนเองสนใจได้ สามารถเล่าเรื่องเกี่ยวกับประสบการณ์ เหตุการณ์
ความมุ่งหวังของตนเองเป็นภาษาอังกฤษได้ สามารถอธิบายเหตุผล และความคิดเห็นของตนเองส้ันๆ ได้ จนกระท่ัง
ผู้เรียนสามารถเข้าใจใจความส�ำคัญของภาษาอังกฤษที่ซับซ้อนท้ังในส่วนของข้อเท็จจริง และอารมณ์ความรู้สึกของภาษา
ได้ โดยเฉพาะภาษาองั กฤษท่มี ีความเก่ยี วขอ้ งกับอาชพี และความสนใจของตนเอง สามารถพดู คุยภาษาอังกฤษไดค้ ่อนข้าง
เปน็ ธรรมชาติ ในระดบั ท่สี ามารถส่อื สารกับเจา้ ของภาษาได้ โดยไมท่ �ำใหค้ ูส่ นทนาเกิดความเครยี ด

42

บทที่ 04 หลักสตู รภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Intensive English Program : IEP)

คำ� อธบิ ายตัวอย่างชุดวัดผลทักษะภาษาอังกฤษของ Oxford, LanguageCert,
Cambridge และ Pearson

ตัวอย่างชุดวดั ผลทักษะภาษาองั กฤษของ Oxford Test of English (OTE)

แบบทดสอบวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษอ้างอิงตามกรอบ CEFR ทั้ง 4 ทักษะ ได้แก่ การฟัง การพูด
การอ่าน และการเขียน ได้รับการพัฒนาโดยผู้เช่ียวชาญจาก Oxford University Press และได้รับการรับรอง
จาก University of Oxford รายงานผลตามระดบั CEFR แบง่ เปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ A2, B1 และ B2 ซงึ่ การรายงานผลจะรายงาน
ในภาพรวม 4 ทกั ษะ และแยกผลทดสอบตามแตล่ ะทกั ษะ การฟงั การพดู การอา่ น และการเขยี น การทดสอบเปน็ แบบ Online
และ Adaptive สามารถทดสอบท้ัง 4 ทกั ษะ หรือแยกสอบแตล่ ะทกั ษะได้ การทำ� แบบทดสอบใช้เวลาท้ังหมด 2 ช่วั โมง
ผสู้ อบจะได้รับใบประกาศนยี บตั รรายงานผลทีไ่ ดร้ ับการรับรองจาก University of Oxford ภายใน 14 วัน

แบ่งชดุ ขอ้ สอบตามชว่ งอายุ ไดแ้ ก่

• Oxford Test of English for Schools ส�ำหรับผสู้ อบอายุ 12-16 ปี
• Oxford Test of English สำ� หรับผู้สอบอายุ 16 ปีขน้ึ ไป

แนะนำ� ชดุ วัดผลของ Oxford สำ� หรบั ผ้เู รยี นในหลักสตู ร Intensive English Program ตามแตล่ ะระดับชั้น ดังนี้

Level P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
CEFR Level
Pre A1/ A1 ≥A2 ≥A2 ≥B1 ≥B1 ≥B2

EPnrogfliicsihenLcayngTueasgte OfoxrfoScrdhoToelsst of English EOnxgfolisrdh Test of

43

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

ตวั อย่างชดุ วัดผลทักษะภาษาองั กฤษของ LanguageCert

Level P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
CEFR Level Pre- A1/A1 ≥ A2 > A2 ≥ B1 > B1 ≥ B2

PEnrogfliicsihenLcayngTueasgte YFoLx- ESOL YOLw-l ESOL A2-Access B1-Achiever B2-Communicator

