The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารรายวิชา หลักภาษาไทยในชีวิตประจำวัน ท๓๐๑๐๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mameow.anisara, 2022-05-02 03:11:02

เอกสารรายวิชา หลักภาษาไทยในชีวิตประจำวัน ท๓๐๑๐๕

เอกสารรายวิชา หลักภาษาไทยในชีวิตประจำวัน ท๓๐๑๐๕

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑

ช่อื ..................................สกุล........................
เลขท่ี....................ชั้น....................
โรงเรยี นวทิ ยาศาสตรจฬุ าภรณราชวิทยาลยั ชลบรุ ี
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓

แบบทดสอบกอ นเรียน รายวิชา หลกั ภาษาไทยในชวี ิตประจำวัน ท๓๐๑๐๕

คำชแ้ี จง เลือกคำตอบท่ถี ูกท่ีสดุ เพยี งขอเดียว
๑. ขอ ใดแสดงใหเห็นวา ความหมายของคำมีความสัมพนั ธก ับเสยี งพยัญชนะ
ก. คนสตฟิ นเฟอ นมกั ฝกใฝในทางฝนเฟองฟุงเฟอ
ข. ใคร ๆ กไ็ มชมเชยชุมชนที่นำ้ เฉอะแฉะจนยงุ ชุมนาชงิ ชัง
ค. สส่ี าวโสดชอบเสยี่ งเซยี มซีตอนอายุส่สี บิ สด่ี ว ยความโศกเศรา
ง. นอ งของฉนั รูปรา งอวบอวนหนา อิม่ อูมเหมือนโอง ชอบลงอาง
๒. คำคใู ดเม่ือสลบั ตำแหนงแลว ความหมายไมเปลี่ยนแปลง
ก. ลมพัด – พัดลม ข. แรกรุน – รนุ แรก
ค. ทางเดิน – เดินทาง ง. ขมข่ืน - ข่ืนขม
๓. ขอใดกลา วไมถ ูกตองเก่ียวกับการเปลยี่ นแปลงของภาษา
ก. “ตะขาบ” ใชเรยี กคำในปจจบุ นั เดิมใชว า “ตวั ขาบ”
ข. “มงึ ก”ู ใชพ ูดกันในอดีต ปจ จบุ ันใช “ฉัน คุณ” แทน
ค. “ดงขาว” ปจจบุ นั คนไมนยิ มใช จะใชคำวา “หุงขาว” แทน
ง. “แพ” ในสมัยสุโขทัย แปลวา ชนะ ปจ จบุ ัน “แพ” แปลวา แพ
๔. ขอใดไมแ สดงถึงพลังของภาษาทม่ี ีอทิ ธิพลตอ มนุษย
ก. อยา ไปเรียกพวกเขาวา สลมั คลองเตยนะ ควรเรยี กวาชุมชนคลองเตย
ข. เธอเปน คนดมี นี ้ำใจชอบชว ยเหลือเพ่ือนมนุษยท ่ีกำลังไดรับความลำบาก
ค. ทว่ั โลกยกยอ งประเทศไทยวา รบั มอื กบั โรคระบาดไดด ีท้งั ที่เปนประเทศทีก่ ำลงั พฒั นา
ง. สมยั กอ นคนไมนยิ มปลูกตนลนั่ ทม พอเปลี่ยนช่อื เปน ลีลาวดกี ลบั นิยมปลูกตามบานมากข้นึ
๕. ขอใดไมแ สดงวาภาษาชวยกำหนดอนาคต
ก. ในสถานการณโ รคระบาดโควดิ ๑๙ ตา งมขี อ ความใหกำลงั ใจ เชน “เราจะผานชว งเวลาน้ีไปดวยกนั ”
ข. นักเรยี นสามารถเรยี นผา นระบบออนไลนไดห ลายชอ งทาง ไมว าจะเปน แบบพบหนาหรือผานสื่อตาง ๆ
ค. การสอบ TGAT ป ๖๖ มี ๓ สว น ซ่งี จะสอบในเดือนธันวาคม ๒๕๖๕ ใชส ำหรับการคดั เลอื กในรอบ
Portfolio / Admission
ง. นักเรยี นอาจยังไมคุนเคยกบั การเรยี นการสอนทางไกล ถอื เปน โอกาสทีจ่ ะไดเรยี นรูและปรบั ตวั เขา กบั การ
เรียนการสอนในโลกยุคใหม
๖. ขอใดเปนคำไทยแทท ุกคำ
ก. ตนี งูงไู ซรห าก เห็นกัน
ข. นมไกไกส ำคัญ ไกร ู
ค. หมโู จรตอ โจรหัน เห็นเลห กนั นา
ง. เชิงปราชญฉลาดกลาวผู ปราชญร เู ชงิ กนั
๗. ขอใดไมม คี ำพองเสียง
ก. เขารดน้ำลงไปบนฝากระโปรงรถยนตข องเขา
ข. นองนำเหรียญบาทไปใสบาตรพระในวันเกิด
ค. ถา ไมม ีชางคนไหนรบั ซอมบา นให ผมซอ มเองก็ได
ง. วนั จนั ทรฉ นั ต้งั ใจจะไปซื้อตน จนั ทนม าปลกู

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔

๘. ขอใดมีอกั ษรนำมากท่ีสุด ข. น้ำมูกไหล ใสหนา กาก
ก. หมนั่ ลางมือ ถอื ชอนตน
ค. หลกี หนีเช้ือ เพือ่ หยุดแพร ง. อยูบ า น หยุดเชอ้ื เพ่อื ชาติ
๙. คำทีม่ รี ูปวรรณยุกตใ นขอใดใชร ปู วรรณยกุ ตตรงกับเสยี งวรรณยกุ ตท ุกคำ
ก. ครั้นรงุ เชา เทาประดภู ธู ร ข. หมหู มาแหห อมลอ มหนาหลัง
ค. เมืองหนึง่ สรา งใหมด ูใหญก วา ง ง. งามละมายคลายอฐู กะหลาปา
๑๐. ขอความตอไปน้ีมีคำเปนกพี่ ยางค
“นกั วิทยาศาสตรพิสจู นแ ลว วา อิริยาบถมีผลตอ การคดิ ของมนษุ ย”
ก. ๘ คำ ข. ๙ คำ
ค. ๑๐ คำ ง. ๑๑ คำ
๑๑. ขอ ความตอ ไปนี้มีคำตายกพ่ี ยางค
“วันลอยกระทงเปนวนั ท่ีพระจันทรเตม็ ดวงในฤดนู ำ้ หลาก”
ก. ๔ คำ ข. ๕ คำ
ค. ๖ คำ ง. ๗ คำ
๑๒. คำในขอใดสะกดถกู ทุกคำ
ก. บณั เฑาะว บรเพด็ เบญจเพส ข. วาระดถิ ี วิ่งเปรย้ี ว เวนคืน
ค. คลินกิ คำนวณ โควตา ง. นกพิราบ นำ้ มนั กาด เนรมติ
๑๓. ขอความตอ ไปนี้มีเสียงสระอะก่ีพยางค (นับทุกเสยี ง)
“แนวปะการังเปน โครงสรา งที่อยอู าศยั ที่มีขนาดใหญทีส่ ดุ ”
ก. ๔ คำ ข. ๕ คำ
ค. ๖ คำ ง. ๗ คำ
๑๔. คำประพนั ธตอไปนี้มเี สียงพยญั ชนะตน กเี่ สียง ( ไมนับเสยี งซำ้ )
“พระเสดจ็ โดยแดนชล ทรงเรือตนงามเฉดิ ฉาย”
ก. ๔ เสยี ง ข. ๕ เสียง
ค. ๖ เสยี ง ง. ๗ เสียง
๑๕. คำประพันธต อไปนี้มีเสียงพยัญชนะทา ยกี่เสียง ( ไมน ับเสียงซำ้ )
“ชวยกันบำรงุ ความรงุ เรือง ใหช่อื ไทยกระเด่ืองทัว่ โลกา”
ก. ๓ เสียง ข. ๔ เสียง
ค. ๕ เสยี ง ง. ๖ เสียง
๑๖. ขอความตอ ไปน้มี ีคำนามกค่ี ำ
“กาแฟเปนเคร่ืองด่ืมทที่ ำมาจากเมลด็ ซึง่ ไดจากตนกาแฟซึ่งมีสวนประกอบของคาเฟอนี ทำใหมี
สรรพคุณชูกำลังในมนษุ ย”
ก. ๘ คำ ข. ๙ คำ
ค. ๑๐ คำ ง. ๑๑ คำ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๕

๑๗. ขอใดใชลกั ษณนามผิด
ก. ถนนเสนพหลโยธินเปน เสนทางลงสูภาคใต
ข. ดวงจติ กบั ดวงวญิ ญาณมีลักษณะท่ีเหมือนกัน
ค. การเลือกพรมปพู ้ืนบา นควรเลือกผืนทม่ี ีคุณภาพ
ง. ขบวนแหเทียนเขา พรรษาประกอบดว ยฉัตร ๕ คัน
๑๘. ขอ ความตอ ไปน้มี ีคำกรยิ าหลักกค่ี ำ
“แสงแดดตอนเชา ชว ยใหร างกายไดร บั วติ ามินดที ช่ี วยเรอ่ื งการดดู ซมึ แคลเซียมปอ งกันโรคกระดูกพรนุ
ทำใหฟน แขง็ แรง”
ก. ๓ คำ ข. ๔ คำ
ค. ๕ คำ ง. ๖ คำ
๑๙. ขอ ความตอไปนม้ี ีคำบุพบทก่คี ำ
“สิวเปนโรคผิวหนังทีพ่ บบอยของมนุษย มีสาเหตจุ ากการเพิ่มแอนโดรเจนซงึ่ เกิดในชวงวยั แรกรนุ ”
ก. ๑ คำ ข. ๒ คำ
ค. ๓ คำ ง. ๔ คำ
๒๐. ขอความตอ ไปนมี้ ีคำสันธานกค่ี ำ
“สวสั ดคี ะ นอ ง ๆ ชัน้ ม.๔ , ม. ๕ และ ม.๖ คงกำลังพกั ผอนหรือเตรียมตวั อานหนังสือกันอยูถานอง ๆ
คนไหนยังไมเรม่ิ อานตองรบี แลวนะคะ”
ก. ๑ คำ ข. ๒ คำ
ค. ๓ คำ ง. ๔ คำ
๒๑. ขอความตอ ไปนี้สว นใดมีคำซอ นมากทีส่ ดุ
๑ ) การแขงเรือเปน ประเพณีทป่ี ฏิบตั สิ ืบทอดกนั มาชานาน ๒ ) โดยจดั ข้นึ ระหวางงานบญุ ออก
พรรษามีความมงุ หมายใหช าวบานไดสนกุ สนานรว มกัน ๓ ) กอ ใหเ กดิ ความสามคั คี เสียสละ และเปน การ
เชอื่ มความสัมพันธ ๔ ) จัดในลำนำ้ โขงทมี่ รี องน้ำไหลหลากยากลำบากมากที่จะแขง ขัน
ก. สวนที่ ๑ ข. สว นที ๒
ค. สว นท่ี ๓ ง. สว นท่ี ๔
๒๒. ขอใดไมม ีคำประสม
ก. ขนรักแรส ามารถชวยลดกลิน่ ตวั ได
ข. กนิ อาหารจานดว นมากจนเกนิ ไปนั้นไมเ ปนผลดีตอรางกาย
ค. เมือ่ เราต่ืนแลวกลับไปนอนตอ ทำใหเรากลับเขาไปสเู รื่องนอนอีกครงั้
ง. กตี ารม ีหลักการเกิดเสียงคอื นำสายลวดมาดึงใหตึงและใชนวิ้ มอื มาดดี
๒๓. ขอ ใดตอ งใชเ ปน คำซำ้ เทานน้ั
ก. อาหารสนุ ขั ที่มีสวนผสมของขา วสาลี บที รูท ผัก และเนื้อสตั วต าง ๆ เรียกวาบิลกติ
ข. เสยี งกรนเปนเสยี งทสี่ รา งความรำคาญแกผ ูไดยินเพราะดงั พอ ๆ กบั เสยี งของสวา นไฟฟา
ค. การใชแ ปงฝุน ทาบนตัวของเด็กเลก็ ควรเทแปงลงบนฝามือเสียกอนจึงคอย ๆ ทาลงบนตวั เดก็ เลก็
ง. หมู ผี ลตอ การทรงตัวหากเราหมุนไปรอบ ๆ ตัว จะทำใหอวัยวะนีเ้ กิดความสบั สนเราจงึ เวยี นศรี ษะ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๖

๒๔. ขอความตอ ไปน้สี วนใดมีคำสมาสแบบมสี นธิ
๑ ) การพบฟอสซิลทสี่ ำคญั ของไทย คอื ฟอสซิลเกือบสมบูรณ ๒ ) ทง้ั ตวั ของไดโนเสารก นิ พชื ที่
ภูกมุ ขา ว จังหวดั กาฬสินธุเ ปนการคนพบทส่ี ำคัญ ๓ ) และพบไดย ากมากทำใหมกี ารพัฒนาภูกมุ ขา วเปน
พิพธิ ภัณฑ ๔ ) คลังเก็บฟอสซลิ และหอ งปฏบิ ัติการดา นบรรพชีวินวทิ ยาทส่ี ำคญั
ก. สว นท่ี ๑ ข. สวนที ๒
ค. สวนท่ี ๓ ง. สว นท่ี ๔
๒๕. ขอความตอไปน้ีมีคำสมาสแบบมสี นธกิ ่คี ำ
“สงกรานตหมายถงึ การสงทายปเกา ตอ นรับปใ หม เดิมทวี นั นจี้ ะมกี ารคำนวณทางดาราศาสตร แตใน
ปจ จุบันไดกำหนดวันที่แนน อน คือ ๑๓ – ๑๕ เมษายน แตเดมิ วนั ขึ้นปใหมไทยคอื วันเร่ิมปฏทิ ินของไทยจนถึง
พ.ศ. ๒๔๓๑”
ก. ๑ คำ ข. ๒ คำ
ค. ๓ คำ ง. ๔ คำ
๒๖. ขอ ใดเปนคำบาลที ุกคำ
ก. กงั ขา จรรยา คงคา ข. ธัญญาหาร นิมนต วเิ คราะห
ค. ปส สาวะ กรรมฐาน จมุ พิต ง. อคั คี วทัญู พพิ ฒั น
๒๗. ขอ ใดเปน คำสนั สกฤตทุกคำ
ก. กษัตรยิ  ดุษฎี วสิ ุทธ์ิ ข. ขัตตยิ ะ วิเคราะห ไพบูลย
ค. นฤพาน ทรรศนะ มหศั จรรย ง. วิเศษ อวกาศ ขัตตยิ ะ
๒๘. ขอ ใดมคี ำภาษาเขมร
ก. บา นทรงไทยแบบเดิมจะมีจ่ัวสงู กวาแบบบา นอื่น ๆ
ข. ใครทเ่ี คยอยูไดสัมผสั บา นลกั ษณะน้ีจะรสู ึกเยน็ สบาย
ค. มกี ารยกพ้นื สูงขนึ้ ไปจงึ ตองมีพื้นท่สี ัญจรภายในบาน
ง. เปนบา นทเี่ หมาะอยางย่ิงกบั อากาศรอนของประเทศไทย
๒๙. ขอความตอไปน้ีมีคำภาษาอังกฤษก่ีคำ
“สวนดุสติ โพลสำรวจความคดิ เห็นของประชาชนเกี่ยวกับกิจกรรมยอดฮติ ยุคโควดิ – ๑๙ ทางออนไลน
อนั ดับหนงึ่ คือ เลน เฟซบุค ทวิตเตอร ไลน อินสตาแกรม”
ก. ๗ คำ ข. ๘ คำ
ค. ๙ คำ ง. ๑๐ คำ
๓๐. ขอใดสามารถใชคำไทยแทนภาษาอังกฤษได
ก. ตาของเหย่ยี วสามารถมองเหน็ แมลงวันที่อยูใ นระยะครง่ึ ไมลไ ด
ข. รางกายของคนจะผลิตกระแสไฟฟา เทยี บเทาการเปด หลอดไฟฟา ๑๒๐ วตั ต
ค. ภายในหมู ีของเหลวท่ีไวตอ การกระตนุ ของเหลวนีท้ ำหนาท่ีปรบั บาลานซท ำใหเ ราทรงตัวอยูไ ด
ง. เม่ือรสู กึ เขินอายหนาจะแดงเพราะขณะที่เราเขนิ อายเซลลป ระสาทจะถูกกระตุนใหปลอ ยสารเคมี
๓๑. ขอ ใดไมเ ปนประโยค
ก. มดเปน สิง่ มชี ีวติ ที่สรางความแปลกใจเก่ียวกับความแข็งแรง
ข. เราเหน็ มดแบกอาหารหรือใบไมทีม่ ีขนาดใหญก วา ตัวของมนั
ค. พวกมันสามารถแบกสง่ิ ท่หี นักกวา ตวั ของมันถึง ๕๐ เทา ได
ง. ขนาดของกลา มเนื้อของพวกมนั ท่ีหนากวาสัตวข นาดใหญอ นื่ ๆ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๗

