The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by larpsetthi, 2023-03-16 18:48:49

รัชกาลที่3

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) 3_edit.indd 1 20-Feb-13 11:17:26 PM


สารบัญ คํานํา ๔-๕ พระราชประวัติ ๗ การปกครอง ๑๔ กฎหมาย ๑๗ เศรษฐกิจ ๑๙ การศึกษา ๒๕ การศาสนา ๓๒ ~ การสรางและการแปลพระไตรปฎก ๓๔ ~ วัดราชนัดดารามวรวิหาร ๓๕ ~ โลหะปราสาท ๓๙ ~ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ๔๓ ~ วัดเทพธิดารามวรวิหาร ๕๔ ~ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ๕๗ ~ วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร ๖๖ ~ วัดชัยชนะสงคราม ๗๕ ~ วัดมหรรณพารามวรวิหาร ๗๗ ~ วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ๘๐ ~ วัดสุนทรธรรมทาน ๘๔ ~ พระสมุทรเจดีย ๘๖ 3_edit.indd 2 20-Feb-13 11:17:42 PM


พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับตางประเทศ ๘๗ ~ ความสัมพันธกับพมา ๘๗ ~ ความสัมพันธกับลาว ๘๙ ~ ความสัมพันธกับญวนและเขมร ๙๑ ~ ความสัมพันธกับจีน-หัวเมืองมลายู ๙๓ ~ ความสัมพันธกับอังกฤษ ๙๕ ~ ความสัมพันธกับสหรัฐอเมริกา ๙๖ ~ ศิลปกรรมและวรรณกรรม ๙๙ บุคคลสําคัญ ๑๐๒ ~ นักอุทกวิทยาของประเทศไทย ๑๐๒ ~ กวีที่สําคัญ ๑๐๓ สถานที่สําคัญ ๑๐๕ บรรณานุกรม ๑๑๗ 3_edit.indd 3 20-Feb-13 11:18:01 PM


หนังสือชุดนี้มีทั้งหมด ๙ เลม ซึ่งเปนหนังสือที่รวบรวมพระราชประวัติของพระมหากษัตริย ไทยแหงราชวงศจักรี ทั้ง ๙ รัชกาล โดยเริ่มประมวลตั้งแตวันพระราชสมภพ ขณะทรงพระเยาว พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชอัจฉริยภาพดานตางๆ ตลอดจนพระราชกรณียกิจในสาขาตางๆ ไดแก ดานการเมืองการปกครอง การทหาร ศาสนา การศึกษา วรรณกรรม การสาธารณสุข การตาง ประเทศ ซึ่งลวนแลวแตเปนพระราชกรณียกิจที่เปยมประโยชนตออาณาประชาราษฎรของพระองค ทั้งสิ้น อีกทั้งยังบําบัดทุกขบํารุงสุขใหประชาราษฎรมีชีวิตความเปนอยูที่ดี หนังสือชุดนี้ประกอบดวย • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ • พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ สํานักพิมพหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือชุดนี้จะทําใหผูอานไดซาบซึ้งและตระหนักในพระ มหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริยแหงราชวงศจักรีทั้ง ๙ พระองค และเปนประโยชนตอเยาวชน และผูที่สนใจศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของทุกพระองค บริษัท เพื่อนเรียน เด็กไทย จํากัด คํานําสํานักพิมพ 3_edit.indd 4 20-Feb-13 11:18:05 PM


ในการเรียบเรียงหนังสือเกี่ยวกับพระมหากษัตริยในราชวงศจักรี จากรัชกาลที่ ๑ ถึง รัชกาลที่ ๙ ผูเรียบเรียงมีความมุงหวังวาผูอานทั้งนักเรียน นิสิต นักศึกษา เยาวชนของชาติ ตลอดจนผูสนใจทั่วไปได ตระหนักถึงความเสียสละของพระมหากษัตริยทุกพระองคที่ทรงอุทิศพระองคเพื่อกอบกู รักษา พัฒนา ประเทศใหคงความเปนเอกราชและคงความเปนชาติที่ยิ่งใหญ มั่นคงมาจนทุกวันนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งหนังสือเลมนี้ “พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระ นั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓” ซึ่งมีเนื้อหาแสดงถึงความสําคัญในการพัฒนาประเทศในดานตางๆ โดย พระองคเปนพระโอรสในพระบามสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ ในรัชสมัยของพระองคนับ เปนยุคของการฟนฟูและบูรณะเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาอยางแทจริง โดยมีการปฏิสังขรณวัดวาอาราม การ ศึกษาพระปริยัติธรรม และทรงมีพระปรีชาสามารถดานวรรณกรรม โดยทรงนิพนธบทละครเรื่องสังขศิลป ชัย เสภาขุนชางขุนแผน เพลงยาวรัชกาลที่ ๓ และโคลงปราบดาภิเษก ดานการพัฒนาประเทศทรงโปรด เกลาฯ ใหมีการขุดคลองขึ้น เชน คลองบางขุนเทียน คลองบางขนาก คลองหมาหอน ดานการศึกษา ทรง ทํานุบํารุงและสนับสนุนการศึกษา โดยโปรดเกลาฯ ใหกรมหลวงวงศาธิราชสนิท แตงตําราเรียนภาษาไทย “จินดามณี”โปรดเกลาฯ ใหผูรูจารึกตําราตางๆ อาทิ อักษรศาสตร แพทยศาสตร พุทธศาสตร โบราณคดี ลงในศิลาตามศาลารอบพุทธาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม นอกจากนี้ยังมีคุณูปการในดานอื่นๆ อีก มากมาย ซึ่งลวนแลวแตเปนประโยชนตอปวงชนชาวไทยทั้งสิ้น จึงหวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนตอปวงชนชาวไทย และตอเยาวชนซึ่งเปน อนาคตของชาติ ไดตระหนักถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคทานที่มีตอปวงชนชาวไทยทุกคนอยางมิ ลืมเลือนตลอดกาล อุดม เชยกีวงศ ผูเรียบเรียง คํานําผูเรียบเรียง 3_edit.indd 5 20-Feb-13 11:18:10 PM


3_edit.indd 6 20-Feb-13 11:18:23 PM


๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๓ แหงกรุง รัตนโกสินทร(๑) เปนพระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และ เจาจอมมารดาเรียม (ซึ่งตอมาไดรับการเฉลิมพระอิสริยศักดิ์ขึ้นเปนสมเด็จพระศรีสุลาลัย เมื่อทรง ดํารงพระราชฐานันดรเปนสมเด็จพระบรมราชนนีในสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจา) เสด็จพระ ราชสมภพเมื่อวันจันทรที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๐ โดยที่เสด็จพระราชสมภพเมื่อสมเด็จพระบรม ชนกนาถยังดํารงพระยศเปนเจาฟาตางกรม พระราชมารดาเปนสามัญชน ฉะนั้นแรกสมภพนาจะ ทรงดํารงพระยศเปนหมอมเจาตามราชประเพณี ตอมาถึง พ.ศ. ๒๓๔๙ สมเด็จพระบรมชนกนาถ เสด็จขึ้นสถิตในที่พระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระราชโอรสที่ประสูติแตเจาจอม ทั้งหมดจึงเลื่อนขึ้นดํารงพระอิสริยยศเปนพระองคเจา โดยมิตองมีการสถาปนาพระยศเพิ่มขึ้นแต อยางใด ดวยเปนประเพณีการสืบสานแหงราชสกุลอยูแลว พระนามเดิมวา ทับ ทรงเปนหลานปูพระองคใหญซึ่งสมเด็จพระบรมอัยกาธิราช (รัชกาลที่ ๑) โปรดปรานยิ่งนักที่ทรงมีความคลายคลึงในลักษณะทาทางและพระวรกายจนเปนที่รูกันทั่วไป พ.ศ. ๒๓๔๙ เมื่อสมเด็จพระราชบิดา(รัชกาลที่ ๒) ทรงไดรับอุปราชาภิเษกขึ้นเปนสมเด็จพระ มหาอุปราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคล หมอมเจาชายทับจึงดํารงพระอิสริยฐานันดรศักดิ์เปน พระเจาหลานเธอ พระองคเจาชายทับ เมื่อพระชนมพรรษาครบที่จะทรงผนวช ก็โปรดใหทรงผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แมขณะนั้นรัชกาลที่ ๑ จะทรงพระชราพระชนมพรรษาถึง ๗๒ แลวก็ ยังทรงพระราชอุตสาหะเสด็จออกในพิธีทรงผนวชของพระเจาหลานเธอตลอดพิธีการ และโปรดให เสด็จไปประทับจําพรรษาอยู ณ วัดราชสิทธาราม บางกอกใหญฟากธนบุรี รัชกาลที่ ๒ เสด็จขึ้นครองราชยใน พ.ศ. ๒๓๕๒ พระองคเจาชายทับทรงไดรับฐานันดรศักดิ์ จากพระเจาหลานเธอเปนพระเจาลูกยาเธอตามขัตติยราชประเพณี ตนรัชกาลที่ ๒ เกิดเรื่องสําคัญที่จะเปนอันตรายตอพระราชวงศนั่นคือ สมเด็จเจาฟาสุพันธุ วงศ กรมขุนกษัตรานุชิต พระราชโอรสในสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีที่ประสูติแตสมเด็จเจาฟาฉิมใหญ (1) กรมศิลปากร กองวรรณคดีและประวัติศาสตร,งานพระเมรุมาศสมัยกรุงรัตนโกสินทร โดยนายยิ้ม ปณฑยางกูร และคนอื่นๆ ,กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์ , ๒๕๒๘ 3_edit.indd 7 20-Feb-13 11:18:29 PM


๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) (พระราชธิดาในรัชกาลที่ ๑) เปนกบฏ โปรดให พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาชายทับดําเนิน การจับกุมชําระคดีเปนที่เรียบรอย เปนการ ตัดไฟแตตนลม ถาเหตุการณบานปลายกลาย เปนศึกกลางเมืองอาจไมเปนอันตรายแตเพียง ราชบัลลังกและราชสกุลเทานั้น อาจเปนภัย ตอประเทศชาติและนําความเดือดรอนมาสู ประชาชนได นับเปนเรื่องสําคัญที่ไดทรงกระทํา ขณะมีพระชนมพรรษาเพียง ๒๒ เทานั้น ในป พ.ศ. ๒๓๕๖ เมื่อพระชนมพรรษา ๒๖ พรรษา ทรงไดรับการสถาปนาขึ้นเปนเจา ตางกรม ทรงพระนามวา “พระเจาลูกยาเธอกรม หมื่นเจษฎาบดินทร”สมเด็จพระบรมชนกนาถไว วางพระราชหฤทัยมาก โปรดใหทรงกํากับ ราชการกรมทา กรมพระคลังมหาสมบัติ กรม พระตํารวจวาความฎีกา ซึ่งเปนสวนราชการที่ สําคัญมากในสมัยนั้น นอกจากนี้ยังโปรดเกลาฯ ใหรับราชการตางพระเนตรพระกรรณดวย ความหมายของพระนามกรม “เจษฎาบดินทร”แยกไดดังนี้ เจษฎา แปลวา ผูเปนใหญที่สุด บดินทร แปลวา พระเจาแผนดิน รวมเปนพระนาม กรมคงจะ หมายใหเปนที่เขาใจกันวาไดทรงตั้งพระราชหฤทัยจะใหพระราชโอรสองคนี้เปน “พระเจาแผนดินผู เปนใหญ”จะเปนความตั้งพระทัยไวแตเดิมหรือการพระราชทานนามใหเปนมงคล เพื่อเปนพระราช สิริสวัสดิ์แดพระราชโอรสพระองคใหญก็ตาม กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ทรงรับราชการสนองพระเดชพระคุณดวยความจงรักภักดีและพระ ราชอุตสาหะแรงกลาดวยความหวังดีตอบานเมือง มากดวยพระเมตตากรุณาตอปวงชนขาแผนดิน ในยามเงินของแผนดินขาดแคลน ไดทรงนําเงินสวนพระองคจากการคาสําเภาขึ้นนอมเกลาฯ ถวาย พอบรรเทาความเดือดรอนไปไดมาก จนสมเด็จพระชนกนาถ (รัชกาลที่๒) ตรัสลอเรียกพระองควา “เจาสัว” “เจาสัว”ทรงประหยัดระมัดระวังการใชจาย ไมโปรดการจับจายใชสอยฟุมเฟอยเพื่อพระองค เอง หรือขาบาทบริจาริกาและแมแตพระโอรสพระธิดาเลยแมแตนอยนิด แตสําหรับประชาชนผู ขัดสนก็มิไดทรงวางเฉย ทรงตั้งโรงทานประทานอาหารเลี้ยงดูที่หนาวังทาพระที่ประทับของพระองค ในขณะนั้น ซึ่งเปนที่นาซึ้งในพระราชหฤทัยในความเสียสละอันควรแกการเคารพบูชาเปนที่สุด พระบรมราชสัญลักษณพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๒ 3_edit.indd 8 20-Feb-13 11:18:36 PM


๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ดวยเหตุนี้ สมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคตลงโดยมิไดตรัสมอบหมายการสืบราชสันตติ วงศสนองพระองคไวอยางใด และยังมิไดมีพระราชนิติประเพณีกําหนดองคผูสืบราชสมบัติที่แนนอน ไวในกฎมณเฑียรบาลครั้งกรุงศรีอยุธยาและไดชําระนํามาใชในสมัยตนยุคกรุงรัตนโกสินทรระบุไว อยางกวางๆ วา “ราชกุมารที่เกิดดวยพระอัครมเหสี เปนสมเด็จหนอพุทธเจา”ในรัชกาลที่ ๒ แม จะทรงมีพระชายาเปนเจาฟาฯ แตก็มิไดทรงแตงตั้งเปนทางการไวใหเปนพระมเหสีตําแหนงใด ดัง นั้นการเลือกผูดํารงราชสมบัติสืบพระราชสันตติวงศ จึงตองเปนไปตามความเห็นชอบของเสนาบดี และขาราชการชั้นผูใหญซึ่งเปนประธานในราชการแผนดินแตละสาขา ครั้งนั้นไดมีการอาราธนา พระสังฆราชราชาคณะ พระบรมราชวงศานุวงศตางกรมเขามาปรึกษาหารือในการเลือกสรรอัญเชิญ ดวย พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรกลาวา ที่ประชุมเห็นวา “พระเจาลูกยาเธอพระองคใหญกรมหมื่น เจษฎาบดินทร ทรงพระสติปญญาเฉลียวฉลาด ไดวาราชการตางพระเนตรพระกรรณในสมเด็จ พระเจาอยูหัวมาชานาน ทั้งขาทูลละอองธุลีพระบาทก็มีความจงรักสวามิภักดิ์ในพระองคทานก็ มาก สมควรจะครอบครองสิริราชสมบัติรักษาแผนดินสืบพระบรมราชตระกูลตอไป”จึงพากันเขา เฝาฯ เชิญเสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ ดํารงราชอาณาจักรสยาม เปนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ แหงกรุงรัตนโกสินทร สืบมาแตวันพุธที่ ๒๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ เปนตนมา พระ สุพรรณบัฏที่เฉลิมพระปรมาภิไธยซึ่งถวายในวันทรงระบุพระบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๓๖๗ เหนือที่จารึกพระปรมาภิไธย ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวสองรัชกาลกอนตอมา ในปพ.ศ. ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงทําพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏถวาย พระปรมาภิไธยใหมวา “พระบาทสมเด็จพระปรมาทิวรเสฏฐ มหาเจษฏาบดินทร สยามินทรวโรดม บรมธรรมิกมหาราชาธิราชบรมนารถบพิตร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว” ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนายกมล สุวุฒโฑ 3_edit.indd 9 20-Feb-13 11:18:53 PM


๑๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในปพ.ศ. ๒๔๖๑ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ถวายพระบรมนามาภิไธย วา “สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว”ไมวาพระบรม นามาภิไธยใดไมคอยมีผูเชิญไปเอยขาน นอกจากคําทายแหงพระบรมนามาภิไธยที่มีวา “พระนั่ง เกลาเจาอยูหัว”จึงจะเปนที่รูจักเอยขานกัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระองคนี้ ไดรับสิริราชสมบัติโดยมติของที่ประชุมอันนาจะ เรียกไดวาเปนมหาสมาคมของกาลสมัยนั้น ดังนั้นพระองคจึงมิไดทรงมีพระบรมราชโองการมอบ หมายราชสมบัติแกทานพระองคใดเมื่อทรงพระประชวรหนักใกลถึงกาลเสด็จสูสวรรคตทั้งไมทรง ตั้งมเหสีเทวีใดเปนเจา เพราะจะทําใหราชโอรสธิดาทรงศักดิ์เปนเจาฟา อันจะทําใหเกิดความยุงยาก ตอการเลือกผูดํารงสิริราชสมบัติในภายหนา ทรงตัดการแขงขันทุกประการในมหสาขาของพระองค เปดโอกาสใหผูทรงพระปรีชาดํารงไอยสวรรยาธิปตย โดยไมมีผูกีดขวางชิงคะแนนความเห็นชอบอัน อาจเปนเหตุใหเกิดความยุงยากในแผนดิน ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรรัชกาลที่ ๓ บันทึกความตอนมีกระแสพระราชดําริ ถึงผูสืบราชสมบัติไวดังนี้ “ทรงพระประชวรครั้งนี้พระอาการมาก เห็นจะเปนโรคใหญเหลือกําลัง แพทยจะเยียวยา... กรุงเทพมหานครศรีอยุธยาขอบขัณฑเสมาอาณาจักรกวางขวาง พระเกียรติยศ ก็ปรากฏไปทั่วนานาประเทศ ถาทรงพระมหากรุณาพระราชทานอิสริยยศมอบใหพระบรมวงศา นุวงศ พระองคใดพระองคหนึ่งซึ่งพอพระทัย ใหขึ้นเสวยราชสมบัติแทนพระองคตอไป แตตาม ชอบอัธยาศัยในสมเด็จพระเจาอยูหัวพระองคเดียวนั้นเลือกเสียสามัคคีราวฉาน ไมชอบใจไพรฟา ประชาชนและคนมีบรรดาศักดิ์ผูทําราชกิจทุกพนักงาน ก็จะเกิดอุปทวภยันตรายเดือดรอน แด พระบรมวงศานุวงศและขาราชการผูใหญผูนอย สมณชีพราหมณอาณาประชาราษฎรจะไดรับความ ลําบาก เพราะมีพรอมใจกัน ดวยกําลังทรงพระมหากรุณาเมตตากับไพรฟาขาแผนดินเปนอันมาก ทรงพระราชดํารัสใหจดหมายกระแสพระราชโองการปฏิญาณยกพระนามพระรัตนตรัยสรณคมน เปนประธานพยานใหเห็นจริงในพระราชหฤทัยแลว ทรงพระราชดํารัสยอมอนุญาตใหเจาพระยา พระคลังซึ่งวาที่สมุหพระกลาโหมพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา พระยาราชสุภาวดีวาที่สมุหนายก กับขุนนางทั้งปวง จงมีความสโมสรสามัคคีปรึกษาพรอมกัน เมื่อเห็นวาพระบรมวงศานุวงศพระองค ใดที่มีวัยวุฒิปรีชารอบรูราชานุวัตร เปนศาสนูปถัมภก ยกบวรพุทธศาสนา และปกปองไพรฟาอาณา ประชาราษฎรรักษาแผนดินใหเปนสุขสวัสดิ์โดยยิ่ง เปนที่นิยมแกมหาชนทั้งปวงได ก็สุดแตจะเห็นดี ประนีประนอมพรอมใจกันยกพระบรมวงศเธอนั้นขึ้นเสวยมไหสวรรยาธิปตยถวัลยราช สืบสันตติ วงศดํารงราชประเพณีตอไปเถิด” พระราชดํารัสกลาวพระราชทานใหนําออกมาสงแกเสนาบดีแต ณ วันจันทรที่ ๑๐ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๓๙๓ โดยปรกติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวประทับที่พระที่นั่งจักรพรรดิมานองคตะวัน ออก ครั้นเมื่อทรงพระประชวรหนัก ทรงพระราชปรารภวาถาสวรรคตลง ณ ที่นั่น พระเจาแผนดิน องคตอๆ ไปอาจรังเกียจ จึงโปรดใหเชิญพระองคออกไปบรรทมรอวันเสด็จสวรรคตทางองคตะวัน ตก ซึ่งจะไมเปนที่เกี่ยวของกับการจัดพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริยองคตอไป 3_edit.indd 10 20-Feb-13 11:18:58 PM