ตวั อย่างชุดวัดผลทกั ษะภาษาอังกฤษของ Cambridge

Level P1 P2 P3 P4 P5 P6 M1 M2 M3 M4 M5 M6
CEFR Level Pre- A1/ ≥ A2 ≥ A2 ≥ B1 ≥ B1 ≥ B2
AEnssgelissshmCeunrtriculum/ SPtraer-teAr1s
A1-Movers A-2-Flyers B1-Preliminary B2-Flyers

ตวั อย่างชดุ วัดผลทกั ษะภาษาอังกฤษของ Cambridge

1. Cambridge English Young Learners สำ� หรบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 1-6
• หลักสูตร Cambridge English Young Learners เนน้ ให้ผเู้ รียนมีความสามารถในการสอื่ สารภาษาองั กฤษท้งั 4 ทกั ษะคอื
การฟัง การพดู การอา่ นและการเขียน มี 4 ระดับดังน้ี
- Pre A1–Starters : เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาตอนต้น โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนสามารถแสดง /
บอกความรูส้ กึ ของตนเอง ไดอ้ ยา่ งง่ายๆ เขา้ ใจค�ำศัพท์ทงี่ ่ายๆ และไมซ่ บั ซ้อน
- A1–Movers : เหมาะส�ำหรับผูเ้ รียนในระดบั ประถมศกึ ษาตอนกลาง หรือปลาย โดยมเี ป้าหมายใหผ้ เู้ รยี น สามารถ
แสดงความคิดเห็นได้ เข้าใจประโยคส้ันๆ ง่ายๆ ได้ในระดับพื้นฐาน เข้าใจป้ายประกาศ หรือค�ำแนะน�ำง่ายๆ
รวมทัง้ สามารถจดบันทกึ วัน เวลา สถานท่ีได้

44

บทที่ 04 หลกั สูตรภาษาองั กฤษแบบเข้ม (Intensive English Program : IEP)

- A2–Flyers : เหมาะส�ำหรับผู้เรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย หรือมัธยมศึกษาตอนต้น โดยมีเป้าหมาย
ให้ผู้เรียน สามารถอธิบายเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตประจ�ำวันได้ และเข้าใจประโยคค�ำอธิบาย หรือข้อความอธิบาย
จากส่อื หรอื ประกาศตา่ งๆ ได้
ในการทดสอบหรือวัดผลระดับความสามารถทางภาษาของผู้เรียน โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานท่ีเทียบเคียง

ผลคะแนนกับระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR สามารถทำ� ไดห้ ลงั จากผเู้ รียนส�ำเร็จการศกึ ษาในแตล่ ะชนั้ ปี
2. Cambridge Assessment English สำ� หรับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6

- A2-Key for Schools (KET)
- B1-Preliminary for Schools (PET)
- B2-First for Schools (FCE)
การประเมินผลการเรียนรโู้ ดยใช้ Cambridge English Exam
ในการทดสอบหรอื วดั ผลระดบั ความสามารถทางภาษาของผเู้ รยี น โดยใชแ้ บบทดสอบมาตรฐานทเี่ ทยี บเคยี งผลคะแนน
กับระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR สามารถท�ำได้หลังจากผู้เรียนส�ำเร็จการศึกษาในแต่ละชั้นปี
เพื่อน�ำผลการทดสอบดังกล่าวมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน การจัดกระบวนการเรียนการสอน
อนั จะน�ำไปสูก่ ารพฒั นาผู้เรียนให้มคี วามสามารถตามเปา้ หมายทกี่ ำ� หนด

ตวั อย่างชุดวดั ผลทกั ษะภาษาองั กฤษของ Pearson Test of English Young Learners

หลักสูตร Intensive English Program ของ Pearson
Pearson ได้ออกแบบกรอบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยใช้มาตรฐานโลกท่ีเรียกว่า The Global Scale of