๓๒. ขอ ใดเปนประโยคสามัญ
ก. การด่มื นำ้ มากเกินไปจะทำใหเ กิดภาวะน้ำเปน พิษ
ข. ตน ไมบนโลกของเรามีจำนวนมากกวา ดวงดาวในกาแลก็ ซีเสียอกี
ค. กลว ยหอมมีกัมมันตภาพรงั สีเพราะประกอบไปดว ยธาตโุ ปรแทสเซียม
ง. แบคทเี รยี อยใู นรา งกายมนษุ ยซ่งึ สามารถผลิตสารเคมีชวยควบคมุ พลังงาน
๓๓. ขอใดใชค ำผิดความหมาย
ก. อาหารท่ีเธอกินเขา ไปนาจะมสี ารพิษเจือปนแน ๆ
ข. เขาออกแถลงการณกรณที ่ีมีผมู ารองเรียนเรื่องที่ดิน
ค. ผูช ายคนนัน้ เขามาขัดขวางคนเมาไมใ หทำรา ยเพือ่ นบา น
ง. ดิฉันเช่อื วา การประชาสมั พันธเรอ่ื งไวรัสโควิดเปน ความจำเปน
๓๔. ขอ ความตอ ไปน้ีสวนใดใชร ะดบั ภาษาตางกับสวนอ่ืน
๑) ประเทศไทยในอดีตไดชอื่ วาเปน อขู า วอนู ้ำ ความสมบรู ณจ ากพชื พนั ธธุ ัญญาหาร ๒ ) เกิดจาก
ปจจัยทางธรรมชาตทิ ีเ่ อื้ออำนวย แตปจ จุบนั ปจ จัยทกี่ อ ใหเ กิดความอดุ มสมบูรณ ๓ ) ไดเปลยี่ นแปลงไปเกดิ
ความแหงแลงมากข้นึ ๔ ) ดินดำไมมนี ำ้ หลอ เลย้ี งเลย ผืนดินที่เคยดีก็เหอื ดแหงกลายเปน รอยแยก
แตกระแหง
ก. สวนท่ี ๑ ข. สวนที ๒
ค. สวนท่ี ๓ ง. สว นท่ี ๔
๓๕. จงเลอื กคำราชาศัพทท ี่เหมาะสมเติมลงในชองวา ง
“สมเดจ็ พระเจา นองนางเธอ เจา ฟา จฬุ าภรณวลยั ลักษณ อัครราชกุมารี กรมพระศรสี วางควัฒน-
วรขตั ติยราชนารี จะ......................................สาธารณรัฐอินเดีย ระหวางวันที่ ๑๔ – ๒๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๔
ก. เสด็จเยือน ข. ทรงเสด็จเยือน
ค. เสดจ็ พระดำเนินเยือน ง. เสดจ็ พระราชดำเนินเยือน
๓๖. ขอ ใดใชสำนวนไมถ กู ตอง
ก. ไมตองไปบอกเขาหรอกเขาไมสนใจเรื่องนีเ้ ลย เธอพดู ไปก็เหมือนสีซอใหควายฟง
ข. น่เี ธอไมต อ งยกตนขมทานหรอกนะ ใคร ๆ ก็รวู า เธอเกงทกุ อยา ง ไมตองไปพดู ใหเ ขานอ ยใจหรอก
ค. อยา ยงุ กับเรื่องของเจานายเลยพวกเขาทะเลาะกนั กเ็ รื่องของเขาอยาเขาไปยงุ น้ำขุนไวใ นนำ้ ใสไวน อก
ง. นายกองดีดลูกคิดรางแกวแลว เพราะมีหนากากอนามยั จำนวนมากจึงขายเกินราคาในชว งโควิดระบาด
๓๗. เพลงตอไปนีม้ ีคำภาษาถ่ินก่ีคำ ( ไมน บั คำซ้ำ )
“เซฟตเ้ี มืองไทยชา ไปโรครายเลน งาน ใสแมสเฮ็ดเวยี กอยบู าน อยไู ผอยมู นั คือทางรอดตาย อยา อยูใกลไผ
อยาใหผ ูใ ดใกลเธอ บแมน หวงเดอ ยานเจอโควดิ จากคนชดิ ใกล สวนอายนะหรือ ใชเ จลลางมือพุนเดกอนไลน”
ก. ๑๐ คำ ข. ๑๑ คำ
ค. ๑๒ คำ ง. ๑๓ คำ
๓๘. ขอใดไมอ าจอนุมานไดจากขอ ความตอไปน้ี
“เพราะการไปเรยี นหนงั สือกินเวลาของผมไปเกือบทง้ั วนั พอถงึ เวลาออกไปขอทานตอนกลางคืนจึง
ตอ งแขง็ ขันกวาเดิมอีกหลายเทา พอนั่งดดี พณิ รองเพลงไป ผมน่ังคุกเขา อยูขา ง ๆ พรอมกบั ทำการบา นโดย
อาศยั แสงไฟรบิ หร่ีจากเสาขางถนน”
ก. กลาหาญ ข. ตง้ั ใจเรยี น
ค. มานะอดทน ง. ฐานะยากจน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๘

๓๙. ขอ ใดไมใ ชโ ครงสรางของการแสดงเหตผุ ล
ก. ไวรัสโคโรนาเปน กลุมเชอื้ หวดั สายพนั ธใุ หมท ี่ยากจะคาดเดาอาการที่ปรากฏจึงสง ผลใหม ีอัตราการ
เสียชวี ิตเพ่ิมขนึ้
ข. ประเทศไทยมีจำนวนผูป วยติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุใ หม ๒๐๑๙ ในจำนวนไมมากนกั ถาเทยี บ
กบั ประเทศตาง ๆ ทว่ั โลก
ค. การใสห นากากอนามัยในบคุ คลปกตปิ องกันไดเ พยี งสวนหน่งึ ควรใชร วมกนั กับวธิ ีอ่นื ๆ ดวยคือ
การสรา งจิตสำนกึ ใหค นปวยใสหนากาก
ง. หากมีอาการผิดปกตคิ วรรีบไปตรวจโดยเร็วทสี่ ุด ถาพบเร็วรักษาเร็วยอมเพ่มิ โอกาสในการหายจาก
โรคและลดโอกาสในการแพรเชอ้ื

๔๐. ขอใดเปน การอนุมานดวยวธิ ีอปุ นัย
ก. ผใู ชส มารท โฟนมากจะสงผลเสยี ตอสขุ ภาพตา สทุ ินชอบเลนไลนตอนกลางคืนทำใหมีอาการปวดตา
ข. คนทมี่ ีความเพียรพยายามมกั จะประสบความสำเร็จในชวี ิต สุธรี ต ั้งใจเรยี นมากจึงประสบ
ความสำเรจ็
ค เพอื่ น ๆ ท่โี รงเรยี นบอกวาหมกู ระทะรา นน้ีอรอยมาก หากฉนั และนอง ๆ ไปซ้ือหมกู ระทะมาก็คง
อรอ ยเชน กนั
ง. ผูท เี่ ปนโรคกลวั สงั คมคือเด็กที่ไมกลาทำอะไรตอ หนาคนอื่น สพุ จนไมกลาแสดงออกตอหนาคนอื่น
พฤติกรรมน้แี สดงวาเขาเปนโรคกลัวสังคม

คะแนนทไ่ี ด
ชอื่ ..................................................................................................เลขท่ี.....................ชั้น.....................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๙

แบบทดสอบกอ นเรยี น เร่อื ง ธรรมชาตภิ าษา

คำช้ีแจง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบท่ีถูกตองทีส่ ดุ เพยี งขอ เดียว แลว ทำเคร่อื งหมายกากบาท

() ลงในกระดาษคำตอบแบบทดสอบกอนเรยี น เร่ือง ธรรมชาติของภาษา

๑. ขอ ใดเปนคำท่เี กิดจากการเลยี นเสยี งทุกคำ

ก. โห หยุ ฮา แหบ ข. ออด หวดู ระฆัง

ค. กา ตุก แก อ่งึ อา ง ง. รถเมล รถตกุ ตุก รถราง

๒. "แลวหนา ตางกถ็ กู เปด " เปนประโยคท่ีเปลีย่ นไปจาก "เขาเปด หนาตา ง" ท้ังนี้เพราะสาเหตใุ ด

ก. อิทธิพลของภาษาอืน่ ข. การเลียนภาษาของเดก็

ค. การพดู จาในชวี ิตประจำวนั ง. การเปลีย่ นแปลงเพราะสิ่งแวดลอม

๓. ขอใดแสดงพนั ธกจิ ของภาษาตา งกับขออนื่

ก. ดูระเบยี บการไดทีน่ ี่ ข. ท้งั นี้เริ่มมีผลแตบดั น้ี

ค. เที่ยวบนิ นง้ี ดสูบบหุ ร่ี ง. รจู ักเพียงพอกอสุขทุกเมือ่

๔. ขอ ใดเปนการใชภ าษาทีแ่ สดงใหเหน็ การเปล่ียนแปลงของสงั คม

ก. อาหารจานพิเศษ ข. อาหารจานดวน

ค. อาหารจานใหญ ง. อาหารจานเดด็

๕. " กิน, กนิ ขา ว, ฉนั กินขาว " แสดงธรรมชาตขิ องภาษาตามขอ ใด

ก. ภาษามีการเปล่ยี นแปลง ข. ภาษาใชเ สยี งสอื่ ความหมาย

ค. ภาษามีลักษณะคลา ยคลงึ กนั ง. หนวยยอ ยประกอบเปน หนวยท่ใี หญขน้ึ

๖. ขอใดไมใ ชล ักษณะทั่วไปของภาษา

ก. มีคำเกดิ ใหม ดำรงอยแู ละตายไป ข. มจี ำนวนเสยี งจำกัด

ค. มเี สียงวรรณยกุ ต ง. แปรเปลย่ี นได

๗. ขอ ใดแสดงวา ภาษาไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลง

ก. สง สินคา ออก ปจ จบุ ันใชวา สง ออกสินคา

ข. ดิฉนั แตเดิมทั้งผหู ญงิ และผชู ายใชส รรพนามแทนตวั

ค. มอง ภาษาเหนือใช ผอ ภาษาอสี านใช เบง่ิ และภาษาใตใช แล

ง. เรอื น รกั ในภาษากรงุ เทพฯ ออกสียงเปน เฮือน ฮัก ในภาษาถิ่นเหนือ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๐

๘. ขอใดไมใ ชธ รรมชาติของภาษา
ก. ภาษาของสงั คมหน่ึงอาจถูกสังคมอื่นยมื ไปใชแ ละสรา งความเจริญใหสงั คมใหมน น้ั ได
ข. ผูใชภาษาสามารถแตง ประโยคใหม ๆ ข้ึนมาไดทุกวนั แมจะไมใชประโยคทเี่ คยเรยี นจากพอแม
ค. ภาษาประกอบขึน้ ดวยเสียงและความหมาย การศกึ ษาภาษาพดู จะทำใหรลู ักษณะแทจรงิ ของภาษา
ง. ผูใชภาษาจากสังคมหน่ึงจะสามารถเขาใจภาษาของสงั คมอืน่ ได ถาภาษานน้ั มรี ะบบการเขียนที่

แนน อน
๙. ขอใดไมทำใหเกิดการเปล่ยี นแปลงของภาษา

ก. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ
ข. การเปลย่ี นแปลงของสิ่งแวดลอ ม
ค. อทิ ธิพลของภาษาตา งประเทศ
ง. การพดู ในชวี ิตประจำวัน
๑๐. ความนยิ มในการปลูกตน ไมท ี่บานชนดิ ใด สะทอนใหเ ห็นวา มนุษยตกอยูใตอทิ ธิพลของภาษา
ก. ตน สน
ข. ตนรัก
ค. ตนขนุน
ง. ตน พุทรา

คะแนนทีไ่ ด

ช่ือ..................................................................................................เลขที่.....................ช้นั .....................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๑

ใบความรทู ี่ ๑
ธรรมชาตขิ องภาษา และสาเหตกุ ารเปลี่ยนแปลงของภาษา

ภาษา คือ เครื่องมือสื่อความเขาใจ ภาษา ตามความหมายอยางกวางคือ การสื่อความหมายโดยมี
ระบบกฎเกณฑที่เขาใจกัน ๒ ฝายระหวางมนษุ ยหรือระหวางสัตวก ็ได จะใชเ สียง ทาทาง หรือสัญลักษณอื่นใด
กไ็ ด ฉะน้นั จึงมีภาษาคนภาษาสตั ว ภาษาคอมพวิ เตอร ภาษาใบ เปน ตน สว นภาษาตามความหมายอยางแคบ
นั้นคอื ถอ ยคำท่มี นษุ ยใ ชพ ูดส่ือความหมายกัน บางภาษามีตวั อกั ษรถายทอดเสยี งจึงเรยี กวา ภาษาเขียน ภาษา
ของมนุษยทวั่ ไปมลี กั ษณะรว มกนั ท่ีสำคญั มี ๔ ประการ ดงั นี้ (วารณุ ี รกั ษาจนั ทร. ๒๕๕๒ : ๑๘ - ๒๑)
๑. ใชเสียงสื่อความหมาย บางภาษามีตวั อักษรเปนเครื่องถา ยเสียง ภาษาคอื เครื่องมอื ท่สี ่อื ความเขา ใจ มดี งั น้ี

๑.๑ เสียงสัมพันธกับความหมาย คำไทยบางคำอาศัยเลียนเสียงธรรมชาติ และเสียงสัตว เชน โครม
เพลง ปง กร๊ิง หวูด ออด ตุก ๆ กา แมว จง้ิ จก อึ่งอาง ตกุ แก

๑.๒ เสียงไมสัมพันธกับความหมาย คือ การตกลงกันของกลุมแตละกลุม วาจะใชคำใดตรงกับ
ความหมายนน้ั ๆ ฉะน้นั แตล ะชาตจิ ึงใชค ำไมเ หมือนกัน

๑.๓ สวนมากเสียงกับความหมายไมสัมพันธกัน ถาเสียงกับความหมายสัมพันธกันทั้งหมดแลว
คนตางชาตติ า งภาษาก็จะใชคำตรงกนั
๒. ภาษาประกอบกันจากหนวยเล็กเปนหนวยใหญ เชน เสียง (พยัญชนะ สระ วรรณยุกต) คำ ประโยค
ขอ ความ เร่อื งราว ภาษาแตละภาษามีคำ จำนวนจำกัดแตส ามารถประกอบกันข้ึน โดยไมจ ำกัดจำนวน เชน มี
คำวา “ ใคร ใช ให ไป หา” สามารถสรา งเปนประโยคไดหลายประโยคและตอ ประโยคใหย าวออกไปไดเรอ่ื ย ๆ
๓. ภาษามีการเปลีย่ นแปลง ซ่ึงมสี าเหตุดงั น้ี

๓.๑ การพูดจาในชีวิตประจำวัน เสียงอาจกลายหรือกรอนไป เชน อยางไร เปนยังไง อันหนึ่ง เปน
อนึ่ง เปน ตน

๓.๒ อิทธิพลของภาษาอนื่ เชน ภาษาองั กฤษ มักมคี ำที่ไมกะทัดรดั เชน คำวา ไดร บั ตอ การ นำมาซ่ึง
พรอมกับ สำหรบั มัน ในความคิด สง่ั เขา สง ออก ใชชวี ิต ไมมลี ักษณนาม เชน

- เขาไดรับความพอใจ
- เลขขอนง้ี า ยตอ การคดิ
- ความเพยี รจะนำมาซงึ่ ความสำเร็จ
- นักกีฬากลบั มาพรอ มกับชัยชนะ
- สำหรบั ขา พเจาไมข อแสดงความเหน็
- มันเปน การงา ยท่จี ะกลาวเชนน้นั
- ประเทศไทยสง่ั เขา น้ำมนั ปละหลายหม่นื ลา นบาท

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๒

- เขาใชช ีวิตอยูในตางประเทศเปนสว นใหญ
- สามผรู า ยบุกปลนธนาคาร
๓.๓ ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม เชน คนไทยไปเติบโตที่ตางประเทศกลับมาเมืองไทยพูด
ภาษาไทยไมค อยชดั เปน ตน
๓.๔ การเลยี นภาษาของเดก็
ลักษณะการเปล่ยี นแปลง
- มกี ารเปลี่ยนแปลงความหมายจากเดมิ เปนความหมายใหม
- มกี ารเปลีย่ นแปลงเสียง รูปศัพท กรอ นเสียง กลนื เสยี ง
ผลของการเปลี่ยนแปลงของภาษา
- ทำใหภาษามกี ารเปลยี่ นแปลง มีคำศพั ทใหม
- ภาษาไมตาย
- มกี ารใชภ าษาท่ีเหมาะสมกบั การเปล่ยี นแปลงของสง่ิ แวดลอม
๔. ภาษาตางๆ มลี ักษณะที่ตา งกนั และเหมือนกนั ดังน้ี
ลักษณะภาษาที่ตางกันคือ การใชคำ เสียง ลักษณนาม ไวยากรณ การเรียงคำ สวนลักษณะที่
เหมือนกนั คือ
- ใชเ สยี งสอื่ ความหมายกัน
- มีวิธสี รางศพั ทใหม เชน เอาคำเดิมมารวมกนั เปน คำ ประสม เปนตน
- มีสำนวนในการเปรยี บเทยี บ
- มีชนิดของคำ เชน คำ นาม สรรพนาม กริยา วิเศษณ เปนตน
- มกี ารขยายประโยคใหยาวออกไปไดเ รือ่ ย ๆ
- มปี ระโยคบอกเจตนาคลา ยกนั เชน แจงใหทราบ ถามใหต อบ หรอื สงั่ ใหท ำ
- มกี ารเปล่ยี นแปลงไปตามกาลเวลา

สรปุ ธรรมชาติของภาษา หมายถึง ลักษณะท่ัวไปของภาษาที่มีลักษณะที่เหมือนกัน ไดแก การใชเสียง
สื่อความหมาย ประกอบจากหนวยเล็กที่เรียกวา หนวยเสียงกลายเปนหนวยใหญ ภาษามีการเปลี่ยนแปลงภาษามี
ลักษณะทเ่ี หมือนและตางกัน การเปลีย่ นแปลงของภาษาเกดิ จากสาเหตุ 4 ประการดังน้ี
๑. การใชใ นชีวิตประจำวัน
๒. การรบั อิทธพิ ลจากภาษาอ่ืน
๓. การเปลยี่ นแปลงของส่ิงแวดลอ ม
๔. การเลียนแบบภาษาเด็ก

จากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของภาษาดงั กลาวจึงทำใหภ าษาไมต าย มีคำศัพทใหม ๆ มาใชแ ละมีการใชคำให
เหมาะสมกับสง่ิ แวดลอมทเี่ ปล่ยี นแปลง

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๓

แบบฝก หดั ท่ี ๑ ธรรมชาตขิ องภาษา

คำชแ้ี จง ใหนกั เรยี นวิเคราะหค ำท่ีกำหนดใหใ นตาราง แลว อธิบายธรรมชาติของภาษาที่
กำหนดใหต อ ไปน้โี ดยนำเฉพาะเลขขอ ใสล งในชองวา งทา ยคำ (10 คะแนน)

๑. ภาษามกี ารเปลี่ยนแปลงเนื่องจากการใชใ นชีวติ ประจำวัน

๒. ภาษามกี ารเปลีย่ นแปลงเนือ่ งจากการรับอิทธิพลภาษาตางประเทศ

๓. ภาษาประกอบจากหนวยเลก็ ที่เรีย่ กวา หนว ยเสยี งกลายเปนหนว ยใหญ

๔. ภาษามกี ารเปลย่ี นแปลงเนอ่ื งจากการเปลี่ยนแปลงของส่งิ แวดลอม

๕. ภาษามีการเปลีย่ นแปลงเนอ่ื งจากการเลียนภาษาเด็ก

๖. ภาษามีลักษณะเหมอื นและตา งกัน

๗. ภาษาทีใ่ ชเ สยี งส่ือความหมาย

ท่ี คำ ธรรมชาตขิ องภาษา

ตัวอยา ง เปร้ยี ง ๗

๑ อาหารจานดว น

๒ กุมารา กุมารี eat ate

๓ กา กาก กากอาหาร เขากรองกากอาหาร

๔ มะมวง

๕ กษตั รยิ 

๖ กิ๊ก

๗ ทำไร

๘ ดฉิ นั เปน เด๊ียน

๙ กวยเตยี๋ ว เฉากวย เกีย๊ ว

๑๐ อาหยอย

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๔

แบบฝกหดั ที่ ๒ สาเหตกุ ารเปลี่ยนแปลงของภาษา

คำช้แี จง ใหนกั เรียนจับคูคำทม่ี สี าเหตกุ ารเปล่ยี นแปลงของภาษาเหมือนกนั โดยนำตวั อักษรทาง
ขวามอื ไปใสล งในชองวา งหนาขอทางซา ยมือ (10 คะแนน)

ตัวอยา ง ฐ. ตะวนั
ฐ สะใภ
ก. ดงขาว
ชดุ ท่ี 1 (5 คะแนน) ข. สมารท โฟน
๑. แฟช่ัน ค. การต นู
๒. หนม ง. หมำ่ ๆ
๓. มะขาม จ. ตะปู
4. ออเจา ฉ. อง่ึ อาง
๕. หบั เผย

ชดุ ที่ ๒ (๕ คะแนน) ก. โทสับ
ข. ศกั ราช
๑. ชิล ๆ ค. ดรามา
๒. อนง่ึ ง. คอมพิวเตอร
๓. มหศั จรรย จ. ฉะนนั้
๔. ไอติม ฉ. ตกุ แก
๕. คาราโอเกะ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๕

แบบฝกหดั ท่ี ๓ ธรรมชาตขิ องภาษาท่เี หมือนและตา งกัน

คำชีแ้ จง ขอ ความตอไปนี้เปนสิง่ ทที่ กุ ภาษามเี หมือนกนั และตางกนั ใหนกั เรยี นพิจารณานำส่งิ
ท่เี หมอื นกนั และตางกนั ของภาษาเหลา น้ีแยกเขียนลงในตารางขางลา งใหถูกตอง

ตัวอยาง ก. มเี สียงวรรณยุกต ข. มคี ำยืมจากภาษาอนื่

๑. การออกเสยี ง

๒. การเรียงประโยค

๓. การสรางคำใหม

๔. มกี ารเปล่ียนแปลง

๕. การใชเ สยี งส่อื ความหมาย

๖. การใชส ำนวน คำพังเพย

๗. มีการแบงคำเปนคำชนิดตา งๆ

๘. มตี วั อกั ษร

๙. ภาษาประกอบจากหนวยเลก็ กลายเปน หนวยใหญ

๑๐. ภาษาสามารถขยายประโยคใหย าวออกไปไดเ รอื่ ย ๆ

ส่ิงที่มีเหมือนกัน สิง่ ทีแ่ ตกตา งกนั
มคี ำยมื จากภาษาอ่นื มีเสยี งวรรณยุกต

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๖

ใบความรูที่ ๒ ประเภทของภาษา

ภาษาเปนเครื่องหมายที่มนุษยกำหนดขึ้นมาอยางมีระบบเพื่อใชติดตอสื่อสารกันในแตละกลุม
แบงเปน ๒ ประเภท คือ
๑. วัจนภาษา คือ ภาษาทีเ่ ปนถอยคำสำหรับใชส อ่ื สารทง้ั ท่ีเปนคำพดู หรอื เปน ตวั หนังสอื
๒. อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไมเปนถอยคำ เปนการสื่อสารกันโดยใชกิริยาทาทางหรือเครื่องหมายสัญลักษณ
ตาง ๆ ไดแก การแสดงกิริยาทาทางของมนุษย การแสดงสีหนา สายตา น้ำเสียง การใชมือ วัตถุ การใช
สัญญาณตาง ๆ เพ่อื นำมาสือ่ ความหมาย และทำความเขา ใจตอกนั แบง ได ๗ ประเภท คอื

๒.๑ เทศภาษา (Proxemices) เปนอวัจนภาษาที่ใชเกี่ยวของกับสถานที่ หรือชวงระยะหางที่บุคคล
กำลังสื่อสารกัน สถานที่ท่ีบุคคลสือ่ สารกันสามารถแสดงใหเหน็ นัยแหงความสัมพันธบ างประการของผูส งสาร
และผูรบั สาร เชน ชายหญงิ คุยกันสองตอสองในหอง บงไดวา ทง้ั คมู ีความสนิทสนมคนุ เคยกนั เปน อยางดี หรือมี
เร่อื งที่พูดคยุ กนั เปนความลบั นอกจากนีร้ ะยะหางหรอื ใกล ในขณะสนทนาก็บง บอกไดวา พูดคยุ กันธรรมดาหรือ
คุยกันอยางรูจกั สนิทสนม

๒.๒ เนตรภาษา (Oculesics) เปนอวัจนภาษาที่เกี่ยวของกับการใชดวงตา สายตา เพื่อสื่อสารถึง
อารมณ ความรูสึกนึกคิด ทัศนคติ และความตองการจากผูสงสารไปยังผูรับสาร เชนการมอง การจอง เหลือบ
ชำเลอื ง หรี่ตา ถลงึ ตา ฯลฯ

๒.๓ กาลภาษา (Chonemics) เปนอวัจนภาษาที่เกี่ยวของกับระยะเวลา หรือชวงระยะเวลาที่กำลัง
สื่อสารกันอยู ถอื วา กาล หรอื เวลา เปนอวจั นภาษาทส่ี ำคัญอยางมากในทกุ สังคม เพราะแสดงใหเห็นถึงการให
เกียรติ ใหความเคารพ ใหความสำคัญ เชน การสัมภาษณ ทั้งยังแสดงใหเห็นลักษณะนิสัยวามีความรับผิดชอบ
หรอื ไม มบี ุคลกิ ภาพอยา งไร ฯลฯ

๒.๔ อาการภาษา (Kinesics) เปนอวัจนภาษาที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหวอวัยวะสวนตาง ๆ ของ
รา งกาย เพ่อื สอ่ื ความหมายบางประการ เชน การเคล่ือนไหวศรี ษะ ลำตวั แขนขา ตวั อยา ง สายศรี ษะ แสดงวา
ปฏเิ สธ การโบกมือแสดงการทกั ทายหรือการลา อาการภาษาจะถูกกำหนดโดยคนในแตละสงั คมซ่ึงเขา ใจกัน

๒.๕ สัมผัสภาษา (Haptics) เปนอวัจนภาษาที่สื่อกับผูรบั สาร โดยการใชอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของ
ผูสงสารสัมผัสกับผูรับสาร เพื่อแสดงถึงความรูสึก ความปรารถนาและอารมณของผูสงสารที่ตองการสื่อ เชน
การเดินคลองแขน จับมือ โอบกอด ลูบไล ตัวอยาง การโอบกอดและหอมแกมในสังคมตะวันตก หมายถึง
การแสดงความรักและหวงใย เปน ตน

๒.๖ ปริภาษา (Vocalic / Paralanguage) เปนอวัจนภาษาที่หมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ภาษา
แบงเปน ๒ ลกั ษณะ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๗

๒.๖.๑ ปรภิ าษาเก่ียวกับภาษาพดู ไดแ ก น้ำเสยี ง ความเรว็ ความดงั จงั หวะในการพูดเพราะ
สามารถบงบอกถงึ อารมณค วามรูส กึ ของผูพูดในขณะนั้นได

๒.๖.๒ ปริภาษาเกี่ยวกับภาษาเขียน ไดแก การใชรูปแบบตัวอักษรใหญ เล็ก ตัวหนา บาง
เอยี ง สขี องอกั ษร การขดี เสนใต การใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนเพือ่ เนน ย้ำความสำคัญของขอความ

๒.๗ วตั ถุภาษา (Objects) เปน อวจั นภาษาท่เี กีย่ วของกับการเลอื กใชวัตถุ เพอื่ นำมาสอ่ื ถึงความหมาย
บางประการ เชน การเลือกใชเครื่องแตงกาย เครื่องประดับ ขาวของเครื่องใชในการแตงบาน ตัวอยาง
สรอ ยทองคำแสดงถงึ ความร่ำรวย แตงกายชดุ สีดำแสดงวาเสียใจและไวอ าลัยใหผ ูตาย เปนตน

สรุป ในชวี ิตประจำวนั ของมนุษยมีการใชภ าษาทั้งสองประเภท คือ อวัจนภาษา และวจั นภาษาเพื่อให
การสื่อสารสมั ฤทธผิ ลและใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ และโอกาสตาง ๆ

ท่ีมา: (https://sites.google.com/site/vareezahaha/bth-thi2phasa-thi-chi-ni-kar-suxsar สบื คน
วันที่ ๔ มถิ ุนายน ๒๕๖๐)

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๘

แบบฝก หดั ท่ี ๔ ประเภทภาษา

คำชแี้ จง ใหนักเรยี นพิจารณาวา ถอยความตอไปนเี้ ปนวจั นภาษาหรืออวัจนภาษา แลวเขยี น
คำตอบลงในชองวา ง (๑๐ คะแนน)

ตัวอยาง ตำรวจชีไ้ ปท่ีปา ยจราจร อวัจนภาษา

1. ปรึกษาหารอื กนั ไฉนนั้นก็ทำเนา ….......................
จะเรยี กประชุมเรา บแ ลเหน็ ประโยชนเ ลย ….......................
………………………
2. บางชวนชักพรรคพวกพนี่ อง ยกั ยา ยเงนิ ทองไปเที่ยวฝง ………………………

๓. เคยชดิ ยม้ิ พรายเคยหมายมาด นกึ วุนวาดภาพตนเสียลน คา

๔. คนเปลงวาจาช่ัวยอมเดอื ดรอน

๕. นิ่งเงยี บสงบงำ บมทิ ำประการใด ………………………
ปรากฏประหนึง่ ใน บุรวา งและรา งคน

๖. พระอนุชาวาพ่ีนี้ขข้ี ลาด เปน ชายชาติชางงาไมกลาหาญ ………………………

๗. บา งเดาทายวา คนนั้นเปน ทา นทูต บา งก็พูดชกั ชวนกันสรวลสนั ต ………………………

๘. แลววาอนจิ จาความรัก เพิ่งประจักษด ัง่ สายน้ำไหล ………………………
๙. เคย้ี วขาวอุนออน คอยคอยปอนเจาจอมขวัญ ………………………
๑๐. บางมวนเส่ือมดั กระสอบหอบเสบยี ง บา งถุงเถียงชิงสัปคับกัน ………………………

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๑๙

ใบความรูท ่ี ๓ พนั ธกิจของภาษาและอทิ ธิพลของภาษา

พันธกิจของภาษา คือ หนาที่ของภาษา ภาษาพัฒนามาตั้งแตมนุษยเริ่มรูจักใชเครื่องมือชนิดตาง ๆ
เพื่อการดำรงชีวิต (วารณุ ี รกั ษาจันทร. ๒๕๕๒ : ๑๐ – ๑๑)
๑. ภาษาชว ยธำรงสังคม สงั คมจะธำรงอยไู ดเม่อื

๑.๑ มนุษยม ีไมตรตี อ กัน เชน ทักทายกัน แมบ างคร้งั อาจไมต องการคำตอบ และบางครง้ั ไมตั้งใจฟงวา
ผูตอบตอบอยา งไร

๑.๒ ปฏิบัติตามกฎเกณฑและระเบียบวินัยทางสังคม เชน ธรรมเนียมปฏิบัติในครอบครัว กฎของ
โรงเรยี น วนิ ยั ทหาร วนิ ัยสงฆ กฎหมายในประเทศ กฎหมายระหวา งประเทศ

๑.๓ ประพฤติตนใหเหมาะแกฐานะสังคม บุคคลหนึ่งอาจมีหลายสถานะ ก็ควรปฏิบัติตนใหถูกกับ
สถานะและเวลานน้ั ๆ
๒. ภาษาแสดงความเปนปจ เจกบุคคล

ปจเจกบุคคล หมายถึง บุคคลแตละคนซึ่งมีลักษณะเฉพาะตางกัน รวมถึง นิสัย อารมณ รสนิยม
สตปิ ญญา ความคดิ ทรรศนะ ภาษาของแตละคนจะแสดงใหเหน็ ถึงลกั ษณะของปจ เจกบุคคลนัน้ ๆ
๓. ภาษาชว ยใหม นุษยพัฒนา

๓.๑ ดวยประสบการณของตนเองหรือไดฟงจากคนอื่นเพิ่มเติม จะทำใหมีความรูมากขึ้น และนำสิ่ง
เหลานไ้ี ปใช ทำใหส งั คมมนษุ ยพัฒนาตลอด

๓.๒ การอภิปรายโตแยง ก็ถือวาชวยเพิ่มความรแู ละความคดิ มนุษยเ ชน กนั
๓.๓ การพัฒนาของมนุษย มี ๔ ดา น

- มนุษยก บั สิง่ แวดลอ ม
- มนุษยก ับสุขภาพอนามยั
- มนษุ ยก บั การประกอบอาชีพ
- มนษุ ยก บั ศาสนา
๔. ภาษาชวยกำหนดอนาคต
ภาษามีหลายรูปแบบ เชน คำสั่ง แผนงาน สัญญา คำพิพากษา กำหนดการ คำพยากรณ เปนตน
บางคร้ังเราใชภาษาเพ่ือกำหนดอนาคตไดอยา งดี แตกอ็ าจลมเหลวในอนาคตเพราะมีเหตุการณอืน่ แทรกเขามา

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๐

๕. ภาษาชวยจรรโลงใจ
จรรโลง หมายถึง ค้ำจนุ ใหม ่นั คง ใชไดทั้งนามธรรมและรูปธรรม จรรโลงใจ หมายถงึ ค้ำจุนใหใจม่ันคง

ไมตกไปอยฝู ายตำ่
*** ขอสงั เกตเพ่ิมเติมเกีย่ วกับอิทธพิ ลของภาษาตอมนษุ ย ***

มนุษยอาจตกอยใู ตอ ทิ ธิพลของภาษา เพราะไมไ ดค ำนึงวา ภาษาเปนเพียงสัญลกั ษณท่ีใชแ ทนความเปน
จรงิ ตา ง ๆ เพ่ือส่อื ความหมายใหเขาใจกนั ซง่ึ บางทภี าษาอาจทำหนา ท่ไี มไดอยางสมบูรณ เชน

- สิ่งเดียวกันแตเมื่อเรียกตางกัน แบบพึงพอใจ อีกแบบไมพอใจ เชน กรรมกร-ผูใชแรงงาน
ทาวนเฮา ส-ตึกแถว คนใช- ลูกจาง

- นิยมปลูกตนมะยม (=นิยม) กับตนขนุน (=อุดหนุน) เพราะความหมายดี แตไมนิยมปลูกตนระกำ
(=โศกเศรา) กบั ตน ลน่ั ทม (=ระทม) เพราะความหมายไมดี

สรุปไดวา มนุษยใชภาษาเปนเคร่ืองมือในการสื่อสารจึงสงผลใหภาษามีบทบาทสำคัญตอมนุษย
ทั้งชวยธำรงสังคม กำหนดอนาคต ชวยใหมนุษยพัฒนาและแสดงความปจเจกบุคคล รวมทั้ง
ภาษายังมีอิทธิพลตอมนุษยอีกดวย เชน ความเชื่อเรื่องการตั้งชื่อที่เปนมงคล คำหรือขอความที่
เปน มงคลตาง ๆ เปน ตน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๑

แบบฝก หัดที่ ๕ พนั ธกจิ ของภาษา

คำชีแ้ จง ใหน กั เรยี นพจิ ารณาสถานการณที่ใหม าตอ ไปนี้ แลวเตมิ พันธกิจของภาษา
ใหสอดคลอ งกับสถานการณ โดยเขยี นเฉพาะตัวเลือกลงในชองวางท่ีกำหนด
(10 คะแนน)

ตวั อยา ง คุณตาฟงธรรมะและสวดมนตไหวพระทกุ วันทำใหคณุ ตามีความสุข ......ค......

