IV รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ค�ำน�ำ การวิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกหลักที่ส�ำคัญในการสร้างองค์ความรู้และพัฒนานวัตกรรม ขับเคลื่อน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าและยกระดับคุณภาพชีวิตรวมทั้งยกระดับ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อน�ำไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืนตามเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี“ดัชนีวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม” เป็นเครื่องมือชี้วัดที่แสดงให้เห็นถึงสถานภาพ ด้านการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เป็นข้อมูลส�ำคัญของรัฐบาลในการบริหารงานวิจัย ก�ำหนดกรอบ งบประมาณด้านการวิจัยและนวัตกรรม และน�ำไปใช้ประกอบในการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย และนวัตกรรม ตลอดจนการติดตามและประเมินผลการวิจัยและนวัตกรรมทั้งในระดับองค์กรและระดับชาติ เป็นข้อมูลใช้วัดศักยภาพการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและใช้เป็นข้อมูล ประกอบในการจัดท�ำดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศเพื่อประเมินความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศกับนานาชาติ ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) ได้รับมอบหมายพันธกิจที่ส�ำคัญตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 ก�ำหนดให้เป็นหน่วยงานซึ่งมี ภารกิจส�ำคัญในการจัดท�ำฐานข้อมูลและดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และได้รับ มอบหมายตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 คือ การพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศกลางเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการวิจัยและนวัตกรรมระดับชาติและนานาชาติกับระบบสารสนเทศ ของหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม พร้อมทั้งการรวบรวม วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลการด�ำเนินการ และผลงานวิจัยและนวัตกรรมจากหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ดังนั้นเพื่อให้การด�ำเนินงานสอดรับกับภารกิจที่ได้รับมอบหมาย วช. จึงได้จัดท�ำ “รายงานดัชนี วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ปี2565”เพื่อมุ่งหวังให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทางการวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงประชาชนทั่วไปได้รับทราบข้อมูลและตระหนักถึงความส�ำคัญของข้อมูลด้านการวิจัยและนวัตกรรมของ ประเทศ ซึ่งเป็นข้อมูลจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมตัวชี้วัดด้านการวิจัยและนวัตกรรมจากแหล่ง ข้อมูลทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ส�ำคัญ รวมทั้งการน�ำเสนอผลการเปรียบเทียบอันดับความสามารถใน การแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมถึงด้านนวัตกรรมของประเทศไทยกับ นานาชาติและ วช. ขอขอบคุณหน่วยงานต่างๆ ทุกภาคส่วนที่กรุณาสนับสนุนข้อมูลและให้ความร่วมมือด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักบริหาร นักวิจัยตลอดจนประชาชนทั่วไปที่สนใจ น�ำข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจและก�ำหนดนโยบายการวิจัยของประเทศหรือด้านอื่นๆ ต่อไป ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กันยายน 2565 ก
V รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทสรุปผู้บริหาร ดัชนีวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เป็นข้อมูลส�ำคัญที่สะท้อนสถานภาพด้านการวิจัย และนวัตกรรมของประเทศซึ่งใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนส�ำคัญในการก�ำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย และนวัตกรรม เป็นข้อมูลส�ำคัญของรัฐบาลในการบริหารงานวิจัยก�ำหนดกรอบงบประมาณด้านการวิจัยและ นวัตกรรม ตลอดจนการติดตามและประเมินผลการวิจัยและนวัตกรรมทั้งในระดับองค์กรและระดับชาติเป็น ข้อมูลใช้วัดศักยภาพการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและใช้เป็นข้อมูลประกอบ ในการจัดท�ำดัชนีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศเพื่อประเมินความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กับนานาชาติ รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี2565ได้น�ำเสนอข้อมูลตัวชี้วัดส�ำคัญ ที่เกี่ยวข้องด้านการวิจัยและนวัตกรรม จากฐานข้อมูลส�ำคัญทั้งในประเทศและต่างประเทศโดยมุ่งเน้นให้ความ ส�ำคัญทั้งข้อมูลที่เป็นปัจจัยน�ำเข้า (Input)และปัจจัยผลผลิต(Output) รวมทั้งปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ที่ส�ำคัญ เพื่อให้สามารถสะท้อนสถานภาพด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศทั้งในระดับประเทศ และ เปรียบเทียบกับประเทศต่างๆในโลกซึ่งเนื้อหาประกอบด้วย1)ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ2) งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม 3)ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย และพัฒนา 4) บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม 5)สิทธิบัตร 6) บทความตีพิมพ์ทางวิชาการด้าน วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ 7) โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม โดยสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ของประเทศ ในปี2565อันดับความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD ปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28) ซึ่งปัจจัยทั้งหมด 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยสมรรถนะ ทางเศรษฐกิจ, ปัจจัยประสิทธิภาพของภาครัฐ, ปัจจัยประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และปัจจัยโครงสร้าง พื้นฐาน มีการปรับอันดับลดลงทุกด้าน โดยด้านโครงสร้างพื้นฐานปรับอันดับลดลงมาอยู ่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 43) ซึ่งเกณฑ์การพิจารณาเพื่อจัดอันดับความสามารถในการแข ่งขันที่มีความเกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.) ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ปัจจัยดังกล่าวเช่นกัน โดยปัจจัยย่อยมีการปรับ อันดับดีขึ้นจ�ำนวน 3 ปัจจัยย่อย (จากทั้งหมด 5 ปัจจัยย่อย) ปัจจัยย่อยด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่34(จากอันดับที่37) ปัจจัยย่อยด้านการศึกษาปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 53 (จากอันดับที่ 56) ปัจจัยย่อยด้านโครงสร้างพื้นฐานทั่วไปปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 22 (จากอันดับ ที่24) โดยปัจจัยย่อยโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อันดับคงที่และเมื่อพิจารณาอันดับและตัวเลขข้อมูลดิบ ในปัจจัยย่อยนี้โดยส่วนใหญ่มีการปรับอันดับดีขึ้น รวมทั้งมีแนวโน้มอันดับที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตัวชี้วัด บางรายการที่มีอันดับลดลงแต่เมื่อพิจารณาตัวเลขข้อมูลดิบมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อัตราการเพิ่มช้า หรือน้อยกว่าประเทศอื่นๆ ดังนั้นหากต้องการให้อันดับความสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ควรต้องเร่ง ด�ำเนินการในตัวชี้วัดที่ยังคงเป็นจุดอ่อนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเทศตามที่ตั้งไว้ ข
VI รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส�ำหรับอันดับด้านนวัตกรรมของประเทศไทย จากรายงานการจัดอันดับของ GII ในปี2565 ยังคงอยู่ ในอันดับที่43 (คงที่จากปี2564) โดยอันดับความสามารถด้านนวัตกรรม ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรมลดลง มาอยู่ในอันดับที่48 (จากอันดับที่47) และดัชนีผลผลิตด้านนวัตกรรม มีการปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 46) โดยพบว่า ปัจจัยย่อยที่อยู่ภายใต้ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรมที่มีอันดับดีขึ้นมากที่สุด คือ การลงทุน (Investment) อยู ่ในอันดับที่ 49 (จากอันดับที่ 64) ในขณะที่ปัจจัยย ่อยที่มีอันดับลดลง มากที่สุด คือ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Business environment) อยู่ในอันดับที่ 65 (จากอันดับที่ 20) ส�ำหรับปัจจัยย่อยที่อยู่ภายใต้ดัชนีผลผลิตด้านนวัตกรรมที่มีอันดับดีขึ้นมากที่สุด คือ สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ (Intangibles assets) อยู่ในอันดับที่ 47 (จากอันดับที่ 68) ในขณะปัจจัยย่อยที่มีอันดับลดลงมากที่สุด คือ สินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์(Creative goods and services) อยู่ในอันดับที่ 42 (จากอันดับที่ 15) 2. งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (กสว.)ซึ่งมอบหมายให้ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส ่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ท�ำหน้าที่เป็นผู้บริหารจัดการงบประมาณเพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการขับเคลื่อนระบบ ววน. ของประเทศผ ่านกองทุนส ่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุนส่งเสริม ววน.) ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปี2565ได้รับการจัดสรรงบประมาณจ�ำนวน 14,176.05 ล้านบาท ลดลงจากปีก ่อนคิดเป็นร้อยละ 28.82 โดยจ�ำแนกเป็นงบประมาณส�ำหรับทุนสนับสนุนงาน เชิงกลยุทธ์ (Strategic Fund) จ�ำนวน 8,577.56 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 61 และงบประมาณส�ำหรับ ทุนสนับสนุนงานพื้นฐาน (Fundamental Fund) จ�ำนวน 5,598.49 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 39 ซึ่งสามารถ จ�ำแนกเป็นแพลตฟอร์ม 1 การพัฒนาก�ำลังคน ยกระดับสถาบันความรู้และระบบนิเวศด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ร้อยละ 25) แพลตฟอร์ม 2 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสังคม (ร้อยละ 22) แพลตฟอร์ม 3 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน พร้อมทั้ง ยกระดับการพึ่งพาตนเองในระดับประเทศ (ร้อยละ 31) แพลตฟอร์ม 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการ พัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล�้ำ (ร้อยละ10) โปรแกรม 16การปฏิรูประบบการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ร้อยละ 8) และโปรแกรม 17 การแก้ปัญหาวิกฤติเร่งด่วนของประเทศ (ร้อยละ 4) 3. ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในภาพรวมของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ในปี2563 ส่วนใหญ่มีการ ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ซึ่งจะเห็นได้จากค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศ ต่าง ๆ ที่เพิ่มขึ้น โดยพบว่าการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในประเทศอันดับต้น ๆ ของโลกส่วนใหญ่ยังคง อยู่ในภาคเอกชนมากกว่าร้อยละ70ส�ำหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย และพัฒนาเพิ่มขึ้นจากปีก่อนเช่นเดียวกัน และการลงทุนด้านการวิจัยส่วนใหญ่ก็ยังคงอยู่ในภาคเอกชน ซึ่ง เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP พบว่า ประเทศอิสราเอลยังคงมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย และพัฒนาต่อ GDPสูงที่สุดในโลกอยู่ที่ร้อยละ5.44ส�ำหรับในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกยังคงเป็นประเทศเกาหลีใต้ ที่มีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDPสูงที่สุดอยู่ที่ร้อยละ4.81ในขณะที่ประเทศไทยถึงแม้จะมีค่าใช้จ่าย ด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น โดยมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP อยู่ที่ร้อยละ 1.33 ซึ่งอยู่ใน ล�ำดับที่ 8 ของเอเชียแปซิฟิก และอยู ่ในล�ำดับที่ 2 ของอาเซียน แต ่ก็ยังคงห ่างจากประเทศอันดับต้น ๆ มากถึงประมาณ 3-4 เท่า ค
VII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยพบว่าในช่วงตั้งแต่ปี2559-2563 ประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นทุกปีโดย มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ16.34และเมื่อเทียบสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา ของประเทศต่อ GDP (GERD/GDP) จะพบว่า GERD/GDP อยู่ที่ระหว่างร้อยละ 0.78-1.33 เมื่อคิดอัตราการ เติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปีของ GERD/GDP อยู่ที่ร้อยละ 14.27 โดยเฉพาะการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาใน ภาคเอกชนมีการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากมูลค่าการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนในปี 2559 อยู่ที่82,701 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็น 141,706 ล้านบาทในปี2563 คิดเป็นอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 14.41 และหากพิจารณาอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของ ประเทศ ในช่วงปี2562-2563 จะพบว่าเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 7.74 แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มการลงทุนด้านการ วิจัยและพัฒนาของประเทศในปี2563 มีการถดถอยลงไปเล็กน้อย แต่เมื่อคิดสัดส่วนของค่าใช้จ่ายด้านการ วิจัยและพัฒนาของประเทศต่อ GDP ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมากลับพบว่า GERD/GDP ยังคงเพิ่มขึ้นอยู่ที่ร้อยละ 16.66 4. บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี2563 มี บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาที่ท�ำงานวิจัยแบบเทียบเท่าเต็มเวลา (แบบ FTE)จ�ำนวน 168,419คน-ปีโดย บุคลากรทางการวิจัย (แบบ FTE) ต่อประชากร 10,000 คน อยู่ที่ 25 คน (คงที่) โดยจ�ำแนกออกเป็นนักวิจัย จ�ำนวน 144,480 คน-ปีผู้ช่วยนักวิจัย 17,656 คน-ปีและผู้ท�ำงานสนับสนุน 6,283 คน-ปีพบว่าส่วนใหญ่อยู่ ในภาคเอกชน คิดเป็นร้อยละ 71 และภาคอื่นๆ (รัฐบาล, อุดมศึกษา, รัฐวิสาหกิจ และเอกชนไม่ค้าก�ำไร) ร้อยละ 29 ส�ำหรับบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบรายหัว) อยู่ที่ 249,270 คน โดยจ�ำแนกออกเป็นนัก วิจัยจ�ำนวน 203,252คน ผู้ช่วยนักวิจัย32,564คน และผู้ท�ำงานสนับสนุน 13,454คน ถึงแม้จ�ำนวนบุคลากร ด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE)ต่อประชากรของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ยังห่างไกลประเทศ อันดับต้นๆ ที่ขับเคลื่อนประเทศด้วยนวัตกรรม เช่น ไต้หวัน เกาหลีใต้สิงคโปร์ เป็นต้น ซึ่งยังห่างมากถึง ประมาณ 5 เท่า จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม ่ในภาพรวมทั้งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ของประเทศไทย ในปีการศึกษา 2564 มีจ�ำนวน 822,929 คน ลดลงจากปีก่อนคิดเป็นร้อยละ 19.56 โดยอยู่ในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์จ�ำนวน 438,561 คน คิดเป็นร้อยละ 53.29 โดยจ�ำแนก เป็นระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 40.03 ปริญญาตรีร้อยละ 54.03 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 5.94 ของผู้เข้าศึกษาใหม่ทุกระดับในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ทั้งหมดและสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ�ำนวน 384,368 คน คิดเป็นร้อยละ 46.71 จ�ำแนกเป็นระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 60.44 ปริญญาตรี ร้อยละ 36.79 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 2.76 ของผู้เข้าศึกษาใหม่ทุกระดับในสายวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีทั้งหมดส�ำหรับผู้ส�ำเร็จการศึกษาในปี2563 มีจ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาทั้งสิ้นจ�ำนวน 648,593คน โดยอยู่ในสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์จ�ำนวน 379,152 คน คิดเป็นร้อยละ 58.46 โดยจ�ำแนกเป็น ระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 38.58 ปริญญาตรีร้อยละ 56.26 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 5.17 ของ ผู้ส�ำเร็จการศึกษาทุกระดับในสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ทั้งหมดและสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ�ำนวน 269,441 คน คิดเป็นร้อยละ 41.54 โดยจ�ำแนกเป็นระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีร้อยละ 55.40 ปริญญาตรี ร้อยละ 41.17 และสูงกว่าปริญญาตรีร้อยละ 3.43 ของผู้ส�ำเร็จการศึกษาทุกระดับในสายวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีทั้งหมด ง