English (GSE) ซึ่งเป็นมาตรฐานแรกท่ีใช้ในการก�ำหนดมาตรฐานภาษาอังกฤษและช่วยให้คุณครูสามารถท่ีจะ
ประเมินผลของผู้เรียนได้อย่างถูกต้องและแม่นย�ำ โดยได้ผ่านการวิจัยมามากกว่า 50 ประเทศท่ัวโลก โดยได้รับ
ความรว่ มมอื จากครูผู้สอนภาษาอังกฤษทวั่ โลก จ�ำนวน 6,000 คน โดยใชก้ ารวดั ระดับ จาก 10 ถงึ 90 โดยประกอบดว้ ย
การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน เพ่ือให้ครูผู้สอนสามารถที่จะก�ำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ได้ถูกต้อง
โดยการนำ� หลักไวยากรณแ์ ละคำ� ศัพท์ เข้ามาเป็นสว่ นหน่ึงในการก�ำหนดจดุ มงุ่ หมายการออกแบบบทเรียน การวัดประเมิน
ท่สี อดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ

45

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

Scale Learning Objectives Courseware Assessment
The Global Scale of The GSE Learning Objec- Pearson courseware has been Institutions can develop their
English runs from 10 - 90, tives are provide context developed using Global Scale own assessment materials with
with clear statements for teachers and learners of English Learning Objectives, help from the GSE Learning
for what a learner can what learners can do at so you can be sure that your Objectives and assessment
achieve in Speaking, each level of proficiency. learners are at the right level. frameworks
Listening, Reading and
Writing

46

บทที่ 04 หลักสตู รภาษาอังกฤษแบบเขม้ (Intensive English Program : IEP)

PTE Young Learners สำ� หรับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1-6
1. เป็นการสอบวดั ระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษสำ� หรบั เด็กประถมศึกษา และสามารถทำ� การทดสอบไดต้ ลอดเวลา
2. ทดสอบความสามารถทงั้ 4 ทกั ษะ ได้แก่ ทักษะการฟงั การพดู การอ่านและการเขียน
3. การทดสอบผ่านทางการวดั ผล และรายงานผลด้วยคะแนนของ Global Scale of English (GSE) และ CEFR
4. ใช้ทดสอบในระดับเดก็ อายุต้งั แต่ 6 – 14 ปี และมี 5 ระดับ (pre-A1 – B1+) ในแต่ละระดับจะมขี อ้ สอบจำ� นวน 3 ชดุ
5. สามารถทราบผลใน 1 ช่ัวโมง พร้อมใบประกาศรับรองผลการสอบ

2. PTE General ส�ำหรับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-6
2.1 เปน็ การสอบวัดระดบั ความสามารถทางภาษาองั กฤษ (ESOL : English for Speakers of Other Languages)
2.2 การสอบวดั ระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษในเดก็ ระหวา่ งอายุ 13-16 ปี
2.3 ทดสอบความสามารถทัง้ 4 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ ทักษะการฟงั การพูด การอา่ นและการเขียน
2.4 ผลการสอบความสามารถทางภาษาองั กฤษสามารถเทยี บมาตรฐานตามกรอบ CEFR (Common European Framework of
Reference)

คุณสมบัติของครูผู้สอนหลกั สตู ร Intensive English Program (IEP)
ระดับประถมศกึ ษา (Primary)
ครูผูส้ อนระดับประถมศกึ ษาตอ้ งมคี ณุ สมบัตขิ อ้ ใดข้อหน่งึ ดังตอ่ ไปน้ี

1. เป็นเจ้าของภาษา (อังกฤษ อเมริกา ออสเตรเลีย แคนนาดา หรือนิวซีแลนด์) ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี
ขน้ึ ไปสาขาวชิ าใดก็ได้

47

คมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตามความเขม้ ขน้ 3 ระดบั สสู่ ากล