ก. ภาษาชว ยธำรงสังคม
ข. ภาษาชวยใหมนุษยพ ัฒนา
ค. ภาษาชว ยจรรโลงใจ
ง. ภาษาชว ยกำหนดอนาคต

๑. พริ้งชอบดูการประกวดรองเพลงมากเพราะทำใหเธอมคี วามสุข …………

๒. คณุ ชายเปน คนพูดจาโผงผางจึงไมมีใครชอบ …………

๓. การสอบปลายภาคปน้ีตารางคงใกลเคยี งกับปทแ่ี ลว …………

๔. ปจ จุบนั การตดิ ตอ ส่ือสารทำไดงายมากเพราะมเี ทคโนโลยีทท่ี นั สมยั ใชต ิดตอสื่อสาร …………

๕. นักกฬี าตองมวี นิ ัยในการฝก ซอ มและเคารพกติกาในการเลน กฬี าแตละประเภท …………

๖. คณุ แมก ำลงั เรียนปริญญาโทเพือ่ พัฒนาตนเองและงาน …………

๗. คุณครูคนนี้เปนคนใจดี สุภาพ พูดจาไพเราะ นักเรยี นจึงชอบ …………

๘. นกั เรยี นตอ งปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บของโรงเรยี น …………

๙. นกั วจิ ัยศกึ ษาคน ควา วิธีการรักษาโรคมะเรง็ อยางตอเนื่อง …………

๑๐.เด็ก ๆ ชอบฟงนทิ านกอนนอนเพ่ือจะไดห ลบั สนิทและฝนดี …………

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๒

แบบทดสอบหลังเรียน เรอ่ื ง ธรรมชาติของภาษา

คำชแี้ จง ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถกู ตองทส่ี ุดเพยี งขอ เดียว แลว ทำเครอื่ งหมายกากบาท ()
ลงในกระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรียน เร่ือง ธรรมชาติของภาษา (10 คะแนน)

๑. ขอใดเปนคำที่เกดิ จากการเลยี นเสยี งทกุ คำ

ก. โห หุยฮา แหบ ข. ออด หวูด ระฆัง

ค. กา ตุก แก อง่ึ อาง ง. รถเมล รถตุกตกุ รถราง

๒. "แลวหนาตางก็ถูกเปด" เปนประโยคท่เี ปล่ยี นไปจาก "เขาเปด หนาตา ง" ทงั้ น้เี พราะสาเหตุใด

ก. อทิ ธพิ ลของภาษาอืน่ ข. การเลยี นภาษาของเดก็

ค. การพูดจาในชวี ติ ประจำวัน ง. การเปลีย่ นแปลงเพราะส่งิ แวดลอม

๓. ขอใดแสดงพนั ธกจิ ของภาษาตา งกับขออืน่

ก. ดูระเบียบการไดท ่ีน่ี ข. ทั้งนี้เรม่ิ มผี ลแตบ ดั นี้

ค. เทย่ี วบนิ นี้งดสบู บุหรี่ ง. รจู กั เพยี งพอกอสขุ ทุกเมอื่

๔. ขอ ใดเปน การใชภาษาที่แสดงใหเห็นการเปลยี่ นแปลงของสังคม

ก. อาหารจานพิเศษ ข. อาหารจานดว น

ค. อาหารจานใหญ ง. อาหารจานเด็ด

๕. " กนิ , กนิ ขา ว, ฉนั กินขา ว " แสดงธรรมชาติของภาษาตามขอใด

ก. ภาษามีการเปลีย่ นแปลง ข. ภาษาใชเสียงสอ่ื ความหมาย

ค. ภาษามีลักษณะคลา ยคลงึ กัน ง. หนวยยอยประกอบเปน หนวยท่ใี หญขนึ้

๖. ขอใดไมใ ชล ักษณะทว่ั ไปของภาษา

ก. มคี ำเกดิ ใหม ดำรงอยูและตายไป ข. มจี ำนวนเสยี งจำกดั

ค. มเี สียงวรรณยกุ ต ง. แปรเปลยี่ นได

๗. ขอ ใดแสดงวาภาษาไทยกำลังมีการเปล่ยี นแปลง

ก. สง สนิ คา ออก ปจจบุ ันใชว า สง ออกสินคา

ข. ดฉิ ัน แตเดมิ ทั้งผหู ญงิ และผชู ายใชสรรพนามแทนตัว

ค. มอง ภาษาเหนือใช ผอ ภาษาอีสานใช เบงิ่ และภาษาใตใช แล

ง. เรือน รกั ในภาษากรงุ เทพฯ ออกสยี งเปน เฮือน ฮัก ในภาษาถ่ินเหนือ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๓

๘. ขอใดไมใชธ รรมชาติของภาษา
ก. ภาษาของสังคมหนึ่งอาจถูกสังคมอืน่ ยมื ไปใชและสรา งความเจรญิ ใหส งั คมใหมนน้ั ได
ข. ผูใชภาษาสามารถแตง ประโยคใหม ๆ ขึน้ มาไดทุกวนั แมจะไมใชป ระโยคท่เี คยเรยี นจากพอแม
ค. ภาษาประกอบขนึ้ ดว ยเสียงและความหมาย การศึกษาภาษาพูดจะทำใหร ลู กั ษณะแทจริงของภาษา
ง. ผใู ชภ าษาจากสงั คมหน่งึ จะสามารถเขา ใจภาษาของสงั คมอนื่ ได ถาภาษานน้ั มีระบบการเขยี นที่
แนน อน

๙. ขอใดไมท ำใหเกดิ การเปล่ียนแปลงของภาษา
ก. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ
ข. การเปลย่ี นแปลงของส่งิ แวดลอ ม
ค. อทิ ธิพลของภาษาตา งประเทศ
ง. การพดู ในชีวิตประจำวัน

๑๐. ความนยิ มในการปลูกตน ไมท่ีบานชนิดใด สะทอนใหเ ห็นวามนุษยต กอยใู ตอิทธพิ ลของภาษา
ก. ตนสน
ข. ตนรกั
ค. ตนขนุน
ง. ตน พทุ รา

คะแนนทไ่ี ด

ช่อื ..................................................................................................เลขที่.....................ชน้ั .....................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๔

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๕

แบบทดสอบกอนเรยี น เรอ่ื ง ลกั ษณะภาษาไทย
คำชแ้ี จง ใหนักเรยี นเลอื กคำตอบที่ถกู ทส่ี ุดเพยี งขอเดยี ว
๑. ขอใดไมใชลักษณะภาษาไทย

ก. คำในภาษาไทยประกอบดวยเสียงพยญั ชนะ เสยี งสระ และเสียงวรรณยกุ ต
ข. ความหมายของคำบางคำมีหลายความหมายตองใชใ หถ ูกตอ งตามบริบท
ค. สวนขยายประโยคสามารถขยายไดท้งั ภาคประธานและภาคแสดง
ง. พยางคเ ปนหนว ยท่เี ล็กที่สุดท่ีทำใหเ กดิ คำตางๆ ซึง่ มีหนาที่ตา งกนั
๒. คำวา “กิน” ในขอใดมีความหมายวา “เปลอื ง”
ก.เม่ือตอนกลางวันทานเผด็ มากเลยกินนำ้ หมดไปหลายแกว
ข.รถยนตคนั นบ้ี ังคบั คอนขางยากมากเพราะเวลาขบั ชอบกินซาย
ค.การทำงานควรมีการวางแผนที่ดี เพ่ือทจ่ี ะไมกนิ เวลาทำงานของคนอ่ืน
ง.ราควรชว ยกนั คดิ ชว ยกนั ทำ ไมใ ชกนิ แรงใหเพ่ือนคิดและทำอยูค นเดยี วแบบน้ี
๓. ขอใดไมเ กยี่ วของกับลกั ษณะของภาษาไทย
ก. การลงเสยี งหนกั เบาของคำ
ข. การวางคำขยายไวข างหลังคำหลัก
ค. การเรยี งคำ แบบประธาน กรยิ า กรรม
ง. การเปลีย่ นแปลงรูปคำเม่ือแสดงความเกีย่ วของคำอนื่
๔. ขอ ใดแสดงใหเ ห็นคำในภาษาไทยเปนคำสำเร็จรูป
ก. ถงึ นคราเขามายังนคเรศ
ข. มาตามทางกลางเถ่อื น
ค. กมุ ารีกุมารามาเปน หมู
ง. เหน็ ปก ษีบนิ ถลาหาปกษา
๕. มีปา ยตดิ ไวว า ไมข อคบคนตอไปนี้ “ คนไมรักดี ไมร ักคนดี คนดีไมรัก คนรกั ไมด ี” ขอความเหลา นีแ้ สดงถึง
ลกั ษณะเดน ของภาษาไทยอยางไร
ก. การขยายคำหลัก
ข. การเสนอแนวคดิ
ค. การจับประเดน็ ในการสื่อสาร
ง. การเรยี งลำดับคำในประโยค
๖. ขอใดมกี ารใชลกั ษณนามในรูปแบบประโยคที่ถกู ตอง
ก. สองโจรปลน รานทองกลางวันแสกๆ
ข. ชาง ๓ โขลงบายหนาสูป า หว ยขาแขง
ค. อยั การสั่งฟอ งสามนกั การเมอื งพวั พนั ทุจรติ
ง. ทุกโรงเรียนในเขตอนั ตรายปด การเรียนการสอน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๖

๗. ขอใดไมใชล ักษณะภาษาไทย
ก. เปน ภาษาคำโดด
ข. มีการเปลีย่ นแปลงรปู คำ
ค. เปน ภาษาวรรณยกุ ต
ง. มหี นวยเสยี งไดแก สระ พยัญชนะและวรรณยุกต

๘. ขอใดแสดงถึงลกั ษณะภาษาไทยทเ่ี ปนภาษาคำโดดที่ชัดเจนท่ีสดุ
ก. ปูบ อกยาใหน อนหลบั
ข. ลุงกับปา ทำอาหาร
ค. พแี่ ละนองเลน ฟุตบอล
ค. พอ กับแมไปตา งประเทศ

๙. ขอใดแสดงลกั ษณะภาษาไทย
ก. สองผรู ายถูกฆาตาย
ข. สามโจรบุกปลนธนาคาร
ค. คนงานสี่คนรอดอยางปฏหิ าริย
ง. หาตำรวจเสียสละชวี ติ เพ่อื ชาติ

๑๐. นายมขี ันชะเนาะแผลท่ีถูกงูกดั ทีข่ าขวา เพื่อนพูดตลกใหนายมขี ันสู แตฉนั วา ไมนา ขัน ปลอ ยใหไกมันขนั
ดกี วา ” ขอความน้ี แสดงลักษณะพเิ ศษของภาษาไทยอยา งไร

ก. คำเดียวกันอาจมีหลายความหมายและใชไดห ลายหนาท่ีโดยไมต องเปลย่ี นแปลงรูปคำ
ข. ความหมายและหนาทข่ี องคำเปนตัวบง บอกความสัมพนั ธข องคำในบริบทในบางกรณี
ค. ความสมั พันธข องคำในบริบทไมเปน ตัวบง บอกความหมายและหนา ท่ีของคำ
ง. คำไทยมักมหี ลายความหมายแตต องเปลยี่ นแปลงรปู คำเม่ือใชใ นหนาที่ตา งกัน

คะแนนทไ่ี ด

ช่อื ..................................................................................................เลขท.ี่ ....................ช้ัน.....................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๗

เอกสารความรูเ ร่ือง ลักษณะของภาษาไทย

ภาษาไทยเปนเอกลักษณประจำชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกดิ ความเปนเอกภาพ จึงเปน
สมบัติของชาตทิ ี่ควรคาแกก ารเรยี นรู อัจฉริยลักษณะของภาษาไทยมคี วามโดดเดนเทียบเทา กับภาษาสากลได
ภาษาไทยมีลักษณะที่นักภาษาศาสตรไดศึกษาไว พอเปนสังเขปที่บอกถึงลักษณะของภาษาไทยได ๗
ลักษณะ ดงั น้ี

๑. ภาษาคำโดด
๒. การเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม
๓. ภาษาวรรณยกุ ต
๔. เสียงสระ พยญั ชนะ วรรณยุกตเปน หนว ยภาษา
๕. การวางคำขยายไวขา งหลงั คำหลกั
๖. การลงเสยี งหนักเบาของคำ
๗. การไมเปลี่ยนแปลงรูปคำ

๑. ภาษาไทยเปนภาษาคำโดด
นักภาษาศาสตรจัดใหภาษาไทยอยูในภาษาตระกูลคำโดด คือภาษาที่อุดมไปดวยคำพยางคเดียว เชน

คำท่เี กี่ยวกับญาติพน่ี อง ไดแก พอ แม ปู ยา ตอมาเกดิ การยืมคำจากภาษาตา งประเทศจึงมีคำหลายพยางคใช
เชน มารดา บดิ า เสวย ดำเนนิ ออกซิเจน คอมพิวเตอร ในที่สุดก็สรางคำข้นึ ใชเ องจากคำพยางคเดียว และคำที่
ยืมมาจากภาษาตา งประเทศ เปน การเพิม่ คำขึน้ ใชในภาษาเปนคำหลายพยางค ไดแ ก คำซ้ำ คำซอน คำประสม
คำสมาส เชน เด็ก ๆ เทจ็ จริง ไขดาว วิทยาศาสตร
ลักษณะพเิ ศษของคำไทยซง่ึ ไมมใี นภาษาอนื่ มีดังนี้

๑. ภาษาไทยมีคำลักษณนามทใี่ ชบอกลักษณะของคำนาม เพื่อใหท ราบสดั สว นรูปพรรณสัณฐาน เชน
ใช วง เปน ลกั ษณนามของแหวน นามวลที ี่มี ลักษณนามอยูดวย จะมีการเรยี งคำแบบ นามหลกั + คำบอก
จำนวน + คำลักษณ-นาม เชน แมว ๓ ตวั

๒. ภาษาไทยมคี ำซำ้ คำซอนท่ีเปน การสรางคำเพิ่มเพื่อใชใ นภาษา เชน ใกล ๆ หยูกยา
๓. ภาษาไทยมีคำบอกทาทีของผพู ูด เชน ซิ ละ นะ เถอะ
๔. ภาษาไทยมีคำบอกสถานภาพของผูพูดกบั ผฟู ง เชน คะ ครบั จะ ฮะ

๒. การเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม
ภาษาไทยเรียงคำแบบประธาน กริยา กรรม เมื่อนำคำมาเรียงกันเปนประโยค ประโยคทั่ว ๆ ไปใน

ภาษาจะมีลกั ษณะสามัญ จะมกี ารเรียงลำดับ ดังนี้ นาม กรยิ า นาม นามท่อี ยหู นากริยา เปนผทู ำกริยา มักอยู
ตนประโยค ทำหนาทีเ่ ปน ประธาน สวนคำนามที่บอกผรู ับกริยา มกั อยหู ลงั คำกริยาน้ันทำหนาทเี่ ปน กรรม ดวย
เหตุนี้ประโยคสามัญในภาษาไทยจึงมักเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม ดวยเหตุนี้ประโยคสามัญใน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๘

ภาษาไทยจึงมักเรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม นักภาษาศาสตรจึงจัดใหภาษาไทยอยูในประเภทภาษาท่ี

เรียงคำแบบ ประธาน กริยา กรรม อยางไรก็ดีมีประโยคในภาษาอยูไมนอ ยที่ดูเหมือนวาจะเปลี่ยนลำดับคำได

โดยไมเ ปลี่ยนความหมาย

ตวั อยา ง

๑. ก. เขาเปน ญาติกบั ตุม ข. ตุมเปน ญาตกิ บั เขา

๒. ก. แมเ อานำ้ ใสกระติก ข. แมเ อากระติกใสน ำ้

๓. ก. ดินเปอ นกระโปรง ข. กระโปรงเปอ นดิน

๔. ก. แดงและดำไปโรงเรยี น ข. ดำและแดงไปโรงเรยี น

๕. ก. ตง่ิ เหมือนตอย ข. ตอ ยเหมอื นต่ิง

ประโยค ก ในตวั อยาง มคี วามหมายไมตางกับ ประโยค ข ท้ัง ๆ ท่ีลำดบั คำตา งกัน

นอกจากนี้บางประโยคอาจเปลยี่ นลำดบั คำไดหลากหลายโดยที่ความหมายยังคงเปนเชน เดิม

ตวั อยาง

๑. เขานา จะไดพบกบั คุณเจตนาที่บานคุณพออยางชาพรงุ นี้

๒. คณุ เจตนานา จะไดพบเขาทีบ่ านคณุ พอ อยางชา พรงุ น้ี

๓. พรงุ นอ้ี ยา งชา คณุ เจตนานาจะไดพบเขาท่ีบานคุณพอ

๔. อยา งชาพรุงนเ้ี ขานา จะไดพบกับคณุ เจตนาที่บา นคณุ พอ

๕. ทีบ่ านคณุ พอพรุงนี้อยา งชา เขานา จะไดพบกับคณุ เจตนา

จะเห็นไดวาทุกประโยคสื่อความหมายอยางเดียวกนั ไมวาจะเปน ประโยคใดก็บอกใหทราบวา ผพู บกนั

คอื เขากบั คุณเจตนา สถานที่พบ คือ บา นคุณพอ และเวลาท่พี บ คือ พรงุ น้ีอยา งชา สิง่ ทตี่ างกันออกไปบางใน