VIII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในปี2564 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรวมทั้งหมดมีจ�ำนวน 4,639,782 คน โดย จ�ำแนกเป็น 2 ประเภท คือ ผู้มีงานท�ำทั้งหมด 4,523,880 คน (ผู้ที่ท�ำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2,774,045 คน ผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแต่ท�ำงานด้านอื่น 1,749,835 คน ) และ กลุ่มผู้ว่างงานที่ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี115,902 คน 5. สิทธิบัตร การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรในประเทศไทยปี2564 มีการยื่นค�ำขอสิทธิบัตรจ�ำนวนทั้งสิ้น 13,835 รายการ โดยพบว่าส่วนใหญ่เป็นการยื่นค�ำขอสิทธิบัตรการประดิษฐ์8,242รายการคิดเป็นร้อยละ59.57และ ค�ำขอสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 5,595 รายการ คิดเป็นร้อยละ 40.43 ส�ำหรับการจดสิทธิบัตร พบว่า มีการจดสิทธิบัตรจ�ำนวนทั้งสิ้น 5,696 รายการ โดยพบว่าส่วนใหญ่เป็นการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 2,995 รายการ คิดเป็นร้อยละ 52.58 และสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์2,701 รายการ คิดเป็นร้อยละ 47.42 และเมื่อพิจารณาจ�ำนวนการยื่นค�ำขอสิทธิบัตรและจ�ำนวนจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ที่ได้รับอนุมัติ ในประเทศไทย ซึ่งเป็นคนไทยยังคงมีจ�ำนวนน้อย โดยเฉพาะประเภทสิทธิบัตรการประดิษฐ์และส่วนใหญ่ เป็นการยื่นจดทะเบียนโดยชาวต่างชาติโดยในปี2564 พบว่าการยื่นค�ำขอสิทธิบัตรที่เป็นคนไทยมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 5,006 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 36) และต่างชาติจ�ำนวน 8,829 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 64) โดยเป็นการยื่นขอ สิทธิบัตรการประดิษฐ์ที่เป็นคนไทยจ�ำนวน 870 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 11) และต่างชาติจ�ำนวน 7,372 รายการ (คิดเป็นร้อยละ89)สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นคนไทยจ�ำนวน 4,136รายการ (คิดเป็นร้อยละ 74) และต่างชาติจ�ำนวน 1,457 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 56) ส�ำหรับการจดสิทธิบัตรที่เป็นคนไทยมีจ�ำนวน ทั้งสิ้น 1,781 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 31) และต ่างชาติจ�ำนวน 3,915 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 69) โดยเป็นการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ที่เป็นคนไทยจ�ำนวน 182รายการ (คิดเป็นร้อยละ6)และต่างชาติจ�ำนวน 2,813 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 94) สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นคนไทยจ�ำนวน 1,599 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 59) และต่างชาติจ�ำนวน 1,102 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 41) โดยสิทธิบัตรการประดิษฐ์ พบว่า ประเทศญี่ปุ่นมีการยื่นขอและจดสิทธิบัตรมากที่สุด โดยมีการยื่นขอสิทธิบัตรจ�ำนวน 3,003 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 36) และจดสิทธิบัตรจ�ำนวน 1,816 รายการ (คิดเป็นร้อยละ 60) 6. บทความตีพิมพ์ทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม บทความตีพิมพ์ทางวิชาการจากฐานข้อมูลของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Center: TCI) ในปี2564 มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 27,908 บทความ (จากจ�ำนวนวารสารทั้งหมด 960ฉบับ) เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ23.35โดยส่วนใหญ่เป็นบทความตีพิมพ์ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร้อยละ 61 และบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร้อยละ 39 ซึ่งการอ้างอิงบทความมีแนวโน้ม เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่บทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีจ�ำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงสูงกว่า อยู ่ที่ 1.52 ครั้ง/บทความ(ปี2563 จ�ำนวนอ้างอิง 1.22 ครั้ง/บทความ) และบทความด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ถูกอ้างอิงจ�ำนวน 0.97 ครั้ง/บทความ (ปี2563 จ�ำนวนอ้างอิง 0.86 ครั้ง/บทความ) โดยหน่วยงานที่มีผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงสุดคือ มหาวิทยาลัยมหิดล(895 บทความ) และหน่วยงานที่มีผลงานตีพิมพ์ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์สูงสุด คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย (984 บทความ) จ
IX รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส�ำหรับข้อมูลผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในวารสารต่างประเทศ จากฐานข้อมูล Web of Science (Science Citation Index Expanded (SCI-EXPANDED), Social Science Citation Index (SSCI), Arts & Humanities CitationIndex (AHCI))แสดงให้เห็นว่านักวิจัยไทยมีการตีพิมพ์บทความ วิชาการเพิ่มขึ้น โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ13.84 และการตีพิมพ์บทความด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังคงมีสัดส ่วนสูงกว ่าด้านสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์เป็นอย่างมากอยู่ที่ 90:10 โดยในปี2564 มีจ�ำนวนบทความตีพิมพ์ทางวิชาการทั้งสิ้น 15,225 บทความ เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.34 ซึ่งเป็นบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำนวน 13,673 บทความ คิดเป็นร้อยละ89.81(เพิ่มขึ้นร้อยละ19.99)และบทความตีพิมพ์ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จ�ำนวน 1,552 บทความ คิดเป็นร้อยละ 10.19 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.77) และในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกส่วนใหญ่ มีสัดส่วนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มากกว่า ร้อยละ 70 เช ่นกัน และยังคงเป็นสิงคโปร์ที่มีจ�ำนวนบทความตีพิมพ์ต ่อประชากรสูงที่สุดอยู ่ที่ 3.53 คน ต่อประชากร1,000คน มีสัดส่วนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อบทความด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์อยู ่ที่ 83:17 ส�ำหรับประเทศไทยมีจ�ำนวนบทความตีพิมพ์ต ่อประชากรอยู ่ที่ 0.22 คน ต่อประชากร 1,000 คน และยังคงอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน โดยสัดส่วนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีต่อบทความด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์อยู่ที่ 90: 10 7. โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม แนวโน้มการใช้ICT ในภาพรวมของโลกทั้งในกลุ ่มประเทศพัฒนาแล้ว และประเทศก�ำลังพัฒนา ซึ่งมีจ�ำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ และการใช้อินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่มากที่สุด และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง โดยในช่วงปี2559-2563 จ�ำนวนผู้ใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในกลุ่มประเทศที่ก�ำลังพัฒนา มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นเฉลี่ยต ่อปีอยู ่ที่ร้อยละ 3.03 ในขณะที่กลุ ่มประเทศพัฒนาแล้วมีอัตราการเติบโต เพิ่มขึ้นเฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 1.62 แต่กลับพบว่าการใช้อินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่กลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนา มีอัตราการเติบโตที่สูงกว่าอยู่ที่ร้อยละ 13.68 ในขณะที่กลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น เฉลี่ยต่อปีอยู่ที่ร้อยละ 7.23 โดยจากผลการส�ำรวจข้อมูลประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไปประมาณ 64.0 ล้านคน ของประเทศไทยปี2564 พบว่า มีผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่60.0ล้านคน คิดเป็นร้อยละ93.75(ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ 0.83) มีผู้มีโทรศัพท์เคลื่อนที่ 54.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 85.63 (เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 2.81) และมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต53.5ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 83.59 (เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ7.56)ส�ำหรับครัวเรือน ในปี2564 มีจ�ำนวน 22,531.50 พันครัวเรือน ครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์คิดเป็นร้อยละ 26.0 ครัวเรือน ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คิดเป็นร้อยละ 87.7 และครัวเรือนที่มีโทรศัพท์มือถือ 96.4 ฉ
X รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สารบัญ ค�ำน�ำ ก บทสรุปผู้บริหาร ข บทที่ 1 ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 1 1.1 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันโดย 2 International Institute for Management Development (IMD) 1.2 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรม โดย 22 Cornell University, Institut Europeen d’Administration des Affaires (INSEAD) และ World Intellectual Property Organization (WIPO) 1.3 บทสรุป 28 บทที่ 2 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 30 2.1 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 31 2.2 การจัดสรรงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม 33 2.3 บทสรุป 36 บทที่ 3 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา 37 3.1 ภาพรวมการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของโลก 38 3.2 ภาพรวมค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย 48 3.3 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชนไทย 53 3.4 บทสรุป 59 บทที่ 4 บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 60 4.1 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา 61 4.1.1 ภาพรวมบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของโลก 62 4.1.2 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย 67 4.2 การผลิตบัณฑิตของประเทศไทย 76 4.2.1 ผู้เข้าศึกษาใหม่ 76 4.2.2 ผู้ส�ำเร็จการศึกษา 82 4.2.3 ผู้เข้าศึกษาใหม่ และผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับต�่ำกว่าปริญญาตรี 88 4.2.4 ผู้เข้าศึกษาใหม่ และผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี 89 4.2.5 ผู้เข้าศึกษาใหม่ และผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับสูงกว่าปริญญาตรี 91 4.3 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 94 4.3.1 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 94 4.3.2 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามกลุ่มอายุ 95 4.3.3 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามระดับการศึกษา 97 4.3.4 ผู้ที่ท�ำงานและส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามสาขาวิชา 98 4.3.5 ผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแต่ท�ำงานด้านอื่น ๆ จ�ำแนกตามอาชีพ 99 4.4 บทสรุป 101 ช
XI รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทที่ 5 สิทธิบัตร 102 5.1 การยื่นขอและจดสิทธิบัตรในภาพรวมของโลก 103 5.2 การยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตรผ่านระบบ Patent Cooperation Treaty (PCT) 108 5.3 สิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรในประเทศไทย 111 5.3.1 สิทธิบัตร 111 5.3.1.1 สิทธิบัตรการประดิษฐ์ 112 5.3.1.2 สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ 117 5.3.2 อนุสิทธิบัตร 118 5.4 บทสรุป 118 บทที่ 6 ผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 119 6.1 ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการในวารสารวิชาการภายในประเทศ 120 6.2 ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการในวารสารวิชาการของต่างประเทศ 123 6.2.1 รายชื่อวารสารวิชาการไทยที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล 123 Science Citation Index Expanded (SCI-EXPANDED), Social Science Citation Index (SSCI) และ Arts & Humanities Citation Index (AHCI) 6.2.2 ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศจากฐานข้อมูล Web of Science 124 (Science Citation Index Expanded (SCI-EXPANDED), Social Science Citation Index (SSCI) และ Arts & Humanities Citation Index (AHCI)) 6.3 บทสรุป 140 บทที่ 7 โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม 141 7.1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) 142 7.1.1 ดัชนีด้าน ICT ในภาพรวมของโลก 144 7.1.2 ดัชนีด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย 151 7.1.3 ดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์(E-Government Development Index: EGDI) 154 7.2 บทสรุป 156 บรรณานุกรม 157 สรุปปีล่าสุดของข้อมูลในรายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 160 ภาคผนวก I : สรุปข้อมูลดัชนีด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย 161 ภาคผนวก II : ข้อมูลสถิติด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย 169 เปรียบเทียบกับต่างประเทศ ซ
XII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