2. ครูท่ีไม่ใช่เจ้าของภาษาที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว และความสามารถทางภาษาเทียบเท่า CEFR
ตัง้ แต่ระดับ B1 ขน้ึ ไป ซึ่งผลสอบมีอายไุ มเ่ กิน 2 ปนี บั ตงั้ แต่วันสอบ และมีวุฒกิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรใี นทุกสาขา
รวมท้งั ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิเพม่ิ เติมข้อใดข้อหนง่ึ ดังตอ่ ไปนี้
2.1 มีใบประกาศนียบัตรในการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา CELT – P (Certificate in English
Language Teaching – Primary) พรอ้ มดว้ ย TKT (Teaching Knowledge Test) ในการสอนระดบั ประถมศกึ ษา
TKT (Teaching Knowledge Test) : YL (Young Learners)
2.2 ประกาศนียบตั ร TESOL (Teaching English to Speakers of Other Languages) จากมหาวิทยาลยั Trinity
ในระดับ 5
2.3 ใบประกาศนียบตั รในการสอนภาษาองั กฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ TEFL (Teaching English as a Foreign
Language) พร้อมด้วย TKT (Teaching Knowledge Test) Module 1-3
TKT: Module 1 Language and background to language learning and teaching
TKT: Module 2 Lesson planning and use of resources for language teaching
TKT: Module 3 managing the teaching and learning process และหนว่ ยการสอนในระดบั ประถมศึกษา
TKT: YL (Young Learners)
2.4 ผ่านการอบรมจากหลักสูตร Teacher Development Interactive : TDI จ�ำนวน 6 โมดลู

ระดับมัธยมศึกษา (Secondary)
ครูผูส้ อนระดบั มธั ยมศึกษาต้องมีคณุ สมบตั ขิ อ้ ใดข้อหน่งึ ดังต่อไปน้ี

1. ครูท่เี ปน็ เจ้าของภาษา (อังกฤษ อเมรกิ า ออสเตรเลีย แคนนาดา หรอื นวิ ซีแลนด์)

48

บทที่ 04 หลกั สูตรภาษาอังกฤษแบบเข้ม (Intensive English Program : IEP)

2. ครูที่ไม่ใช่เจ้าของภาษาที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว พร้อมกับมีการทดสอบ CEFR ตั้งแต่
B2 ขึน้ ไป ซง่ึ ผลสอบมีอายุไมเ่ กิน 2 ปนี บั ต้งั แต่วันสอบ และมีวุฒิการศึกษาระดบั ปริญญาตรใี นทกุ สาขา

รวมท้งั ต้องมีคณุ สมบัตเิ พ่ิมเตมิ ข้อใดข้อหน่งึ ดงั ต่อไปนี้
2.1 มีใบประกาศนยี บัตรในการสอนภาษาอังกฤษระดับมธั ยมศึกษา CELT – S (Certificate in English Language
Teaching – Secondary) พร้อมด้วย TKT (Teaching Knowledge Test) ในการสอนระดบั มัธยมศกึ ษา
TKT : CLIL (Content and Language Integrated Learning)
2.2 ประกาศนียบัตร TESOL (Teaching English to Speakers of Other Languages) จากมหาวิทยาลัย Trinity
ในระดับ 5
2.3 ใบประกาศนียบัตรในการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ (TEFL) พร้อมด้วย TKT (Teaching
Knowledge Test) โมดลู 1-3
TKT : Module 1 Language and background to language learning and teaching
TKT : Module 2 Lesson planning and use of resources for language teaching
TKT : Module 3 Managing the teaching and learning process และหน่วยการสอนระดบั มธั ยมศึกษา
(TKT CLIL Module)
2.4 ประกาศนียบัตรหลักสูตรการพัฒนาครูของ Teacher Development Interactive : TDI ต้องผ่าน
การอบรม 6 โมดูล

สามารถสแกนเพอ่ื อา่ นรายละเอยี ดหลกั สตู ร คมู่ อื เอกสาร ประกอบการเรยี น การสอน การวดั ผล สำ� หรบั ชนั้ ประถมศกึ ษา (ฟร)ี
ในภาคผนวก

49


Click to View FlipBook Version