The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Omb_Library, 2022-01-26 01:21:00

วารสารผู้ตรวจการแผ่นดิน ปีที่ 9 ฉบับที่ 1

Journal Of Thai Ombudsman Vol.9 No.1

ข้อคน้ พบจากการศกึ ษา

จากการศกึ ษาพบวา่ มีข้อค้นพบทีส่ �ำคญั สรุปไดด้ ังน้ี
ประการแรก เกณฑ์การพัฒนา หรือแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพ
การบรหิ ารจดั การภาครฐั มีรายละเอยี ดมากมาย มีจ�ำนวนหมวดที่ต้องด�ำเนินการถึง 6 หมวดใหญ่ และหมวดผลลพั ธ์
ท่ีต้องบรรลผุ ล (หมวด 7) รวมท้ังส้นิ 43 ประเดน็ หวั ขอ้ แล้วยงั แยกออกเป็นระดับยอ่ ย ตามทป่ี รากฏในตารางแสดง
วธิ ีหรอื กระบวนการพัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั ซงึ่ หมายถึงตาราง ADLI (Approve, Deploy, Learning,
Integration)3 จึงเป็นการยากที่จะให้บุคลากรที่ไม่ใช่คณะท�ำงานในหน่วยงานแต่ต้องเข้ามาร่วมมือในการพัฒนา
องคก์ ารจะมคี วามเขา้ ใจภายใตเ้ วลาทจ่ี ำ� กดั ยง่ิ กำ� หนดวา่ ควรมเี ทคนคิ เครอื่ งมอื การปรบั ปรงุ คณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ
สมยั ใหมเ่ ขา้ มาผสมดว้ ยบคุ ลากรทไี่ มค่ นุ้ เคย หรอื รบั รแู้ ตก่ ารปฏบิ ตั ริ าชการตามบทบาทหนา้ ทป่ี กติ ซงึ่ ตอ้ งยอมรบั วา่
เป็นคนข้างมากในองค์การ และยงั ไม่เขา้ ถงึ วิธีการเทคนิคสมยั ใหม่นี้ จึงไม่สามารถจดั ท�ำกจิ กรรมการปรับปรงุ พัฒนา
ได้ทันเวลาหรือได้ผลตามคาดหมาย อาทิ การประเมินผลการบริหารความเสี่ยง ซึ่งเกณฑ์ก�ำหนดในการบริหาร
ความเสี่ยงในหมวดที่ 2 ประเด็นที่ 7 (SP7) วรรคทา้ ย ตามตาราง ADLI ว่าจะต้องทำ� แผนบริหารความเส่ยี ง ซ่งึ ใน
ระยะถัดไปต้องมุ่งลดความเสย่ี งที่เหลืออยู่ โดยหน่วยงานต้องมีแผนการท�ำงานลดความเสีย่ งชัดเจนในปีงบประมาณ
หน้า บุคลากรในหน่วยงานทุกแห่งก็ไม่สามารถท�ำได้ทันเวลาตามที่ก�ำหนด ดังผลตรวจสอบกิจกรรมการปรับปรุง
เปน็ รายไตรมาส ตามแผนพฒั นาองคก์ ารท่ีส่วนราชการน�ำสง่ แกส่ �ำนักงาน ก.พ.ร. เมือ่ เสรจ็ ส้นิ ปีงบประมาณ
ประการที่สอง การจะพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลกว้างขวาง ปฏิบัติได้อย่างถ้วนทั่ว
ควรมีผู้เช่ียวชาญหรือมีพี่เลี้ยงให้ความรู้ความเข้าใจการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการในระบบราชการในทุกส่วน
ราชการ ควรผสานระบบคณุ ภาพใหเ้ ขา้ เปน็ เนอื้ งานในราชการปกตดิ งั เชน่ ภาคเอกชนมกี จิ กรรมทบ่ี คุ ลากรในกลมุ่ /ฝา่ ยงาน
ที่จัดตั้งขึ้นมาด้วยความสมัครใจมาร่วมกันด�ำเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีการหรือกระบวนการท�ำงานให้มีคุณภาพดีย่ิงขึ้น
(QCC) และส�ำหรับภาครัฐควรน�ำเทคนคิ การบรหิ ารจดั การคณุ ภาพโดยรวม (TQM) ทเ่ี นน้ ความสำ� คัญสูงสุดตอ่ ลกู คา้
เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซงึ่ งานหรอื บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพทดี่ กี วา่ มาปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนงานหลกั และกระบวนงานรองขององคก์ าร
อย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นผลให้ระบบคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งในการปฏิบัติงานปกติ สร้างความคุ้นเคยในตัวผู้ปฏิบัติงาน
ไดด้ ว้ ย โดยเรมิ่ จากพฒั นานกั บรหิ ารงานระดบั ตน้ ใหม้ กี ารเรยี นรู้ เทคนคิ เครอื่ งมอื สำ� คญั ทเ่ี หมาะสมตามบทบาทหนา้ ท่ี
ของบุคลากรน้ัน และสนบั สนุนจูงใจให้เขา้ มาพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การ ใชห้ ลกั การประเมินผลและก�ำหนดให้
เป็นสมรรถนะส�ำหรับนกั บรหิ ารระดับกลาง ระดับสงู และทจ่ี ะต้องผา่ นหลกั สูตรความร้คู วามเข้าใจ และมีสถานะเปน็
ผู้พฒั นา “ทีมงานคุณภาพ” ท่ตี า่ งประเทศเรียกบทบาทนว้ี ่า Career manager คอื ตอ้ งสามารถสร้างคณะทำ� งานที่มี
ความรูค้ วามเข้าใจในระบบคณุ ภาพได้ จงึ จะเลื่อนไหลรับตำ� แหนง่ สูงข้นึ ได้ ถา้ หากสว่ นราชการดำ� เนนิ การเชน่ นไี้ ดจ้ รงิ
ผลลัพธ์ทีด่ จี ะตกกบั ผู้รบั บริการและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย ทจ่ี ะรบั มอบบรกิ ารสาธารณะที่ดีเพม่ิ ข้นึ ดว้ ย

3 ADLI (แอดล)่ี หมายถงึ ตารางแสดงข้นั ตอน การประเมินกระบวนการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ตงั้ แตห่ มวด 1 ถงึ หมวด 6 และใช้
ตาราง LeTCLi “เล็ดซลี ่ี” เปน็ การประเมินสว่ นผลลพั ธ์ (หมวด 7) สว่ นความหมายของอักษรยอ่ ADLI คือ Approach (A) หมายถงึ มรี ะบบแบบแผน
มีกระบวนการ/ระบบท่ีมีประสิทธิภาพและทําอย่างเป็นระบบเพ่ือรองรับกิจกรรมในหัวข้อที่ประเมิน Deployment (D) หมายถึง นําไปใช้ตามหัวข้อ
อย่างท่ัวถงึ มีกระบวนการ/ระบบเป็นทีเ่ ข้าใจยอมรบั และเรม่ิ มีบทบาท สนบั สนุน กระบวนการที่จัดขึ้น Learning (L) หมายถึง เกดิ การเรียนรใู้ นองคก์ าร
เริ่มมกี ารประเมินประสทิ ธผิ ลของกระบวนการ/ระบบของกจิ กรรมทจี่ ดั ข้นึ อาจมีการปรับปรงุ ใหม้ ีกระบวนการ/ระบบให้ดีขึน้ Integration (I) หมายถึง
บูรณาการเช่ือมโยงสอดดล้องกัน กระบวนการ/ระบบของกิจกรรมสอดรับ สนับสนุนกิจกรรมสําคัญขององค์การที่ระบุไว้ในภารกิจ/ยุทธศาสตร์และ
แผนปฏิบตั กิ ารขององค์การนั้น

สำ�นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดนิ 49

ประการท่สี าม การทีส่ �ำนกั งาน ก.พ.ร. จดั ท�ำเกณฑพ์ ัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ระดบั พ้ืนฐาน
และกำ� หนดใหส้ ่วนราชการระดบั กรมและจงั หวัด เริ่มดำ� เนนิ การในปแี รกสองหมวดตอ่ เนือ่ งไปจนครบหกหมวดใน 3 ปี
ได้เกิดผลดีต่อการสร้างสรรค์กิจกรรมมากมายให้เกิดข้ึนในหน่วยงานอาทิ การที่ต้องจัดท�ำตามขั้นตอนในหมวดที่ 3
(การมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ได้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพรวมถึงช่องทางในการส่งมอบบริการ
ที่ดีข้ึนแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามที่ระบุในลักษณะส�ำคัญของหน่วยงานนั้น นอกจากนี้ วิธีการในการ
พัฒนาด้วยกระบวนการและเครื่องมือ โดยใช้การส่งเสริมให้ความรู้แก่คณะท�ำงานซ่ึงถือเป็น PMQA Team ของ
สว่ นราชการ เพอื่ สง่ ผา่ นไปยังบคุ ลากรภายในองคก์ ารทุกภาคส่วน โดยมผี ู้น�ำองค์การนัน้ เป็นหัวหน้าทมี ถือวา่ สง่ ผลดี
ตอ่ การเพมิ่ แรงจงู ใจตอ่ ในการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ของหนว่ ยงานนน้ั ดว้ ย ขณะทส่ี ำ� นกั งาน ก.พ.ร.
ในหลายปีท่ีผ่านมา ได้พยายามคัดเลือกหน่วยงานเด่นระดับกรมและจังหวัด ในการให้รางวัลองค์กรท่ีมีผลงาน
การบริการท่ีดี ย่อมเป็นการสนับสนุนการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีอย่างยิ่ง ท้ังยังเสริมสร้างให้บุคลากรในภาครัฐ
ในหลายส่วนงานที่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมเพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเพราะเหตุที่อ้างว่า
มภี ารกจิ ทตี่ อ้ งดำ� เนนิ การมาก ใหก้ ลบั มาเขา้ รว่ มกจิ กรรมในระยะตอ่ ไป และหากการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การ
ภาครฐั ถอื เปน็ คำ� รบั รองบงั คบั ในการปฏบิ ตั ริ าชการของสว่ นราชการนน้ั และตอ้ งดำ� เนนิ การตอ่ เนอ่ื งคลา้ ยการพฒั นา
คุณภาพการบริหารจัดการในภาคเอกชนที่ทุกฝ่ายต้องปฏิบัติ ประชาชนผู้รับบริการจะได้รับคุณค่าบริการตรงกับ
ระดับความคาดหวงั ทสี่ ูงขึ้นได้
ประการทส่ี ่ี เม่ือกระบวนการพฒั นาคุณภาพการบริหารจดั การภาครฐั ในอนาคต ในหน่วยงานระดับกรมและ
จงั หวดั ถกู กำ� หนดไวใ้ หอ้ ยใู่ นคำ� รบั รองการปฏบิ ตั งิ านและนำ� มาเปน็ ผลการประเมนิ สว่ นบคุ คลในระบบราชการไทยดว้ ย
น่ันจะเป็นผลให้เกิดการตื่นตัวและจูงใจให้เกิดแนวทางการเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการภาครฐั มากยง่ิ ขึ้น การบรหิ ารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี ระบบธรรมาภบิ าลภาครัฐ จะถกู ยกระดบั ดีข้ึน
ตามมาดว้ ย เกดิ รปู แบบกระบวนการเรยี นรทู้ มี่ คี วามหลากหลาย แทรกซมึ เปน็ สำ� นกึ รว่ มดา้ นเพมิ่ ผลติ ภาพ (Productivity
awareness) คลา้ ยกนั กับภาคเอกชนทกี่ ารปฏิบตั ิงานไมเ่ พียงแต่ต้องทำ� การตามหนา้ ท่ี หากแต่ต้องสร้างคุณคา่ เพิ่ม
และตอบสนองต่อความคาดหวังของลูกค้า หรือผู้รับบริการได้สูงขึ้นอีกด้วย อาทิ การร่วมมือกันยกระดับองค์การ
ใหเ้ ขา้ สู่มาตรฐาน ISO 9000 หรือมาตรฐานขององคก์ รทต่ี อ้ งบรรลสุ ูงขนึ้ เป็นต้น และหากในอนาคต สว่ นราชการ
ของไทย สามารถเพมิ่ มติ กิ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ดงั หนว่ ยงานระดบั กรม 5 แหง่ และระดบั จงั หวดั
5 แห่งท่ีดี ตามผลการศึกษาข้างต้น หรือในส่วนราชการอื่นๆ สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาองค์กร
แบบมงุ่ สผู่ ลลพั ธ์ 4 มติ ิ คือ (1) มติ ิระดับภาวะผู้น�ำ (ผู้นำ� และคณะท�ำงาน) (Leadership and team constraint)
(2) มิติระดับการเรียนรู้และตอบสนองความคาดหวังของผู้รับบริการและรองรับการเปลี่ยนแปลง (Learning
organization and change management) (3) มิติระดับการพัฒนาสารสนเทศและการจัดการความรู้องค์กร
(Information system and knowledge management) และ (4) มิติระดบั ของการบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งทด่ี ี
และการยอมรับว่าเป็นองค์กรท่ีพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง (Effectiveness governance and continuous
improvement) องคก์ รภาครฐั นน้ั ยอ่ มกา้ วเขา้ สเู่ ปา้ หมายขดี สมรรถนะขนั้ สงู สดุ ของการนำ� เกณฑค์ ณุ ภาพการบรหิ าร
จัดการภาครฐั แบบกา้ วหน้า และยังสามารถนำ� มาเปน็ ต้นแบบแก่สว่ นราชการอื่นๆ อาทิ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน
องค์กรมหาชน หรอื หน่วยให้บรกิ ารพเิ ศษของรัฐใชเ้ ทยี บเคยี งเปน็ ตัวแบบในการปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างดี

50 ปที ่ี 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

สรปุ และข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา

1. ขอ้ เสนอแนะในเชงิ วชิ าการเพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ในระบบราชการไทย เรมิ่ จาก
ภาครฐั ควรสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารศกึ ษาเปรยี บเทยี บแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ในประเดน็ ทส่ี ำ� คญั
ดงั นี้ ประเด็นที่หนึง่ ในส่วนราชการระดบั กรม ขณะที่มีการพัฒนาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั จะสังเกตได้วา่
กรมบริการส่วนใหญ่จะมุ่งพัฒนาระบบงานบริการให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลโดยเฉพาะอย่างยิ่ง มุ่งเน้น
ความคาดหวังของผู้ได้รับบริการ โดยเน้นการมีส่วนร่วมการแสดงความคิดเห็นของกลุ่ม ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย แต่ในหลายกรณี กรมเหล่านั้นยังไม่ได้ท�ำการศึกษาลักษณะของงานบริการในอนาคต ซ่ึงส่วนนี้หน่วยงาน
และสำ� นกั งาน ก.พ.ร. ควรทจ่ี ะศกึ ษาการปรบั เปลย่ี นวสิ ยั ทศั นใ์ หก้ บั สว่ นราชการดงั กลา่ ว โดยพจิ ารณาถงึ การเปลย่ี นแปลง
รปู แบบการบรกิ ารในอนาคตและนวตั กรรมการบรกิ ารทสี่ อดคลอ้ งตอ่ บทบาทภารกจิ ของสว่ นราชการทสี่ อดคลอ้ งตอ่
สภาวะแวดล้อมภายนอก มากกว่าท่ีจะมุ่งให้ส่วนราชการเรียนรู้ความต้องการพื้นฐานของผู้รับบริการเป็นปัจจัย
ความสำ� เรจ็ หลกั และควรมวี ธิ ีเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีไม่ใชเ่ นน้ เพียงระดบั ความพึงพอใจและไมพ่ งึ พอใจ ซ่ึงเปน็ วธิ กี ารทีค่ อ่ นขา้ ง
ไมท่ นั สมยั เนอื่ งจากการศกึ ษาทางวชิ าการสมยั ใหมม่ งุ่ เนน้ ใหอ้ งคก์ รสมยั ใหมส่ ามารถเตบิ โตแบบยง่ั ยนื ไดโ้ ดยการปรบั ตวั
ให้ทนั การเปล่ยี นแปลงดา้ นต่างๆ ของลกู คา้ หรอื ผู้มารบั บริการ ซ่งึ มักเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน ตอ้ งพฒั นาให้
องคก์ รมงุ่ เนน้ ลกู คา้ เป็นสำ� คัญ (Customer Focus) โดยใช้แนวทางทเี่ รยี กวา่ “การรบั ฟงั เสยี งของลูกค้า” (Voice of
Customer) เปน็ การเฟน้ หาความคดิ ความรู้สกึ และความปรารถนาของผ้รู ับบรกิ าร แบบเข้าถึงวถิ ชี ีวิต จิตใจ อาทิ
นกั พฒั นาชุมชนในระดับต�ำบลจะเขา้ ใจความเป็นอยขู่ องลูกบา้ น สมาชกิ มกี คี่ น ประกอบอาชพี อะไร มีรายได้ เพยี งพอ
เล้ียงชีพหรือไม่ ผู้ใดในครอบครัวยังไม่สามารถหางานเพ่ือเช่ือมโยงหน่วยงานอ่ืนจัดหางานให้ โดยมีเป้าหมายเพ่ือ
ตอ้ งการใหล้ กู คา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ าร เกดิ ความผกู พนั องคก์ ร จงึ ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจถงึ ลกู คา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ าร ทง้ั คณุ ลกั ษณะ
ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของลกู คา้ หรอื ผรู้ บั บรกิ าร เพอื่ ใหอ้ งคก์ รสามารถตอบสนองไดต้ รงตามความตอ้ งการ
ของผู้รับบริการ และรวมไปถึงการให้บริการที่จะท�ำให้เหนือความคาดหวัง เพื่อให้ผู้รับบริการเกิดความจงรักภักดี
กบั องค์กร อยา่ งไรก็ดี ระยะที่ผา่ นมาจะเหน็ ได้ว่าหลายองคก์ รในภาครัฐ รัฐวสิ าหกจิ และภาคเอกชนมีการน�ำระบบ
การบรหิ ารจดั การท่ีดมี ากมายท่ีจะท�ำให้ลูกค้าเกดิ ความผูกพัน (Customer engagement) เชน่ CRM CEM เปน็ ตน้
มาปฏิบัติ เพ่ือให้องค์กรเกิดการเติบโตอย่างได้เปรียบทางการแข่งขัน และเกิดความยั่งยืนตลอดไป ประเด็นที่สอง
ควรมีการศึกษาต่อเนื่องเพื่อเปรียบเทียบมิติประสิทธิผลตามค�ำรับรองการปฏิบัติราชการ เพราะส่วนราชการต่างๆ
มกั ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ มติ ปิ ระสทิ ธผิ ลคอ่ นขา้ งมากกวา่ มติ อิ น่ื ๆ เหตผุ ลหนง่ึ เพราะมติ นิ จ้ี ะเกย่ี วขอ้ งกบั สดั สว่ นการเบกิ จา่ ย
งบประมาณด้วย ซึ่งแม้จะต้องด�ำเนินการตามคา่ ถ่วงนำ�้ หนัก เชน่ มิติประสทิ ธภิ าพ มติ คิ ณุ ภาพบรกิ าร มิตกิ ารพัฒนา
องค์กร และมิติการเรียนรู้และการเติบโตขององค์กร ในสัดส่วนค่าถ่วงน้�ำหนักแต่ละมิติท่ีต่างกันแต่เม่ือมีการพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั ต่อเนือ่ ง โดยน�ำเรือ่ งของเกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั แตล่ ะ
ประเด็นเชงิ ลึกท่เี กยี่ วขอ้ งมาใช้เป็นตวั ชว้ี ดั คู่กบั มติ ติ า่ งๆ ตามค�ำรบั รองรายมิติ ย่อมจะเกดิ ผลดชี ว่ ยลดความซำ�้ ซ้อน
ของตวั ชวี้ ดั และความสน้ิ เปลอื งบคุ ลากรทต่ี อ้ งมาจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตวั เลขผลลพั ธด์ า้ นตา่ งๆ รวมถงึ ภาระการจดั ทำ� เอกสารดว้ ย
และ ประเดน็ ทสี่ าม สำ� นกั งาน ก.พ.ร. ควรมบี ทบาทนำ� ในทางวชิ าการ เพอ่ื ศกึ ษารปู แบบการพฒั นาสว่ นราชการตา่ งๆ
ในประเด็นของการจัดท�ำระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้แบบบูรณาการ โดยจัดให้ส่วนราชการได้น�ำ
องคค์ วามรตู้ า่ งๆ มาจดั รูปแบบใหม้ คี วามสอดคล้องต่อประเด็นทางยุทธศาสตร์ ครอบคลมุ พนั ธกจิ และความท้าทาย
ของกลุ่มภารกจิ ของหนว่ ยงานตา่ งๆ ทีม่ ีความใกลเ้ คยี งในภารกจิ บทบาทหนา้ ทต่ี า่ งๆ ร่วมกันหรอื ตอ้ งประสานงาน

สำ�นักงานผู้ตรวจการแผน่ ดิน 51

ตอ่ กนั เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรของสว่ นราชการกลมุ่ นน้ั นนั้ ไดเ้ รยี นรกู้ ระบวนการและวธิ กี ารบรหิ ารจดั การตา่ งๆ ตามสภาพแวดลอ้ ม
ของเศรษฐกจิ โลกและสงั คมในปัจจุบนั ท่ีขับเคลื่อนบนฐานการสร้างมูลค่าเพ่ิม (Value creation) เทา่ นนั้ เพราะความรู้
ในเชงิ วชิ าการเพอ่ื การพฒั นาในสว่ นนเี้ ปน็ หวั ใจสำ� คญั ของการมากำ� หนดเกณฑค์ ณุ ภาพบรหิ ารจดั การภาครฐั ในระดบั
กา้ วหน้า (Progressive level) ทเ่ี นน้ การบูรณาการรว่ มของภาคส่วนต่างๆ ทงั้ ภายในและภายนอกองค์กร ถือเปน็
สมรรถนะขนั้ สงู ของการบรหิ ารจดั การภาครฐั แบบบรู ณาการ ดงั เชน่ สว่ นราชการทแี่ ยกตามกลมุ่ ภารกจิ ภาคเศรษฐกจิ
ภาคสงั คม ภาคการศึกษา เปน็ ตน้
2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบตั กิ ารจากผลการดำ� เนนิ งานในสว่ นราชการระดบั กรมและจงั หวดั ที่ศกึ ษา ประการ
ทห่ี นง่ึ การทสี่ ำ� นกั งาน ก.พ.ร. จะสามารถสรา้ งแนวรว่ มในบคุ ลากรภาครฐั ใหก้ วา้ งขวางยงิ่ ขนึ้ ไดห้ ากสำ� นกั งาน ก.พ.ร.
จะพัฒนาระบบแรงจูงใจในส่วนราชการที่เข้าโครงการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพ่ือให้บุคลากร
ของหน่วยงานภาครัฐตระหนักในความส�ำคัญของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐโดยบรรจุหลักสูตร
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเข้าเป็นหลักสูตรของนักบริหารระดับกลางและในข้ันบูรณาการให้
นกั บรหิ ารระดบั สงู เพอื่ ใหข้ า้ ราชการไดเ้ รยี นรแู้ ละศกึ ษาอยา่ งจรงิ จงั ใชเ้ ปน็ แนวทางการบรหิ ารจดั การ เปน็ นกั บรหิ าร
มอื อาชพี และถอื วา่ เปน็ ตวั ชว้ี ดั ความสำ� เรจ็ ของการพฒั นาบคุ ลากรทจี่ ะกา้ วสกู่ ารเปน็ นกั บรหิ ารระดบั สงู ประการทส่ี อง
สำ� นกั งาน ก.พ.ร. ควรม่งุ เป้าหมายสกู่ ารพฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั ในระดบั จังหวัด และชกั น�ำองคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถิ่นน�ำร่องท่ัวประเทศ เพราะบุคลากรของส�ำนักงานจังหวัดมีจ�ำนวนและคุณภาพไม่พอเพียงแก่
การพัฒนาตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และการขาดบุคลากรที่มีความรู้และเข้าใจเกณฑ์ รูปแบบ
วธิ กี าร เทคนคิ การปรบั ปรงุ งานอยา่ งบรู ณาการเปน็ ปญั หาทพี่ บบอ่ ย ดงั ในการศกึ ษาเชงิ พนื้ ทจ่ี งั หวดั ตา่ งๆ พบขอ้ เทจ็ จรงิ
คือ การบริหารราชการในภูมิภาค ส�ำนักงานจังหวัด ต้องอาศัยบุคลากรจากส่วนราชการอ่ืนท่ีเข้ามาปฏิบัติงาน
ในจังหวัดให้เข้ามาเปน็ ผชู้ ่วยดำ� เนินการพัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ ซึ่งเป็นการยากท่ีจะพัฒนาบคุ ลากร
ท่ีมาจากสว่ นราชการท่ีต่างกันให้มีความรคู้ วามเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั เพราะต้นสงั กัดบงั คบั บัญชาตา่ งกนั เพ่ือให้มี
ระดับใกล้เคียงกันในจังหวัดน้ันๆ ได้ เป็นผลให้วิธีการพัฒนาขาดข้อสรุปและขาดมิติมุมมองท่ีครอบคลุมครบถ้วน
ในสว่ นนี้สำ� นกั งาน ก.พ.ร. จะตอ้ งสร้างวิทยากรในระดับพน้ื ทใ่ี ห้มจี �ำนวนท่ีเพียงพอและมีคุณภาพ เพอ่ื ใหก้ ารพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระดับจังหวัดรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเร่ิมให้ความส�ำคัญ ได้มี
องคค์ วามรทู้ ถี่ กู ตอ้ งสามารถถา่ ยทอดการบรหิ ารแบบคณุ ภาพภายในหนว่ ยงานนน้ั ๆ ไดด้ อี ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และ ประการทส่ี าม
ระบบการให้รางวัลจากความส�ำเร็จต่อการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐท่ีส�ำนักงาน ก.พ.ร. ด�ำเนินการ
อยนู่ นั้ ยงั ไมม่ พี ลงั และแรงจงู ใจมากเพยี งพอทจ่ี ะปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมของหนว่ ยงานภาครฐั ใหม้ คี วามใสใ่ จในการยกระดบั
ตามเกณฑค์ ณุ ภาพทสี่ งู ขน้ึ ได้ ดงั นน้ั จงึ ปรากฏวา่ หลายหนว่ ยงานไมไ่ ดม้ กี ารพฒั นาตามเกณฑค์ ณุ ภาพในหลายประเดน็
อยา่ งจริงจังตอ่ เนอื่ ง แตน่ ำ� ผลจากการปฏบิ ตั ใิ นปที ่ีผ่านมายกขน้ึ มาใชเ้ ปน็ ผลในปปี จั จุบัน ทำ� ใหไ้ ม่เขา้ หลักเกณฑ์ของ
การพฒั นาอย่างต่อเนือ่ งและได้มาตรฐานทีส่ งู ข้ึนได้ ท้ังนี้ ส�ำนกั งาน ก.พ.ร. ควรมีผู้เชี่ยวชาญและผทู้ ่ตี รวจประเมนิ
ทม่ี ปี ระสบการณ์ มาเสรมิ และสามารถแนะนำ� การปดิ ชอ่ งวา่ งการพฒั นาในหนว่ ยงานระดบั กรมและจงั หวดั ทว่ั ประเทศ
และควรตดิ ตอ่ เขา้ ไปสนบั สนนุ ในแตล่ ะหนว่ ยงานดว้ ยการใหค้ ำ� ปรกึ ษาเชงิ ลกึ ดว้ ย คขู่ นานกบั การตรวจประเดน็ หลกั ฐาน
ตามตาราง ADLI และคา่ ผลลัพธ์ เทา่ นนั้