๑๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในวันอาทิตย เดือน ๓ ขึ้น ๘ คํ่า พ.ศ. ๒๓๙๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ซึ่งใน ขณะนั้นกําลังทรงพระประชวรอยู ไดทรงมีพระกระแสพระราชดําริพระราชทานบรรดาขุนนางทั้ง ปวงเกี่ยวกับผูที่จะสืบราชสมบัติตอจากพระองควา โปรดเกลาฯ ใหเปนไปตามความประสงคของ เจานาย ขุนนาง และไพรฟาขาแผนดิน สุดแทแตจะเห็นพองกันวา พระบรมวงศานุวงศพระองคใด มีความเหมาะสมที่สุด เจาพระยาทิพากรวงศ (ขํา บุนนาค) ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพระแสพระราชดํารินี้วา “การซึ่งสมเด็จพระพุทธเจาอยูหัวทรงพระราชดําริอนุญาตใหจัดแจงเจานายผูจะดํารงทรงแผนดินใน พระราชอาณาจักรแทนพระองคตอไป โดยตามนํ้าใจพระบรมวงศานุวงศ เสนาบดี ขาทูลละอองทุ ลีพระบาท และจนถึงความนิยมชมชื่นแหงอาณาประชาราษฎรทั้งปวง จะมีจิตจํานงปลงเห็นพรอม กันไมเอาแตตามพระราชอัธยาศัย อนึ่ง มิไดรอไวใหเนิ่นชาจนเวลาพระอาการหนักลง ไมทรงดําริได โดยปกตินั้น ก็เปนการมหัศจรรยยิ่งนัก ยากที่พระมหากษัตริยพระองคอื่นจะทรงได เพราะพระบรม ราชวิสัยเปนอุดมบัณฑิตมหาสาธุสัปบุรุษผูประเสริฐ มีพระมหากรุณาแกนิกรมหาชนหาที่สุดมิได” ...เมื่อปลายฤดูฝนมาจนฤดูหนาว พระบาทสมเด็จพระบรมนาถบรมบพิตรพระพุทธิเจาอยู หัวผูทรงพระคุณธรรมอันมหาประเสริฐ ทรงพระประชวรพระโรคบรรทมไมหลับใหทรงคลื่นเหียน เสวยพระกระยาหารเสวยไมถึงประมาณเปนปกติได ไมสบายพระองคเสด็จออกไดบาง มิไดบาง ณ วันพฤหัสบดี เดือน ๒ ขึ้น ๗ คํ่า ปจอ โทศก (จ.ศ. ๑๒๑๒ = พ.ศ. ๒๓๙๓) พระโรคมากขึ้น พระบรม วงศานุวงศเสนาบดีขาทูลละอองฯ ผูใหญ ผูนอย ฝายหนา ฝายใน มีความรอนใจพรอมกันปรึกษา ใหแพทยประกอบพระโอสถทูลเกลาฯ ถวาย พระโรคก็ไมคลาย พระอาการประทังอยูกําลังพระกาย รอยหรอไปทีละนอยๆ เมื่อ ณ วันอาทิตย เดือน ๓ ขึ้น ๘ คํ่า ปจอ โทศก มีพระราชโองการโปรด เกลาฯ ใหหาขุนนางที่ทรงใชสอยสนิท เขาไปเฝาทูลละอองในที่พระบรรทมพระมหามณเฑียร แลวมี พระราชโองการโปรดเกลาฯ ดํารัสวาทรงพระประชวร ครั้งนี้พระอาการมากเห็นจะเปนพระโรคใหญ 3_edit.indd 11 20-Feb-13 11:19:06 PM


๑๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เหลือกําลังแพทยจะเยียวยา แลวทรงพระราชดําริวา กรุงเทพพระมหานครศรีอยุธยาขอบขัณฑเสมา อาณาจักรกวางขวางพระเกียรติยศก็ปรากฏไปทั่วนานาประเทศ ถาจะทรงพระกรุณาพระราชทาน อิสริยยศ มอบใหพระบรมวงศานุวงศพระองคใดพระองคหนึ่งซึ่งพอพระทัยใหขึ้นเสวยสิริราชสมบัติ แทนพระองคตอไป แตตามชอบพระอัธยาศัยในสมเด็จพระพุทธิเจาอยูหัวพระองคเดียวนั้น เกลือก จะเสียสามัคคีรสราวฉาน ไมชอบใจไพรฟาประชาชนและคนมีบรรดาศักดิ์ผูจะทําราชกิจทุกพนักงาน ก็จะเกิดการอุปทวภยันตรายเดือดรอน แตพระบรมวงศานุวงศแลขาราชการผูใหญผูนอย สมณชี พราหมณาจารยอณาประชาราษฎรจะไดความลําบากเพราะมิไดพรอมใจกันดวยกําลังทรงพระมหา กรุณาเมตตากับไพรฟาขาแผนดินเปนอันมาก ทรงพระกรุณาดํารัสใหจดหมาย (คือ จดกระแสพระ ราชโองการปฏิญาณยกพระนามพระรัตนตรัยสรณาคมนอันอุดมเปนประธานพยานอันยิ่ง ใหเห็น ความจริงในพระบรมหฤทัย แลวทรงพระราชดํารัสยอมอนุญาตใหเจาพระยาพระคลัง วาที่สมุหพระ กลาโหม พระยาศรีพัฒนรัตนราชโกษา พระยาราชสุภาวดีกับขุนนางผูนอยทั้งปวง จงมีความสโมสร สามัคคีรสปรึกษาพรอมกัน เมื่อเห็นวาพระบรมวงศานุวงศพระองคใดที่มีวัยวุฒิปรีชารอบรูราชานุ วัตร จะเปนศาสนูปถัมภกยกพระบวรพุทธศาสนาและจะปกปองไพรฟาอาณาประชาราษฎรรักษา แผนดินใหเปนสุขสวัสดิ์โดยยิ่ง เปนที่ยินดีแกมหาชนทั้งปวงไดก็สุดแทแตจะเห็นดีประนีประนอม พรอมใจกัน ยกพระบรมวงศานุวงศพระองคนั้นขึ้นเสวยมไหสวรรยาธิปตยถวัลยราชสืบสันตติวงศ ดํารงราชประเพณีตอไปเถิด อยาไดกริ่งเกรงพระราชอัธยาศัยเลย เอาแตใหไดเปนสุขทั่วหนา อยา ใหเกิดการรบราฆาฟนกันใหไดความทุกขรอนแกราษฎร...(๑) เหตุการณภายในราชสํานัก และพระบรมวงศานุวงศในรัชกาลที่ ๓ แสดงใหเห็นนํ้าพระทัย อันประเสริฐของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ดังจะเห็นไดจากพระราชนิพนธของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงไวตอนหนึ่งวา “ครั้นมาในแผนดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เพราะพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หลานภาลัย ไมไดดําเนินพระบรมราชโองการมอบสิริราชสมบัติดวยประชวรเปนปจจุบัน พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวอันเปนพระราชโอรสเกิดดวยพระสนมก็จริงอยูแตเปนพระองคใหญ ทรงพระสติปญญาโอบออมเผื่อแผ และในเวลานั้นทูลกระหมอม (รัชกาลที่ ๔) ก็ทรงผนวช และยัง ออนแกราชการ ขาราชการทั้งปวงจึงไดพรอมกันยินยอมใหพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ไดฟงจากคํารับสั่งของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวตอพระโอษฐ เองวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนั้นทรงพระสติปญญามาก และเปนที่โปรดปรานของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยยิ่งนัก ถึงโดยวาถามีพระสติที่จะสั่งได ทานไมแนพระทัย วาจะทรงมอบราชสมบัติพระราชทานทานหรือพระราชทานพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ดวยในเวลานั้นบานเมืองยังตองรบพุงติดพันอยูกับพมา จําตองหาพระเจาแผนดินที่รอบรูในราชการ ทั้งปวง และเปนที่นิยมยินดีทั่วหนาจะไดปองกันดัสกรภายนอกได เพราะเหตุฉะนั้นพระองคทานจึง มิไดมีความโทมนัสเสียพระทัย และกอการลุกลามอันใดขึ้นในบานเมืองตามความแนะนําของบางคน (๑) หอสมุดแหงชาติ, จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๓๔ 3_edit.indd 12 20-Feb-13 11:19:11 PM


๑๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ซึ่งคิดแกงแยงตางๆ ดวยมีความรักแผนดินและราชตระกูลอันภายในเกิดแตกราวขึ้นยอมเปนชอง แกศัตรูภายนอก จึงไดเปนการสงบเรียบรอยกันมา สวนพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนั้น เลา เมื่อพิเคราะหดูพระอัชฌาสัยตามที่ทราบเรื่อง ก็จะเห็นไดวาทรงพระสติปญญาและปราศจาก ความริษยาอาฆาต คือถาผูใดตั้งอยูในที่เชนนั้นยอมจะทําลายลางทูลกระหมอมและพระบาทสมเด็จ พระปนเกลาฯ ลงเสียกอน นี่หาเชนนั้นไม สวนทูลกระหมอมทรงตั้งพระสงฆคณะธรรมยุติกนิกาย เปนการตอสูอยางยิ่งมิใชเลน ทานก็มิใชแตออกพระโอษฐคัดคานอันหนึ่งอันใด กลับพระราชทานที่ วัดบวรนิเวศฯ ใหเปนที่เสด็จมาประทับอยูเปนที่ตั้งธรรมยุติกนิกายและยกยองใหเปนพระราชาคณะ ผูใหญจนถึงเปนผูสอบไลพระปริยัติธรรม จนจวนสวรรคตทีเดียวจึงไดขอเลิกเรื่องหมผาแหวกอกแต อยางเดียวเทานั้น แตทรงอดกลั้นอยูไดถึงกวา ๒๐ ป สวนพระบาทสมเด็จพระปนเกลานั้นเปนที่นิยม ยินดีของคนอันมากวาอยูยงคงกระพันชาตรี เปนตน ทานก็ไมไดทรงรังเกียจอยางหนึ่งอยางใด ซํ้า มอบใหวาทหารปนใหญปนนอย คือกรมกองแกวจินดา เปนตน ครั้นแลวเสด็จไปทัพญวนกลับมา แลว ก็ใหวาพวกญวนเชลยคือพวกพระยาบันลือเปนหลายรอยคนมีกําลังเปนอันมาก ครั้งหนึ่งโดยความนิยมนับถือ มีผูอาสาขึ้นไปเกลี้ยกลอมพวกลาวเปนนอกกองขึ้นในพระบาท สมเด็จพระปนเกลาฯ เปนอันมาก ถาจะจับวาเปนขบถขึ้นในเวลานั้นก็จับได แตทานหาไดทรงทําเชน นั้นไม ใหพิจารณาเอาแตตัวผูซึ่งขึ้นไปเกลี้ยกลอมนั้นประหารชีวิตเสีย สวนพระบาทสมเด็จพระปน เกลาฯ ก็คงรับราชการอยูในตําแหนงเดิมโดยสนิทสนมเรียบรอย มิไดมีความสะดุงสะเทือนอันใดเลย สวนผูซึ่งเปนที่เกลียดชังออกหนากันอยูกับทาน คือกรมหมื่นสุนทรธิบดี (พระเจาบรมวงศ เธอ พระองคเจากลวยไมในรัชกาลที่ ๒) อันมีพระชนมายุไลเลี่ยกัน ทานก็ยกยองพี่ (พระเจาบรม วงศเธอพระองคเจาหญิงลําภูในรัชกาลที่ ๒) ใหเปนกรมขุนกัลยาสุนทร วาการในพระราชวังยิ่งกวา แบบอยางที่เคยมีมาแตกอน เมื่อกรมหมื่นสุนทรฯ ถูกไฟไหมสิ้นพระชนมแลวเหลือแตเนื้อกอนเดียว ยังโปรดใหมาเขาเมรุกลางเมือง บรรดาลูกกรมหมื่นสุนทรก็ไดเบี้ยหวัดมากกวาลูกกรมอื่น เหมือน อยางลูกกรมหมื่นสุนทรรักษ (พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาฉัตรในรัชกาลที่๑) ซึ่งเปนสหาย อยางยิ่งของพระองคทานมาจนชั้นปลายที่สุดเมื่อจวนสวรรคต ใชวาทานจะไมมีพระราชประสงค จะใหพระราชโอรสสืบสันตติวงศเมื่อใด แตหากทานไมมั่นพระทัยในพระราชโอรสของทานวาองค ใดอาจจะรักษาแผนดินได เพราะทานรักแผนดินมากกวาพระราชโอรส จึงไดมอบคืนแผนดินใหแก เสนาบดี ก็เพื่อประสงคจะใหเลือกเชิญทูลกระหมอมซึ่งก็เห็นปรากฏอยูแลววา ทรงพระสติปญญา สามารถจะรักษาแผนดินสืบไป นี่ก็เปนการแสดงใหเห็นพระราชหฤทัยวา ตนพระบรมราชวงศของ เรายอมรักแผนดินมากกวาลูกหลานในสวนตัว” พระองคไดเสด็จสวรรคตลง ณ พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานองคตะวันตก เมื่อวันพุธที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๔ สิริรวมพระชนมพรรษา ๖๓ พรรษา ๒ วัน สถิตในสิริราชสมบัติ ๒๖ ป ๘ เดือน ๑๒ วัน 3_edit.indd 13 20-Feb-13 11:19:16 PM


๑๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การปกครอง การจัดระเบียบการปกครอง ดําเนินไปทํานองเดียวกับสมัยรัชกาลที่ ๒ สวนที่เนนเดนชัด เพิ่มเติมคือ การลักและการลงทะเบียนสํารวจจํานวนพลเมืองเพื่อเปนกําลังรับใชชาติและที่ตอง เสียภาษีใหแกทางราชการ ไดมีการสํารวจลงทะเบียนครั้งใหญใน พ.ศ. ๒๓๖๘ ทําไปไดเกือบทุก ภาคนอกจากปกษใตซึ่งทําใน พ.ศ. ๒๓๙๑ นอกจากนั้นเปนการปราบปรามโจรผูราย ปราบจีนตั้ว เหี่ย และปราบปรามการคาฝน การปราบปรามโจรผูราย ทรงพยายามกําจัดการซองสุมผูคนกระทําการมิจฉาชีพ เมื่อขึ้น ครองราชยใหมๆ ทรงมีพระราชดําริวาในสมัยรัชกาลที่๒ ไดมีการซองสุมผูคนอยูตามปาเขาเปนอัน มาก มีเจานายและขุนนางขาราชการสนับสนุนกระทําการอยูเบื้องหลัง บางทีก็เปนพวกลูกหนี้หนี เจาหนี้ ทาสที่หลบหนีเจานาย ตลอดพวกโจรผูรายไปรวมสมัครพรรคพวกเปนกลุมเล็กบางใหญบาง ตามชองตางๆ เจาเมืองไมกลาปราบเพราะผูสนับสนุนเปนผูมีอํานาจราชศักดิ์ รัชกาลที่ ๓ จึงโปรด ใหออกหมายประกาศหามการตั้งซองสุมผูคน แลวโปรดใหจัดการกับผูขัดขืน หรือฝาฝนอยางเด็ด ขาด ทําใหบานเมืองสงบสุขอยางรวดเร็วตามพระราชประสงค ดังตัวอยางเมื่อป พ.ศ. ๒๓๘๐ เกิด มีโจรผูรายกําเริบ ปลนสะดมตามหัวเมืองใกลกรุง จึงโปรดใหเจาพระยาพระคลังควบคุมตํารวจทั้ง วังหนาวังหลวงออกทําการปราบปราม ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนายปยุต เงากระจาง 3_edit.indd 14 20-Feb-13 11:19:32 PM


๑๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การปราบอั้งยี่ อั้งยี่ (สมาคมลับของคนจีน) ในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีชาวจีนอพยพเขาเมืองไทยมาก ประมาณ กันวาราว ๑๕,๐๐๐ -๒๕๐,๐๐๐ คน สวนมากมาจากตอนใตของจีนเพราะเกิดขาดแคลนอาหารและ ความยุงยากทางการเมือง ทําใหตองอพยพออกนอกประเทศมากขึ้น มาทําการคาขายเปนกรรมกร ทําการเพาะปลูก เปนเจาของโรงงาน ทอผา นํ้าตาล บางคนก็เขารับราชการในเมืองไทยไดเปนนาย อากร (ผูรับผูกขาดภาษีอากร) แตไมมีบทบาททางการเมือง ชาวจีนเหลานี้นิยมตั้งสมาคมลับ เพื่อรวมตัวกันขับไลราชวงศเช็งของพวกแมนจูและนํา ราชวงศเหม็งใหกลับมาปกครองจีนอีกครั้งหนึ่ง โดยมีจุดมุงหมายจะชวยเหลือชาวจีนดวยกันทาง เศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ ๓ สมาคมลับจากจีนปรากฏชื่อในพงศาวดารวา ตั้วเหี่ย แปลวาพี่ชายใหญ เลียนชื่อมาจากตําแหนงหัวหนาใหญของพวกสนับสนุนราชวงศเหม็งในประเทศจีน ในสมัยตอมาจะ เรียกสมาคมลับในเมืองไทยวา อั้งยี่ สวนตั้วเหี่ย หมายถึงหัวหนาอั้งยี่หรือหัวหนานักเลง และคําวา อั้งยี่ ตามกฎหมายกลายเปนชื่อความผิดอาญาฐานเปนสมาชิกของคณะบุคคลซึ่งปกปดวิธีดําเนิน การและมีความมุงหมายเพื่อการอันมิชอบดวยกฎหมาย เรียกวาความผิดฐานเปนอั้งยี่ พวกตั้วเหี่ยไดลักลอบทําสิ่งผิดกฎหมายตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งคือการคาฝน ไดวางสมัคร พรรคพวกไวตามหัวเมืองชายทะเลคอยรับฝนจากสําเภาซึ่งพอคาจีนสงมาและมีศูนยกลางใหญอยู ปากนํ้าบางปะกง และยังทําตัวเปนโจรสลัดปลนเรือพอคารวมไปถึงบานเรือนราษฎรและคาของเถื่อน รัชกาลที่ ๓ ทรงมีนโยบายปราบปรามการซองสุมของโจรและการคาฝนอยูแลว จึงมีพระราชดําริใน การปราบจีนตั้วเหี่ยใหหมดสิ้นไป พ.ศ. ๒๓๘๕ โปรดใหกําลังตํารวจจากกรุงไปปราบจีนตั้วเหี่ยที่นครชัยศรี (นครปฐม) และ สมุทรสาคร ซึ่งมีสมัครพรรคพวกประมาณ ๑,๐๐๐ คน จับไดหัวหนาใหญ ๒ คน พ.ศ. ๒๓๘๗ โปรดใหจมื่นราชามาตยพรอมทหารที่ปากนํ้าไปปราบจีนตั้วเหี่ย ซึ่งคาฝนที่ปากนํ้าบางปะกงรวม ทั้งพวกจีนที่หลบซอนอยูตามปาแสมชายทะเล ไดตอสูกับพวกทหาร ในที่สุดถูกทหารไทยบุกเขา ฆาฟนทําลายลงได พ.ศ. ๒๓๘๘ พวกจีนตั้วเหี่ยทางเมืองพังงา ปราณบุรี ถึงชุมพร ออกอาละวาด เที่ยวปลนสะดมฆาฟนผูคนและพอคาลมตายมากจนไมมีเรือกลาไปคาขาย รัชกาลที่ ๓ จึงโปรดให จมื่นราชามาตย และจมื่นสมุหพิมานนํากําลังลงไปปราบทางภาคใตจนถึงเมืองไชยา (สุราษฎรธานี) จับตัวการไดเปนอันมาก เรื่องรายทางใตจึงสงบลง พ.ศ. ๒๓๙๑ มีการปราบจีนตั้วเหี่ยที่สมุทรสาคร ตัวการสําคัญชื่อจีนเพียว ถูกจับเพราะคาฝน หลายครั้งแตเจาหนาที่เมื่อจับแลวปรับเอาเงินเปนจํานวนมากแลวปลอยไป พอจีนเพียวรํ่ารวยขึ้นอีก ก็จับมาปรับแลวปลอยไป ทําอยูเชนนี้หลายครั้ง ความทราบถึงกรุงเทพฯ จึงโปรดใหพระยามหาเทพ ไปปราบปราม แตเสียทีถูกยิงในการตอสูพายแพกลับมารักษาตัวอยูได ๓ วัน ก็ถึงแกอนิจกรรม จีน เพียวคิดกําเริบถึงกับวางแผนจะเขาตีพระนคร จึงโปรดใหเจาพระยาพระคลังนํากําลังจากกรุงเทพฯ ไปปราบ ฆาฟนพวกจีนเพียวลมตายถึง ๔๐๐ คน จับไดจีนเพียวและพรรคพวกไดเปนอันมาก 3_edit.indd 15 20-Feb-13 11:19:38 PM


๑๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ตอมาตั้วเหี่ยที่ฉะเชิงเทราไดปลนโรงงานนํ้าตาล ฆาเจาของซึ่งเปนจีนดวยกัน พระยาวิเศษ ฤาชัยออกไปปราบก็ตายในการตอสู พวกจีนตั้วเหี่ยเขายึดเมืองฉะเชิงเทราเขาไปตั้งมั่นอยูในกําแพง เมืองไดสําเร็จ รัชกาลที่๓ จึงโปรดใหเจาพระยาพระคลังและเจาพระยาบดินทรเดชาคุมกําลังไปปราบ ไดเกลี้ยกลอมพวกหัวหนาโจรยอมออนนอม สวนพวกที่ยังแข็งขอก็ถูกปราบ คนไทยที่หลบหนีจีนตั้ว เหี่ยเขาไปอยูในปาพอรูขาวก็พากันออกจากที่ซอน พบคนจีนที่ใดไมวาเปนตั้วเหี่ยหรือไมก็จับฆา จน มีบันทึกในพงศาวดารวา ชาวจีนพากันผูกคอตายเพราะหมดที่พึ่ง บางคนก็โกนหัวเอาผาเหลืองมา หมเพราะเปนธรรมเนียมจีนวาถาบวชเสียแลวศัตรูจะไมฆา แตคนไทยไมเอาดวย ไดฆาคนจีนหมผา เหลืองหมด เหตุการณครั้งนี้ทําใหคนจีนตายไปหลายพัน พระราชกําหนดหามคาฝน สมัยรัตนโกสินทร ไดมีการปราบปรามการคาฝน เริ่มจากรัชกาลที่ ๑ เปนตนมาจนถึงตน รัชกาลที่๓ การลักลอบคามีอัตราสูงขึ้น เพราะมีชาวจีนอพยพเขามาอยูเมืองไทยมากกวาแตกอน ไดตั้งสมาคมลับขึ้นเรียกในสมัยนั้นวาตั้วเหี่ย ดําเนินการผิดกฎหมายที่เปนโทษรายแรงมีการลับลอบ นําฝนเขามาขาย คนไทยก็ติดฝนเพิ่มขึ้น เจานายขาราชการชั้นผูใหญบางคนก็ติดฝนดวย รัชกาล ที่ ๓ ทรงพระวิตกในเรื่องนี้วาจะเปนเหตุใหศีลธรรมของคนไทยเสื่อมทรามลง จึงทรงออกพระราช กําหนดหามการคาฝนในป พ.ศ. ๒๓๘๐ ในประกาศฉบับนี้ไดบอกความมุงหมายที่จะกําจัดฝนให หมดไป จะดําเนินการปราบปรามผูลักลอบคาฝนอยางเด็ดขาด ใครที่มีฝนอยูในครอบครองกอน พระราชกําหนดนี้ใหนํามามอบใหแกทางราชการไดรับพระราชทานอภัยโทษ หากขัดขืนจะมีโทษ รุนแรง จากการกวาดลางและรับมอบในพ.ศ. ๒๓๘๒ ยึดฝนไดทั้งหมดถึง ๓,๗๐๐ หาบ (๑ หาบ= ๖๐ กิโลกรัม) โปรดใหเผาทําลายเสียที่หนาพระที่นั่งสุทธาสวรรย ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนายวิทย พิณคันเงิน 3_edit.indd 16 20-Feb-13 11:19:56 PM


๑๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) กฎหมาย กอนสมัยรัชกาลที่ ๓ นาของขาราชการหรือที่เรียกกันวา นารายคด ไมตองเสียอากรคานา สวนนาของราษฏรหรือ นารายคง ตองเสียคานา และในบางเมืองยังตองขายขาวจํานวนหนึ่งใหแก รัฐบาลในราคาถูก รัชกาลที่ ๓ ทรงพระราชดําริวา การเก็บคานาในลักษณะนี้ไมยุติธรรมตอราษฎร เปนอยางยิ่ง จึงทรงออกกฎหมายคานาใหมในป พ.ศ. ๒๓๖๗ กฎหมายฉบับนี้ยกเลิกการบังคับซื้อ ขาวจากราษฎรในราคาถูกและใหเก็บอากรคานาจากทั้งนารายคดและนารายคง โดยกําหนดไววา หากจายเปนขาวจะเก็บในอัตราไรละ ๒ ถัง ถาจายเปนเงินเก็บไรละ ๑ สลึง ๑ เฟอง นอกจากนี้ยัง ไดทรงกําหนดขนาดของถังสัดตวงขาววางกฎเกณฑอีกหลายขอ เพื่อปองกันมิใหเจาพนักงานคดโกง ราษฎร กฎหมายคานา พ.ศ. ๒๓๖๗ นับวาไดใหความชวยเหลือแกชาวนาเปนอยางมาก ชัย เรืองศิลป ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎหมายคานา พ.ศ. ๒๓๖๗ ไววา “การรอน เอกสิทธิ์ของขาราชการครั้งนี้เห็นจะเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรเมืองไทย ตองนับวาเปนความ หาวหาญชาญชัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวอยางนาชมที่กลาเสี่ยงตอความไมพอใจ ของผูคํ้าราชบัลลังกของพระองค... เปนที่นาสังเกตวา เมืองไทยผิดแปลกกับเมืองฝรั่งในเรื่องการปกครองราษฎร คือ ในเมืองฝรั่ง นั้น ฝายราษฎรมักจะเปนฝายเรียกรองใหพระเจาแผนดินตัดทอนเอกสิทธิ์ของเจานาย และขุนนาง หรือยกเลิกขนบธรรมเนียมกดขี่ราษฎร เชนขนมไพร เปนตน แตในเมืองไทยของเรานั้น พระเจา แผนดินมักจะเปนผูริเริ่มแกไขอภิสิทธิ์ตางๆ ที่ไมเปนการยุติธรรมแกราษฎรเสียเอง ไมรอใหราษฎร มาถวายฎีการองทุกขตอพระองค เชน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชลดเวลา รับราชการไพรเสียสองเดือน แลวพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยลดใหอีกเดือนหนึ่ง ไม นิยมชมชอบการที่คนอื่นๆ จะกดขี่ราษฎร เพราะสงสารราษฎรจะถูกกดขี่เกินควรจนไมเปนอันทํา มาหากิน ทานจึงเอาโทษผิดแกขาราชการและผูถืออํานาจเปนธรรมทั้งหลายที่เบียดเบียนขมเหง ไพรฟาประชาชน...” ทรงพระราชดําริวา...ขาวคานา(๑) ซึ่งเรียกทุกวันนี้ไมเสมอเปนยุติธรรม อนึ่งเลาราษฎรซึ่งตอง เสียคานานั้นจะเอาขาวคานา ขาวจัดซื้อ(๒) มาสงตวงขึ้นฉางเสนาขาหลวง(๓) ผูเรียกเกียดกันเสียเกาะ กุมหนวงเหนี่ยวไวมิใหราษฎรเอาเม็ดขาวมาตวงเขารับจางขน คิดหักเอาเงินหลวง(๔)ซึ่งพระราชทาน คาขาวจัดซื้อไวเปนคาจาง แลวเอาสัดใหญ ๓๐, ๓๕, ๔๐ ทะนานตักตวงเอาขาวของราษฎรโดย ลําพังใจ ครั้นมาสงขึ้นฉาง เอาถัง ๒๑ ทะนานตวงสงเปนหลวง กันเอาเศษขาวของราษฎรไวเปน อาณาประโยชน ราษฎรผูทํานาเสียเม็ดขาวนอกจากคานา แลวเงินหลวงพระราชทานขาวจัดซื้อก็ ไมได เห็นราษฎรมีความยากเหนื่อยหนักแรงเดือดรอน... (๑) ขาวคานา = ขาวที่จายเปนอากรคานา (๒) ขาวจัดซื้อ = ขาวที่ทรงการบังคับซื้อจากราษฎรในราคาถูก รัฐบาลจะบังคับซื้อเฉพาะในบางเมืองที่เก็บเกี่ยวขาวไดมากเทานั้น (๓) เสนาขาหลวง,ขาหลวงเสนา = เจาพนักงานเก็บอากรคานา (๔) เงินหลวง = เงินที่รัฐบาลมอบใหขาหลวงเสนาจายแกราษฎรเปนคาขาวจัดซื้อ 3_edit.indd 17 20-Feb-13 11:20:02 PM


๑๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สมเด็จพระพุทธเจาอยูหัวเสด็จขึ้นราชาภิเษกใหม ก็ตั้งพระทัยจะใหไพรฟาประชากร ซึ่งอาศัยอยูในพระราชอาณาเขตขอบขัณฑเสมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารทํามาหากินใหอยูเย็น เปนสุข...จึงทรงพระมหากรุณาโปรดเกลาฯ ใหยกขาวจัดซื้อเสีย โดยจะทรงสงเคราะหราษฎรให ปราศจากความเดือดรอน แตนี้สืบไปอยาใหเรียกเอาขาวจัดซื้อแกราษฎรผูทํานารายคดรายคง ตอไปเลยใหเรียกแตคานารายละ ๒ ถัง ทั้งนารายคดรายคงใหทั่วเสมอกัน แตพอไดเอาเม็ดขาว มาจายราชการสําหรับแผนดิน...หัวเมืองซึ่งเรียกขาวนั้นใหเอาขนาดถังหลวง ซึ่งตวงขึ้นฉาง ๒๑ ทะนานทองนั้น ตวงเอาขาวคานาของราษฎรไรละ ๒ ถัง อยาใหเอาขนาดถังแลสัดใหญเหลือเกิน จากถัง ๒๑ ทะนานทอง ไปตวงเอาขาวคานาแกราษฏรเปนอันขาดทีเดียว...และหัวเมืองซึ่งเรียก เงินนั้นก็ใหเรียกเอาเงินแทนขาวคานาแกราษฎรแตไรละ ๑ สลึง ๑ เฟอง พอควรกับราคาขาว จะ ไดเอาเงินมาจัดซื้อขาวคานาแกผูนํานารายคด นารายคงใหเรียกเอาแตโดยสัจธรรม ตามพระราช บัญญัติซึ่งโปรดเกลาฯ ครั้งนี้ อยาเบียดบังคานาของหลวงแลกระทําคุมเหงเบียดเบียนฉอราษฎร ใหไดความยากแคนเดือดรอนเปนอันขาดทีเดียว ถาผูใดไมกระทําตามพระราชบัญญัติ มีผูมารอง ฟองวากลาวพิจารณาเปนสัตยจะเอาตัวผูซึ่งผิดลงพระราชอาญาอาณาจักรเปนโทษโดยบทพระ อัยการ... พ.ศ. ๒๓๘๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาพระราชทานอภัยโทษ แกบรรดานักโทษทั่วประเทศ เพื่อใหนักโทษไดมีโอกาสอีกครั้งหนึ่งในการดําเนินชีวิตอยางปกติ สุขเหมือนดังเชนประชาชนทั่วไป ในการนี้พระองคไดโปรดเกลาฯ ใหพระศรีภูริปรีชารางพระบรม ราโชวาทสั่งสอนบรรดานักโทษที่ไดรับการปลดปลอยใหละพยศอันราย ประกอบสัมมาอาชีพ และ ประพฤติตามทํานองคลองธรรมตั้งมั่นอยูในความดีงาม 3_edit.indd 18 20-Feb-13 11:20:09 PM


๑๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เศรษฐกิจ การคาและภาษีอากร รายไดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร เหมือนกับสมัยกรุงศรีอยุธยาคือ ไดมาจากการเก็บภาษีอากร ชนิดตางๆ และการคากับตางประเทศ ภาษีอากรแบงออกเปน ๕ ประเภท คือ ๑. สวย คือ เงินหรือสิ่งของทดแทนแรงงานที่ถูกเกณฑมาใช ๒. จังกอบ คือ คาผานดานซึ่งเรียกเก็บจากสินคาและขนาดเกวียนที่ผานดานขนอน ๓. ฤชา คือ คาธรรมเนียมโรงศาลที่ประชาชนจายใหเปนคาตอบแทนบริการของทางราชการ ๔. อากร คือ เงินที่พอคาเสียใหแกราชการในการผูกขาดสัมปทาน เชนการจับปลา การเก็บ จากพอคาที่นําของมาขายที่ตลาดซึ่งเรียกวา อากรตลาด อากรคาสวนคานาที่เก็บจากเจาของสวน หรือนา ๕. ภาษีหรือภาษีอากร ที่เก็บในการคาขายกับตางประเทศไดแก ภาษีเบิกรองหรือภาษีปาก เรือ ภาษีสินคาขาเขา และภาษีสินคาขาออก รายไดของทางราชการสวนใหญ มาจากการคาขาย ของพระคลังสินคา ผูมีอํานายการเลือกซื้อของหลวงใชในราชการกอนราษฎรและการแตงสําเภา หลวงไปคาขายตางประเทศ ปญหาการเงินในสมัยกรุงรัตนโกสินทร คือ การหารายไดใหพอใชจายในการทํานุบํารุงบาน เมือง การปองกันประเทศและการขยายอาณาเขตในสมัยรัชกาลที่ ๒ เงินแผนดินไมเพียงพอ ตอง เลื่อนการจายเบี้ยหวัดเงินปของขุนนางขาราชการ หรือจายขาวสารแทนเงินตราในสมัยรัชกาลที่ ๓ ทางราชการตองเผชิญรายจายที่หนักยิ่งกวา เพราะตองทําสงครามปองกันประเทศ การสรางปอม และตอเรือรบเพิ่ม ตลอดจนการบํารุงพระพุทธศาสนา มีการสรางวัดวาอารามมากมาย รัชกาลที่ ๓ ทรงพยายามทุกวิถีทางที่หารายไดเพิ่มเติมเขาทองพระคลังและทรงทําไดสําเร็จ การเพิ่มรายไดของแผนดินดวยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวิธีเก็บภาษีอากรเปนการปรับปรุง ครั้งใหญคราวแรกของกรุงรัตนโกสินทรดวยวิธีการ ดังนี้ ๑. สงเสริมใหราษฎรชําระภาษีดวยเงินแทนการชําระดวยสิ่งของ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ และ รัชกาลที่ ๒ เกิดศึกสงครามทําใหเศรษฐกิจไดรับความกระทบกระเทือน ทางราชการจึงอนุโลมให พลเมืองชําระสวยสาอากรบางอยางดวยสิ่งของ ถึงรัชกาลที่ ๓ ฐานะเศรษฐกิจดีขึ้น จึงโปรดใหราษฎร เสียภาษีดวยเงินตราแทนสิ่งของหรือแรงงานทําใหมีรายไดที่แนนอน สามารถนําไปใชหมุนเวียนได สะดวก เชน การเก็บคานาที่เคยเรียกเก็บเปนขาวเปลือกในอัตราไรละ ๒ สัดครึ่ง (๑ สัดหลวง = ๒๕ ทะนาน, ๑ ถัง = ๒๐ ทะนาน) ซึ่งเรียกวา หางขาว เจาของนาจะตองนํามาสงถึงฉางหลวงเอง ใหเก็บเปนตัวเงินไรละ ๓ เฟอง หรือสลึงเฟอง (๑ เฟอง = ๑๒ สตางค, ๑ สลึง = ๒๕ สตางค, ๒ เฟอง = ๑ สลึง) พวกเลกที่ไมตองการเขามารับราชการตองเสียสวยใหราชการคนละ ๖ บาท สวน ผูเปนนายจะตองจายเปนรายป คนละ ๕ บาท คนจีนตางดาวตองเสียสวยเปนรายหัวคนละ ๖ สลึง ตอ ๓ ป (ปละ ๒ สลึง หรือ ๕๐ สตางค) เปนตน 3_edit.indd 19 20-Feb-13 11:20:15 PM


๒๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ๒. ราชการยกเลิกการผูกขาดการเก็บภาษีสินคาบางประเภทและใหเอกชนรับผูกภาษีแทน หลักการนี้ทําใหเกิดระบบเจาภาษีนายอากร คือแทนที่ทางราชการจะเปนผูดําเนินการเก็บภาษีเอง ก็ใหเอกชนทําสัญญาผูกภาษี หรือประมูลผูกขาดไปจัดการเรียกเก็บจากราษฎร การผูกขาดภาษี ไทยไดแบบมาจากภาษี เอกชนที่ตองการผูกขาดภาษีสินคาชนิดใดจะตอง ยื่นประมูลแขงขันกันใหคํารับรองแกทางราชการวา จะสงเงินภาษีใหแกราชการเปนจํานวนเทาใด ในเวลาเทาใด ใครสามารถสงภาษีใหทางราชการมากที่สุด จะไดรับอนุญาตใหผูกภาษีชนิดนั้นไป สวนมากผูผูกขาดจะตองจายภาษีลวงหนาใหแกทางราชการอยางนอยสองเดือน จากนั้นตองผอน สงจํานวนที่เหลือเปนรายเดือนจนครบผูผูกขาด เปนผูเก็บภาษีจากราษฎรที่นําสินคาเหลานั้นมา ขายอีกทีหนึ่ง แตอาจขอรองเจาหนาที่ทางการบานเมืองชวยเหลือบางตามความจําเปน การผูกภาษีเริ่มใชมาแตรัชกาลที่ ๒ แตมีเพียง ๓ ประเภทคือ ภาษีรานคา ภาษีสุรา ภาษีบอน การพนัน (บอนเบี้ย) ในรัชกาลที่ ๓ มี ๓๘ ประเภท สวนมากเปนที่ตองการของพอคาตางชาติ เชน พริกไทย ไมฝาง ไมแดง เกลือ นํ้ามัน มะพราว ฝาย ยาสูบ ครามฯลฯ ผูผูกขาดหรือเจาภาษีสวนมากเปนคนจีน การเก็บภาษีโดยวิธีนี้ เปนความสะดวกแกทางราชการ คือ ทางราชการไมตองเปนกังวลกับ ปญหาเล็กๆ นอยๆ เพราะเจาภาษีหรือนายอากรจะรับเหมาเปนผูดําเนินการแทนโดยตลอด เงิน ภาษีอากรที่เรียกเก็บมีจํานวนกําหนดไวแนนอน เปนวิธีเก็บภาษีอากรของทางราชการที่สิ้นเปลือง คาใชจายนอย ทางราชการมีรายไดเพิ่มขึ้นอยางแนนอน มีบางสวนตองเสียไปบางคือ สมัยรัชกาลที่ ๓ ไดทําสัญญากับอังกฤษและอเมริกา ตองยกเลิกระบบผูกขาดสินคาของหลวงบางประเภท ทําให ทางราชการขาดรายไดจากการผูกขาดนี้แตระบบผูกขาดหรือผูกภาษีของเอกชน ไดเขามาทดแทน การเสียไปในสวนนี้ได วิธีการนี้มีผลเสียที่ราษฎรไดรับ คือ เจาภาษีนายอากรหากําไรในทางที่ไมชอบ ใชอํานาจขมขู ราษฎรที่รูเทาไมถึงการณ เรียกเก็บเกินพิกัดอัตรา ตลอดจนใชอํานาจในทางที่ไมเปนธรรมอื่นๆ เงิน ภาษีอากรที่สงเขาพระคลังจริงๆ ก็มักจะรั่วไหลไดไมครบเต็มตามจํานวน ภาษีอากรที่รัชกาลที่ ๓ โปรดใหยกเลิก คือฝน คานํ้า คาเกาะ ภาษีฝนใหเลิกเพราะทรงพระ ราชดําริวาฝนเปนของชั่วจึงโปรดใหหามเด็ดขาด มิใหผูใดนําเขามาในพระราชอาณาจักร ผูฝาฝน จะตองรับโทษหนัก อากรคานํ้าเก็บจากชาวประมงและอากรรักษาเกาะเก็บจากผูเก็บไขจะละเม็ด (ไขเตาทะเลทุกชนิด) หรือฟองเตาตนุ (เตาทะเลชนิดหนึ่ง) มูลเหตุที่โปรดใหยกเลิกอากรทั้งสอง อยางนี้ดวยทรงพระราชปรารภวาการเรียกเก็บอากรดังกลาวเสมือนหนึ่งสงเสริมใหราษฎรกระทํา ปาณาติบาต (ฆาสัตวตัดชีวิต) ทรงมีพระราชศรัทธาจะบําเพ็ญพระราชกุศลใหสัตวทั้งหลายไดรอด ชีวิต จึงโปรดใหยกเลิกเสีย ๓. โปรดใหสรางเรือสินคาไปคาขายยังตางประเทศ รัชกาลที่ ๓ ทรงเคยวาราชการกรมทา มาตั้งแตครั้งรัชกาลที่ ๒ จึงทรงสนพระทัยในการแตงเรือสินคาไปคาขายยังตางประเทศและทรง ดําเนินการไดผลดียิ่งจนสมเด็จพระราชบิดา (รัชกาลที่ ๒) ตรัสเรียกพระองคเปน เจาสัว เมื่อไดขึ้น ครองราชยยิ่งสนพระทัยมากขึ้น แตไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปบางดังนี้ 3_edit.indd 20 20-Feb-13 11:20:20 PM


๒๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ก) การคาสําเภาของหลวงไดลดนอยลงไปกวาในรัชกาลกอนๆ เพราะไดทรงตั้งภาษีอากร ขึ้นใหมเปนอันมาก ทําใหไดเงินเขาพระคลังมาใชสอยในราชการมากขึ้นหลายเทา และเปนรายไดที่ แนนอนดีกวาผลกําไรจากการคาสําเภา การคาสําเภาของหลวงในรัชกาลนี้จึงเริ่มลดลงเปนลําดับจน หมดไป ในที่สุดคงใหเอกชนจัดทํากันเอง ข) ลดความเขมงวดการผูกขาดไปจนถึงการยกเลิกประเพณีการคาขายของทางราชการ ได มีการทําสัญญาคาขายกับอังกฤษและอเมริกาขึ้นเปนครั้งแรก เปนผลใหผอนคลายการคาผูกขาด ลงไป เชน ลดรายการสินคาตองหาม คงเหลือไวแตสินคาสําคัญบางอยาง งดภาษีสินคาขาเขาและ ขาออกบางชนิดโดยเพิ่มพิกัดอัตราคาภาษีปากเรือแทน เลิกประเพณีบังคับซื้อสิ่งของใชในราชการ ใหพอคาลูกคาติดตอซื้อขายกันไดโดยเสรี ชวยเหลือใหความสะดวกแกพอคาตางเมืองในการเขา มาติดตอคาขาย ค) เรือสินคาเริ่มเปลี่ยนจากเรือสําเภามาเปนเรือกําปนใบในรัชกาลนี้ไดมีการตอเรือกําปนใบ อยางฝรั่งใช เพราะเห็นวาดีกวาสําเภาแบบจีน ไดเริ่มทําครั้งแรกเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๓๗๘ โดย หลวงนายสิทธิ์ (สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ) เปนผูตอถวายเปนลําแรก เมื่อความนิยมใช เรือกําปนใบอยางฝรั่งไดแพรหลายออกไป จํานวนเรือสําเภาที่ใชในการคาขายก็ลดลงเปนลําดับจน หมดไปในรัชกาลตอมา ๔. การขุดลอกคูคลองเพื่อเพิ่มพูนรายได โปรดใหขุดลอกคูคลองเพื่อใหการคาขายภายใน ประเทศขยายตัวสะดวกรวดเร็ว มีรายการสําคัญ ดังนี้ พ.ศ. ๒๓๗๑ โปรดใหขุดคลองสุนัขหอนที่จังหวัดสมุทรสงคราม พ.ศ. ๒๓๗๔ โปรดใหพระยาโชฎึกราชเศรษฐีขุดลอกคลองตั้งแตดานวัดปากนํ้าถึงบางขุนเทียน ซึ่งตื้นเขินมากใหลึกและกวางขึ้นคือ กวาง ๑๔ วา และลึก ๔ ศอก ยาว ๗๘ เสน (๒๕เสน = ๑ กม.) สิ้นคาใชจาย ๒๔๖ ชั่ง (๑ชั่ง = ๘๐ บาท) โปรดใหขุดคลองตั้งแตบางขุนเทียนถึงวัดกก วัดเลา ยาว ๑๐๐ เสน เสียคาจางกรรมกรจีน ๓๘๑ ชั่ง พ.ศ. ๒๓๘๐ โปรดใหพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษาเปนแมกอง ขุดคลองตั้งแตหัวหมากถึง บางขนากยาวถึง ๑,๓๓๗ เสน(๕๓ กิโลเมตร เศษอีก ๑๒ เสน) ลึก ๔ ศอก กวาง ๖ วา ใชเวลาขุด นาน ๒ ป สิ้นคาใชจาย ๑,๒๐๖ ชั่ง(๙๖,๔๘๐ บาท) การขุดลอกคลอง ตองใชจายเงินเปนจํานวนมาก และมิไดกอใหเกิดผลทันที แตไดเปนผล ระยะยาวเมื่อเรือสินคาสามารถติดตอกันไดสะดวกรวดเร็ว รายไดของประชาชนและราชการก็ เพิ่มพูนขึ้นเปนลําดับ การที่ไดปรับปรุงการเก็บภาษีอากรครั้งใหญและการดําเนินนโยบายดานการคาขาย ทําให รายไดภาษีอากรของประเทศดีขึ้น จากปละ ๒-๓ ลานบาท ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เปน ๒๕ ลานบาท ทําใหเศรษฐกิจการเงินของไทยแข็งแกรงมาก 3_edit.indd 21 20-Feb-13 11:20:26 PM


๒๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การเกษตร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงเอาพระราชหฤทัยใสการประกอบอาชีพของ ประชาชนเปนอยางมาก ทรงพยายามชวยเหลือในอาณาประชาราษฎรมีความเปนอยูที่ดีขึ้น เชน พ.ศ. ๒๓๘๖ เกิดภาวะฝนแลง ไรนาเสียหาย ขาวขาดแคลนและมีราคาแพง ราษฎรไดรับความ เดือดรอน เมื่อรัชกาลที่ ๓ ทรงทราบ ไดทรงรีบใหความชวยเหลือดวยการนําขาวในฉางหลวงออก มาจําหนายแกประชาชนในราคาถูกและไดสงเสริมใหชาวนาทํานาในปตอมาใหได ๒ ครั้ง เพื่อใหได ขาวมากเพียงพอ ขาวจะไดไมมีราคาแพง นอกจากนั้นพระองคยังไดทรงมีพระบรมราชโองการใหบรรดาเจาเมืองคอยดูแลชวยเหลือ ชาวนาและหมั่นออกตรวจไรนาดวย ...ทรงพระกรุณาตรัสเหนือเกลาฯ สั่งวา ณ ปเถาะ เบญจศกฝนตกไมปรกติ นํ้านอย หาเขาทุง ทั่วเสมอกันไม อณาประชาราษฎร ณ หัวเมืองปกษใต ฝายเหนือ แขวงจังหวัดขอบขัณฑเสมาทํานาไม เต็มภาคภูมิ ไดผลเม็ดขาวนอย หาพอรับประทานไม (--ไมพอรับประทาน— สํานวนปจจุบัน) ราคา ขาวแพง ราษฎรซื้อขายแกกันสัดละบาท ทรงพระมหากรุณาเมตตากับอณาประชาราษฎร ไพรฟา ขาแผนดินจะอดอยาก จึ่งโปรดเกลาฯ ใหเจาพนักงานกรมนาเอาขาว ณ ฉางหลวงออกพระราชทาน เฉลี่ยจํานวนเจือจานใหราษฎรรับพระราชทานแตราคาสัดละสลึง สัดละเฟอง ลดราคาตํ่ากวาราษฎร ซื้อขายกันเปนหลายเทา...(๑) ทรงพระกรุณาตรัสเหนือเกลาฯ สั่งวา ณ ปเถาะ เบญจศกฝนตกไมปรกติ ขาราชการ และ เจาเมือง กรมการอณาประชาราษฎรหัวเมืองปกษใตฝายเหนือทําไรนาไดผลเม็ดขาวนอย หาเต็ม ภูมิลําเนาไม ขาวมีราคาแพง สมเด็จพระพุทธิเจาอยูหัวทรงพระวิตกเปนอันมาก และ ณ ปมะโรง ฉศกนี้โปรดเกลาฯ จะใหทําไรนาแตตนฤดูใหเต็มภาคภูมิ ใหไดผลเม็ดขาวจงมากทุกบานทุกเมือง จึง โปรดเกลาฯ ใหหาหลวงปลัดเมืองอางทอง พระพรหมบุรินทร พระอินทบุรี พระสิงหบุรี พระสรร พระขัยนาท พระยาอุทัยธานี เมืองมโนรมย พระนครนายก พระปลัดเมืองสระบุรี พระปลัดเมือง สุพรรณ พระลพบุรี ลงมากรุงเทพฯ จะไดโปรดเกลาฯ ใหเจาเมืองกรมการคิดอานจัดแจงการที่จะ ทําไรนาในปมะโรงฉอศกนี้ ปหนึ่งจะทําใหได ๒ ครั้ง จึ่งจะไดเม็ดขาวมาก ...(ชื่อเจาเมือง) รูทองตรานี้แลว ก็ใหเรงรีบลงไปเฝาทูลละอองฯ โดยเร็ว...(๒) ...ทรงพระกรุณาตรัสเหนือเกลาฯ สั่งวาการทํานาปนี้ (จ.ศ. ๑๒๐๖) หาเหมือนทุกปไม ทรง พระราชดําริวา จะใหขาราชการ เจาเมือง กรมการ ราษฎรทําไรนาใหทั่วนาพรอมมูลกัน ความแจง อยูในทองตราซึ่งโปรดขึ้นมาแตกอนทุกประการแลว สมเด็จพระพุทธเจาอยูหัวจะใครทรงทราบการ ไรนา นํ้าฝน ทวมใหถวนถี่แนนอนใหพระยาไชยวิชิต พระปลัด กรมการวากลาวตรวจดูแลใหเจา เมือง กรมการ ราษฎรทําไรนาใหทั่วกันใหเต็มภูมิฐานใหไดผลเม็ดขาวในปมะโรงฉอศกใหจงมาก ขาวจึงจะไมมีราคาแพง...(๓) (๑) หอสมุดแหงชาติ ,จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๕๘ เรื่องที่ ๑ จ.ศ. ๑๒๐๖. (๒) หอสมุดแหงชาติ ,จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๔๗ เรื่องที่ ๓ (๓) หอสมุดแหงชาติ ,จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๔๗ เรื่องที่ ๙ 3_edit.indd 22 20-Feb-13 11:20:31 PM


๒๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การออกหวย ก.ข. พ.ศ. ๒๓๗๔ และในปพ.ศ. ๒๓๗๕ เกิดขาวยากหมากแพงการเงินที่ใชหมุนเวียนในประเทศ หายไป ชาวจีนชื่อ หง หรือพระยาศรีไชยบาดาล นายอากรสุรากราบบังคมทูลวาเงินหายไปเพราะ ราษฎรนําไปฝง ควรแกไขดวยการออกหวย ก.ข. พ.ศ. ๒๓๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ โปรดอนุญาตใหตั้งโรงหวย ก.ข. ขึ้น ๒ โรง คือ ของเจกหง ๑ โรง ของพระยาศรีวิโรจน ๑ โรง ใชตัวอักษรไทย ๓๖ ตัว ขึ้นกระดานแขวนไมหนา โรงหวย แทงครั้งหนึ่งไมตํ่ากวา ๑ เฟอง ถาถูกจายคืน ๓๐ เทา ตอมาเหลือของเจกหงโรงเดียว ตัว อักษรที่ใชแทงลดลงเหลือ ๓๔ ตัว และจะแทงเทาไรก็ได ในการออกหวย ก.ข. ครั้งนี้ ทําเงินรายได เขาแผนดินถึงปละ ๒ หมื่นบาท การเลนหวยมีมาตลอด ๔ รัชกาล มาเลิกการเลนไปในรัชกาลที่ ๖ การคมนาคมระหวางกรุงรัตนโกสินทรกับหัวเมืองใกลเคียง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให พระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา เปนแมกองอํานวยการขุดคลอง ตั้งแตหัวหมากไปถึงบางขนาก เปนทาง ๑,๓๓๗ เสน ๑๙ วา ๒ ศอก ลึก ๔ ศอก กวาง ๖ วา สิ้นคาใชจาย ๑,๒๐๖ ชั่ง ๑๓ ตําลึง ๒ บาท ๑ สลึง ๑ เฟอง ขุดเสร็จในปชวด โทศก จุลศักราช ๑๒๐๓ ตรงกับพุทธศักราช ๒๓๘๔ คลองบางขนากเปนคลองทะลุออกแมนํ้าบางปะกง เมื่อขุดคลองบางขนากมาบรรจบ กับคลองพระโขนง จึงชวยใหพอคาแมคาลําเลียงสินคาจากเมืองฉะเชิงเทราไดสะดวกทอดเดียว โดยไมตองขนถายสินคาลําเลียงขึ้นทางบกเปนสองทอด นอกจากนั้นยังทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหขุดคลองดานจากวัดปากนํ้าริมคลองบางกอกใหญไปจนถึงคลองบางขุนเทียน ยาว ๗๘ เสน ๑๘ วา รวมทั้งขุดลอกคลองสุนัขหอนซึ่งเปนคลองเชื่อมแมนํ้าทาจีนและแมนํ้าแมกลองที่ตื้นเขินใหลึก เหมือนแตกอนดวย 3_edit.indd 23 20-Feb-13 11:20:38 PM


๒๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) 3_edit.indd 24 20-Feb-13 11:21:01 PM


๒๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การศึกษา คณะหมอสอนศาสนา มิชชันนารีอเมริกันไดตั้งโรงเรียนเชาไปเย็นกลับในบริเวณใตคลองบาง หลวง ธนบุรี ในพ.ศ. ๒๓๙๕ ไดไมนาน ก็ยายมาอยูที่บริเวณขางวัดอรุณฯ ในที่ดินพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ เปนโรงเรียนประจําสอนเปนภาษาจีนสําหรับเด็กจีน จนถึงพ.ศ. ๒๔๐๐ ยายไปอยูที่ริมฝงแมนํ้าเจาพระยาที่ตําบลสําเหร ธนบุรี มีนักเรียนหญิง พ.ศ. ๒๔๐๓ ได เปลี่ยนมาเปนสอนภาษาไทย โรงเรียนไดนามใหมวา สําเหรบอยสคริสเตียนไฮสกูล เปนโรงเรียน ประจําและโรงเรียนราษฎรแหงแรก จนถึงพ.ศ. ๒๔๔๖ ไดยายขามฟากมาอยูฝงพระนครที่ถนน ประมวญ ตําบลสีลม บางรัก ไดเปลี่ยนนามใหมวา กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย อาคารเรียนของ “สําเหรบอยสคริสเตียนไฮสคูล” โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน พ.ศ. ๒๔๑๗ คณะหมอสอนศาสนาไดตั้งโรงเรียนสตรีขึ้นในบริเวณพระราชวังหลัง หรือ บริเวณโรงพยาบาลศิริราชในปจจุบันใหชื่อวา โรงเรียนกุลสตรีวังหลัง เปนโรงเรียนประจําสําหรับสตรี แหงแรก กิจการของโรงเรียนคอยๆ เจริญขึ้น ผูมีสวนสรางความเจริญอยางมากใหแกโรงเรียนคือ แหมม โคล ทําใหคนเรียกชื่อโรงเรียนวาโรงเรียนแหมมโคล เปนที่นิยมในหมูเจานายชั้นสูงและคนสําคัญใน ยุคนั้นมาก จนกระทั่งใน พ.ศ. ๒๔๖๔ ไดยายไปอยู ณ สถานที่ตั้งแหงใหมที่ตําบลบางกะปฝงพระนคร ไดเปลี่ยนนามโรงเรียนใหมเปน วัฒนาวิทยาลัย อันเปนมงคลนามไดจากพระนามของพระองคเจา หญิงสวางวัฒนา ซึ่งตอมาก็คือ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา โรงเรียนในกลุมเดียวกันนี้ในตางจังหวัดมี โรงเรียนอรุณประดิษฐ จังหวัดเพชรบุรี โรงเรียน ปรินซรอแยลวิทยาลัย และโรงเรียนดาราวิทยาลัย ที่เชียงใหม โรงเรียนผดุงราษฎร ที่พิษณุโลก ฯลฯ เปนตน 3_edit.indd 25 20-Feb-13 11:21:10 PM


๒๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การศึกษาของสตรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงเห็นวา ขาราชการผูหญิงในพระราชฐานบางคนมี เวลาวางอยูเปลาๆ จึงโปรดใหฝกหัดจารคัมภีรใบลาน จนสําเร็จเปนคัมภีรพระไตรปฎกของหลวงชุด แรกแหงกรุงรัตนโกสินทรที่จารโดยฝมือผูหญิง คือคัมภีรฉบับทองนอย ลักษณะเปนคัมภีรใบลาน ปดทองทึบทั้งปกหนา ปกหลัง และขอบลานทั้ง ๔ ดาน กึ่งกลางปกหนามีอักษรบอกชื่อคัมภีรเขียน ดวยอักษรขอมยอเสนชุบหมึกดํา ใบลานที่ ๒ มีอักษรบอกชื่อคัมภีรเปนเสนจาร รวมทั้งขอความใน คัมภีรเปนเสนจารทั้งหมด การที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวโปรดใหผูหญิงจารคัมภีรใบลานนั้นเปนลักษณะ การสรางงานนอกอยางอีกรูปแบบหนึ่ง เพราะเปนพระราชดําริที่โปรดใหมีขึ้นเปนครั้งแรก ผิดแผก จากขนบประเพณีเดิมซึ่งมีขอกําหนดหามผูหญิงหยิบจับหรือสัมผัสถูกตองคัมภีรใบลาน ดวยถือวา คัมภีรใบลานเปนของศักดิ์สิทธิ์ ผูชายเทานั้นจึงจะจับตองได อีกประการหนึ่ง อักษรและภาษาที่ใชในคัมภีรใบลานก็เปนอักษรขอม ภาษาบาลี ซึ่งแตกอน พระสงฆ สามเณร หรือผูชายเทานั้นจึงจะมีสิทธิ์เลาเรียน และการที่ผูหญิงจารคัมภีรใบลานไดนั้น ยอมหมายถึงวาผูหญิงตองเรียนรูอักษรขอม ภาษาบาลีดวย นับวาเปนพระมหากรุณาธิคุณอันสูง ยิ่ง ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงเริ่มตนยกสถานภาพผูหญิงใหมีสิทธิ์ศึกษาเลาเรียน วิชาการเสมอดวยผูชาย โรงเรียนวังหลัง 3_edit.indd 26 20-Feb-13 11:21:17 PM


๒๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) จารึกตํารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร สังคมไทยดําเนินมาตามวิถีทางแหง วัฒนธรรม อันมีแมแบบมาจากสมัยอยุธยา สืบทอดแนวคิดนํามาสรางสรรคขึ้นใหม ในสมัยรัตนโกสินทรจนเกิดเปนลักษณะ ประจําชาติขึ้นมา ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ แหง กรุงรัตนโกสินทร ไดมีการติดตอคาขายกับ ชาวตางประเทศโดยเฉพาะชาวจีนมากขึ้น ขณะเดียวกันรูปแบบศิลปกรรมจีนก็เริ่มเขา มามีอิทธิพล และเปนสวนที่ทําใหลักษณะศิลป วัฒนธรรมไทยเริ่มมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป เมื่อประมาณพุทธศักราช ๒๓๖๓ ครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ยังทรงดํารง พระยศพระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ทรงคุมกองทัพเรือออกไปขัดตาทัพพมาที่ดาน พระเจดียสามองค เมืองกาญจนบุรี เมื่อเคลื่อนกองทัพออกจากกรุงนั้น เสด็จพระราชดําเนินผานวัด จอมทอง ซึ่งแตเดิมเปนวัดโบราณสรางมากอนกรุงรัตนโกสินทร สภาพวัดในครั้งนั้นคงจะชํารุดทรุด โทรมมาก ไดประทับแรมที่วัดนั้นและคงจะทรงมีพระราชศรัทธาเลื่อมใสวัดนี้มาก กอนจะยาตรา ทัพไปทรงประกอบพิธีเบิกโขลนทวารตามตําราพิชัยสงครามที่วัดนี้ดวย และเมื่อเสด็จยาตราทัพไป ตั้งอยู ณ เมืองกาญจนบุรีได ๑ ป ไมมีขาวกองทัพพมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย จึงโปรดเกลาฯ ใหเลิกกองทัพกลับพระนคร เมื่อกลับถึงพระนครแลวไดทรงปฏิสังขรณวัดจอมทอง ทั้งวัด โปรดใหสรางโบสถวิหาร และเสนาสนะตางๆ กับใหตกแตงประดับลวดลายตามแบบอยาง ศิลปะที่ทรงมีพระราชดําริขึ้นใหมเปนศิลปกรรมแบบจีนมาก เลิกใชศิลปกรรมรูปแบบประเพณี ที่ เห็นไดชัดคือ หนาจั่วไมมีชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบันตกแตงประดับดวยกระเบื้องเคลือบทํา เปนลวดลายกระบวนจีน เจดียเปลี่ยนรูปทรงเปนถะ เปนตน และเมื่อสรางสวนสําคัญของวัดเสร็จ แลวไดถวายเปนพระอารามหลวง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย จึงพระราชทานนามวัด ใหใหมวา วัดราชโอรส ซึ่งหมายถึงวาเปนวัดที่พระราชโอรสทรงปฏิสังขรณ จะเห็นไดวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระอัจฉริยภาพทางศิลปะอยางยิ่ง ทรงกลาสรางงานศิลปกรรมที่แปลกใหมตั้งแตยังทรงเปนพระเจาลูกยาเธอ ในเรื่องนี้ สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงมีพระวินิจฉัยไว ปรากฏในลายพระพักตรทูลสมเด็จ พระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ พิมพในหนังสือเรื่องสาสนสมเด็จ เลม ๒๕ หนา ๒ พ.ศ. ๒๕๐๐ ความวา 3_edit.indd 27 20-Feb-13 11:21:24 PM


๒๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) “...เปนวัดแรกคิดสรางออกนอกแบบอยางวัดซึ่งสรางกันเปนสามัญ จะเรียกตอไปในจดหมาย นี้วา วัดนอกอยาง พิจารณาดูวัดราชโอรส เห็นไดวา วัดนอก อยางนั้นไมใชแตเอาชอฟา ใบระกาออก เทานั้น ถึงสิ่งอื่นเชน ลวดลาย และรูปภาพ เปนตน ก็แผลงไปเปนอยางอื่นหมด คงไวแตสิ่งอันเปน หลักของวัดอันจะเปลี่ยนแปลงมิได เชน โบสถ วิหาร เปนตน นอกจากทรงสรางตามพระราชหฤทัย ไมเกรงใครจะติเตียน แตตั้งพระราชหฤทัยประจงใหงามอยางแปลก มิใชสรางแตพอเปนกิริยาบุญ...” ในครั้งนั้นนอกจากจะทรงเปลี่ยนแปลงรูปแบบศิลปกรรมใหเปนแบบจีนมากแลว พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงริเริ่มเปลี่ยนแปลง ระบบการเรียนการสอนจากแบบเดิม ซึ่งครูเปน ผูสอนวิชาความรูแกศิษย ทรงเปลี่ยนระบบใหมใหผูเรียนเปนศูนยกลางกําหนดวัตถุประสงคเพื่อการ ศึกษาใหแกตนเองโดยไมจํากัดเพศ และวัยโดยโปรดใหสรางตําราเรียนดวยวิธีจารึกลงบนแผนศิลา ติดตามระเบียงพระวิหาร ภายในวัดราชโอรสอันเปนที่สาธารณะเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกเรียนได ตามความประสงคของตนเอง แนวพระราชดําริในเรื่องนี้แสดงใหเห็นถึงพระปรีชาญาณอันสูงสง และกาวลํ้าทันสมัยยิ่งนัก เพราะในปจจุบันกระทรวงศึกษาธิการก็มีนโยบายใหผูเรียนเปนศูนยกลาง กําหนดวัตถุประสงคการศึกษาดวยตนเองเชนเดียวกัน แตวิธีการของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัวแตกตางจากปจจุบัน ทั้งนี้อาจเปนดวยในสมัยนั้นบานเมืองเพิ่งจะพนจากภัยสงครามไม นาน จํานวนประชากรก็คงจะมีไมมาก และยังอยูในภาวะยากจน ตําราที่โปรดใหสรางขึ้นเปนวิชา แรก และมีเพียงวิชาเดียวเทานั้นคือ วิชาแพทย หรือที่นิยมเรียกกันวา ตํารายา การที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงเลือก ตํารายา พระราชทานแกประชาชน เปนวิชาแรก ก็นาจะทรงมีพระราชวินิจฉัยเปน ๒ ประการคือ 3_edit.indd 28 20-Feb-13 11:21:39 PM


๒๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ๑. เนื่องจากในสมัยกอนการเรียนการสอนวิชาชีพ อยางเชนวิชาแพทย เปนตนนั้น ใชวิธีตอ ดวยปากจากครู แลวนํามาทองหรือฝกฝนใหจําจนขึ้นใจ การศึกษาวิธีนี้สวนใหญผูเรียนตองเขามา อาศัยอยูกินในบานของครู ชวยปฏิบัติหัดงานทุกอยางในบานครู ปรนนิบัติรับใชครูตลอดเวลา นับ เปนเวลายาวนานจึงจะไดวิชา เพราะการศึกษาแบบจดจําดวยวิธีดังกลาวจะตองใชเวลาฝกฝนมาก จึงจะเกิดความชํานาญแตอาจจะจําไมไดทั้งหมดหรืออาจจะคลาดเคลื่อนผิดเพี้ยนสูญหายไปบาง ก็มี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวนาจะไดทรงเล็งเห็นความยุงยากในการศึกษาวิชาแพทย แผนไทยโบราณ ซึ่งนอกจากผูเรียนจะมีจํานวนนอยแลว วิธีการเรียนยังตองใชเวลายาวนานมากหาก ขาดความอดทนก็อาจเลิกรากลางครัน ทําใหวิชาการไมแพรหลาย แพทยผูชํานาญหายากไมพอกับ ความตองการของบานเมืองในขณะนั้น และหากตําราที่จดจําคลาดเคลื่อนก็จะทําใหเปนอันตราย ตอวิชาการแพทยไทยอีกดวย ๒. เรื่องเกี่ยวกับสุขภาพรางกายเปนสิ่งที่ทุกคนควรตองรูเพราะเปนเรื่องใกลตัว หากเกิด โรคภัยไขเจ็บขึ้นจะไดรูจักดูแลรักษาเพื่อใหชีวิตดํารงอยูอยางปกติสุข และผลทางออมที่ไดก็คือ ประชาชนพลเมืองจะไดมีสุขภาพแข็งแรงเปนกําลังของชาติ กําลังของกองทัพ เพราะในชวงเวลา นั้นบานเมืองยังอยูในสภาวะที่ตองการพลังแหงกองทัพของชาติที่เขมแข็งจํานวนมาก และที่สําคัญ อีกประการหนึ่งนาจะเปนวิธีการเพิ่มประชากรของชาติดวย จารึกตํารายาที่วัดราชโอรสฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวโปรดใหสรางขึ้นไวนั้น จัดเปนลักษณะการสรางงานแบบนอกอยางอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ทรงริเริ่มใหมีขึ้นในบานเมือง เนื่องจาก เปนตําราวิชาการซึ่งจัดไวในที่สาธารณะ เปดโอกาสใหประชาชนทุกเพศทุกวัยเลือกศึกษาจดจํา นํา ไปใชใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเองและครอบครัวไดตามประสงคอยางกวางขวางทั่วถึงทุกเวลา และก็ นาจะทรงเห็นวาการสรางตําราวิชาการไวในที่สาธารณะเชนนี้เปนสิ่งที่มีคุณประโยชนอยางมหาศาล ตอมาอีกประมาณ ๑๐ ป เมื่อไดเสวยราชย แลวโปรดใหสรางจารึกตําราวิชาการเพิ่มขึ้นทุกแขนงวิชา ประดิษฐานไวที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ลักษณะเหมือนเปนมหาวิทยาลัย เปดแหงแรกของประเทศไทย 3_edit.indd 29 20-Feb-13 11:21:47 PM


๓๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) จารึกตํารายาวัดราชโอรสฯ เปนจารึกบนแผนหินออนสีเทารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกวาง ยาว ดานละ ๓๓ เซนติเมตร เทากันทุกแผนมีจํานวน ๕๐ แผน แตละแผนมีอักษรจารึกดานเดียว จัดเรียงบรรทัดทางมุมแหลม จํานวน ๑๗ บรรทัดเหมือนกันทุกแผน จารึกเหลานี้ติดประดับอยูที่ ผนังดานนอกของระเบียงพระวิหารพระพุทธไสยาสน จํานวน ๔๒ แผน และอยูที่ผนังศาลาราย หนาพระอุโบสถ ๒ ศาลาๆ ละ ๔ แผน ในหนังสือวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร พิมพ พ.ศ. ๒๕๔๑ หนา ๖๙ กลาวไววา กอนการบูรณะพระวิหารพระพุทธไสยาสนในปพ.ศ. ๒๕๒๕ จารึกตํารา มี จํานวน ๙๒ แผน แตคงจะชํารุดตกแตกสูญหายไปมากเมื่อมีการบูรณะขึ้นใหม จึงพบวาปจจุบันเหลือ เพียง ๕๐ แผน และในคราวบูรณะนั้นก็คงจะพลัดหลงจากตําแหนงที่เคยติดประดับอยูเดิม จารึก บางแผนจึงติดสลับที่ ไมไดเรียงตามลําดับเนื้อหาของกลุมชื่อโรค แตเนื่องจากจารึกแตละแผนมี เนื้อหาสาระของเรื่องจบความในตัวเอง ดังนั้น ถึงแมจะไมเรียงลําดับก็ยังคงใชไดใจความที่สมบูรณ ทุกแผน ตํารายาวัดราชโอรสฯ เปนตําราแพทยแผนไทยที่มีความสําคัญอยางยิ่ง แตปจจุบันไม แพรหลาย ทําใหมีผูรูจักนอยมาก การศึกษาจารึกตํารายาวัดราชโอรสฯ ในคราวนี้ จึงดําเนินการ วิจัยแนวสหวิทยาการ เนนที่คุณคาทางโบราณวิทยาดานจารึก เวชศาสตร และอักษรศาสตร ในฐานะที่เปนหลักฐานภูมิปญญาดานการแพทยแผนไทย และเปนมรดกทางวรรณกรรมของ ชาติ การจัดพิมพไดทําตามวิธีการอานจารึกโดยคัดถายถอดอักษรเปน คําจารึก ดวยอักษรไทย ปจจุบัน และทํา คําอานจารึก พรอมดวย คําอธิบายศัพทในจารึก ซึ่งสวนใหญเปนศัพทเฉพาะ ดานการแพทยแผนไทยเกี่ยวกับชื่อโรค ชื่อสมุฏฐานและอาการของโรค ชื่อสมุนไพรพรอมสรรพคุณ ทางยา พิกัดสมุนไพร วิธีปรุงเครื่องยาและวิธีใชยา เปนตน กับไดจัดทําดรรชนีรวมเรื่องไวทายเลม ดวย สวนการจัดลําดับเรื่องนั้นก็ยังคงจัดตามลําดับแผนจารึก ซึ่งติดประดับอยูที่ผนัง โดยเริ่มตน จากศาลารายหนาพระอุโบสถดานซายไปขวา นับเปนจารึกแผนที่ ๑ ถึงแผนที่ ๘ ตอไปเริ่มแผน ที่ ๙ ที่ระเบียงมุมซายดานหนาพระวิหารพระพุทธไสยาสน เรียงไปทางขวาวนรอบพระวิหาร ถึง แผนที่ ๕๐ เนื้อหาในจารึกสวนใหญเริ่มตนขอความดวยคําวา สิทธิการิยะ คํานี้ในตําราโบราณนิยมใช เปนคําขึ้นตนเรื่อง หรือ ขึ้นตนขอความเหมือนกับจะใชเปนคําอธิษฐานกอนจะเริ่มตมดําเนินการ สิ่งใดสิ่งหนึ่งคํา สิทธิการิยะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ขอความสําเร็จจงมี ซึ่งในจารึกเหลานี้อาจหมายถึง ขอความสําเร็จจงบังเกิดแกผูศึกษาตํารายา หรือผูใชยานั้น ขอความ ตอไปนี้จึงกลาวถึงเนื้อเรื่อง ประกอบดวยชื่อโรค ชื่อยา เครื่องยา วิธีปรุงยา และวิธีใชยา เปนตน และหากมียาหลายขนานที่จะใชรักษาโรคนั้นได ก็จะบอกเครื่องยาและขนานไว พรอมทั้งกําหนด อัตราสวนของเครื่องยา หรือพิกัดสวนเครื่องยากํากับไวทุกขนาน โดยใชรูปเครื่องหมายมาตราแบบ เกาบอกขนาดปริมาณ หรือนํ้าหนักของตัวยาที่นํามาใช 3_edit.indd 30 20-Feb-13 11:21:52 PM


๓๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การศึกษาวิชาแพทยของคนไทยในสมัยกอนนั้น ใชวิธีตอดวยปากจากครูแลวนํามาทองใหจํา จนขึ้นใจ ขณะเดียวกันยังตองอยูชวยปฏิบัติงาน ปรนนิบัติรับใชครูตลอดเวลา นับเปนเวลายาวนาน จึงจะไดวิชา การจดจําดังกลาวตองใชเวลามาก และอาจจําไมไดทั้งหมดหรือคลาดเคลื่อนผิดเพี้ยน สูญหายไปบางก็มี การที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหจารึกตํารายาขึ้นไว ที่วัดราชโอรสฯ อันเปนที่สาธารณะนั้น เปนการเปดโอกาสใหประชาชนทั่วไปเขาศึกษาจดจําไปใช ใหเกิดประโยชนทั้งตอตนเอง และครอบครัว ไดอยางกวางขวางทั่วถึงทุกเวลา นอกจากนั้น จารึกตํารายาวัดราชโอรสฯ ยังกลาวไดวาเปนจารึกที่พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหสรางขึ้นเปนแหงแรกกอนการสรางที่วัดเชตุพนวิมลมังคลารามราช วรมหาวิหาร นานประมาณ ๑๐ ป ดวยเหตุนี้จึงมีผูรูบางทานสันนิษฐานวา พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัวนาจะทรงมีพระราชประสงคใชจารึกตํารายาวัดราชโอรสฯ เปนจุดเริ่มตนทดลองสราง จารึกบันทึกวิชาความรูดานการแพทยแผนไทยขึ้นไวตามแนวพระราชดําริแบบนอกอยางและที่ทรง เลือกตํารายาก็นาจะทรงมีพรราชวินิจฉัยวาเปนเรื่องใกลตัวเกี่ยวของกับสุขภาพรางกายที่ทุกคนควร ตองรู และตอมาอีก ๑๐ ป นาจะทรงเห็นวามีคุณประโยชนยิ่ง จึงโปรดเกลาฯ ใหสรางจารึกขึ้นที่วัด พระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร เปนการสมบูรณทุกแขนงวิชา จารึกตํารายาวัดราชโอรสฯ จึงนาจะเปนหลักฐานหนึ่งที่แสดงถึงพระปรีชาญาณอันสูงสงของ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวที่ทรงมีสายพระเนตรอันกวางไกล ทรงเห็นคุณคาและความ สําคัญในการรวบรวมหลักฐานความรูเรื่องตํารายาไทย ดวยนํ้าพระทัยที่ทรงหวงใยวา วิชาการดาน การแพทยนี้จะคลาดเคลื่อนสูญหาย เพราะนอกจากจะใชเอื้อประโยชน เกื้อกูลตอชีวิตความเปนอยู ของประชาชนทั่วไปแลว ยังเปนการรวบรวมความรูเรื่องเวชกรรมและเภสัชกรรมของไทยไวใหคงอยู กับบานเมือง เปนสมบัติสวนรวมของแผนดินตลอดไปดวย 3_edit.indd 31 20-Feb-13 11:22:00 PM


๓๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การศาสนา ในรัชกาลนี้ไดรับการยกยองวาเปนสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองยิ่งกวาครั้งใดๆ ใน สมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงเลื่อมใสศรัทธาและเอาพระราชหฤทัยใสในการ ทะนุบํารุงพระพุทธศาสนาเปนอยางมาก ทรงพระราชดําริวาศาสนาจะเจริญรุงเรืองไดก็ตอเมื่อมี พระสงฆซึ่งรูพระไตรปฎกเปนอยางดี เปนผูเผยแผศาสนา จึงโปรดเกลาฯ ใหพระสงฆชั้นผูใหญชวย กันอบรมสั่งสอนกุลบุตรใหรูพระปริยัติถึงเปรียญ เอก โท ตรี จัตวา เพื่อจะไดเปนธรรมทายาทชวย แผยแผพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองสืบไป พระราชดํารินี้ชี้ใหเห็นถึงพระปรีชาญาณในการเผยแผศาสนาพุทธใหวัฒนาถาวรสืบไป ดวย การสงเสริมการเรียนรูพระธรรมคําสั่งสอน ...มีพระราชหฤทัย ทรงปรารถนาซึ่งภิกษุสงฆและสามเณรที่รูพระไตรปฎกเปนอยาง เอก โท ตรี จัตวา จะไดดํารงพระพุทธศาสนาใหรุงเรืองจําเริญสืบไป... อาตมภาพพระราชาคณะทั้งปวงพรอมกัน...ขอพระราชทานถวายปฏิญาณไววา จําเดิมแต นี้สืบไปภายหนา อาตมภาพทั้งปวงจักพรอมกันบอกกลาวสั่งสอนกุลบุตรและตักเตือนใหมีเพียร เลาเรียนภิญโญภาพมากขึ้นกวาแตกอน จักกระทําพระพุทธศาสนาใหบริบูรณดวยภิกษุสงฆ และ สามเณรอันทรงพระปริยัติธรรมตามแตอุปนิสัยวาสนาแหงบุคคลอันคูควรแกพระไตรปฎกโดยอยาง ยิ่งอยางหยอนเปนลําดับๆ กัน...บํารุงพระราชศรัทธาใหเสมอทุกๆ ป มิไดขาด ตามแตจะไดโดยมาก และนอย สมดวยพระราชประสงคจงทุกประการ ควรมิควรขอพระราชทานอภัยขอถวายพระพร... 3_edit.indd 32 20-Feb-13 11:22:08 PM


๓๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) การสงเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม โปรดใหสรางพระไตรปฎกขึ้นเปนจํานวนมาก ฝมือ การสรางประณีต อักขระบาลีไดรับการชําระสอบสวนใหถูกตองครบถวน โปรดใหจางอาจารย สําหรับบอกพระปริยัติธรรมแกภิกษุสามเณรทุกพระอารามหลวงและในพระบรมมหาราชวัง มีการ พระราชทานรางวัลแกพระสงฆสามเณรที่สอบไลไดเปนเปรียญและไดเลื่อนสมณศักดิ์เปนพระราชา คณะแลว ถาบิดามารดาตกทุกขไดยากหรือเปนทาสก็โปรดใหชวยไถถอนใหเปนไทแกตัว หากลา สิกขาบทแลวจะไปรับราชการก็โปรดใหไดตามใจสมัคร จึงทําใหภิกษุสามเณรพากันอุตสาหะเลาเรียน พระปริยัติธรรมศึกษาพระไตรปฎกมีจํานวนมากกวาแตกอนทั้งในกรุงและหัวเมืองทั่วไป นอกจากนี้ วัดวาอารามในครั้งนั้นไดเปนสถานศึกษาอบรมของคนไทยโดยทั่วทุกแหง เปนที่สงเสริมการศึกษา และจริยธรรมตามแบบโบราณดวยในขณะเดียวกัน เหตุการณสําคัญทางพระพุทธศาสนาในรัชกาลนี้คือ มีนิกายพระสงฆขึ้นใหมมีชื่อเรียกวา “ธรรมยุติกนิกาย”นับถือกันวายึดมั่นในพระธรรมวินัยเครงครัดยิ่งนัก ผูใหกําเนิดคือพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัวขณะดํารงพระยศเปนสมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟามงกุฎและผนวชเปน ภิกษุอยู หลังจากไดทรงศึกษาภาษามคธแตกฉาน รูซึ้งถึงเนื้อแทของพระพุทธศาสนาอยางดียิ่งแลว ทรงเห็นวาวัตรปฏิบัติของสงฆไทยโดยทั่วไปไดผิดแปลกจากพระวินัยบัญญัติคลาดเคลื่อนมากจน บังเกิดความวิตกขึ้นในพระทัย พอดีทรงไดพบกับพระสุเมธาจารย(บวชจากมอญมาไดรับสมณศักดิ์ ในไทย) ผูชํานาญพระไตรปฎกและประพฤติวัตรปฏิบัติเครงครัด จึงทรงเลื่อมใส พ.ศ. ๒๓๗๒ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ เสด็จไปประทับที่วัดราชาธิวาส แลวทรงปฏิบัติ ตามวินัยลัทธิที่ทรงสอบสวนเห็นวาถูกตองตามพุทธบัญญัติโดยเครงครัด จนมีผูถวายตัวเปนสานุศิษย มากขึ้นและไดเกิดพระสงฆคณะใหมไดชื่อวา “ธรรมยุติกนิกาย” ที่ไดรับยกยองวามีวินัยเครงครัดเปน พิเศษ ทําใหสงฆในนิกายเดิมที่เรียกกันวา “มหานิกาย” ไดตื่นตัวฟนฟูในเรื่องลัทธิวินัยการปฏิบัติขึ้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ทรงเลื่อมใสในคณะสงฆธรรมยุติกนิกายนี้อยูมาก มิไดทรง รังเกียจแตอยางใด ยกเวนเรื่องเดียวซึ่งไมโปรดและเปนขอของใจอยูในพระราชหฤทัยคือการครอง ผาเหมือนกับพระมอญ แตดวยเหตุที่ทรงคารวะเกรงวาจะทําใหพระสงฆไทยเกิดแตกราว จึงมิได ทรงทักทวง จนถึงคราวประชวรหนักใกลจะเสด็จสวรรคต จึงไดทรงมีพระราชดํารัสเผยความใน พระราชหฤทัยเรื่องนี้ ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ ทรงทราบ ก็ทรงทําคําสารภาพขึ้นถวายและทรงปฏิญาณ วาจะเลิกครองผาอยางพระมอญ เพื่อมิใหเปนการขัดพระราชอัธยาศัย พระสงฆธรรมยุติกนิกายจึง เลิกครองผาแบบมอญ หันมาหมคลุมแบบเดิมกันอยูชั่วระยะหนึ่ง ในการสารภาพนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาฯ ไดทรงชี้แจงวาการที่ไดทรงดําเนินการ ตางๆ ไปนั้น ดวยทรงมุงไปในทางสิกขาจะประพฤติปฏิบัติพระธรรมวินัยใหถูกตองตรงตามพุทธ บัญญัติเปนสําคัญ หาไดคํานึงถึงพระเกียรติยศและการเมืองการแผนดินแตประการใดเลยไม 3_edit.indd 33 20-Feb-13 11:22:13 PM


๓๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ครั้นถึงรัชกาลที่๔ พระสงฆธรรมยุติกนิกายขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตกลับหม ผาแบบพระมอญอีกตามเคย ทรงเห็นการปฏิบัติพระธรรมวินัยเปนกิจของสงฆแลว แตจะศรัทธา อยางใดก็ปฏิบัติอยางนั้นไมเกี่ยวดวยฝายอาณาจักร จึงไมทรงหามปรามหรือทรงอนุญาตแตอยางใด ตั้งแตนั้นมา พระสงฆธรรมยุติกนิกายก็กลับหมแหวกแบบมอญอยางเดิมสืบตอมาจนทุกวันนี้ พระอารามที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสรางขึ้นใหมมี ๓ วัด คือ วัดเทพธิดา ราม วัดราชนัดดา และ วัดเฉลิมพระเกียรติ (นนทบุรี) พระอารามที่ทรงบูรณะและปฏิสังขรณมีจํานวน รวมถึง ๕๐ วัด ทั้งในกรุงและหัวเมืองที่สําคัญไดแก วัดราชโอรสาราม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัด สุทัศนฯ วัดอรุณฯ วัดพระเชตุพนฯ วัดยานนาวาฯลฯ วัดราชโอรสาราม หรือวัดราชโอรส ทรงเอาพระทัยใสเปนพิเศษ เริ่มดําเนินการมาตั้งแตกอน เสวยราชย สรางดวยฝมือประณีต บรรจงงดงามไมซํ้าแบบใคร เพราะเปนวัดแรกที่ไดนําศิลปกรรม แบบจีนมาประยุกตใชอยางกวางขวาง ถือกันวาเปนวัดประจํารัชกาลที่๓ วัดพระเชตุพน โปรดใหดําเนินการซอมและสรางเพิ่มเติมขึ้นใหมอยางใหญโต แลวโปรดให ประชุมนักปราชญราชบัณฑิตสาขาวิชาการตางๆ ชวยกันชําระสอบสวนวิชาความรูดานกวีนิพนธ วิชาแพทยแผนโบราณ มีตํารายาตําราหมอนวดมาจารึกไวเพื่อเปนที่ศึกษาคนควาของประชาชน นับ เปนการบํารุงการศึกษาแนวใหมที่ไมเคยมีมากอน จนกลาวไดวาวัดพระเชตุพนฯ เปนมหาวิทยาลัย แหงแรกของไทย การสรางและการแปลพระไตรปฎก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวมิไดทรงสงเสริมเฉพาะวิชาการทางโลกเทานั้น ในทาง พระพุทธศาสนาก็โปรดใหสรางคัมภีรพระไตรปฎกขึ้นใหมทั้งชุด สําหรับพระราชทานเปนคัมภีรฉบับ หลวงประจําวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ซึ่งทําเปนฉบับลายกํามะลอ ลักษณะลายกํามะลอที่คัมภีร ใบลาน มีการตกแตงเฉพาะใบปกลาน ซึ่งเขียนดวยลายทองมีแทรกสีแดง สีเทา เปนตน ปะปนอยู ในสีทองนั้น แตนาเสียดายที่ปจจุบันคัมภีรใบลานชุดดังกลาวเปนอันตรายสูญหายไปแลว นอกจากนั้นพระองคยังสนพระราชหฤทัยเรื่องเกี่ยวกับคัมภีรพระไตรปฎกมากเปนพิเศษ ดวยทรงเห็นวา คัมภีรพระไตรปฎกมีแตที่จารเปนอักษรขอม ภาษาบาลี ซึ่งผูมีความรูในเรื่องอักษร ขอม ภาษาบาลีเทานั้นจึงจะสามารถแปลได ทําใหเปนขอจํากัดตอการศึกษาและเผยแผพระพุทธ ศาสนา จึงมีพระราชประสงคใหแปลคัมภีรพระไตรปฎกออกเปนภาษาไทย ชวงแรกไดโปรดเกลาฯ ใหราชบัณฑิตสงคัมภีรใบลานฉบับหลวงไปพรอมกับฎีกา ใหพระสงฆผูจะเทศนแปลแตงเปนภาษา ไทยสําหรับถวายเทศน ชวงตอมาจึงมีผูสนใจศึกษาเลาเรียนภาษาบาลีกับมีการแปลภาษาบาลีออก เปนภาษาไทยจํานวนมาก ดวยเหตุนี้ในปจจุบันจึงพบวาพระไตรปฎกฉบับแปลที่มีอยูโดยมากเปน สํานวนที่แปลในสมัยรัชกาลที่ ๓ 3_edit.indd 34 20-Feb-13 11:22:17 PM


๓๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดราชนัดดารามวรวิหาร วัดราชนัดดารามวรวิหาร เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยูเลขที่ ๒ บริเวณ ถนนมหาไชยตัดกับถนนราชดําเนินกลาง เชิงสะพานผานฟาลีลาศและปอมมหากาฬ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระมหาเจษฎาราชเจา มีพระราชปรารภสรางพระ อารามแหงนี้ เพื่อใหปรากฏเปนเกียรติยศแกพระเจาหลานเธอ พระองคเจาโสมนัสวัฒนาวดี ซึ่ง ตอมาในรัชกาลที่ ๔ ทรงดํารงพระอิสริยศักดิ์สมเด็จพระนางโสมนัสวัฒนาวดี พระมเหสีพระองค แรกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว การกอสรางพระอารามเริ่มในพุทธศักราช ๒๓๙๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระ มหาเจษฎาราชเจา มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเจาพระยายมราช (บุนนาค ยมนาค) อธิบดีกรมนครบาล จัดหาสถานที่สรางและทําแบบแปลนสิ่งกอสรางในพระอารามขึ้นทูล เกลาทูลกระหมอมถวาย ประกอบดวยสิ่งกอสรางสําคัญคือ พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ โลหะปราสาท และกุฏิสงฆ ซึ่งยังคงสิ่งกอสรางสําคัญตามแบบแผนแรกกอสรางมาจนปจจุบัน พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระมหาเจษฎาราชเจาไดเสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยพระเจาหลาน เธอ พระองคเจาโสมนัสวัฒนาวดี มาทรงประกอบพิธีกอพระฤกษพระอุโบสถ เมื่อวันจันทร แรม ๑๐ คํ่า เดือน ๙ ปมะเมีย ตรงกับวันที่ ๑๗ เดือนสิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๘๙ และพระเจาหลานเธอ พระองคเจาโสมนัสวัฒนาวดี ไดเสด็จมาทรงประกอบพิธียกขื่อในวันพุธ แรม ๑ คํ่า เดือน ๑๒ ปมะเมีย ตรงกับวันที่ ๔ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๓๘๙ แลวมีพิธีชักพระพุทธรูปพระเสฏฐตมมุนี พระประธาน พระอุโบสถ มาประดิษฐานบนชุกชีในวันศุกร แรม ๑ คํ่า เดือนอายปมะเมีย ตรงกับวันที่ ๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๓๘๙ เมือสิ้นรัชกาลงานกอสรางสิ่งสําคัญในวัดดําเนินรุดหนาเปนสวนใหญ แตยังไม สมบูรณทั้งหมด โลหะปราสาท จึงจะสรางถึงยอดแลว แตยังไมไดประดับตกแตง 3_edit.indd 35 20-Feb-13 11:22:35 PM


๓๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) งานบูรณปฏิสังขรณวัดราชนัดดารามวรวิหาร ยังคงดําเนินการสืบตอมา ยุคที่ดําเนินงานมาก นั้นไดแก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และในรัชกาลปจจุบัน เมื่อถึงวาระ จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ครบ ๒๐๐ ปวัดพระบรมราชสมภพ วัดราชนัดดารามวรวิหาร ซึ่งเปนวัดหนึ่งในโครงการบูรณปฏิสังขรณ พระอารามที่พระมหากษัตริ ยาธิราชเจาพระองคนี้ทรงสถาปนาก็ไดรับการบูรณปฏิสังขรณสืบมาจนทั่วพระอาราม กรมศิลปากรประกาศขึ้นทะเบียนวัดราชนัดดารามวรวิหารตลอดจนโบราณวัตถุสถานอื่นๆ ภายในวัดตั้งแตพุทธศักราช ๒๔๙๒ ศาสนสถานที่ทรงคุณคาในวัดราชนัดดารามวรวิหาร พระอุโบสถ ตั้งอยูกลางระหวางพระวิหารกับศาลาการเปรียญ เปนอาคารทรงโรงขนาดใหญ หลังคา มุงกระเบื้องลด ๓ ชั้น ประดับชอฟาใบระกา หนาบันเขียนลายดอกพุดตานลงรักปดทองประดับ กระจก ภายในประดิษฐานพระเสฏฐตมมุนี ซึ่งเปนพระประธานปางมารวิชัย หนาตัก กวาง ๗ ศอก รัชกาลที่ ๓ โปรดใหหลอดวยทองแดงจากตําบลจันทึก จังหวัดนครราชสีมา ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พระประสิทธิ์สุตคุณ (แดง เขมทตฺโต) เจาอาวาสรูปที่ ๕ ไดบูรณะพระอุโบสถใหมและไดลงรักปด ทองพระประธานดวย ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถสวนใหญใชสีออนเปนภาพเรื่องพุทธ ประวัติ องคประกอบภาพตอนเสด็จลงจากดาวดึงสเปนภาพเทวดา และเทวธิดาจากกลุมดาวฤกษ ทั้ง ๒๗ กลุม บานหนาตางดานนอกลงรักเขียนลายทอง สวนดานในเปนภาพเขียนสีรูปเทพเจาของ พราหมณทรงพาหนะตางๆ 3_edit.indd 36 20-Feb-13 11:22:42 PM


๓๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระวิหาร ตั้งสกัดอยูทางทิศใตของพระอุโบสถ เปนอาหารทรงโรง หลังคามุงกระเบื้องลด ๓ ชั้นประดับ ชอฟาใบระกา หนาบันลงรักปดทอง ประดับกระจกลายดอกพุดตาน ภายในพระวิหารทําเปนหอง เวชยันต พิมานไวกลาง สองขางมีฉัตรเบญจา ๕ ชั้น ภายในเวชยันตประดิษฐานพระพุทธรูปหลอ ทั้ง ๓ หอง สวนลางกอฐานชุกชี ปนลวดลายประดิษฐานพระพุทธรูปางหามสมุทรเปนพระประธาน ซึ่งจอมพลสมเด็จฯ เจาฟาฯ กรมพระนครสวรรควรพินิต ทรงพระศรัทธาใหลงรักปดทอง และถวาย พระนามวา “พระชุติธรรมนราสพ” ศาลาการเปรียญ ตั้งสกัดอยูทางทิศเหนือของพระอุโบสถ ลักษณะอาคารขนาดใหญเชนเดียวกับพระวิหาร ภายในมีภาพเขียนที่เพดานและผนังประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยสมัยอูทองตอนตน และ ไดนําพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ลักษณะเชนเดียวกับพระบรมรูปหลอใน ปราสาทพระเทพบิดร ในพระบรมมหาราชวัง ขนาดเทาพระองคจริง ลงรักปดทองประทับยืนอยู ดานหนา พระชุติธรรมนราสพ โลหะปราสาท 3_edit.indd 37 20-Feb-13 11:22:50 PM


๓๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) โลหะปราสาท ตั้งอยูขางพระอุโบสถถัดไปทางทิศตะวันตก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรด เกลาโปรดกระหมอมใหสรางโลหะปราสาทที่วัดราชนัดดารามวรวิหารขึ้นแทนการสรางเจดียดังพระ อารามอื่น ตามลักษณะของโลหะปราสาทที่พรรณนาไวในหนังสือมหาวงศพงศาวดารลังกา โดยให มีลักษณะสถาปตยกรรมตามแบบศิลปกรรมไทย กําแพงแกว – ศาลาราย กําแพงวัดราชนัดดารามวรวิหารเปนกําแพงชั้นนอกและกําแพงแกวชั้นใน กําแพงดานนอก ลักษณะอยางกําแพงเมือง ดานหนาวัดจะสรางศาลาบนกําแพงขนาดใหญ มีบันไดทางดานขึ้นสู ศาลาซาย – ขวา ดานในวัดขนาบประตูเขาวัดขางละ ๑ หลัง กออิฐถือปูนเปนทรงไทย ลักษณะของ สถาปตยกรรมแสดงใหเห็นเปนปราการที่มั่นคงแข็งแรง ตั้งประจันหนากําแพงเมืองและปอมมหากาฬ ที่อยูถัดออกไป เสมือนจะสกัดกั้นมิใหขาศึกศัตรูลวงลํ้าผานเขามาได สมกับเปนวัดที่ตั้งอยูชิดกําแพง เมือง เสาศาลาบนกําแพงแตละตนขนาดใหญ แทงสี่เหลี่ยมรองรับหลังคา รับกับสถาปตยกรรม ภายในวัด ทั้งพระอุโบสถ พระวิหาร การเปรียญ และโลหะปราสาทที่มีขนาดใหญโอฬารทั้งสิ้น กําแพงแกวอยูถัดกําแพงชั้นอกเขามาประมาณ ๒๐ เมตร ผังสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีศาลาที่มุมทั้ง ๔ มุม และศาลารายตามแนวกําแพงแกวดานละ ๒ หลัง ลักษณะอาคารทรงไทย ประตูเปนซุม เจาะ ชองตรงกับประตูชั้นนอกตรงกลางกําแพงแกวแตละดานเพื่อเขาสูบริเวณพุทธาวาส พื้นที่ในบริเวณทั่วไปของวัดปูดวยแผนหินศิลาเกาสมัยตนรัตนโกสินทรซึ่งจะหาดูไดยาก หอระฆัง ตั้งอยูทิศตะวันออก เปนอาคารทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๒ ชั้น กออิฐถือปูน ลักษณะศิลปกรรม สมัยรัชกาลที่ ๓ หอไตร ตั้งอยูตรงขามหอระฆังไปทางทิศใต เปนอาคารทรงไทย หนาบันปนลายปดทอง ประดับ กระจก เขาพระฉาย พระฉายสรางบนเขามอ ตั้งอยูดานทิศตะวันออกเฉียงใต ริมคลองวัดราชนัดดาราม เปนรูป ปูนปนนูนสูงองคพระสัมมาสัมพุทธเจาและพระสาวก นอกเขตวัดดานทิศเหนือเปนลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร ประดิษฐานพระบรมราชานุ สาวรีย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สําหรับตอนรับพระราชอาคันตุกะ ซึ่งเปนพลับพลาโถงจัตุร มุขหลังคาลด ๒ ชั้น มีพาไลปกนกโดยรอบ ทางทิศใตของพลับพลาประกอบดวยศาลาสําหรับเฝาฯ รับเสด็จฯ มีลักษณะเปนศาลาโถง จํานวน ๓ หลัง พื้นลานปลูกไมดอกไมประดับ จัดใหเปนที่นั่งพัก ผอนของประชาชน 3_edit.indd 38 20-Feb-13 11:22:55 PM


๓๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) โลหะปราสาท โลหะปราสาทเปนศาสนสถานสําคัญในวัดราชนัดดารามวรวิหาร โลหะปราสาทหมายถึง คฤหาสนที่มียอดเปนโลหะ นับเปนโลหะปราสาทแหงที่ ๓ ของโลกที่ยังคงสมบูรณที่สุด และเหลือ อยูเพียงแหงเดียวในโลก โดยที่โลหะปราสาทแหงแรกในประเทศอินเดีย และแหงที่สองในประเทศ ศรีลังกา ไดถูกทําลายสูญสิ้นไปแลว โลหะปราสาทหลังที่ ๑ สรางโดยนางวิสาขาบุตรีธนัญชัย เศรษฐีแหงเมืองสาวัตถี โดยการ ประมูลราคาเครื่องประดับของตนชื่อ “มหาลดาประสาธน”เปน ๙ โกฏิ ๑ แสน แลวนําเงินสรางที่ อยูใหพระสงฆ มีลักษณะเปนปราสาท ๒ ชั้น ๑,๐๐๐ หอง หลังคามุงดวยแผนทองแดง ผนังเปนไม ประดับหินมีคาและงาชาง ปจจุบันเหลือแตซากปราสาท ซึ่งประกอบดวยเสาหินประมาณ ๑,๖๐๐ ตน โลหะปราสาทวัดราชนัดดารามวรวิหาร ซึ่งเปนโลหะปราสาทหลังที่ ๓ นี้ สรางในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวอันเปนยุคที่การคาพาณิชยเฟองฟู มีการติดตอคาขายกับ ประเทศตางๆ มากมายจนไดรับการกลาวขานสมญานามของพระองคทานวา “King of Comm erce”ชาวตางประเทศไดกลาวขานเลาลือถึงความวิจิตรของวัด โบสถ โบราณสถานของชาติตางๆ โดยเฉพาะโลหะปราสาทของประเทศลังกา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงอิ่มเอิบพระ ราชหฤทัยที่ไดทรงรับขาว ในพุทธศักราช ๒๓๘๙ จึงโปรดใหชางออกแบบกอสรางตามลักษณะของ โลหะปราสาทที่พรรณนาไวในหนังสือมหาวงศพงศาวดารลังกา ซึ่งพระเจาทุฏฐคามนีอภัย กษัตริย ลังกาทรงสรางไวเมื่อพุทธศักราช ๓๘๗ ในพุทธศักราช ๒๓๙๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจา อยูหัวจึงทรงโปรดกระหมอมใหสรางโลหะปราสาทขึ้นที่วัดราชนัดดารามวรวิหาร การสรางโลหะ 3_edit.indd 39 20-Feb-13 11:23:02 PM


๔๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ปราสาทของพระองคนี้เปนการสรางแทนการสรางเจดียดังเชนพระอารามอื่นๆ โดยทรงมอบหมาย ใหสมเด็จเจาพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) ขณะยังเปนพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา ดํารงตําแหนงอธิบดี กอสรางวาชางสิบหมูและชางศิลา เปนแมกองดําเนินการกอสราง การออกแบบ กอนกอสรางไดเลาขานกันวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดใหชางเดินทางไปดูแบบ โลหะปราสาท ณ ลังกา ประเทศโดยนําเคาเดิมมาเปนแบบแลวปรับปรุงใหเปนสถาปตยกรรมตาม ลักษณะศิลปกรรมของไทย” โลหะปราสาทสรางตามลักษณะสถาปตยกรรมไทย ฐานกวางดานละ ๒๓ วา เปนอาคาร ๗ ชั้น ลดหลั่นกัน อาคารชั้นลางชั้นที่ ๓ และชั้นที่ ๕ ทําเปนคูหาและระเบียงรอบ ในชั้นที่ ๒ ชั้นที่ ๔ ชั้นที่ ๖ ทําเปนคูหาจัตุรมุข มียอดเปนบุษบกชั้นละ ๑๒ ยอด และชั้นที่ ๗ เปนยอดปราสาทจัตุร มุขสําหรับประดิษฐานพระบรมธาตุ รวมเปน ๓๗ ยอด หมายถึงหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ๓๗ ประการ ที่เปนปจจัยใหดําเนินไปสูความหลุดพนเขาสูดินแดนพระนิพพาน ที่เรียกวา “โพธิปกขิย ธรรม ๓๗ ประการ”การขึ้นสูโลหะปราสาทแตละชั้นจะมีบันไดวนตั้งอยูตรงใจกลางของอาคาร โดย ตั้งซุงขนาดใหญยึดเปนแมบันได การสรางโลหะปราสาทดําเนินการในพุทธศักราช ๒๓๙๔ นับเวลาจากปที่เริ่มกอสรางวัดราช นัดดารามวรวิหารได ๕ ป งานลุลวงไปเพียงโครงกออิฐสลับศิลาแลง และยังมิไดถือปูนเปนสวน ใหญ ความงดงามขึ้นอยูกับการประดับตกแตง ซึ่งเปนรายละเอียดที่จะตองใชเวลาและฝมืออีกมาก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวก็เสด็จสวรรคต งานกอสรางสวนใหญจึงยังไมสําเร็จสมบูรณ โลหะปราสาทไดรับการบูรณปฏิสังขรณตามกําลังของเจาอาวาสในยุคหลังบาง แตเสร็จ สมบูรณในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช โดยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต นายก รัฐมนตรีในขณะนั้นไดมอบหมายใหกรมโยธาเทศบาลดําเนินการบูรณปฏิสังขรณระหวางพุทธศักราช ๒๕๐๖-๒๕๑๕ จนมีรูปรางเหมือนปจจุบัน เมื่อครั้งสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป ในพุทธศักราช ๒๕๒๕ คณะกรรมการโครงการกรุงรัตนโกสินทรไดมีมติใหกําหนดเปนนโยบายในการปรับปรุงสิ่ง แวดลอมในบริเวณถนนราชดําเนินกลาง โดยใหรื้อโรงภาพยนตรศาลาเฉลิมไทยซึ่งสรางบดบังโลหะ ปราสาท ทําใหโลหะปราสาทไดเปนที่ประจักษสูสายตาของชาวโลกอยางชัดเจนและสงางามยิ่ง ในพุทธศักราช ๒๕๒๕ ครั้งเมื่อมีการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป คณะกรรมการกรุง รัตนโกสินทร กําหนดนโยบายใหปรับปรุงสิ่งแวดลอมในบริเวณถนนราชดําเนินกลาง และตอมาได มีการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวครบ ๒๐๐ ป วันพระบรมราช สมภพเมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๓๐ รัฐบาลไดสรางพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว และพลับพลา มหาเจษฎาบดินทร เปนสิ่งอนุสรณเฉลิมพระเกียรตินอมเกลานอมกระหมอมถวายเปนราชสักกา ระ มีการรื้อถอนโรงภาพยนตรศาลาเฉลิมไทยที่บดบังโลหะปราสาทอยูเปนเวลานานออก ในวาระ นี้กระทรวงศึกษาธิการพิจารณาเห็นวา ถาไดบูรณปฏิสังขรณโลหะปราสาทใหงดงาม โลหะปราสาท จะปรากฏเดนเปนศรีสงาแหงพระนครอยูทามกลางสถาปตยกรรมไทยของวัดราชนัดดารามวรวิหาร 3_edit.indd 40 20-Feb-13 11:23:07 PM


๔๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สมควรสรางบุษบกประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งจะทําใหโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวสมบูรณยิ่งขึ้น จึงมอบหมายใหกรมศิลปากรบูรณปฏิสังขรณโลหะ ปราสาท และสรางบุษบกโลหะปดทอง ณ มณฑปชั้นยอดสูงสุดของโลหะปราสาท ซึ่งเปนบุษบก เพียงองคเดียวที่เปนโลหะปดทอง สวนองคอื่นๆ ทําดวยไมปดทอง การสรางบุษบกเริ่มดําเนินการ มาตั้งแตพุทธศักราช ๒๕๓๔ แลวเสร็จในพุทธศักราช ๒๕๓๖ โดยมีธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) และบริษัทอเมริกัน เอกซเพรส (ไทย) จํากัด ใหความอุปถัมภการสรางถวายเปนพุทธบูชา เนื่องในวโรกาสมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป กระทรวงศึกษาธิการไดกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุจากพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว และกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพระราชพิธีบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลาโปรดกระหมอมพระราชทานตามคํากราบ บังคมทูล พระราชพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุประดิษฐาน ณ พระเจดียบุษบกโลหะปราสาท วัด ราชนัดดารามวรวิหารนี้นับเปนพระราชพิธีแรกที่ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในมหามงคลสมัย ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป ในการนี้ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ไดนอมถวาย พระบรมสารีริกธาตุแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อประดิษฐาน ณ พระเจดียบุษบกโลหะ ปราสาทโดยในวันอังคารที่ ๑๔ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๓๘ เวลา ๗ นาฬกาสมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายกโปรดประทานพระบรมสารีริกธาตุ และประกอบ พิธีบรรจุลงในผอบทองคํา แกว เงินและทองแดง จากนั้นเจาหนาที่สํานักพระราชวังอัญเชิญโดยรถ พระประเทียบ นํามาประดิษฐานไวบนธรรมาสนศิลา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เวลา ๑๖ นาฬกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรด กระหมอมใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จ พระราชดําเนินแทนพระองคพระราชทานพระบรมสารีริกธาตุเพื่ออัญเชิญไปประดิษฐาน ณ พระ เจดียบุษบกโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินถึงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามแลว ทรงจุดเทียนรุง ธูปเทียน เครื่องนมัสการบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ประทับพระเกาอี้ขางพระราชอาสน ทรงบําเพ็ญ พระราชกุศลมาฆบูชาแลว เจาหนาที่อาราธนาพระปริตร พระสงฆ ๓๐ รูป เจริญพระพุทธมนต จบ แลว สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินไปทรงโปรยดอกมะลิ ๑,๒๕๐ ดอก ที่พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งประดิษฐาน ณ ธรรมาสนศิลา แลวทรงจุดธูปเทียนเครื่อง ทรงธรรมที่หนาพระราชอาสนประทับพระเกาอี้เดิม เจาหนาที่อาราธนาศีลและอาราธนาธรรม พระ ราชาคณะถวายศีล และถวายพระธรรมเทศนากัณฑ ๑ แลว สมเสด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมารทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆถวายอนุโมทนา ทรงประเคนจตุปจจัยไทยธรรม บูชา กัณฑเทศน และประทับยืนประเคนใบปวารณาแดพระสงฆที่เจริญพระพุทธมนตแลวประทับพระ เกาอี้เดิม พระราชาคณะถวายอดิเรก จบแลว สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สรงนํ้าดวยพระมหาสังข และทรงเจิมที่พระบรมสารีริกธาตุแลว พระราชทานใหรัฐมนตรีชวยวาการ 3_edit.indd 41 20-Feb-13 11:23:12 PM


๔๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) กระทรวงศึกษาธิการอัญเชิญไปยังพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เพื่อ เตรียมการอัญเชิญประดิษฐาน ณ โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร ตอไป ระหวางนั้นพระ สงฆเจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานประโคม จบแลว ทรงกราบที่หนาเครื่องนมัสการ ทรงรับความ เคารพจากผูมาเฝาฯ ออกจากพระอุโบสถ เสด็จพระราชดําเนินกลับเวลา ๑๗ นาฬกา ๒๖ นาที รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นเสลี่ยงไปประดิษฐาน บนบุษบกราชรถ ซึ่งเจาหนาที่กรมศิลปากรและสํานักพระราชวังจัดตั้งกระบวนราชอิสริยยศแหเชิญ พระบรมสารีริกธาตุไวพรอมแลว เคลื่อนจากถนนสนามไชยไปตามถนนราชดําเนิน เลี้ยวเขาถนน มหาไชยถึงหนาวัดราชนัดดารามวรวิหาร รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ อัญเชิญพระบรม สารีริกธาตุประดิษฐานยังแทนหนาพระประธานในพระอุโบสถวัดราชนัดดารามวรวิหาร เวลา ๑๙ นาฬกา ๓๐ นาที นักเรียนวิทยาลัยนาฏศิลปกรุงเทพฯ แสดงระบําธรรมจักรสมโภช วันจันทรที่ ๒๗ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๓๘ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จ พระราชดําเนินมาทรงประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ณ พระเจดียบุษบกโลหะปราสาท เวลา ๑๖ นาฬกา ๔๒ นาที เสด็จพระราชดําเนินถึงลานพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองนอยถวายราชสักการะพระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว แลวเสด็จพระราชดําเนินเขาสูพลับพลามหาเจษฎาบดินทร ทรงจุดธูปเทียน เครื่องนมัสการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูปปางประจํารัชกาลที่ ๓ ทรงกราบ รับการ ถวายความเคารพจากผูมาเฝาฯ ประทับพระราชอาสน แลวทรงศีล สมเด็จพระญาณสังวร สมเสด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก ถวายศีล จบแลว นายชวน หลีกภัยนายกรัฐมนตรี กราบบังคม ทูลรายงานการบูรณปฏิสังขรณพุทธเจดียโลหะปราสาท และขอพระราชทานเสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงประกอบพระราชพิธีอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นประดิษฐาน ณ พระเจดียบุษบกโลหะ ปราสาท จบแลวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมใหเจาหนาที่เชิญพระบรมสารีริกธาตุไป ยังบุษบกที่จะเชิญขึ้นสูโลหะปราสาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินไปทรง สุหรายสรงพระบรมสารีริกธาตุและถวายพวงมาลัย แลวเสด็จพระราชดําเนินไปยังแทนวางสาย สูตร ทรงถือสายสูตรอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นสูพระเจดียบุษบกโลหะปราสาท ขณะนั้นพระ สงฆเจริญชัยมงคลคาถา ชาวพนักงานประโคมฆองชัย สังข แตร ดุริยางค จบแลวพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวเสด็จพระราชดําเนินกลับเขาพลับพลามหาเจษฎาบดินทร ทรงประเคนจตุปจจัย ไทยธรรม ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก รัฐมนตรีวาการกระทรวง ศึกษาธิการ กราบบังคมทูลเบิกผูบริจาคทรัพยสรางบุษบกเขาเฝาฯ รับพระราชทานโลเกียรติคุณ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและอธิบดีกรมศิลปากร ทูลเกลาทูลกระหมอมถวายหนังสือที่ระลึก จาก นั้นพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงจุดเทียนชนวนพระราชทานผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อจุดดอกไมเพลิงถวายเปนพุทธบูชา เวียนเทียนสมโภชพระบรมสารีริกธาตุและพระเจดียบุษบก โลหะปราสาท แลวเสด็จพระราชดําเนินไปทรงกราบที่หนาเครื่องนมัสการและทรงลาพระสงฆ เสด็จพระราชดําเนินกลับเมื่อเวลา ๑๗ นาฬกา ๒๐ นาที จากนั้นขาราชการที่มารวมงานเวียนเทียน สมโภชพระบรมสารีริกธาตุ 3_edit.indd 42 20-Feb-13 11:23:17 PM


๔๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปวา “วัดโพธิ์”เปนพระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู ณ เลขที่ ๒ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร อยูทางใต ของพระบรมมหาราชวัง ถือวาเปนวัดประจํารัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรี บรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เดิมเรียกวา วัดโพธาราม เปนวัดโบราณสรางตั้งแตกรุง ศรีอยุธยาเปนราชธานี ไมปรากฏประวัติการสรางเนื่องจากไมปรากฏในแผนที่ปอมบางกอก ซึ่งมอง ซิเออรวอลลันด เดสเวอรเกนส นายทหารชางชาวฝรั่งเศสเขียนแผนที่ปอมบางกอกที่สรางใหมใน รัชกาลสมเด็จพระนารายณมหาราช วัดที่ปรากฏในแผนที่ดังกลาวมานั้นมี ๒ วัด คือวัดเลียบ (วัด ราชบูรณะ) และวัดแจง (วัดอรุณราชวราราม) สวนบริเวณอันเปนที่ตั้งของวัดพระเชตุพน เปนเขต ชานปอมบางกอกฟากตะวันออก วัดพระเชตุพนจึงนาจะสรางหลังจากปพุทธศักราช ๒๒๓๑ อัน เปนปซึ่งเขียนแผนที่ ในพุทธศักราช ๒๓๑๑ เมื่อสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ทรงสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเปนราชธานี โดยกําหนดเขตทั้งสองฝงแมนํ้าเจาพระยาเอาแมนํ้าไวกลางพระนครนั้น วัดพระเชตุพนหรือวัด โพธารามตั้งอยูในเขตกําแพงพระนครฝงตะวันออก จึงไดรับการบูรณปฏิสังขรณยกฐานะขึ้นเปน พระอารามหลวง และมีพระราชาคณะปกครองตลอดสมัยกรุงธนบุรี 3_edit.indd 43 20-Feb-13 11:23:23 PM


๔๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในรัชกาล พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬา โลก เมื่อบานเมืองเปนปกแผนมั่นคงและวางจากราชการสงครามแลว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณวัดโพธารามขึ้นใหมทั้งพระอารามในพุทธศักราช ๒๓๓๑ ทรงสรางพระอุโบสถ พระ ระเบียง พระวิหาร ตลอดจนสิ่งกอสรางที่จําเปนอื่นๆ สําหรับพระอาราม สวนสิ่งที่มีอยูเดิมก็โปรด ใหบูรณะไว เมื่อสรางถาวรวัตถุแลวโปรดใหอัญเชิญพระพุทธรูปจากวัดรางตามหัวเมืองตางๆ มา ประดิษฐานเปนประธานในพระอุโบสถ พระวิหารทิศและพระระเบียงชั้นนอกชั้นใน เขียนเรื่อง พระชาดกหารอยหาสิบพระชาติ ตํารายา และฤาษีดัดตน ไวเปนวิทยาทานที่ศาลาราย ครั้น บูรณปฏิสังขรณเสร็จ โปรดใหจัดงานฉลองในพุทธศักราช ๒๓๔๔ แลวพระราชทานนามวา “วัด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม” พุทธศักราช ๒๓๗๕ – ๒๓๙๑ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาธิบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณ โดยกําหนดใหพระบรม วงศานุวงศและขาทูลละอองธุลีพระบาท แบงปนกันรับผิดชอบคนละสวน การบูรณะครั้งนี้เทากับ สถาปนาใหม เนื่องจากสิ่งใดชํารุดทรุดโทรมมากก็รื้อสรางใหมบาง ซอมแกไขใหงามขึ้นบาง ขยาย รูปทรงบาง ตลอดจนสรางขึ้นใหม สวนกุฏิสงฆนั้นใหสรางใหมเปนตึกทั้งสิ้น นอกจากนี้ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหจารึกสรรพตําราตางๆ ๘ หมวด ลงแผนหินออนประดับไวตามศาลาราย เพื่อ เผยแพรความรูแกประชาชน ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณบางสวน และแกสรอยพระนามพระอารามเปน “วัด พระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร” อนึ่ง ไดทรงริเริ่มพระราชประเพณีอันเนื่องดวยวัดพระเชตุพนอยางหนึ่ง คือ ประเพณีการเสด็จ พระราชดําเนินเลียบพระนครทางสถลมารค เดิมไมมีประเพณีที่พระมหากษัตริยจะตองเสด็จไปยัง วัดพระเชตุพนกอน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนพระ มหากษัตริยพระองคแรกที่เสด็จไปทรงนมัสการพระพุทธเทวปฏิมากร พระประธานในพระอุโบสถ วัดพระเชตุพนและทรงบําเพ็ญพระราชกุศล จากนั้นจึงเสด็จเขาพระบรมมหาราชวัง รัชกาลตอมา จึงถือเปนพระราชประเพณีวา เมื่อเสด็จพระราชดําเนินเลียบพระนครโดยทางสถลมารค จะเสด็จ ไปประทับทรงนมัสการพระพุทธเทวปฏิมากร ณ พระอุโบสถวัดพระเชตุพน ดวย 3_edit.indd 44 20-Feb-13 11:23:32 PM


๔๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สิ่งสําคัญในพระอาราม พระอุโบสถ ภายในประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร เปนพระประธานซึ่งพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โปรดใหอัญเชิญมาจากวัดคูหาสวรรค (วัด ศาลาสี่หนา) ธนบุรี ใตฐานชุกชีประดิษฐานพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินมหา จักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เสาภายในทุกตนมีลายเขียนสี และมีภาพจิตรกรรมที่ฝา ผนัง ซุมประตูหนาตางเปนซุมมงกุฎ บานประตูดานนอกประดับมุกเปนภาพรามเกียรติ์ ดานในเขียน ลายรดนํ้าเปนภาพพัดพระราชาคณะฐานานุกรมเปรียญฝายอรัญวาสีคามวาสีทั้งในกรุงและหัวเมือง บานหนาตางดานนอกแกะสลักปดทองประดับกระจก ภายในเขียนลายรดนํ้า เปนตราเจาคณะสงฆ กําแพงระเบียงพระอุโบสถเปนหินออนมีภาพสลักรามเกียรติ์อันมีชื่อ พระวิหารทั้งสี่ พระวิหารทิศตะวันออกมุขหลังชั้นใน ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปางหามสมุทร สูง ๒๐ ศอก พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โปรด ใหอัญเชิญมาจากวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมมีนามวา “พระโลกนาถ ศาสดาจารย”ตอมาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทาน นามวา “พระพุทธโลกนาถ ราชมหาสมมตวงศ องคอนันตญานสัพพัญู สยัมภูพุทธบพิตร”ที่ ผนังวิหารมีภาพจิตรกรรม 3_edit.indd 45 20-Feb-13 11:23:39 PM


๔๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระวิหารทิศตะวันออก ชั้นนอก ประดิษฐานพระพุทธรูปหลอดวยนาคปางมารวิชัย อัญเชิญ มาจากวัดเขาอิน อําเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย เดิมพระราชทานนามวา “พระเจาตรัสในควง ไมพระมหาโพธิ์” เพราะมีตนโพธิ์ประกอบ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลา เจาอยูหัว พระราชทานนามใหมวา “พระพุทธมารวิชัยอภัยปรปกษ อัครพฤกษโพธิภิรมณอภิสม พุทธบพิตร” มีภาพจิตรกรรมที่ผนังวิหาร พระวิหารทิศใต ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย อัญเชิญมาจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพระปญจวัคคียนั่งสดับพระธรรมเทศนาประกอบ เดิมพระราชทานนามวา “พระพุทธเจาเทศนา พระธรรมจักร” พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทานนาม ใหมวา “พระพุทธชินราช วโรวาทธรรมจักรอัครปฐมเทศนา นราศภบพิตร” ที่ผนังพระวิหารมี ภาพจิตรกรรม พระวิหารทิศตะวันตก ประดิษฐานพระพุทธรูปมารวิชัย มีนาคปรก อัญเชิญมาจากลพบุรี เดิม พระราชทานนามวา “พระนาคปรก” พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจา อยูหัว พระราชทานนามวา “พระพุทธชินสีหมุนีนาถ อุรคอาสนบรรลังก อุทธังทิศภาคย นาคปรก ดิลกภพบพิตร”ที่ผนังวิหารมีภาพจิตรกรรม พระวิหารทิศเหนือ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปาเลไลยหลอใหม เดิมพระราชทานนามวา “พระปาเลไลย” พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทาน นามวา “พระพุทธปาลิไลย ภิรัติไตรวิเวก เอกจาริกสมาจาร วิมุตติญาณบพิตร” พระพุทธรูปในพระวิหารทั้ง ๔ ทิศ 3_edit.indd 46 20-Feb-13 11:23:46 PM


๔๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ศาลาการเปรียญ เปนอาคารทรงไทย หลังคามุงกระเบื้อง มีชอฟาใบระกา หนาบันปดทองประดับกระจกเดิม พื้นเปนไม ในรัชกาลที่ ๓ เปลี่ยนเปนปูศิลาตอเฉลียงรอบมีเสาราย ตอมาไดรับการปฏิสังขรณอีกใน รัชกาลที่ ๖ และรัชกาลที่ ๗ พระพุทธรูปประธานในศาลาการเปรียญเปนพระพุทธรูปประธานของ พระอุโบสถเกาครั้งยังเปนวัดโพธาราม เปนพระพุทธรูปหลอปางสมาธิ ถึงรัชกาลที่ ๔ พระราชทาน นามวา “พระพุทธศาสดา มหากรุณาธิคุณ สุมทรธรรมทาน บุราณสุคตบพิตร” พระมณฑป คือหอพระไตรปฎก เดิมในรัชกาลที่ ๑ เปนเครื่องไมทั้งหลัง หลังคามุงกระเบื้องหุมดีบุก ฝาและเสามีลายรดนํ้า ภายในมีตูพระธรรม เปนตูยอดมงกุฎ จัตุรมุขปดทองประดับกระจก ตอมาชํารุดมาก พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎา ธิบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงโปรดใหรื้อสรางใหม เปนมณฑปกออิฐถือปูนจัตุรมุขยอดทรง มงกุฎประดับกระเบื้องเคลือบและกระเบื้องถวยสลับสี ซุมประตูหนาตางเปนลายปูนปนปดทอง บานประตูหนาตางเปนลายรดนํ้า มีกําแพงแกวกรุกระเบื้องปรุเคลือบโดยรอบ ศาลาการเปรียญ 3_edit.indd 47 20-Feb-13 11:23:54 PM


๔๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วิหารพระพุทธไสยาสน สรางในรัชกาลที่ ๓ เปนอาคารทรงไทยกออิฐถือปูน หลังคาลด ๓ ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบ มีชอฟาใบระกาหางหงส หนาบันปดทองประดับกระจก มีระเบียงเดินไดรอบพระวิหาร ซุมประตู หนาตางเปนลายปูนปนปดทองทรงมงกุฎ ภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน เปนพระพุทธรูปปูน ปน พื้นพระบาทประดับมุกเปนภาพมงคล ๑๐๘ ประการ ผนังพระวิหารมีภาพจิตรกรรมที่เพดาน และเสาเปนลายทองบนพื้นแดง พระปรางคมหาธาตุ ๔ องค อยูภายในวงพระระเบียง สรางในรัชกาลที่ ๑ ตอมารัชกาลที่ ๓ กอเสริมใหสูงกวาเดิมองค ละ ๓ ศอก และประดับศิลาใหม และมีการบูรณะซอมแซมตอมาหลายครั้ง พระมหาเจดียประจํารัชกาล ๔ องค พระมหาเจดียทั้ง ๔ นี้สรางตางรัชกาลกัน องคแรกนามวา “พระมหาเจดียศรีสรรเพชดา ญาณ”พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โปรด ใหสรางครอบพระศรีสรรเพชญ พระพุทธรูปยืนซึ่งชะลอมาจากวัดพระศรีสรรเพชญ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุดวย พระเจดียสูง ๘๒ ศอก ลักษณะเปนพระ เจดียเหลี่ยมยอไมสิบสอง ประดับดวยกระเบื้องเคลือบสีเขียว ถือวาเปนเจดียประจํารัชกาลที่ ๑ พระวิหารพระพุทธไสยาสน 3_edit.indd 48 20-Feb-13 11:24:01 PM


Click to View FlipBook Version