XIII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทที่ 1 ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-1 อันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของโลก ตามการจัดอันดับของ IMD ปี2565 4 ตารางที่ 1-2 อันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของประเทศไทยและเอเชียแปซิฟิก 7 และอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่ 1-3 อันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก 9 และปัจจัยย่อย ปี2561-2565 ตารางที่ 1-4 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศ 11 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่ 1-5 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย 12 ปี2561-2565 ตารางที่ 1-6 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศ 14 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่ 1-7 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 16 ของประเทศไทยปี2561-2565 ตารางที่ 1-8 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศ 19 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่ 1-9 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศไทย 20 ปี2561-2565 ตารางที่ 1-10 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของประเทศไทย 25 และเอเชียแปซิฟิกและอาเซียนจ�ำแนกตามปัจจัยหลัก ตามการจัดอันดับของ GII ปี2565 ตารางที่ 1-11 อันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ GII 27 จ�ำแนกตามปัจจัยหลักและปัจจัยย่อย ปี2561-2565 บทที่ 2 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตารางที่ 2-1 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม จ�ำแนกตามแพลตฟอร์ม 36 ปีงบประมาณ 2563-2565 บทที่ 3 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา ตารางที่ 3-1 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2559-2563 41 ตารางที่ 3-2 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 44 ปี2559-2563 ตารางที่ 3-3 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากร ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 48 ปี2559-2563 ตารางที่ 3-4 การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ปี2558 – 2563 51 ตารางที่ 3-5 ค่าใช้จ่ายทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยปี2563 จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนิน 52 การและแหล่งทุน ตารางที่ 3-6 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน จ�ำแนกตามรายอุตสาหกรรม 55 ปี2559-2563 บทที่ 4 บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตารางที่ 4-1 จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ต่อประชากร 1,000 คน 67 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2559-2563 ตารางที่ 4-2 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนินการ 72 และอาชีพ ปี2563 ตารางที่ 4-3 นักวิจัย (แบบรายหัว) จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนินการ และวุฒิการศึกษา ปี2563 72 ญ
XIV รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ตารางที่ 4-4 นักวิจัย (แบบรายหัว) จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนินการ และสาขาการวิจัย ปี2563 73 ตารางที่ 4-5 จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2564 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาและสายวิชา 78 ตารางที่ 4-6 จ�ำนวน ร้อยละ และอัตราการเพิ่มผู้เข้าศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2560 - 2564 79 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาและสายวิชา ตารางที่ 4-7 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2563 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาและสายวิชา 84 ตารางที่ 4-8 จ�ำนวน ร้อยละและอัตราการเพิ่มผู้ส�ำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2559-2563 85 จ�ำแนกตามระดับการศึกษาและสายวิชา ตารางที่ 4-9 จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ ระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 88 และสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2562-2564 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-10 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับต�่ำกว่าปริญญาตรีในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 89 และสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2561-2563 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-11 จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรีในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 90 และสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2562-2564 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-12 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 91 และสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2561-2563 จ�ำแนกตามสาขา ตารางที่ 4-13 จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ ระดับปริญญาโท ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 92 และสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2562-2564 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-14 ผู้จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ ระดับปริญญาเอก ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 92 และสายสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2562-2564 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-15 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 93 และสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2561-2563 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-16 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาเอก ในสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 93 และสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปีการศึกษา 2561-2563 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ตารางที่ 4-17 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 95 ปี2563-2564 ตารางที่ 4-18 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 96 จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและกลุ่มอายุ ปี2563-2564 ตารางที่ 4-19 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 97 จ�ำแนกตามสถานภาพแรงงานและระดับการศึกษา ปี2563-2564 ตารางที่ 4-20 ผู้มีงานท�ำและส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามสาขาวิชา 99 ปี2563-2564 ตารางที่ 4-21 ผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแต่ท�ำงานด้านอื่น ๆ 100 จ�ำแนกตามอาชีพ ปี2563-2564 บทที่ 5 สิทธิบัตร ตารางที่ 5-1 20 อันดับประเทศที่มีจ�ำนวนการยื่นขอและการจดสิทธิบัตรสูงสุด ในปี2563 104 ตารางที่ 5-2 20 อันดับประเทศที่มีจ�ำนวนการจดสิทธิบัตรสูงสุด ในปี2563 105 ตารางที่ 5-3 จ�ำนวนการยื่นขอสิทธิบัตรของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2559-2563 106 ตารางที่ 5-4 จ�ำนวนการจดสิทธิบัตรของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2559-2563 107 ตารางที่ 5-5 จ�ำนวนการยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตรตามระบบ PCT (Patent Cooperation Treaty) 108 จ�ำแนกตามประเทศผู้ยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตร ปี2559 – 2563 ตารางที่ 5-6 การยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตรตามระบบ PCT (Patent Cooperation Treaty) 109 จ�ำแนกตามประเภทเทคโนโลยีปี2562 -2563 ตารางที่ 5-7 การยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตรตามระบบ Patent Cooperation Treaty (PCT) 111 จ�ำแนกตามองค์กร /หน่วยงานในประเทศไทย ปี2561-2563 ฎ
XV รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ตารางที่ 5-8 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในประเทศไทย 112 จ�ำแนกตามประเภทสิทธิบัตรและสัญชาติปี2560-2564 ตารางที่ 5-9 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในประเทศไทย จ�ำแนกตามสัญชาติ 112 ปี2560-2564 ตารางที่ 5-10 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์จ�ำแนกตามการจ�ำแนกสิทธิบัตร 114 ระหว่างประเทศ (IPC) ปี2559-2563 ตารางที่ 5-11 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ในประเทศไทย จ�ำแนกตามสาขาเทคโนโลยี 115 ปี2560-2564 ตารางที่ 5-12 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย 117 จ�ำแนกตามประเภทสิทธิบัตรและสัญชาติปี2560-2564 ตารางที่ 5-13 การยื่นค�ำขอและจดอนุสิทธิบัตรในประเทศไทย จ�ำแนกตามสัญชาติปี25560-2564 118 บทที่ 6 ผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตารางที่ 6-1 จ�ำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการภายในประเทศ ด้านวิทยาศาสตร์ 121 และเทคโนโลยีกับด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2561-2564 ตารางที่ 6-2 จ�ำนวนบทความที่ตีพิมพ์สูงสุด 10 อันดับแรก จากฐาน TCI จ�ำแนกตามมหาวิทยาลัย 122 ปี2564 ตารางที่ 6-3 10 อันดับแรกวารสารวิชาการไทยที่ได้รับการอ้างอิงมากที่สุด จ�ำแนกตามชื่อวารสาร 123 ปี2564 ตารางที่ 6-4 รายชื่อวารสารวิชาการไทยที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล Science Citation Index 124 Expanded (SCI-EXPANDED) ตารางที่ 6-5 จ�ำนวนประชากรต่อบทความงานตีพิมพ์ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 127 ปี2560 – 2564 ตารางที่ 6-6 จ�ำนวนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อประชากร 1,000 คน 128 จ�ำแนกตามประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2560-2564 ตารางที่ 6-7 จ�ำนวนบทความตีพิมพ์ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ต่อประชากร 1,000 คน 129 จ�ำแนกตามประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2560–2564 ตารางที่ 6-8 บทความตีพิมพ์ทางวิชาการ ปี2564 ต่อจ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา 131 ของประเทศ จ�ำแนกตามประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ตารางที่ 6-9 บทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 132 จ�ำแนกตามประเทศที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับไทยสูงสุด 20 อันดับแรก ปี2564 ตารางที่ 6-10 จ�ำนวนผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านสังคมศาสตร์ 134 และมนุษยศาสตร์และจ�ำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างอิง ตามหน่วยงานที่มีผลงานตีพิมพ์ จ�ำแนกและได้รับการอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรก ปี2564 ตารางที่ 6-11 จ�ำนวนผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 136 และจ�ำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างอิง จ�ำแนกตามสาขาวิชา 20 สาขาแรก ปี2564 ตารางที่ 6-12 จ�ำนวนบทความพิมพ์ด้านสังคมศาสตร์และจ�ำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างอิง 138 จ�ำแนกตามสาขาวิชา 20 สาขาแรก ปี2564 ตารางที่ 6-13 จ�ำนวนบทความพิมพ์ด้านศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 139 และจ�ำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างอิง จ�ำแนกตามสาขาวิชา 20 สาขาแรก ปี2564 ฏ
XVI รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทที่ 7 โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม ตารางที่ 7-1 ดัชนีด้าน ICT ในภาพรวมของโลก จ�ำแนกตามกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว 144 และประเทศก�ำลังพัฒนา ในปี2559 – 2563 ตารางที่ 7-2 จ�ำนวนเลขหมายโทรศัพท์พื้นฐานที่เปิดใช้ต่อประชากร 100 คน ของประเทศ 146 ในกลุ่มอาเซียนบวก 6 ปี2559-2563 ตารางที่ 7-3 จ�ำนวนเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน ของประเทศ 147 ในกลุ่มอาเซียนบวก 6 ปี2559 – 2563 ตารางที่ 7-4 จ�ำนวนการใช้อินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่ต่อประชากร 100 คน ของประเทศ 148 ในกลุ่มอาเซียนบวก 6 ปี2559 – 2563 ตารางที่ 7-5 จ�ำนวนการใช้อินเทอร์เน็ตแบบประจ�ำที่ต่อประชากร 100 คน ของประเทศ 149 ในกลุ่มอาเซียนบวก 6 ปี2559 – 2563 ตารางที่ 7-6 ร้อยละของประชากรที่ใช้อินเทอร์เน็ตของประเทศอาเซียนบวก 6 ปี2561–2563 150 ตารางที่ 7-7 ร้อยละของประชากรอายุ6 ปีขึ้นไปที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ที่มีโทรศัพท์มือถือ 152 และการใช้อินเทอร์เน็ต จ�ำแนกตามภูมิภาค ปี2563 – 2564 ตารางที่ 7-8 จ�ำนวนประชากรอายุ6 ปีขึ้นไป ที่มีการใช้โทรศัพท์มือถือ และอินเทอร์เน็ต 152 ของประเทศไทย ปี2560 – 2564 ตารางที่ 7-9 จ�ำนวนและร้อยละผู้มีการท�ำงานอายุ15 ปีขึ้นไป ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ 153 และอินเทอร์เน็ต ตารางที่ 7-10 จ�ำนวนและร้อยละของครัวเรือนที่มีคอมพิวเตอร์จ�ำแนกตามภาค 154 และเขตการปกครอง ปี2564 156 ตารางที่ 7-11 ดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และดัชนีการมีส่วนร่วมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย 155 ปี2555-2563 ตารางที่ 7-12 ผลการจัดอันดับ E-Government Development Index, E-Participation Index 156 และ Local Online Service Index ของประเทศในกลุ่มอาเซียน ปี2563 ฐ
XVII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
XVIII รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทที่ 1 ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รูปที่ 1-1 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 6 และอาเซียน ปี2561-2565 รูปที่ 1-2 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก 8 ปี2561-2565 รูปที่ 1-3 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศ 10 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปที่ 1-4 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 14 ของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปที่ 1-5 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศ 18 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปที่ 1-6 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมในภาพรวมของประเทศไทย 24 และเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ตามการจัดอันดับของ GII ปี2565 บทที่ 2 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รูปที่ 2-1 ระบบการจัดสรรและบริหารงบประมาณแบบบูรณาการที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ 32 ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รูปที่ 2-2 ประเภทงบประมาณด้าน ววน. 33 รูปที่ 2-3 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม จ�ำแนกตามประเภทงบ ปี2563-2565 34 รูปที่ 2-4 เปรียบเทียบการจัดสรรงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม 34 และงบประมาณภาครัฐ ปี2563-2565 รูปที่ 2-5 งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม จ�ำแนกตามแพลตฟอร์มและโปรแกรม 35 ปีงบประมาณ 2565 บทที่ 3 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา รูปที่ 3-1 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่างๆ ปี2563 39 รูปที่ 3-2 แนวโน้มการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 40 ปี2559-2563 รูปที่ 3-3 ร้อยละของค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่อ GDP ของประเทศต่าง ๆ 42 ปี2563 รูปที่ 3-4 แนวโน้มค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อ GDP ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก 43 ปี2559-2563 รูปที่ 3-5 สัดส่วนการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชนต่อภาคอื่น ๆ 45 ของประเทศที่มีค่าใช้จ่ายด้านการวิจัย และพัฒนาต่อ GDP สูงสุด 10 อันดับแรกของโลกในปี2563 รูปที่ 3-6 สัดส่วนการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชนต่อภาคอื่น ๆ 45 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2563 รูปที่ 3-7 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่อประชากรของประเทศต่าง ๆ ปี2563 46 รูปที่ 3-8 แนวโน้มค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาต่อประชากรของประเทศ 47 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2559-2563 รูปที่ 3-9 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย ปี2559-2563 49 รูปที่ 3-10 สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนและภาคอื่นๆ ของประเทศไทย 49 ปี2559-2563 รูปที่ 3-11 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยในปี2563 จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนินการ 50 รูปที่ 3-12 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยในปี2563 จ�ำแนกตามแหล่งทุน 50 ฒ