52 ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2559

3. ข้อเสนอแนะต่อส่วนราชการทั่วไป ประการท่ีหนึ่ง ผลการศึกษาปรากฏว่า กรมนโยบายมีความคิดว่า
ส่วนราชการของตนไมใ่ ช่เป็นกรมประเภทเน้นบรกิ าร หน่วยงานจึงให้ความสำ� คญั กับการมงุ่ เน้นท่ีลูกค้าหรอื ประเด็น
ผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี นอ้ ยกวา่ การจดั ทำ� นโยบาย หรอื ศกึ ษามาตรการทตี่ อบสนองตอ่ ฝา่ ยบรหิ ารระดบั สงู
ทั้งๆ ที่ข้อเท็จจริงส่วนราชการของไทยทั้งหมดอยู่ภายใต้การบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี มีลักษณะเป็นงานบริการ
โดยพื้นฐานอยู่แล้ว เพราะฉะน้ันส�ำนักงาน ก.พ.ร. จึงควรยกเลิกค�ำเรียกหรือมิเช่นนั้นต้องสร้างความกระจ่างชัดถึง
ค�ำว่า กรมประเภทบริการและกรมประเภทนโยบาย เพ่ือป้องกันความสับสนแก่ผู้ปฏิบัติงาน ประการที่สอง พบว่า
ตวั ชวี้ ดั หลายตวั ทอี่ ยใู่ นการพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครัฐ เป็นตัวชี้วัดท่ขี าดความสัมพันธ์กันภายในเกณฑ์
ควรมีการปรับปรุงตัวช้ีวัดต่างๆ ที่อยู่ในเกณฑ์ให้มีความชัดเจนและสอดคล้องกัน อาทิ เม่ือก�ำหนดให้มีการจัดท�ำ
ฐานข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ เป็นสารสนเทศที่ถูกต้อง ครบถว้ น ครอบคลมุ ดงั ทีก่ �ำหนดในหมวดท่ี 4 การจัดการความรู้
และการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็ควรก�ำหนดให้มีการน�ำฐานข้อมูลที่จัดท�ำนั้นไปใช้ทบทวนในกระบวนการ
จัดท�ำยุทธศาสตรร์ ายปีของหนว่ ยงานตามทรี่ ะบใุ นหมวดที่ 2 การจัดท�ำยุทธศาสตร์ดว้ ยอยา่ งมหี ลกั ฐาน และหากมี
การพิจารณาผลลัพธ์รายหมวด ก็ควรให้มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกันแบบช้ันน�้ำตก ซึ่งจะช่วยให้หน่วยงานมีผลลัพธ์
ภายในที่เอ้ือผลต่อกัน เข้าลักษณะเป็นตัวช้ีวัดผลกระทบ (Impact indicators) ต่อการด�ำเนินการพัฒนาขั้นต่อไป
และสามารถนำ� ไปใชใ้ นการสรา้ งคณุ คา่ เพมิ่ แกก่ ระบวนการพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ในองคก์ าร เพราะถา้ ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธใ์ นราย
หมวดขาดสมั พนั ธภาพตอ่ กนั ระดบั ของการพฒั นาอาจจะไมม่ ผี ลกระทบตอ่ การสรา้ งใหส้ ว่ นราชการนนั้ มคี วามเขม้ แขง็
ตอ่ ไปได้ เทา่ กบั ยงั เปน็ การพฒั นาแบบแยกสว่ น ขาดการบรู ณาการผลลพั ธ์ ประการทส่ี าม ขอ้ กำ� หนดของการคดั เลอื ก
ตัวช้ีวัดผลลพั ธร์ ายหมวดทุกหมวดท่ใี ห้ส่วนราชการสมัครใจเลือกเพยี ง 1 หรือ 2 ตัว ทง้ั ทีม่ ีจำ� นวนรวมถงึ 6 ตัวต่อ
รายหมวด ควรมีการปรับเปล่ียนใหม่ เป็นการคัดเลือกอย่างน้อยกึ่งหน่ึง และควรปรับปรุงให้มีลักษณะตัวช้ีวัด
ความส�ำเรจ็ แบบกลมุ่ คลสั เตอร์ (Clustering indicators) เพอื่ ใหม้ คี วามเชอ่ื มโยง เพ่ือสง่ เสริมให้ส่วนราชการได้จดั
รปู แบบพฒั นาองคก์ ารเปน็ ขนั้ เปน็ ตอนตามตาราง ADLI ในเกณฑค์ ณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั แตล่ ะขอ้ อยา่ งจรงิ จงั
ยอ่ มจะเปน็ ผลใหก้ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั สง่ ผลดตี อ่ เนอื่ ง องคก์ ารจะไดค้ ณุ คา่ เพมิ่ ขนึ้ ดว้ ย จงึ ควร
มีการศกึ ษาชดุ ตัวชี้วัดผลลพั ธ์ของ PMQA ขึน้ ใหม่ และ ประการทส่ี ่ี แม้วา่ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. จะมกี ารจัดท�ำหลกั สูตร

ส�ำ นกั งานผูต้ รวจการแผน่ ดนิ 53

การบรหิ ารจดั การทม่ี สี าระเกยี่ วขอ้ งตามเกณฑอ์ ยา่ งครบถว้ น และเปดิ โอกาสใหบ้ คุ ลากรภาครฐั ไดล้ งทะเบยี นโดยเสยี
ค่าใชจ้ ่ายไมส่ ูงมากแบบหลักสตู รสาธารณะ (Public course) เพอื่ เปน็ แนวทางให้กับสว่ นราชการต่างๆ ใชเ้ ปน็ หลัก
ในการพฒั นาองคก์ รแลว้ ก็ตาม แตเ่ พราะรายละเอียดภายในเกณฑ์ การพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ทมี่ ี
ถงึ หกหมวด ย่อมมเี นื้อหาสาระประกอบภายในอยูม่ ากมาย ยกตวั อย่างเช่น ใน SP7 หมวดทสี่ อง เรอ่ื งของการบริหาร
ความเส่ยี งแบบ COSO ก็ควรทจ่ี ะนำ� เสนอองค์ความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานความเสยี่ งแบบ COSO ประกอบเพ่อื ให้
สว่ นราชการไดไ้ ปศกึ ษาวจิ ยั คน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ มากกวา่ ทจี่ ะนำ� สง่ ตวั แบบฟอรม์ ใหห้ นว่ ยงานไปศกึ ษา หรอื ในสว่ นการจดั การ
องค์ความรู้ เชน่ กระบวนการจดั การความรยู้ อ่ มจะมคี วามสอดคลอ้ งกบั การสรา้ งระบบสารสนเทศของฐานองคค์ วามรู้
ของหน่วยงานน้ันด้วย ในส่วนน้ีกระบวนการจัดการความรู้โดยทั่วไปจะไม่บ่งบอกให้เกิดการพัฒนาในลักษณะน้ี
เมื่อส�ำนักงาน ก.พ.ร. กำ� หนดใหฐ้ านความรูค้ วรมีความเชอื่ มโยงกบั ประเดน็ ยุทธศาสตร์ ส�ำนักงาน ก.พ.ร. และหนว่ ยงาน
กค็ วรท่จี ะอธบิ ายใหเ้ ห็นชดั วา่ ประเด็นยทุ ธศาสตร์ 5-6 ประเดน็ ซึง่ ส่วนราชการนิยมจัดทำ� นัน้ ควรจะมอี งคค์ วามรู้
อะไรมาเชอ่ื มโยงเชน่ ไร และควรมรี ะบบสารสนเทศเชน่ ใดมาสนบั สนนุ จงึ จะมคี วามสอดคลอ้ งในเกณฑต์ อ่ เนอื่ งกนั ไป
เพราะถ้าให้ส่วนราชการไปวิเคราะห์เอง ส่วนราชการก็อาจจะหยิบยกส่ิงท่ีเป็นเปลือกนอกขององค์ความรู้
มิใช่แก่นความรู้แท้จริงของประเด็นยุทธศาสตร์มาใช้ นานเข้ากิจกรรมนั้นจะกลายพันธ์เป็นองค์ความรู้ย่อยๆ มิใช่
องค์ความรู้หลัก (Core knowledge) ท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ภายในองค์กรจะท�ำให้เกิดความสูญเปล่า
ในกระบวนการจดั การความรู้ของหน่วยงานซ่ึงปัจจบุ ันใช้งบประมาณไปมใิ ช่น้อยในเกอื บทุกส่วนราชการ
4. ข้อเสนอแนะในการยกระดับการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระยะต่อไป ประการท่ีหนึ่ง
ปญั หามาจากทภ่ี าครฐั โดยสำ� นกั งาน ก.พ.ร. ยงั ขาดการศกึ ษารปู แบบการพฒั นาผตู้ รวจประเมนิ ใหม้ มี าตรฐานในการ
ประเมินเป็นคุณภาพเดียวกัน ส่วนนี้จะช่วยการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความเห็นในทิศทาง
เดียวกันได้ เพราะข้อเสนอแนะของผู้ตรวจประเมินบางส่วนใช้หลักดุลพินิจส่วนตนในการวินิจฉัยประเด็นการตรวจ
ตามตาราง ADLI และค่าผลลัพธ์ของการด�ำเนินงาน ย่อมเป็นช่องว่างให้หน่วยงานท�ำอุทธรณ์ โต้แย้ง อ้างอิงถึง
ความเห็นทป่ี รึกษาท่ีตา่ งกัน โดยเฉพาะทีป่ รกึ ษาท่ีส�ำนักงานฯ จัดใหใ้ นครง้ั คราวท่มี ีการเผยแพร่ความรซู้ ึ่งหนว่ ยงาน
ได้มีการด�ำเนินการตามค�ำแนะน�ำดังกล่าวแล้ว ต่อมาผู้ตรวจประเมินตอนสิ้นปี อ้างว่าไม่ตรงกับที่เกณฑ์ก�ำหนด
ย่อมท�ำให้เกิดความขัดแย้งและไม่เป็นผลดีต่อระดับความเช่ือมั่นในเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครฐั ของประเทศ ประการทส่ี อง สถาบนั การศกึ ษา หรอื หนว่ ยงานวจิ ยั ทง้ั หลายควรรว่ มกบั สำ� นกั งาน ก.พ.ร. ศกึ ษา
วิจัยรูปแบบหลักสูตรการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐส�ำหรับนักบริหารระดับสูงข้ึนโดยเฉพาะเพื่อสร้าง
ทัศนคติเชิงบวกให้นักบริหารระดับสูงได้ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ รวมท้ังน�ำไปศึกษาดูงานในประเทศต้นแบบท่ีได้ใช้เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หรือ
TQA ในการขับเคลื่อนองค์การจนประสบความส�ำเร็จ เพราะนักบริหารระดับสูงเหล่านั้นจะได้มีความเชื่อม่ันในการ
กลับมาท่ีองค์การตนเองและขับเคลื่อนให้บุคลากรทุกฝ่ายให้ความส�ำคัญต่อการร่วมทีมเป็นคณะท�ำงาน การพัฒนา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประการท่ีสาม สถาบันการศึกษา และสถาบันเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ควรรว่ มกับส�ำนกั งาน ก.พ.ร. ตีพิมพ์ เผยแพรห่ นว่ ยงานท่ไี ด้รับความส�ำเรจ็ ในเรอ่ื งของเกณฑค์ ุณภาพและการบรหิ าร
จัดการภาครัฐในประเด็นใดประเด็นหนึ่งหรือแยกออกไปเป็นรายหมวดใดหมวดหนึ่ง เพ่ือใช้เป็นกรณีศึกษาของ
ตัวแบบที่ดี และควรระดมท่ีปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญในรายหมวด รายประเด็นเหล่าน้ันเข้าร่วมในเวทีสัมมนาร่วม
กับส่วนราชการที่มีผลการด�ำเนินงานที่ดี ถือเป็นการแลกเปล่ียนท�ำให้องค์ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาคุณภาพ

54 ปที ี่ 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

การบรหิ ารจดั การภาครฐั มกี ารขยายผลและสรา้ งความสนใจรว่ มออกไปสสู่ าธารณะได้ ประการทส่ี ่ี สถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ
ควรรว่ มจดั ทำ� แผนดำ� เนนิ งานรว่ มกบั สำ� นกั งาน ก.พ.ร. ทจ่ี ะนำ� เสนอเทคนคิ วธิ ใี นการพฒั นารายประเดน็ ของการพฒั นา
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในจุดท่ีมีความส�ำคัญๆ เพิ่มเติมมากกว่าท่ีเป็นการให้ความรู้ในตัวเกณฑ์คุณภาพ
เพราะระยะของการพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ในหนว่ ยราชการในขณะนไ้ี ดผ้ ่านพ้นเรือ่ งของการเขา้ ใจ
ในเกณฑค์ ณุ ภาพไปแลว้ จงึ ควรศกึ ษาวจิ ยั ใหส้ ว่ นราชการทมี่ ปี ญั หาในเรอื่ งของการประยกุ ตเ์ ทคนคิ และวธิ กี ารขบั เคลอื่ น
เชิงคุณภาพสามารถน�ำองค์ความรู้และเคร่ืองมือการจัดการมาปรับใช้ให้สอดคล้องต่อสภาพปัญหาและโอกาสของ
องค์กรตนเอง แม้แต่นักบริหารในระดับสูงก็ควรเพ่ิมเติมความรู้ความเข้าใจในส่วนน้ีอย่างสม่�ำเสมอด้วย ในส่วนน้ี
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ยังขาดตัวแบบและวิธีการน�ำเสนอเพ่ือให้หน่วยงานสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกวิธี เช่น
เคร่ืองมือส�ำหรับใช้ประเมินผลส�ำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์การ (HR Scorecard) เพ่ือน�ำไปสู่
การพัฒนาและเพิ่มขีดสมรรถนะก�ำลังคนขององค์การให้มีความเข้มแข็งและสอดรับกับภารกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
ขององคก์ าร โดยในองคก์ ารภาครฐั ขณะนม้ี หี ลายสว่ นราชการทดี่ ำ� เนนิ การแลว้ ประสบความสำ� เรจ็ แตบ่ างสว่ นราชการ
ก็ไม่ประสบความสำ� เร็จเปน็ เพียงการบันทกึ การปฏิบัตงิ านเพอ่ื นำ� ไปสู่การประเมนิ ผลรายปเี ท่านน้ั ส�ำนักงาน ก.พ.ร.
จึงควรน�ำตัวแบบของหน่วยงานท่ีประสบความส�ำเร็จเผยแพร่เป็นกรณีๆ และมีเวทีเปิดกว้างให้หน่วยงานท่ีมีปัญหา
ได้ซักถามเรียนรู้ ท้ังจากช่องทางคลินิก และช่องทางการปรึกษาพิเศษด้วย ประการท่ีห้า ควรมีการศึกษาวิจัย
โดยรวบรวมจากผลของรายงานการตรวจ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายปี ท่ีส�ำนักงาน ก.พ.ร.
ไดว้ ่าจ้างผู้เช่ียวชาญจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ซึ่งเป็นหนว่ ยงานอสิ ระภายนอก และรายงานผลกลับถึงหนว่ ยงานตา่ งๆ
ลา่ ช้า เพราะงานตรวจประเมินมีปรมิ าณมากทำ� ให้ส่วนราชการเสยี โอกาสในการนำ� ข้อสงั เกตของการพฒั นาองค์การ
ตามเกณฑก์ ารพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ ในแผนพฒั นาองคก์ รในปถี ดั ไปเหมอื นเชน่
ภาคเอกชนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ TQA ไดจ้ ัดท�ำ ซึ่งจะสง่ ผลให้หน่วยราชการนน้ั สามารถจดั ทำ� แผนพัฒนาองคก์ รท่ีปิด
ชอ่ งโหวข่ องการพฒั นาทผี่ า่ นมาไดอ้ ยา่ งเหน็ ผล สรา้ งความสอดคลอ้ งระหวา่ งแผนพฒั นาองคก์ รกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ ทผ่ี ตู้ รวจ
ประเมนิ ไดค้ น้ พบผลลพั ธใ์ นปที จ่ี ะตรวจตอ่ มาได้ ประการทหี่ ก ควรมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ตอ่ ไปวา่ ในการบรรลผุ ลตามเกณฑ์
การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั ในระดบั ของการประเมนิ องคก์ ารดว้ ยตนเองเพอื่ ผา่ นการรบั รองตามเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั ระดบั พ้ืนฐาน ตามโปรแกรมทเ่ี รียกวา่ Certify FL ซ่งึ หากหนว่ ยงานได้ด�ำเนนิ การ
ครบถ้วนแล้วจริงและกำ� ลงั เขา้ ส่ใู นระดับก้าวหน้า (Progressive Level) ตามท่ีสำ� นักงาน ก.พ.ร. น�ำออกมาใช้เพอื่
มอบรางวลั หนว่ ยงานทส่ี มคั รใจเขา้ มาสว่ นทยี่ งั ขาดความชดั เจนในรปู แบบของการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑ์ และกระบวนการ
ที่ยังขาดไม่สมบูรณ์ควรก�ำหนดให้ส่วนราชการ น�ำเร่ืองการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป็นส่วนหนึ่ง
ของการปฏบิ ตั กิ ารราชการทกุ ปแี ละผบู้ รหิ ารตอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ มจรงิ จงั ปรากฏหลกั ฐานชดั เจนและสามารถเปน็ ผนู้ ำ�
การชแี้ จง คลา้ ยกบั ภาคเอกชนทผี่ นู้ ำ� องคก์ ารสามารถแจกแจงแสดงวสิ ยั ทศั น์ และแนวทางการพฒั นาองคก์ ารใหค้ คู่ า้
เกดิ ความเชอ่ื มนั่ องคก์ ารทตี่ นเองจะรว่ มดำ� เนนิ ธรุ กรรมดว้ ย ประการทเ่ี จด็ ควรมกี ารศกึ ษาเพอื่ หาเหตผุ ลในการอธบิ าย
แก่ผู้ปฏิบัติในคณะท�ำงานของส่วนราชการต่างๆ ว่า ในการก้าวไปสู่การขอรับการตรวจระดับก้าวหน้ารายหมวด
ส�ำนักงาน ก.พ.ร. ควรทบทวนตัวบ่งช้ีให้เห็นว่าระหว่างความครบถ้วนของหลักฐานการตรวจกับค่าคะแนนผลลัพธ์
ทสี่ งู สดุ สว่ นใดมคี วามสำ� คญั แตกตา่ งกนั อยา่ งไร หนว่ ยงานควรทจ่ี ะยดึ ถอื เอาคา่ คะแนนสงู สดุ ของผลลพั ธท์ ดี่ ำ� เนนิ การ
หรือหน่วยงานควรที่จะดูแต่เพียงความครบถ้วนของกระบวนการ ADLI ของเกณฑ์คุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ
ในรายหมวด การทเี่ ปน็ เชน่ นจ้ี ะมผี ลทำ� ใหส้ ว่ นราชการขาดความเชอื่ มนั่ วา่ จะพฒั นาเกณฑค์ ณุ ภาพฯ ทเ่ี นน้ หนกั ในทกุ
ข้นั ตอนตามตาราง ADLI หรือเน้นหนักเกบ็ แต่ค่าผลลัพธ์รายหมวดทเี ดียวรปู แบบใดจะมคี วามสำ� คญั มากน้อยต่างกนั

สำ�นักงานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 55

เพราะถา้ ยดึ เอาตวั ผลลพั ธร์ ายหมวดสว่ นราชการจะมกี ารพฒั นาการบางประเดน็ เพอ่ื สรา้ งคะแนนของคา่ ผลลพั ธส์ งู สดุ
และเป็นผลงานที่สามารถสัมผัสได้ แต่ถ้าส่วนราชการยึดถือตารางวิธีกระบวนการอย่างมีข้ันตอนจริงจังตามนิยาม
ระบบคณุ ภาพทใ่ี ชใ้ นตาราง ADLI เปน็ หลกั สว่ นราชการอาจจะใชห้ ลกั ฐานเดมิ และมาปรบั และทบทวนเพยี งเลก็ นอ้ ย
ก็จะได้คะแนนในส่วนของตาราง ADLI โดยข้อเท็จจริงน้ี ยังไม่มีการศึกษาและไม่ได้มีการกระท�ำให้เกิดการพัฒนา
ปรบั ปรงุ อย่างใดเลย นับจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จนถึงสิน้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 แล้ว และ ประการที่แปด
ควรมกี ารศกึ ษาวิธกี ารกำ� หนดเป็นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาระบบราชการไทย ระยะ 3-5 ปี และก�ำหนดให้ สำ� นักงาน
ก.พ.ร. ด้วยการสนับสนุนขององค์กรอิสระท่ีเก่ียวข้องกับระบบธรรมาภิบาลภาครัฐ เป็นแม่ข่ายท่ีจะต้องรับฟัง
ความคดิ เหน็ จากภาคสว่ นตา่ งๆ วา่ ในเกณฑค์ ณุ ภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั จะไมใ่ ชเ่ ปน็ เพยี งเครอ่ื งมอื และเทคนคิ
(tools and technique) หรือเป็นเครอ่ื งมือเพ่ือการบรหิ ารจัดการสว่ นราชการเทา่ นัน้ แตเ่ กณฑ์คณุ ภาพการบรหิ าร
จัดการภาครัฐจะถือเป็นเกณฑ์คุณภาพระดับชาติท่ีส่วนราชการต้องยึดถือปฏิบัติ เช่นเดียวกับเกณฑ์รางวัลคุณภาพ
แห่งชาติ (TQA) ในภาคเอกชน ซึ่งหน่วยงานในภาคเอกชนไม่ว่าจะเป็น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
หอการค้าไทย สถาบันการเงิน รัฐวิสาหกิจต่างยอมรับว่าเป็นเกณฑ์คุณภาพในภาคเอกชนระดับชาติเทียบเคียงกับ
เอกชนในต่างประเทศ ความชัดเจนเช่นนี้ จะมีผลท�ำให้เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐถูกบรรจุ
ไวใ้ นกระบวนการเรยี นรขู้ องสว่ นราชการไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื และสว่ นราชการจะมคี ณะทำ� งานชดุ ถาวรในการศกึ ษาพฒั นา
เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐท่ีประยุกต์เหมาะสมให้เข้ากับบริบทของหน่วยงาน และเกณฑ์
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ก็จะส่งผลให้เกิดการพัฒนาปรับปรุงเปล่ียนแปลงในส่วนราชการต่างๆ
ได้ต่อเน่ืองแท้จริง เป็นวัฒนธรรมที่ดีในองค์การ เช่นที่เกิดขึ้นในส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี (กรมนโยบาย)
กรมการพฒั นาชุมชน (กรมบรกิ าร) และจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี และจงั หวัดน�ำรอ่ งรวมทงั้ ส้นิ 10 แห่ง ซึง่ ต่างเชอื่ มัน่ วา่
เกณฑ์การบริหารจัดการภาครัฐนั้น จะเป็นระบบประสาทกลางของสมองการท�ำหน้าท่ีที่มีความส�ำคัญยิ่งต่อ
การพัฒนากระบวนการต่างๆ เพ่ือให้อวัยวะทุกภาคส่วนปฏิบัติงานได้อย่างมีทิศทาง และตอบสนองต่อผลของ
การเปล่ียนแปลงภายนอกได้ และมีส่วนส�ำคัญท่ีพัฒนาระดับการตอบสนองท่ีมาจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี จนเปน็ ผลให้องคก์ ารได้รบั การยอมรบั และอยู่รอดได้ถงึ ปจั จุบนั และอนาคต เป็นเคร่ืองมือทส่ี ำ� คัญใหอ้ งคก์ ร
อสิ ระใช้ในการติดตามกำ� กบั ผลงานของหนว่ ยงานภาครัฐ ซึ่งหากมกี ารดำ� เนนิ การตอ่ เน่อื ง ยอ่ มจะสง่ ผลต่อการสรา้ ง
นวตั กรรมการบรกิ าร สรา้ งความชดั เจนด้านบริหารจัดการในองคก์ ร การมุ่งเนน้ ด้านผลลพั ธ์ เกิดแบบอย่าง แผนงาน
กิจกรรมด้านการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เกิดระบบธรรมาภิบาลท่ีบุคลากรของรัฐจะรวมตัวกันด้วยจิตอาสา
สรา้ งให้ประชาชนในพ้นื ทไ่ี ดร้ ับประโยชน์อยา่ งยั่งยืนต่อไป

56 ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย
สรวิชญ์ เปรมช่ืน. (2555). รายงานผลการศึกษาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (Benchmarking) หมวด 7 ผลลัพธ์
การดำ� เนนิ การ จำ� นวน 2 กลุ่มประเภทขอ้ มูล จ�ำแนกตามประเภทของส่วนราชการ (กรมและจงั หวดั ) :
สถาบนั ส่งเสรมิ การบริหารกิจการบา้ นเมืองทดี่ ี.
สำ� นกั งานรางวลั คณุ ภาพแห่งชาติ. (2553). เกณฑร์ างวลั คุณภาพแหง่ ชาติ ประจ�ำปี 2553-2554 (TQA Criteria
for Performance Excellence 2553-2554). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ศิวา โกลด์ มีเดยี จ�ำกัด.
ภาษาอังกฤษ
Arthur R. Tenner, Irving J. DeToro. (1992). Total Quality Management : Three Steps to continuous
important. The United of America : Atlanta Book Company.
Galtung, J., Jacobsen, C.G. and Brand-Jacobsen, K.F. (2002). Searching for Peace : The Road
to TRANSCEND, London : Pluto ; Boulder, CO : Paradigm.
Hood, Christopher and Peters, B. Guy. (2002). The top pay game and good governance where
immodest theories meet slippery facts In : Hood, Christopher and Peters, B. Guy and Lee,
Grace, (eds.) Reward for high public office : Asian and Pacific Rim states. Routledge research
in comparative politics. Routledge, London, UK : 165-181.
หน่วยงานผูแ้ ตง่ : สมาคมสง่ เสริมคณุ ภาพแหง่ ประเทศไทย กระทรวงอุตสาหกรรม
Affiliation: The Association of QC Headquarters of Thailand, Ministry of Industry

สำ�นักงานผูต้ รวจการแผ่นดนิ 57

บทความวิจัยและวิชาการ

การมีสว่ นรว่ มในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดลุ และย่ังยืน :
ศึกษาเฉพาะกรณี ปา่ ชมุ ชน บา้ นคลองห้วยหวาย
อ�ำเภอแม่เปิน จงั หวดั นครสวรรค1์
Management for participation in natural resource
by balance and sustainability. Case study :
Community Ban Khlonghuaiwai, Mae Poen, Nakhon Sawan

กฤติน จนั ทรส์ นธมิ า2 อรทยั อนิ ตะ๊ ไชยวงค3์
Kittin Junsontima, Orrathai Intachaiwong
ส�ำนกั สบื สวนสอบสวนและวินิจฉัย 5 ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ 2
Bureau of Investigation and Diagnosis 5, Office of the Election Commission of Thailand2
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค3์
Faculty of Humanities and Social Sciences, Nakhon Sawan Rajabhat University3
Corresponding author, E-mail: [email protected]

1 บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย เร่ือง แนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล
และยั่งยืน : ศกึ ษากรณี การจดั การป่าชุมชน บ้านคลองหว้ ยหวาย อำ� เภอแมเ่ ปนิ จังหวัดนครสวรรค์ โดยไดร้ บั ทนุ อุดหนุนการวิจยั จากมหาวทิ ยาลัย
ราชภัฏนครสวรรค์ พ.ศ. 2558
2 ส�ำนกั สบื สวนสอบสวนและวนิ จิ ฉัย 5 ส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกตง้ั 120 ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ 10210
3 คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ 398 ถนนสวรรค์วถิ ี อำ� เภอเมอื งฯ จังหวัดนครสวรรค์ 60000

บทคดั ย่อ

การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นหลักการส�ำคัญที่อยู่ภายในหลักสิทธิชุมชนตามหลักรัฐธรรมนูญในการ
มสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ใหเ้ กดิ ความสมดลุ และยง่ั ยนื การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนหรอื
บคุ คลในชมุ ชนเปน็ สง่ิ สำ� คญั การทช่ี มุ ชนจะอยรู่ อดไดต้ อ้ งอยบู่ นฐานการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตทิ ส่ี มดลุ และยงั่ ยนื
โดยอยู่บนพ้ืนฐานความรับผิดชอบร่วมกันของสังคม บทความน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาวิเคราะห์แนวคิด รูปแบบ
และปัจจัยที่ส่งผลให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ศึกษาถึงสภาพปัญหาการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาตขิ องชมุ ชนและหาแนวทางการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ บำ� รงุ รกั ษาและใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ
อย่างสมดลุ และยง่ั ยนื เพือ่ น�ำเสนอแนวทางการมสี ่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ กรณี ปา่ ชมุ ชน ท่เี หมาะสม
ในการส่งเสริมและสนบั สนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยง่ั ยืน
คำ� สำ� คัญ: การมีส่วนรว่ ม, สิทธชิ ุมชน

Abstract

The public participation is a core principle within the community rights under the Constitution
Law for Natural resource management and environmental balance and sustainability. The participation
of the community or individual is important. The community will have to survive on natural
resources, sustainability and be based on a shared responsibility of society. This article aims to
analyze the concept model and the factors that contribute to community participation in natural
resource management and to investigate problems of natural resource management and
community participation in the management as well as to explore the guidelines for the participation
in maintenance and utilization of natural was proposed in order resources in a balanced and
sustainable ways. The recommendations and guidelines to promote and encourage community
participation in the natural resources management in sustainable and balanced manner.
Keyword: The public participation, Community Rights.