ประโยคทัง้ ๕ ประโยค คือ การเนนผรู บั สาร จะรูส กึ ไดวาคำทอ่ี ยตู นหรือทา ยประโยคเปนคำท่ีผูสง สารให

ความสำคญั มากกวา คำที่อยูกลาง ๆ ประโยค

๓. ภาษาวรรณยุกต
ภาษาไทยเปน ภาษาวรรณยกุ ต ภาษาวรรณยุกตเปนภาษาที่มีการไลเสยี งของคำ ในภาษาไทยมีการไล

เสยี งวรรณยุกต หรอื การผนั วรรณยุกต ได ๕ เสียง ไดแ ก เสียงสามญั เสียงเอก เสียงโท เสยี งตรี และเสียงจตั วา

การที่ภาษาไทยผันไลเสียงไดนี้ ทำใหมีคำใชมากขึ้น การไลเสียงสูง ต่ำ ทำใหความหมายของคำเปล่ียนไปดวย
เชน มา มา หมา มคี วามหมายแตกตางกัน ถาออกเสียง คำวา มา เปน หมา ความหมายก็จะเปลี่ยนไปดวย

นอกจากนี้ยังทำใหคำในภาษาไทยมีความไพเราะ เพราะระดับเสียงสูง ๆ ต่ำ ๆ ของคำทำใหเกิดเปน
เสยี งอยา งเสียงของดนตรี โดยทเี่ สยี งวรรณยุกตมีการแปรเปลย่ี นความถี่ของเสียง ไดแ ก เสียงวรรณยุกตสามัญ

มีระดับเสียงกลาง ๆ และจะคงอยูระดับนั้นจนกระทั่งปลาย ๆ พยางค เสียงวรรณยุกตเอกจะมีตนเสียง
กลาง ๆ แลวจะลดตำ่ ลงมาอยา งรวดเร็วแลว คงอยใู นระดบั นี้จนปลายพยางค เสยี งวรรณยกุ ตโ ทมตี นเสยี งระดับ
เสียงสูงแลวลดระดับเสียงลงต่ำอยางรวดเร็วที่ปลายพยางค หรืออาจจะเปลี่ยนสูงขึ้นจากระดับตนพยางค
นิดหนอย กอนจะลดระดับเสียงลงอยางรวดเร็วก็ได เสียงวรรณยุกตตรีมีลักษณะเดนที่มีระดับเสียงสูง

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๒๙

โดยจะคอย ๆ สูงขึ้นทีละนอยจากตนพยางคจนสิ้นสุดพยางค และเสียงวรรณยุกตจัตวามีตนเสียงระดับ

เสียงตำ่ แลว ลดลงเลก็ นอ ยกอ นจะเปลีย่ นเสยี งขึน้ อยางรวดเรว็ ที่ปลายพยางค

วรรณยุกตของไทยมีคุณคา ดังในบทประพันธของอัจฉรา ชีวพันธ ที่กลาวถึงคุณสมบัติของภาษา

วรรณยุกตที่เปนภาษาดนตรีมีความไพเราะ ทำใหเกิดคำใหมมีความหมายใหม และการใชเสียงวรรณยุกตเนน

ชว ยเนน ย้ำความรสู ึกตาง ๆ ของการสือ่ สารใหช ัดเจนมชี วี ิตชีวามากขนึ้ ดงั น้ี

วรรณยกุ ตข องไทยมคี ุณคา ชวยนำพาเสยี งดนตรดี ไี ฉน

วรรณยุกตใชเ ปลย่ี นปรบั ไดฉับไว ความหมายคำก็เปล่ียนไปไดมากมาย

ตวั อยา งปาใสไมเ อกเสกเปนปา แปลงเปนปา ใชไ มโทก็เหลอื หลาย

เสกสรรสรา งเสอื เสอื่ เส้ือไดงายดาย แสนสบายแสนเสนาะเหมาะเจาะดี

วรรณยุกตส งู ต่ำนำความรสู ึก ลวนลำ้ ลึกยำ้ ไปไดศักดิ์ศรี

เชน ตา ย-ตาย วา น-หวาน อีก ด-๊ี ดี ฮ้ิว-หิว ก็บงชไ้ี ปไดชัดเจน

๔. เสยี งสระ พยญั ชนะ วรรณยกุ ตเ ปน หนว ยภาษา
ภาษาไทยมเี สยี งสระ พยญั ชนะและวรรณยกุ ตเปนหนว ยภาษา หนว ยเสยี งท่ีใชใ นภาษาไทยแบงไดเปน

๓ ประเภท คือ หนวยเสียงสระ หนวยเสยี งพยัญชนะ และหนวยเสียงวรรณยกุ ต หนวยเสียง เปนเสียงสำคญั ที่
ใชในภาษาใดภาษาหนึ่ง เปน เสียงซ่งึ ทำใหคำมีความหมายตางกนั ได

นักภาษาศาสตรจึงใหเสียงสระ พยัญชนะ และวรรณยุกตเปนหนวยภาษา เนื่องจากแตละเสียงเปน
เสียงสำคัญทำใหคำมีความหมายตางกัน ทั้งหนวยเสียงสระ พยัญชนะ วรรณยุกต เปนหนวยเสียงที่มี
ความสำคัญทำใหความหมายของคำเปลี่ยนไปได

หนวยเสียงสระในภาษาไทยมี ๒๑ หนวยเสียง เปนสระเดี่ยว ๑๘ เสียง แบงเปนสระสั้น ๙ เสียง
สระยาว ๙ เสียง และสระประสม ๓ เสียงเทานั้น ไมแบงเปนสระสั้น สระยาว เนื่องจากการออกเสียงสระ
ประสมสั้น หรือยาวไมมนี ัยสำคญั กลาวคือ ไมทำใหความหมายของคำแตกตางกัน เหมือนกับเสียงสระเดีย่ วท่ี
แบงเปนสระสั้น สระยาว การออกเสียงสระประสมสั้น หรือยาวก็ไมทำใหความหมายเปลี่ยนไป อยางไรก็ตาม
ในการเขียนไดกำหนดเปนมาตรฐานวาตองเขียนคำบางคำดวยสระสั้น คำบางคำตองเขียนดวยสระยาว เชน
เจี๊ยะ เพี๊ยะ ผัวะ เขียนรูปสระสั้น แตตองเขียนคำ เชน เสือ เกือก เมีย เสีย เลีย ดวยสระยาวเทานั้น

หนวยเสียงพยัญชนะไทย มี ๒๑ เสียง แตมีรูปถึง ๔๔ รูป เสียงพยัญชนะที่ปรากฏมีทั้งพยัญชนะเดี่ยว
และพยัญชนะควบกลำ้ (ซงึ่ เสียงทีส่ องจะเปน ร ล ว เทานั้น) แตสว นใหญจ ะใชพ ยัญชนะเด่ยี วข้นึ ตนคำมากกวา
สวนพยญั ชนะตัวสะกดไมม ีพยัญชนะควบกล้ำเลย

หนวยเสียงวรรณยุกต มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา แตมี
เครื่องหมายแทนเสียงวรรณยุกตเพียง ๔ รูปเทานั้น คือ ไมเอก ไมโท ไมตรี และไมจัตวา เครื่องหมาย
วรรณยกุ ตไ มไ ดใชแ ทนเสยี งวรรณยกุ ตน ัน้ ๆ ตรงตวั เสมอไป เพราะตองเปล่ยี นแปรไปตามกลมุ ของพยัญชนะวา
เปน อกั ษรกลาง อักษรสูง หรืออักษรต่ำรวมท้ังคำเปน คำตาย สระสน้ั -สระยาว และกฎการผันวรรณยกุ ต

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๐

๕. การวางคำขยายไวข า งหลังคำหลกั
คำขยายในภาษาไทยจะวางไวขา งหลงั คำหลกั หรือคำทีถ่ ูกขยายเสมอ การวางคำขยายจะเกิดในกรณี

ที่ผูพดู หรอื ผเู ขียนมคี วามตอ งการจะบอกกลา วขอความเพ่ิมเติมในประโยค ก็หาคำมาขยายโดยการวางคำขยาย
ไวขางหลัง คำที่ตองการขยายความหมายมักจะเปนคำนาม คำกริยา ดังนั้น คำขยายจึงอยูหลังคำที่ถูกขยาย
หรือคำหลกั จะเรียงลำดับ ดังนี้

๑. คำนาม (คำหลัก) + คำขยาย เชน บานเพื่อน แขนขวา (บาน แขน เปนคำหลัก สวน เพื่อน ขวา
เปนคำขยาย)

๒. คำกริยา (คำหลัก) + คำขยาย เชน กินจุ เดินเร็ว (กิน เดิน เปนคำหลัก สวน จุ เร็ว เปนคำขยาย)
คำขยาย หรือคำท่ที ำหนาทขี่ ยาย แบง ออกเปน ๒ ชนดิ คือ
๑) คำที่ทำหนาที่ขยายนาม เปนคำชนิดตาง ๆ เชน คำนาม คำสรรพนาม คำลักษณนาม คำบอก
จำนวน เปนตน และเมื่อขยายแลวจะเกดิ เปนกลุมคำนามหรือนามวลี เชน ละครเพลง รมใน ตะกรา เรอื ๕ ลำ
๒) คำที่ทำหนาที่ขยายกริยา เปนคำชนิดตาง ๆ เชน คำกริยา คำชวยหนากริยา คำบอกจำนวน
คำลักษณนาม เปนตน และเมอื่ ขยายแลวจะเปนกลุมคำกริยา หรือกริยาวลี เชน หอมฟงุ หมนุ ต้ิว ประมาณ ๕
กโิ ลกรมั
ถาคำหลัก หรือคำที่ถูกขยายเปนคำนามที่ทำหนาที่ประธาน หรือกรรม และเปนคำกริยาที่ทำหนาท่ี
กริยาของประโยคที่ตองการเนื้อความเพิ่มขึ้นก็จะหาคำมาขยายโดยวางเรียงตอจากคำหลัก จึงมีรูปแบบการ
เรยี งคำ ดังน้ี
คำหลัก (คำนาม,คำกริยา) + คำขยาย กลาวคือ ไมทำใหความหมายของคำแตกตางกัน เหมือนกับ
เสียงสระเดยี่ วทีแ่ บงเปน สระสนั้ สระยาว การออกเสียง

๖. การลงเสยี งหนัก-เบาของคำ
ภาษาไทยมีการลงเสียงหนัก-เบาของคำ การลงเสียงหนัก เบาของคำในภาษาไทย จะมีการลงเสียง

หนัก-เบาของคำในระดับคำซึ่งมีมากกวาสองพยางค และการลงเสียงหนัก-เบาของคำในระดับประโยค
โดยพิจารณาในแงของไวยากรณ และเจตนาของการสื่อสาร เมื่อพิจารณาในแงของไวยากรณการออกเสียงคำ
ภาษาไทยมิไดออกเสียงเสมอกันทุกพยางค กลาวคือ ถาคำพยางคเดียวอยูในประโยค คำบางคำก็อาจไมออก
เสียงหนัก และถาถอยคำมีหลายพยางค แตละพยางคก็อาจออกเสียงหนักเบาไมเทากัน นอกจากนี้หนาที่และ
ความหมายของคำในประโยคก็ทำใหออกเสยี งคำหนกั เบาไมเ ทา กัน

การลงเสยี งหนกั เบาของคำ
การลงเสียงหนัก-เบาของคำสองพยางคขึน้ มีดังน้ี
๑. ถาเปน คำสองพยางค จะลงเสียงหนักที่พยางคท สี่ อง เชน คนเราตอ งมมี านะ(นะ เสียงหนักกวา มา)
๒. ถาเปนคำสามพยางค ลงเสียงหนักที่พยางคที่สาม และพยางคที่หนึ่ง หรือ พยางคที่สองดวยถา
พยางคท ่หี น่งึ และพยางคท ี่สองมสี ระยาวหรือมเี สียงพยญั ชนะทาย เชน ปจ จุบนั เขาเลิกกจิ การไปแลว (ลงเสียง
หนักท่ี ปจ,บัน,กจิ ,การ)

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๑

๓. ถาเปนคำสี่พยางคขึ้นไป ลงเสียงหนักที่พยางคสุดทาย สวนพยางคอื่น ๆ ก็ลงเสียงหนัก-เบาตาม
ลักษณะสวนประกอบของพยางคที่มีสระยาวหรือมีเสียงพยัญชนะทาย เชน ทรัพยากร (ลงเสียงหนักที่ ทรัพ,
ยา, กร)

การลงเสียงหนัก เบาของคำ
การลงเสยี งหนกั -เบาตามหนาท่แี ละความหมายของคำในประโยค
๑. คำที่ทำหนาที่เปน ประธาน กริยา กรรม หรือคำขยาย จะออกเสียงหนัก เชน นองพูดเกง
มาก (ออกเสียงเนนหนักทุกพยางค)
๒. ถาเปนคำเชื่อมจะไมเนนเสียงหนัก เชน นองพูดเกงกวาพี่ (ออกเสียงเนนหนักทุกพยางค แตไม
ออกเสียงเนนคำ กวา)
๓. คำที่ประกอบดวยสระ พยัญชนะ วรรณยุกตอยางเดียวกัน ออกเสียงหนัก-เบา ตางกันแลวแต
ความหมายและหนา ทข่ี องคำนนั้ เชน คุณแมก ะจะไปเชียงใหมกะคุณพอ (กะ คำแรก ออกเสียงหนกั เพราะถือ
เปนคำสำคญั ในประโยค สว น กะ คำท่สี องออกเสยี งเบากวา กะ คำแรก เพราะเปน คำเช่อื ม
เมื่อพิจารณาในแงของเจตนาของการสื่อสาร การออกเสียงคำภาษาไทยมิไดออกเสียงเสมอกันทุกคำ
กลาวคือ จะขน้ึ อยูกับผพู ูดวาจะตองการเนน คำใด หรอื ตอ งการแสดงอารมณความรสู ึกอยางใดจึงเนนคำ ๆ น้ัน
หนักกวา คำอน่ื
การออกเสยี งหนกั - เบาของคำในระดับประโยค
๑. ผูพูดอาจเลือกเนนคำบางคำในประโยคไดตาง ๆ กันเพื่อใหผูฟงสนใจเปนพิเศษ หรือเพื่อสงสาร
บางอยา งเปนพิเศษ เชน นอยชอบนนั ทไมใชช อบนชุ (ออกเสียงเนนหนักที่ นนั ท)
๒. ผูพูดอาจเลือกเนนคำใดคำหนึ่งตามความรูสึก อารมณ หรือความเชื่อที่เกิดข้ึนในขณะสงสาร
เชน แนละ เขาดีกวาฉันนี่ (ออกเสียงเนนหนักที่ ดี แสดงวาผูพูดมิไดคิดวา เขาดี เพียงแตตองการประชด)
การออกเสียงคำไทยโดยปกติมิไดออกเสียงเสมอกันทุกพยางค พยางคประกอบดวยเสียงพยัญชนะ
เสยี งสระ และเสียงวรรณยกุ ต
เสียงพยัญชนะตน คือ เสียงพยัญชนะที่อยูหนาเสียงสระในพยางคพยัญชนะตนอาจมีเสียงเดียว
หรือมี ๒ เสยี งควบกนั ในกรณที ่พี ยัญชนะตน มี ๒ เสยี งควบกัน เสยี งท่ี ๒ จะเปน ร ล หรอื ว เทานัน้ เชน
กาบ มีพยัญชนะตน เสยี งเดยี ว คอื ก
กราบ มพี ยญั ชนะตน ๒ เสียง คอื กร
เสยี งพยัญชนะทาย คือ เสียงพยญั ชนะที่อยหู ลังสระ
พยัญชนะทาย เรยี กอีกอยางหนึง่ วา พยัญชนะสะกด
พยัญชนะทาย จะมีเสยี งเดยี วเสมอ
เสียงสระและเสียงวรรณยุกตบางพยางคมีเสียงพยัญชนะทายดวย แตบางพยางคไมมี ทุกพยางคใน
ภาษาไทยจะมีเสียงพยัญชนะตน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๒

เสียงหนกั และเสยี งเบา
การเนน เสยี งหนกั เบาในภาษาไทย มกั เนอื่ งมาจากสาเหตุหลายประการดังน้ี
๑. ลกั ษณะสว นประกอบของพยางค
๒. ตำแหนงของพยางคในคำ
๓. หนาท่ีและความหมายของคำ
การเนนเสยี งหนกั เบาในภาษาไทย มีรายละเอียดดงั นี้
๑. ลักษณะสวนประกอบของพยางค พยางคท ่ีมเี สียงสระเปนเสียงยาว และพยางคท ีม่ เี สียงพยัญชนะ
ทา ยมกั จะออกเสียงเนน
๒. ตำแหนง ของคำในพยางค
ในภาษาไทยพยางคท ่มี กั จะมเี สยี งเนน หนัก คือ พยางคสุดทา ยของคำ
ถา ๒ พยางค ผูพ ดู จะเนนหนักท่พี ยางคท ่ี ๒ เชน