XIX รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รูปที่ 3-13 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน ปี2559-2563 53 รูปที่ 3-14 ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาในภาคเอกชน ปี2563 จ�ำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม 58 บทที่ 4 บุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รูปที่ 4-1 จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ของประเทศต่าง ๆ ในโลก ปี2563 63 รูปที่ 4-2 สัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ในภาคเอกชนต่อภาคอื่น ๆ 64 ของประเทศ 10 อันดับแรก ปี2563 รูปที่ 4-3 สัดส่วนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ในภาคเอกชนต่อภาคอื่น ๆ 65 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2563 รูปที่ 4-4 จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ต่อประชากร 1,000 คน 66 ของประเทศต่าง ๆ ในโลก ปี2563 รูปที่ 4-5 จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบรายหัว) ต่อประชากร 68 และต่อแรงงาน 10,000 คน ปี2559-2563 รูปที่ 4-6 บุคลากรทางการวิจัยและพัฒนา(แบบ FTE) ต่อประชากร และต่อแรงงาน 10,000 คน 69 ปี2559-2563 รูปที่ 4-7 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา(แบบรายหัว) ของประเทศไทย ปี2559-2563 70 รูปที่ 4-8 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา(แบบ FTE) ของประเทศไทย ปี2559-2563 70 รูปที่ 4-9 บุคลากรทางการวิจัยและพัฒนา (แบบรายหัว) จ�ำแนกตามหน่วยด�ำเนินการปี2559-2563 71 รูปที่ 4-10 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ในภาคเอกชน จ�ำแนกตามอุตสาหกรรม 74 ปี2559 – 2563 รูปที่ 4-11 จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา (แบบ FTE) ในภาคเอกชน 75 จ�ำแนกตามรายอุตสาหกรรม ปี2563 รูปที่ 4-12 จ�ำนวนผู้เข้าศึกษาใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 76 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2560-2564 รูปที่ 4-13 สัดส่วนผู้เข้าศึกษาใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 77 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2560-2564 รูปที่ 4-14 สัดส่วนผู้เข้าศึกษาใหม่ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 77 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปี2564 รูปที่ 4-15 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 82 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2559-2563 รูปที่ 4-16 สัดส่วนผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 83 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2559-2563 รูปที่ 4-17 สัดส่วนผู้ส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 83 และด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์จ�ำแนกตามระดับการศึกษา ปี2563 รูปที่ 4-18 ก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทย ปี2564 94 รูปที่ 4-19 ร้อยละของก�ำลังแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ�ำแนกตามอายุ ปี2561 – 2564 95 รูปที่ 4-20 ร้อยละของผู้ที่ท�ำงานและส�ำเร็จการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 98 จ�ำแนกตามสาขา (สาขาวิศวกรรมศาสตร์และสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่น ๆ) ปี2555 – 2564 ณ
XX รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บทที่ 5 สิทธิบัตร รูปที่ 5-1 แนวโน้มการยื่นขอและการจดสิทธิบัตรทั่วโลก 104 รูปที่ 5-2 จ�ำนวนการยื่นจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์ของประเทศไทย 105 รูปที่ 5-3 การยื่นค�ำขอรับสิทธิบัตรตามระบบ Patent Cooperation Treaty (PCT) 106 จ�ำแนกตามองค์กร/หน่วยงานในประเทศไทย ปี2561-2563 รูปที่ 5-4 การยื่นค�ำขอและจดสิทธิบัตรในประเทศไทย ปี2560-2564 107 บทที่ 6 ผลงานตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รูปที่ 6-1 จ�ำนวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงในวารสารวิชาการภายในประเทศ 121 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ปี2561-2564 รูปที่ 6-2 จ�ำนวนบทความตีพิมพ์ทางวิชาการของประเทศไทยที่ได้รับการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ 125 จ�ำแนกตามสาขาวิชา ปี2560-2564 รูปที่ 6-3 สัดส่วนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านสังคมศาสตร์ 125 และมนุษยศาสตร์จ�ำแนกตามประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ปี2564 รูปที่ 6-4 แนวโน้มจ�ำนวนบทความตีพิมพ์ต่อประชากร 1,000 คน ของประเทศในภูมิภาค 126 เอเชียแปซิฟิก ปี2560-2564 รูปที่ 6-5 จ�ำนวนบทความตีพิมพ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านสังคมศาสตร์ 130 และมนุษยศาสตร์ปี2564 ต่อจ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา(แบบ FTE) จ�ำแนกตามประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บทที่ 7 โครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและนวัตกรรม รูปที่ 7-1 แนวโน้มการใช้โทรศัพท์ประจ�ำที่ โทรศัพท์เคลื่อนที่ และอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย 151 ปี2560-2564 ด
1 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
2 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ บทที่ 1 ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศเป็นดัชนีที่สะท้อนขีดความสามารถและผลประกอบการของ ประเทศในการสร้างและรักษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การประกอบกิจการซึ่งจะช่วยให้เข้าใจถึงจุดเด่น และจุดด้อยของประเทศไทยในเชิงเปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ณ ช่วงเวลาเดียวกัน ดังนั้นดัชนีความสามารถ ในการแข ่งขันของประเทศจึงเป็นข้อมูลพื้นฐานส�ำคัญที่นักลงทุนน�ำมาใช้ประเมินและเปรียบเทียบสภาพ แวดล้อมของแต่ละประเทศในการตัดสินใจลงทุน เนื่องจากปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ของผู้ประกอบการ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนในการก�ำหนดนโยบายและวางกลยุทธ์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยได้มุ่งเน้นและให้ความส�ำคัญในการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศเพื่อยกระดับประเทศให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วที่มีรายได้สูงตามเป้าหมายประเทศ ที่ตั้งไว้และสามารถพัฒนาประเทศในเชิงแข่งขันในเวทีโลกได้ สถาบันชั้นน�ำที่มีการจัดอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ของประเทศซึ่งได้รับความสนใจและเป็นที่ยอมรับทั่วโลกซึ่งจะน�ำเสนอในบทนี้ประกอบด้วยInternational Institute for Management Development (IMD) และ Cornell University, Institut Européen d’Administration des Affaires (INSEAD) และ World Intellectual Property Organization (WIPO) 1.1 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันโดย International Institute for Management Development (IMD) International Institute for Management Development (IMD) เป็นวิทยาลัยการบริหารธุรกิจ ในเมืองโลซานน์ประเทศสวิสเซอร์แลนด์โดยเน้นการฝึกอบรมและการพัฒนาทักษะด้านการบริหารและความ เป็นผู้น�ำ ได้จัดตั้งหน่วยงาน ศูนย์ความสามารถในการแข่งขันระดับโลก (IMD World Competitiveness Center: WCC) เพื่อศึกษาการแข่งขันในแต่ละประเทศและธุรกิจตั้งแต่ปี2532(1989) มีการเผยแพร่รายงาน การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ เป็นประจ�ำทุกปีโดยมีการจัดท�ำ IMD World CompetitivenessYearbook โดยรายงานดังกล่าวได้น�ำเสนอบทวิเคราะห์ระดับความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ซึ่งในรายงานการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันในปีล่าสุด คือ IMD World Competitiveness Yearbook 2022 มีการจัดอันดับทั้งหมด63 ประเทศซึ่งในปีนี้ประเทศรัสเซียไม่มีรายชื่อ ในกลุ่มประเทศที่ถูกประเมินการจัดอันดับ และมีประเทศยูเครนเพิ่มเข้ามาใหม่ โดยมีตัวชี้วัดในการประเมิน รวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย Hard Data จ�ำนวน 163 ตัวชี้วัด Survey Data จ�ำนวน 92 ตัวชี้วัด และ Background data 78 ตัวชี้วัด แบ่งกลุ่มตัวชี้วัดออกเป็น 4 ปัจจัยหลัก โดยแต่ละปัจจัยหลักประกอบ ด้วย 5 ปัจจัยย่อย ได้แก่
3 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic performance) หมายถึง ประเมินเศรษฐกิจมหภาคด้าน ต่าง ๆ เศรษฐกิจภายในประเทศ แนวโน้มการจ้างงาน ระดับราคาสินค้าและบริการ โดยประเมินจากปัจจัยย่อย 5 ปัจจัย ได้แก่ 1.1 เศรษฐกิจภายในประเทศ (Domestic Economy) 1.2 การค้าระหว่างประเทศ (International Trade) 1.3 การลงทุนระหว่างประเทศ (International Investment) 1.4 การจ้างงาน (Employment) 1.5 ระดับราคา (Prices) 2) ประสิทธิภาพของภาครัฐ (Government efficiency) หมายถึง นโยบายของรัฐบาลที่มีส่วน สนับสนุนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยประเมินจากปัจจัยย่อย 5 ปัจจัย ได้แก่ 2.1 การเงินการคลังสาธารณะ (Public Finance) 2.2 นโยบายด้านภาษี(Tax Policy) 2.3 กรอบการบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐ (Institutional Framework) 2.4 กฎหมายที่เอื้อต่อการด�ำเนินธุรกิจ (Business Legislation) 2.5 กรอบทางสังคม (Societal Framework) 3) ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ (Business efficiency) หมายถึงสภาพแวดล้อมของประเทศที่เอื้อ ให้ผู้ประกอบการภาคเอกชนสามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลประกอบการที่ดีโดยประเมิน จากปัจจัยย่อย 5 ปัจจัย ได้แก่ 3.1 ด้านประสิทธิภาพในการผลิต (Productivity and Efficiency) 3.2 ด้านตลาดแรงงาน (Labor Market) 3.3 ด้านการเงิน (Finance) 3.4 ด้านการบริหารจัดการ (Management Practices) 3.5 ด้านทัศนคติและค่านิยม (Attitudes and Values) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) หมายถึงการที่ประเทศมีเทคโนโลยีพื้นฐาน ทุนมนุษย์และ ทรัพยากรทางด้านวิทยาศาสตร์ที่สามารถตอบสนองต ่อความต้องการของภาคธุรกิจได้มากน้อยเพียงใด โดยประเมินจากปัจจัยย่อย 5 ปัจจัย ได้แก่ 4.1 ด้านโครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (Basic Infrastructure) 4.2 ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี(Technological Infrastructure) 4.3 ด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์(Scientific Infrastructure) 4.4 ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (Health and Environment) 4.5 ด้านการศึกษา (Education) 1.1.1 ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของโลก ตามการจัดอันดับของ IMD จากรายงานการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของ IMD ในปี2565(2022) ทั้งหมด 63 ประเทศ พบว่า ประเทศเดนมาร์กปรับอันดับดีขึ้นจากปี2564 ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 3 ขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 1 ในปี2565 และพบว่าประเทศส่วนใหญ่อันดับความสามารถในการแข่งขันปรับอันดับดีขึ้นจากปีก่อนจ�ำนวน 28 ประเทศ โครเอเชียปรับอันดับดีขึ้นมากที่สุดถึง 13 อันดับ ถัดมาประเทศที่ปรับอันดับลดลงจากปีก่อน มีจ�ำนวน 28 ประเทศ นิวซีแลนด์ปรับอันดับลดลงมากที่สุด 11 อันดับ และประเทศที่อันดับคงที่จ�ำนวน 7 ประเทศ ส�ำหรับประเทศไทย ปรับอันดับลดลงจากปีก่อนมาอยู่ในอันดับที่33(จากอันดับที่28) (ดังตารางที่1-1)
4 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1 ตารางที่ 1-1 อันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของโลก ตามการจัดอันดับของ IMD ปี2565 -1 อันดับความสามารถในการแข2งขันภาพรวมของโลก ตามการจัดอันดับของ IMD ป> 2565 อันดับ ประเทศ การเปลี่ยนแปลงอันดับ 1 (3) เดนมาร,ก (Denmark) é +2 2 (1) สวิตเซอร,แลนด,(Switzerland) ê -1 3 (5) สิงคโปร,(Singapore) é +2 4 (2) สวีเดน (Sweden) ê -1 5 (7) ฮSองกง (Hong Kong SAR) é +2 6 (4) เนเธอร,แลนด,(Netherlands) ê -2 7 (8) ไต_หวัน (Taiwan, China) é +1 8 (11) ฟfนแลนด,(Finland) é +3 9 (6) นอร,เวย, (Norway) ê -3 10 (10) สหรัฐอเมริกา (USA) - - 11 (13) ไอร,แลนด,(lreland) é +2 12 (9) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส,(UAE) ê -3 13 (12) ลักเซมเบิร,ก (Luxembourg) ê -1 14 (14) แคนาดา (Canada) - - 15 (15) เยอรมนี (Germany) - - 16 (21) ไอซ,แลนด,(Iceland) é +5 17 (16) จีน (China) ê -1 18 (17) กาตาร,(Qatar) ê -1 19 (22) ออสเตรเลีย (Australia) é +3 20 (19) ออสเตรีย (Austria) ê -1 21 (24) เบลเยี่ยม (Belgium) é +3 22 (26) เอสโตเนีย (Estonia) é +4 23 (18) อังกฤษ (United Kingdom) ê -5 24 (32) ซาอุดิอาราเบีย (Saudi Arabia) é +8 25 (27) อิสราเอล (Israel) é +2 26 (34) สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic) é +8 27 (23) เกาหลีใต_(Korea Rep.) ê -4 28 (29) ฝรั่งเศส (France) é +1 29 (30) ลิทัวเนีย (Lithuania) é +1 30 (-) บาห,เรน (Bahrain) - - 31 (20) นิวซีแลนด,(New Zealand) ê -11 32 (25) มาเลเซีย (Malaysia) ê -7 33 (28) ไทย (Thailand) ê -5 34 (31) ญี่ปุâน (Japan) ê -3 35 (38) ลัตเวีย (Latvia) é +3
5 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-1 อันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของโลก ตามการจัดอันดับของ IMD ปี2565 (ต่อ) หมายเหตุ: ตัวเลขอันดับใน ( ) หมายถึง อันดับปี2564 ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 ประมวลผลโดย: ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.) อันดับ ประเทศ การเปลี่ยนแปลงอันดับ 36 (39) สเปน (Spain) é +3 37 (43) อินเดีย (India) é +6 38 (40) สโลวีเนีย (Slovenia) é +2 39 (42) ฮังการี(Hungary) é +3 40 (33) ไซปรัส (Cyprus) ê -7 41 (41) อิตาลี(Italy) - - 42 (36) โปรตุเกส (Portugal) ê -6 43 (35) คาซัคสถาน (Kazakhstan) ê -8 44 (37) อินโดนีเซีย (Indonesia) ê -7 45 (38) ชิลี(Chile) ê -7 46 (59) โครเอเชีย (Croatia) é +13 47 (49) กรีซ (Greece) é +2 48 (45) ฟfลิปปfนส,(Philippines) ê -3 49 (50) สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic) é +1 50 (47) โปแลนด,(Poland) ê -3 51 (48) โรมาเนีย (Romania) ê -3 52 (51) ตุรเคีย (Türkiye) ê -1 53 (53) บัลแกเรีย (Bulgaria) - - 54 (52) เปรู (Peru) ê -2 55 (55) เม็กซิโก (Mexico) - - 56 (49) จอร,แดน (Jordan) ê -7 57 (56) โคลอมเบีย (Colombia) ê -1 58 (61) บอตสวานา (Botswana) é +3 59 (57) บราซิล (Brazil) ê -2 60 (62) แอฟริกาใต_(South Africa) é +2 61 (60) มองโกเลีย (Mongolia) ê -1 62 (63) อาร,เจนตินา (Argentina) é +1 63 (64) เวเนซุเอลา (Venezuela) é +1 หมายเหตุ : ตัวเลขอันดับใน ( ) หมายถึง อันดับป: 2564 ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 ประมวลผลโดย : สำนักงานการวิจัยแหeงชาติ (วช.)