สำ�นักงานผูต้ รวจการแผ่นดิน 59

บทนำ�
ความเป็นมาและความส�ำคญั ของปญั หา

รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 ไดบ้ ญั ญตั ริ บั รองใหบ้ คุ คลและชมุ ชนมสี ทิ ธใิ นการมสี ว่ นรว่ ม
ในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและย่ังยืน ซ่ึงบัญญัติไว้ในหลักการ
สทิ ธิชุมชน ต่อมา รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 และร่างรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
(ฉบับปี 2559) ได้บัญญัติถึงบุคคลและชุมชน ชุมชนท้องถ่ิน มีสิทธิ จัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม อย่างสมดุลและยั่งยืน และบัญญัติถึงหน้าที่ของรัฐว่า รัฐต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง
บ�ำรุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม และ
ความหลากหลายทางชีวภาพให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนและชุมชนในท้องถ่ินที่เก่ียวข้อง
มีส่วนร่วมด�ำเนินการและได้รับประโยชน์จากการด�ำเนินการจากแนวคิดและหลักการดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าผู้ร่าง
กฎหมาย และสังคมเริ่มยอมรับการมีอยู่และสิทธิของชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
เพอ่ื ให้เกิดความสมดุลและยง่ั ยืน
แม้จะได้บัญญัติรับรองคุ้มครองสิทธิของบุคคลและชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษาและ
ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ในรัฐธรรมนูญก็ตาม แต่ในระยะที่ผ่านมาพบว่าความขัดแย้ง
ในการจดั การดา้ นทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ มระหวา่ งภาครฐั กบั ภาคประชาชนเกดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งและมคี วามรนุ แรง
มากข้ึนตามล�ำดับ เนื่องด้วยรัฐ หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ยังเชื่อว่าหากปล่อยให้ปัจเจกชนใช้ทรัพยากร
ธรรมชาตโิ ดยไมม่ กี ารควบคมุ ทรพั ยากรจะถกู ใชจ้ นหมดสน้ิ รฐั จงึ ควรตอ้ งมบี ทบาทในการควบคมุ ดแู ล การใชป้ ระโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติ เพราะเป็นผู้มีอ�ำนาจในการออกกฎเกณฑ์บังคับให้ประชาชนปฏิบัติตามได้ แต่การที่รัฐ
ออกกติกามาบังคับใช้น้ันกลับไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ซึ่งท�ำให้ภาครัฐไม่สามารถบังคับใช้กฎกติกาได้จริง
รวมถึงความจริงจังของการบังคับใช้กติกาของรัฐที่ต้องมีความต่อเน่ือง เหล่าน้ีจึงเกิดความขัดแย้งในการจัดการ
ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชนอย่างต่อเนื่องและมีความรุนแรงมากข้ึนตามลำ� ดับ
เชน่ กรณคี ดีชาวเขาเผ่ากะเหรีย่ งในอำ� เภอเชียงดาว จงั หวัดเชียงใหม่ ที่ศาลไดพ้ พิ ากษากรณที ไี่ ด้เข้าไปท�ำไมโ้ ดยการ
ใชข้ วาน 1 เล่ม ตดั ฟนั ไมส้ ัก อันเป็นไม้หวงหา้ มประเภท ก. ตามพระราชบัญญตั ิป่าไม้ พ.ศ. 2484 ในป่าเชียงดาว
จ�ำเลยให้การต่อสู้ว่า ชุมชนในพื้นที่นี้มีคณะกรรมการป่าชุมชน ซึ่งแต่งตั้งมาจากทุกหมู่บ้านในพื้นท่ีน้ันๆ และมี
วฒั นธรรมในการรกั ษาปา่ โดยการใชท้ รพั ยากรจากปา่ ตอ้ งขออนญุ าตจากคณะกรรมการทกุ ครงั้ จำ� เลยมคี วามประสงค์
จะใชป้ ระโยชน์จากไม้สกั ท่อนดงั กลา่ ว เปน็ การใชภ้ ายในครอบครัวตามความจำ� เปน็ พ้ืนฐานของการดำ� รงชีวติ เท่านั้น
จงึ ไดข้ ออนญุ าตจากคณะกรรมการหมบู่ า้ นตามจารตี ประเพณี ซงึ่ กไ็ ดร้ บั การเหน็ ชอบจากคณะกรรมการหมบู่ า้ นแลว้
จงึ เขา้ ใจว่ามสี ทิ ธทิ ่จี ะกระท�ำไดโ้ ดยชอบตามรัฐธรรมนญู มาตรา 46 อีกท้งั ในปี 2539 เจ้าหนา้ ท่อี ุทยานแหง่ ชาตไิ ด้ไป
ประกาศดว้ ยวาจาใหช้ าวบา้ นทราบวา่ พนื้ ทปี่ า่ ชมุ ชนใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของคณะกรรมการปา่ ชมุ ชน แตท่ งั้ นก้ี ารใช้
ทรัพยากรจากป่าจะต้องอยู่ภายใต้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มาตรา 46 เท่านั้น จ�ำเลยเช่ือด้วยความบริสุทธิ์ใจว่า
จำ� เลยมสี ทิ ธใิ นการอยู่อาศัยและท�ำกนิ ในป่าชุมชนไดต้ ามจารตี ประเพณี

60 ปที ี่ 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

ในขณะเดยี วกนั จากการศกึ ษาพบวา่ ชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย อำ� เภอแมเ่ ปนิ จงั หวดั นครสวรรคเ์ ปน็ ชมุ ชน
ทมี่ วี ถิ กี ารดำ� รงชวี ติ ของชมุ ชนใกลช้ ดิ กบั ปา่ พง่ึ พงิ ปา่ คนในชมุ ชนรว่ มมอื กนั เขา้ มาจดั การปา่ ในรปู แบบปา่ ชมุ ชน คนใน
ชมุ ชนช่วยการดแู ล รักษาและปกปอ้ งพน้ื ปา่ ด้วยตนเอง มกี ารจดั ตั้งคณะกรรมการป่าชุมชน และกำ� หนดกฎ กติกา
ในการจัดการบ�ำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเป็นระยะเวลากว่า 20 ปี ในปี 2550 ทางมูลนิธิ
เครือข่ายอนุรักษ์ผืนป่าตะวันตก ร่วมกับมูลนิธิสืบนาคะเสถียรได้เข้ามาส่งเสริม ร่วมวางแผนการจัดการป่าชุมชน
ร่วมกับเครอื ข่ายป่าชุมชนแมว่ งก์ - แม่เปิน - ชุมตาบง ดำ� เนนิ กิจกรรมอย่างต่อเนอ่ื ง ปี 2551 ป่าชุมชนบา้ นคลองห้วยหวาย
ได้ข้ึนทะเบียนเป็นป่าชุมชนกับกรมป่าไม้อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ โดยมีเนื้อที่ 1,787 ไร่ มีอายุนานกว่า 20 ปี
เป็นพ้ืนท่ีป่าท่ีชาวบ้านและชุมชนได้เข้าไปใช้ประโยชน์และดูแลรักษาป่าร่วมกันตามวิถีชีวิตของชุมชน มีพื้นป่าที่ยัง
อดุ มสมบรู ณม์ คี วามหลากหลายทางชวี ภาพทเ่ี ปน็ ผลผลติ จากธรรมชาติ และ ในปี 2552 ปา่ ชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย
ไดร้ บั รางวลั ปา่ ชมุ ชนระดบั จงั หวดั จากโครงการ “คนรกั ษป์ า่ ปา่ รกั ชมุ ชน” ประจำ� ปี 2552 เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง
กรมปา่ ไม้ และบรษิ ทั ผลติ ไฟฟา้ ราชบรุ โี ฮลดง้ิ จำ� กดั (มหาชน) (วฒั นชนม์ คงทน, 2555) และชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย
เป็นศูนย์ประสานงานเครือข่ายป่าชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ ท�ำหน้าที่เชื่อมประสานการท�ำงานระหว่างเครือข่าย
ปา่ ชุมชน และหน่วยงานตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ กรมป่าไม้ มูลนธิ ิสืบนาคะเสถียร ในฐานะเปน็ แหลง่ เรยี นรู้ ดูงานและ
ประสานความรว่ มมอื ของเครอื ขา่ ยปา่ ชมุ ชน จงึ ไดม้ กี ารจดั ตง้ั ศนู ยเ์ รยี นรปู้ า่ ชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย เพอื่ เปน็ แหลง่
ถ่ายทอดความรู้เรื่องป่าชุมชนและศึกษาดูงานด้านการจัดการป่าและระบบนิเวศในป่าชุมชน การจัดการป่าชุมชน
บ้านคลองห้วยหวาย จึงถือว่าเป็นชุมชนที่ประสบความส�ำเร็จที่ให้สิทธิของชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
การบ�ำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กรณีป่าชุมชนในการจัดการป่าชุมชนรูปแบบ
คณะกรรมการที่ชัดเจนและเข็มแข็ง และมีคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการก�ำหนดกฎ กติการ่วมกันของคนในชุมชน
ในการจัดการ การบ�ำรุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนได้
อย่างแทจ้ ริง ชมุ ชนเขา้ มามสี ่วนร่วมในการจัดการทรพั ยากรในปา่ ชมุ ชนอยา่ งสมดุลและยั่งยนื
ดังนั้น การมีแนวทางและหลักเกณฑ์ที่เหมาะสม ในการให้สิทธิชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน จะท�ำให้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมน้ันเกิด
ความเปน็ ธรรม ลดความขัดแยง้ ระหว่างรฐั หนว่ ยงานรัฐ เจ้าหน้าที่กบั ชุมชน หรือระหวา่ งชมุ ชนกับชมุ ชนด้วยกนั เอง
หรือระหว่างชุมชนกับเอกชน เป็นต้น และการมีแนวทางและหลักเกณฑ์ท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทสังคมไทย
จะส่งผลท�ำให้การบังคับใช้สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีได้รับ
การรับรองและคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญน้ัน มีสภาพบังคับใช้ท่ีเกิดข้ึนจริงในทางปฏิบัติได้ซึ่งน�ำไปสู่เป้าหมาย
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมได้อย่างสมดุลและย่ังยืน ดังนั้น ผู้วิจัยท�ำการศึกษาและวิเคราะห์ถึง
แนวคิด รูปแบบและปัจจัยที่ส่งผลให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สภาพปัญหาการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชมุ ชน ทง้ั นเี้ พอ่ื หาแนวทางการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ บำ� รงุ รกั ษาและใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากร
ธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ และยง่ั ยืน กรณีป่าชุมชนของบ้านคลองหว้ ยหวาย

สำ�นักงานผตู้ รวจการแผ่นดิน 61

นิยามศัพท์

สิทธิชุมชน คือ เป็นสิทธิตามธรรมชาติในการใช้ทรัพยากรร่วมซ่ึงเป็นสิทธิของชุมชนในการมีส่วนร่วมใน
การจดั การ บำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรทไี่ มใ่ ชเ่ ปน็ การใชส้ ทิ ธใิ นการจดั การ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
ธรรมชาตใิ นลกั ษณะสว่ นของบคุ คลของประชาชนแตล่ ะคน และไมใ่ ชส่ ทิ ธขิ องรฐั ชมุ ชนสามารถใชอ้ ำ� นาจออกกฎเกณฑ์
ข้อตกลงของชุมชน ในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรโดยค�ำนึงถึงความเป็นธรรมในสังคม
ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคม จารีตประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนเพื่อให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน
ในการจัดการและใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ
ปัจจัยการมีส่วนร่วม คือ ปัจจัยท่ีส่งผลในการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือของบุคคลในชุมชน ในการจัดการ
บำ� รงุ รกั ษาและใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตใิ นการวางแผน การรบั รู้ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู การตดั สนิ ใจ ในการจดั สรร
การตดิ ตามประเมนิ ผล การก�ำหนดกฎกติกา ในการจดั การบำ� รุงรักษาและใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ
ความสมดลุ และยงั่ ยนื คอื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Development) คอื การพฒั นาทม่ี ดี ลุ ยภาพ
ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ซง่ึ จะตอ้ งเกอื้ กลู และไมเ่ กดิ ความขดั แยง้ ซงึ่ กนั และกนั โดยการพฒั นาเศรษฐกจิ
ให้ขยายตัวอย่างมีคุณภาพและแข่งขันได้จะต้องค�ำนึงถึงขีดจ�ำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีสามารถ
สงวนรักษาไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่างยาวนาน ใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยไม่
สง่ ผลเสยี ต่อความต้องการของสงั คมทั้งในปัจจุบนั และในอนาคต
ปา่ ชมุ ชน คอื เปน็ ขบวนการทางสงั คม หรอื การรวมตวั กนั ขององคก์ รประชาชนในระดบั ชมุ ชน และ/หรอื ระดบั
เครือข่ายภายในระบบนิเวศแห่งหน่ึง เพ่ือท�ำการใช้ประโยชน์และจัดการทรัพยากรดิน น้�ำ ป่า ซ่ึงถือเป็นทรัพย์สิน
ส่วนร่วมของท้องถ่ินอย่างยั่งยืนและเป็นธรรมบนฐานของระบบความคิด ภูมิปัญญา อุดมการณ์ และสิทธิชุมชน
ซึ่งเนน้ หลักการทางศลี ธรรมและความมัน่ คงในการยังชพี ของชมุ ชนเป็นสำ� คัญ

วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

1) เพอื่ ศึกษาและวิเคราะห์ถงึ แนวคดิ รูปแบบและปัจจยั ทสี่ ่งผลใหช้ มุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากร
ธรรมชาติ
2) เพื่อศกึ ษาและวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตขิ องชมุ ชน
3) เพ่ือวิเคราะห์หาแนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษาและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างสมดุลและยั่งยืน

แนวคดิ ทฤษฎที ี่เกยี่ วขอ้ ง

แนวคิดทฤษฎีท่ีส�ำคัญเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน กรณี
ศกึ ษาป่าชมุ ชน ดงั นี้

62 ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

1) แนวคิดสทิ ธชิ มุ ชน
สทิ ธชิ มุ ชนไมใ่ ชส่ ทิ ธใิ นการเปน็ เจา้ ของกรรมสทิ ธใิ์ นพนื้ ทนี่ น้ั พน้ื ทเ่ี หลา่ นน้ั กย็ งั เปน็ ของรฐั แตอ่ ำ� นาจหนา้ ที่
ในการดแู ลรกั ษาเปน็ ของชมุ ชนแลว้ ชมุ ชนสามารถทจ่ี ะออกกฎเกณฑแ์ ละระเบยี บตา่ งๆ เพอื่ พทิ กั ษส์ ทิ ธแิ ละพนื้ ทเี่ หลา่ นนั้
ใหค้ งอยู่ สิทธิชุมชนจะเกี่ยวขอ้ งกับสทิ ธิอ่นื ๆ ตามคตทิ ่มี ีอยใู่ นเชงิ คุณคา่ เชิงศลี ธรรมของสังคม สิทธชิ มุ ชนจะซอ้ นอยู่
ในเร่ืองสิทธิต่างๆ เช่น “สิทธิหน้าหมู่” คือ สิทธิของคนที่จะได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันในป่า ในที่ดิน อะไรต่างๆ หรือ
“สิทธิการใช้” สิทธิเหล่านี้เกิดขึ้นตามหลักท่ีว่า ทุกคนควรมีสิทธิในการยังชีพ สิทธิชุมชนจะเอ้ือต่อการพัฒนา
ท่เี ปน็ ธรรมและยัง่ ยืน (จตุพร หล้าใจ, 2550 อา้ งถึงใน อานนั ท์ กาญจนพนั ธุ์, 2542) ซง่ึ สิทธชิ มุ ชนเป็นสิทธริ ว่ มเหนอื
ทรพั ยส์ นิ ของชุมชน สมาชกิ ของชุมชนซงึ่ ทำ� หนา้ ที่ดูแลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตเิ ทา่ นัน้ จงึ มีสทิ ธิใช้และไดป้ ระโยชน์
สทิ ธชิ มุ ชนใหค้ วามสำ� คญั ของการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน ดงั นนั้ แมว้ า่ โดยทฤษฎี สมาชกิ
ของชุมชนทุกคนจะมีสิทธิตามธรรมชาติในการใช้ทรัพยากรส่วนรวมแต่ชุมชนก็สามารถออกกฎเกณฑ์โดยค�ำนึงถึง
ความเป็นธรรมทางสังคมเป็นส�ำคัญ สมาชิกทุกคนมีสิทธิในการใช้ทรัพยากรส่วนรวม แต่สิทธิการใช้ยังถูกก�ำหนด
ด้วยความยงั่ ยืนหรอื ความเป็นธรรมต่อระบบนิเวศดว้ ย (จตุพร หลา้ ใจ, 2550 อ้างถึงใน ยศ สันตสมบตั ,ิ 2542)
กฎหมายระหวา่ งประเทศท่ีสำ� คัญท่เี กี่ยวกบั การรับรองสิทธชิ ุมชน ได้แก่ (1) อนสุ ัญญาแรงงานระหวา่ ง
ประเทศฉบับที่ 169 ได้ก�ำหนดความรับผดิ ชอบของรฐั ในเรือ่ งสิทธขิ องชมุ ชนพ้ืนเมือง สิทธิการใช้จดั การและอนรุ กั ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ (2) ปฏิญญาแห่งเมืองริโอว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา ค.ศ. 1992 ได้ยอมรับหลักการ
ของการพัฒนาท่ีเกี่ยวข้องกับสิทธิชนพ้ืนเมืองกับสิทธิในที่ดินในหลักการข้อที่ 22 เร่ือง การจัดการทรัพยากร
โดยเปน็ การยอมรบั การมอี ยขู่ องสทิ ธชิ มุ ชนทอ้ งถน่ิ ดง้ั เดมิ และวฒั นธรรมของชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ดงั้ เดมิ ทจ่ี ะเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม
ในการจัดการทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน (3) อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ค.ศ. 1992
ไดค้ มุ้ ครองและการเขา้ ถงึ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรชวี ภาพมสี ว่ นทใ่ี ชค้ วามสำ� คญั แกบ่ ทบาทของชมุ ชนพนื้ เมอื ง
และชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ในการอนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งยง่ั ยนื (4) ปฏญิ ญาสากล
ของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของชนพนื้ เมือง ค.ศ. 1994 ระบุถงึ สทิ ธิมนุษยชนและเสรภี าพพืน้ ฐานทรี่ บั รองให้แก่
ชนเผา่ พนื้ เมอื ง ซงึ่ รวมถงึ สทิ ธกิ ารเสอื กตดั สนิ ใจอนาคตตนเอง สทิ ธกิ ารรวมกลมุ่ เปน็ เจา้ ของ การจดั การและการควบคมุ
ที่ดิน ดนิ แดน และทรัพยากรของตนเอง
2) ทฤษฎกี ารมีส่วนรว่ มของชมุ ชน
ไพรัตน์ เดชะรนิ ทร์ ไดก้ ล่าวถงึ ลกั ษณะการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา ดังน้ี (1) รว่ มท�ำการ
ศกึ ษา คน้ ควา้ ปญั หาและสาเหตขุ องปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในชมุ ชนรวมตลอดถงึ ความตอ้ งการของชมุ ชน (2) รว่ มคดิ หาและ

ส�ำ นกั งานผ้ตู รวจการแผน่ ดิน 63

สร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพ่ือแก้และลดปัญหาของชุมชนหรือเพื่อสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ท่ีมีประโยชน์ต่อชุมชน
หรือสนองความต้องการของชุมชน (3) รว่ มวางนโยบายหรือแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม เพ่อื ขจัดและแก้ไข
ปัญหาตามความต้องการของชุมชน (4) ร่วมตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีจ�ำกัดให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม
(5) รว่ มจดั หรอื ปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ ารงาน พฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล (6) รว่ มการลงทนุ ในกจิ กรรม
โครงการของชมุ ชนตามขดี ความสามารถของตนเองและของหนว่ ยงาน (7) รว่ มปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย แผนงาน โครงการ
และกจิ กรรมให้บรรลุตามเปา้ หมายท่ไี ดว้ างไว้ (8) ร่วมควบคุมตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรว่ มบำ� รุงรกั ษาโครงการและ
กิจกรรมทไ่ี ดท้ ำ� ไวโ้ ดยเอกชนและรัฐบาลให้ใชป้ ระโยชน์ตลอดไป (ไพรตั น์ เดชะรินทร,์ 2525)
3) แนวคดิ ของ Elinor Ostrom
รปู แบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตขิ อง Elinor Ostrom เปน็ แนวคดิ ในการจดั การทรพั ยากรรว่ ม
โดยให้ชุมชนผู้ใช้ทรัพยากรเป็นผู้เข้ามาบริหารจัดการ ควบคุมดูแล จัดสรรทรัพยากรธรรมชาติให้สอดคล้องวิถีชีวิต
ของแตล่ ะชุมชน
การกำ� หนดกตกิ า Elinor Ostrom พบวา่ สามารถจำ� แนกสทิ ธใิ นการจดั การทรพั ยากรออกเปน็ 5 ประเภท
ดังนี้ (1) สิทธิในการเข้าใช้ทรัพยากร (2) สิทธิในการใช้ประโยชน์จากระบบทรัพยากร (3) สิทธิในการจัดการ คือ
สทิ ธทิ อี่ นญุ าตใหผ้ มู้ สี ทิ ธสิ ามารถปรบั เปลย่ี นสภาพของระบบทรพั ยากรได้ รวมถงึ กำ� หนดรปู แบบการใชป้ ระโยชนจ์ าก
ทรพั ยากรดว้ ย (4) สทิ ธใิ นการกดี กนั คอื สทิ ธทิ กี่ ำ� หนดวา่ ใครสามารถเขา้ ใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบทรพั ยากรไดห้ รอื ไมไ่ ด้
และ (5) สิทธิในการขายหรือให้ยืมสิทธิทั้ง 4 ประเภท ก่อนหน้าน้ี ซ่ึงสิทธิแต่ละประเภทนี้ผู้กำ� หนดอาจไม่จ�ำเป็น
ต้องเป็นกลุ่มเดียวกันก็ได้ เช่น สิทธิบางประเภทชุมชนอาจเป็นผู้กำ� หนดในขณะท่ีสิทธิอีกประเภทอาจถูกก�ำหนด
โดยเจ้าหน้าท่รี ัฐ เปน็ ต้น (ชล บุนนาค, 2555 อา้ งถึงใน Ostrom Elinor, 1990) และ Ostrom ได้ออกแบบกติกา
ในการจดั การทรพั ยากรจะประสบความสำ� เรจ็ นน้ั ในลกั ษณะคงทนถาวรและยงั่ ยนื ตอ้ งใหช้ มุ ชนซงึ่ เปน็ ผใู้ ชท้ รพั ยากร
เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบกติกา ในการจัดการทรัพยากรร่วมไว้ 8 ประการ (ชล บุนนาค, 2555 อ้างถึงใน
Ostrom Elinor, 1990) ได้แก่ (1) ความชัดเจนของขอบเขต คอื ขอบเขตเก่ยี วกับผู้ใช้ คอื ชุมชนแยกแยะกนั เอง
ในชมุ ชนไดว้ า่ ใครคอื คนทมี่ หี รอื ไมม่ สี ทิ ธใิ นทรพั ยากรนน้ั และขอบเขตของทรพั ยากรมขี อบเขตชดั เจน สามารถแยกแยะ
ได้ระหว่างขอบเขตของระบบทรัพยากรท่ีชุมชนดูแลกับระบบนิเวศเชิงสังคมท่ีใหญ่กว่านั้น (2) ความสอดคล้อง คือ
ความสอดคล้องระหว่างกติกาว่าด้วยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร และบ�ำรุงรักษา ระบบทรัพยากรกับเง่ือนไข
ทางสังคมและส่ิงแวดล้อมในพื้นท่ี และความสอดคล้องกันระหว่างประโยชน์ท่ีสมาชิกจะได้ต้องสอดคล้องกับต้นทุน
ที่ลงไปด้วย (3) คนส่วนใหญ่ที่ได้รับผลจากการจัดการทรัพยากรมีสิทธิร่วมตัดสินใจและปรับปรุงกฎ กติกาในการ
จัดการทรัพยากร (4) การสอดส่องดูแล คือ มีการสอดส่องดูแลพฤติกรรมการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของ
ผใู้ ชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรและการบำ� รงุ รกั ษาระบบทรพั ยากรของผใู้ ชท้ รพั ยากรวา่ เปน็ ไปตามกตกิ าทว่ี างไวห้ รอื ไม่
และมีการสอดส่องดูแลสภาพของทรัพยากรอย่างสม�่ำเสมอ (5) การลงโทษอย่างค่อยเป็นค่อยไป คือ การสอดส่อง
ดแู ลแลว้ พบผกู้ ระทำ� ผดิ การลงโทษในครง้ั แรกๆ จะคอ่ นขา้ งเบามาก ในขณะทกี่ ารลงโทษผกู้ ระทำ� ผดิ ละเมดิ กฎซำ้� ซาก
จะมีความรุนแรงเพ่ิมขึ้น (6) มีกลไกในการจัดการความขัดแย้งระหว่างผู้ใช้กันเองหรือผู้ใช้กับเจ้าหน้าที่รัฐท่ีรวดเร็ว
และมตี น้ ทนุ ตำ่� (7) รฐั บาลรบั รแู้ ละใหส้ ทิ ธแิ กผ่ ใู้ ชท้ รพั ยากรในการวางกตกิ าการใชแ้ ละการจดั การทรพั ยากร (8) กตกิ า
และการจดั การทรพั ยากรเช่อื มโยงและสอดคล้องกับระบบที่ใหญ่กว่า