พดู บา บา พูดชาชา ซิ
บา และ ชา พยางคท ี่ ๒ ลงเสยี งหนกั กวา พยางคแรก
ถา ๓ พยางค มักจะลงเสียงหนักที่พยางคที่ ๓ อาจจะลงเสียงหนักที่พยางคที่ ๑ หรือ ๒ ดวย
ถา พยางคท ี่ ๑, ๒ มสี ระเสยี งยาว หรอื มีพยัญชนะทา ย เชน
ปจจบุ ันเขาเลกิ กิจการไปแลว
ลงเสยี งท่ี ปจ บนั กิจ และการ
ถาเปน ๔ พยางค มกั จะเนนเสียงกหนักทพ่ี ยางคส ดุ ทา ย
สว นพยางคอ่ืน ๆ ก็ออกเสียงหนกั หรอื เบา ตามลกั ษณะสวนประกอบของพยางค เชน
ทรพั ยากร ลงเสียงหนักท่ี ทรัพ – ยา – กร
เจดียยทุ ธหัตถี ลงเสยี งหนักท่ี ดยี  – ยทุ – หัต และ ถี
๓. หนา ทีแ่ ละความหมายของคำ
คำที่ทำหนาที่เปนประธาน กริยา กรรม หรือทำหนาที่ขยายประธาน กริยา กรรม เรามักจะออ
เสยี งเนนหนัก เชน
นอง พูด เกง มาก ออกเสียงเนนหนักทุกคำ แตคำที่ใชแสดงเสียงหนักเบาตางกันแลวแต
ความหมายและหนาทขี่ องคำนั้น ๆ เชน นอ งพูดเกงกวา พ่ี ไมเนนคำวา กวา
คำทปี่ ระกอบดวยพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ตเดียวกนั อาจออกเสียงเบาตางกนั แลวแตค วามหมายและ
หนาที่ของคำนัน้ ๆ เชน
คณุ แม กะ จะไปเชียงใหม กะ คณุ พอ
กะ คำแรกเปนคำกรยิ า ออกเสยี งเนน หนักกวา กะ ตัวหลงั
การออกเสียงหนกั เบาในภาษาไทยถอื วาไมมนี ยั สำคญั ในระดบั คำ แตจะมนี ัยสำคัญในระดับประโยค

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๓

๗. การไมเปล่ยี นแปลงรปู คำ
คำในภาษาไทยไมมีการเปล่ียนแปลงรูปคำเม่ือนำไปใชในประโยค เพ่ือแสดงความสัมพันธกับคำอ่ืนใน

ประโยค และไมตองเปลี่ยนรูปคำ เพื่อแสดงเพศ พจน หรือกาล ในเมื่อคำไทยไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเพ่ือ
บอกเพศ พจน หรือกาล และบอกความสัมพนั ธก ับคำอื่นในประโยค เราสามารถทราบความหมายของคำและ
ความสัมพนั ธก ับคำอ่นื ไดจากบริบท

บริบท หมายถึง ถอยคำที่ปรากฏรวมกับคำที่เรากำลังพิจารณา หรือสถานการณแวดลอมในขณะท่ี
กลา วหรอื เขยี นคำ ๆ น้นั

วธิ ีการพจิ ารณาความหมายของคำจากบรบิ ท
๑. พิจารณาจากคำท่ีปรากฏรวมกนั เชน นองสาวถามพีว่ าเพื่อนพี่คนสงู ๆ สวมแวนตาคลอดหรือยงั
(พี่ยอมเขาใจไดวาเพื่อนพี่ที่นองถามถึงเปนเพื่อนผูหญิง เพราะคำกริยา คลอดใชแกประธานที่เปนเพศหญิง
เทา น้ัน)
๒. พิจารณาจากหนาท่ีของคำ เชน เด็กดเี รียนดี (ดี คำแรกขยายคำนาม เดก็ ดี คำทีส่ อง ขยายกริยา
เรยี น เพราะคำขยายจะอยูขางหลังคำหลัก หรือคำที่ถกู ขยาย)
๓. พิจารณาความหมายของคำจากคำทีป่ รากฏรว มกนั เชน ขดั มคี วามหมายวา ติด ขวางไวไ มใ หหลุด
ออก ไมทำตาม ฝาฝน ขนื ไว ถูใหเ กลย้ี ง ถใู หองใส ไมใ ครจะมี ฝดเคือง ไมค ลอ ง ไมป กติ เมื่อขดั ปรากฏ
ในประโยค เราก็จะทราบความหมายไดวา ขัด ในประโยค นั้น ๆ หมายความวาอยางไรโดยพิจารณา
ความหมายของคำจากคำทีป่ รากฏรว มกนั ดังน้ี
เขาชอบขดั คำส่ังเจานาย (ขดั หมายถึง ฝา ฝน)
เธอชว ยเอารองเทา คูดำไปขัดใหห นอย (ขัด หมายถึง ถูใหเ กลีย้ ง ถูใหผอ งใส)
วนั น้ไี มร เู ปน อยางไรจะทำอะไรก็ขดั ไปหมด (ขดั หมายถงึ ไมคลอ ง)
ที่เราทราบความหมายของคำวา ขัด ไดก็เพราะคำอื่น ๆ ที่ปรากฏรวมกับคำวา ขัด ในประโยค หรือ
อีกนยั หนึง่ บรบิ ทของคำวา ขดั นัน่ เอง
๔. พิจารณาจากเจตนาของผูพูด เชน สามีกลาวใหภรรยาฟงวาเลขานุการของเขามีความสามารถใน
การทำงานเปนอยางยิ่งภรรยาก็กลาววา แหม เกงจริงนะ สามีตองอาศัยบริบท คือ สังเกตสีหนาทาทางของ
ภรรยาวา คำวา เกง ของภรรยาหมายความวาอยางไร ภรรยาชมเลขานุการดวยความจริงใจ หรือพูดประชด
ประชัน เด็กคนหนึ่งพูดวา คุณแม ผูฟงรูวา คุณแม หมายความวาอยางไร แตจะไมเขาใจเลยวา ผูพูดพูดคำนั้น
เพื่ออะไรนอกจากจะพิจารณาจากบริบท ผูพูดอาจพูดวา คุณแม เพื่อเตือนใหนอง ๆ รูวามารดากำลังเดินมา
หรือเพื่อเรียกมารดาของตน หรือเพื่อตอบคำถามของครูวา ใครมาสงที่โรงเรียน หรืออื่น ๆ ไดอีก
หัวหนาสั่งลูกนองวา ชวยหยิบแฟมมาใหผมหนอยครับ เมื่อลูกนองถือแฟมเขามา หัวหนาเห็นเขา ก็
รองบอกวา เอาอีกแฟม หนง่ึ ครับ เม่อื ลกู นองกลับออกไปถือแฟม เขา มา ๒ แฟม หวั หนา เหน็ แตไ กล ดุวาผมให
เอาอกี แฟมหนึง่ จะเห็นวา คำส่ังของหวั หนามีความกำกวม อาจหมายความอยางท่ีหัวหนาตองการ หรืออยาง
ที่ลูกนอ งเขา ใจกไ็ ด แตถา หวั หนากลา วใหมีบริบทวา เอาอกี แฟม หน่งึ ไมใ ชแ ฟมน้ี คำพดู กจ็ ะไมก ำกวม

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๔

- เพศ ในภาษาไทยเมื่อตองการแสดงเพศจะใชคำวา "ชาย / หญิง / ตัวผู / ตัวเมีย" ประกอบเขาขางทาย
คำ แตในภาษาบาลีสันสกฤตจะมีการเปลี่ยนแปลงทายคำ โดยการเติมวิภัตติ ดังนั้นสระขางทายคำจะเปนตัว
บ อ ก ใ ห  ท ร า บ ว  า เ ป  น เ พ ศ ใ ด เ ช  น โ ฆ ส ก = ผ ู  ป ร ะ ก า ศ ช า ย , โ ฆ ส ก ี = ผ ู  ป ร ะ ก า ศ ห ญิ ง

- พจน เมื่อตองการแสดงพจน ไมตองเปลี่ยนแปลงรูปคำเหมือนภาษาบาลีสันสกฤตหรือภาษาอังกฤษ แต
นำคำบอกจำนวนนับและคำลักษณนามมาประกอบเขาขางทายคำ เชน มฤคม = กวางตัวเดยี ว = one deer ,
มฤเคา = กวางสองตวั = two deers , มฤคาน = กวางหลายตวั = many deers

- กาล / เวลา ในภาษาไทยจะใชกริยารูปเดิมเมื่อแสดงกาล และมีคำอื่นมาประกอบเพื่อใหทราบวา
เหตุการณ การกระทำหรือสภาพนั้นเกิดขึ้นเมื่อใด แตบางครั้งอาจจะไมตองมีคำอื่นมาประกอบ แตอาศัย
เหตุการณและสภาพแวดลอมเปนตัวชี้แนะ ซึ่งในภาษาอื่น เชน ภาษาอังกฤษนั้นคำกริยาจะเปลี่ยนรูปไปตาม
กาลเวลาที่เกิดขึ้น เชน เขากินขาวแลว = He ate rice. , เขากำลังกินขาว = He is eating rice. , เขาจะกิน
ขา ว = He will eat rice.

- มาลา เมื่อแสดงมาลาก็ตองนำคำอ่ืนมาประกอบคำกริยา โดยไมตองเปล่ียนแปลงรูปคำกริยา เชน เขาคง
มา (แสดงการคาดคะเนอยางลอย ๆ) เขาตองมาพรุง น้ี (แสดงการส่งั ) , คุณมานะพรุง น้ี (เปน การออนวอนหรือ
ขอรอง)

ท่มี า : https://sites.google.com/site/thanaponwachtja/home/gotvsza
: https://sites.google.com/site/thailandlearning/page2-1

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๕

ลกั ษณะเฉพาะของภาษาไทย
ภาษาไทยมีตัวอักษรเปนของตนเอง มีตัวอักษรใชแทนเสียงแท (สระ) เสียงแปร (พยัญชนะ)
เสียงดนตรี (วรรณยุกต) ตัวอักษรแทนจำนวน คือตัวเลข โดยเฉพาะตัวเลขไทย ดังนั้นควรใช พยัญชนะ สระ
วรรณยกุ ต ตวั เลขใหถ กู ตอง
ภาษาไทยแทมักเปนคำพยางคเดียว เชน พอ แม ไป นอน นั่ง นก เปด กา มีด สวน เสื้อ ฯลฯ
ภาษาไทยแทมีตัวสะกดตรงมาตราไมมีตัวการันต ตัวสะกดในภาษาไทยมี ๙ มาตรา (กบด นมยวง และแม ก
กา) (แมก ก-ข ฆ ค แมก ด – จ ช ว ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ถ ท ธ แมก บ –ป พ ฟ ภ แมกน – ณ ย ร ล ฬ)
ภาษาไทยมีรปู สระวางไวหลายตำแหนง เชน ขา งหลงั พยญั ชนะ จะ มา ขางบน ขางลาง ฯลฯ
คำเดยี วมีความหมายไดหลายอยาง ขึ้นอยกู บั บริบท เชน คำวา ขัน
ภาษาไทยมีความประณีต มีการใชคำที่มีความหมายใกลเคียงกัน เชน ตัด หั่น สับ ซอย ปง ยาง ผัด
ทอด อบ ใกล ชิด คิด แนบ ขา ง ฯลฯ
ภาษาไทยเปน ภาษาเรียงคำ หากเปลยี่ นแปลงตำแหนงคำ ทำใหความหมายเปลยี่ นหรอื กำกวม
คำในภาษาไทยมีเสียงสัมพันธกับความหมาย เชน คำที่ประสมดวยสระเอ มีความหมายในทางไมตรง
เชน เข เก โซเซ รวนเร ฯลฯ
ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี มีเสียงวรรณยุกตเมื่อวรรณยุกตเปลี่ยน ออกเสียงคำเปลี่ยนและ
ความหมายเปลี่ยน คำในภาษาไทยจึงมีความไพเราะ มคี วามคลองจองมีจงั หวะมีการเลียนเสียงธรรมชาติและ
สำเนียงภาษาอน่ื ไดถ ูกภาษา
ภาษาเขยี นมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจังหวะ เมอ่ื เวนวรรคผิด ความหมายกเ็ ปลย่ี น
ภาษาไทยเปนภาษาที่มีลักษณนาม เปน คำนามท่ีบอกลักษณะ
ภาษาไทยมีคำราชาศัพท ที่แสดงถึงความงาม วัฒนธรรมและความไพเราะของภาษา แสดงใหเห็นถึง
ขนบธรรมเนยี มที่ดขี องคนไทย
ภาษาไทยีคำพองเสยี ง พองรูป
ภาษาไทยมักจะละคำบางคำซ่ึงทำใหป ระโยคมีความหมายกำกวมไมชัดเจน
ภาษาพูดมีคำเสริมแสดงความสภุ าพ มีคำเสรมิ ทายประโยค เชน ครับ นะ เถิด จะ ซิ คะ โวย วะ นะ
จะ ฯลฯ
การลงเสยี งหนัก-เบาทำใหห นาที่ของคำเปลย่ี นไป

ลักษณะเดนของภาษาไทย
ภาษาไทยมีลกั ษณะเฉพาะทเี่ ปนของตนเอง แตกตางจากภาษาอน่ื ๆ หลายประการดังน้ี
๑. ภาษาไทยมตี ัวอักษรเปนของตนเอง ตงั้ แตพอ ขนุ รามคำแหงมหาราช ทรง-ประดษิ ฐล ายสอื ไทขึ้นใน

ป พ.ศ. ๑๘๒๖ อันเปน ตน กำเนิดอักษรไทย จากน้นั อักษรไทย จึงไดวิวฒั นาการเปนลำดบั มาจนถงึ ปจจบุ นั
๒. ภาษาไทยเปนภาษาคำโดด หมายถึง เปนภาษาที่นำเอาคำในภาษาไปใชไดโดยลำพัง ไมมีการ

เปลี่ยนแปลงรูปคำเพื่อบอกความสัมพันธระหวางคำในประโยค แตละคำมีอิสระในตัวเอง ความหมายหรือ
หนาทข่ี องคำตองดูท่ตี ำแหนงทีป่ รากฏในประโยค เชน

พอ ใหแ จกันแกล กู
ลูกใหแจกันแกพ อ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๖

คำในประโยคตัวอยางทุกคำตางเปน คำมูลท่ีมีอสิ ระตอกนั ไมสามารถแยกรูปแยกรูปใหเล็กลงโดย

รปู ทแ่ี ยกนัน้ มีความหมายไดอ กี ความหมายจะเปลยี่ นแปลงไปเมอ่ื หนาทขี่ องคำในประโยคเปลีย่ นไป

๓. คำในภาษาไทยสว นใหญเปนคำพยางคเดียว หมายถึงคำท่ีมีสวนประกอบดว ยหนวยเสยี งอยางนอย

๓ หนวย คือหนวยเสียงพยัญชนะตน หนวยเสียงสระ และหนวยเสียงวรรณยุกต คำพยางคเดียวในภาษาไทย

สังเกตไดจากหมวดคำพื้นฐานในภาษา ซึ่งเปนคำดั้งเดิมในภาษาไทยที่ใชกันในชีวิตประจำวัน

ไดแก

๓.๑ คำเรยี กเครือญาติ เชน พอ แม พี่ นอ ง ปู ยา ตา ยาย ลุง ปา ฯลฯ

๓.๒ คำกรยิ าท่วั ไป เชน ยนื เดนิ กิน ดื่ม นง่ั นอน ยงิ วิง่ ตี ตาย ฯลฯ

๓.๓ คำใชเ รียกช่ือสัตวต า ง ๆ เชน มา ววั หมู แมว เปด ไก ชา ง มา ฯลฯ

๓.๔ คำใชเ รยี กส่ิงของเคร่ืองใชตา ง ๆ เชน เสอื้ ผา ชาม จาน ไห ถว ย โถ มดี ไร นา ฯลฯ

อยา งไรก็ตาม คำหลายพยางคกม็ ีในภาษาไทยดว ยเชนกัน เชน หนงั สอื อยางน้ี จิ้งจก บนั ไดเลื่อน

ดนิ สอพอง ขะมักเขมน เปนตน

๔. ไมมีการเปลี่ยนแปลงรูปคำเมื่อนำไปเขาประโยค เพื่อแสดงเพศ พจน กาล มาลา และวาจก หาก

ตองการบอกส่งิ ตาง ๆ ดงั กลาว จะใชค ำขยายชว ย เชน

นักศึกษาชาย นกั ศกึ ษาหญิง (แสดงเพศ)

อาจารยหลายคน อาจารยท ัง้ หมด (แสดงพจน)

ผแู ทนฝายคา นกำลังอภปิ รายไมไววางใจรัฐบาล (แสดงกาล)

เธอควรอา นหนังสือ (แสดงมาลา)

ชา งปา ถกู เผานัง่ ยางกลางปา (แสดงวาจก)

๕. ภาษาไทยสว นมากใชตวั สะกดตรงตามมาตราตวั สะกด คือ

แม กก ใช ก เปน ตัวสะกด เชน แมกไม แยก แสก ฉาก ฯลฯ

แม กง ใช ง เปน ตัวสะกด เชน เกง แพง แวง ลา ง ฯลฯ

แม กน ใช น เปน ตัวสะกด เชน นอน แกน ปน กนิ ฯลฯ

แม กม ใช ม เปน ตัวสะกด เชน ลม ตม สม ลม แกม ฯลฯ

แม กบ ใช บ เปนตวั สะกด เชน เล็บ งบ แวบ แหบ ฯลฯ

แม กด ใช ด เปน ตัวสะกด เชน หด ลาด รีด มดื ฯลฯ

แม เกย ใช ย เปน ตัวสะกด เชน เคย มากมาย กา ย หาย

แม เกอว ใช ว เปนตัวสะกด เชน แหว เลว ลว่ิ เขีย้ ว แกว ฯลฯ

อนึ่ง พยางคทไี่ มม ีตัวสะกดเรามักเรยี กวา ตวั สะกดในแม ก กา เชน มา ดี ไร นา เปน ตน

๖. คำในภาษาไทยมีลักษณนาม เพื่อบอกลักษณะของคำนามที่อยูขางหนา เชน แหวน ๓ วง

เสอื ๘ ตัว ขนมจนี ๒ จบั พลู ๕ จบี ลกั ษณนาม ถือไดว า เปน ลกั ษณะพิเศษของภาษาไทย คำนาม ๑ คำ อาจมี

ลักษณนามเรียกไดห ลายคำข้นึ อยกู ับลกั ษณะตาง ๆ ของ คำนามท่ีปรากฏ เชน ลกั ษณนามของผา อาจมลี กั ษณ

นามเปน ผนื พบั มว น ตง้ั กลอง ฯลฯ.

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๗

อนึง่ คำลกั ษณนามท่ีบอกจำนวนนบั ท่ไี มเกินหนึง่ อาจปรากฏอยหู นา จำนวนนับ เชน

นกตวั หนึง่ บนิ ขามเสาธงหนาอาคารเรียน

นกั ศึกษาคนหนึ่งสอบไดเ กียรตนิ ิยม

จำนวนนับที่เปน ๑๐๐ ๑,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐ เปนตน ในภาษาพูดนิยมใช รอยหนึ่ง พันหนึ่ง หม่ืน

หนึ่ง กม็ ี

นอกจากนี้ ลักษณนามอาจปรากฏติดกับคำนามโดยละจำนวนนับที่เปนหนึ่งไวในฐานที่เขาใจ

ซ่งึ มกั ใชเ พ่ือเนน ขอความ เชน

บา นหลงั นท้ี าสสี วย

ตำรวจคนนนั้ ปฏิบัติหนา ทอี่ ยางเขมแข็ง

๗. ภาษาไทยมีระบบเสียงวรรณยุกต เสียงวรรณยุกตชวยทำใหภาษาไทยมีคำไวใชเพิ่มขึ้น เสียงที่

เปลี่ยนไป ทำใหคำมีความหมายเปลีย่ นแปลงไปดวย เชน เสือ เสื่อ เสื้อ การเปลี่ยนแปลงระดับเสยี งของคำใน

ลักษณะนี้ทำใหภาษาไทยมีความไพเราะประดุจเสียงดนตรี คำในภาษาไทยจึงจัดอยูในจำพวก

ภาษาดนตรี (musical language) หากรูจักเลือกคำไดเหมาะก็ทำใหผูอา นไดอรรถรส หรือเกิดมโนภาพไดงาย

เชน

ตอ ยตะริดตดิ ตเ่ี จา พ่เี อย จะละเลยเรรอ นไปนอนไหน

แออ ีออยสรอ ยฟา สมุ าลยั แมน เดด็ ไดแ ลวไมรา งใหห า งเชย

ฉยุ ฉายช่นื รืน่ รวยระทวยทอด จะกลอ มกอดกวาจะหลบั กบั เขนย

หนาวนำ้ คา งพรา งพรมลมรำเพย ใครจะเชยโฉมนองประคองนวล

เสนาะดังวังเวงเปนเพลงพลอด เสยี งฉอดฉอดชดชอยระหอยหวน

วเิ วกแววแจวในใจรญั จวน เปนความชวนประโลมโฉมวัณฬา

(สุนทรภู ๒๕๐๙ : ๕๐๒)

๘. ภาษาไทยนิยมคำคลองจอง อันแสดงอัจฉริยลักษณทางภาษาดานหนึ่งของคนไทย คำคลองจอง

อาจแบงไดตามจำนวนคำทป่ี รากฏเปน ๕ ประเภท ดังนี้

๘.๑ คลอ งจอง ๔ คำ เชน ขา วยากหมากแพง ขาวแดงแกงรอ น วา นอนสอนงาย ฯลฯ

๘.๒ คลองจอง ๖ คำ เชน ยใุ หร ำตำใหร ัว่ หวานเปนลมขมเปน ยา เขา ทางตรอกออกทางประตู

๘.๓ คลองจอง ๘ คำ เชน กนิ อยูกับปากอยากอยกู ับทอง บัวไมใหช้ำนำ้ ไมใหขุน คับท่อี ยูไดค ับใจอยู

ยาก เปนตน

๘.๔ คลองจอง ๑๐ คำ เชน คบคนใหด หู นา ซอ้ื ผา ใหดูเนื้อ ดูชา งใหดหู าง ดนู างใหด ูแม น้ำมาปลากิน

มด น้ำลดมดกินปลา เปน ตน

๘.๕ คลองจอง ๑๒ คำ เชน

ปลกู เรอื นตามใจผอู ยู ผูกอตู ามใจผนู อน

เปด หมอ ไมมีขาวสุก เปด สมุกไมมีขาวสาร

บญุ มาวาสนาชว ย ท่ีปว ยกห็ ายทหี่ นา ยกร็ ัก ฯลฯ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๘

๙. คำในภาษาไทยมีเสียงควบกล้ำไมมากนัก เสียงควบกล้ำที่ปรากฏมาแตเดิมในระบบเสียงของ
ภาษาไทยไดแ ก

๙.๑ เสยี ง /กร/ เชน กราน เกรง กรา น กรง่ิ ฯลฯ
๙.๒ เสยี ง /กล/ เชน เกลื่อน กลาด เกลียด กลัว กลอก ฯลฯ
๙.๓ เสียง /กว/ เชน กวาด ไกว แกวง แกวน ฯลฯ
๙.๔ เสียง /ขร/ เชน ขรัว ขรุ ขระ ฯลฯ
๙.๕ เสยี ง /ขล/ เชน ขลกุ ขลิก ขลมุ ขลุย ฯลฯ
๙.๖ เสียง /ขว/ เชน แขวน ขวาน ไขว ขวบั ฯลฯ
๙.๗ เสียง /คร/ เชน คราด เครง ครดั เครยี ด ฯลฯ
๙.๘ เสียง /คล/ เชน คละ คลงุ คลาย โคลง คลาม ฯลฯ
๙.๙ เสียง /คว/ เชน ควาย ความ ควา ควัก ฯลฯ
๙.๑๐ เสียง /ตร/ เชน ตรู ตราบ ตรอก ตรม ตรอม ฯลฯ
๙.๑๑ เสียง /ปร/ เชน ปรบั แปรด แประ ปรงุ เปรียว ฯลฯ
๙.๑๒ เสยี ง /ปล/ เชน เปลีย่ น แปลง ปลน เปลา ปลงิ ฯลฯ
๙.๑๓ เสียง /พร/ เชน พราย พรอม พร่ำ พรัน่ พรึง ฯลฯ
๙.๑๔ เสยี ง /พล/ เชน พลิก พลา ม พลอย พลง้ั ฯลฯ
สวนเสียงควบกล้ำทเี่ กดิ ขนึ้ ใหม เชน เสียง /ดร/ /ฟร/ /ฟล/ /บร/ /บล/
ซ่ึงสวนใหญเ ปนเสยี งท่ีไดรับอิทธพิ ลจากภาษาตางประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เชน ดรมั เมเยอร
ฟรี ฟลอร บรอดเวย บลสู  เปนตน

ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=207015

https://sites.google.com/site/thailandlearning/page2-1

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๓๙

ใบงานท่ี ๑ เร่ือง ลกั ษณะภาษาไทย
จุดประสงคการเรยี นรู

สามารถบอกลกั ษณะภาษาไทยไดอยางถกู ตอง
สามารถยกตวั อยางคำทม่ี ลี กั ษณะภาษาไทยได
คำชี้แจง ใหต อบคำถามตอไปน้ี
อธิบายลักษณะคำโดดท่เี ปน ลักษณะของภาษาไทยพรอ มยกตัวอยา งคำโดด จำนวน ๕ คำ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒.ยกตวั อยา งการเรยี งคำแบบ ประธาน กริยา กรรมในภาษาไทย จำนวน ๓ ขอความ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. ภาษาไทยเปน ภาษาวรรณยกุ ต หมายความวา อยา งไร ใหยกตัวอยา งคำประกอบ ๓ ตวั อยาง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๔. ภาษาไทยมีหนว ยเสยี งทางภาษากี่ชนิด อะไรบา ง
..............................................................................................................................................................................
๕. ลกั ษณะพเิ ศษของภาษาไทยมีอะไรบาง ยกมา ๕ ลักษณะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๐

แบบฝกหัดท่ี ๑ เร่ือง ลักษณะภาษาไทย

๑. พิจารณาขอความตอไปนี้วาเปนลักษณะภาษาไทยใชหรือไม แลวทำเคร่ืองหมาย ลงในชองวา ง

ขอที่ ขอความ ใช ไมใช

๑ มลี ักษณะพยางคเ ดียวมคี วามหมายสมบรู ณ

๒ มีการเปล่ยี นแปลงรปู คำ

๓ คำในภาษาไทยประกอบดวยเสียงพยญั ชนะ เสยี งสระ และเสียงวรรณยกุ ต

๔ ความหมายของคำบางคำมีหลายความหมายตองใชใ หถูกตองตามบริบท

๕ สวนขยายประโยคสามารถขยายไดท ง้ั ภาคประธานและภาคแสดง

๖ พยางคเ ปน หนวยที่เลก็ ทีส่ ดุ ที่ทำใหเ กิดคำตางๆ ซึ่งมีหนา ที่ตางกัน

๗ คำไทยมกั มหี ลายความหมายแตตอ งเปลีย่ นแปลงรปู คำเม่ือใชในหนาที่ตา งกัน

๘ ประโยคในภาษาไทยข้ึนตน ดวยผกู ระทำ

๙ คำในภาษาไทยเสยี งเปลีย่ นความหมายเปลย่ี นถาเติมวรรณยุกต

๑๐ ภาษาไทยเปน ภาษาดนตรี

๒. พิจารณาประโยคตอไปน้ีประโยคใดเปนการเรียงคำในประโยคแบบลกั ษณะภาษาไทย แลว ทำเคร่อื งหมาย

ลงในชองวาง

ขอท่ี ขอ ความ เปน ไมเปน

๑ กระเปาใบนพี้ อซ้ือใหฉนั

๒ ตึกหลงั นสี้ รา งโดยบรษิ ทั ยักษใหญ

๓ ชวงปดเทอมพวกเราไปเท่ียวทะเล

๔ คนรา ยถูกจับแลว

๕ โทรศัพทร ุนใหมวางขายตามทองตลาดแลว

๖ ดอกไมในสวนบานสะพรงั่

๗ พอ คา เปดรา นตรงเวลาทุกวนั

๘ ปนม้ี ะมวงออกผลจำนวนมาก

๙ อาหารมื้อน้ีฉนั เปน คนทำ

๑๐ นักเรียนชวยกนั เกบ็ ขยะในโรงเรยี น

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๑

ใบงานท่ี ๒ วิเคราะห ลักษณะคำในภาษาไทย

คำชีแ้ จง วเิ คราะหคำ/กลมุ คำท่กี ำหนดใหตอไปนพ้ี รอมทั้งเขยี นเหตผุ ลประกอบ

ที่ คำ เปนคำไทยแท ไมเปนคำไทยแท เหตผุ ลประกอบ

ตย. โลก  สามารถแปลงรปู เปน โลกาได

๑ แขนขวา

๒ ปา ปา ปา

๓ คน

๔ นก ๒ ตัว

๕ คะ จะ

๖ เกลยี ด

๗ คหู า

๘ เสื่อ เสือ้

๙ ดอกบวั

๑๐ ปลั๊ก

๑๑ รถ

๑๒ มะพราว

๑๓ เกง

๑๔ สาว

๑๕ เพศ

๑๖ กุมารา

๑๗ แข

๑๘ โซฟา

๑๙ เคลียร

๒๐ สตก๊ิ เกอร

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๒

ใบงานการคัดไทย
คำชี้แจง ใหน กั เรยี นคดั ลายมอื ดวยตวั บรรจงครึง่ บรรทัด พรอ มท้งั เขียนตวั เลขไทย ๐-๙

ในโลกน้ีมีอะไรเปนไทยแท ของไทยแนน ั้นหรือคือภาษา

ซึ่งผลิดอกออกผลแตต นมา รวมเรียกวา วรรณคดไี ทย

อนึง่ ศลิ ปงามเดน เปนของชาติ เชนปราสาทปรางคท องอันผองใส

อกี ดนตรีรำรา ยลวดลายไทย อวดโลกไดไทยแทอยางแนนอน

และอยาลืมจติ ใจแบบไทยแท เชือ่ พอแมฟง ธรรมคำสงั่ สอน

กำเนดิ ธรรมจรยิ าเปนอาภรณ ประชากรโลกเห็นเราเปน ไทย

แลวยงั มปี ระเพณีมีระเบยี บ ซง่ึ ไมมที ่เี ปรยี บในชาติไหน

เปนของรวมรวมไทยใหคงไทย นีแ่ หละประโยชนใ นประเพณี

ไดร ูเชน เห็นชดั สมบัติชาติ เหลอื ประหลาดลว นเหน็ เปน ศักด์ิศรี

ลวนไทยแทไทยแนไทยเรามี สิง่ เหลานคี้ ือวฒั นธรรม

ประพนั ธโดย หมอ มหลวงปน มาลากุล

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๓

แบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง ลักษณะภาษาไทย
คำชแ้ี จง ใหนักเรยี นเลอื กคำตอบทีถ่ กู ที่สุดเพยี งขอเดยี ว
๑. ขอใดไมใชล ักษณะภาษาไทย

ก. คำในภาษาไทยประกอบดวยเสียงพยญั ชนะ เสยี งสระ และเสียงวรรณยกุ ต
ข. ความหมายของคำบางคำมีหลายความหมายตองใชใ หถูกตองตามบริบท
ค. สว นขยายประโยคสามารถขยายไดทง้ั ภาคประธานและภาคแสดง
ง. พยางคเ ปนหนว ยทเ่ี ล็กทีส่ ุดทีท่ ำใหเกดิ คำตางๆ ซงึ่ มหี นาทีต่ า งกนั
๒. คำวา “กิน” ในขอใดมีความหมายวา “เปลอื ง”
ก.เม่ือตอนกลางวันทานเผ็ดมากเลยกนิ น้ำหมดไปหลายแกว
ข.รถยนตคันนีบ้ ังคบั คอนขา งยากมากเพราะเวลาขับชอบกินซา ย
ค.การทำงานควรมีการวางแผนท่ีดี เพ่ือท่จี ะไมกนิ เวลาทำงานของคนอ่ืน
ง.ราควรชว ยกนั คดิ ชวยกนั ทำ ไมใชกนิ แรงใหเพ่ือนคิดและทำอยูค นเดยี วแบบน้ี
๓. ขอใดไมเ กี่ยวของกับลกั ษณะของภาษาไทย
ก. การลงเสยี งหนกั เบาของคำ
ข. การวางคำขยายไวข างหลังคำหลัก
ค. การเรยี งคำ แบบประธาน กรยิ า กรรม
ง. การเปลีย่ นแปลงรปู คำเม่ือแสดงความเกยี่ วของคำอื่น
๔. ขอ ใดแสดงใหเ ห็นคำในภาษาไทยเปนคำสำเร็จรูป
ก. ถงึ นคราเขามายังนคเรศ
ข. มาตามทางกลางเถ่อื น
ค. กุมารีกุมารามาเปน หมู
ง. เหน็ ปก ษีบินถลาหาปกษา
๕. มีปา ยตดิ ไวว า ไมข อคบคนตอไปนี้ “ คนไมร ักดี ไมร ักคนดี คนดไี มรัก คนรกั ไมด ี” ขอความเหลา นีแ้ สดงถึง
ลกั ษณะเดน ของภาษาไทยอยางไร
ก. การขยายคำหลัก
ข. การเสนอแนวคดิ
ค. การจับประเดน็ ในการส่อื สาร
ง. การเรยี งลำดับคำในประโยค
๖. ขอใดมกี ารใชลกั ษณนามในรูปแบบประโยคที่ถูกตอง
ก. สองโจรปลนรานทองกลางวันแสกๆ
ข. ชาง ๓ โขลงบายหนาสูป า หวยขาแขง
ค. อยั การสั่งฟอ งสามนักการเมอื งพวั พนั ทจุ รติ
ง. ทุกโรงเรียนในเขตอนั ตรายปดการเรยี นการสอน

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๔

๗. ขอใดไมใ ชล กั ษณะภาษาไทย
ก. เปนภาษาคำโดด
ข. มีการเปล่ียนแปลงรปู คำ
ค. เปน ภาษาวรรณยกุ ต
ง. มหี นวยเสยี งไดแ ก สระ พยัญชนะและวรรณยุกต

๘. ขอใดแสดงถึงลกั ษณะภาษาไทยทเ่ี ปนภาษาคำโดดที่ชัดเจนท่ีสดุ
ก. ปบู อกยา ใหนอนหลับ
ข. ลุงกบั ปา ทำอาหาร
ค. พแี่ ละนองเลน ฟุตบอล
ง. พอกับแมไปตา งประเทศ

๙. ขอใดแสดงลกั ษณะภาษาไทย
ก. สองผูร ายถกู ฆา ตาย
ข. สามโจรบุกปลนธนาคาร
ค. คนงานสีค่ นรอดอยางปฏหิ าริย
ง. หา ตำรวจเสยี สละชีวติ เพ่อื ชาติ

๑๐. นายมีขนั ชะเนาะแผลท่ีถูกงูกัดทีข่ าขวา เพื่อนพูดตลกใหนายมขี ันสู แตฉนั วา ไมนา ขัน ปลอ ยใหไกมันขนั
ดกี วา ” ขอความน้ี แสดงลักษณะพเิ ศษของภาษาไทยอยา งไร

ก. คำเดยี วกันอาจมหี ลายความหมายและใชไดห ลายหนาท่ีโดยไมต องเปลย่ี นแปลงรูปคำ
ข. ความหมายและหนาทขี่ องคำเปนตัวบง บอกความสัมพนั ธข องคำในบริบทในบางกรณี
ค. ความสมั พันธของคำในบริบทไมเปน ตัวบง บอกความหมายและหนา ท่ีของคำ
ง. คำไทยมักมหี ลายความหมายแตต องเปลีย่ นแปลงรปู คำเม่ือใชใ นหนาที่ตา งกัน

คะแนนทไ่ี ด

ช่อื ..................................................................................................เลขท.ี่ ....................ช้ัน.....................