6 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เมื่อพิจารณาแนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในช่วงปี2561-2565 พบว่าไต้หวันมีแนวโน้มอันดับดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี2562เป็นต้นมา (ดังรูปที่1-3) และ พบว่าในปี2565 ประเทศสิงคโปร์ยังคงอยู่ในอันดับแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกจากทั้งหมด 14 ประเทศ โดยเมื่อพิจารณาในช่วงปี2564-2565 ประเทศที่ปรับอันดับดีขึ้นมีจ�ำนวน 6 ประเทศได้แก่อินเดีย(ดีขึ้น 6อันดับ) ฟิลิปปินส์(ดีขึ้น 4 อันดับ) ออสเตรเลีย (ดีขึ้น 3 อันดับ) สิงคโปร์(ดีขึ้น 2 อันดับ) ฮ่องกง (ดีขึ้น 2 อันดับ) และ ไต้หวัน (ดีขึ้น 1อันดับ)และประเทศที่ปรับอันดับลดลงมีจ�ำนวน 8 ประเทศได้แก่ นิวซีแลนด์(ลดลง 11อันดับ) มาเลเซีย (ลดลง 7 อันดับ) อินโดนีเซีย (ลดลง 7 อันดับ) ไทย (ลดลง 5 อันดับ) เกาหลีใต้(ลดลง 4 อันดับ) ญี่ปุ่น (ลดลง 3 อันดับ) จีน (ลดลง 1 อันดับ) และมองโกเลีย (ลดลง 1 อันดับ) ส่วนในภูมิภาคอาเซียนมีเพียง สิงค์โปร์และฟิลิปปินส์ที่ปรับอันดับดีขึ้น ส�ำหรับประเทศไทยปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28) แต่ยังอยู่ในอันดับ 9 ของเอเชียแปซิฟิก และยังคงอยู่ใน 3 ของอาเซียน (ดังรูปที่ 1-1 และ ตารางที่ 1-2) รูปที่ 1-1 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และอาเซียน ปี2561-2565 รูปภาพที่ 1-3 แนวโน&มอันดับความสามารถในการแข4งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟDก และ อาเซียน ปF 2561-2565 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 0 10 20 30 40 50 60 70 2561 2562 2563 2564 2565 สิงคโปร์ (Singapore) * ฮ่องกง (Hong Kong) ไต้หวัน (Taiwan) จีน (China) นิวซีแลนด์ (New Zealand) ออสเตรเลีย (Australia) เกาหลีใต้ (South Korea) มาเลเซีย (Malaysia) * ไทย (Thailand) * ญีCปุ่ น (Japan) อินโดนีเซีย (Indonesia) * อินเดีย (India) ฟิ ลิปปินส์ (Philippines) * มองโกเลีย(Mongolia) อันดับความสามารถในการแข4งขัน 1-63 หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
7 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-2 อันดับความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่ 1-1 อันดับความสามารถในการแข2งขันภาพรวมของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟBก และอาเซียน ปD 2561-2565 ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 สิงคโปรO(Singapore) * 3 1 1 5 3 ฮ2องกง (Hong Kong) 2 2 5 7 5 ไตbหวัน (Taiwan) 17 16 11 8 7 จีน (China) 13 14 20 16 17 นิวซีแลนดO (New Zealand) 23 21 22 20 31 ออสเตรเลีย (Australia) 19 18 18 22 19 เกาหลีใตb(South Korea) 27 28 23 23 27 มาเลเซีย (Malaysia) * 22 22 27 25 32 ไทย (Thailand) * 30 25 29 28 33 ญี่ปุxน (Japan) 25 30 34 31 34 อินเดีย (India) 44 43 43 43 37 อินโดนีเซีย (Indonesia) * 43 32 40 37 44 ฟBลิปปBนสO(Philippines) * 50 46 45 52 48 มองโกเลีย(Mongolia) 62 62 61 60 61 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 เมื่อพิจารณาแนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันของประเทศไทย จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก พบว่า ปัจจัยด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ปรับอันดับลดลงเป็นอย่างมาก ตั้งแต่ปี2563-2565 ซึ่งอาจจะเกิด จากปัจจัยย่อยด้านเศรษฐกิจภายในประเทศ และการลงทุนระหว่างประเทศ ที่ปรับอันดับลงอย่างต่อเนื่อง ในช่วงปีดังกล่าวและส่งผลต่ออันดับในภาพรวม (ดังรูปที่ 1-2) เมื่อพิจารณาอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยจ�ำแนกตามปัจจัยหลัก พบว่า ในช่วง ปี2564-2565 ปัจจัยทั้ง 4 ด้าน มีการปรับอันดับลดลงทุกปัจจัย โดยปัจจัยด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ปรับอันดับลดลงจากปีก่อนมากที่สุดถึง 13 อันดับ ถัดมาปัจจัยด้านประสิทธิภาพของภาครัฐปรับอันดับลดลง 11 อันดับ ปัจจัยด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจปรับอันดับลดลง 9 อันดับ และปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ปรับอันดับลดลง 1 อันดับ และเมื่อพิจารณาอันดับปัจจัยย่อย สามารถสรุปได้ดังนี้ • ด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจ พบว่า มีเพียง 1 ปัจจัยที่ปรับอันดับดีขึ้น (จากทั้งหมด 5 ปัจจัย) คือ ปัจจัยระดับราคาที่ปรับอันดับดีขึ้น 6 อันดับ โดยปัจจัยส่วนใหญ่ปรับอันดับลดลงมากถึง 4 ปัจจัย ได้แก่ การค้าระหว่างประเทศ (ลดลง 16 อันดับ) เศรษฐกิจภายในประเทศ (ลดลง 10 อันดับ) การลงทุนระหว่าง ประเทศ (ลดลง 1 อันดับ) และการจ้างงาน (ลดลง 1 อันดับ)
8 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ • ด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ พบว่า ปรับอันดับลดลงทั้ง5 ปัจจัยได้แก่ฐานะการคลัง (ลดลง15อันดับ) กฎหมายและกฎระเบียบทางธุรกิจ (ลดลง 8อันดับ) โครงสร้างเชิงสถาบัน (ลดลง 5อันดับ) นโยบายทางภาษี (ลดลง 3 อันดับ) และด้านโครงสร้างทางสังคม (ลดลง 1 อันดับ) • ด้านประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ พบว่า ส่วนใหญ่ปรับอันดับดับลดลงมากถึง 4 ปัจจัย (จากทั้งหมด 5 ปัจจัย) ได้แก่ผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (ลดลง 7 อันดับ) ทัศนคติและค่านิยม (ลดลง 5 อันดับ) ตลาดแรงงาน (ลดลง 3 อันดับ) และการเงิน (ลดลง 3 อันดับ) โดยมีปัจจัยอันดับคงที่ 1 ปัจจัย ได้แก่ การบริหารจัดการ (อันดับคงที่) • ด้านโครงสร้างพื้นฐาน พบว่า ปรับอันดับดีขึ้น 3 ปัจจัย(จากทั้งหมด5 ปัจจัย) ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐาน ทางเทคโนโลยี(ดีขึ้น 3อันดับ)การศึกษา (ดีขึ้น 3อันดับ) โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (ดีขึ้น 2อันดับ)และปัจจัย ที่อันดับลดลงจ�ำนวน 1 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม (ลดลง 1 อันดับ) และปัจจัยอันดับคงที่ 1 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์(อันดับคงที่) (ดังตารางที่ 1-3) รูปที่ 1-2 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันของประเทศไทย จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก ปี2561-2565 รูปที่ 1-2 แนวโน&มอันดับความสามารถในการแข4งขันของประเทศไทย จำแนกตามป@จจัยหลัก ปC 2561- 2565 แก&ไขกราฟ ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 10 8 14 21 34 22 20 23 20 31 25 27 23 21 30 48 45 44 43 44 0 10 20 30 40 50 60 2561 2562 2563 2564 2565 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของภาครัฐ ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ โครงสรaางพื้นฐาน อันดับความสามารถในการแข4งขัน 1-63 ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
9 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-3 อันดับความสามารถในการแข ่งขันของประเทศไทย จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก และปัจจัยย ่อย ปี2561-2565 ตารางที่ 1-2 อันดับความสามารถในการแข1งขันของประเทศไทย จำแนกตามป>จจัยหลัก และ ป>จจัยย1อย ปA 2561-2565 ป-จจัย 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 อันดับที่โดยรวม 30 25 29 28 33 1. สมรรถนะทางเศรษฐกิจ 10 8 14 21 34 1.1 เศรษฐกิจภายในประเทศ 34 30 38 41 51 1.2 การคPาระหว1างประเทศ 6 6 5 21 37 1.3 การลงทุนระหว1างประเทศ 37 21 29 32 33 1.4 การจPางงาน 4 3 10 3 4 1.5 ระดับราคา 23 29 28 37 31 2. ประสิทธิภาพของภาครัฐ 22 20 23 20 31 2.1 ฐานะการคลัง 18 16 17 14 29 2.2 นโยบายทางภาษี 6 6 5 4 7 2.3 โครงสรPางเชิงสถาบัน 35 34 40 36 41 2.4 กฎหมายและกฎระเบียบทางธุรกิจ 36 32 33 30 38 2.5 โครงสรPางทางสังคม 45 48 40 43 44 3. ประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ 25 27 23 21 30 3.1 ผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคธุรกิจ 40 43 41 40 47 3.2 ตลาดแรงงาน 6 9 15 10 13 3.3 การเงิน 24 19 24 24 27 3.4 การบริหารจัดการ 24 27 21 22 22 3.5 ทัศนคติและค1านิยม 17 26 20 20 25 4. โครงสรPางพื้นฐาน 48 45 44 43 44 4.1 โครงสรPางพื้นฐานทั่วไป 31 27 26 24 22 4.2 โครงสรPางพื้นฐานทางเทคโนโลยี 36 38 34 37 34 4.3 โครงสรPางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร^ 42 38 39 38 38 4.4 สุขภาพและสิ่งแวดลPอม 58 55 49 49 51 4.5 การศึกษา 56 56 55 56 53 ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
10 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ส�ำหรับปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructures) เกณฑ์การพิจารณาเพื่อจัดอันดับความสามารถ ในการแข่งขันที่มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ปัจจัยด้าน โครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี(Technological infrastructure) และโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Scientific infrastructure) นอกจากนี้ยังมีปัจจัยที่ควรพิจารณาร่วมด้วยคือปัจจัยด้านการศึกษา (Education) 1.1.2 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย และนานาชาติ เมื่อพิจารณาแนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี2561-2565 พบว่า ประเทศจีนและญี่ปุ่นปรับอันดับลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะญี่ปุ่นที่ปรับอันดับลดลงเป็นอย่างมากจากปี2561อยู่ในอันดับที่13 ปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับ ที่ 42 ในปี2565 ซึ่งลดลงมากถึง 29 อันดับ (ดังรูปที่ 1-3) ส�ำหรับในปี2565 ยังคงเป็นสิงคโปร์ที่ยังคงอยู่ใน อันดับที่ 1 และเมื่อพิจารณาในช่วงปี2564-2565 พบว่า มีประเทศที่ปรับอันดับดีขึ้นจ�ำนวน 4 ประเทศ (จากทั้งหมด 14 ประเทศ) ได้แก่ ไทย (ดีขึ้น 3 อันดับ) ฟิลิปปินส์(ดีขึ้น 2 อันดับ) มองโกเลีย (ดีขึ้น 2 อันดับ) ไต้หวัน (ดีขึ้น 1 อันดับ) ส ่วนประเทศที่ปรับอันดับลดลงจ�ำนวน 5 ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ ่น (ลดลง10อันดับ) นิวซีแลนด์ (ลดลง 8 อันดับ) จีน (ลดลง 3 อันดับ) เกาหลีใต้(ลดลง 2 อันดับ) อินเดีย (ลดลง 1 อันดับ) และประเทศที่อันดับยังคงที่ 5 ประเทศ ได้แก่ สิงคโปร์ฮ่องกง มาเลเซีย ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย ส�ำหรับประเทศไทยอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 34 (จากอันดับที่ 37) อยู่ในอันดับที่ 9 ของเอเชีย แปซิฟิก และยังคงอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน (ดังตารางที่ 1-4) รูปที่ 1-3 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปภาพที่ 1-5 แนวโน&มอันดับความสามารถในการแข4งขันด&านโครงสร&างพื้นทาง เทคโนโลยีของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟGกและอาเซียน ปH 2561-2565 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 0 10 20 30 40 50 60 70 2561 2562 2563 2564 2565 สิงคโปร( (Singapore)* ฮ7องกง (Hong Kong) ไต>หวัน (Taiwan) จีน (China) นิวซีแลนด( (New Zealand) ออสเตรเลีย (Australia) เกาหลีใต> (South Korea) มาเลเซีย (Malaysia) * ไทย (Thailand) * ญี่ปุ`น (Japan) อินโดนีเซีย (Indonesia) * อินเดีย (India) ฟdลิปปdนส( (Philippines) * มองโกเลีย (Mongolia) อันดับความสามารถในการแข4งขัน 1-63หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
11 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-4 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่1-3 อันดับความสามารถในการแข1งขันด3านโครงสร3างพื้นทางเทคโนโลยีของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟFกและอาเซียน ปH 2561-2565 ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 สิงคโปร, (Singapore)* 2 1 1 1 1 ฮ<องกง (Hong Kong) 19 18 7 7 7 ไตFหวัน (Taiwan) 18 13 8 10 9 จีน (China) 1 2 10 9 12 เกาหลีใตF (South Korea) 14 22 13 17 19 มาเลเซีย (Malaysia) * 24 15 17 20 20 อินเดีย (India) 34 28 30 21 22 ออสเตรเลีย (Australia) 25 27 18 29 29 ไทย (Thailand) * 36 38 34 37 34 ญี่ปุhน (Japan) 13 20 31 32 42 ฟkลิปปkนส, (Philippines) * 46 44 48 47 45 นิวซีแลนด, (New Zealand) 38 33 40 38 46 อินโดนีเซีย (Indonesia) * 57 49 53 49 49 มองโกเลีย (Mongolia) 62 62 62 62 60 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 เมื่อพิจารณาอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัจจัยย่อยภายใต้ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ในปี2565 มีการเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดเพื่อให้สอดคล้อง กับความสถานการณ์โลกในปัจจุบัน โดยมีการเพิ่มตัวชี้วัดใหม่ 1 ตัว ได้แก่ 4.2.05 เซิร์ฟเวอร์อินเทอร์เน็ต ที่ปลอดภัย ใบรับรอง TLS/SSL ที่ได้รับความไว้วางใจจากสาธารณชน การส�ำรวจเซิร์ฟเวอร์ที่ปลอดภัยของ เน็ตคราฟท์และมีการลบตัวชี้วัดออก 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 4.2.05 คอมพิวเตอร์ที่ใช้อยู่ แบ่งปันทั่วโลก 4.2.06 คอมพิวเตอร์ต่อหัว จ�ำนวนคอมพิวเตอร์ต่อ 1,000 คน ซึ่งประกอบด้วย 17 ตัวชี้วัด โดยแบ่งเป็น Hard data 10 รายการ และ Survey Data 7 รายการ พบว่า ส่วนใหญ่ปรับอันดับดีขึ้น โดยตัวชี้วัดที่อันดับดีขึ้นมีจ�ำนวน 8 ตัวชี้วัด ถัดมาตัวชี้วัดที่อันดับลดลงจ�ำนวน 6 ตัวชี้วัด และอันดับคงที่ จ�ำนวน 2 ตัวชี้วัด ดังนี้ • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 8 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การลงทุนด้านโทรคมนาคม (%GDP) อยู่อันดับที่ 7 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 2) สัดส่วนการจดทะเบียนเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ตแบบเคลื่อนที่3G และ 4G อยู่อันดับที่22 (ดีขึ้น 2 อันดับ) 3) อัตราค่าบริการของโทรศัพท์เคลื่อนที่ อยู่อันดับที่ 17 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 4) ความพร้อมของเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อการด�ำเนินธุรกิจ อยู่อันดับที่ 17 (ดีขึ้น 7 อันดับ) 5) จ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต่อประชากร 1,000 คน อยู่อันดับที่ 44 (ดีขึ้น 9 อันดับ) 6) ความเร็วของอินเทอร์เน็ตแบนด์วิธ อยู่อันดับที่ 14 (ดีขึ้น 6 อันดับ) 7) มูลค่าการส่งออกสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูง อยู่อันดับที่ 14 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 8) สัดส่วนการส่งออกสินค้าเทคโนโลยีขั้นสูงต่อการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม อยู่อันดับที่ 11 (ดีขึ้น 1 อันดับ)
12 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับลดลง จ�ำนวน 6 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ทักษะแรงงานด้านดิจิทัลและเทคโนโลยีอยู่อันดับที่ 45 (อันดับลดลง 3 อันดับ) 2) วิศวกรที่มีคุณภาพ อยู่อันดับที่ 33 (อันดับลดลง 3 อันดับ) 3)กองทุนร่วมลงทุนภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีอยู่อันดับที่26(อันดับลดลง4อันดับ) 4) สภาพแวดล้อมทางกฎหมายด้านการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอยู ่อันดับที่ 39 (อันดับลดลง 9 อันดับ) 5) เงินทุนเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีอยู่อันดับที่ 40 (อันดับลดลง 14 อันดับ) 6) ความปลอดภัยจากภัยคุกคามทางโลกไซเบอร์อยู่อันดับที่ 38 (อันดับลดลง 9 อันดับ) • ตัวชี้วัดที่อันดับคงที่ จ�ำนวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) จ�ำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตความเร็วสูงต่อประชากร 1,000 คน อยู่อันดับที่ 56 2) สัดส่วนการส่งออกบริการทางด้าน ICT ต่อการส่งออกบริการทั้งหมด อยู่อันดับที่ 60 • ตัวชี้วัดเพิ่มใหม่ 1) เซิร์ฟเวอร์อินเทอร์เน็ตที่ปลอดภัย (อันดับที่ 47) โดยในปี2565 มีการปรับเปลี่ยนตัวชี้วัด ดังนี้ 1)ตัวชี้วัดที่ลบออกจ�ำนวน 2ตัวชี้วัดได้แก่ Computer inuseและ Computers per capita 2) ตัวชี้วัดเพิ่มใหม่จ�ำนวน 1 ตัวชี้วัด คือ Secure internet servers (ดังตารางที่ 1-5) ตตารางที่ ารางที่ 1-51-4อันดั อันดับความสามารถในการแข1งขันด3านโครงสร3างพื้นทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ปB 25 บความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย61-256 ปี2561-2565 5 ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 Number of countries อันดับด@านโครงสร@างพื้นฐาน ทางเทคโนโลยี 36 38 34 37 34 Technological infrastructure Competitiveness ranking 1.การลงทุนด-านโทรคมนาคม (%GDP) 18 19 14 10 7 1. Investment in telecommunications (% of GDP) 2.สัดสMวนการจดทะเบียนเชื่อมตMอ สัญญาณอินเทอร]เน็ตแบบเคลื่อนที่ 3G และ 4G 3 4 10 24 22 2. Mobile broadband subscribers (3G & 4G market, % of mobile market) 3.อัตราคMาบริการของโทรศัพท] เคลื่อนที่ 13 13 15 20 17 3. Mobile telephone costs (Monthly blended average revenue per user US$) 4.ความพร-อมของเทคโนโลยี การสื่อสารเพื่อการดำเนิน ธุรกิจ* 37 23 24 22 15 4. Communications technology (voice and data) meets business requirement* 5.เซิร]ฟเวอร]อินเทอร]เน็ตที่ ปลอดภัย - - - - 47 5.Secure internet servers SSL certificates found in the Netcraft Secure Server Survey. 6.จำนวนผู-ใช-อินเทอร]เน็ต ตMอประชากร 1,000 คน 54 54 54 53 44 6. Internet users (per 1,000 people) 7.จำนวนผู-ใช-อินเทอร]เน็ต ความเร็วสูงตMอประชากร 1,000 คน 58 58 58 56 56 7.Broadband subscribers (per 1,000 inhabitants)