64 ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2559

วธิ กี ารด�ำเนินการวิจยั และสถานที่ท�ำการเก็บข้อมลู

การศึกษาคร้งั นเ้ี ปน็ การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ ไดศ้ กึ ษาค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
1. วธิ ีการด�ำเนนิ การวิจยั
การดำ� เนินการวจิ ัยเป็นการวิจยั เชงิ คณุ ภาพ โดยการใชว้ ธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู จากเอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง
ได้แก่ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในเรอ่ื งสทิ ธิชมุ ชนในการมีสว่ นร่วมจัดการบำ� รงุ รกั ษา
และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากภาคสนาม
ซึง่ เปน็ การสำ� รวจสภาพพื้นท่จี รงิ โดยใช้วิธกี ารสัมภาษณ์เชงิ ลกึ กบั ผู้ให้ข้อมลู หลัก ใช้แบบสัมภาษณแ์ บบก่งึ โครงสร้าง
แบบสมั ภาษณแ์ บบเจาะลกึ และใชก้ ารประชมุ กลมุ่ ระดมสมอง รวมทง้ั การสงั เกตจากการเขา้ รว่ มประชมุ กลมุ่ การประชมุ
ปฏิบตั กิ าร โดยทำ� การศกึ ษาระหว่างเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ถงึ เดอื นสงิ หาคม 2558
2. สถานท่ที �ำการเกบ็ ขอ้ มูล
ศกึ ษาชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวายตงั้ อยใู่ นเขตพนื้ ท่ี ตำ� บลแมเ่ ปนิ อำ� เภอแมเ่ ปนิ จงั หวดั นครสวรรค์ ซงึ่ เปน็
ปา่ ชุมชนประเภทป่าเบญจพรรณ มีพนื้ ทีป่ ่าจ�ำนวน 1,887 ไร่ ซึง่ เป็นผืนปา่ ทีม่ อี ายนุ านกวา่ 20 ปี ให้สิทธิของชมุ ชน
เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจดั การและอนรุ ักษ์พทิ ักษ์ป่า เพือ่ ปอ้ งกันการบกุ รุกปา่ จากนายทุน โดยการจัดการในรูปแบบ
คณะกรรมการปา่ ชุมชนร่วมกบั ชาวบ้านและเจ้าหนา้ ที่ปา่ ไมแ้ ละการสนบั สนนุ ของมลู นธิ ิสืบนาคะเสถยี ร
3. ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากรกลุ่มตัวอย่างแบ่งกลุ่มประชากรตามหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมในการจัดการ
ทรัพยากรป่าชุมชนบา้ นคลองห้วยหวาย กลมุ่ ประชากรตัวอย่าง ดังนี้ (1) ภาครัฐ เจา้ หน้าท่ขี องรฐั จ�ำนวน 19 คน
ไดแ้ ก่ นายอ�ำเภอ กำ� นนั ผใู้ หญบ่ ้าน นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบล ประธานสภาองคก์ ารบริหารส่วนต�ำบล สมาชิก
สภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล เจ้าหน้าท่ีส�ำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ท่ี 4 นครสวรรค์ เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ
แม่วงก์ เจา้ อาวาส/พระภิกษสุ งฆ์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียน/ครู (2) องคก์ รเอกชน จำ� นวน 3 คน ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าทีม่ ลู นธิ ิ
สืบนาคะเสถยี ร (3) ภาคประชาชน จ�ำนวน 62 คน ไดแ้ ก่ ผู้น�ำในการจดั การปา่ ชุมชน ประธานเครอื ข่ายและสมาชกิ
เครือข่ายป่าชุมชน คณะกรรมการป่าชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน อาสาสมัครพิทักษ์ ประชาชนบ้านคลองห้วยหวาย
ต�ำบลแมเ่ ปิน อำ� เภอแม่เปนิ จงั หวดั นครสวรรค์ รวมประชากรกลมุ่ ตวั อย่างท้งั ส้ิน 84 คน เพือ่ ให้ได้ขอ้ มลู ทีก่ ระจาย
ตามกลมุ่ ตัวอย่าง ผู้วจิ ัยใชว้ ิธกี ารเลอื กสมุ่ กลุม่ ตวั อยา่ งแบบเจาะจง

การวเิ คราะหข์ อ้ มูล

การวิเคราะห์ข้อมูลจะกระท�ำไปพร้อมกับการเก็บข้อมูลภาคสนาม ซ่ึงมีการวิเคราะห์จากแนวคิด ทฤษฎี
ท่ีเกี่ยวข้องมาอธิบาย โดยผู้วิจัยจะบันทึกข้อมูลจากการสังเกต การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการประชุมกลุ่ม
พร้อมกบั วิเคราะห์ข้อมลู จากเอกสาร แล้วน�ำข้อมลู จากการศึกษามารวบรวม และเรียบเรยี งขอ้ มูลตามประเด็นหลกั
ที่วางไว้เพ่ือตอบค�ำถามการวิจัย และสรุปความสัมพันธ์และความเช่ือมโยงของข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
เชิงบรรยาย

สำ�นักงานผตู้ รวจการแผ่นดิน 65

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั

1) ทำ� ใหท้ ราบแนวคดิ รปู แบบและปจั จยั ทส่ี ง่ ผลใหช้ มุ ชนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การบำ� รงุ รกั ษาและใชป้ ระโยชน์
ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องบ้านคลองหว้ ยหวาย
2) ท�ำใหท้ ราบสภาพปัญหาในการจัดการบ�ำรุงรักษาและใช้ประโยชนท์ รัพยากรธรรมชาตขิ องชมุ ชน
3) เพอื่ ไดแ้ นวทางและหลกั เกณฑก์ ารมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชนในการจดั การบำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากร
ธรรมชาติ
4) เพอ่ื นำ� เสนอชมุ ชนตน้ แบบในการใหส้ ทิ ธกิ บั ชมุ ชน มสี ว่ นรว่ มในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ
และยง่ั ยืน กรณีปา่ ชุมชน

ผลการศึกษา

จากผลการศกึ ษา ผู้วิจยั ก�ำหนดประเดน็ ผลการศึกษาตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย และใชว้ ิธีการการศกึ ษา
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2550 และวธิ ีการภาคสนาม
โดยวิธีการส�ำรวจสภาพพ้ืนท่ีจริงเพื่อให้ทราบถึงลักษณะท่ัวไปของพื้นที่ท่ีท�ำการศึกษา ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการประชุมกลุ่มระดมสมอง เพื่อวิเคราะห์หา
แนวความคดิ ปจั จัย รูปแบบทส่ี ่งผลใหส้ ิทธขิ องชมุ ชนในการมสี ว่ นร่วมในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างสมดลุ
และยง่ั ยืน กรณีป่าชมุ ชนบ้านคลองห้วยหวาย ดงั น้ี
1. สทิ ธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรงุ รักษา และใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม
สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม ผวู้ ิจัยแบง่ ประเด็นผลการวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง 2 ประเดน็ คือ ตามสทิ ธชิ มุ ชนในการมสี ่วนร่วมในการจดั การ
บำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช
2550 และสิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กรณี
ปา่ ชุมชนบ้านคลองหว้ ยหวาย ดงั น้ี

66 ปีท่ี 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2559

1.1 สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ้ มตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้มีการขยายบุคคลซ่ึงรวมเป็น “ชุมชน
ชุมชนท้องถ่ิน ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม” รวมทั้งเพ่ิม “ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ” และบญั ญตั ไิ วใ้ นรา่ งรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช (ฉบบั ปี 2559) แตใ่ นรา่ งรฐั ธรรมนญู
กลบั ลดทอนบุคคลเหลือเพียง “บุคคลและชมุ ชน” อีกทัง้ ในสว่ นของ “การจดั การบ�ำรุงรกั ษา และการใช้ประโยชน์
จากทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั ความหลากหลายทางชวี ภาพ” โดยกำ� หนดใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั วา่ รฐั ตอ้ ง
อนุรักษ์ คุ้มครอง บ�ำรุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
สงิ่ แวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพใหเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื แตไ่ มไ่ ดใ้ หส้ ทิ ธิชุมชน เปน็ สทิ ธขิ องบคุ คล
และชุมชนท้องถ่ิน ในเน้ือหาของร่างรัฐธรรมนูญเอื้อต่อการท�ำให้สิทธิชุมชนกลับสู่อ�ำนาจรัฐเป็นรวมอ�ำนาจไว้ท่ี
ส่วนกลาง ซ่ึงขัดต่อหลักการกระจายอ�ำนาจสู่ท้องถิ่น ระบบการรวมศูนย์อ�ำนาจของรัฐ ท�ำให้สิทธิชุมชนไม่ได้
รบั การรบั รองคมุ้ ครอง ทำ� ใหข้ าดหลกั ประชาธปิ ไตยแบบมสี ว่ นรว่ มทใี่ หช้ มุ ชนหรอื บคุ คลเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาติ ก�ำหนดกติกาของชุมชนด้วยตนเองและในขณะเดียวกันรัฐธรรมนูญไม่ได้ก�ำหนดขอบเขตและ
รายละเอียดถึงสิทธิการจัดการบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม จึงท�ำให้ขอบเขต
แห่งสิทธิชุมชนยังไม่มีความชัดเจน ซึ่งท�ำให้เกิดปัญหาข้อโต้แย้งกันระหว่างประชาชนในพื้นที่กับหน่วยงานของรัฐ
ไม่มีกฎหมายล�ำดับรองท่ีก�ำหนดรายละเอียดให้สอดคล้องกับกฎหมายแม่บท ท�ำให้สิทธิชุมชนมีสถานะเป็นเพียง
หลกั การลอยๆ หรอื กฎหมายขาดสภาพบังคบั ที่ชัดเจนไม่สามารถใช้ได้ผลในทางปฏบิ ตั ิได้อยา่ งแทจ้ รงิ
สทิ ธชิ มุ ชนในการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การบำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พบว่า รัฐธรรมนูญให้สิทธิชุมชนในการมี
ส่วนร่วมในการจัดการการบ�ำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีดี แต่ทั้งนี้
รฐั ธรรมนญู ยงั ไมส่ ามารถนำ� ไปใชเ้ ปน็ รปู ธรรมใหไ้ ด้ ดงั นนั้ การใหช้ มุ ชน ประชาชนมสี ว่ นรว่ มเขา้ จดั การ การบำ� รงุ รกั ษา
และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม โดยชมุ ชนสามารถก�ำหนดกติกาในการจดั การบำ� รงุ รักษา
และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรป่าชมุ ชนดว้ ยตนเองเพือ่ สอดคล้องกับสังคม วถิ ีชวี ิตจารีตประเพณีของชมุ ชนแตล่ ะที่
ซ่ึงยังไมม่ ีกฎหมายบัญญตั ไิ วโ้ ดยชัดเจนหรอื ออกมารองรบั การก�ำหนดกตกิ าในการจัดการการบำ� รงุ รักษา และการใช้
ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ การจดั ตงั้ คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนไว้ จึงทำ� ให้การจัดตง้ั กตกิ าอาจไมส่ อดคลอ้ งกบั
กฎหมายหรอื ไมม่ กี ฎหมายรองรบั และขณะเดยี วกนั การจดั ตง้ั คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนเปน็ การจดั ตง้ั ในรปู แบบทไี่ มม่ ี
กฎหมายรองรบั การใหอ้ ำ� นาจหนา้ ทใี่ นการจดั การ การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตโิ ดยตรง
ดงั นั้น การมีสว่ นร่วมในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติน้นั ควรมีกฎหมายกลาง เช่น พระราชบัญญตั ิ หรือข้อบญั ญัติ
ท้องถ่ินท่ีให้อ�ำนาจ หน้าที่ของชุมชนในการก�ำหนดกติกาของชุมชนในการจัดการป่าชุมชน ก�ำหนดถึงที่มา อ�ำนาจ
หนา้ ที่ องค์ประกอบคณะกรรมการจัดการป่าชุมชนไวใ้ หช้ ดั เจน

สำ�นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดนิ 67

ในปจั จบุ นั คณะกรรมการปา่ ชมุ ชนทตี่ งั้ ขนึ้ ไมม่ อี ำ� นาจใชม้ าตรการบงั คบั ในการใหเ้ ปน็ ไปตามกตกิ า
ของป่าชุมชนทตี่ งั้ มา เปน็ เพียงคณะกรรมการทีม่ ีหน้าทีใ่ นการสง่ เสรมิ สนับสนุนการมีส่วนรว่ มในจัดการบำ� รุงรกั ษา
และการใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาตจิ ากปา่ ชมุ ชนเทา่ นน้ั เปน็ เพยี งคณะกรรมการทมี่ หี นา้ ทใี่ นการบงั คบั ใหเ้ ปน็ ไป
ตามมาตรการทางสังคมที่ก�ำหนดไว้เท่าน้ัน ดังนั้น เห็นควรท่ีต้องมีกฎหมายกลางท่ีก�ำหนดให้อ�ำนาจหน้าท่ีของ
คณะกรรมการป่าชุมชนใช้มาตรการบังคับทางกฎหมายได้ด้วย กฎ กติกาป่าชุมชนจึงเป็นเพียงข้อบังคับร่วมกันของ
ประชาชนในบ้านคลองห้วยหวายเท่านั้น หากมีการฝ่าฝืนกฎ กติกาดังกล่าวไม่อาจถือได้ว่าเป็นการกระท�ำโดยการ
ฝ่าฝนื กฎหมาย กฎ กติกาป่าชุมชนจงึ ไมม่ สี ภาพบงั คับตามกฎหมาย
1.2 สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
และสงิ่ แวดล้อม กรณีป่าชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย
ป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายเป็นป่าชุมชนท่ีมีการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ป่าชุมชนภายใต้
หลักการของการรักษาระบบนิเวศของชุมชนควบคู่ไปกับการธ�ำรงรักษาไว้ซ่ึงความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณี
ของชมุ ชนในเวลาเดยี วกนั โดยมลี กั ษณะของการบรหิ ารจดั การภายใตก้ ฎ กตกิ าของปา่ ชมุ ชน ดำ� เนนิ การโดยรปู แบบ
ของคณะกรรมการป่าชุมชนและชาวบ้านร่วมกัน ในขณะเดียวกันก็ได้ท�ำการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงาน
ภาครัฐและเอกชน กล่าวคือ ชาวบ้านในชุมชนท�ำหน้าท่ีเป็นหูเป็นตาให้กับชุมชนและหาข่าวให้กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้
ออกลาดตระเวนร่วมกบั เจ้าหน้าท่ีปา่ ไมท้ ำ� ใหก้ ารตรวจตราและป้องปรามการลักลอบตดั ไม้ท�ำลายปา่ มีความเขม้ แขง็
และมีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้นึ ทั้งยังท�ำการแลกเปล่ียนความร้แู ละประสบการณร์ ะหว่างกนั อยเู่ สมอ
หลังจากการจัดตั้งป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายส�ำเร็จ ภาครัฐได้มอบสิทธิในการจัดการดูแล
และใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรในปา่ ชมุ ชนใหเ้ ปน็ ของประชาชนในพนื้ ท่ี สว่ นรฐั มฐี านะเปน็ เพยี งผกู้ ำ� กบั ดแู ลและควบคมุ
กตกิ าและการดำ� เนนิ การเทา่ นนั้ ภายใตห้ ลกั การของสทิ ธชิ มุ ชนในการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การบำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชน์
จากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื ตามบทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศกั ราช 2550 โดยชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวายมสี ทิ ธใิ นการจดั การทรพั ยากรปา่ ชมุ ชนในดา้ นตา่ งๆ ทงั้ ในดา้ นสทิ ธิ
ในการเขา้ ใชท้ รพั ยากร สทิ ธใิ นการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร สทิ ธใิ นการจดั การ สทิ ธใิ นการกดี กนั หรอื ปอ้ งกนั หวงแหน
ทรัพยากรจากบุคคลผู้ท่ีท�ำลายระบบนิเวศของป่า สิทธิดังกล่าวน้ี ถือเป็นสิทธิร่วมกันของประชาชนในชุมชน
บา้ นคลองหว้ ยหวายซงึ่ อยใู่ กลช้ ดิ ปา่ มากทส่ี ดุ ยอ่ มเขา้ ใจและผกู พนั กบั ปา่ ดที ส่ี ดุ ซงึ่ เหมาะสมทจ่ี ะเปน็ ผทู้ บ่ี รหิ ารจดั การ
ป่าชุมชนใหเ้ ปน็ สมบัติของชาติสืบไป การให้สทิ ธดิ งั กลา่ วของภาครัฐทำ� ให้การดูแลรักษาทรพั ยากรป่าไมใ้ นภาพรวม
ของป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน เน่ืองจากเป็นการลดภาระเรื่องบุคลากรและ
คา่ ใชจ้ า่ ยของรฐั ในการลาดตระเวนและจบั กมุ ผลู้ กั ลอบตดั ไมแ้ ละจบั สตั วป์ า่ และสามารถดแู ลไดท้ ว่ั ถงึ มากขนึ้ เปน็ การ
ร่วมมือกันท�ำงานระหว่างประชาชนและเจ้าหน้าท่ีของรัฐในการด้านการจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
เชิงบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการอนุรักษ์และทวงคืนผืนป่าให้กลับมาเป็นของชาติมากท่ีสุด
และชมุ ชนบ้านคลองห้วยหวายได้ก�ำหนดกฎเกณฑ์ ผมู้ สี ทิ ธิ และขอบเขตการใชป้ ระโยชน์จากป่าชุมชน โดยกำ� หนดให้
คนในชุมชนที่เป็นสมาชิกป่าชุมชนเท่านั้นที่มีสิทธิเข้าไปใช้ประโยชน์ เน่ืองจากมีแนวคิดว่าคนในชุมชนที่เป็นสมาชิก
ปา่ ชมุ ชนเปน็ ผจู้ ดั การ ดแู ล บำ� รงุ รกั ษา จงึ เปน็ มผี มู้ สี ทิ ธเิ ขา้ ไปใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรจากปา่ ชมุ ชน โดยการใชป้ ระโยชน์
จากผลผลิตจากปา่ เช่น การหาของป่า การเกบ็ เห็ด หาหน่อไมต้ ามฤดูกาล เป็นตน้ แต่ไมอ่ นญุ าตใหส้ มาชิกชมุ ชน
ใชป้ ระโยชนจ์ ากการตดั ไม,้ ขดุ ตอ, ลา่ สตั วใ์ นเขตปา่ ชมุ ชน และไดอ้ นญุ าตใหช้ มุ ชนภายเขา้ มาใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ชมุ ชน
โดยก�ำหนดให้ชุมชนภายนอกตอ้ งเสยี คา่ บ�ำรุงรักษาป่าเพอ่ื น�ำเงินเขา้ สมทบกองทนุ ป่าชมุ ชน

68 ปีท่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2559

การมีส่วนร่วมในการจัดการบ�ำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุล
และยั่งยืนของชุมชนบ้านคลองห้วยหวาย มีจุดแข็งของการมีส่วนร่วมประชาชนในพื้นท่ีท่ีท�ำหน้าที่ได้อย่างเข้มแข็ง
ในทุกมิติ โดยการแบ่งหน้าท่ีกันท�ำงานเป็นฝ่ายภายใต้การควบคุมและก�ำกับดูแลจากผู้ใหญ่บ้านอย่างชัดเจน
โดยยดึ โยงอยกู่ บั กฎ กตกิ าของปา่ ชมุ ชนอยา่ งเครง่ ครดั ความสำ� เรจ็ เหลา่ นจ้ี ะเกดิ ขนึ้ ไดจ้ ากความรว่ มมอื จากประชาชน
และประชาชนมีจิตส�ำนึก รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตน และหมั่นศึกษาหาความรู้จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
อยู่เสมอในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น ให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ของรัฐในการจัดการป่าชุมชนร่วมกัน จะท�ำให้
การจัดการบ�ำรุงรักษา และการใชป้ ระโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติในปา่ ชมุ ชนมคี วามสมดลุ และยงั่ ยืนสืบตอ่ ไป
2. ปัจจัยท่ีส่งผลในการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
กรณปี า่ ชุมชน บ้านคลองหว้ ยหวาย
จากการศึกษาถงึ เอกสารที่เก่ียวข้อง และวธิ ีการภาคสนาม โดยการลงพนื้ ทจี่ รงิ ส�ำรวจสภาพพนื้ ท่ีชุมชน
และการสัมภาษณ์ และการประชุมกลุ่ม คนในชมุ ชน ผนู้ �ำชมุ ชน คณะกรรมการป่าชุมชน เจ้าหน้าทข่ี องรฐั ที่เกยี่ วข้อง
สามารถวเิ คราะหถ์ งึ ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลในการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ บำ� รงุ รกั ษา และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ
กรณปี ่าชุมชน บ้านคลองหว้ ยหวาย ดงั น้ี
2.1 ปัจจัยที่ส่งผลการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
กรณปี า่ ชุมชนบ้านคลองหว้ ยหวาย
ปจั จยั ทส่ี ง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มจดั การปา่ ชมุ ชน บา้ นคลองหว้ ยหวาย โดยแบง่ เปน็ ปจั จยั ภายในชมุ ชน
และปัจจัยภายนอก ดงั น้ี
2.1.1 ปัจจัยภายในชุมชน ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กรณีป่าชุมชน
บ้านคลองหว้ ยหวาย ดังนี้
1) จารตี ประเพณี ปจั จยั ทีส่ ง่ ผลใหม้ ีส่วนรว่ มในการจดั การ การบ�ำรงุ รกั ษา และการใช้
ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ กรณปี า่ ชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย ไดน้ ำ� จารตี ประเพณแี ละการนบั ถอื สง่ิ ยดึ เหนย่ี ว
จิตใจ คือ ศาสนาเข้ามามีส่วนสง่ เสริม การบวชป่า ซ่งึ จะมพี ระสงฆม์ าท�ำหนา้ ท่ปี ระกอบพิธีกรรมโดยนำ� เอาผา้ เหลือง
มาผูกทต่ี ้นไม้
2) ความสามัคคีและความร่วมมือกันของคณะกรรมการป่าชุมชนและชาวบ้านภายใน
ชุมชน ร่วมมือกันในการสอดส่องดูแลป่าชุมชน แก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนของป่าชุมชน และคนในชุมชนไม่แตกแยก
ด้านความคดิ ทางการเมอื ง
3) การด�ำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับป่าชุมชนทุกกระบวนการคนในชุมชนมีส่วนร่วม
การด�ำเนนิ กิจกรรมเกี่ยวกับปา่ ชุมชนทุกกระบวนการคนในชุมชน โดยผ่านการมีส่วนร่วมการทำ� ประชาคมในชมุ ชน
4) ผู้น�ำของชุมชนมีความเข้มแข็งและเป็นตัวอย่างที่ดี คือ ผู้ใหญ่บ้านที่เล็งเห็นถึง
ความสำ� คญั ของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นปา่ ชมุ ชน ทำ� ใหป้ ระชาชนมคี วามไวว้ างใจ พรอ้ มทจี่ ะใหก้ ารสนบั สนนุ กจิ กรรม
ของชมุ ชน

ส�ำ นักงานผตู้ รวจการแผ่นดิน 69

5) กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน จากประสบการณ์ท่ีล้มเหลวในอดีตท�ำให้มีบทเรียน
ที่เรียนรู้พร้อมกันของคนในชุมชน รู้ถึงข้อบกพร่องของตัวเอง จึงท�ำให้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติจาก
ผู้ท่เี คยบุกรกุ ท�ำลายป่ามาเป็นฝ่ายเดียวกันกับชาวบา้ นทอ่ี นรุ กั ษ์ บำ� รุงรกั ษาป่า
6) จิตส�ำนึกและประโยชน์ร่วมกัน จิตส�ำนึกของประชาชนในพ้ืนท่ีในการที่จะอนุรักษ์
บ�ำรงุ รกั ษา ทรพั ยากรธรรมชาติในปา่ ชุมชนร่วมกัน
2.1.2 ปัจจัยภายนอก ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กรณีป่าชุมชน
บ้านคลองหว้ ยหวาย ดังนี้
1) ด้านนโยบาย นโยบายของรัฐจากส่วนกลางเป็นส่วนส่งเสริมกลไกของหน่วยงานรัฐ
ขบั เคลอื่ นตามนโยบายของรฐั จากกรณคี ำ� สงั่ ของคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาตทิ ี่ 64/2557 เรอื่ ง การปราบปรามและ
การหยดุ ยง้ั การบกุ รกุ ทำ� ลายทรพั ยากรปา่ ไม้ ซงึ่ เปน็ นโยบายทกี่ ำ� หนดถงึ แนวทางการจดั การผกู้ ระทำ� ผดิ ในการบกุ รกุ
ทำ� ลายทรพั ยากรป่าไมไ้ ว้ชัดเจน จงึ ท�ำใหร้ ะบบกลไกไปสูก่ ารปฏิบัติงานของหนว่ ยงานรัฐหรอื เจ้าหน้าทรี่ ฐั มแี นวทาง
การปฏิบตั ิงานเกี่ยวกบั การจัดการดูแล บ�ำรงุ รกั ษา และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาติ การชดั เจนมากขึ้น
2) ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม การใหส้ ทิ ธชิ มุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบำ� รงุ รกั ษาตอ้ งให้
ประชาชนสามารถได้ใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตจิ ากปา่ ชมุ ชนได้ดว้ ย ซึ่งสอดคลอ้ งด้านเศรษฐกจิ และสงั คม
เพอ่ื การด�ำรงชีพของคนในชมุ ชน
3) การบูรณาการในการจัดการ บ�ำรุงรักษาและใช้ประโยชน์ทรัพยากร ป่าชุมชน
บ้านคลองห้วยหวาย มีบูรณาการการท�ำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
โดยหน่วยงานภาครัฐให้การส่งเสริมในการจดทะเบียนจัดต้ังป่าชุมชน ส่งเสริมองค์ความรู้ในการจัดการป่าชุมชน
ส่งเสริมการก�ำหนด กฎ กติกา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการส่งเสริมการจัดตั้งคณะกรรมการป่าชุมชน
ส่วนภาคเอกชน มูลนิธิสืบนาคะเสถียรให้การส่งเสริมความรู้ด้านบริหารจัดการป่าชุมชน องค์ความรู้การจัดการ
บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน และภาคประชาชนให้ความร่วมมือในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และ
ใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ชุมชนในทกุ ๆ ด้าน
3. รูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กรณี
ปา่ ชมุ ชน บ้านคลองห้วยหวาย
รูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กรณีป่าชุมชน
บ้านคลองห้วยหวาย การมีส่วนร่วมเร่ิมต้ังแต่กระบวนการเร่ิมแรกจนถึงส้ินสุด มีรูปแบบท่ีริเร่ิมต้ังแต่มีการปลูก
จิตส�ำนึกให้ชาวบ้าน รวมทั้งเยาวชน รู้จักภาระหน้าที่ของตนที่จะต้องท�ำการดูแลรักษาป่าชุมชนอย่างเข้มแข็ง
ผ่านการเรียกประชุมหมู่บ้านและผ่านกิจกรรมต่างๆ ของทางหมู่บ้าน ซึ่งคนในชุมชนทุกคนมีบทบาทในการจัดการ
ทรพั ยากรปา่ ชมุ ชน เชน่ จดั ทมี ลาดตระเวน เฝา้ ระวงั หาขา่ ว การรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารจากภาครฐั ภาคเอกชน ผนู้ ำ� ชมุ ชน
องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ การจดั การปา่ ชมุ ชนการดำ� เนนิ กจิ กรรมเกย่ี วกบั ปา่ ชมุ ชน มกี ารประชาคม และการมสี ว่ นรว่ ม
การรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสาร จากภาครฐั ภาคเอกชน ผนู้ ำ� ชมุ ชน องคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ รปู แบบการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ
บำ� รุงรกั ษา และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ กรณปี า่ ชมุ ชนบา้ นคลองห้วยหวาย ดังนี้

70 ปที ี่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

1) การมสี ว่ นรว่ มทำ� การศกึ ษา คน้ ควา้ ปญั หาและสาเหตขุ องปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชมุ ชน ศกึ ษาความตอ้ งการ
ของชุมชนในการจดั การ การบำ� รงุ รักษาและใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรปา่ ชมุ ชน
2) การมสี ว่ นรว่ มคดิ หาและสรา้ งรปู แบบการจดั การปา่ ชมุ ชนใหเ้ กดิ ความสมดลุ และยงั่ ยนื และมวี ธิ กี าร
แก้ไขปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นปา่ ชมุ ชน ภายใต้กฎ กติกาปา่ ชมุ ชน
3) การมีส่วนร่วมกันวางนโยบาย ก�ำหนดแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมเก่ียวกับการจัดการ
บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน ซึ่งคนในชุมชนทุกคนเข้ามามีบทบาท รวมถึงเสนอแนะนโยบายด้าน
การจัดการป่าชุมชน จัดท�ำแผนงานที่ชัดเจน โดยแบ่งออกเป็นหลายระยะต้ังแต่แผนงานระยะส้ัน ระยะกลาง และ
ระยะยาว ท�ำให้การบรหิ ารงานมีทิศทางและกรอบการบรหิ ารจดั การป่าชมุ ชนที่ยง่ั ยนื และมปี ระสิทธภิ าพ
4) การมีส่วนร่วมตัดสินใจในรูปแบบการท�ำประชาคม การท�ำกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการการใช้
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรในปา่ ชุมชนทมี่ อี ยา่ งจ�ำกดั ให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรว่ มมากทส่ี ุด
5) การมสี ว่ นรว่ มปรบั ปรงุ ระบบการบรหิ ารงาน ปรบั ปรงุ กฎ กตกิ าการจดั การปา่ ชมุ ชนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
สอดคลอ้ งกับวิถชี ีวติ ของชมุ ชน โดยมีการประชุมประจ�ำเดอื นของชมุ ชนทุกเดอื น
6) การมีส่วนร่วม บริจาคสมทบทุน กองทุนเพื่อท�ำกิจกรรมดูแลป่าชุมชนตามขีดความสามารถ
ของคนในชมุ ชน มงี บประมาณและการสนับสนุน ส�ำหรับการดำ� เนินกจิ กรรมในป่าชมุ ชนบ้านคลองหว้ ยหวายเนน้ การใช้
งบประมาณจากภายในชุมชนเป็นหลัก ซึ่งมาจากคนและกองทุนต่างๆ ภายในชุมชนและจากหน่วยงานภายนอก
เพือ่ สนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการ
7) การมสี ว่ นรว่ มปฏบิ ตั ติ ามนโยบาย แผนงาน โครงการ และกจิ กรรมทเ่ี กย่ี วกบั ปา่ ชมุ ชนตามทก่ี ำ� หนด
และวางแผน เพือ่ ใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมายท่ไี ด้วางไว้ คนในชุมชนมีสว่ นร่วมท�ำกจิ กรรมเกี่ยวกบั ป่าชุมชน เช่น ปลกู ปา่
ทดแทน ตรวจตรา ลาดตระเวน สอดสอ่ งดแู ลการลักลอบตดั ไม้ ดแู ลแนวกันไฟ ท�ำฝายทดน�้ำ บวชปา่ และการเขา้ มา
มีส่วนร่วมในรูปแบบของคณะกรรมการป่าชุมชน สมาชิกป่าชมุ ชน
8) การมีสว่ นร่วมควบคมุ ติดตาม ประเมนิ ผล และร่วมบ�ำรุงรักษาป่าชุมชน ในรูปแบบคณะกรรมการ
ป่าชุมชน โดยมีการประชุมติดตาม ประเมินผลการด�ำเนินงานการจัดการป่าชุมชนของคณะกรรมการป่าชุมชน
ทุกๆ เดอื น

ส�ำ นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดิน 71

4. การมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ
และย่งั ยืน กรณปี า่ ชุมชนบ้านคลองหว้ ยหวาย
จากผลการศึกษา ประชาชนชุมชนบ้านคลองห้วยหวายมีความหวงแหนป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวาย
เนอื่ งจากเลง็ เหน็ ประโยชนข์ องการมปี า่ ชมุ ชนในฐานะทเี่ ปน็ แหลง่ อาหารตามธรรมชาตเิ ปรยี บเสมอื นซปุ เปอรม์ ารเ์ กต็
สามารถนำ� ไปใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ในครวั เรอื นทำ� ใหล้ ดภาระเรอื่ งคา่ ใชจ้ า่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี หากปา่ ชมุ ชนหมดไปยอ่ มกอ่ ใหเ้ กดิ
ผลกระทบต่อการด�ำรงชีพของประชาชนภายในพ้ืนที่ท�ำให้ต้องมีภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น เกิดภาวะ
ความแห้งแล้งจากการไม่มีป่าไม้ การที่ประชาชนในชุมชนบ้านคลองห้วยหวายมีจิตส�ำนึกหวงแหนในทรัพยากร
ธรรมชาติในป่าชุมชน ส่งผลทุกคนช่วยกันท�ำหน้าท่ีสอดส่องเป็นหูเป็นตาสอดส่องคนท่ีมาใช้ประโยชน์จากป่าชุมชน
คอยตดิ ตามความเคลอื่ นไหวตา่ งๆ ในปา่ ชมุ ชนและเปน็ แหลง่ ขา่ วใหก้ บั ทางราชการ รว่ มทำ� กจิ กรรมออกลาดตระเวน
พน้ื ทรี่ ่วมกับเจา้ หนา้ ที่ป่าไมอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง ท�ำให้การอนุรกั ษป์ า่ ชมุ ชนมีความเข้มแข้ง ส่งผลต่อความอุดมสมบรู ณข์ อง
ทรัพยากรธรรมชาตใิ นป่าชมุ ชนมั่นคงและยั่งยืนสบื ต่อไปยังคนรุ่นตอ่ ไปในอนาคต
ความสมดลุ และยง่ั ยนื ในการมสี ว่ นรว่ มในการจดั การ การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
ธรรมชาติใหเ้ กดิ ความสมดลุ และยงั่ ยนื ดงั นี้
1) “รกั ษาป่าเดมิ เสริมป่าใหม่ และสร้างความเข้าใจที่ดีและใชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั ” คือ การทำ� ใหป้ า่ ไม้
ที่มีอยู่เดิมถูกท�ำลายน้อยลงที่สุด โดยการเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าชุมชนให้มีมากข้ึน และสร้างจิตส�ำนึกให้คนในชุมชนและ
รอบนอกพื้นที่ชุมชนมีจิตส�ำนึก และความเข้าใจในการใช้ประโยชน์ร่วมกันในทรัพยากรป่าชุมชน การปลูกป่าให้มี
จ�ำนวนเพิ่มมากข้ึน และช่วยกันดูแลป่าที่มีอยู่เดิมให้คงอยู่ ขณะเดียวกันต้องรักษาป่าให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้ประโยชน์
จากป่าชมุ ชนซึ่งนำ� ไปสู่การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดุลและย่ังยนื ได้
2) สรา้ งความตระหนกั ถงึ ผลกระทบจากการใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ชมุ ชนทไี่ มม่ วี ธิ กี ารจดั การ บำ� รงุ รกั ษา
และการจ�ำกัดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าชุมชนท่ีใช้หมดไป ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อการด�ำรงชีพของ
ประชาชนภายในพ้ืนท่ีต้องมีภาระค่าใช้จ่ายในการด�ำรงชีพเพิ่มมากขึ้น เพราะป่าเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติ
3) ความสมดุล คอื มองวิถชี วี ติ มองทกุ มิติ ทกุ คนอยู่รว่ มกบั ป่าได้ สมดุลดา้ นมติ ิเศรษฐกจิ คนกบั ป่า
ตอ้ งสมดลุ กนั การแสวงหาประโยชนจ์ ากทรพั ยากรจากปา่ พอเหมาะพอควร ไดป้ ระโยชนจ์ ากปา่ พอสมควร ตอ้ งเยยี วยา
ความเสยี หายใหช้ มุ ชน สว่ นคำ� วา่ “ยง่ั ยนื ” คอื สคู่ นรนุ่ หลงั สบื ทอดเจตนารมณ์ โดยเปน็ การสบื ทอดความคดิ แนวคดิ
เป็นปจั จัยสำ� คัญ (คนเปน็ ปัจจัยสำ� คญั ) ปลกู ฝงั แนวคิดอนรุ กั ษ์ อดุ มการณ์
4) ความสมดุล คือ รักษาป่าเท่าท่ีมีให้คงอยู่ คนไม่อดอยาก สามารถด�ำรงชีพได้โดยขึ้นอยู่กับ
กระบวนการจดั การ “ยงั่ ยนื ” คอื มวี ธิ กี ารสรา้ งคนตอ้ งสรา้ งพน้ื ทหี่ ากนิ ของตวั เอง พง่ึ พาตนเองไดม้ ากขน้ึ คนมจี ติ สำ� นกึ
มากขนึ้ รบกวนธรรมชาตใิ หน้ ้อยลง ซ่งึ ภาครฐั มีหน้าท่ใี นการสง่ เสริมความร้ใู นการบริหารจดั การป่าให้กับประชาชน
มากขน้ึ

72 ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - มิถนุ ายน 2559

5. แนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการ
บ�ำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน กรณีป่าชุมชน
บา้ นคลองห้วยหวาย
จากหลักการการจัดการป่าชุมชนที่ถือว่า
ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ส�ำคัญท่ีเอ้ืออ�ำนวย
ประโยชน์ต่อมนุษยชาติทั้งทางตรงและทางอ้อม
เมื่อมีการขยายตัวของจ�ำนวนประชากร การพัฒนา
การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง ทำ� ให้
มกี ารใชส้ อยทรพั ยากรปา่ ไมเ้ พม่ิ ขนึ้ พน้ื ทปี่ า่ ไมถ้ กู บกุ รกุ
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ระบบนเิ วศ
และสิ่งแวดล้อมโดยส่วนรวม จึงมีแนวคิดแสวงหา
แนวทางในการจัดการป่าชุมชนที่เหมาะสมโดยให้ความส�ำคัญกับชาวบ้านที่อยู่ใกล้ชิดป่ามากที่สุด เพ่ือรักษา
ผลประโยชน์ของชาวบ้านในรูปแบบป่าชุมชน ป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายเป็นป่าชุมชนที่มีการดูแลรักษาและ
ใช้ประโยชน์ที่ยืนอยู่บนหลักการพื้นฐานของการจัดการป่าชุมชน เน่ืองจากอยู่ภายใต้หลักการของการรักษา
ระบบนิเวศของชุมชนควบคู่ไปกับการธ�ำรงรักษาไว้ซ่ึงความเช่ือ วัฒนธรรมและประเพณีของชุมชนในเวลาเดียวกัน
โดยมลี กั ษณะของการบรหิ ารจดั การภายใตก้ ฎ กตกิ าของปา่ ชมุ ชน ดำ� เนนิ การโดยรปู แบบของคณะกรรมการปา่ ชมุ ชน
และชาวบ้านร่วมกัน ในขณะเดียวกันก็ได้ท�ำการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน กล่าวคือ
ชาวบ้านในชุมชนท�ำหน้าท่ีเป็นหูเป็นตาให้กับชุมชนและหาข่าวให้กับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ ร่วมออกลาดตระเวนร่วมกับ
เจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไมท้ ำ� ใหก้ ารตรวจตราและปอ้ งปรามการลกั ลอบตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ มคี วามเขม้ แขง็ และมปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ
ท้ังยังท�ำการแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์ระหว่างกันอยู่เสมอ ผู้ใหญ่บ้านท�ำหน้าท่ีประสานงานกับองค์การ
บริหารส่วนต�ำบล นายอ�ำเภอ และหน่วยงานราชการอื่นๆ ได้เป็นอย่างดี โดยให้หน่วยงานภาครัฐร่วมการประชุม
ประจำ� เดอื นของหมบู่ า้ นพรอ้ มกบั ชาวบา้ น เพอื่ รบั ทราบความเคลอ่ื นไหว ขา่ วสารตา่ งๆ พรอ้ มทง้ั หาทางออกเพอื่ แกไ้ ข
ปัญหาร่วมกันอยู่เสมอ ดังน้ัน ความสัมพันธ์ระหว่างชาวบ้านคลองห้วยหวายกับหน่วยงานภาครัฐจึงเป็นไปด้วยดี
หนว่ ยงานภาครัฐ ได้แก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำบลแมเ่ ปนิ มักให้ความชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ ด้านงบประมาณและ
บุคลากรบางส่วน และทหารมักให้ความช่วยเหลือด้านก�ำลังพลในการท�ำฝาย พัฒนาส่ิงต่างๆ ภายในหมู่บ้านและ
ป่าชุมชนอยู่เป็นประจ�ำ ผู้ใหญ่เดช กล่าวว่า “ได้ผลตอบรับด้านงบประมาณและบุคลากรจากหน่วยงานภาครัฐ
เปน็ อย่างดี โดยเฉพาะในยคุ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ทกุ คราวท่ีท�ำการขออตั รากำ� ลังและงบประมาณในการท�ำ
กิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกต่างๆ ในป่าชุมชน เช่น การท�ำฝาย การปลูกป่า จัดคอนเสิร์ตรณรงค์การปลูกป่า ร่วมกับ
เจา้ หนา้ ทม่ี ูลนธิ สิ ืบนาคะเสถยี รและนกั ศึกษา ปรากฏว่าได้รับความร่วมมือดมี าก” นอกจากนี้ ยงั เป็นการช่วยพฒั นา
รายได้ให้กับชาวบา้ นในชมุ ชน เนือ่ งจากระบบนเิ วศภายในปา่ ทส่ี มบูรณจ์ ะทำ� ให้มที รพั ยากรภายในป่าที่อดุ มสมบูรณ์
มากขึ้น การเก็บของป่าเพื่อยังชีพในครัวเรือนเป็นการลดภาระเร่ืองค่าครองชีพได้เป็นอย่างดี ท�ำให้เกิดการพัฒนา
ความเปน็ อยขู่ องชาวบา้ นภายในชุมชนและมีเงนิ เหลอื ใชจ้ ่ายและประหยัดมากขึ้น

ส�ำ นักงานผูต้ รวจการแผน่ ดิน 73

หลังจากการจัดตั้งป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายส�ำเร็จ ภาครัฐได้มอบสิทธิในการจัดการดูแลและ
ใชป้ ระโยชนท์ รพั ยากรในปา่ ชมุ ชนใหเ้ ปน็ ของประชาชนในพน้ื ที่ สว่ นรฐั มฐี านะเปน็ เพยี งผกู้ ำ� กบั ดแู ลและควบคมุ กตกิ า
และการด�ำเนินการเท่านั้น ภายใต้หลักการของสิทธิชุมชนตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พทุ ธศักราช 2550 ในทกุ ๆ ด้าน ท้งั ในดา้ นสทิ ธใิ นการเขา้ ใชท้ รพั ยากร สิทธิในการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากร สทิ ธิ
ในการจดั การ สิทธิในการกีดกันหรือปอ้ งกันหวงแหนทรัพยากรจากบคุ คลผูท้ ี่ทำ� ลายระบบนเิ วศของปา่ สิทธิดงั กล่าว
น้ีถือเป็นสิทธิร่วมกันของประชาชนในชุมชนบ้านคลองห้วยหวายซ่ึงอยู่ใกล้ชิดป่ามากที่สุด ย่อมเข้าใจและผูกพัน
กับป่าดีท่ีสุดซ่ึงเหมาะสมที่จะเป็นผู้ที่บริหารจัดการป่าชุมชนให้เป็นสมบัติของชาติสืบไป การให้สิทธิดังกล่าวของ
ภาครัฐจะท�ำให้การดูแลรักษาทรัพยากรป่าไม้ในภาพรวมของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน เน่ืองจาก
เป็นการลดภาระเร่ืองบุคลากรและค่าใช้จ่ายของรัฐในการลาดตระเวนและจับกุมผู้ลักลอบตัดไม้และจับสัตว์ป่า
และสามารถดแู ลไดท้ ั่วถึงมากขนึ้ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ การร่วมมือกันทำ� งานระหวา่ งประชาชนและเจ้าหน้าท่ขี องรัฐในการ
จัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเชิงบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการอนุรักษ์และทวงคืน
ผนื ปา่ ใหก้ ลับมาเป็นของชาติมากทส่ี ุด
ทา้ ยทส่ี ดุ แนวทางในการจดั การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ และ
ย่ังยืนของชุมชนบ้านคลองห้วยหวายย่อมเกิดจากจุดแข็งของการมีส่วนร่วมประชาชนในพื้นที่ท่ีท�ำหน้าที่ได้อย่าง
เขม้ แข็งในทกุ มติ ิ โดยการแบ่งหน้าท่กี ันท�ำงานเปน็ ฝา่ ยภายใตก้ ารควบคุมและกำ� กับดแู ลจากผใู้ หญบ่ ้านอยา่ งชัดเจน
โดยยึดโยงอยู่กับกฎ กติกาของป่าชุมชนอย่างเคร่งครัด ความส�ำเร็จเหล่าน้ีจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อได้รับความร่วมมือ
จากประชาชนและประชาชนมจี ิตสำ� นึก รู้จักสทิ ธิและหน้าทข่ี องตน และหม่ันศึกษาหาความรู้จากหน่วยงานภาครัฐ
และเอกชนอยเู่ สมอในการแกป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ในการจดั การปา่ ชมุ ชนรว่ มกนั จะทำ� ให้
การจดั การบ�ำรงุ รกั ษา และการใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรธรรมชาตใิ นปา่ ชุมชนมคี วามสมดุลและยง่ั ยืนสืบตอ่ ไป

บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ

1. บทสรุป
ตามบทบัญญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 สิทธิในการมีสว่ นร่วมในการ
จัดการ ดแู ลบำ� รงุ รกั ษา และใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ จงึ เปน็ สทิ ธชิ ุมชนทเ่ี ปน็ สทิ ธโิ ดยรวมในการจัดการ
ดูแลบ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เป็นสิทธิตามธรรมชาติ ในการใช้ทรัพยากรร่วม ที่ไม่ใช่
เป็นการใชส้ ทิ ธิในการจัดการ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ในลกั ษณะส่วนของบคุ คลของประชาชนแตล่ ะคน
และไม่ใช่ของรัฐ แต่เป็นสิทธิของชุมชนท่ีจัดการใช้ประโยชน์และมีหน้าที่บ�ำรุงเหนือทรัพยากร และชุมชนสามารถ
ใชอ้ ำ� นาจออกกฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลงของชมุ ชน ในการการจดั การ บ�ำรงุ รกั ษา และใช้ประโยชน์จากทรพั ยากร โดยค�ำนึงถงึ
ความเป็นธรรมในสังคม ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคม จารีตประเพณี วัฒนธรรมของชุมชน เพื่อให้เกิด
ความสมดุลและย่ังยืนในการจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งแนวคิดสิทธิชุมชนในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาตขิ องชุมชนบา้ นคลองหว้ ยหวาย สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ยศ สนั ตสมบัติ (2542) สิทธชิ มุ ชนการใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรร่วมสมาชิกของชุมชนทุกคนมีสิทธิตามธรรมชาติในการใช้ทรัพยากรส่วนรวม และชุมชน
สามารถใชอ้ ำ� นาจออกกฎเกณฑก์ ารใชท้ รพั ยากรสว่ นรวมแตส่ ทิ ธกิ ารใชย้ งั ถกู กำ� หนดดว้ ยความยง่ั ยนื หรอื ความเปน็ ธรรม
ตอ่ ระบบนิเวศด้วย

74 ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มถิ นุ ายน 2559

ดังน้ัน กฎหมายทุกฉบับที่บัญญัติขึ้นมาเพื่อรองรับสิทธิชุมชนจึงควรมีเน้ือหาท่ีสอดคล้องกับจารีตประเพณี
ทอ้ งถนิ่ ทม่ี กี ารนำ� กฎหมายไปบงั คบั ใช้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ หากกฎหมายดงั กลา่ วบญั ญตั ขิ น้ึ เปน็ ขอ้ บญั ญตั ทิ อ้ งถน่ิ แลว้
ข้อบัญญัตินั้นต้องมีเนื้อหาท่ีผ่านความคิดเห็นของชุมชนและวิถีชีวิตจารีตประเพณีของชุมชนด้วย มิใช่ว่าจะบัญญัติ
ขนึ้ อยา่ งไรกไ็ ดต้ ามอำ� เภอใจ เนอ่ื งจากวถิ ชี วี ติ และจารตี ประเพณเี ปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทส่ี ง่ั สมขนึ้ ภายในชมุ ชน เปรยี บเสมอื น
จติ วญิ ญาณของชมุ ชนทไี่ มค่ วรถกู ลมื หรอื มองขา้ มไป กฎหมายทต่ี ราขน้ึ โดยคำ� นงึ ถงึ จารตี ประเพณขี องชมุ ชน กฎหมายนน้ั
จะมสี ภาพเปน็ กฎหมายทถี่ กู ยอมรบั มคี วามเหมาะสมและเปน็ ธรรมสมควรทจี่ ะนำ� มาใชใ้ นแตล่ ะสงั คมหรอื ชมุ ชนนน้ั
รูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ กรณี ป่าชุมชน
บา้ นคลองห้วยหวาย คนในชมุ ชนทกุ คนมบี ทบาทในการจดั การทรพั ยากรปา่ ชมุ ชน เช่น จดั ทีมลาดตระเวน เฝา้ ระวงั
หาขา่ ว ชาวบา้ นภายในชมุ ชนมคี วามสามัคคกี ัน การรบั ร้ขู ้อมูลขา่ วสารจากภาครัฐ ภาคเอกชน ผนู้ ำ� ชมุ ชน องคก์ ร
ปกครองทอ้ งถน่ิ การจดั การปา่ ชมุ ชนการดำ� เนนิ กจิ กรรมเกยี่ วกบั ปา่ ชมุ ชน มกี ารประชาคมเพราะประชาชนในชมุ ชน
ทกุ คนเปน็ ของทรัพยากรรว่ ม บา้ น วัด โรงเรียนต้องมสี ว่ นร่วม การรบั รู้ข้อมลู ขา่ วสาร จากภาครฐั ภาคเอกชน ผู้นำ�
ชุมชน องค์กรปกครองท้องถ่ิน กระบวนการตัดสินใจอยู่ที่ชาวบ้าน โดยการตัดสินใจของชาวบ้านอยู่บนพ้ืนฐาน
กรอบของกฎหมายสอดคล้องกับแนวคิดของ ไพรัตน์ เดชะรินทร์ (2527) ได้กล่าวถึงลักษณะการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในการพฒั นา คอื (1) รว่ มทำ� การศกึ ษา ค้นควา้ ปญั หาและสาเหตขุ องปัญหาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชุมชนรวมตลอดถึง
ความต้องการของชุมชน (2) ร่วมคิดหาและสร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพื่อแก้และลดปัญหาของชุมชนหรือเพื่อ
สรา้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ทีม่ ปี ระโยชน์ต่อชมุ ชน หรือสนองความตอ้ งการของชุมชน (3) ร่วมวางนโยบายหรือแผนงาน หรือ
โครงการ หรอื กิจกรรม เพ่ือขจัดและแก้ไขปัญหาตามความต้องการของชมุ ชน (4) รว่ มตัดสนิ ใจการใชท้ รัพยากรที่มี
จ�ำกัดให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนร่วม (5) ร่วมจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหารงาน พัฒนาให้มีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล (6) ร่วมการลงทุนในกจิ กรรมโครงการของชุมชนตามขดี ความสามารถของตนเองและของหนว่ ยงาน (7)
ร่วมปฏิบัติตามนโยบาย แผนงาน โครงการ และกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีได้วางไว้ (8) ร่วมควบคุมติดตาม
ประเมินผลและรว่ มบ�ำรงุ รักษาโครงการและกิจกรรมท่ีไดท้ �ำไว้โดยเอกชนและรัฐบาลใหใ้ ช้ประโยชน์ตลอดไป
การจัดการทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างสมดุลและย่ังยนื กรณปี ่าชมุ ชนบ้านคลองห้วยหวาย คอื การมองวิถีชวี ิต
มองทุกมิติ ทุกคนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างสมดุล ซ่ึงสมดุลในด้านมิติเศรษฐกิจ คนกับป่าต้องสมดุลกัน การแสวงหา
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรจากปา่ พอเหมาะพอควร ได้ประโยชน์จากปา่ พอสมควร ตอ้ งเยียวยาความเสยี หายให้ชมุ ชน
ส่วนค�ำว่า “ยั่งยืน” คือ สู่คนรุ่นหลัง สืบทอดเจตนารมณ์ โดยเป็นการสืบทอดความคิด แนวคิดเป็นปัจจัยส�ำคัญ
ปลูกฝังแนวคิดอนุรักษ์ อุดมการณ์ ซ่ึงสอดคล้องกับแนวความคิดของคณะกรรมการโลกว่าด้วยส่ิงแวดล้อมและ
การพัฒนา (World Commission on Environment and Development) ว่าการพัฒนายั่งยืนน้ัน ต้องเป็น
การพฒั นาทตี่ อบสนองความตอ้ งการของปจั จบุ นั โดยไมท่ ำ� ใหผ้ คู้ นในอนาคตเกดิ ปญั หาในการตอบสนองความตอ้ งการ
ของตนเอง การพฒั นายัง่ ยืนรวมความถงึ 3 ดา้ น คือ เศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดล้อมซ่งึ เช่ือมโยงและสัมพันธ์กัน

สำ�นักงานผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ 75

2. ขอ้ เสนอแนะเชิงกฎหมาย
การใหใ้ ชส้ ทิ ธชิ มุ ชนในการมสี ว่ นรว่ ม ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทไ่ี ดร้ บั การรบั รอง
และค้มุ ครองตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 นน้ั ใหม้ สี ภาพบังคับใช้ท่ีเกิดขึ้นจริงในทาง
ปฏิบัติได้ ซ่ึงน�ำไปสู่เป้าหมายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลและยั่งยืนนั้น ต้องมี
การก�ำหนดขอบเขตของสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้ชัดเจน ก�ำหนดรายละเอียดขอบเขตของ
การใชส้ ทิ ธใิ นการจดั การ สทิ ธใิ นการอนรุ กั ษ์ บำ� รงุ รกั ษา สทิ ธใิ นการเขา้ ใชป้ ระโยชน์ ขอบเขตของผมู้ สี ทิ ธใิ นทรพั ยากร
ธรรมชาติ การใหส้ ทิ ธิของบุคคลและชมุ ชนเขา้ มามีสว่ นร่วมในจดั การบำ� รงุ รักษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร
ธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ และย่งั ยืน ซงึ่ ตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 และร่างรฐั ธรรมนญู
แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับปี 2559) ยังไม่ได้บัญญัติถึงขอบเขตของสิทธิชุมชนการส่วนร่วมในจัดการบ�ำรุงรักษา
และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งสมดลุ และย่ังยนื ดงั นัน้ เพอ่ื ให้สทิ ธชิ มุ ชนตามรัฐธรรมนูญรับรอง
และคมุ้ ครองสามารถนำ� ไปใชป้ ฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ นน้ั ควรบญั ญตั ถิ งึ ขอบเขตแหง่ สทิ ธชิ มุ ชนในการจดั การทรพั ยากร
ธรรมชาตใิ หช้ ดั เจน และใหช้ มุ ชนซง่ึ ใกลช้ ดิ ทรพั ยากรธรรมชาตเิ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มจดั การ การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชน์
จากทรพั ยากรธรรมชาติ สงิ่ แวดลอ้ ม โดยให้ชมุ ชนสามารถก�ำหนดกติกาในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และใชป้ ระโยชน์
จากทรัพยากรป่าชุมชนด้วยตนเองเพ่ือสอดคล้องกับสังคม วิถีชีวิต จารีตประเพณีของชุมชน ผู้วิจัยเสนอแนะทาง
กฎหมาย ดงั น้ี
2.1. รฐั ธรรมนญู ควรมบี ทบญั ญตั ริ บั รอง คมุ้ ครองถงึ ขอบเขตแหง่ สทิ ธชิ มุ ชน สทิ ธใิ นการมสี ว่ นรว่ ม สทิ ธิ
ในการจดั การ สทิ ธเิ ขา้ ถงึ และสทิ ธกิ ารใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สทิ ธกิ ดี กน้ั การใชป้ ระโยชน์
จากทรัพยากร สิทธิในการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การขายหรือให้ยืมโดยให้สิทธิเหล่านี้
มีความชดั เจนและเปน็ รูปธรรมซงึ่ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Elinor Ostrom (1990) ได้จ�ำแนกถงึ สทิ ธิในการจดั การ
ทรัพยากร ดังนี้ (1) สทิ ธใิ นการเข้าใชท้ รพั ยากรโดยก�ำหนดขอบเขตของสิทธิในการเขา้ ใชป้ ระโยชน์ (2) สทิ ธใิ นการ
ใชป้ ระโยชนจ์ ากระบบทรพั ยากร ผทู้ มี่ สี ทิ ธคิ วรเปน็ สมาชกิ ของชมุ ชน หรอื อาจเปน็ บคุ คลภายนอก (3) สทิ ธทิ จี่ ะบรหิ าร
จดั การ บำ� รงุ รกั ษา จากการเขา้ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากร ของสมาชกิ ในชมุ ชนในการดแู ลรกั ษาปา่ สทิ ธใิ นการปกปอ้ ง
ฐานทรพั ยากรไม่ใหค้ นภายนอกเขา้ มาทำ� ลาย หรือเปลีย่ นแปลงรูปแบบการใชท้ รัพยากรที่สง่ ผลกระทบตอ่ การด�ำรงชีวติ
ของชมุ ชน (4) สทิ ธใิ นการกดี กนั ก�ำหนดว่าใครสามารถเขา้ ใชป้ ระโยชน์จากระบบทรพั ยากรไดห้ รอื ไม่ได้ (5) สิทธิในการ
ขายหรือให้ยืมสิทธิท้ัง 4 ประเภทก่อนหน้าน้ี ซ่ึงสิทธิแต่ละประเภทน้ันผู้ก�ำหนดอาจไม่จ�ำเป็นต้องเป็นกลุ่มเดียวกัน
กไ็ ด้ เชน่ สทิ ธบิ างประเภทชมุ ชนอาจเปน็ ผู้กำ� หนดในขณะท่ีสทิ ธอิ กี ประเภทอาจถูกก�ำหนดโดยเจ้าหน้าท่ีรัฐ ซึง่ สิทธิ
ดังกล่าว รฐั ต้องรบั รแู้ ละใหส้ ทิ ธแิ กช่ มุ ชนหรอื บคุ คลใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากร ขณะเดยี วกนั รฐั ตอ้ งวางกติการะดบั
รัฐธรรมนญู เพื่อรับรอง คมุ้ ครองการมสี ิทธิในการจัดการ การใชป้ ระโยชน์ การมสี ว่ นร่วมใหแ้ ก่บคุ คลและชมุ ชน
2.2 หน่วยงานของรัฐที่บงั คับใช้กฎหมายเก่ยี วกบั การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ กรมป่าไม้ และ
กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพนั ธพุ์ ชื ควรมีการออกกฎหมายวา่ ด้วยสทิ ธชิ ุมชนโดยเฉพาะ เพอ่ื ใหม้ รี ายละเอียด
วิธีปฏิบัติที่เอ้ือต่อสิทธิชุมชนและสอดคล้องกับหลักสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามที่รัฐธรรมนูญ
บญั ญตั ริ บั รอง และปรบั ปรงุ กฎหมายเกยี่ วกบั การปฏบิ ตั งิ านทางดา้ นปา่ ไม้ ใหม้ คี วามทนั สมยั ตอ่ สถานการณใ์ นปจั จบุ นั
และใหส้ อดคลอ้ งกบั บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ทร่ี บั รองถงึ สทิ ธชิ มุ ชนในการจดั การ การบำ� รงุ รกั ษา และการใชป้ ระโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติ

76 ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

2.3 องค์กรปกครองท้องถ่ินจัดท�ำข้อบัญญัติท้องถ่ินในการจัดการทรัพยากรป่าชุมชน ตามหลักการ
กระจายอำ� นาจการปกครองทอ้ งถน่ิ โดยจดั ทำ� ขอ้ บญั ญตั ทิ อ้ งถน่ิ เพอ่ื รองรบั หลกั การสทิ ธชิ มุ ชนขน้ึ รองรบั บทบญั ญตั ิ
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เน่ืองจากข้อบัญญัติท้องถิ่นเป็นกฎหมายที่ออกโดย
ความเห็นร่วมกันของประชาชนในพ้ืนที่ซ่ึงมีความใกล้ชิดกับฐานทรัพยากรธรรมชาติในพ้ืนท่ีมากท่ีสุด จึงย่อมทราบ
ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ตรงตามเจตนารมณ์ได้ดีที่สุด สอดคล้องกับจารีตประเพณี วิถีชีวิต
ของชุมชน ซ่ึงการจัดท�ำข้อบัญญัติท้องถ่ินควรสอดคล้องกับการก�ำหนดกติกาตามแนวคิดของ Elinor Ostrom
ซึ่งการจัดทำ� ข้อบญั ญัตทิ ้องถิ่นตอ้ งมหี ลักเกณฑ์ ดงั น้ี
1) ในการจัดการ การบ�ำรุงรักษา การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ต้องบัญญัติ
ใหส้ อดคลอ้ งกับเงอื่ นไขทางสังคมและสง่ิ แวดลอ้ มไมก่ ระทบต่อสภาพแวดลอ้ มของสงั คมส่วนใหญแ่ ละในพืน้ ท่ี
2) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ควรบัญญัติให้สิทธิในการจัดการ การใช้ประโยชน์จาก
ทรพั ยากรธรรมชาติ ควบคกู่ ารบญั ญตั ิถึงหน้าทีใ่ นการดแู ล บำ� รุงรกั ษา จากการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ
3) ในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ ควรบญั ญตั กิ ำ� หนดขอบเขตเกย่ี วกบั ผใู้ ชท้ รพั ยากรธรรมชาติ
วา่ ใคร คอื คนทม่ี ีสิทธิหรือไม่มสี ทิ ธิในทรัพยากรธรรมชาติน้ัน
4) ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ก�ำหนดขอบเขตของทรัพยากรให้ชัดเจน โดยแยกแยะ
ระหวา่ งขอบเขตของระบบทรพั ยากรทช่ี มุ ชนดแู ล กบั ระบบทรพั ยากรนเิ วศเชงิ สงั คมทใ่ี หญก่ วา่ นนั้ ทรี่ ฐั เปน็ ผดู้ แู ลและ
จัดการทรพั ยากรธรรมชาต ิ
2.4 ควรปรับปรุงแก้ไขกฎ กติกาป่าชุมชนบ้านคลองห้วยหวายให้มีรายละเอียดท่ีความรัดกุมและ
รอบคอบมากขนึ้ โดยการจำ� กดั จำ� นวนและปรมิ าณการเกบ็ ของปา่ ตอ่ คนตอ่ ครง้ั ใหเ้ หมาะสมมากขน้ึ และกำ� หนดหนา้ ท่ี
ให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลการเก็บของป่าอย่างชัดเจน ขณะเดียวกันควรมีบทลงโทษผู้ท่ีฝ่าผืนกฎ กติกาป่าชุมชน
อย่างค่อยเป็นค่อยไป คือ การสอดส่องดูแลแล้วพบผู้กระท�ำผิด การลงโทษในคร้ังแรกๆ จะค่อนข้างเบา และหาก
ผู้กระท�ำผิดละเมิดกฎซ้�ำซากให้มีการลงโทษรุนแรงเพิ่มข้ึน การก�ำหนดกฎ กติกาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
เช่อื มโยงและสอดคล้องกบั ระบบท่ใี หญ่กวา่ คอื กฎ กติกา การจดั การปา่ ชมุ ชนทชี่ มุ ชนก�ำหนดขึน้ มาต้องไมข่ ดั หรอื แยง้
ต่อรฐั ธรรมนญู ทบ่ี ัญญตั ิรบั รองถงึ สทิ ธิชุมชนในการมีส่วนร่วม การจัดการ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
3. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
3.1 รัฐบาลควรก�ำหนดนโยบายในการจัดการ บ�ำรุงรักษา และก�ำหนดขอบเขตการใช้ประโยชน์
จากทรพั ยากรธรรมชาตปิ า่ ทช่ี ดั เจน และนโยบายจากสว่ นกลางไมค่ วรปรบั เปลย่ี นบอ่ ยตามยคุ ของรฐั บาลทเ่ี ปลย่ี นไป
จนท�ำใหเ้ จา้ หน้าที่ของรฐั ซง่ึ เป็นผู้ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายทำ� งานยากมากขน้ึ หากชมุ ชนหรือประชาชนสบั สนกับนโยบาย
ของรฐั อาจนำ� ไปสู่การขดั แย้งระหว่างหนว่ ยงานภาครัฐ เจา้ หนา้ ที่ กบั ภาคประชาชนได้
3.2 รัฐควรมีแนวนโยบายท่ีมีการกระจายอ�ำนาจจากส่วนกลางกับให้กับชุมชนในการให้ชุมชนมีสิทธิ
ชุมชนในการในการจัดการ การบ�ำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติมากข้ึน รัฐหรือหน่วยงาน
ภาครฐั ควรเป็นลักษณะการส่งเสริมใหอ้ งค์ความรูเ้ กีย่ วกบั การจัดการปา่ ชุมชนให้สมดลุ และย่ังยืน เปน็ เหมือนพ่ีเลี้ยง
ให้กบั ชมุ ชน สว่ นกระบวนการตดั สนิ ใจให้ขึน้ อยู่กบั ชาวบา้ น

ส�ำ นักงานผู้ตรวจการแผ่นดนิ 77

3.3 หนว่ ยงานภาครฐั ควรเปน็ พเี่ ลยี้ งในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ องคค์ วามรใู้ นการจดั การ บำ� รงุ รกั ษา และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติจากป่า โดยการท�ำหน้าท่ีจัดให้มีการอบรมและให้ความรู้ด้านการจัดการ
ป่าชุมชนแก่คณะกรรมการป่าชุมชนและชาวบ้านทุกหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง และควรจัดกิจกรรมเพ่ือสนับสนุนและ
สง่ เสรมิ ใหผ้ นู้ ำ� และชาวบา้ นทกุ หมบู่ า้ นภายในตำ� บลแมเ่ ปนิ ประสานงานรว่ มกนั ทำ� กจิ กรรมในการจดั การ บำ� รงุ รกั ษา
และการใชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั ระหว่างชมุ ชนกบั ชุมชน
3.4 หน่วยงานภาครัฐควรสนับสนุนให้การจัดตั้งกองทุนดูแลรักษาป่าชุมชนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ
บริหารจัดการป่าชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน ซ่ึงจัดตั้งขึ้นหรือสนับสนุนข้ึนโดยรัฐ เพื่อให้การบริหารจัดการป่าชุมชน
แต่ละแห่งมีความเข้มแข็งและเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐ และหากมีการจัดตั้งป่าชุมชนครั้งแรกของชุมชน
ภาครัฐควรสนบั สนุนคา่ ใช้จ่ายในการดูแลรกั ษาปา่ ชมุ ชนแต่ละแหง่ โดยทัว่ ถงึ
3.5 หนว่ ยงานภาครัฐควรสนับสนนุ ใหช้ มุ ชนและสร้างแรงจงู ใจ ให้กับชุมชนทมี่ สี ่วนร่วมในการจัดการ
การบ�ำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและย่ังยืนโดยการจัดการประกวด
และให้รางวัลแก่ป่าชุมชนในระดับภูมิภาค เพ่ือเป็นตัวอย่างในระดับต�ำบลหรืออ�ำเภอหรือจังหวัดอย่างสม่�ำเสมอ
และควรสนับสนุนส่งเสริมสร้างยกย่องผู้น�ำของชุมชนที่มีความเข้มแข็งและเป็นตัวอย่างที่ดีท่ีเล็งเห็นถึงความส�ำคัญ
ของทรัพยากรธรรมชาติในป่าชุมชน ซึ่งจะท�ำให้ประชาชนเกิดความไว้วางใจ พร้อมที่จะให้การสนับสนุนกิจกรรม
ของชมุ ชน รวมท้ังเสรมิ สร้างใหม้ กี ารปลกู จติ สำ� นึกในการบ�ำรุง รกั ษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยเร่ิมทจ่ี ากเดก็ เยาวชน
จนถงึ ระดับผใู้ หญ่
3.6 รัฐหรือหน่วยงานภาครัฐควรมีกลไกในการจัดการความขัดแย้งในการจัดการ การใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติระหว่างผู้ใช้ทรัพยากรกันเอง และผู้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติกับเจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีมีกลไกรวดเร็ว
และมตี น้ ทนุ ต่ำ�
4. ข้อเสนอแนะในการทำ� วิจยั
จากการศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุลและย่ังยืน
กรณปี า่ ชมุ ชน บา้ นคลองหว้ ยหวาย การจะทำ� ใหก้ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มทร่ี ฐั ธรรมนญู บญั ญตั ิ
รบั รองใหม้ สี ภาพบงั คบั ใชไ้ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ และยง่ั ยนื นน้ั การจดั การปา่ ชมุ ชนบา้ นคลองหว้ ยหวายจงึ จำ� ตอ้ งมขี อ้ บญั ญตั ิ
ทอ้ งถน่ิ ในองคก์ รบรหิ ารสว่ นตำ� บล ดงั นน้ั ในการวจิ ยั ครง้ั ตอ่ ไป ผวู้ จิ ยั ควรจะทำ� การศกึ ษาแนวทางการจดั ทำ� ขอ้ บญั ญตั ิ
ทอ้ งถ่นิ เก่ยี วกบั การจดั การปา่ ชุมชนขององคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลแมเ่ ปิน

78 ปีที่ 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

บรรณานุกรม

ภาษาไทย
จตุพร หล้าใจ. (2550). กระบวนการเรียกร้องสิทธิการจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนในพ้ืนที่ลุ่มน้�ำฝาง.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการมนุษย์กับส่ิงแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เชยี งใหม.่
ชล บุนนาค. (2555). แนวคิดว่าด้วยการจัดการทรัพยากรร่วม ประสบการณ์จากต่างประเทศและแนวคิด
ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: เครือขา่ ยวชิ าการเพ่อื การปฏริ ปู คณะกรรมการสมัชชาปฏริ ปู .
ไพรัตน์ เดชะรินทร์. (2525). ทบทวนการพัฒนาชนบทไทย. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ดแี อนด์เอส.
ยศ สนั ตสมบตั .ิ (2542). ความหลากหลายทางชวี ภาพและภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เพอ่ื การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื . เชยี งใหม:่
นพบรุ ีการพิมพ.์
วฒั นชนม์ คงทน. (2555). ประชาธิปไตยทำ� เอง ตอน อนาคตป่าชมุ ชน เพื่อคนรนุ่ ตอ่ ไป [ออนไลน์]. เข้าถึงขอ้ มลู
ณ. วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2558. จาก www.youtube.com/watch?v=gzdQcOsYAUQ.
อานนั ท์ กาญจนพันธ.ุ์ (2542). หนังสอื ชดุ โครงการกบั การจดั การทรัพยากร เรอื่ ง “สิทธกิ ารเข้าถงึ ทรัพยากร”.
กรงุ เทพมหานคร: ส�ำนักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจยั (สกว.).
ภาษาอังกฤษ
Ostrom Elinor. (1990). Governing the commons: The Evolution of Institutions for Collective Action.
UK: Cambridge University Press.

หน่วยงานผู้แตง่ 1: สำ� นักสบื สวนสอบสวนและวนิ ิจฉัย 5 สำ� นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั
Affliation1: Bureau of Investigation and Diagnosis 5, Office of the Election Commission of Thailand
หน่วยงานผู้แตง่ 2: คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์
Affliation2: Faculty of Humanities and Social Sciences, Nakhon Sawan Rajabhat University

ส�ำ นกั งานผตู้ รวจการแผ่นดิน 79



ส่วนท่ี

คอลมั นป์ ระจำ�

ความโปร่งใสในกระบวนการจัดซ้อื จัดจ้าง :
กรณกี ารรอ้ งเรยี นการจัดจ้างจัดท�ำ
แอปพลิเคชันของหนว่ ยงานแหง่ หน่ึง

ปญั หาในการออกใบอนุญาตใหจ้ ำ� หน่ายสินค้าในที่หรอื ทางสาธารณะ

Resolution adopted by the General Assembly
on 20 December 2012

เลา่ เร่ืองดว้ ยภาพ

คอลมั น์ประจ�ำ

เปดิ แฟม้ เรอื่ งร้องเรียน

ความโปรง่ ใสในกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง :
กรณีการร้องเรียนการจัดจ้างจดั ท�ำแอปพลิเคชัน
ของหน่วยงานแหง่ หนึ่ง

ปิยพร กิตตเิ วช1

1 เจ้าหน้าท่สี อบสวนอาวโุ สระดบั สูง ส�ำนกั สอบสวน 2 สำ� นักงานผตู้ รวจการแผ่นดนิ

การจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐเป็นกระบวนการที่มีความส�ำคัญในการบริหารงบประมาณแผ่นดิน เพื่อให้
หน่วยงานของรัฐสามารถด�ำเนินโครงการหรือภารกิจงานตามที่ได้รับงบประมาณ ซึ่งหน่วยงานของรัฐ
ตอ้ งดำ� เนนิ การจดั ซอื้ จดั จา้ งตามระเบยี บสำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพมิ่ เตมิ
และระเบียบอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การจัดซื้อจดั จ้างแล้ว รวมถงึ พระราชกฤษฎีกาวา่ ด้วยหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 23 ซ่ึงก�ำหนดให้ส่วนราชการด�ำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง
โดยเปิดเผยและเท่ียงธรรมโดยพิจารณาถึงประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ
วัตถปุ ระสงค์ท่ีจะใช้ราคาและประโยชน์ระยะยาวของสว่ นราชการทจ่ี ะไดร้ บั ทง้ั น้ี เพ่ือใหเ้ กิดความเทา่ เทียม
กันในการเข้าถึงข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในหน่วยงานภาครัฐ และเกิดการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม เปิดเผย
โปร่งใส แต่เน่ืองจากกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างมีข้ันตอนจ�ำนวนมาก ในที่นี้จึงขอกล่าวถึงเฉพาะข้ันตอน
การพิจารณาข้อเสนอทางเทคนิคซ่ึงเป็นอ�ำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการจัดจ้าง และเป็นขั้นตอนที่มักจะ
มีการรอ้ งเรยี นวา่ จดั ซือ้ จัดจา้ งไมโ่ ปร่งใสหรือเปน็ การเอ้อื ประโยชนใ์ ห้แกผ่ ู้เข้าเสนอราคารายใดรายหน่งึ
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับเร่ืองร้องเรียนจากประชาชน กรณีบริษัทของผู้ร้องเรียนได้เข้าร่วมการสอบ
ราคาจา้ ง จดั ทำ� แอปพลเิ คชนั ประชาสมั พนั ธก์ ารทอ่ งเทยี่ วบนโทรศพั ทม์ อื ถอื กบั หนว่ ยงานของรฐั แตห่ นว่ ยงาน
ของรัฐได้พิจารณาข้อเสนอทางเทคนิคไม่เป็นธรรมและเอ้ือประโยชน์ให้กับบริษัทเอกชนรายหน่ึง เน่ืองจาก
บริษัทผู้ชนะการเสนอราคาได้เสนอราคาใกล้เคียงกับราคากลางมาก ท้ังยังน�ำเสนองานท่ีไม่มีเงื่อนไขและ
รายละเอียด แต่กลับได้รับคะแนนข้อเสนอทางเทคนิคมากกว่าร้อยละ 80 ในขณะที่บริษัทของผู้ร้องเรียน
ได้น�ำเสนองานท่ีมรี ายละเอยี ดครบถว้ น แตไ่ ด้รับคะแนนข้อเสนอทางเทคนิคร้อยละ 79.33 เป็นเหตุใหบ้ รษิ ัท
ของผรู้ อ้ งเรยี นไมผ่ า่ นขอ้ เสนอทางเทคนคิ จงึ มรี อ้ งเรยี นมายงั ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ใหต้ รวจสอบการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่
ของหน่วยงานของรัฐดงั กลา่ ว
เมื่อผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับทราบปัญหาจึงได้มีหนังสือขอให้จังหวัดช้ีแจงข้อเท็จจริงเรื่องดังกล่าว
สรุปได้ความว่า หน่วยงานได้ด�ำเนินการสอบราคาจ้างจัดท�ำแอปพลิเคชันประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียว
บนโทรศพั ท์มอื ถอื ตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม โดยใช้
วิธสี อบราคา เนื่องจากเปน็ การซอ้ื หรือจ้างครงั้ หน่ึงซึง่ มรี าคาเกนิ 100,000 บาท แตไ่ มเ่ กิน 2,000,000 บาท
และเจา้ หนา้ ทพ่ี สั ดไุ ดจ้ ดั ทำ� รายงานเสนอหวั หนา้ สว่ นราชการเพอื่ ขอความเหน็ กอ่ นดำ� เนนิ การซอ้ื หรอื จา้ ง และ
หวั หนา้ สว่ นราชการไดแ้ ต่งตงั้ คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา และคณะกรรมการตรวจการจา้ ง
ส่วนหลักเกณฑ์หรือแนวทางในการพิจารณาให้คะแนนข้อเสนอเทคนิคนั้น หน่วยงานได้ก�ำหนดเกณฑ์
การพิจารณาผู้มีสิทธิเสนอราคา/ข้ันตอนการตัดสิน โดยคณะกรรมการเปิดและรับซองสอบราคา พิจารณา
ตามขอบเขตของงาน (Term Of Reference-TOR) ขอ้ 8 เกณฑ์การพจิ ารณาเสนอราคา/ขนั้ ตอนการตดั สิน
ดงั นี้

ส�ำ นักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน 83

1. คณะกรรมการจดั จา้ งจะพจิ ารณาขอ้ เสนอดา้ นแนวคดิ
รูปแบบงาน รายละเอียดเนื้องาน ภายใต้ขอบเขตงานจ้างซ่ึงมี
การให้คะแนนรวม 100 คะแนน โดยมีหลักเกณฑ์การพจิ ารณา
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี ส่วนท่ี 1 แนวความคิดข้อเสนอ
ทางด้านรูปแบบงาน 40 คะแนน ส่วนที่ 2 รายละเอียดของ
การจดั งานและวธิ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์
ของงาน 40 คะแนน และส่วนท่ี 3 การน�ำเสนอรูปแบบและ
แนวทางการประชาสมั พนั ธ์ 20 คะแนน
2. ผเู้ สนอราคาตอ้ งไดร้ บั คะแนนรวมไมต่ ำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 80 จงึ จะถอื วา่ ผา่ นเกณฑก์ ารพจิ ารณาทางเทคนคิ
3. ผู้ยื่นซองเสนอราคาต�่ำสุดไม่จ�ำเป็นต้องได้รับการคัดเลือกให้เป็นผู้ได้รับการว่าจ้างเสมอไปท้ังนี้
ขน้ึ อยกู่ ับองค์ประกอบตา่ งๆ ในดุลพินิจของคณะกรรมการจัดจ้าง
4. ค�ำพิจารณาของคณะกรรมการจัดจ้างถือเป็นเด็ดขาด ผู้ยื่นซองไม่สามารถอุทธรณ์หรือให้
คณะกรรมการจัดจ้างเปล่ียนแปลงคำ� พิจารณาตดั สินเป็นอย่างอื่นได้
ต่อมา หน่วยงานได้ชี้แจงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการจัดจ้างครั้งน้ี สรุปได้ว่า มีบริษัทเข้าร่วมเสนอราคา
จำ� นวน 3 บรษิ ทั ซง่ึ งานของบรษิ ทั ผทู้ ชี่ นะการเสนอราคามรี ปู แบบการนำ� เสนองานทชี่ ดั เจน เปน็ รปู ธรรม และ
มีความทันสมัย น่าสนใจ ท�ำให้เข้าถึงข้อมูลได้โดยง่ายและสะดวก มีเนื้อหาข้อมูลครอบคลุมและเช่ือมโยง
การท่องเที่ยวในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และสามารถพัฒนาแอปพลิเคชันได้อย่างต่อเน่ืองในอนาคต
มีการรวบรวมข้อมูลด้านการท่องเท่ียวและการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ มีขั้นตอนและวิธีการด�ำเนินงาน
ตลอดจนกำ� หนดการทชี่ ดั เจน รวมถงึ ชอ่ งทางการสอ่ื สารและประชาสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยง ครอบคลมุ ทงั้ สอ่ื สง่ิ พมิ พ์
สอื่ ออนไลนแ์ ละการจดั งานกจิ กรรม (Event) แตร่ ปู แบบการนำ� เสนองานของบรษิ ทั ของผรู้ อ้ งเรยี น ยงั มคี วาม
ไมท่ นั สมยั และนา่ สนใจเทา่ ทคี่ วร และยงั ขาดความชดั เจนทเี่ ปน็ รปู ธรรม ขอ้ มลู การใหบ้ รกิ าร สงิ่ อำ� นวยความสะดวก
ยงั ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของนกั ทอ่ งเทย่ี ว ทำ� ใหก้ ารใหบ้ รกิ ารขาดประสทิ ธภิ าพ ชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธ์
ทางสื่อออนไลน์มีจ�ำนวนน้อย ไม่มีการระบุจำ� นวนและรูปแบบการประชาสัมพันธ์ และไม่มีการจัดกิจกรรม
เปิดตัวแอปพลเิ คชนั เป็นเหตใุ ห้คณะกรรมการจัดจ้าง จำ� นวน 3 คน พิจารณาใหค้ ะแนนข้อเสนอทางเทคนคิ
บรษิ ัทที่ชนะการสอบราคา จำ� นวน 263 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.67 และใหค้ ะแนนข้อเสนอทางเทคนิค
บรษิ ทั ผรู้ อ้ งเรยี น 238 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 79.33 และใหค้ ะแนนบรษิ ทั ผเู้ ขา้ รว่ มเสนอราคารายอนื่ 232 คะแนน
คิดเปน็ ร้อยละ 77.33 ซงึ่ ตามเกณฑ์การพจิ ารณาผู้มีสทิ ธิเสนอราคา/ขน้ั ตอนการตัดสินตามขอบเขตของงาน
ก�ำหนดให้ผู้เสนอราคาต้องได้รับคะแนนรวมไม่ต่�ำกว่าร้อยละ 80 จึงจะถือว่าผ่านเกณฑ์การพิจารณา
ดา้ นเทคนคิ ดงั นนั้ จงึ มเี พยี งบรษิ ทั เดยี วทผ่ี า่ นเกณฑก์ ารพจิ ารณาดา้ นเทคนคิ อกี ทง้ั จงั หวดั ไดร้ บั ทราบปญั หา
เรอ่ื งรอ้ งเรยี นนห้ี ลงั จากประกาศผชู้ นะการเสนอราคาและเชญิ บรษิ ทั ทชี่ นะการเสนอราคามาลงนามในสญั ญา
กบั ผ้รู บั จ้างเรียบรอ้ ยแล้ว

84 ปที ี่ 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

อน่ึง ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เก่ียวข้องแล้วกลับพบว่า
คณะกรรมการจดั จา้ งทงั้ สามคนไดใ้ หค้ ะแนนขอ้ เสนอทางเทคนคิ ในเอกสารการพจิ ารณาขอ้ เสนอทางเทคนคิ
รายบริษทั ทีช่ นะการเสนอราคา คอื 80, 76, และ 76 คะแนน รวมเปน็ 232 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 77.33
และใหค้ ะแนนทางเทคนคิ บรษิ ทั ผเู้ ขา้ รว่ มเสนอราคารายอนื่ คอื 87, 90 และ 86 คะแนน รวมเปน็ 263 คะแนน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.67 ซง่ึ ไมต่ รงกบั รายงานผลการพจิ ารณาการสอบราคาทสี่ รปุ ไวว้ า่ บรษิ ทั ทชี่ นะการเสนอราคา
ไดค้ ะแนนข้อเสนอทางเทคนิคจำ� นวน 263 คะแนน หรอื รอ้ ยละ 87.63 จงึ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80 ส่วนผู้เขา้ ร่วม
เสนอราคาอกี สองรายไม่ผ่านเกณฑ์ขอ้ เสนอทางเทคนคิ
จากกรณีเรือ่ งรอ้ งเรยี นดงั กลา่ ว ผู้ตรวจการแผ่นดนิ ได้พจิ ารณาแลว้ มีความเหน็ ว่า
1. คณะกรรมการจดั จา้ งทง้ั สามคนไดใ้ หค้ ะแนนขอ้ เสนอทางเทคนคิ ในเอกสารการพจิ ารณาขอ้ เสนอ
ทางเทคนิคไม่ตรงตามที่ปรากฏในการชี้แจงของหน่วยงานที่มีต่อผู้ตรวจการแผ่นดิน กล่าวคือ ตามเอกสาร
การให้คะแนนข้อเสนอทางเทคนิคปรากฏว่า บริษัทที่ชนะการประกวดราคาได้คะแนนรวม 232 คะแนน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.33 และบรษิ ทั อน่ื ทเ่ี ขา้ รว่ มประกวดราคาไดค้ ะแนนรวม 263 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.67
2. การด�ำเนินการดังกล่าวจึงอาจเป็นกรณีที่คณะกรรมการจัดจ้างจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ
สำ� นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 หรอื ประมาทเลนิ เลอ่ ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ผเู้ ขา้ รว่ ม
เสนอราคาท่ีมีสิทธิที่จะได้รับการจ้างงานน้ี เรื่องร้องเรียนดังกล่าวจึงเป็นกรณีท่ีพนักงานเจ้าหน้าท่ีที่มีหน้าท่ี
รบั ผดิ ชอบไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย หรอื ปฏบิ ตั นิ อกเหนอื อำ� นาจหนา้ ทตี่ ามกฎหมาย ปฏบิ ตั หิ รอื ละเลยไมป่ ฏบิ ตั ิ
หนา้ ที่ทก่ี อ่ ให้เกิดความเสยี หายแก่ผู้รอ้ งเรียนและประชาชนโดยไมเ่ ป็นธรรม
3. ผู้ตรวจการแผ่นดินจึงเสนอแนะให้จังหวัดพิจารณาทบทวนการด�ำเนินการดังกล่าวโดยแต่งต้ัง
คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงการพิจารณาข้อเสนอทางเทคนิคการจ้างเหมางานจัดท�ำแอปพลิเคชัน
ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวบนโทรศัพท์มือถือของคณะกรรมการจัดจ้างทั้งสามคนที่ไม่สอดคล้องกับ
รายงานผลการพิจารณาการสอบราคา และหากผลการสอบข้อเท็จจริงปรากฏว่า คณะกรรมการจัดจ้าง
ดังกล่าวได้กระท�ำการน้ันด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย
ขอใหพ้ จิ ารณาดำ� เนนิ การตามทพี่ ระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หนา้ ที่ พ.ศ. 2539 กำ� หนดตอ่ ไป
จากกรณตี ามคำ� รอ้ งเรยี นขา้ งตน้ ถอื ไดว้ า่ การดำ� เนนิ การของหนว่ ยงานอาจมคี วามไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั การ
ท่ีกฎหมายก�ำหนด อันส่งผลให้การจัดจ้างเป็นการกระทบต่อสิทธิและก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ฝ่าย
ผู้เสนอราคาเป็นอย่างมาก ซ่ึงผู้ตรวจการแผ่นดินมิได้นิ่งนอนใจกับกรณีความไม่โปร่งใสหรือไม่เป็นธรรมใด
ที่เกิดข้ึน แม้ว่าเหตุการณ์ดังกล่าวอาจจะเกิดขึ้นจากความประมาทของคณะกรรมการผู้ปฏิบัติการ
โดยความต้ังใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม แต่ก็ถือเป็นบทเรียนบทส�ำคัญส�ำหรับหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติตาม
บทบญั ญตั ขิ องกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั และดำ� เนนิ การอยา่ งโปรง่ ใสเพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หป้ ญั หาในลกั ษณะดงั กลา่ ว
เกิดขึน้ อกี อันจะเปน็ การลดทอนความน่าเชอื่ ถอื ของหนว่ ยงานดงั กล่าวได้ในอนาคต

สำ�นกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดนิ 85

คอลมั น์ประจำ�

เปิดแฟ้มเรื่องร้องเรียน

ปญั หาในการออกใบอนุญาตให้จ�ำหน่ายสินค้า
ในท่ีหรือทางสาธารณะ

ปริญญาวัน ชมเสวก1

1 เจ้าหน้าท่ีสอบสวนอาวุโสระดบั สงู ส�ำนักสอบสวน 3 ส�ำนกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ

ในสภาวะสังคมท่ีมีการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจค่อนข้างสูง การเลือกท�ำเลท่ีต้ังถือเป็นปัจจัยส�ำคัญ
ที่ผู้ประกอบการมักค�ำนึงถึงในการประกอบกิจการค้าขาย เพราะหากสินค้าคุณภาพดีแต่สถานท่ีจ�ำหน่าย
อยู่ในบริเวณท่ีมิใช่แหล่งชุมชน คนไม่นิยมเดินผ่านหรือเข้าถึงได้ยาก ยอดจ�ำหน่ายต่อวันอาจจะน้อย ท�ำให้
สินค้าไม่เกิดการหมุนเวียนกลายเป็นสินค้าเก่าเก็บ ในขณะท่ีสินค้าคุณภาพปานกลางแต่สถานท่ีจ�ำหน่าย
อยใู่ นแหลง่ ชมุ ชน มคี นพลกุ พลา่ นตลอดทง้ั วนั สนิ คา้ จำ� หนา่ ยหมดทำ� ใหเ้ กดิ การผลติ แบบวนั ตอ่ วนั ทำ� ใหส้ นิ คา้
มคี วามสดใหม่ เปน็ ที่ตอ้ งการของลกู คา้ ได้ ดังน้ัน ทำ� เลท่ตี ัง้ ดีๆ จึงเปน็ ท่ีต้องการของเหลา่ ผ้ปู ระกอบกิจการ
ค้าขายเป็นอย่างย่ิง ผู้ค้ารายใหญ่ย่อมท่ีจะเลือกที่ตั้งร้านค้าในแหล่งชุมชนหรือย่านธุรกิจ บางรายยอมท่ีจะ
เสียค่าเช่าเป็นจ�ำนวนมาก ส�ำหรับผู้ค้ารายย่อยที่มีเงินทุนหมุนเวียนไม่มาก การต้องเสียค่าเช่าท่ีราคาแพง
อาจไม่ใช่ทางเลือกท่ีดี จึงพบว่า ผู้ค้ารายย่อยส่วนใหญ่มักจะลดต้นทุนการผลิตด้วยการเลือกที่ตั้งโดยไม่เสีย
ค่าเช่าที่ ดังเช่น การเข้าไปจับจองพื้นท่ีบนทางสาธารณะหรือทางเท้าเพื่อท�ำการจ�ำหน่ายสินค้า เมื่อเป็น
ทางสาธารณะจึงไม่มีผู้ใดเป็นเจ้าของกรรมสิทธ์ิ จึงอาจก่อให้เกิดปัญหาการแย่งชิงท�ำเลที่ต้ังร้านค้าข้ึน
เกิดการทะเลาะววิ าทระหว่างผู้คา้ ขาย และยงั อาจสร้างปญั หาความเดือดรอ้ นตามมาภายหลงั ได้ เชน่ ปญั หา
ความไมเ่ ปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง ปญั หาขยะมลู ฝอย ปญั หาการกดี ขวางการจราจรและการสญั จร
ไปมาของประชาชน รวมถึงปัญหาการบดบังทัศนวิสัย เป็นต้น ดังน้ัน หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าท่ีดูแล
ทางสาธารณะจงึ ตอ้ งเข้ามาจัดระเบียบพน้ื ทใี่ ห้มคี วามเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย โดยวางระเบียบ กฎกตกิ าในการใช้
ทางสาธารณะรว่ มกัน เพ่อื ให้เกิดความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ยในสังคม
โดยหลักของกฎหมายได้บัญญัติห้ามมิให้ผู้ใดจ�ำหน่ายสินค้าบนถนนหรือในสถานสาธารณะ เว้นแต่
ในบริเวณท่ีเจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ประกาศผ่อนผันให้กระท�ำได้ในระหว่างวัน เวลา
ทก่ี �ำหนดดว้ ยความเหน็ ชอบของเจา้ พนักงานจราจร1 ดว้ ยเหตนุ ี้ ในกรณีทห่ี นว่ ยงานของรัฐจะอนุญาตให้ถนน
หรอื สถานทส่ี าธารณะใดสามารถวางจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ไดจ้ ะตอ้ งประกาศพน้ื ทด่ี งั กลา่ วเปน็ พนื้ ทผ่ี อ่ นผนั เสยี กอ่ น
โดยก�ำหนดเขตพื้นทีใ่ หม้ ีความชดั เจน กำ� หนดวัน เวลา การจำ� หน่ายสนิ ค้าในพื้นที่ผอ่ นผนั กำ� หนดคณุ สมบัติ
ของผูจ้ �ำหน่ายสินค้า กำ� หนดข้ันตอน และวิธีการการรบั สมคั ร การคัดเลอื ก รวมท้ังก�ำหนดมาตรการ วิธกี าร
กำ� กับดูแล การจดั ระเบยี บ เพ่อื ให้เกดิ ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย ซ่ึงเจ้าพนกั งานท้องถน่ิ ในฐานะผดู้ ูแลพน้ื ที่
ผ่อนผันควรต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด มิให้เกิดการการฝ่าฝืน หรือไม่ยอมปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ของกฎหมาย มเิ ช่นนั้นอาจทำ� ให้เกิดปัญหาตามมาภายหลังอย่างเชน่ เร่อื งรอ้ งเรียนตอ่ ไปน้ีได้

1 พระราชบญั ญตั ิรกั ษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยของบา้ นเมอื ง พ.ศ. 2535 มาตรา 20 บญั ญตั วิ า่ “หา้ มมิใหผ้ ้ใู ด
(1) ปรงุ อาหาร ขายหรือจ�ำหนา่ ยสนิ คา้ บนถนน หรือในสถานสาธารณะ
(2) ใชร้ ถยนต์หรอื ล้อเลื่อนเปน็ ท่ีปรุงอาหารเพอื่ ขายหรอื จำ� หนา่ ยใหแ้ ก่ประชาชนบนถนนหรือในสถานสาธารณะ
(3) ขายหรือจำ� หนา่ ยสินคา้ ซ่ึงบรรทกุ บนรถยนต์ รถจักรยานยนตห์ รือล้อเล่ือน บนถนนหรอื ในสถานสาธารณะ

ความในวรรคหน่งึ มใิ หใ้ ช้บังคับแกก่ ารปรงุ อาหารหรอื การขายสนิ คา้ ตาม (1) หรือ (2) ในถนนส่วนบคุ คลหรือในบริเวณทเ่ี จ้าพนักงานท้องถน่ิ หรือ
พนักงานเจ้าหน้าท่ีประกาศผอ่ นผนั ให้กระท�ำได้ในระหวา่ งวัน เวลาท่กี ำ� หนดด้วยความเหน็ ชอบของเจ้าพนกั งานจราจร”

ส�ำ นกั งานผูต้ รวจการแผ่นดนิ 87

ส�ำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินได้รับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน กรณีเทศบาลแห่งหนึ่งได้ก�ำหนดให้
บริเวณตลาดของชุมชนเป็นพ้ืนท่ีผ่อนผันโดยอนุญาตให้ผู้ค้าตั้งแผงลอยเพ่ือท�ำการจ�ำหน่ายสินค้าบนถนนได้
ในชว่ งเวลา 15.00 น. – 20.00 น. ซ่งึ ตามประกาศของเทศบาลดังกลา่ ว ก�ำหนดให้การจำ� หนา่ ยสนิ ค้าในพื้นท่ี
ผ่อนผันเป็นสิทธิเฉพาะบุคคล แต่กลับมีกรณีผู้ค้าที่ได้รับอนุญาตบางรายขายสิทธิการจ�ำหน่ายสินค้าในพื้นที่
ผ่อนผันให้กับผู้ค้ารายอ่ืน โดยเจ้าหน้าที่ของเทศบาลแห่งน้ันได้ด�ำเนินการออกใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้า
ในพ้ืนท่ีผ่อนผันให้กับผู้ค้ารายใหม่ด้วย เนื่องด้วยผู้ร้องเรียนเป็นเจ้าของตึกแถวในตลาดดังกล่าว โดยบริเวณ
ทางสาธารณะด้านหน้าตึกแถวของผู้ร้องเรียนได้ถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นท่ีผ่อนผันต้ังแผงลอยจ�ำหน่ายสินค้า
และผู้ค้าที่จ�ำหน่ายสินค้าด้านหน้าตึกแถวมีการเปล่ียนหน้าหลายครั้ง เมื่อผู้ร้องเรียนสอบถามจึงทราบว่า
มีการขายสิทธิการจ�ำหน่ายสินค้าต่อกันเป็นจ�ำนวนเงินหลักหม่ืนบาท โดยท่ีเจ้าหน้าที่ของเทศบาลได้รู้เห็น
ในการกระทำ� ดงั กลา่ ว และดำ� เนนิ การออกใบอนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ใหก้ บั ผคู้ า้ รายใหมโ่ ดยไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย
เม่ือพิจารณาจากประกาศของเทศบาลแห่งน้ีที่ได้มีการก�ำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า การจ�ำหน่ายสินค้า
ในพื้นที่ผ่อนผันเป็นสิทธิเฉพาะบุคคล เว้นแต่การโอนสิทธิให้สามี ภรรยา บุตร หรือบิดา มารดาเท่านั้น
กล่าวคือ ผู้ได้รับอนุญาตให้จ�ำหน่ายสินค้าในพ้ืนที่ผ่อนผันไม่สามารถขายสิทธิการจ�ำหน่ายสินค้าให้กับผู้ค้า
รายอนื่ ได้ หากจะโอนสทิ ธใิ หแ้ กก่ นั จะตอ้ งเปน็ การโอนใหก้ บั สามี ภรรยา บตุ ร หรอื บดิ า มารดาเทา่ นน้ั สำ� หรบั
กรณีที่ผู้ได้รับอนุญาตประสงค์จะสละสิทธิในการจ�ำหน่ายสินค้า หรือถูกเพิกถอนสิทธิการจ�ำหน่ายสินค้า
คณะกรรมการจัดระเบียบการจ�ำหน่ายสินค้าและคัดเลือกผู้จ�ำหน่ายสินค้าท่ีเทศบาลแต่งตั้งข้ึนจะเป็น
ผ้คู ัดเลอื กผู้จำ� หนา่ ยสินคา้ แทนตามบญั ชรี ายชอ่ื ท่สี ำ� รองไว้
จังหวัดในฐานะหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลเทศบาลแห่งน้ี ชี้แจงข้อเท็จจริง ในกรณีตามท่ีมีการร้องเรียน
ดังกลา่ วน้ี สรุปไดว้ ่า

88 ปที ่ี 9 ฉบบั ที่ 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

1. ตามประกาศของเทศบาล เรื่อง การก�ำหนดพ้ืนท่ีผ่อนผัน หลักเกณฑ์ ขั้นตอน การจัดระเบียบ
การจำ� หนา่ ยสนิ คา้ และวธิ กี ารรบั สมคั รผจู้ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในทส่ี าธารณะ กำ� หนดใหถ้ นนภายในตลาดของชมุ ชน
แห่งหนึ่ง ระยะความกวา้ ง 3 เมตร ความยาว 400 เมตร จำ� หน่ายสนิ คา้ ตงั้ แต่เวลา 15.00 น. – 20.00 น.
ทกุ วนั เปน็ พ้นื ท่ีผ่อนผนั การตั้งวางจ�ำหนา่ ยสินคา้ ในที่สาธารณะ
2. เทศบาลได้มีค�ำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการออกใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในท่ีหรือ
ทางสาธารณะและใบอนุญาตเร่ขายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ (ในกรณีรายใหม่) โดยเทศบาลได้ออก
ใบอนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในทหี่ รอื ทางสาธารณะบรเิ วณทเ่ี ทศบาลประกาศเปน็ พน้ื ทผ่ี อ่ นผนั ใหก้ บั ผจู้ ำ� หนา่ ย
สนิ ค้า จำ� นวน 121 ราย และปจั จบุ นั มีผคู้ ้าในพ้ืนท่ผี ่อนผันดงั กล่าวจำ� นวน 121 ราย
3. เทศบาลได้ออกเทศบญั ญัติ เรอื่ ง จ�ำหนา่ ยสนิ ค้าในทหี่ รือทางสาธารณะ ซง่ึ ในเทศบญั ญัติดงั กล่าว
ไดก้ ำ� หนดหลกั เกณฑ์ กรณกี ารตอ่ อายใุ บอนญุ าตตอ้ งยน่ื คำ� ขอตอ่ เจา้ พนกั งานทอ้ งถน่ิ กอ่ นใบอนญุ าตหมดอายุ
ซ่งึ ใบอนุญาตมกี ำ� หนด 1 ปี และสามารถตรวจสอบการเปล่ียนผู้ชว่ ยจ�ำหน่ายสินคา้ ไดเ้ ปน็ รายๆ ไป สำ� หรบั
กรณีตามการร้องเรียนอ้างว่า เทศบาลได้ออกใบอนุญาตให้กับผู้ค้ารายใหม่ ซ่ึงซื้อสิทธิการจ�ำหน่ายสินค้า
ในพน้ื ที่ผ่อนผนั จากผู้ไดร้ บั ใบอนุญาตรายเดมิ นนั้ เจ้าหน้าท่ขี องเทศบาลมิไดม้ สี ่วนรบั รู้และเก่ยี วข้องในเรือ่ ง
ดังกล่าว ซึ่งเทศบาลจะพิจารณาออกใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าเป็นรายๆ ไป และถือปฏิบัติตามประกาศ
ดังกลา่ วตลอดมา
จากการพิจารณาสอบสวนข้อเท็จจริงตามเรอ่ื งรอ้ งเรยี นกรณีดงั กล่าว พบปัญหาและอปุ สรรค ดังน้ี
1. จงั หวดั ชแี้ จงขอ้ เทจ็ จรงิ แตเ่ พยี งวา่ เมอ่ื ปี 2547 เทศบาลไดก้ ำ� หนดพนื้ ทผ่ี อ่ นผนั ในบรเิ วณดงั กลา่ ว
และออกใบอนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในทหี่ รอื ทางสาธารณะใหก้ บั ผจู้ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ จำ� นวน 121 ราย และปจั จบุ นั
มผี คู้ า้ ในพน้ื ทผี่ อ่ นผนั จำ� นวน 121 ราย โดยไมม่ กี ารสง่ เอกสารหลกั ฐานทแ่ี สดงใหเ้ หน็ วา่ ผคู้ า้ ในพนื้ ทผี่ อ่ นผนั
ทง้ั 121 ราย เป็นผูค้ า้ รายเดมิ หรอื ผูค้ า้ รายใหม่แตอ่ ย่างใด เมอ่ื มีการประสานขอใหท้ างจงั หวดั จดั สง่ ทะเบียน
รายชอ่ื ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในพนื้ ทผี่ อ่ นผนั เมอ่ื ปี 2547 (ปที มี่ กี ารประกาศพน้ื ทผี่ อ่ นผนั ) และทะเบยี น
รายชื่อผู้ได้รับอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพื้นที่ผ่อนผัน (ในปัจจุบัน) กลับได้รับการช้ีแจงว่า เม่ือปี 2547
เจา้ หนา้ ที่ท่รี ับผดิ ชอบเรอ่ื งดังกล่าวจดั เกบ็ ขอ้ มลู อย่างไม่เปน็ ระบบ เกรงวา่ จะท�ำให้เกดิ ความสบั สน
2. เจา้ หนา้ ทข่ี องเทศบาลทร่ี บั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในพนื้ ทผ่ี อ่ นผนั ในปจั จบุ นั ไดเ้ ขา้ มา
ปฏิบัติหน้าท่ีที่เทศบาลแห่งนี้เพียงไม่นาน โดยเจ้าหน้าท่ีเทศบาลที่เคยปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวกับเรื่องดังกล่าว
ได้ยา้ ยไปปฏบิ ตั หิ น้าทีท่ อ่ี ่นื จงึ เปน็ เหตใุ หก้ ารสอบสวนเรอ่ื งดงั กล่าวไดร้ บั ข้อเทจ็ จรงิ ไมค่ รบถ้วน
3. เจา้ หน้าท่ขี องเทศบาลใหข้ ้อสังเกตเกย่ี วกับการรอ้ งเรียนในครง้ั นว้ี ่า โดยปกติ ใบอนุญาตจำ� หน่าย
สินค้าในพ้ืนที่ผ่อนผันจะระบุข้อมูลช่ือของผู้ท่ีได้รับใบอนุญาต และผู้ช่วยจ�ำหน่าย กรณีที่ผู้ร้องเรียนอ้างว่า
มกี ารเปลยี่ นชอ่ื ผทู้ ไี่ ดร้ บั ใบอนญุ าต แทจ้ รงิ แลว้ อาจเปน็ การเปลย่ี นชอื่ ผชู้ ว่ ยจำ� หนา่ ย เนอื่ งจากในการเปลย่ี นชอื่
ผ้ชู ่วยจำ� หน่าย เจ้าหนา้ ท่ขี องเทศบาลสามารถดำ� เนินการเปลย่ี นช่ือได้ โดยไมม่ ีหลักเกณฑห์ รอื เงือ่ นไขในการ
เปลีย่ นแปลงแต่อย่างใด