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๕

เสยี งในภาษาไทย

๑. หนวยเสียงสระ
หนวยเสยี งสระ คอื เสียงทเ่ี ปลงออกมาโดยตรงจากปอด ไมถ ูกอวัยวะสว นใดสวนหน่ึงกักไวภายในชอ ง

ปาก เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๑ รูป ๒๑ เสยี ง (เสียงสระแท ๑๘ เสยี ง สระประสม ๓ เสียง )

๑.๑ สระเด่ยี ว (สระแท) มี ๑๘ เสียง แบงเปน สระเสยี งส้ัน ๙ เสียง และสระเสียงยาว ๙ เสียง ดงั นี้

สระเสยี งส้นั (รสั สระ) สระเสียงยาว (ทีฆสระ)

อะ อา

อิ อี

อึ อื

อุ อู

เอะ เอ

แอะ แอ

โอะ โอ

เอาะ ออ

เออะ เออ

๑.๒ สระประสม (สระเลอ่ื น) คือการเลื่อนเสยี งจากสระหนึ่งไปสระหนึง่ โดยการนำสระเด่ยี ว ๒ สระ

ประสมกนั มี ๓ เสยี ง ดงั น้ี

สระเสยี งส้นั (รสั สระ) สระเสยี งยาว (ทีฆสระ)

เอยี ะ ( อิ + อะ ) เอีย ( อี + อา )

เออื ะ ( อึ + อะ ) เอือ ( อื + อา )

อวั ะ ( อุ + อะ ) อัว ( อู + อา )

ขอ สังเกต สระประสมเสียงส้ัน เชน เปรี๊ยะ เผยี ะ ผวั ะ เปนลกั ษณะคำเลียนเสียง หรือในคำยืมภาษาอ่นื
เชน เกย๊ี ะ เจย๊ี ะ ยัวะ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๖

๑.๓ สระเกนิ มี ๘ เสยี ง

สระเสยี งสัน้ (รสั สระ) สระเสยี งยาว (ทีฆสระ)

อ า ( อ + อะ + ม )

ไอ ( อ + อะ + ย )

ใอ ( อ + อะ + ย )

เอา ( อ + อะ + ว )

ฤ ( รึ )  ( รอื )

ฦ ( ล)ึ  ( ลือ )

ขอ สงั เกต อำ ไอ ใอ เอา ทางภาษาศาสตรแนวใหมจะนับเปน เสยี งสระพเิ ศษ เพราะมีเสียงพยัญชนะ

ประสมอยูและถือวาเปนคำที่มีเสยี งสะกดดว ย

วธิ ีการใชส ระ แบงออกเปน ๓ ประเภท คือ สระคงรูป สระลดรปู และสระเปลย่ี นรปู

๑. สระคงรูป คอื คำท่ีออกเสียงสระใดก็ใชร ปู สระน้นั เชน

ปราม ( ปร + อา + ม ) กนิ ( ก + อิ +น )

๒. สระลดรปู คือ คำที่ไมปรากฎรูปสระ ไดแก

๒.๑ สระ อะ ลดรปู คือ ไมประวิสรรชนีย ในพยางคท ่ีออกเสยี ง อะ แตคงตองออกเสียง อะ

เชน ธ ณ ฉลาด ขโมย สไบ สบู อคติ

๒.๒ สระ โอะ ลดรูป คือการตดั รูปสระโอะออก แตคงพยัญชนะและตวั สะกดไว เชน

พบ ( พ + โอะ + บ ) กด ( ก + โอะ + ด )

สน ( ส + โอะ + น ) ปม ( ป + โอะ + ม )

๒.๓ สระ เอาะ ลดรปู คอื ตัดรปู เดิมออก ใชต วั อ กับ ไมไตคู เชน

ล็อก ( ล + เอาะ + ก ) ชอ็ ก ( ช + เอาะ + ก )

๒.๔ สระ ออ ลดรูป คอื ตัดตัว อ ออกแตย งั อา นออกเสยี งเหมอื นมีตวั อ อยูด วย เชน

บ บ กร สมร อร มรดก ทรชน

๒.๕ สระ เออ ลดรูป คอื ตดั ตัว อ ออก ในพยางคที่มีตัวสะกดในแม เกย เชน

เขย ( ข + เออ + ย ) เตย ( ต + เออ + ย )

๒.๖ สระ อัว ลดรปู คือตัดไมหันอากาศ ใช ว ตวั เดยี วในพยางคท ่ีมีตัวสะกด เชน

กวด ( ก + อวั + ด ) พวก ( พ + อวั + ก )

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๗

๓. สระเปลยี่ นรปู คือเปล่ยี นรูปไปเปน อยางอ่ืน

๓.๑ สระ อะ เปล่ยี นวิสรรชนยี  ไมห ันอากาศ เม่ือมีตวั สะกด เชน

ก + อะ+ น กัน ร + อะ + ก รัก

๓.๒ สระ อะ เปลีย่ นวิสรรชนยี  รร หัน ใชในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เชน

ก + อะ + ม กรรม ว + อะ + น วรรณ

๓.๓ สระ เอ แอะ เปลี่ยนวิสรรชนยี  ไมไตคู เมื่อมตี วั สะกด เชน

ห + เอะ + น เห็น ข + แอะ + ง แข็ง

๓.๔ สระ เออ เปล่ยี นตัว อ เปน อิ เมอื่ มีตัวสะกด เชน

ด + เออ + น เดิน จ + เออ + ม เจมิ

๒. หนวยเสียงพยัญชนะ

เสยี งพยัญชนะ คือ เสียงท่ีเปลง ออกมาแลวถูกสกัดกัน้ โดยอวัยวะสว นใดสวนหน่ึงทำใหเ สยี งตางกัน

ออกไปตามอวยั วะท่ีมาสกดั ก้ัน พยัญชนะในภาษาไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสยี ง ดังนี้

กขฃคฅฆง จฉชซฌ

ญฎ ฏ ฐ ฑฒณด ต ถ ท ธ

นบปผฝพฟภมยร ล

ว ศษสหฬอฮ

หมายเหตุ รปู พยัญชนะ ๔๔ รปู เปน พยัญชนะตนได ๔๒ รูป พยญั ชนะที่ไมใ ชค ือ ฃ และ ฅ

พยญั ชนะทีเ่ ปน ตวั สะกดไมได คอื ฃ ฅ ฉ ผ ฝ ฌ ห อ ฮ

หนว ยเสียงพยัญชนะตนเด่ยี ว มี ๒๑ เสียง คอื
เสียงพยัญชนะคือ เสียงที่ตางกับเสียงสระ หรือเสียงที่ไมใชเสียงสระ เสียงพยัญชนะมีทั้งที่เปน
เสยี งกองและเสยี งไมกอง เสียงที่ลมออกทางปาก เสยี งที่ออกทางจมกู เสยี งท่ลี มถูกกัก เสียงท่ีลมถูกบีบใหเปน
เสียงเสียดแทรก เสียงที่ออกทางขางลิ้น เสียงที่ลิ้นรัว และเสียงเลื่อน เสียงพยัญชนะจึงมีลักษณะตางกัน
เปน หลายแบบ

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๘

ที่ เสียง รปู พยญั ชนะ ทเ่ี กิดเสยี ง ประเภทของเสยี ง
พยัญชนะ
ก เพดานออน ระเบิด ไมก อง ไมมลี ม
๑ ก /k/ ขฃคฅฆ เพดานออน ระเบิด ไมก อง มลี ม
๒ ค /kh/ ง เพดานออ น นาสกิ กอ ง
๓ ง /n/ จ เพดานแข็ง ระเบดิ ไมกอ ง ไมมลี ม
๔ จ /c/ ชฉฌ เพดานแขง็ ระเบดิ ไมกอง มีลม
๕ ช /ch/ ซสศษ ฟน เสยี ดแทรก ไมกอง
๖ ซ /s/ ยญ เพดานแข็ง ก่งึ สระ กอง
๗ ย /j/ ฏด ฟน /ฟน ถงึ ปุมเหงอื ก ระเบดิ กอง ไมมลี ม
๘ ด /d/ ฏต ฟน /ฟน ถงึ ปุมเหงือก ระเบดิ ไมกอง ไมมลี ม
๙ ต /t/ ฐฑฒถทธ ฟน /ฟนถึงปมุ เหงือก ระเบิด ไมกอง มีลม
๑๐ ท /th/ ณน ฟน /ฟนถงึ ปมุ เหงือก นาสิก กอ ง
๑๑ น /n/ บ รมิ ฝปาก ระเบดิ กอ ง ไมมลี ม
๑๒ บ /b/ ป ริมฝป าก ระเบดิ ไมก อง ไมมลี ม
๑๓ ป /p/ ผพภ รมิ ฝป าก ระเบิด ไมก อ ง มลี ม
๑๔ พ /ph/ ฝฟ รมิ ฝปากกับฟน เสียดแทรก ไมกอ ง
๑๕ ฟ /f/ ม ริมฝปาก นาสิก กอ ง
๑๖ ม /m/ ร - กระทบ กอง
๑๗ ร /r/ ลฬ - ขางลิ้น กอง
๑๘ ล /l/ ว ริมฝป าก กึ่งสระ กอง
๑๙ ว /w/ อ ชองระหวางเสนเสยี ง ระเบิด ไมก อง ไมมลี ม
๒๐ อ / ? / หฮ ชองระหวางเสน เสยี ง เสียดแทรก ไมกอง
๒๑ ฮ /h/

พยัญชนะควบกล้ำหรือพยัญชนะกล้ำ ในภาษาไทยมีหนวยเสียงพยัญชนะที่สามารถออกเสียง
ควบกล้ำ คือออกเสียงพยัญชนะ ๒ เสียงติดตอกนั โดยไมมีเสียงสระคั่นกลาง และปรากฏเปน พยัญชนะตนของ
พยางคไ ด ๑๑ คู ดังน้ี

๑. ปร /pr/ เชนเสียงพยัญชนะตนในคำวา ปรา แปร ปรงุ ปริก ปรบั
๒. ปล /pl/ เชนเสยี งพยญั ชนะตนในคำวา ปลา เปล แปล ปลอบ เปลีย่ ว
๓. ตร /tr/ เชน เสียงพยญั ชนะตนในคำวา ตรง ตรา ไตร แตร ตรำ ตรอง
๔. กล /kl/ เชนเสียงพยัญชนะตน ในคำวา กลาง กลา กลอง ไกล เกลา
๕. กร /kr/ เชน เสยี งพยัญชนะตน ในคำวา กรง กรุง เกรยี ว กรับ กรู

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๔๙

๖. กว /kw/ เชน เสียงพยญั ชนะตนในคำวา กวาง กวาด เกวียน ไกว กวา ง
๗. พล /phl/ เชนเสียงพยญั ชนะตน ในคำวา พลาง พลุ พลาด เพลง ผลิ ผลาญ โผล
๘. พร /phr/ เชนเสยี งพยญั ชนะตนในคำวา พราน พราย พริก พรอย ไพร พฤกษ
๙. คล /khl/ เชน เสยี งพยญั ชนะตน ในคำวา คลาน เคลอื่ น คลอ ย คลาด เขลา เขลง
๑๐. คร /khr/ เชน เสียงพยญั ชนะตน ในคำวา ครอง ใคร เครา ครวั ขรวั ขรบิ ขรึม
๑๑. คว /khw/ เชนเสียงพยญั ชนะตนในคำวา ความ ควา ง ควาย เควง ขวาง ขวนขวาย

ปจจบุ ัน มคี ำยมื ภาษาองั กฤษหลายคำทำใหมีการออกเสียงพยญั ชนะควบกล้ำเพ่ิมข้นึ อีกหลายคู เชน
๑. บร /br เชน เสียงพยัญชนะตนในคำวา เบรก บราเซยี โบรกเกอร
๒. บล /bl/ เชน เสยี งพยัญชนะตนในคำวา บลอก เบลอ เบลเซอ ร
๓. ดร /dr/ เชนเสยี งพยัญชนะตน ในคำวา เดรป เดรส ดริ๊ง ไดรฟ 
๔. ทร /thr/ เชน เสียงพยัญชนะตน ในคำวา ทรมั เปต แทร็กเตอ ร
๕. ฟร /fr/ เชน เสยี งพยญั ชนะตน ในคำวา ฟรี แฟรง ค เฟรนซฟราย
๖. ฟล /fl/ เชนเสียงพยัญชนะตน ในคำวา ฟลุก แฝลต็ /แฟลต
๗. ซตร /str/ เชน เสยี งพยัญชนะตน ในคำวา สตรงิ สตรกิ๊ สไตรก

พยญั ชนะทา ย หนวยเสยี งพยัญชนะที่สามารถปรากฏตามหลังสระเปนพยัญชนะทายได มี ๙ หนว ย ดังนี้
- ป /p/ เชน เสียงพยญั ชนะทา ยในคำวา ดบิ ขาบ ลาภ โลภ นพ บาป
- ต /t/ เชน เสียงพยญั ชนะทายในคำวา อาจ ราช นาฏ อิฐ กรด นิตย รถ วิทย ครุฑ พุธ ปราศ พษิ รส
- ก /k/ เชนเสียงพยัญชนะทายในคำวา มาก พรกิ สขุ ปลุก นาค เมฆ
- อ / ? / เชนเสียงพยัญชนะทา ยในคำวา ติ เตะ แฉะ ผุ ปุ ปะ เดียะ ปริ เปรยี ะ
- ม /m/ เชน เสียงพยัญชนะทา ยในคำวา ราม รมิ คุม คราม เยีย่ ม ดำ ยำ
- น /n/ เชนเสยี งพยญั ชนะทา ยในคำวา วนั บน่ิ ควร การ หาญ คณุ นิล วาฬ
- ง /n/ เชน เสยี งพยัญชนะทา ยในคำวา ยงั คลัง ลุง ตรง จริง เพียง เรอื่ ง นอง
- ย /j/ เชน เสียงพยญั ชนะทายในคำวา นยั ขาย เลย เรื่อย วัย ไป ใจ ใหญ ไกล
- ว /w/ เชน เสยี งพยัญชนะทายในคำวา ขาว หิว เรว็ แผว เดา เปา เขา

ร า ย วิ ช า ห ลั ก ภ า ษ า ไ ท ย ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ท ๓ ๐ ๑ ๐ ๕ | ๕๐

พยัญชนะทาย / ? / เปนเสียงที่ไมมีรูปเขียนชัดเจนในหลักอักขรวิธีของไทย เสียงนี้จะปรากฏใน
พยางคท ป่ี ระสมสระเสยี งสน้ั และออกเสียงเปนพยางคห นัก เชน แฉะ ตริ
หมายเหตุ สตู รสำหรบั จำพยัญชนะทาย

ตา แก วา ยา โง ไป นา มา
/ต/ /ก/ /ว/ /ย/ /ง/ /ป/ /น/ /ม/

ปจจุบันมีคำยืมภาษาอังกฤษหลายคำ ทำใหเกิดเสียงพยัญชนะทายเพิ่มขึ้นในภาษาไทย เชน เสียงพยัญชนะ
ทาย ซ ฟ ล ในคำตอไปน้ี

- ซ /s/ เชน เสียงพยัญชนะทายในคำวา แกส กาซ รถบ๊สั เท็นนสิ แจส
- ฟ /f/ เชนเสียงพยัญชนะทา นในคำวา กอ ลฟ ออ ฟฟศ ปรูฟ บลฟ๊ั
- ล /l/ เชนเสียงพยัญชนะทานในคำวา บิล เจล แรลล่ี คลู เพรลิ์

๓. หนวยเสียงวรรณยุกต
วรรณยุกต หมายถึง ระดับสูงต่ำของเสียงที่ปรากฏเปนหนวยเสียงในพยางคหรือในคำหนวยเสียง

วรรณยุกตใ นภาษาไทย มี ๕ หนว ย ดงั นี้
- หนวยเสียงวรรณยุกตสามัญ เปนวรรณยุกตระดับกลาง เชน วรรณยุกตในคำวา มา ปลี ดู ไป วาง

พลาง เรอื น จาม ยมื คลาย พราย ดาว เดยี ว
- หนวยเสยี งวรรณยกุ ตเอก เปนวรรณยุกตร ะดับต่ำ เชน วรรณยกุ ตในคำวา ปะ เหวอะหวะ ปา ขา ปู

ขา ย อยา เหยือก เปย ก ปก ชัด เบียด อาบ บีบ
- หนวยเสยี งวรรณยุกตโท เปนวรรณยุกตเปลยี่ นระดับจากสูงลงมาต่ำ เชน วรรณยุกตในคำวา ปา ขา

กอน คา ใคร นาบ ทาก ชาติ เลอื ด ครดู เรยี ก เลือก
- หนวยเสยี งวรรณยุกตตรี เปนวรรณยุกตระดับสูง เชน วรรณยุกตในคำวา กง กุย เกี๊ยว กั๊ก นา นอง

พรอย รัก เมตร โนต ริบ วับ นกึ
- หนวยเสียงวรรณยุกตจัตวา เปนวรรณยกุ ตเปลีย่ นระดบั จากต่ำขึ้นไปสูง เชน วรรณยุกตใ นคำวา ปา

จ๋ี เด๋ยี ว จอย ผง ขน ผม หงิม สาว หิว ขาว หมาย หนาม
วรรณยกุ ตร ะดับ มี เสยี ง สามัญ เอก ตรี
วรรณยุกตเ ปลี่ยนระดบั มีเสียง โท จตั วา


Click to View FlipBook Version