13 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion 8.ความเร็วของอินเทอร]เน็ต แบนด]วิธ 20 35 20 20 14 8. Internet bandwidth speed (per internet user (kbps)) 9.ทักษะแรงงานด-านดิจิทัลและ เทคโนโลยี* 52 49 45 42 45 9. Digital / technology skills are readily available* 10. วิศวกรที่มีคุณภาพ* 40 34 29 30 33 10. Qualified engineers are available in your labor market* 11. กองทุนรMวมลงทุนภาครัฐและ เอกชนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี* 26 20 16 22 26 11.Public-private partnerships* (Public and private sector ventures are supporting technological development)* 12. สภาพแวดล-อมทางกฎหมาย ด-านการพัฒนาและ ประยุกต]ใช-เทคโนโลยี* 39 34 32 30 39 12. Development and application of technology are supported by the legal environment* 13. เงินทุนเพื่อการพัฒนา เทคโนโลยี* 34 29 27 26 40 13.Funding for technological development is readily available* 14. มูลคMาการสMงออกสินค-า เทคโนโลยีขั้นสูง 15 14 14 15 14 14. High-tech exports (US$ millions) 15. สัดสMวนการสMงออกสินค-า เทคโนโลยีขั้นสูงตMอการ สMงออกสินค-าอุตสาหกรรม 13 9 11 12 11 15. High-tech exports (% of manufacturing exports) 16. สัดสMวนการสMงออกบริการ ทางด-าน ICT ตMอการสMงออก บริการทั้งหมด 46 50 60 60 60 16. ICT service exports (% of service exports) 17. ความปลอดภัยจากภัยคุกคาม ทางโลกไซเบอร]* 38 30 34 29 38 17. Cyber security* หมายเหตุ : * ข,อมูลจากการสำรวจความเห็น ** ข,อมูลพื้นภูมิ -- ไม@มีการวัดเกณฑFนี้ในปIดังกล@าว ข,อมูลที่แสดงเปNนข,อมูลการจัดอันดับซึ่งข,อมูลดิบไม@จำเปNนต,องเปNนปIเดียวกัน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 หมายเหตุ :* ข้อมูลจากการส�ำรวจความเห็น (Survey data) ** ข้อมูลพื้นภูมิ(Background data) -- ไม่มีการวัดเกณฑ์นี้ในปีดังกล่าว (This criteria is not measured in that year) ข้อมูลที่แสดงเป็นข้อมูลการจัดอันดับซึ่งข้อมูลดิบไม่จ�ำเป็นต้องเป็นปีเดียวกัน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 1.1.3 ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย และนานาชาติ เมื่อพิจารณาแนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี2561-2565 พบว่า ในช่วงปี2563-2565ส่วนใหญ่อันดับของแต่ละ ประเทศเปลี่ยนแปลงไม ่มากนัก มีเพียงประเทศฟิลิปปินส์ที่ปรับอันดับดีขึ้นมากในช ่วงปี2564-2565 (ดังรูปที่ 1-4) ส�ำหรับปี2565 ยังคงเป็นเกาหลีใต้อยู่ในอันดับแรก และเมื่อพิจารณาในช่วงปี2564-2565 พบว่าส่วนใหญ่ปรับอันดับดีขึ้น 5 ประเทศ(จากทั้งหมด14 ประเทศ) ได้แก่ ฟิลิปปินส์(ดีขึ้น 6อันดับ)อินเดีย (ดีขึ้น 2 อันดับ) นิวซีแลนด์(ดีขึ้น 2 อันดับ) จีน (ดีขึ้น 1 อันดับ) และสิงคโปร์(ดีขึ้น 1 อันดับ) ส่วนประเทศ ที่ปรับอันดับลดลงจ�ำนวน 3 ประเทศได้แก่ มาเลเซีย (ลดลง 2อันดับ) เกาหลีใต้(ลดลง 1อันดับ)อินโดนีเซีย (ลดลง 1 อันดับ) และประเทศที่อันดับยังคงที่ 6 ประเทศ ได้แก่ ไต้หวัน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ฮ่องกง ไทย และมองโกเลีย ส�ำหรับประเทศไทยปรับอันดับคงที่อยู่ในอันดับที่ 38 (จากอันดับที่ 38) แต่ยังคงอยู่ในอันดับที่ 11 ของเอเชียแปซิฟิก และยังคงอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน (ดังตารางที่ 1-6) ตารางที่ 1-5 อันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีของประเทศไทย ปี2561-2565 (ต่อ)
14 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รูปที่ 1-4 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปภาพที่1-6 แนวโน)มอันดับความสามารถในการแข7งขันด)านโครงสร)างพื้นทาง วิทยาศาสตรAของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟKกและอาเซียน ปM 2561-2565 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 0 10 20 30 40 50 60 70 2561 2562 2563 2564 2565 สิงคโปร( (Singapore)* ฮ7องกง (Hong Kong) ไต>หวัน (Taiwan) จีน (China) นิวซีแลนด( (New Zealand) ออสเตรเลีย (Australia) เกาหลีใต> (South Korea) มาเลเซีย (Malaysia) * ไทย (Thailand) * ญี่ปุ`น (Japan) อินโดนีเซีย (Indonesia) * อินเดีย (India) ฟdลิปปdนส( (Philippines) * มองโกเลีย (Mongolia) อันดับความสามารถในการแข7งขัน 1-63 หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 ตารางที่ 1-6 อันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่1-5 อันดับความสามารถในการแข5งขันด7านโครงสร7างพื้นทางวิทยาศาสตรAของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟKกและอาเซียน ปM 2561-2565 ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 เกาหลีใต, (South Korea) 7 3 3 2 3 ไต,หวัน (Taiwan) 10 8 7 6 6 ญี่ปุJน (Japan) 5 6 8 8 8 จีน (China) 2 2 10 10 9 สิงคโปรW (Singapore)* 17 14 15 17 16 ออสเตรเลีย (Australia) 21 20 21 22 22 ฮ`องกง (Hong Kong) 24 23 23 23 23 อินเดีย (India) 35 36 27 28 26 นิวซีแลนดW (New Zealand) 27 29 31 29 27 มาเลเซีย (Malaysia) * 29 28 32 30 32 ไทย (Thailand) * 42 38 39 38 38 อินโดนีเซีย (Indonesia) * 49 45 47 50 51 ฟnลิปปnนสW (Philippines) * 60 59 59 58 52 มองโกเลีย (Mongolia) 63 63 63 63 63 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
15 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ เมื่อพิจารณาอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัจจัยย่อยภายใต้ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ในปี2565 ซึ่งประกอบด้วย 22 ตัวชี้วัด โดยแบ่งเป็น Hard data 15 รายการ Survey Data 3 รายการ และ Background data 4 รายการ พบว่า ส่วนใหญ่ ปรับอันดับดีขึ้นมากถึง 14 ตัวชี้วัด ถัดมาตัวชี้วัดที่อันดับลดลงจ�ำนวน 7 ตัวชี้วัด และอันดับคงที่ จ�ำนวน 1 ตัวชี้วัด ดังนี้ • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 14 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) จ�ำนวนนักวิจัยแบบเทียบเท ่าท�ำงานเต็มเวลาต ่อประชากร 1,000 คน อยู ่อันดับที่ 36 (ดีขึ้น 4 อันดับ) 2) ค ่าใช้จ ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศต ่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ อยู่อันดับที่ 36 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 3) จ�ำนวนสิทธิบัตรที่ให้กับคนในประเทศ อยู่อันดับที่ 43 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 4) จ�ำนวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอ อยู่อันดับที่ 54 (ดีขึ้น 2 อันดับ) 5) สัดส่วนมูลค่าเพิ่มของอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นกลางถึงสูงอยู่อันดับที่27(ดีขึ้น 2อันดับ) 6) ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศ อยู่อันดับที่ 27 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 7)ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของทั้งประเทศต่อประชากรอยู่อันดับที่45(ดีขึ้น 1อันดับ) 8) ค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชน อยู่อันดับที่ 25 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 9) จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาแบบเทียบเท ่าท�ำงานเต็มเวลาของทั้งประเทศต ่อ ประชากร 1,000 คน อยู่อันดับที่ 39 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 10) จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาแบบเทียบเท ่าท�ำงานเต็มเวลาในภาคเอกชน อยู่อันดับที่ 13 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 11) จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาแบบเทียบเท ่าท�ำงานเต็มเวลาในภาคเอกชน ต่อประชากร 1,000 คน อยู่อันดับที่ 36 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 12) จ�ำนวนบทความด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่อันดับที่ 29 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 13) จ�ำนวนรางวัลโนเบล อยู่อันดับที่ 28 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 14) จ�ำนวนรางวัลโนเบลต่อประชากร อยู่อันดับที่ 28 (ดีขึ้น 1 อันดับ) • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับลดลง จ�ำนวน 7 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) บัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์อยู่อันดับที่ 37 (ลดลง 21 อันดับ) 2) การถ่ายทอดความรู้อยู่อันดับที่ 33 (ลดลง 9 อันดับ) 3) สภาพแวดล้อมทางกฎหมายเอื้อต่อการท�ำวิจัยทางวิทยาศาสตร์อยู่อันดับที่39(ลดลง8อันดับ) 4) การบังคับใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา อยู่อันดับที่ 28 (ลดลง 6 อันดับ) 5) ค ่าใช้จ ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนต ่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ อยู่อันดับที่ 28 (ลดลง 2 อันดับ) 6) จ�ำนวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอต่อจ�ำนวนประชากร อยู่อันดับที่ 54 (ลดลง 1 อันดับ) 7) จ�ำนวนสิทธิบัตรต่อประชากร 100,000 คน อยู่อันดับที่ 56 (ลดลง 1 อันดับ) • ตัวชี้วัดที่อันดับคงที่ จ�ำนวน 1 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) จ�ำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาแบบเทียบเท ่าท�ำงานเต็มเวลาของทั้งประเทศ อยู่อันดับที่ 14 อย ่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาในรายละเอียดจะพบว ่า แม้ว ่าตัวชี้วัดบางรายการจะมีอันดับลดลง แต่ก็มีคะแนนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อัตราการเพิ่มช้าหรือน้อยกว่าประเทศอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายด้าน การวิจัยและพัฒนาของภาคเอกชนต ่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ เป็นต้น รวมทั้งการปรับเพิ่ม/ลด ประเทศที่ใช้ในการประเมินอาจส่งผลต่อการปรับอันดับตัวชี้วัดบางรายการ เช่น จ�ำนวนรางวัลโนเบล,จ�ำนวน รางวัลโนเบลต่อประชากร ที่ปรับอันดับดีขึ้น ในขณะที่คะแนนยังคงเท่าเดิม เป็นต้น (ดังตารางที่ 1-7)
16 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-7 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย ปี2561-2565 ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 Number of countries อันดับด@านโครงสร@างพื้นทาง วิทยาศาสตรL 42 38 39 38 38 Scientific infrastructure Competitiveness ranking 1. ค%าใช)จ%ายด)านการวิจัยและ พัฒนาของทั้งประเทศ 34 30 28 28 27 1. Total expenditure on R&D (US$ millions) 2. ค%าใช)จ%ายด)านการวิจัยและ พัฒนาของทั้งประเทศต%อ ผลิตภัณฑbมวลรวม ภายในประเทศ 45 37 37 36 33 2. Total expenditure on R&D per GDP 3. ค%าใช)จ%ายด)านการวิจัยและ พัฒนาของทั้งประเทศต%อ ประชากร** 49 47 46 46 45 3. Total expenditure on R&D per capita (US$)** 4. ค%าใช)จ%ายด)านการวิจัยและ พัฒนาของภาคเอกชน 29 27 27 26 25 4. Business expenditure on R&D (US$ millions) 5. ค%าใช)จ%ายด)านการวิจัยและ พัฒนาของภาคเอกชนต%อ ผลิตภัณฑbมวลรวม ภายในประเทศ 36 27 24 26 28 5. Business expenditure on R&D per GDP 6. จำนวนบุคลากรด)านการวิจัย และพัฒนาแบบเทียบเท%า ทำงานเต็มเวลาของทั้ง ประเทศ 17 16 16 14 14 6. Total R&D personnel nationwide (Full-time equivalent: FTE) 7. จำนวนบุคลากรด)านการวิจัย และพัฒนาแบบเทียบเท%า ทำงานเต็มเวลาของทั้ง ประเทศต%อประชากร 1,000 คน 43 39 40 40 39 7. Total R&D personnel nationwide per capita (FTE) 8. จำนวนบุคลากรด)านการวิจัยและ พัฒนาแบบเทียบเท%าทำงานเต็ม เวลาในภาคเอกชน** 20 16 14 14 13 8. Total R&D personnel in business enterprise (FTE)** 9. จำนวนบุคลากรด)านการวิจัย และพัฒนาแบบเทียบเท%าทำงาน เต็มเวลาในภาคเอกชนต%อ ประชากร 1,000 คน** 38 39 37 37 36 9. Total R&D personnel in business per capita (FTE)** 10. จำนวนนักวิจัยแบบเทียบเท%า ทำงานเต็มเวลาต%อประชากร 1,000 คน 41 40 39 40 36 10. Researchers in R&D per capita (FTE per 1000 people)
17 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion 11. บัณฑิตด)านวิทยาศาสตรb -- -- 45 16 37 11. GRADUATES IN SCIENCES (% of graduates in ICT, Engineering, Math & Natural Sciences) 12. จำนวนบทความด)าน วิทยาศาสตรbและเทคโนโลยี 36 36 34 30 29 12. Scientific articles (Scientific articles published by origin of author) 13. จำนวนรางวัลโนเบล** 29 29 29 29 28 13. Nobel prizes** 14. จำนวนรางวัลโนเบล ต%อประชากร 29 29 29 29 28 14. Nobel prizes per capita 15. จำนวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอ 39 40 38 39 37 15. Patents applications 16. จำนวนสิทธิบัตรที่ยื่นขอต%อ จำนวนประชากร 55 54 54 53 54 16. Patents applications per capita 17. จำนวนสิทธิบัตรที่ให)กับคน ในประเทศ 47 46 47 46 43 17. Patents granted to residents 18. จำนวนสิทธิบัตรต%อประชากร 100,000 คน56 54 56 55 56 18. Number of patents in force (per 100,000 inhabitants) 19. สัดส%วนมูลค%าเพิ่มของ อุตสาหกรรมที่ใช)เทคโนโลยี ขั้นกลางถึงสูง -- 28 30 29 27 19. Medium and high-tech value added 20. สภาพแวดล)อมทางกฎหมาย เอื้อต%อการทำวิจัยทาง วิทยาศาสตรb 36 37 28 31 39 20. Scientific research legislation (Law relating to scientific research do encourage innovation)* 21. การบังคับใช)สิทธิในทรัพยbสิน ทางปêญญา 47 47 44 37 43 21. Intellectual property rights are adequately enforced* 22. การถ%ายทอดความรู)* 34 32 29 24 33 22. Knowledge transfer is highly developed between companies and universities* หมายเหตุ : * ข,อมูลจากการสำรวจความเห็น ** ข,อมูลพื้นภูมิ -- ไม@มีการวัดเกณฑFนี้ในปIดังกล@าว ข,อมูลที่แสดงเปNนข,อมูลการจัดอันดับซึ่งข,อมูลดิบไม@จำเปNนต,องเปNนปIเดียวกัน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 ตารางที่ 1-7 อันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของประเทศไทย ปี2561-2565(ต่อ) หมายเหตุ : * ข้อมูลจากการส�ำรวจความเห็น (Survey data) ** ข้อมูลพื้นภูมิ(Background data) -- ไม่มีการวัดเกณฑ์นี้ในปีดังกล่าว (This criteria is not measured in that year) ข้อมูลที่แสดงเป็นข้อมูลการจัดอันดับซึ่งข้อมูลดิบไม่จ�ำเป็นต้องเป็นปีเดียวกัน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