ส�ำ นกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดิน 89

จากการสอบสวนเรอ่ื งรอ้ งเรยี นในเบอ้ื งตน้ เนอ่ื งจากยงั ไมป่ รากฏหลกั ฐานทที่ ำ� ใหเ้ หน็ วา่ เจา้ หนา้ ทขี่ อง
เทศบาลปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบออกใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพ้ืนท่ีผ่อนผันให้กับผู้ค้ารายใหม่ที่ซ้ือสิทธิ
การจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในพนื้ ทผี่ อ่ นผนั มาจากผไู้ ดร้ บั อนญุ าตรายเดมิ จงึ ยงั ไมอ่ าจสรปุ ไดว้ า่ พนื้ ทผี่ อ่ นผนั ดงั กลา่ ว
ไมม่ กี ารขายสทิ ธกิ ารจำ� หนา่ ยสนิ คา้ เกดิ ขน้ึ โดยเจา้ หนา้ ทขี่ องเทศบาลไมม่ สี ว่ นรเู้ หน็ แตอ่ ยา่ งใด ตอ่ มาในขนั้ ตอน
กระบวนการสอบสวนของสำ� นกั งานผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ทำ� ใหไ้ ดร้ บั ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากผรู้ อ้ งเรยี น โดยผรู้ อ้ งเรยี น
ได้ให้ข้อมูลชื่อของผู้ค้ารายแรก และผู้ค้ารายปัจจุบันที่จ�ำหน่ายสินค้าบริเวณด้านหน้าตึกแถวของผู้ร้องเรียน
โดยสินคา้ ทจี่ �ำหน่ายจะเปน็ ชนิดเดยี วกัน คือ ไข่ไก่ แมใ้ นการตรวจสอบขอ้ เท็จจริงในเรอื่ งร้องเรียนนจี้ ะได้รับ
ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากเจ้าหน้าที่ของเทศบาลคนเดิม แต่ก็ยังมีปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการจัดส่ง
ทะเบียนรายช่ือผู้ได้รับอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพ้ืนท่ีผ่อนผัน ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงเพียงพอต่อ
การพจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ การสอบสวนในเรอ่ื งนจ้ี งึ ตอ้ งมกี ารลงพนื้ ทไ่ี ปตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ
ทต่ี ลาดดงั กลา่ ว รวมทง้ั ตรวจสอบทะเบยี นรายชอ่ื ของผทู้ ไี่ ดร้ บั อนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในพนื้ ทผี่ อ่ นผนั ทเี่ ทศบาล
เจา้ หนา้ ทเ่ี ทศบาลจงึ ดำ� เนนิ การสง่ เอกสารหลกั ฐานสำ� คญั ประกอบดว้ ย ทะเบยี นรายชอ่ื ของผทู้ ไ่ี ดร้ บั อนญุ าต
จ�ำหนา่ ยสนิ คา้ ในพน้ื ท่ผี อ่ นผัน เมอ่ื ปี 2547 ทะเบยี นรายชอื่ ปี 2548 และทะเบยี นรายช่อื (ปจั จุบนั )
ในการตรวจสอบทะเบียนรายชื่อของผู้ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพื้นท่ีผ่อนผัน ทางส�ำนักงาน
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้สุ่มตรวจสอบจากรายช่ือของผู้ค้าที่ตั้งร้านด้านหน้าตึกแถวของผู้ร้องเรียน ปรากฏว่า
นางล้ินจ่ี (นามสมมุติ) มีช่ืออยู่ในทะเบียนรายชื่อผู้ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพ้ืนท่ีผ่อนผัน ปี 2547
และ ปี 2548 แต่จากการตรวจสอบทะเบียนรายช่ือของผู้ได้รับใบอนุญาตจ�ำหน่ายสินค้าในพื้นท่ีผ่อนผัน
(ปจั จบุ นั ) กลบั ไมพ่ บรายชอ่ื ของนางลน้ิ จ่ี แตก่ ลบั พบวา่ นางสม้ โอ (นามสมมตุ )ิ มรี ายชอ่ื ปรากฏอยใู่ นทะเบยี น
รายช่อื ของผู้ได้รบั ใบอนญุ าตจ�ำหนา่ ยสนิ ค้าในพื้นท่ผี อ่ นผัน (ปจั จุบนั ) โดยที่ในทะเบียนรายชือ่ ปี 2547 และ
ปี 2548 ไมป่ รากฏวา่ มรี ายชอ่ื ของนางสม้ โอเปน็ ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตแตอ่ ยา่ งใด ประกอบกบั เทศบาลไมส่ ามารถ
หาเอกสารหลกั ฐานมาเพอื่ ยนื ยนั ไดว้ า่ มกี ารเปลยี่ นแปลงชอ่ื ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตในรายดงั กลา่ ว หรอื มกี ารคดั เลอื ก
ผู้จ�ำหน่ายสินค้ารายใหมแ่ ทนผไู้ ด้รับอนญุ าตรายเดมิ อยา่ งไร
ผู้ตรวจการแผ่นดินได้พิจารณาเร่ืองร้องเรียนกรณีดังกล่าวแล้วเห็นว่า ตามเทศบัญญัติเทศบาล
เรอ่ื ง การจำ� หน่ายสนิ ค้าในทห่ี รอื ทางสาธารณะ พ.ศ. 2544 ก�ำหนดให้ใบอนุญาตฉบับหน่ึงให้ใช้ไดเ้ ฉพาะผไู้ ด้
รับใบอนุญาตกับผู้ช่วยจ�ำหน่ายในที่หรือทางสาธารณะไว้ในใบอนุญาตไม่เกินหนึ่งคน และห้ามไม่ให้โอน
ใบอนญุ าต ประกอบกบั ตามประกาศเทศบาล เรอ่ื ง การกำ� หนดพน้ื ทผี่ อ่ นผนั หลกั เกณฑ์ ขน้ั ตอน การจดั ระเบยี บ
การจำ� หนา่ ยสนิ คา้ และวธิ กี ารรบั สมคั รผจู้ ำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในทสี่ าธารณะเขตเทศบาล ไดก้ ำ� หนดวา่ การจำ� หนา่ ย
สินค้าในพน้ื ท่ผี อ่ นผันเป็นสทิ ธิเฉพาะบุคคล เวน้ แตก่ ารโอนสทิ ธใิ หส้ ามี ภรรยา บตุ ร หรอื บิดามารดา แตจ่ ากการ
สุ่มตรวจสอบทะเบยี นรายชือ่ ผู้ไดร้ ับใบอนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในพ้ืนที่ที่ประกาศเปน็ จุดผอ่ นผนั พบว่า มีผูไ้ ด้รับ
ใบอนญุ าตบางรายทีไ่ ด้รบั อนญุ าตในปี 2547 (ปที ม่ี ีการประกาศพน้ื ที่ผ่อนผนั ) มไิ ด้มีชือ่ อย่ใู นทะเบยี นรายชอื่
ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าตจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ในปจั จบุ นั และในทางกลบั กนั ผทู้ มี่ ชี อ่ื อยใู่ นทะเบยี นรายชอื่ ผไู้ ดร้ บั ใบอนญุ าต

90 ปที ่ี 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2559

ในปัจจุบันกลับไม่มีชื่ออยู่ในทะเบียนผู้ได้รับใบอนุญาตในปี 2547 ทั้งนี้ อาจเกิดจากกรณีผู้รับใบอนุญาต
บางรายเลิกจ�ำหน่ายสินค้าไป แต่มีการออกใบอนุญาตให้บุคคลอื่นแทน หรือมีการโอนใบอนุญาตให้แก่กัน
ซงึ่ เป็นการฝ่าฝนื เทศบัญญัติและประกาศเทศบาลดงั กล่าว
อยา่ งไรกด็ ี เนอ่ื งจากในกรณีดังกลา่ วเป็นกรณีท่ยี ังผลใหเ้ กิดความเดือดรอ้ นแก่ประชาชน ผูต้ รวจการ
แผ่นดินจึงได้เสนอแนะให้จังหวัดในฐานะหน่วยงานก�ำกับดูแลเทศบาลท่ีมีการร้องเรียนด�ำเนินการตรวจสอบ
ข้อเทจ็ จรงิ อีกครั้งและกำ� ชับให้หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องปฏบิ ัตติ ามเทศบญั ญัติดังกลา่ วโดยเคร่งครัด
ท้ังน้ี จากเรื่องร้องเรียนท่ีน�ำเสนอมาเป็นอุทาหรณ์ในข้างต้นน้ัน สะท้อนให้เห็นว่า รัฐมีกฎหมาย
ออกมาเพอ่ื การควบคมุ จดั ระเบยี บ เนอื่ งจากการใชพ้ น้ื ทส่ี าธารณะไปเพอื่ การอน่ื นน้ั เปน็ สงิ่ ทกี่ ฎหมายหา้ มไว้
ชดั เจนโดยหลกั การทัว่ ไป ดังนนั้ การผ่อนผันยินยอมให้มกี ารใช้พื้นทส่ี าธารณะจงึ กระท�ำได้เท่าที่จำ� เป็น หรอื
กล่าวคือ เป็นไปตามท่ีกฎหมายได้บัญญัติอย่างเคร่งครัดเท่านั้น ซึ่งหน่วยงานผู้บังคับใช้กฎหมายจ�ำเป็น
ท่ีจะต้องมีมาตรการกวดขันผู้ค้าขายที่รับใบอนุญาตให้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายก�ำหนด ซ่ึงจากกรณี
ตัวอย่างกฎหมายมีเจตนาท่ีจะผ่อนผันการใช้พื้นที่เพ่ือการค้าขายให้แก่เฉพาะบุคคลท่ีได้รับอนุญาตเท่าน้ัน
มิได้ยินยอมให้โอนสิทธิดังกล่าวออกไปให้บุคคลภายนอก ท่ีมิใช่บุคคลตามท่ีกฎหมายก�ำหนด อันจะท�ำให้
การตรวจสอบควบคุมการใชพ้ ืน้ ที่ที่ไดม้ กี ารอนุญาตและการจัดระเบยี บทำ� ไดย้ าก และผดิ เจตนาการอนญุ าต
ทใี่ หเ้ ฉพาะเปน็ รายบคุ คลไป
นอกจากน้ี การบรหิ ารจดั การของหนว่ ยงานของรฐั กจ็ ำ� เปน็ ตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื สง่ เสรมิ
ให้กลไกการบังคับใช้กฎหมายสามารถท�ำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าหน่วยงานตามกรณีข้างต้น
ยังคงมีข้อบกพร่องในการจัดการข้อมูลลงทะเบียนผู้ค้าท่ีรับใบอนุญาตให้เป็นระบบ ส่งผลให้เกิดปัญหา
ในการตรวจสอบข้อเท็จจริงในกรณีที่มีปัญหาการร้องเรียน ดังนั้น หน่วยงานจึงมีหน้าท่ีในการปรับปรุงและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กร เพ่ือให้สามารถรองรับการตรวจสอบและสามารถให้ข้อมูล
แก่ประชาชนได้อย่างถูกต้อง เพ่ือให้การให้บริการประชาชนมีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ตาม
หลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทดี่ ี ขณะเดยี วกนั บทบาทของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ จะไดม้ สี ว่ นชว่ ยใหห้ นว่ ยงาน
ทราบและตระหนักในข้อบกพร่องผ่านกระบวนการสอบสวนหาข้อเท็จจริงตามค�ำร้องเรียนอันจะน�ำไปสู่
การปรบั ปรุงการใหบ้ ริการประชาชนไปในทางที่ดแี ละมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้ ต่อไปด้วยเช่นกัน

สำ�นกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดิน 91

คอลัมน์ประจ�ำ

เรอ่ื งนา่ รเู้ กย่ี วกบั ผ้ตู รวจการแผ่นดนิ

Resolution adopted by the General Assembly on 20 December 2012
[on the report of the Third Committee (A/67/457/Add.2 and Corr.1)]
67/163. The role of the Ombudsman, mediator and other national human rights
institutions in the promotion and protection of human rights
ข้อมติทีร่ ับรองโดยสมัชชาใหญ่แหง่ สหประชาชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 20 ธนั วาคม 2555
[ตามรายงานของกรรมการชุดทีส่ าม (A/67/457/Add 2 and Corr. 1)]
67/173 บทบาทของผูต้ รวจการแผน่ ดนิ ผู้ไกล่เกล่ีย และสถาบนั สทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ
เพ่ือส่งเสรมิ และคุ้มครองสทิ ธิมนุษยชน

United Nations A/RES/65/163

General Assenbly Distr.:General

7 March 2013

Sixty-seventh session

Agenda item 69 (b)

Resolution adopted by the General Assembly on 20 December 2012
[on the report of the Third Committee (A/67/457/Add.2 and Corr.1)]

67/163. The role of the Ombudsman, mediator and other national human rights
institutions in the promotion and protection of human rights

The General Assembly,
Reaffirming its commitment to the purposes and principles of the Charter of the
United Nations and the Universal Declaration of Human Rights,1
Recalling the Vienna Declaration and Programme of Action adopted by the World
Conference on Human Rights on 25 June 1993,2 in which the Conference reaffirmed the
important and constructive role played by national human rights institutions,
Reaffirming its resolution 65/207 of 21 December 2010 on the role of the Ombudsman,
mediator and other national human rights institutions in the promotion and protection of
human rights,
Recalling its principles relating to the status of national institutions for the promotion
and protection of human rights (the Paris Principles), welcomed by the General Assembly
in its resolution 48/134 of 20 December 1993 and annexed thereto,
Reaffirming its previous resolutions on national institutions for the promotion and
protection of human rights, in particular resolution 66/169 of 19 December 2011,

1 Resolution 217 A (III).
2 A/CONF.157/24 (Part I), chap. III.

สำ�นกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 93

Welcoming the rapidly growing interest throughout the world in the creation and
strengthening of the Ombudsman, mediator and other national human rights institutions,
and recognizing the important role that these institutions can play, in accordance with their
mandate, in support of national complaint resolution,
Recognizing the role of the existing Ombudsman, whether a male or female, mediator
and other national human rights institutions in the promotion and protection of human rights
and fundamental freedoms,
Underlining the importance of the autonomy and independence of the Ombudsman,
mediator and other national human rights institutions, where they exist, in order to enable
them to consider all issues related to the fields of their competences,
Considering the role of the Ombudsman, mediator and other national human rights
institutions in promoting good governance in public administrations, as well as improving
their relations with citizens, and in strengthening the delivery of public services,
Considering also the important role of the existing Ombudsman, mediator and other
national human rights institutions in contributing to the effective realization of the rule of
law and respect for the principles of justice and equality,
Stressing that these institutions, where they exist, can play an important role in
advising the Governments with respect to bringing national legislation and national
p ractices into line with their international human rights obligations,

Stressing also the importance of international cooperation in the field of human rights,
and recalling the role played by regional and international associations of the Ombudsman,
mediator and other national human rights institutions in promoting cooperation and sharing
best practices,
Noting with satisfaction the active work of the Association of Mediterranean Ombudsmen
and the active continuing work of the Ibero-American Federation of Ombudsmen,
the Association of Ombudsmen and Mediators of la Francophonie, the Asian Ombudsman
Association, the African Ombudsman and Mediators Association, the Arab Ombudsman
Network, the European Mediation Network Initiative, the International Ombudsman Institute
and other active ombudsman and mediator associations and networks,

94 ปีท่ี 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

1. Takes note with appreciation of the report of the Secretary-General;3
2. Encourages Member States:
(a) To consider the creation or the strengthening of independent and autonomous
Ombudsman, mediator and other national human rights institutions at the national and,
where applicable, the local level;
(b) To endow Ombudsman, mediator and other national human rights institutions,
where they exist, with an adequate legislative framework and financial means in order
to ensure the efficient and independent exercise of their mandate and to strengthen the
legitimacy and credibility of their actions as mechanisms for the promotion and protection
of human rights;
(c) To develop and conduct, as appropriate, outreach activities at the national
level, in collaboration with all relevant stakeholders, in order to raise awareness of the
important role of the Ombudsman, mediator and other national human rights institutions;
3. Recognizes that, in accordance with the Vienna Declaration and Programme of
Action, it is the right of each State to choose the framework for national institutions,
including the Ombudsman, mediator and other national human rights institutions, which is
best suited to its particular needs at the national level, in order to promote human rights
in accordance with international human rights instruments;
4. Welcomes the active participation of the Office of the United Nations
High Commissioner for Human Rights in all International and regional meetings of
the Ombudsman, mediator and other national human rights institutions;
5. Encourages the Office of the High Commissioner, through its advisory services, to
develop and support activities dedicated to the existing Ombudsman, mediator and other
national human rights institutions and to strengthen their role within national systems for
human rights protection;

3 A/67/288

สำ�นักงานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ 95

6. Encourages the Ombudsman, mediator and other national human rights
institutions, where they exist:
(a) To operate, as appropriate, in accordance with the principles relating to
the status of national institutions for the promotion and protection of human rights
(the Paris Principles)4 and other relevant international instruments, in order to strengthen
their independence and autonomy and to enhance their capacity to assist Member States
in the promotion and protection of human rights;
(b) To request, in cooperation with the Office of the High Commissioner,
their accreditation by the International Coordinating Committee of National Institutions for
the Promotion and Protection of Human Rights, in order to enable them to interact
effectively with the relevant human rights bodies of the United Nations system;
7. Requests the Secretary-General to report to the General Assembly at its sixty – ninth
session on the implementation of the present resolution.

60th plenary meeting
20 December 2012

4 Resolution 48/134, annex

96 ปีที่ 9 ฉบบั ท่ี 1 มกราคม - มถิ ุนายน 2559

องค์การสหประชาชาต ิ A/RES/65/163
เผยแพรท่ วั่ ไป
ส มัชชาใหญส่ หประชาชาต ิ
7 มนี าคม 2556
สมยั ประชมุ ท่ีหกสบิ เจด็
วาระ 69 (b)

ขอ้ มตทิ ่รี บั รองโดยสมชั ชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ เมอ่ื วนั ที่ 20 ธันวาคม 2555
[ตามรายงานของกรรมการชุดท่สี าม (A/67/457/Add 2 and Corr. 1)]

67/173 บทบาทของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ผู้ไกลเ่ กล่ยี และสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
เพ่ือสง่ เสรมิ และค้มุ ครองสทิ ธิมนุษยชน

สมัชชาใหญ,่
โดยการยืนยนั ในพนั ธกจิ ตามวตั ถปุ ระสงคแ์ ละหลักการแห่งกฎบัตรสหประชาชาติและปฏิญญาสากล
ว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
โดยรำ� ลกึ ถงึ ปฏญิ ญาแหง่ เวยี นนาและแผนปฏบิ ตั กิ ารซง่ึ รบั รองโดยทปี่ ระชมุ วา่ ดว้ ยสทิ ธมิ นษุ ยชนโลก
เมอื่ วนั ท่ี 25 มถิ นุ ายน 2536 ซงึ่ ทปี่ ระชมุ ไดย้ ำ้� ยนื ยนั ถงึ ความสำ� คญั และบทบาทในการสรา้ งสรรคข์ องสถาบนั
สิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติท้ังหลาย
โดยการยนื ยนั ตามขอ้ มตทิ ่ี 65/207 เมอื่ วนั ท่ี 21 ธนั วาคม 2553 วา่ ดว้ ยบทบาทของผตู้ รวจการแผน่ ดนิ
ผูไ้ กล่เกลยี่ และสถาบันสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ เพ่อื สง่ เสริมและคุม้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน
โดยรำ� ลกึ ถงึ หลกั การวา่ สถานภาพของสถาบนั แหง่ ชาตเิ พอ่ื สง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธมิ นษุ ยชน (หลกั การ
ปารสี ) ซ่งึ สมชั ชาใหญใ่ ห้การตอ้ นรบั ตามขอ้ มตทิ ่ี 48/134 เม่อื วนั ที่ 20 ธันวาคม 2536 และตามภาคผนวกน้นั
โดยการยืนยันตามข้อมติก่อนหน้านี้ว่าด้วยสถาบันเพื่อการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขอ้ มติที่ 66/169 เม่ือวันที่ 19 ธนั วาคม 2554
ขอต้อนรับความสนใจที่เพ่ิมทวีโดยรวดเร็วท่ัวโลกในเร่ืองการสร้างสรรค์และเสริมความเข้มแข็ง
ให้ผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ไกล่เกลี่ยและสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และความตระหนักในบทบาทท่ีส�ำคัญ
ของสถาบันดงั กล่าว ตามอ�ำนาจทีไ่ ด้รับมอบหมาย เพื่อสนับสนนุ มติว่าด้วยเรื่องคำ� ร้องเรียนแหง่ ชาติ

1 มติข้อ 217 A (3)
2 A/CONF. 157/24 (Part 1), chap 3

สำ�นักงานผู้ตรวจการแผน่ ดิน 97

โดยตระหนักถึงบทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดิน ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง ผู้ไกล่เกล่ีย และสถาบัน
สทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ ในการสง่ เสริมและคมุ้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชน ตลอดจนเสรภี าพขั้นพื้นฐาน
โดยการมุ่งเน้นความส�ำคัญของความเป็นอิสระและความไม่ขึ้นอยู่กับการควบคุมหรือสนับสนุนจาก
ผู้ใด ของผตู้ รวจการแผน่ ดิน ผูไ้ กล่เกล่ยี และสถาบนั สทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ เพือ่ ใหส้ ามารถพิจารณาประเด็น
ที่เกี่ยวขอ้ งในสายงานตามอำ� นาจหน้าทีต่ ามศักยภาพของตน
โดยการพิจารณาถึงบทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดิน ผู้ไกล่เกล่ีย และสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ในการสง่ เสรมิ หลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารปกครองประเทศ ตลอดจนการปรบั ปรงุ สมั พนั ธภาพกบั พลเมอื ง
และเสริมสร้างความเข้มแขง็ ในการให้บริการแก่สาธารณชน
โดยการพิจารณาเช่นกัน ถึงบทบาทของผู้ตรวจการแผ่นดินที่ด�ำรงอยู่ ผู้ไกล่เกล่ีย และสถาบัน
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในการร่วมสร้างความตระหนักอันดีว่าด้วยหลักแห่งนิติธรรม และความเคารพใน
หลักการแหง่ ความยตุ ิธรรมและความเสมอภาค
โดยมุ่งย้�ำว่า สถาบันดังกล่าวเหล่านี้ ซึ่งด�ำรงอยู่ล้วนมีบทบาทส�ำคัญในการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำต่อ
รัฐบาลด้วยความเคารพให้มีการถือปฏิบัติตามหลักกฎหมายแห่งชาติและแนวปฏิบัติแห่งชาติ ตามพันธกรณี
ท่ีต้องปฏบิ ัตติ ามหลกั สทิ ธมิ นุษยชนระหวา่ งประเทศ
โดยมุ่งเน้นเช่นกัน ถึงความส�ำคัญแห่งความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องสิทธิมนุษยชน และ
โดยรำ� ลกึ ถงึ บทบาทของสมาคมผตู้ รวจการแผน่ ดนิ ประจำ� ภมู ภิ าค และระหวา่ งประเทศ รวมทง้ั ของผไู้ กลเ่ กลย่ี
และสถาบนั สทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาตใิ นการสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งกนั ตลอดจนการแลกเปลย่ี นการปฏบิ ตั ิ
ทเ่ี ป็นเลิศ
โดยการสังเกตเห็นด้วยความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานด้วยความแข็งขันของสมาคมผู้ตรวจการ
แผ่นดินแห่งเมดิเตอร์เรเนียน (The Association of Mediterranean Ombudsmen) และการท�ำงาน
ด้วยความแขง็ ขนั อย่างต่อเนื่องของสหพนั ธผ์ ู้ตรวจการแผน่ ดินไอเบอโร – อเมรกิ นั (The Ibero – American
Federation of Ombudsmen) สมาคมผู้ตรวจการแผน่ ดินและผูไ้ กลเ่ กล่ยี แห่งฟรองโกโฟนี (The Association
of Ombudsmen and Mediators of la Francophonie) สมาคมผตู้ รวจการแผน่ ดนิ แหง่ เอเชยี (The Asian
Ombudsman Association) สมาคมผตู้ รวจการแผน่ ดนิ และผไู้ กลเ่ กลย่ี อาฟรกิ า (The African Ombudsman
and Mediators Association) เครอื ขา่ ยผู้ตรวจการแผน่ ดนิ อาหรบั (The Arab Ombudsman Network)
เครอื ขา่ ยการริเร่มิ การไกลเ่ กลย่ี ยโุ รป (The European Mediation Network Initiative) สถาบนั ผู้ตรวจการ
แผ่นดินระหว่างประเทศ (The International Ombudsman Institute) ตลอดจนสมาคมและเครือข่าย
ผู้ตรวจการแผน่ ดนิ และผไู้ กลเ่ กลยี่ ท่ปี ฏบิ ัติหนา้ ทด่ี ้วยความมุ่งม่ันอนื่ ๆ อีกด้วย

98 ปที ่ี 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2559


Click to View FlipBook Version