18 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 1.1.4 ความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศไทย และนานาชาติ เมื่อพิจารณาแนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษา ของประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในปี2561-2565 พบว่า อันดับของประเทศนิวซีแลนด์ มาเลเซีย และมองโกเลีย มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (ดังรูปที่ 1-5) ส�ำหรับปี2565 ยังคงเป็นประเทศสิงคโปร์ที่อยู่ ในอันดับแรก และเมื่อพิจารณาในช่วงปี2564-2565 พบว่า มีประเทศปรับอันดับลดลง จ�ำนวน 5 ประเทศ (จากทั้งหมด 14 ประเทศ) ได้แก่ ญี่ปุ่น (ลดลง 6 อันดับ) มาเลเซีย (ลดลง 5 อันดับ) ฮ่องกง (ลดลง 5 อันดับ) นิวซีแลนด์(ลดลง4อันดับ)ส่วนประเทศที่อันดับคงที่จ�ำนวน 5 ประเทศได้แก่ ไต้หวัน จีน อินโดนีเซียอินเดีย ฟิลิปปินส์ และประเทศที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 2 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย (ดีขึ้น 8 อันดับ) ไทย (ดีขึ้น 2 อันดับ) สิงคโปร์(ดีขึ้น 1 อันดับ) และเกาหลีใต้(ดีขึ้น 1 อันดับ) ส�ำหรับประเทศไทยปรับอันดับดีขึ้นอยู่ในอันดับที่ 53 (จากอันดับที่ 56) แต่ยังคงอยู่ในอันดับที่ 11 ของเอเชียแปซิฟิก และยังคงอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน (ดังตารางที่ 1-8) รูปที่ 1-5 แนวโน้มอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 รูปที่1-7 แนวโน(มอันดับความสามารถในการแข6งขันด(านโครงสร(างพื้นทางการศึกษาของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟJกและอาเซียน ปM 2561-2565 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 0 10 20 30 40 50 60 70 2561 2562 2563 2564 2565 สิงคโปร( (Singapore) * ฮ7องกง (Hong Kong) ไต>หวัน (Taiwan) จีน (China) นิวซีแลนด( (New Zealand) ออสเตรเลีย (Australia) เกาหลีใต> (South Korea) มาเลเซีย (Malaysia) * ไทย (Thailand) * ญี่ปุ`น (Japan) อินโดนีเซีย (Indonesia) * อินเดีย (India) ฟdลิปปdนส( (Philippines) * มองโกเลีย (Mongolia) อันดับความสามารถในการแข6งขัน 1-63หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
19 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-8 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศในภูมิภาค เอเชียแปซิฟิกและอาเซียน ปี2561-2565 ตารางที่1-8 อันดับความสามารถในการแข4งขันด6านโครงสร6างพื้นทางการศึกษาของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟJกและอาเซียน ปM 2561-2565 ประเทศ 2561 2562 2563 2564 2565 จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 สิงคโปรS(Singapore) * 2 2 2 7 6 ออสเตรเลีย (Australia) 7 6 12 17 9 ฮ4องกง (Hong Kong) 18 16 11 8 13 ไต6หวัน (Taiwan) 19 20 20 16 16 นิวซีแลนดS(New Zealand) 15 15 19 21 25 จีน (China) 45 36 29 28 28 เกาหลีใต6(South Korea) 25 30 27 30 29 ญี่ปุxน (Japan) 30 32 32 32 38 มาเลเซีย (Malaysia) * 34 35 37 39 44 ไทย (Thailand) * 56 56 55 56 53 มองโกเลีย (Mongolia) 49 53 54 54 55 อินโดนีเซีย (Indonesia) * 57 52 56 58 58 อินเดีย (India) 63 63 57 59 59 ฟJลิปปJนสS(Philippines) * 61 58 61 60 60 หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา (source): IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022 เมื่อพิจารณาอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศไทย ซึ่งเป็นปัจจัยย่อยภายใต้ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ในปี2565 ซึ่งประกอบด้วย 19 ตัวชี้วัด โดยแบ่งเป็น Hard data 11 รายการ Survey Data 4 รายการ และ Background data 4 รายการ พบว่า ส่วนใหญ่ ปรับอันดับดีขึ้นมากถึง 12 ตัวชี้วัด และอันดับลดลง จ�ำนวน 5 ตัวชี้วัด อันดับคงที่จ�ำนวน 2 ตัวชี้วัด ดังนี้ • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) งบประมาณรวมด้านการศึกษาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศอยู่อันดับที่49(ดีขึ้น 10อันดับ) 2) อัตราส่วนประชากรที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา อยู่อันดับที่ 45 (ดีขึ้น 4 อันดับ) 3) งบประมาณรวมด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับ อยู่อันดับที่ 53 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 4) อัตราส่วนครูต่อนักเรียนระดับมัธยม อยู่อันดับที่ 57 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 5) อัตราส่วนครูต่อนักเรียนระดับประถมศึกษา อยู่อันดับที่ 28 (ดีขึ้น 2 อันดับ) 6) อัตราการเข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษา อยู่อันดับที่ 59 (ดีขึ้น 2 อันดับ) 7) Students who are not low achievers- PISA อยู่อันดับที่ 48 (ดีขึ้น 2 อันดับ) 8) งบประมาณรวมด้านการศึกษาต่อจ�ำนวนประชากร อยู่อันดับที่ 56 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 9) นักศึกษาต ่างชาติที่เข้ามาศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศ ต่อ ประชากร 1,000 คน อยู่อันดับที่ 53 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 10) ผลการทดสอบ PISA (Mathematics and Sciences) อยู่อันดับที่ 48 (ดีขึ้น 1 อันดับ) 11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) อยู่อันดับที่ 57 (ดีขึ้น 1 อันดับ)
20 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 12) ดัชนีวัดคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย อยู่อันดับที่ 47 (ดีขึ้น 1 อันดับ) • ตัวชี้วัดที่ปรับอันดับลดลง จ�ำนวน 5 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) การศึกษาระดับอุดมศึกษาตอบสนองความสามารถในการแข่งขัน อยู่อันดับที่41(ลดลง4อันดับ) 2) ความสามารถด้านภาษาตอบสนองต่อภาคธุรกิจ อยู่อันดับที่ 50 (ลดลง 4 อันดับ) 3) อัตราส่วนเพศหญิงที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา อยู่อันดับที่ 48 (ลดลง 1 อันดับ) 4) การศึกษาระดับประถมและมัธยมตอบสนองความสามารถในการแข ่งขัน อยู ่อันดับที่ 43 (ลดลง 1 อันดับ) 5) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป อยู่อันดับที่ 58 (ลดลง 1 อันดับ) • ตัวชี้วัดที่อันดับคงที่ จ�ำนวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) นักศึกษาที่ออกไปศึกษาต่างประเทศในระดับอุดมศึกษาต่อ ประชากร1,000คน อยู่อันดับที่54 2) การจัดการศึกษาสาขาบริหารจัดการที่ตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจ อยู่อันดับที่ 37 อย ่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาในรายละเอียดจะพบว ่า แม้ว ่าตัวชี้วัดบางรายการจะมีอันดับลดลงแต ่ก็มี คะแนนเพิ่มขึ้น เพียงแต่อัตราการเพิ่มช้าหรือน้อยกว่าประเทศอื่นๆ รวมทั้งการปรับเพิ่ม/ลดประเทศที่ใช้ใน การประเมินอาจส่งผลต่อการปรับอันดับตัวชี้วัดบางรายการเช่นกัน (ดังตารางที่ 1-9) ตารางที่ 1-9 อันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศไทย ปี2561-2565 ตารางที่1-8 อันดับความสามารถในการแข4งขันด6านโครงสร6างพื้นทางการศึกษาของประเทศไทย ปE 2561- 2565 ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion จำนวนประเทศ 63 63 63 64 63 Number of countries อันดับภาพความสามารถในการแขKงขัน ดMานการศึกษา 56 56 55 56 53 Education infrastructure Competitiveness ranking 1. งบประมาณรวมด.านการศึกษาต5อ ผลิตภัณฑ=มวลรวมของประเทศ 45 51 58 59 49 Total public expenditure on education (% GDP) 2. งบประมาณรวมด.านการศึกษาต5อ จำนวนประชากร** 54 55 56 57 56 Total public expenditure on education per capita (US$ per capita)** 3. งบประมาณรวมด.านการศึกษาต5อ นักเรียนทุกระดับ** -- 55 56 56 53 Total public expenditure on education per student (spending per enrolled pupil/ student. All levels )** 4. อัตราส5วนครูต5อนักเรียนระดับ ประถมศึกษา (%) 40 40 36 30 28 Pupil-teacher ratio (primary education) (%) 5. อัตราส5วนครูต5อนักเรียนระดับมัธยม(%) 62 60 57 60 57 Pupil-teacher ratio (secondary education) (%) 6. อัตราการเข.าเรียนต5อระดับ มัธยมศึกษา (%) 55 56 57 61 59 Secondary school enrollment (%) 7. อัตราส5วนประชากรที่สำเร็จการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 41 41 48 49 45 Higher education achievement 8. อัตราส5วนเพศหญิงที่สำเร็จการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 44 45 47 47 48 Women with degrees
21 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตัวชี้วัด 2561 2562 2563 2564 2565 Criterion 9. นักศึกษาต5างชาติที่เข.ามาศึกษา ระดับอุดมศึกษาในประเทศ ต5อประชากร1,000 คน 53 51 53 54 53 Student mobility inbound 10. นักศึกษาที่ออกไปศึกษาต5างประเทศ ในระดับอุดมศึกษา ต5อ ประชากร 1,000 คน** 53 53 53 54 54 Student mobility outbound** 11. ผลการทดสอบ PISA (Mathematics and Sciences) 49 49 50 50 49 Educational assessment - PISA 12. Students who are not low achievers- PISA* -- -- 50 50 48 Students who are not low achievers - PISA (% of students who are not low achievers in maths, sciences and reading) 13. ความสามารถในการใช.ภาษาอังกฤษ (TOEFL) ** 59 59 59 58 57 English proficiency – TOEFL** 14. การศึกษาระดับประถมและมัธยม ตอบสนองความสามารถในการแข5งขัน* -- 45 39 42 43 Primary and secondary education* 15. การศึกษาระดับอุดมศึกษาตอบสนอง ความสามารถในการแข5งขัน* 46 44 38 37 41 University education* 16. การจัดการศึกษาสาขาบริหารจัดการ ที่ตอบสนองความต.องการของภาค ธุรกิจ* 43 40 34 37 37 Management education* 17. ดัชนีวัดคุณภาพการศึกษาของ มหาวิทยาลัย** -- 50 49 48 47 University education index (Country score calculated from Times Higher Education University ranking)** 18. อัตราการไม5รู.หนังสือของประชากร อายุ 15 ปè ขึ้นไป 59 59 58 57 58 Illiteracy 19. ความสามารถด.านภาษาตอบสนอง ต5อภาคธุรกิจ* 49 46 47 46 50 Language skills* หมายเหตุ : * ข.อมูลจากการสำรวจความเห็น ** ข.อมูลพื้นภูมิ -- ไม5มีการวัดเกณฑ=นี้ในปèดังกล5าว ข.อมูลที่แสดงเปíนข.อมูลการจัดอันดับซึ่งข.อมูลดิบไม5จำเปíนต.องเปíนปèเดียวกัน ตารางที่ 1-9 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษาของประเทศไทย ปี2561-2565 (ต่อ) หมายเหตุ :* ข้อมูลจากการส�ำรวจความเห็น (survey data) ** ข้อมูลพื้นภูมิ(Background data)] -- ไม่มีการวัดเกณฑ์นี้ในปีดังกล่าว (This criteria is not measured in that year) ข้อมูลที่แสดงเป็นข้อมูลการจัดอันดับซึ่งข้อมูลดิบไม่จ�ำเป็นต้องเป็นปีเดียวกัน ที่มา (source) : IMD World Competitiveness Yearbook 2018-2022
22 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ 1.2 การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรม โดย Cornell University, Institut Européen d’Administration des Affaires (INSEAD) และ World Intellectual Property Organization (WIPO) มหาวิทยาลัยคอร์แนล (Cornell University) ร่วมกับ Institut Européen d’Administration des Affaires: INSEAD และองค์กรทรัพย์สินทางปัญญาโลก (World Intellectual Property Organization : WIPO) ได้ร่วมกันจัดท�ำดัชนีนวัตกรรมโลก (Global Innovation Index) ตั้งแต่ปี2550 (2007) และเผยแพร่ ในรายงาน The Global Innovation Index (GII) เป็นประจ�ำทุกปีโดยกรอบความคิดของการวัดนวัตกรรม เกิดจากแนวคิดที่ว่า นวัตกรรมเกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกทางธุรกิจจนถึงระดับบุคคล ซึ่งนับเป็นปัจจัย ในการผลิตนวัตกรรม ส�ำหรับผลผลิตของนวัตกรรมและผลกระทบยังนับว่าเป็นเรื่องที่ท้าทายในการวัด แม้ว่า ผลสุดท้ายจะเป็นการจัดอันดับแต่สิ่งที่ส�ำคัญกว่าคือประเทศที่มีเส้นทาง ที่จะยกระดับเศรษฐกิจของตนเอง เมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกันหรือระดับรายได้ในกลุ ่มเดียวกัน ซึ่ง GII มีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงวิธีการวัดมาเรื่อย ๆ แต ่แนวคิดหลักนั้นอ้างอิงมาจากคู ่มือ Oslo Manual ของ OECD ที่ว่านวัตกรรม คือ “การน�ำไปใช้จริงของ ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการใหม่ วิธีการทางการตลาดแบบใหม่ และระเบียบวิธีการจัดรูปแบบองค์กร โครงสร้าง และสถานที่การท�ำงานแบบใหม่ รวมถึงความสัมพันธ์กับ ผู้มีส ่วนเกี่ยวข้องภายนอก หรือที่ปรับปรุงเพิ่มเติม” ในการจัดอันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของ GII ได้มีการออกแบบการวัดผลโดยพิจารณาดัชนี2 ประเภท ได้แก่ดัชนีด้านทรัพยากรด้านนวัตกรรม (Innovation input sub-index) และผลผลิตด้านนวัตกรรม (Innovation output sub-index) โดยในรายงานฉบับล่าสุด ปี2565 (2022) มีประเทศที่เข้าร่วมการจัดอันดับทั้งหมด 132 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ โดยในปีนี้ยังให้ความ ส�ำคัญกับผลกระทบจากการระบาด Covid-19 ที่มีต่อนวัตกรรม ซึ่งประกอบด้วย 1) ดัชนีด้านทรัพยากร ด้านนวัตกรรม จ�ำนวน 5 ปัจจัยย่อย และผลผลิตด้านนวัตกรรม จ�ำนวน 2 ปัจจัยย่อย โดยมีตัวชี้วัดทั้งหมด 81 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) ดัชนีด้านทรัพยากรด้านนวัตกรรม (Innovation input sub-index)แบ่งออกเป็น 5 ปัจจัยได้แก่ (1) สถาบัน (Institutions) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 1.1 สภาพแวดล้อมทางด้านการเมือง (Political environment) 1.2 สภาพแวดล้อมทางด้านกฎหมาย (Regulatory environment) 1.3 สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Business environment) (2) ทุนมนุษย์และการวิจัย (Human capital and research) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 2.1 การศึกษา (Education) 2.2 การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Tertiary education) 2.3 การวิจัยพัฒนา (Research and development) (3) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) 3.2 โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (General infrastructure) 3.3 ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Ecological sustainability) (4) ศักยภาพทางการตลาด (Market sophistication) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 4.1 เครดิต (Credit) 4.2 การลงทุน (Investment) 4.3 การแข่งขันทางการค้า (Trade, competition and market scale)
23 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ (5) ศักยภาพทางธุรกิจ (Business sophistication) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 5.1 บุคลากรที่มีความรู้(Knowledge workers) 5.2 การเชื่อมโยงนวัตกรรม (Innovation linkages) 5.3 การดูดซับความรู้(Knowledge absorption) 2) ดัชนีผลผลิตด้านนวัตกรรม (Innovation output sub-index) แบ่งออกเป็น 2 ปัจจัย ได้แก่ (1) ผลผลิตจากการพัฒนาความรู้และเทคโนโลยี(Knowledge and technology outputs) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 1.1 การสร้างความรู้(Knowledge creation) 1.2 ผลกระทบเชิงความรู้(Knowledge impact) 1.3 การเผยแพร่ความรู้(Knowledge diffusion) (2) ผลผลิตจากความคิดสร้างสรรค์(Creative outputs) ประกอบด้วย 3 หมวดย่อย ดังนี้ 2.1 สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้(Intangibles assets) 2.2 สินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์(Creative goods and services) 2.3 การสร้างสรรค์ผ่านสื่อออนไลน์(Online creativity) โดยตัวชี้วัดที่ GII น�ำเสนอ คือ Overall GII Score (คะแนนรวมดัชนีนวัตกรรมโลก) ซึ่งเป็นการเฉลี่ย แบบง่าย(simpleaverage)ของดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรม (InputSub Index)และผลผลิตของนวัตกรรม (Output Sub Index) ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยและนานาชาติ ตามการจัดอันดับของ GII จากรายงานการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของ GII ในปี2565 พบว่าอันดับ ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวม 5 อันดับแรกของโลกจากทั้งหมด 132 ประเทศ ได้แก่ อันดับที่ 1 ยังคงเป็นสวิตเซอร์แลนด์ (64.6 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100) ถัดมาสหรัฐอเมริกา (61.8 คะแนน) สวีเดน (61.6 คะแนน) อังกฤษ (59.7 คะแนน) และเนเธอร์แลนด์ (58.0 คะแนน) ตามล�ำดับ ส�ำหรับประเทศไทย อันดับคงที่อยู่ในอันดับที่ 43 (จากอันดับที่ 43) ส�ำหรับประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พบว่า ในปี2565 เกาหลีใต้ยังคงอยู่อันดับแรก และพบว่า ส่วนใหญ่ปรับอันดับดีขึ้น มีจ�ำนวน 9 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา (ดีขึ้น 12 อันดับ) เมียนมาร์(ดีขึ้น 11 อันดับ) อินโดนีเซีย(ดีขึ้น 7อันดับ)อินเดีย(ดีขึ้น 6อันดับ)ลาว(ดีขึ้น 5อันดับ) นิวซีแลนด์(ดีขึ้น 2อันดับ)ออสเตรเลีย (ดีขึ้น 1 อันดับ) จีน (ดีขึ้น 1 อันดับ) และสิงคโปร์(ดีขึ้น 1 อันดับ) ส่วนประเทศที่ปรับอันดับลดลง มีจ�ำนวน 5 ประเทศได้แก่ มองโกเลีย(ลดลง13อันดับ) บรูไน (ลดลง10อันดับ) ฟิลิปปินส์(ลดลง8อันดับ) เวียดนาม (ลดลง 4 อันดับ) และเกาหลีใต้(ลดลง 1 อันดับ) ส�ำหรับประเทศที่อันดับคงที่มีจ�ำนวน 4 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฮ่องกง ญี่ปุ่น และเมื่อพิจารณาอันดับความสามารถในการแข ่งขันด้านนวัตกรรม จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก พบว่า ปัจจัยด้านทรัพยากรด้านนวัตกรรม ยังคงเป็นสิงคโปร์อยู่ในอันดับแรกของเอเชียแปซิฟิกและปัจจัยด้านผลผลิต ด้านนวัตกรรม ยังคงเป็นเกาหลีใต้อยู่ในอันดับแรกของเอเชียแปซิฟิก ส�ำหรับประเทศไทยอันดับภาพรวมปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับ 10 (จากอันดับ 9) ของเอเชีย แปซิฟิก และคงที่อยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน โดยปัจจัยด้านทรัพยากรด้านนวัตกรรม ปรับอันดับลดลงอยู่ใน อันดับที่ 48 (จากอันดับ 47) อยู่ในอันดับ 9 คงเดิมของเอเชียแปซิฟิก และยังคงอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน ตามปัจจัยด้านผลผลิตด้านนวัตกรรม ปรับอันดับดีขึ้นอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับ 46) ท�ำให้อันดับดีขึ้นอยู่ ในอันดับ 11 (จากอันดับ 12) ของเอเชียแปซิฟิก และอันดับดีขึ้นอยู่ในอันที่ 4 (จากอันดับ 5) ของอาเซียน (ดังรูปที่ 1-6 และ ตารางที่ 1-10)
24 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รูปที่ 1-7 อันดับความสามารถในการแข1งขันด3านนวัตกรรมในภาพรวมของประเทศไทยและเอเชีย แปซิฟDกและอาเซียน ตามการจัดอันดับของ GII ปI 2565 หมายเหตุ : 1. ค-าคะแนนอยู-ในช-วง 0-100 คะแนน 2. * ประเทศอาเซียน ที่มา: The Global Innovation Index 2022 116(16.4) 112(17.4) 97(20.5) 92(22.2) 75(27.9) 71(28.0) 59(30.7) 48(34.2) 43(34.9) 40(36.6) 36(38.7) 25(47.1) 24(47.2) 14(51.8) 13(53.6) 11(55.3) 7(57.3) 6(57.8) เมียนมารZ (Myanmar)* ลาว (Laos)* กัมพูชา (Cambodia)* บรูไน (Brunei)* อินโดนีเซีย (Indonesia)* มองโกเลีย (Mongolia) ฟoลิปปoนสZ (Philippines)* เวียดนาม (Vietnam)* ไทย (Thailand)* อินเดีย (India) มาเลเซีย (Malaysia)* ออสเตรเลีย (Australia) นิวซีแลนดZ (New Zealand) ฮ-องกง (Hong Kong SAR) ญี่ปุ~น (Japan) จีน (China) สิงคโปรZ (Singapore)* เกาหลีใตÅ (Korea Rep.) หมายเหตุ: 1. ค่าคะแนนอยู่ในช่วง 0-100 คะแนน 2. * ประเทศอาเซียน ที่มา: The Global Innovation Index 2022 รูปที่ 1-6 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมในภาพรวมของประเทศไทยและเอเชียแปซิฟิก และอาเซียน ตามการจัดอันดับของ GII ปี2565
25 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตารางที่ 1-10 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านนวัตกรรมของประเทศไทยและเอเชียแปซิฟิกและอาเซียน จ�ำแนกตามปัจจัยหลัก ตามการจัดอันดับของ GII ปี2565 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร0 วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ป< 2565 | 1 ตารางที่1-10 อันดับความสามารถในการแข1งขันด3านนวัตกรรมของประเทศไทยและเอเชียแปซิฟBกและ อาเซียน จำแนกตามปFจจัยหลัก ตามการจัดอันดับของ GII ปJ 2565 แก3ไขตาราง ประเทศ ทรัพยากรด5านนวัตกรรม ผลผลิตด5านนวัตกรรม ประเทศอันดับแรก สิงคโปรO สวิตเซอรOแลนดO สิงคโปรO(Singapore)* 1 14 ฮ1องกง (Hong Kong) 5 25 ญี่ปุdน (Japan) 11 12 เกาหลีใต3(South Korea) 16 4 ญี่ปุdน (Japan) 11 12 ออสเตรเลีย (Australia) 19 32 จีน (China) 21 8 นิวซีแลนดO(New Zealand) 23 28 มาเลเซีย (Malaysia)* 35 37 อินเดีย (India) 42 39 ไทย (Thailand)* 48 44 บรูไน (Brunei)* 53 129 เวียดนาม (Vietnam)* 59 41 อินโดนีเซีย (Indonesia)* 72 74 ฟBลิปปBนสO(Philippines)* 76 51 มองโกเลีย (Mongolia) 81 64 กัมพูชา (Cambodia)* 92 102 ลาว (Laos)* 98 122 เมียนมารO(Myanmar)* 122 104 หมายเหตุ : * ประเทศอาเซียน ที่มา: The Global Innovation Index 2022หมายเหตุ: * ประเทศอาเซียน ที่มา: The Global Innovation Index 2022 เมื่อพิจารณาอันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทย ในแต่ละปัจจัย พบว่า ในภาพรวม ปัจจัยหลักด้าน โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ซึ่งเป็นปัจจัยภายใต้ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรม มีแนวโน้มอันดับดีขึ้นอย ่างต ่อเนื่อง และเมื่อพิจารณาอันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทย ปี2565 พบว่าดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรม ปรับอันดับลดลงอยู่ในอันดับที่48(จากอันดับที่47)ซึ่งประกอบ ด้วย 5 ปัจจัยหลัก โดยปัจจัยหลักที่ปรับอันดับดีขึ้นจ�ำนวน 1 ปัจจัย ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐาน (ดีขึ้น 7 อันดับ) ปัจจัยอันดับคงที่คือศักยภาพทางการตลาดและปัจจัยหลักที่ปรับอันดับลดลงจ�ำนวน 3 ปัจจัยได้แก่สถาบัน (ลดลง 14 อันดับ) ทุนมนุษย์และการวิจัย (ลดลง 8 อันดับ) และศักยภาพทางธุรกิจ (ลดลง 7 อันดับ) ส�ำหรับ ดัชนีด้านผลผลิตของนวัตกรรม อันดับดีขึ้นอยู่ในอันดับที่44 (จากอันดับที่46) ซึ่งประกอบด้วย 2 ปัจจัยหลัก โดยปัจจัยที่ปรับอันดับดีขึ้นคือ ผลผลิตจากความคิดสร้างสรรค์ (ดีขึ้น 6 อันดับ) และผลผลิตจากการพัฒนา ความรู้และเทคโนโลยี(ลดลง 3 อันดับ) และเมื่อพิจารณาตามปัจจัยย่อยสามารถสรุปได้ดังนี้
26 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ • ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรม มีปัจจัยย่อยที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 7 ปัจจัย อันดับลดลงจ�ำนวน 8 ปัจจัย ได้แก่ อันดับดีขึ้น จ�ำนวน 7 ปัจจัยย่อย 1) การลงทุน (Investment) อยู่อันดับ 49 (ดีขึ้น 15 อันดับ) 2) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) อยู่อันดับ 46 (ดีขึ้น 14 อันดับ) 3) เครดิต (Credit) อยู่อันดับ 11 (ดีขึ้น 13 อันดับ) 4) โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป (General infrastructure) อยู่อันดับ 44 (ดีขึ้น 4 อันดับ) 5) ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Ecological sustainability) อยู่อันดับ 64 (ดีขึ้น 4 อันดับ) 6) การวิจัยพัฒนา (Research and development) อยู่อันดับ 44 (ดีขึ้น 3 อันดับ) 7) การเชื่อมโยงนวัตกรรม (Innovation linkages) อยู่อันดับ 65 (ดีขึ้น 2 อันดับ) อันดับลดลง จ�ำนวน 8 ปัจจัยย่อย 1) สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Business environment) อยู่อันดับ 65 (ลดลง 45 อันดับ) 2) การศึกษา (Education) อยู่อันดับ 98 (ลดลง 12 อันดับ) 3) การดูดซับความรู้(Knowledge absorption) อยู่อันดับ 24 (ลดลง 6 อันดับ) 4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Tertiary education) อยู่อันดับ 62 (ลดลง 5 อันดับ) 5) สภาพแวดล้อมทางด้านการเมือง (Political environment) อยู่อันดับ 56 (ลดลง 2อันดับ) 6)การแข่งขันทางการค้า (Trade, competitionand market scale)อยู่อันดับ 21(ลดลง2อันดับ) 7) บุคลากรที่มีความรู้(Knowledge workers) อยู่อันดับ 53 (ลดลง 2 อันดับ) 8) สภาพแวดล้อมทางด้านกฎหมาย (Regulatory environment) อยู่อันดับ 113 (ลดลง 1 อันดับ) • ดัชนีด้านผลผลิตของนวัตกรรม มีปัจจัยย่อยที่ปรับอันดับดีขึ้น จ�ำนวน 3 ปัจจัย และอันดับลดลง จ�ำนวน 3 ปัจจัย ได้แก่ อันดับดีขึ้น จ�ำนวน 3 ปัจจัยย่อย 1) สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้(Intangibles assets) อยู่อันดับ 47 (ดีขึ้น 21 อันดับ) 2) การสร้างสรรค์ผ่านสื่อออนไลน์(Online creativity) อยู่อันดับ 70 (ดีขึ้น 14 อันดับ) 3) การสร้างความรู้(Knowledge creation) อยู่อันดับ 45 (ดีขึ้น 2 อันดับ) อันดับลดลง จ�ำนวน 3 ปัจจัยย่อย 1)สินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์(Creativegoods and services)อยู่อันดับ 42(ลดลง27อันดับ) 2) ผลกระทบเชิงความรู้(Knowledge impact) อยู่อันดับ 52 (ลดลง 8 อันดับ) 3) การเผยแพร่ความรู้(Knowledge diffusion) อยู่อันดับ 36 (ลดลง 3 อันดับ) (ดังตาราง 1-11)
27 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รายงานดัชนีวิทยาศาสตร0 วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ป< 2565 | 1 ตารางที่1-11 อันดับความสามารถด.านนวัตกรรมของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ GII จำแนกตาม ป"จจัย (Factor) 2561 2562 2563 2564 2565 คะแนน/ค:า ป< 2565 จำนวนประเทศ (Number of countries) 126 129 131 132 132 อันดับความสามารถดSานนวัตกรรมในภาพรวม 44 43 44 43 43 34.9 ดัชนีทรัพยากรดSานนวัตกรรม (Innovation input sub-index) 52 47 48 47 48 - 1)สถาบัน (Institutions) 65 57 65 64 78 52.5 1.1 สภาพแวดล2อมทางด2านการเมือง (Political environment) 69 50 51 54 56 62.6 1.2 สภาพแวดล2อมทางด2านกฎหมาย (Regulatory environment) 102 105 113 112 113 69.1 1.3 สภาพแวดล2อมทางธุรกิจ (Business environment) 21 20 20 20 65 48.0 2)ทุนมนุษยfและการวิจัย (Human capital and research) 57 52 67 63 71 29.8 2.1 การศึกษา (Education) 92 81 87 86 98 39.2 2.2 การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Tertiary education) 55 45 58 57 62 32.3 2.3 การวิจัยพัฒนา (Research and development) 39 41 46 47 44 17.9 3)โครงสรSางพื้นฐาน (Infrastructure) 72 77 67 61 54 47.7 3.1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICTs) 72 77 79 60 46 80.4 3.2 โครงสร2างพื้นฐานทั่วไป (General infrastructure) 60 54 50 48 44 36.9 3.3 ความยั่งยืนด2านสิ่งแวดล2อม (Ecological sustainability) 85 85 67 68 64 25.9 4)ศักยภาพทางการตลาด (Market sophistication) 28 32 22 27 27 45.3 4.1 เครดิต (Credit) 42 42 21 24 11 55.3 4.2 การลงทุน (Investment) 41 41 31 64 49 12.5 4.3 การแขuงขันทางการค2า (Trade, competition and market scale) 23 22 25 19 21 67.9 5)ศักยภาพทางธุรกิจ (Business sophistication) 62 60 36 36 43 35.5 5.1 บุคลากรที่มีความรู2 (Knowledge workers) 79 80 51 51 53 37.6 5.2 การเชื่อมโยงนวัตกรรม (Innovation linkages) 86 81 68 67 65 23.3 5.3 การดูดซับความรู2 (Knowledge absorption) 28 30 15 18 24 45.5 ตารางที่ 1-11 อันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ GII จ�ำแนกตาม ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อย ปี2561-2565
28 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ รายงานดัชนีวิทยาศาสตร0 วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ป< 2565 | 2 ป"จจัย (Factor) 2561 2562 2563 2564 2565 คะแนน/ค:า ป< 2565 ดัชนีผลผลิตดSานนวัตกรรม (Innovation output sub-index) 45 43 44 46 44 - 6)ผลผลิตจากการพัฒนาความรูSและเทคโนโลยี (Knowledge and technology outputs) 40 38 44 40 43 30.0 6.1 การสร2างความรู2 (Knowledge creation) 50 54 54 47 45 20.4 6.2 ผลกระทบเชิงความรู2 (Knowledge impact) 31 34 32 44 52 32.1 6.3 การเผยแพรuความรู2 (Knowledge diffusion) 33 25 36 33 36 37.4 7)ผลผลิตจากความคิดสรSางสรรคf (Creative outputs) 50 54 52 55 49 25.2 7.1 สินทรัพย~ที่จับต2องไมuได2 (Intangibles assets) 60 61 57 68 47 35.6 7.2 สินค2าและบริการเชิงสร2างสรรค~ (Creative goods and services) 23 18 14 15 42 26.3 7.3 การสร2างสรรค~ผuานสื่อออนไลน~ (Online creativity) 66 74 73 84 70 3.1 หมายเหตุ : 1. คuาคะแนนอยูuในชuวง 0-100 คะแนน 2. * ประเทศอาเซียน ที่มา: The Global Innovation Index 2018-2022 ตารางที่ 1-11 อันดับความสามารถด้านนวัตกรรมของประเทศไทย ตามการจัดอันดับของ GII จ�ำแนกตาม ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อย ปี2561-2565 (ต่อ) หมายเหตุ: คะแนนอยู่ในช่วง 0-100 คะแนน ที่มา: The Global Innovation Index 2018-2022 1.3 บทสรุป ในปี2565อันดับความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทยตามการจัดอันดับของ IMD ปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับที่ 33(จากอันดับที่ 28) ซึ่งปัจจัยทั้งหมด 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยสมรรถนะทาง เศรษฐกิจ, ปัจจัยประสิทธิภาพของภาครัฐ, ปัจจัยประสิทธิภาพของภาคธุรกิจ และปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน มีการปรับอันดับลดลงทุกด้าน โดยด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีแนวโน้มปรับอันดับลดลงมาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 43) ซึ่งเกณฑ์การพิจารณาเพื่อจัดอันดับความสามารถในการแข ่งขันที่มีความเกี่ยวข้อง กับวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม(ววน.) ส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ปัจจัยดังกล่าวเช่นกัน โดยปัจจัยย่อยมีการ ปรับอันดับดีขึ้นจ�ำนวน 3 ปัจจัยย่อย(จากทั้งหมด5 ปัจจัยย่อย) ปัจจัยย่อยด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่34(จากอันดับที่37) ปัจจัยย่อยด้านการศึกษาปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 53 (จากอันดับที่56) ปัจจัยย่อยด้านโครงสร้างพื้นฐานทั่วไปปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่22 (จากอันดับที่24) โดยปัจจัยย ่อยโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อันดับคงที่ และเมื่อพิจารณาอันดับและตัวเลขข้อมูลดิบ ในปัจจัยย่อยนี้โดยส่วนใหญ่มีการปรับอันดับดีขึ้น รวมทั้งมีแนวโน้มอันดับที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งตัวชี้วัด บางรายการที่มีอันดับลดลงแต่เมื่อพิจารณาตัวเลขข้อมูลดิบมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อัตราการเพิ่ม ช้าหรือน้อยกว ่าประเทศอื่น ๆ ดังนั้นหากต้องการให้อันดับความสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ควรต้องเร่งด�ำเนินการในตัวชี้วัดที่ยังคงเป็นจุดอ่อนเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของประเทศตามที่ตั้งไว้
29 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ส�ำหรับอันดับด้านนวัตกรรมของประเทศไทย จากรายงานการจัดอันดับของ GII ในปี2565 ยังคงอยู่ ในอันดับที่43 (คงที่จากปี2564) โดยอันดับความสามารถด้านนวัตกรรม ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรมลดลง มาอยู่ในอันดับที่48 (จากอันดับที่47) และดัชนีผลผลิตด้านนวัตกรรม มีการปรับอันดับดีขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 46) โดยพบว่า ปัจจัยย่อยที่อยู่ภายใต้ดัชนีทรัพยากรด้านนวัตกรรมที่มีอันดับดีขึ้นมากที่สุด คือ การลงทุน (Investment) อยู ่ในอันดับที่ 49 (จากอันดับที่ 64) ในขณะที่ปัจจัยย ่อยที่มีอันดับลดลง มากที่สุด คือ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (Business environment) อยู่ในอันดับที่ 65 (จากอันดับที่ 20) ส�ำหรับปัจจัยย่อยที่อยู่ภายใต้ดัชนีผลผลิตด้านนวัตกรรม ที่มีอันดับดีขึ้นมากที่สุด คือ สินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ (Intangibles assets) อยู ่ในอันดับที่ 47 (จากอันดับที่ 68) ในขณะปัจจัยย ่อยที่มีอันดับลดลงมากที่สุด คือ สินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์(Creative goods and services) อยู่ในอันดับที่ 42 (จากอันดับที่ 15)
30 รายงานดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย ปี 2565 ส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม