The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by larpsetthi, 2023-03-16 18:48:49

รัชกาลที่3

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

๔๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในพุทธศักราช ๒๓๗๕ เมื่อพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระ นั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดใหบูรณปฏิสังขรณวัดพระเชตุพนทั้งพระอาราม ไดโปรดใหสรางพระมหา เจดียขึ้นอีก ๒ องค คือองคทางเหนือและใต ขนาดสูงเทากับพระมหาเจดียศรีสรรเพชดาญาณ ทรงพระราชอุทิศถวายพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาอิศรสุนทร พระพุทธเลิศหลา นภาลัย สมเด็จพระบรมชนกนาถองคหนึ่ง คือองคที่ประดับดวยกระเบื้องสีขาว ภายหลังพระบาท สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัวพระราชทานนามวา “พระมหาเจดียดิลก ธรรมกรกนิทาน”สวนอีกองคหนึ่งเปนสวนของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฏา บดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ประดับดวยกระเบื้องสีเหลือง ไดรับพระราชทานนามในรัชกาลที่ ๔ วา “พระมหาเจดียมุนีบัตบริขาร” ประมาณพุทธศักราช ๒๔๐๐ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจา อยูหัว โปรดใหสรางพระมหาเจดียประจํารัชกาลที่ ๔ ขึ้นในวัดพระเชตุพนอีกองคหนึ่งทางตะวัน ตกของพระมหาเจดียรัชกาลที่ ๑ โดยถายแบบมาจากพระเจดียวัดสวนหลวงสบสวรรค จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีลักษณะเปนพระเจดียเหลี่ยมยอไมสิบสองมีซุมจระนําประดับกระเบื้องสีขาบ หรือสีนํ้าเงินเขม พระมหาเจดียองคนี้สรางเสร็จในรัชกาลที่ ๕ และเพื่อปองกันมิใหรัชกาลตอมาสราง เจดียประจําพระองคซึ่งจะทําใหวัดพระเชตุพนคับแคบไป จึงมีพระราชดํารัสไวกอนสวรรคต หามมิ ใหสรางเจดียประจํารัชกาลอีก สวนพระมหาเจดีย ๔ องคนั้นทรงเคยเห็นกันทุกพระองค ฉะนั้นจึง ควรมีพระมหาเจดียอยูดวยกัน เจดียประจํารัชกาลที่ ๑-๔ 3_edit.indd 49 20-Feb-13 11:24:08 PM


๕๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระระเบียง พระระเบียงทั้งชั้นนอกและชั้นในสรางในรัชกาลที่ ๑ ตอมาไดรับการบูรณะแกไขเพิ่มเติมใน รัชกาลที่ ๓ คือเสริมผนังพระระเบียงชั้นในใหสูงกวาเดิม ๒ ศอก สวนชั้นนอกคงตามของเดิม ตอ มาในรัชกาลที่ ๕ ไดรื้อผนังสายบัวซึ่งประดับกระเบื้องปรุของพระระเบียงทั้ง ๒ ชั้นทั้งหมดถือปูน ใหม ผนังระเบียงดานในทานํ้าปูนสีเหลือง พระระเบียงดานนอกทานํ้าปูนสีขาว นอกจากนี้ไดบูรณะ หลังคา เพดาน เสา พื้น ซุมประตูและเขียนลายบานประตูใหม ภายในพระระเบียงทั้ง ๒ ชั้น ประดิษฐานพระพุทธรูป ซึ่งพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรี สินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก โปรดใหอัญเชิญมาจากหัวเมืองตางๆ แลวนํามา บูรณะใหม ในรัชกาลที่ ๓ ไดทําฐานชุกชีพระพุทธรูปใหม พระพุทธรูปในพระระเบียงชั้นในมีทั้งสิ้น ๑๕๔ องค ในพระระเบียงชั้นนอก ๒๔๔ องค พระวิหารคด ๔ หลัง สรางในรัชกาลที่ ๑ ในรัชกาลที่ ๓ บูรณะตามแบบเดิม แตผนังดานบนเจาะชองใหแสงสวาง เขา ประดับกระเบื้องปรุทั้ง ๔ หลัง พระวิหารนอย เดิมในรัชกาลที่ ๑ ตั้งตามแนวกําแพง ในรัชกาลที่ ๓ ชํารุด รื้อสรางใหมตามแนวกําแพงคั่น กลางวัดทั้ง ๒ หลัง 3_edit.indd 50 20-Feb-13 11:24:16 PM


๕๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระเจดียหมูละ ๕ องคบนฐานเดียว พระเจดียเหลานี้เปนพระเจดียเหลี่ยมยอมุมประดับกระเบื้องทั้งสิ้น มีทั้งหมด ๔ หมู รวม ๒๐ องค เจดียองคกลางของแตละหมูจะมีขนาดใหญกวาอีก ๔ องคที่อยูรายรอบ ทั้ง ๔ หมูนี้ตั้งอยูนอก พระระเบียง เดิมในรัชกาลที่ ๑ ไมมีกําแพงแกว ตอมารัชกาลที่ ๓ โปรดใหทํากําแพงแกวประดับ กระเบื้องปรุบนฐานทักษิณ ประดับกระเบื้องที่องคเจดียและประดับศิลาที่ฐานใหม พระเจดียราย ๗๑ องค อยูรอบนอกพระระเบียง เปนเจดียเหลี่ยมยอมุมไมสิบสองทั้งสิ้น องคเจดียประดับดวย กระเบื้อง ฐานประดับดวยศิลา สรางในรัชกาลที่ ๓ ศาลาราย สรางในรัชกาลที่ ๑ ไมมีเฉลียงและชั้นลด ถึงรัชกาลที่ ๓ โปรดใหรื้อสรางใหม ใหมีเฉลียง และชั้นลดทุกหลัง กําแพงและซุมประตู กําแพงและซุมประตูวัดพระเชตุพน เปนสิ่งกอสรางที่มีลักษณะทางศิลปกรรมที่นาสนใจมาก กําแพงและซุมประตูรอบพระอาราม มีซุมประตู ๑๖ ซุม เปนซุมประตูปนทรงมงกุฎประดับ ดวยกระเบื้องถวยสีตางๆ เดิมมี ๑๓ ประตู ในรัชกาลที่ ๓ รื้อสรางใหมและทําเพิ่มอีก ๓ ประตู กําแพงคั่นกลางวัดและซุมประตู เดิมในรัชกาลที่ ๑ ทําซุมประตูเปนซุมยอด ตอมาพระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดใหซอมแปลงเปนซุม ทรงฝรั่ง ประดับดวยกระเบื้องเคลือบ 3_edit.indd 51 20-Feb-13 11:24:23 PM


๕๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) กําแพงเชื่อมศาลารอบพระมณฑปหรือวิหารยอด สรางในรัชกาลที่ ๓ เมื่อสรางพระมณฑป นั้น ไดศาลาลอม ๔ หลัง มีกําแพงเชื่อมระหวางศาลา และมีซุมประตูยอดประดับกระเบื้องถวย ๔ ประตู ถึงรัชกาลที่ ๔ ทรงแปลงศาลาหลังตะวันออกเปนวิหารตอกับระเบียงลอมพระมหาเจดียและ รื้อซุมประตูเสีย ๒ ประตู ซุมประตูระหวางศาลา ๒ หลังดานหนาพระมหาเจดีย เปนซุมยอดประดับกระเบื้องถวยทั้ง ๔ ประตู สรางในรัชกาลที่ ๓ ใหมีเฉลียงและชั้นลด แลวทําประตูซุมระหวางศาลาทั้งสองนั้น พระระเบียงรอบพระมหาเจดีย ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เมื่อสรางพระมหาเจดียศรีสรรเพชดาญาณแลว โปรดใหสรางพระระเบียงลอมพระมหาเจดีย ๓ ดาน ถึงรัชกาลที่ ๓ ทรงขยายพระระเบียงนี้ทางทิศเหนือและใตออกไป แลวโปรดใหสรางพระมหาเจดีย ประจํารัชกาลที่ ๒ และรัชกาลที่ ๓ ทางเหนือและใตพระมหาเจดียศรีสรรเพชดาญาณ แกไขรูปทรง ศาลา ๒ หลังทางดานหนา และสรางซุมประตูดังที่กลาวมาแลว ทั้งโปรดใหอัญเชิญพระพุทธรูปยืน จากพระระเบียงที่ลอมพระอุโบสถ นํามาประดิษฐานในพระระเบียงลอมพระมหาเจดียนี้ ตอมาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหสรางพระ มหาเจดียประจํารัชกาลที่ ๔ จึงขยายพระระเบียงออกไปทางตะวันตก แกศาลาลอมพระมณฑปหลัง ตะวันออกเปนวิหาร และรื้อซุมประตูระหวางศาลาเสีย ๒ ประตู รัชกาลตอๆ มา ไมมีการแกไขรูป ทรงอีก พระระเบียงรอบพระมหาเจดียจึงมีลักษณะดังที่ปรากฏในปจจุบัน หอระฆัง มี ๒ หอ อยูทางหนาวิหารพระนอนและศาลาการเปรียญ เดิมมีเฉพาะหลังที่อยูหนาศาลา การเปรียญ หลังที่อยูหนาวิหารพระนอนสรางในรัชกาลที่ ๓ มีลักษณะเปนหอจัตุรมุขยอดทรงเจดีย ประดับดวยกระเบื้องถวยทั้ง ๒ หลัง 3_edit.indd 52 20-Feb-13 11:24:29 PM


๕๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เกง สระนํ้า และสวน ทางดานเหนือพระมณฑปเปนสวนปลูกพันธุไมตางๆ มีเกงจีน ๑ หลัง ผนังภายในมีภาพ จิตรกรรมเรื่องสามกก บริเวณสวนและเกงมีกําแพงลอมรอบ ดานใตพระมณฑปมีสระนํ้า ริมสระมี ภูเขาและตึกทรงฝรั่ง ผนังภายในมีจิตรกรรมเรียกวาฝรั่งสิบสามหาง ปจจุบันลบเลือนแลว กุฏิเสนาสนะ กุฏิเสนาสนะในวัดพระเชตุพนในรัชกาลที่ ๑ สรางดวยเครื่องไมทั้งหมด เมื่อบูรณะพระ อารามในรัชกาลที่ ๓ โปรดใหสรางใหมเปนตึกหลังคาเครื่องไมทรงไทยทั้งหมด ที่สําคัญไดแกกลุม พระตําหนักสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งเปนตึกใหญ ๒ หลังแฝดขนาด ๗ หอง เชื่อมตอกับตึกเล็กขนาด ๓ หอง เมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ พระราชทานเพลิงแลวใหเชิญพระอัฐิมาประดิษฐานไวที่พระตําหนัก พระที่นั่งองคเล็กเปนเรือนฝากระดานมีชอฟาใบระกา ๑ หลัง สรางขึ้นในรัชกาลที่ ๔ และกลุมกุฏิ ซึ่งเปนที่อยูของอธิบดีสงฆวัดพระเชตุพน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางสําหรับ เจานายฝายพระราชวังบวรสถานมงคลที่ทรงผนวชประทับ เครื่องประดับพระอาราม เครื่องประดับพระอารามสวนใหญเปนสิ่งของที่นํามาประดับในรัชกาลที่ ๓ เชน ภูเขา โปรด ใหขนศิลาใหญนอยมาจากภูเขาในสวนขวาในพระบรมมหาราชวัง ตุกตาจีนรูปคน สัตว เสา และ เกงศิลา เปนอับเฉาเรือสําเภาซึ่งบรรจุสินคา เปนตน กรมศิลปากร ไดประกาศขึ้นทะเบียนวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เปนโบราณสถานสําคัญ ของชาติโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๖๖ ตอนที่ ๖๒ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ 3_edit.indd 53 20-Feb-13 11:24:36 PM


๕๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดเทพธิดารามวรวิหาร วัดเทพธิดารามวรวิหาร เดิมชื่อวัดพระยาไกรสวนหลวง เปนพระอารามหลวงชั้นตรีชนิด วรวิหาร ตั้งอยูริมถนนมหาไชย แขวงสําราญราษฎร เขตพระนคร พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทรพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ ทรงสถาปนาในพุทธศักราช ๒๓๗๙ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระราชทานแดสมเด็จพระเจาลูกเธอ พระองคเจาวิลาส พระราชธิดาพระองคใหญผูทรงสิริโฉม ซึ่งทรงพระเมตตาโปรดปรานอยางยิ่ง ดวยรับราชการใกลชิดพระองคมาตลอด และภายหลังทรงสถาปนาขึ้นเปน กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ การกอสรางพระอารามแหงนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ กรม หมื่นภูมินทรภักดี (พระองคเจาชายลดาวัลย) เปนแมกองอํานวยการสรางในตําบลสวนหลวงพระยา ไกร สรางสําเร็จเมื่อพุทธศักราช ๒๓๘๒ พระราชทานนามวา “วัดเทพธิดาราม”เนื่องจากสมเด็จ พระเจาลูกยาเธอ กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพไดทรงบริจาคทุนทรัพยสวนพระองครวมในการกอสราง ดวย พระอารามนี้มีสิ่งกอสรางซึ่งประดับดวยลวดลายเครื่องกระเบื้องเคลือบและตุกตาจีนมาก อันเปนเหตุสืบเนื่องจากความรุงเรืองทางการคาระหวางจีนและไทย 3_edit.indd 54 20-Feb-13 11:24:43 PM


๕๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สิ่งสําคัญในเขตพุทธาวาส พระอุโบสถ ตัวอาคารกออิฐถือปูน พระประธานเปนพระพุทธรูปสลักดวยศิลาสีขาวบริสุทธิ์ประดิษฐานอยู เหนือเวชยันตบุษบก พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยู หัวโปรดใหอัญเชิญไปจากพระบรมมหาราชวัง เรียกนามสามัญวา “หลวงพอขาว”ตอมาพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามมินทราธิราช รัชกาลปจจุบัน ไดพระราชทานนาม วา “พระพุทธเทววิลาส”เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๔ ผนังภายในพระอุโบสถเขียนลายพุมขาวบิณฑ ตามแบบศิลปะสมัยรัชกาลที่ ๓ หลังคาพระอุโบสถเปนแบบไมมีชอฟาใบระกา หนาบันประดับดวย เครื่องกระเบื้องเคลือบจีน บานประตูหนาตางเขียนลายรดนํ้า พระวิหาร มีลักษณะเชนเดียวกับพระอุโบสถ สิ่งสําคัญภายในพระวิหารนอกจากพระประธานยังมีรูป หมูอริยสาวิกา (ภิกษุณี) ซึ่งไดรับเอตทัคคะในฝายภิกษุณีบริษัท หลอดวยดีบุก ประดิษฐานอยูดวย ๕๒ องค สิ่งสําคัญบริเวณสังฆวาส เปนที่ตั้งกุฏิเสนาสนะของพระสงฆ กุฏิในพระอารามนี้แบงเปน ๒ ประเภท คือ สําหรับฝาย คันถธุระและวิปสสนาธุระ กุฏิสําหรับพระสงฆฝายวิปสสนาธุระอยูทายวัด มี ๑๖ หลัง 3_edit.indd 55 20-Feb-13 11:24:52 PM


๕๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ศาลาการเปรียญ เปนอาคารกออิฐถือปูนแบบสถาปตยกรรมจีน ศาลาราย มีทั้งหมด ๑๐ หลัง สรางครอมรอบกําแพงพระอุโบสถ ๘ หลัง ใชไดทั้งดานนอกและดาน ใน เรียกไดวาเปนศาลา ๒ หนา อีก ๒ หลัง อยูบริเวณดานหนาพระวิหาร ศาลาทั้งหมดนี้ใชเปนที่ บําเพ็ญกุศล และเปนสถานศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุสามเณรในปจจุบัน หอไตร มี ๒ หลัง อยูทางทิศเหนือและทิศใต เปนอาคารกออิฐถือปูนใตถุนสูง หลังคามีชอฟาใบระกา หนาบันปดทองหลอชาด เปนที่เก็บรักษาพระไตรปฎก หนังสือพระธรรม คัมภีรตางๆ พระปรางค มีทั้งหมด ๔ องค ตั้งประจําทิศทั้งสี่ของมุมพระอุโบสถ พระปรางคทั้งสี่องคนี้ตั้งอยูบนฐาน ทักษิณสูง ที่ฐานปรางคแตละองคมีรูปทาวจตุโลกบาลคือ ทาวธตรฐ วิรุฬหก วิรูฬปกข และกุเวร ประจํารักษาในทิศทั้งสี่ เครื่องประดับพระอาราม ไดแกตุกตาศิลาจําหลักของจีน มีทั้งที่เปนรูปสัตวและคน ตุกตารูปคนตั้งอยูในบริเวณรอบ พระอุโบสถ มีลักษณะที่นาสนใจ คือ บางตัวมีลักษณะทาทางและการแตงกายแบบจีน บางตัวแตง กายแบบไทย เชน ตุกตาสตรีชาววังนั่งพับเพียบทาวแขนและตุกตาสตรีอุมลูก เปนตน ปจจุบันตุกตา เหลานี้อยูในสภาพคอนขางชํารุดและบางสวนไดถูกขโมยไป สวนตุกตารูปสัตวนั้นไดแกสิงโตจีน ตั้ง อยูที่หนาพระอุโบสถ พระวิหาร และศาลาการเปรียญแหงละ ๑ คู อนุสรณกวีเอก พระศรีสุนทรโวหาร (ภู) หรือรูจักกันในนามวา “สุนทรภู”กวีเอกของกรุงรัตนโกสินทร ได อุปสมบทและจําพรรษาที่พระอารามนี้ ระหวางพุทธศักราช ๒๓๘๒ – ๒๓๘๕ สุนทรภูไดสรางงาน ประพันธไวเปนจํานวนมาก เรื่องที่เกี่ยวของกับวัดเทพธิดารามมากที่สุดคือ “รําพันพิลาป”ทาน ไดพรรณนาใหเห็นลักษณะปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ และความงามของพระอารามในสมัยนั้นอยาง ละเอียด ปจจุบันทางวัดไดอนุรักษกุฏิซึ่งทานเคยจําพรรษาไวในฐานะบานกวี ตั้งชื่อวา “กุฏิสุนทร ภู”และหลอรูปครึ่งตัวของทานเมื่อยังเปนพระภิกษุ ประดิษฐานไวเปนอนุสรณ กรมศิลปากรไดขึ้นทะเบียนวัดเทพธิดารามวรวิหาร เปนโบราณสถานสําคัญของชาติโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๔ ตอนที่ ๑๒๖ วันที่ ๑๓ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ 3_edit.indd 56 20-Feb-13 11:24:56 PM


๕๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร วัดสระเกศ(ราชวรมหาวิหาร) เปนวัดโบราณ จะสรางตั้งแตครั้งใดไมปรากฏ เดิมเรียกชื่อ วาวัดสะแก มามีตํานานเนื่องในพระราชพงศาวดาร เมื่อปขาล จัตวาศก จุลศักราช ๑๑๔๔ พ.ศ. ๒๓๒๕ เมื่อกรุงธนบุรีเกิดจลาจล ในเวลานั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เสด็จดํารงพระยศเปน สมเด็จเจาพระยา มหากษัตริยศึก สมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท เสด็จดํารงพระยศเปน เจาพระยาสุรสีหพิษณวาธิราช เสด็จยกกองทัพไปทําสงครามอยูที่กรุงกัมพูชาทั้ง ๒ พระองค เมื่อ ไดทรงทราบวาเกิดจราจลขึ้นในกรุงธนบุรี จึงเสด็จยกกองทัพกลับมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟาจุฬาโลก เสด็จเขาโขลนทวาร แลประทับสรงมุรธาภิเษกที่วัดสะแก เมื่อ ณ วันเสาร เดือน ๕ แรม ๙ คํ่า ปขาล จัตวาศก จุลศักราช ๑๑๔๔ พ.ศ. ๒๓๒๕ เสด็จจากพลับพลาวัดสะแกโดยกระบวน ทางสถลมารค ไปประทับพลับพลาหนาวัดโพธาราม เสด็จลงเรือพระที่นั่งขามไปยังพระราชวัง กรุงธนบุรี ทรงระงับดับยุคเข็ญในพระนครเรียบรอยแลวเสนาพฤฒามาตยทั้งปวงเชิญเสด็จขึ้นผาน พิภพปราบดาภิเษก ประดิษฐานพระราชวงศ ดํารงรัฐสีมาเปนใหญในสยามประเทศสืบมา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงยายพระนครมาสรางกรุงรัตนโกสินทรขางฝง ตะวันออก เมื่อสรางพระราชวังในพระนครใหม จึงโปรดใหสรางวัดพระศรีรัตนศาสดารามเปนที่ ประดิษฐานพระมหามณีรัตนปฏิมากรแกวมรกต อันเปนสิริสําหรับพระนคร และเมื่อสรางวัดพระ ศรีรัตนศาสดารามนั้น ทรงพระราชดําริวาระฆังที่วัดสะแกเสียงเพราะไมมีระฆังอื่นจะเสมอ สมควร จะเอามาไวในวัดสําคัญสําหรับพระนคร จึงโปรดใหเอาระฆังที่วัดสะแกมาแขวนไวที่หอระฆังวัดพระ ศรีรัตนศาสดาราม สําหรับตียํ่าเชาเย็นมาจนตราบเทาทุกวันนี้ 3_edit.indd 57 20-Feb-13 11:25:03 PM


๕๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ถึงปมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช ๑๑๔๗ พ.ศ. ๒๓๒๘ ในรัชกาลที่ ๑ ขุดครองคูพระนครตั้งแต วัดตีนเลน (คือ วัดบพิตรพิมุข) ขางใต ผานมาในที่วัดสะแก ไปประจบคลองบางลําพูขางเหนือสําเร็จ จึงโปรดใหขุดคลองตอจากคลองคูพระนครขางเหนือวัดสะแก ตรงไปทางตะวันออกอีกคลอง ๑ พระราชทานนามวา คลองมหานาค อยางคลองทํานองเดียวกันกับที่กรุงเกาในครั้งนั้น จึงโปรดให สถาปนาวัดสะแกเปนพระอารามหลวง พระราชทานนามใหมวา วัดสระเกศ สิ่งซึ่งสรางในรัชกาลที่ ๑ คงรูปอยูในเวลานี้แตพระอุโบสถ นอกจากนี้สถาปนาใหมในรัชกาลที่ ๓ มาก จึงทราบไมไดแนวา เมื่อในรัชกาลที่ ๑ จะทรงสรางสิ่งใดบาง ถาจะสันนิษฐาน การเปรียญ ศาลาทานํ้า และหอไตรกุฎี คงสรางครั้งรัชกาลที่ ๑ แตเปนเครื่องไม ถึงประกา ตรีศก จุลศักราช ๑๑๖๓ พ.ศ. ๒๓๔๔ ในรัชกาลที่ ๑ โปรดใหคลองมหานาคตอน ริมวัดสระเกศ แลคลองเดิมขางหนาวัด ใหกวางขวางและทําเปนเกาะหลายเกาะ สําหรับเปนที่ชาว พระนครประชุมเรือแลนนักขัตฤกษในฤดูนํ้า เมื่อการสําเร็จในเดือน ๑๒ ปนั้น โปรดใหมีมหกรรม การฉลองวัดสระเกศ พระราชทานเงินหลวงใหพระราชวงศานุวงศ แลขาราชการฝายหนาใน เลี้ยง พระทั้งวัดตั้งแตตนกัลปพฤกษ ทรงโปรยทาน มีการมหรสพ แลจุดดอกไมไฟทั้งบนบกและในนํ้าแล โปรดใหพระราชวงศานุวงศแตงเรือประพาสรองดอกสรอยสักวา แลบรรเลงเครื่องดุริยดนตรี มีการ มหรสพฉลองวัดครั้งนั้น ๗ วัน ในรัชกาลที่ ๒ จะทรงสถาปนาสิ่งใดในวัดสระเกศบางไมปรากฏ แตวัดสระเกศเปนวัดสําคัญ ขึ้น เมื่อในรัชกาลที่ ๒ ไดเปนที่สถิตของพระวันรัตถึง ๒ องค เมื่อปจอ ฉอศก จุลศักราช ๑๑๗๖ พ.ศ. ๒๓๕๗ โปรดใหสมณะทูต มีพระอาจารยเทพ พระอาจารยดี เปนหัวหนาออกไปลังกาทวีป 3_edit.indd 58 20-Feb-13 11:25:12 PM


๕๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สมณทูตไป ๓ ป ไดตนโพธิ์ลังกาพันธุพระศรีมหาโพธิ์ เมืองอนุราชบุรีมาถวาย ๓ ตน โปรดใหปลูก ไวที่วัดมหาธาตุตน ๑ วัดสระเกศตน ๑ วัดสุทัศนตน ๑ โพธิ์ลังกาตนที่พระราชทานมาปลูกวัดสระ เกศเมื่อรัชกาลที่ ๒ ไดกอฐานปลูกไวขางหนาอุโบสถ ยังปรากฏอยูทุกวันนี้ ถึงรัชกาลที่ ๓ ทรงบูรณะวัดสระเกศทั่วทั้งวัด แตจะลงมือบูรณะตั้งแตปใดไมปรากฏ แตเพราะ การที่ทํามากมายหลายอยาง เห็นจะทําติดตอมาตลอดรัชกาล สิ่งซึ่งบูรณะในรัชกาลที่ ๓ นั้น คือ ๑. พระอุโบสถซอมแซม และเขียนภาพใหม ทําซุมสีมาประดับกระเบื้อง ๒. สรางพระระเบียง และพระเจดียรายรอบพระอุโบสถ ๓. พระวิหารสรางใหมหลัง ๑ กั้นเปนสองหอง หองทางตะวันออกเปนที่ไวพระพุทธรูปยืน องคใหญ ซึ่งอัญเชิญมาวัดวิหารทอง เมืองพิษณุโลก ถวายพระนามวา พระอัษฐารสศรีสุคตทศพล ญาณบพิตร ถือเปนพระพุทธรูปยืนประจําพระนคร เพื่อใหบานเมืองสงบสุขปราศจากสงคราม ให คนในชาติเกิดความสามัคคี และใหประเทศชาติสถิตสถาพรมั่นคง ตราบเทาทุกวันนี้ เรื่องพระพุทธรูป ที่ตั้งในพระวิหารนี้ พระอัษฐารส จะเชิญลงมาจากเมืองพิษณุโลกในคราว เดียวกันกับกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพเชิญพระพุทธชินสีหมาไววัดบวรนิเวศเพราะมาจาก เมืองพิษณุโลกดวยกัน วังหลวงเชิญมาองคหนึ่ง วังหนาเชิญมาองคหนึ่ง วิหารที่วางอยูหองหนึ่งนั้น ไดไปตรวจฐานที่ทําไว เขาใจวาเห็นจะสรางสําหรับตั้งพระศาสดานั้นกลาวกันวาเจาอธิการสงฆองค หนึ่ง ๑ เชิญลงมากอน แรกมาตั้งไวที่วัดบางออยชาง อยูทางแมนํ้าออม แขวงเมืองนนทบุรี ตอมาจะ เปนเมื่อรัชกาลที่ ๒ หรือที่ ๓ ไมแน เมื่อสมเด็จเจาพระยาบรมมหาพิชัยญาติ ปฏิสังขรณวัดประดู คลองบางหลวง เชิญพระศาสดาไปตั้งเปนพระประธานที่วัดประดู เขาใจวาจะเปนในเวลาเมื่อเชิญ พระอัษฐารสลงมาตั้งที่พระวิหารวัดสระเกศ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชดําริ วา พระศาสดาเปนพระสําคัญอยูเมืองพิษณุโลกกอน ควรจะเชิญมาไวพระวิหารวัดสระเกศกับพระ 3_edit.indd 59 20-Feb-13 11:25:19 PM


๖๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) อัษฐารสดวยกัน จึงโปรดใหแกพระวิหารกั้นเปน ๒๐ หอง อยางวิหารพระโลกนาถวัดพระเชตุพน แต ครั้นเมื่อตั้งพระอัษฐารสแลว จึงปรากฏวาที่ตั้งพระกระชั้นประตูนัก แลดูพระไมเห็นไดถนัด จึงโปรด ใหเชิญพระศาสดาไปตั้งในพระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวราราม ซี่งทรงสรางใหม มีที่ยาวแลเห็นไดถนัด พระศาสดาอยูวัดสุทัศนจนในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงโปรดใหเชิญไป ไววัดบวรนิเวศกับพระพุทธชินสีห ดวยทรงพระราชดําริวา เมื่ออยูในเมืองพิษณุโลกเคยอยูในพระ อารามเดียวกัน สันนิษฐานวาเรื่องราวจะเปนมาดังนี้ ที่ตั้งพระในพระวิหารวัดสระเกศจึงวาอยูหอง ๑ จนถึงรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหเชิญพระพุทธรูปหลอ ซึ่ง เปนพระประธานวัดดุสิตในสวนดุสิต ยายมาไวเมื่อสรางพระราชวังสวนดุสิต ยังปรากฏอยูจนทุกวันนี้ ๑. กุฎี แลการเปรียญ เดิมเปนเครื่องไม สรางเปลี่ยนเปนตึกทั้งพระอาราม แตหอไตรซึ่งสราง ในรัชกาลที่ ๑ ลวดลายงาม เปนแตซอมแซมเพิ่มเติม ในรัชกาลที่ ๓ ๒. ศาลาทาวัด แลศาลาตามเกาะ สรางเปนเครื่องกออิฐถือปูน ในรัชกาลที่ ๓ ๓. สรางเมรุปูน สําหรับพระราชทานเพลิงพระศพเจานายแลศพขาราชกาลผูใหญ เมรุปูน ที่วัดสระเกศนี้ สมเด็จเจาพระยาบรมมหาพิชัยญาติ แตยังเปนพระยาศรีพิพัฒน เปนนายงานการ กอสรางทําพรอมเพียงบริบูรณยิ่งกวาเมรุปูนที่วัดอรุณฯ แลวัดสุวรรณาราม มีศาลาสรางรอบเมรุ มี พลับพลา โรงธรรม โรงครัว โรงมหรสพ ตลอดจนพุมกัลปพฤกษ แลระทาจุดดอกไมไฟ ลวนทําดวย การกออิฐถือปูนพรอมเสร็จดูเหมือนจะไมใหตองปลูกอะไรเลยทีเดียว ๔. แตสิ่งสําคัญซึ่งสรางในวัดสระเกศ เมื่อรัชกาลที่ ๓ นั้นคือ ภูเขาทอง มาแตแรกสราง เพราะ เหตุที่อยูใกลคลองมหานาค เหมือนอยางภูเขาทองที่กรุงเกา มีจดหมายเหตุเรื่องสรางภูเขาทองเมื่อ แนวกําแพงเมืองวัดสระเกศ 3_edit.indd 60 20-Feb-13 11:25:27 PM


๖๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในรัชกาลที่ ๓ อยูในหนังสือพระราชพงศาวดาร ที่เจาพระยาทิพากรวงศเรียบเรียง ดังนี้ วัดสระเกศนั้น โปรดใหพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษาฯ (ทัด บุนนาค) เปนแมกอง ทําพระ ปรางคใหญองค ๑ ฐานเปนไมสิบสองดานหนึ่งยาว ๕๐ วา ขุดรากลึกลงไปถึงที่โคลนแลวเอาหลัก แพทั้งตนเปนเข็มหมลงไปจนเต็มที่แลว เอาไมซุงทําเปนฐานและปูเปนตารางแลวเอาศิลาแลงกอขึ้น มาเกือบเสมอดินจึงกอดวยอิฐ ในระหวางองคพระนั้น เอาศิลากอนซึ่งราษฎรเก็บมาขายบรรจุลงไป จนเต็ม การกอขึ้นไปไดถึงขั้นทักษิณที่สอง ศิลาที่บรรจุขางใน กดหนักลงไปจนเละทรุดลงไปถึง ๙ วา อิฐที่กอหุมขางนอกนั้นก็แตกราวรอบไปทั้งองค ของนี้ไมทลายก็เพราะทรุดกลางกดกันลงไป พระยา ศรีพิพัฒนรัตนราชโกษาฯ ใหขุดดินริมฐานพระชัณสูตรดู ก็พบหัวไมและระเบิดขึ้นมาหมดจึงโปรด เกลาฯ ใหขอแรงพระราชวงศานุวงศ และขุนนางขาราชการที่ตามเสด็จพระราชทานพระกฐิน ผูคน ยังพรักพรอมอยู ใหปกเสาหลักแพเปนหลักมั่นกั้นขางนอกใหแนนเปนหลายชั้น กั้นฐานพระปรางค ไมใหดินถีบออกไป สิ้นไมหลักแพหลายพันตน แลวก็จัดการกอแกไขที่ทรุดหนักลงมาอีก ๓ วา เห็น วาจะแกไขไมไดแลว ก็เลิกการนั้นเสีย จึงทําการอื่นตอไป ในรัชกาลที่ ๓ ไดมีงานฉลองวัดสระเกศ เมื่อปเถาะ ตรีศกจุลศักราช ๑๑๙๓ พ.ศ. ๒๓๗๔ ฉลองพรอมกับวัดอื่นซึ่งไดทรงบูรณปฏิสังขรณ รวม ๙ พระอาราม คือ วัดราชโอรส ซึ่งบูรณะมาแต รัชกาลที่ ๒ การสําเร็จบริบูรณในปนั้น พระอารามนอกจากนี้อีก ๘ พระอาราม คือ วัดอรุณ ๑ วัด ราชสิทธิ์ ๑ วัดโมฬโลก ๑ วัดระฆัง ๑ วัดสังขกระจาย ๑วัดพระยาทํา ๑ วัดสุวรรณาราม ๑ วัดสระ เกศ ๑ วัด ๘ วัดนี้ การที่ทรงปฏิสังขรณสําเร็จแลวบาง ยังบาง โปรดใหฉลองพรอมกันทั้ง ๙ พระ อาราม การฉลองครั้งนั้นปรากฏในจดหมายเหตุวา ณ วันอาทิตย เดือนยี่ ขึ้น ๓ คํ่า เสด็จไปถวาย บริเวณวัดสระเกศในอดีต ที่ทิ้งศพ แลวมีแรงมากินซากศพ 3_edit.indd 61 20-Feb-13 11:25:34 PM


๖๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ไตรที่วัดราชโอรส พระสงฆที่จะสวดมนตทั้ง ๙ วัด รวม ๑,๒๐๐ รูป ไปพรอมกันรับพระราชทานไตร แลผากราบตรา รุงขึ้นสวดมนตทุกพระอาราม เชาเลี้ยงพระแลมีเทศนวันละ ๓ กัณฑ เวลาบายทิ้ง นาน แลมีมหรสพทั้งกลางวันกลางคืน คํ่าจุดดอกไมไฟทุกพระอารามทั้ง ๓ วัน เสด็จพระราชดําเนิน โดยกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลดวยพระองคที่วัดราชโอรสฯ ครั้น การฉลองที่วัดเสร็จแลว ถึง ณ วันอังคาร เดือนยี่ แรม ๘ คํ่า ทรงบริจาคพระราชทรัพย ๑,๐๐๐ ชั่ง บําเพ็ญสัตสดกมหาทานเสด็จออกทรงโปรยทานที่พระที่นั่งสุทไธสวรรย แลใหตั้งตนกัลปพฤกษ ๑๐ ตน รายตั้งแตศาลาคูวังหนาลงมาจนทายวัดพระเชตุพน โปรดใหพระเจานองยาเธอแลพระเจาลูก ยาเธอขึ้นโปรยทานที่ตนกัลปพฤกษตนละ ๔ พระองค พรอมกับเวลาทรงโปรย เปนที่สุดของการ ฉลองพระอารามในครั้งนั้น ในรัชกาลที่ ๔ โปรดใหแกไขพระปรางคใหญ ซึ่งทิ้งคางมาแตรัชกาลที่ ๓ ทําเปนภูเขาทอง มีบันไดเวียนสองสายขึ้นถึงยอด แลบนยอดเขากอพระเจดียองค ๑ พระราชทานนามภูเขาวา บรม บรรพต การยังคาง มาสําเร็จในรัชกาลที่ ๕ และในรัชกาลที่ ๕ เมื่อโปรดใหตัดถนนสระประทุมตอ จากถนนบํารุงเมือง ถนนนี้ผานไปในระหวางกุฎีวัดสระเกศ กับบริเวณเมรุปูน โปรดใหสรางพลับพลา แลแกไขบริเวณ ใหทําสะพานแลถนนตอจากถนนสระประทุมเขาไปถึงลานบรมบรรพตดวยสาย ๑ ตอมาเมื่อตัดถนนจักพรรดิ์ตอถนนวรจักร โปรดใหถมคลองขางหนาวัดทําถนนแลทํากําแพงวัด หนา วัดออกถนนใหญไดในครั้งนั้น แลวใหทําสะพานขามคลองขางหลังวัดตอจากถนนสระประทุม เขา ในลานบรมบรรพตอีกสายหนึ่ง อนึ่ง เมื่อรัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระทันตธาตุจําลองมาไวสําหรับตั้ง คูหาพระเจดีย ยอดบรมบรรพตแลโปรดใหกําหนดนักขัตฤกษ ใหราษฎรมาบูชาพระที่บรมบรรพต 3_edit.indd 62 20-Feb-13 11:25:41 PM


๖๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เมื่อกลางเดือน ๑๒ ทุกป มีมาจนบัดนี้ แลเมื่อประกา นพศก จุลศักราช ๑๒๕๙ พ.ศ. ๒๔๔๐ มี ผูขุดพระบรมธาตุของสมเด็จพระผูมีพระภาคพุทธเจา ที่ในเนินพระเจดียเกาที่เมืองกบิลพัสดุ ใน มัชฌิมประเทศที่ผอบมีอักษรจารึกอยูเปนสําคัญวา เปนพระบรมธาตุของสมเด็จพระผูมีพระภาค พุทธเจา สวนที่สากยราชตระกูลไดรับประดิษฐานไว ผูชํานาญโบราณคดีในยุโรปแลอินเดียเชื่อวา เปนพระธาตุของสมเด็จพระสากยมุนีศรีสัญเพชญพุทธเจา เมื่อกิตติศัพททราบ แพรหลายบรรดา พุทธศาสนิกชนในนานาประเทศ ก็พากันอยากไดพระบรมธาตุนั้น รัฐบาลอังกฤษเห็นวา สมเด็จ พระเจาแผนดินสยามพระองคเดียวเปนอิศรมหาราชพุทธศาสนูปถัมภ จึงถวายพระบรมธาตุนั้น แดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว แลทูลขอใหพระองคเปนผูแบงพระราชทานแกพุทธ ศาสนิกบริษัทในนานาประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหเจาพระยายมราช (ปน สุขุม) แตยังเปนพระยาสุขุมนัยวินิต เปนราชทูตออกไปรับพระบรมธาตุเชิญมายังพระนคร เมื่อ ทรงแบงพระธาตุไวสําหรับพระราชทานไปยังนานาประเทศแลว พระธาตุที่เหลือนั้น โปรดใหแหมา ประดิษฐานไวในซุมพระเจดียยอดบรมบรรพต เมื่อ ณ วัน ๓ ๑๔ฯ ๗ คํ่า ปกุน เอกศก จุลศักราช ๑๒๖๑ พ.ศ. ๒๔๔๒ มีมหกรรมการสมโภช แลวโปรดใหหลอพระเจดียนอยตั้งไวที่บรรจุพระบรม ธาตุ เปนสําคัญปรากฏอยูจนทุกวันนี้ ฝายพุทธศาสนิกบริษัทในนานาประเทศ คือลังกาทวีปและประเทศพมา ตางแตงพระสงฆแล อุบาสกเปนทูตเขามารับพระราชทานพระบรมธาตุ สวนพวกญี่ปุนแตงคณะพรต พวกชาวไซบีเรียใน ราชอาณาจักรรุสเซียก็แตงอุบาสกเขารับพระราชทานพระบรมธาตุพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวโปรดใหตอนรับพระราชทานไทยทําบําเหน็จแกพวกทูตที่เขามา แลวพระราชทานพระธาตุ ไปประดิษฐานไวในประเทศนั้นๆ ทั้ง ๔ ประเทศ 3_edit.indd 63 20-Feb-13 11:25:48 PM


๖๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) บรมบรรพต บรมบรรพตนี้ โดยมากเรียกวา ภูเขาทอง สรางเปนรูปภูเขามีเจดียอยูบนยอด มีบันไดเวียน เปนทางขึ้นไปถึงพระเจดีย ๒ ทาง คือ ดานเหนือทางหนึ่ง ดานใตทางหนึ่ง สําหรับขึ้นและลงคนละ ทางเพื่อสะดวกในเวลาเทศกาล และยังมีบันไดทางดานใตอีกทางหนึ่ง แตบันไดตรงไดรื้อเสีย เมื่อ คราวบูรณปฏิสังขรณ พ.ศ. ๒๔๙๓ ฐานโดยรอบวัดได ๘ เสน ๕ วา สวนสูง ๑๙ วา ๒ ศอก บรม บรรพตนี้นับวาเปนปูชนียสถานอันสําคัญทางพุทธศาสนาแหงหนึ่ง และเปนสมบัติทรงคุณคาของ ชาติอีกดวย การสรางภูเขาทองในรัชกาลที่ ๓ การสรางบรมบรรพตนี้ ไดเริ่มขึ้นในรัชกาลที่ ๓ ดวยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีพระราชประสงคจะสรางพระเจดียใหเหมือนอยางวัดภูเขาทองในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งที่ วัดภูเขาทองจังหวัดพระนครศรีอยุธยานั้น ตั้งอยูที่ชายทุงมีพระเจดียอยูองคหนึ่งเปนที่สําหรับชาว พระนครศรีอยุธยาลงไปประชุมเลนเพลงและสักวาในเทศกาลประจําป จุดประสงคเดิมก็เพื่อจะไป นมัสการพระเจดีย ในปจจุบันนี้ก็ยังมีการประชุมรื่นเริงโดยทางเรือกันอยู ทรงพิจารณาเห็นวาที่ที่ วัดสะเกศเปนสถานที่เหมาะสม มีลําคลองลอมรอบเหมือนอยางวัดภูเขาทองกรุงศรีอยุธยา จึงโปรด ใหสมเด็จพระบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) ครั้งยังเปนพระยาศรีพิพัฒนรัตนโกษา เปนแมกอง 3_edit.indd 64 20-Feb-13 11:25:55 PM


๖๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สราง แตเนื่องจากพื้นที่ตอนนั้นเปนสถานที่ติดกับชายคลองมหานาค พื้นดินตอนนั้นเปนที่ลุมดินจึง ออนมาก ทานนํ้าหนักพระเจดียที่กอขึ้นไปไวไมไหว จึงไดทรุดลงมาทุกครั้ง จําตองหยุดการกอสราง พระเจดียนั้นจึงคาง เปนแตเพียงกองอิฐ ภายหลังตนไมขึ้นปกคลุมรกรุงรังอยู เมื่อแรกลงมือสราง พระราชทานนามวา พระเจดียภูเขาทอง มีจดหมายเหตุเรื่องนี้อยูในพระราชพงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ ที่เจาพระยาทิพากรวงศเรียบเรียงไว ดังนี้ “วัดสระเกศ นั้น โปรดใหพระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษาเปนแมกองทําพระปรางคใหญองค หนึ่งฐานเปนไมสิบสอง ดานหนึ่งยาว ๕๐ วา ขุกรากลึกลงไปถึงโคลนแลวเอาหลักแพทั้งตนเปนเข็ม หมลงไปจนเต็มที่ แลวเอาไมซุงทําเข็มและปูเปนตาราง แลวเอาศิลาแรงกอขึ้นมาเกือบเสมอดิน จึง กอดวยอิฐในระหวางองคพระนั้นเอาศิลากอนซึ่งราษฎรเก็บมาขายบรรจุลงไปจนเต็ม การกอขึ้นไป ถึงทักษิณที่สอง ศิลาที่บรรจุขางในกดหนักลงไปจนทรุดลงไปถึง ๙ วา อิฐที่กอหุมขางนอกนั้นแตก ราวรอบไปทั้งองค ของนี้ไมทลายก็เพราะทรุดกลางลดตนลงไป พระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา ให ขุดริมฐานพระขึ้นชัณสูตรดูก็พบหัวไมระเบิดขึ้นมาหมด จึงโปรดเกลาฯ ใหขอแรงพระบรมวงศานุ วงศ และขุนนางราชการที่ตามเสด็จพระราชทานกฐิน ผูคนยังพรักพรอมอยู ใหฝงเสาหลักแพเปน หลักมั่นกันขางนอกใหแนนเปนชั้น กั้นฐานพระปรางคมิใหดินถีบออกไป สิ้นไมหลักแพหลายพัน ตน แลวก็จัดการกอแกไขที่ทรุดหนักลงอีก ๓ วา เห็นวาจะแกไขไมไดแลวก็เลิกการนั้นเสียจึงทําแต การอื่นตอไป” 3_edit.indd 65 20-Feb-13 11:26:05 PM


๖๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร วัดบวรนิเวศวิหาร มีฐานะเปนพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยูริมถนน บวรนิเวศ และถนนพระสุเมรุ ในทองที่แขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร เปนพระอารามฝายธรรมยุต สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ ทรงสรางขึ้นในระหวางพุทธศักราช ๒๓๖๗ – ๒๓๗๕ ในรัชกาลที่ ๓ ใกลกับวัดรังษีสุทธาวาส ที่สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมขุนอิศรานุรักษ ทรงสราง เรียกนามขณะนั้นวา “วัดใหม”ตอมาพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎา บดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนสมณศักดิ์ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจาฟามงกุฎ ซึ่งผนวชจําพรรษาอยู ณ วัดราชาธิวาสขึ้นเสมอเจาคณะรอง และเชิญเสด็จมาครองวัด นี้ในพุทธศักราช ๒๓๗๙ โดยจัดขบวนแหเหมือนอยางพระมหาอุปราช แลวจึงไดพระราชทานนาม วัดวา “วัดบวรนิเวศวิหาร” ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรง พระราชดําริวา วัดรังษีสุทธาวาสซึ่งอยูติดกับวัดบวรนิเวศนั้นมีสภาพทรุดโทรมมาก จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหยุบรวมเขาเปนวัดเดียวกับวัดบวรนิเวศวิหาร เรียกวา คณะรังษี แลวหลังจาก ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ให อัญเชิญพระบรมราชสรีรังคารมาบรรจุไว ณ ใตบัลลังกพระพุทธชินสีหในพระอุโบสถ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๖๘ 3_edit.indd 66 20-Feb-13 11:26:13 PM


๖๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดบวรนิเวศวิหาร ไดแบงเขตพุทธาวาสและสังฆวาสตางหากจากกันเชนเดียวกับพระอาราม อื่น เขตพุทธาวาสอยูทางทิศตะวันตกของพระอาราม ประกอบดวย พระอุโบสถ พระเจดีย วิหาร เกง วิหารพระศาสดา หอพระไตรปฎก ศาลาการเปรียญ และอื่นๆ มีประวัติและความสําคัญโดย สังเขป ดังนี้ พระอุโบสถ เปนอาคารตรีมุข หันหนาไปทางทิศเหนือ หลังคามุงกระเบื้องเคลือบลูกฟูกแบบจีน หนาบัน ประดับลวดลายดวยกระเบื้องเคลือบ ตรงกลางเปนตราพระมหามงกุฎและพระขรรคประดิษฐาน เหนือพานแวนฟา ผนังภายนอกบุดวยหินออน หัวเสาหลักเปนลายใบผักกาดเทศ ที่ผนังดานหนา มีใบเสมาศิลาติดอยูที่ผนัง ซุมประตูหนาตางเปนปูนปนปดทอง บานประตูหนาตางดานนอกแกะ สลัก ผนังภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมฝมือขรัวอินโขง จิตรกรผูมีชื่อเสียงทานหนึ่งของกรุง รัตนโกสินทร แบงเนื้อเรื่องออกเปน ๒ ตอน ตอนบนเหนือหนาตางเปนภาพฝรั่งแสดงปริศนาธรรม ตอนลางระหวางชองหนาตางเปนภาพเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมทางพุทธศาสนา ที่ตนเสาระบายพื้น เปนสีตางๆ เขียนลวดลายและภาพปริศนาธรรมฉฬาภิชาติ ภาพเหลานี้พระบาทสมเด็จพระปรเมน ทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชดําริใหเขียนขึ้น ตั้งแตยังทรงผนวชและครอง พระอารามนี้ ในพระอุโบสถมีพระพุทธรูปสําคัญประดิษฐานอยูหลายองค อาทิ พระสุวรรณเขต หรือเรียกวา “หลวงพอโต” หรือ “หลวงพอเพชร” คือพระประธานองค ใหญตั้งอยูดานในสุด สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ อัญเชิญมาจากวัดสระตะพาน จังหวัด เพชรบุรี เปนพระพุทธรูปโลหะ ลงรักปดทอง ปางมารวิชัย พระยาชํานิหัตถการ ไดเลาะเม็ดพระศก เดิม ประดับพระศกใหมดวยดินเผาใหขนาดเล็กลงแลวลงรักปดทอง ดานขางพระพุทธรูปองคนี้มีรูป พระอัครสาวกปูนปนขางละ ๑ องค พระพุทธชินสีห ประดิษฐานอยูดานหนาพระสุวรรณเขต เปนพระพุทธรูปโลหะปางมารวิชัย สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ อัญเชิญมาจากวิหารทิศเหนือของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก เมื่อพุทธศักราช ๒๓๗๔ เดิมประดิษฐานอยูมุขหลังของพระอุโบสถ ตอมาพระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดใหยายพระพุทธชินสีห มาไวหนาพระประธานดังปจจุบันนี้เมื่อพุทธศักราช ๒๓๘๐ ไดติดทองกะไหลพระรัศมีฝงพระเนตร และพระอุณาโลมใหม ในรัชกาลที่ ๔ หลังจากเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติแลว พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแผแผนทองคําลงยา ราชาวดีประดับพระรัศมีเดิม ถวายฉัตรตาด ๙ ชั้น ถวายผาทรงสพักตาด ตนไมเงินทองและหลอ ฐานสําริดปดทองใหม สองขางพระพุทธชินสีห มีรูปพระอัครสาวกคูหนึ่ง พระอัฏฐารส ประดิษฐานอยูทางมุขทิศตะวันออกและตะวันตกของพระอุโบสถมุขละ ๑ องค เปนพระพุทธรูปยืนปางหามสมุทร มีพระสาวกองคละ ๑ คู หลอขึ้นในรัชกาลที่ ๓ 3_edit.indd 67 20-Feb-13 11:26:18 PM


๖๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) บนฐานชุกชีเบื้องหนาพระพุทธชินสีห มีพระรูปสมเด็จพระสังฆราชเจาประดิษฐานอยู องค กลางคือพระรูปสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ หลอเมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๙ ในรัชกาลที่ ๖ องคซายคือ พระรูปสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส หลอ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๖๒ องคขวาคือพระรูปสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ หลอ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๗ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศนี้ สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพทรงสราง แตยังนับวาไม บริบูรณ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดเสด็จมาครองพระ อารามนี้ขณะดํารงสมณเพศในรัชกาลที่ ๓ ไดทรงบูรณะเพิ่มเติม เชน เขียนภาพจิตรกรรมภายใน ทํา ซุมสาหรายมีตรามงกุฎ เบื้องหนาพระพุทธชินสีห เปนตน เมื่อเสด็จขึ้นครองราชยแลวไดทรงบูรณะ อีก สังเกตไดจากลายพระมหามงกุฎ และพระแสงขรรคที่หนาบัน พระอุโบสถแหงนี้เดิมผูกพัทธสีมาเพียงมุขหนา ตอมาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร มหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว เมื่อยังครองพระอาราม ไดขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต จากรัชกาลที่ ๓ ผูกพัทธสีมาใหมทั้ง ๓ มุข ตอมาพุทธศักราช ๒๓๙๐ ไดทรงขยายพัทธสีมาออกไป อีก โดยกําหนดนิมิต ๖ แหง ดานหนากําหนดดวยรุกขนิมิต คือตนจันทน ๒ ตน ดานขางกําแพง ดวยอุทกนิมิต คือบอนํ้า ๒ แหง ดานหลังกําหนดดวยปาสาณนิมิต คือหลักศิลา ๒ แหง รอบพระ อุโบสถลอมดวยกําแพงแกวกรุกระเบื้องปรุ พระพุทธชินสีหและพระโต วัดบวรนิเวศวิหาร พระอัฏฐารสศรีสุคตทศพลญาณบพิตร 3_edit.indd 68 20-Feb-13 11:26:28 PM


๖๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ซุมปรางคพระพุทธรูป อยูขางพระอุโบสถนอกกําแพงแกวขางละซุม ดานหนา ทิศตะวันออกประดิษฐานพระพุทธ รูปยืน ปางเสด็จจากดาวดึงส สมัยทวาราวดีสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงอัญเชิญมาจากวัดตองปุ จังหวัดลพบุรี ซุมปรางคทิศตะวันตกประดิษฐานพระพุทธรูปพระไว โรจนะธยานิพุทธเจา เปนพระพุทธรูปศิลา อัญเชิญมาจากบุโรพุทโธในเกาะชวาเมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๙ ดานหลัง ทิศตะวันออกประดิษฐานพระพุทธรูปนาคปรกศิลา ทิศตะวันตกประดิษฐาน พระพุทธรูปนาคปรกเชนกัน แตเศียรเปนปูนปนตอใหม ซุมปรางคนี้เดิมเปนหอระฆังนอย แลวซอม แปลงเปนซุมพระพุทธรูป เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๕ พระพุทธบาทโบราณ (จําลอง) ประดิษฐานภายในศาลาติดกําแพงดานทิศตะวันตก เปนรอยพระพุทธบาทคูสลักบนศิลา แผนใหญ ยาว ๓.๖๐ เมตร กวาง ๒.๑๗ เมตร หนา ๒๐ เซนติเมตร รอบรอยพระพุทธบาทสลัก ภาพพระอสีติมหาสาวก มีตัวอักษรบอกชื่อ และดานขางแผนหินดานปลายพระบาทมีคําจารึก ภาษามคธ อักษรขอม ๗ บรรทัด รอยพระพุทธบาทนี้สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ ทรง ไดมาจากจังหวัดชัยนาท ประดิษฐานไวที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ในรัชกาลที่ ๕ โปรดใหยายมาเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๕๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงบูรณะตอมุขศาลานี้ เปนที่ประดิษฐาน ภายในเจาะผนังเปนคูหาประดิษฐานพระพุทธรูปปางลีลา ตรงกลางประดิษฐาน พระพุทธรูปนาคปรกศิลาสมัยลพบุรี ๒ ขางๆ ละ ๑ องค พลับพลาเปลื้องเครื่อง อยูติดกําแพงดานหนา ใกลกับซุมประตูเซี่ยวกาง เปนพลับพลาขนาดยอม หลังคาลด ๒ ชั้น มีชอฟาใบระกา หนาบันมีลายปูนปนพระมหามงกุฎประดิษฐานบนพานแวนฟาแวดลอมดวยฉัตร บานประตูหนาตางเขียนสีลายพุมขาวบิณฑ ดานหนากําแพงมีเกยเทียบพระราชยาน ดานในกําแพง มีบันได ๒ ขาง ใชเปนที่ประทับเปลี่ยนเครื่องทรงของพระมหากษัตริย เมื่อเสด็จพระราชดําเนินโดย ขบวนพยุหยาตรา ประตูเซี่ยวกาง เปนซุมประตูใหญของกําแพงหนาพระอาราม มีลักษณะเลียนแบบศิลปะจีน หลังคาซุมมุง กระเบื้องลอน หนาบันประดับดวยกระเบื้องเคลือบ หนาตาง ๒ ขาง กรุกระเบื้องปรุ บานประตู สลักเปนอารักษทวารบานแบบจีน ที่เรียกวา “เซี่ยวกาง” ปจจุบันประตูนี้เปดเฉพาะงานพระราช พิธี โอกาสพิเศษหรือวันธรรมสวนะเทานั้น ศาลาแดง ตั้งอยูทางดานหนาพระอุโบสถ เดิมเปนศาลาที่ประทับในงานพระเมรุตั้งแตรัชกาลที่ ๔ ตั้งอยู ริมกําแพงดานนอก ตอมาพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหยายมาสรางในกําแพงเมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๒ เปนศาลาโถงทรงไทยทาสีแดง 3_edit.indd 69 20-Feb-13 11:26:33 PM


๗๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระเจดีย สมเด็จพระบวรราชเจามหาศักดิพลเสพ ทรงสรางในพุทธศักราช ๒๓๗๔ เริ่มสรางไดเพียง เล็กนอยก็สิ้นพระชนมเสียกอน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางตอในรัชกาลที่ ๓ และในรัชกาลของพระองคทรงบูรณะเพิ่มเติมเชนพุทธศักราช ๒๔๐๙ โปรดใหบูรณะแกไขพระเจดียทรุดเอียงใหตรงและใหหลอรูป สิงห มา ชาง และนกอินทรีดวยสําริด ตั้งบนหลังซุมพระเจดีย เปนตน ในรัชกาลที่ ๖ มีการโบกปูนใหมในพุทธศักราช ๒๔๕๕ และติดสาย ลอฟา ถึงรัชกาลปจจุบันไดมีการบูรณะปดกระเบื้องสีทองที่องคพระเจดียในพุทธศักราช ๒๕๐๖ ลักษณะพระเจดีย เปนเจดียกลมขนาดใหญมีฐานทักษิณสี่เหลี่ยม ๒ ชั้น ที่องคเจดียมีซุม ๔ ซุม เปนทางเขาภายใน ๑ ซุม ที่ทักษิณชั้นบนมีซุมยอดปรางค ๔ มุม ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ซุมดานหนาประดิษฐานพระบรมรูปหลอของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลา เจาอยูหัว ดานเหนือมีเกงประดิษฐานพระไพรีพินาศ ฐานทักษิณชั้นลางมีทิมคดหลังคาเกง ๔ มุม มี กําแพงลอม มีประตูดานตะวันออกและตะวันตกดานละ ๒ ชอง คูหาภายในพระเจดียประดิษฐาน พระเจดียกะไหลทอง บรรจุพระบรมธาตุ มีฐานศิลาสลักเรื่องปฐมโพธิและพุทธวจนะ หนาพระเจดีย ทองนี้ มีพระเจดียศิลาบรรจุพระพุทธวจนะ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหสรางขึ้น ๑ องค เรียกวา “พระไพรีพินาศเจดีย” ในการบูรณะพระเจดียระหวางพุทธศักราช ๒๕๐๗ – ๒๕๐๘ ทางวัดไดขอใหกรมศิลปากร สรางเทวรูป ๖ องค มาประดิษฐานที่ฐานทักษิณชั้นลางของพระเจดีย เปนเทวรูปปนทาสีคลาย ศิลา ทิศเหนือประดิษฐานรูปพระพรหม และพระวิสสุกรรม ทิศใตประดิษฐานรูปพระศิวะและพระ นารายณ ทิศตะวันตกประดิษฐานพระปญจสิงขร และพระปรคนธรรพ 3_edit.indd 70 20-Feb-13 11:26:43 PM


๗๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) หอพระไตรปฎก สรางพรอมพระอุโบสถ สันนิษฐานวานําพระไตรปฎกฉบับพระราชวังบวรสถานมงคลมา ประดิษฐาน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จมาประทับ แลว ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของพระเจดีย ศาลาการเปรียญ สรางสมัยเดียวกับหอพระไตรปฎก ตั้งอยูทางตะวันตกของพระเจดีย ภายในประดิษฐาน พระพุทธรูปปางลีลาสมัยสุโขทัย และพระพุทธรูปยืนขนาดยอมลงมาอีก ๒ องค ยกพระหัตถซาย องคหนึ่งยกพระหัตถขวาองคหนึ่ง ศาลาฤาษี ๔ หลัง ตั้งอยูสี่มุมพระเจดีย มุมละ ๑ หลัง เมื่อพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎา บดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ประชวรใกลจะสวรรคต ทรงบริจาคพระราชทรัพยถวายพระสงฆ เปนปจจัยมูลองคละ ๒๐ บาท พระสงฆวัดนี้จึงบริจาคเงินนั้นรวมกันสรางศาลาเหลานี้ขึ้นภายใน ศาลา ทําชองไวรูปฤาษีดัดตนบางและศิลาจารึกตํารายาบาง วิหารเกง เปนวิหารขนาด ๓ หอง มีเกงโถง ๒ ขาง มีประตูเขาทางทิศใตตั้งอยูระหวางพระเจดียและ วิหารพระศาสดา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางสําหรับ ประดิษฐานพระพุทธรูปฉลององคของเจาอาวาสในรัชกาลที่ ๕ ทรงบูรณะและโปรดใหประดับ ตกแตงดวยลวดลายอยางจีน เขียนภาพจิตรกรรมเรื่องสามกก ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป ๓ ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนายบัณจบ พลาวงศ 3_edit.indd 71 20-Feb-13 11:26:59 PM


๗๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) องค คือ องคกลางหันพระพักตรไปทางใต เปนพระพุทธรูปยืนทรงเครื่อง พระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงหลอเปนพระพุทธรูปฉลองพระองคในสมเด็จ พระบรมชนกนาถ ถวายพระนามวา “พระพุทธวชิรญาณ” อัญเชิญมาประดิษฐานเมื่อพุทธศักราช ๒๔๒๘ องคทางดานสกัดทิศตะวันออก เปนพระพุทธรูปฉลองพระองคสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ หลอและประดิษฐานพรอมกับพระพุทธวชิรญาณ เปนพระพุทธรูป ยืนครองจีวรคลุม ๒ พระอังสา พระนามวา “พระพุทธปญญาอังคะ” เบื้องลางบรรจุพระอังคาร สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ องคทางดานสกัดทิศตะวันตกเปนพระพุทธรูปฉลองพระองคและบรรจุ พระอังคารของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระบาทสมเด็จพระปรมินท รมหาประชาธิปก พระปกเกลาเจาอยูหัวทรงสรางนํามาประดิษฐานในพุทธศักราช ๒๔๗๓ เปน พระพุทธรูปยืน ครองจีวรคลุม ๒ พระอังสา วิหารพระศาสดา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางในพุทธศักราช ๒๔๐๙ เดิมที่นี้เปนคูและที่ตั้งคณะลังกา แตโปรดใหถมและรื้อเพื่อสรางพระวิหาร พระวิหารหลัง นี้มีขนาด ๕ หอง มีเฉลียงรอบ ภายในแบงเปน ๒ ตอน คือ ทางทิศตะวันออก ๓ หอง ประดิษฐาน พระศาสดา ทิศตะวันตก ๒ หอง ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน การกอสรางคางมาจนถึงรัชกาลที่ ๕ โปรดใหดําการตอ โปรดใหปดทองพระศาสดา พระพุทธไสยาสนและซุมประตูหนาตางเขียนภาพ ที่บานประตู หนาตาง เพดาน และผนัง โดยเฉพาะผนังเปนภาพแสดงการปฏิบัติธุดงควัตร ๒ ชั้น คือ อยางธรรมดา อยางกลางและอยางเครง หอกลอง – หอระฆัง อยูทางหนาพระวิหารพระศาสดา ในวัดบวรนิเวศวิหารมีกลอง ๓ ใบ ใชตีในเวลาตางกัน ใบ ที่ ๑ ชื่อ วิสาขปุณมี ใชตีเวลาวันพระ ขึ้น – แรม ๘ – ๑๕ คํ่า และวันสําคัญทางศาสนา อยูที่มุข พระอุโบสถดานทิศตะวันออก ใบที่ ๒ ชื่อ เภรีบริโภค ใชตีบอกเวลาเพล หรืองานมหาฤกษตางๆ วัน ขึ้นปใหม เปนตน อยูที่หอกลอง ใบที่ ๓ ชื่อ “วิปปโยคสิกขา”(กลองศึก) ปหนึ่งตี ๓ ครั้ง เพื่อบอก กําหนดวันสิกขา คือ ครั้งที่ ๑ วันแรม ๑๓ คํ่า เดือน ๑๑ ครั้งที่ ๒ วันแรม ๑๓ คํ่า เดือนอาย ครั้ง ที่ ๓ วันแรม ๑๓ คํ่า เดือน ๓ เขตสังฆาวาสของวัดบวรนิเวศวิหารสวนใหญอยูทางตะวันออกของเขตพุทธาวาส บริเวณนี้มี สิ่งกอสรางที่ควรคาแกการอนุรักษหลายหลังคือ ศาลาจาน ตั้งอยูบริเวณประตูเขาตําหนักเพชรใกลโคนตนโพธิ์ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเร ศวริยาลงกรณ โปรดใหสรางขึ้นทางหนาพระตําหนัก ผนังประดับดวยถวยจานของเกา 3_edit.indd 72 20-Feb-13 11:27:04 PM


๗๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระปนหยา พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงสราง พระราชทาน เปนที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ขณะทรงผนวช เมื่อโปรดใหครองพระอารามแหงนี้ เปนตึกฝรั่ง ๓ ชั้น กลาวกันวายายมาจากสวน ขวาในพระบรมมหาราชวัง พระตําหนักนี้ตอมาเปนที่ประทับของพระมหากษัตริยและเจาฟาซึ่งทรง ผนวชและประทับ ณ พระอารามนี้ไดรับการบูรณะครั้งแรกในรัชกาลที่ ๔ และมีศิลาจารึกพระราช ดํารัสในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว หามมิใหสตรีเพศเขาไป ในรัชกาลที่ ๕ หลังจากสรางพระตําหนักทรงพรตและหอสหจรเมื่อพุทธศักราช ๒๔๓๓ แลวเจานาย ที่ทรงผนวชก็เสด็จไปประทับที่พระตําหนักทรงพรต พระปนหยาจึงเปนที่ประทับตามประเพณี เทานั้น พระตําหนักเดิม อยูใกลพระปนหยา เปนตึก ๒ ชั้น สรางในที่ตั้งเดิมของทองพระโรง ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ รามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัวสรางพระราชทานพระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรพระมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ขณะทรงผนวช สรางเสร็จในรัชกาลที่ ๔ ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปนที่ประทับของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ในพุทธศักราช ๒๔๓๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดถวายวิสุงคามสีมาเขตพระตําหนักนี้แกสมเด็จพระมหาสมณเจาฯ เพื่อทรงกระทําอุโบสถไดใน ยามประชวร หลังจากนี้ไดเปนที่ประทับของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส หลังจากสิ้นพระชนมแลวทางวัดไดรักษาสิ่งตางๆ ในพระตําหนักใหคงสภาพเดิมเพื่อเปนอนุสรณ แดพระองค พระตําหนักจันทร อยูหนาพระตําหนักเดิม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว โปรดใหสรางดวยพระราชทรัพยของสมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจันทราสรัทธาวาส กรม ขุนพิจิตเจษฎาจันทร ถวายเปนที่ประทับของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระราชทานนามวา “พระตําหนักจันทร”ตามพระนามสมเด็จพระเจาลูกเธอ พระตําหนักเพชร อยูติดกับพระตําหนักจันทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว โปรดใหสรางขึ้นเปนทองพระโรงของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๗ ในสถานที่ซึ่งเคยเปนที่ตั้งโรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย หลังจาก สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ สิ้นพระชนมแลวเปนที่ประชุมบําเพ็ญกุศลถวายบางโอกาสใชประชุม กรรมการมหาเถรสมาคมและเปนที่ประชุมปรึกษาเกี่ยวกับกิจการของมหามกุฎราชวิทยาลัย ในหอง พระฉากเปนที่ประดิษฐานพระบรมรูปหลอดวยโลหะของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว 3_edit.indd 73 20-Feb-13 11:27:09 PM


๗๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พลับพลาสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย อยูติดกับรั้วเหล็กดานตะวันออกของตําหนักจันทร เปนพลับพลาทรงไทยขนาด ๒ หอง เดิม เปนพลับพลาที่ประทับของสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย ในสวนพระราชวังเดิม เมื่อสวรรคตไดรื้อ มาปลูกเปนอาสนศาลาที่ริมคูดานหนาถนนพระเมรุ ในพุทธศักราช ๒๔๕๕ จึงยายมาปลูกยังสถาน ที่ปจจุบัน เคยใชเปนสถานที่เรียนบาลีไวยากรณสมัยเมื่อมีอาจารยคฤหัสถมาบอกภายหลังสมเด็จ พระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงวางระเบียบการศึกษา ตําหนักบัญจบเบญจมา พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาบัญจบเบญจมา ทรงอุทิศทุนทรัพยสรางเปนกุฏิตึก ๒ ชั้น ๒ ตอน เปนที่ประทับของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมหลวงวชิรญาณวโรรส หนาตําหนักบัญจบเบญจมา มีตึก ๒ ชั้น หมอมเจาจรัสโฉมเกษมสันต ทรงสรางเปนอนุสรณ ถึงพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาพักตรพิมลพรรณ พระเชษฐภคินีของพระเจาบรมวงศเธอ พระ องคเจาบัญจบเบญจมา มีสะพานเชื่อมถึงกัน ชั้นลางเปนหองโถงสําหรับรับรองแขก สรางเสร็จ พุทธศักราช ๒๔๘๒ ตําหนักลาง เปนตึก ๒ ชั้น มีมุขสั้น ๓ มุข ยาว ๑ มุข พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหสรางเปนที่ประทับของสมเด็จพระสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส เรียกวา “ตําหนักลาง”เมื่อทรงยายไปประทับที่ตําหนักจันทร ไดทรงอุทิศตําหนักลางเปน โรงเรียนพระปริยัติธรรม ปจจุบันใชเปนสํานักงานคณะธรรมยุต กองอํานวยการมหามงกุฎราช วิทยาลัย สํานักฝกอบรมพระธรรมทูตไปตางประเทศ นอกจากสิ่งกอสรางดังกลาวมาแลว ในบริเวณทิศตะวันออกของพระอารามซึ่งเปนคณะรัง ษี และบริเวณโรงเรียนวัดบวรนิเวศนั้นยังมีสิ่งกอสรางของวัดรังษีสุทธาวาส ซึ่งพระเจาบรมวงศ เธอ กรมหมื่นอุดมรัตนราษีทรงสรางในรัชกาลที่ ๓ เหลืออยู ไดแก อุโบสถ วิหาร เจดีย และศาลา การเปรียญ อาคารเหลานี้ไดรับการบูรณะจากวัดบวรนิเวศวิหารเชนกัน จึงยังคงคุณคาความงาม ตามแบบสถาปตยกรรมสมัยรัชกาลที่ ๓ อยู ปจจุบัน วัดบวรนิเวศวิหารยังคงเปนพระอารามหลวงที่มีความสําคัญเชนในอดีต คือเปนสถาน ที่ประทับของพระราชวงศเมื่อทรงผนวช ดังเชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามมินทราธิราช รัชกาลปจจุบัน และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราลงกรณ สยาม มกุฎราชกุมาร เปนที่ตั้งของมหามกุฎราชวิทยาลัย สถานศึกษาชั้นสูงของสงฆ กรมศิลปากรไดขึ้นทะเบียนวัดบวรนิเวศวิหารและโบราณวัตถุสถานภายในพระอาราม เปน โบราณวัตถุสถานสําคัญของชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๖๖ ตอนที่ ๖๔ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ 3_edit.indd 74 20-Feb-13 11:27:14 PM


๗๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดชัยชนะสงคราม วัดชัยชนะสงคราม ตั้งอยูถนนจักรวรรดิตรงขามกับเวิ้งนครเกษม แขวงสัมพันธวงศ เขต สัมพันธวงศ วัดชัยชนะสงครามนี้ ชาวบานนิยมเรียกวา “วัดตึก”ตามสิ่งกอสรางภายในวัดแตแรกสรางซึ่ง ลวนกออิฐถือปูนเปนตึกทั้งสิ้น เปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ เปนวัดมหานิกาย เจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห ตนตระกูลสิงหเสนี) สมุหนายกและแมทัพใหญในรัชกาลที่ ๓ สรางวัดนี้เมื่อกลับจากรบชนะเวียดนามและกัมพูชา ไดมีศรัทธายกที่ดินและบานของทานถวายเปน วัด (ที่บานนี้เดิมเปนของเจาพระยายมราช (อิน) ตอมารกรางเพราะไมมีผูสืบตระกูล พระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว จึงพระราชทานใหเจาพระยา บดินทรเดชา ครั้งเปนพระยาราชสุภาวดี เมื่อพุทธศักราช ๒๓๖๗ ตั้งชื่อวา “วัดชัยชนะสงคราม”และ ไดกอสรางพระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆเพิ่มขึ้นอีก ดวยเหตุที่เรือนของทานกอ เปนตึกรวมทั้งกุฏิสงฆ และสิ่งกอสรางอื่นๆ ก็สรางเปนตึกทั้งหมด อันเปนสถาปตยกรรมที่ยังไมแพร หลายในสมัยนั้น ชาวบานจึงเรียกกันวา “วัดตึก” ติดปากสืบมาจนทุกวันนี้ ปจจุบัน ปูชนียวัตถุสถานในวัดชัยชนะสงครามสวนมากเปนของสรางใหม ของเดิมอันเปน สิ่งสําคัญในพระอาราม มีดังนี้ 3_edit.indd 75 20-Feb-13 11:27:20 PM


๗๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) หอพระไตรปฎก ตั้งอยูดานขวาพระอุโบสถ มีถนนภายในวัดคั่นกลาง หลวงพอฉิมเจาอาวาสองคที่หนึ่งของวัด นี้ไดศาลาการเปรียญขึ้น และปฏิสังขรณใหมในพุทธศักราช ๒๕๑๒ เปนอาคาร ๒ ชั้น ชั้นลางกอ คอนกรีตเปนหอง ชั้นที่สองเปนของเกาทรงสอบขึ้น ติดชอฟา ใบระกา หางหงส ปดทอง ประดับ กระจก หนาบันรูปพระอินทรทรงชาง ๓ เศียร พื้นลายดอกพุดตาน กรอบลางรูปเทวดายืนพนมมือ ภายในซุมเรือนแกว ลวดลายทั้งหมดปดทองประดับกระจก ฝาไมเขียนลายรดนํ้ารูปหนาสิงห ซุม ประตูหนาตาง ลวดลายหนาบันลงรกปดทอง หัวเสาบัวจงกล เสาเหลี่ยมประดับกระจก บานประตู หนาตางเขียนลายรดนํ้าซึ่งเลอะเลือนไปมาก มีระเบียงรอบ ยกเวนดานหลัง เสาระเบียงเปนเสาไม กลึงกลม เขียนลายทองรูปหนาสิงหเชนเดียวกัน พระปรางคและพระเจดียเกา ดานหลังวัด หลังตึกแถวริมถนนจักรวรรดิ มีพระปรางคองคใหญ ฐานกวาง ๑๐ เมตร สูง ๒๐ เมตร เปนของเกา รูปทรงโปรงงาม ฐานสิงหปูนปนที่หนาบันเหนือองคครรภธาตุลวดลายละเอียด งดงาม เหนือขึ้นไปตั้งรูปจําลองปรางคองคเล็กๆ ใตชั้นกลีบขนุนประดับรูปประติมากรรมครุฑแบก ดานหลังพระปรางคเปนพระเจดียทรงกลม ๓ องค มีขนาดยอมกวาพระปรางค หอระฆังวัดชัยชนะสงคราม พระพุทธชัยสิงหมุนินทรธรรมบดินทรโลกนาถ เทวนรชาติอภิปูชนีย 3_edit.indd 76 20-Feb-13 11:27:29 PM


๗๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดมหรรณพารามวรวิหาร วัดมหรรณพารามวรวิหาร มีฐานะเปนพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยูริมถนน ตะนาวฝงขวา แขวงเสาชิงชา เขตพระนคร เปนพระอารามฝายมหานิกาย พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี (พระองคเจาอรรณพ) พระราชโอรสในพระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางวัดมหรรณพา รามขึ้นเมื่อพุทธศักราช ๒๓๙๓ การกอสรางดําเนินมาจนถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระปร เมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชศรัทธาพระราชทานเงิน ๑,๐๐๐ ชั่ง สราง พระเจดียองคใหญทางดานหลังพระอุโบสถ บรรจุพระบรมธาตุไวภายในและพระราชทานนามวา “วัดมหรรณพาราม” ในรัชกาลที่ ๕ วัดมหรรณพารามไดรับเลือกใหเปนสถานที่ทดลองจัดตั้งโรงเรียนหลวงสําหรับ สามัญชนขึ้นเปนแหงแรก ตอมาเมื่อการศึกษาในโรงเรียนวัดมหรรณพารามเปนผลดีจึงขยายไปทั่ว ราชอาณาจักร วัดมหรรณพาราม แมจะเปนพระอารามหลวงขนาดเล็ก แตก็มีลักษณะงดงามแสดงใหเห็นถึง รูปแบบทางศิลปกรรมของกรุงรัตนโกสินทร ยุคปลายรัชกาลที่ ๓ ตอตนรัชกาลที่ ๔ คือนิยมสราง อาคารที่มีลักษณะประยุกตระหวางไทยและจีน สิ่งสําคัญในพระอาราม ไดแก 3_edit.indd 77 20-Feb-13 11:27:36 PM


๗๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระอุโบสถ เปนอาคารกออิฐถือปูน มีระเบียงระหวางเสาระเบียง มีกําแพงกรุกระเบื้องเคลือบ ปรุหลังคา มุขลด ๒ ชั้น ปนลมและหนาบันเปนรูปปน ประดับดวยเครื่องกระเบื้องถวย ตรงกลางทําเปนรูปหงส เพดานระเบียงเขียนเปนสีลายดอกไมตาขาย ซุมประตูหนาตางเปนลายปูนปนเครือเถาดอกพุดตาน ลงรักปดทอง บานประตูหนาตางลงรักปดทองประดับกระจกสีเปนลายประสุ หรือ เฉลวไหหลํา มี ตุกตาหินจีนตั้งประดับที่ประตูพระอุโบสถดานหนาและหลังรวม ๘ ตัว พระอุโบสถนี้มีกําแพงแกว ลอมรอบ และมีเสมาซึ่งสลักจากแทงหินสี่เหลี่ยมตั้งอยูเหนือกําแพงแกวประจําในทิศทั้งแปด หลังคา ของเดิมมุงดวยกระเบื้องไทย เมื่อบูรณะเปลี่ยนเปนกระเบื้องเคลือบ พระพุทธรูปประธานภายใน เปนพระพุทธรูปปูนปนลงรักปดทอง พระวิหาร เปนอาคารกออิฐถือปูน หลังคามุขลด ๒ ชั้น เดิมมุงดวยกระเบื้องไทย ปนลมและหนาบันเปน ปูนปนประดับดวยประเบื้องถวยจาน ตรงกลางเปนรูปมังกร เพดานระเบียงเขียนลายดอกไมตาขาย ซุมประตูหนาตางเปนปูนปนลายเครือเถาพุดตานลงรักปดทอง บานประตูหนาตางดานนอก ลงรัก ปดทองประดับกระจกเปนลายฟองคลื่น หลวงพอพระรวง พระวิหารที่ประดิษฐานหลวงพอพระรวง 3_edit.indd 78 20-Feb-13 11:27:45 PM


๗๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) มีภาพสัตวทะเลแบบจีน เชน มังกรและปลา บานดานในเขียนสีเปนลายแบบจีน รวมทั้งที่ผนัง กับประตูหนาตาง ที่เสามุขประตูดานหนาและหลังวิหารมีตุกตาหินจีนตั้งอยูดานละ ๔ ตัว พระพุทธรูปประธานในพระวิหาร เปนพระพุทธรูปสําริดปางมารวิชัยสมัยสุโขทัย เรียกวา “หลวงพอรวง” มีลักษณะงดงามและถือกันวาเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ พระเจดีย มี ๓ องค ตั้งอยูดานหลังกําแพงแกวที่ลอมพระอุโบสถและพระวิหาร พระเจดียทรงกลมองค ใหญตรงกลาง เปนพระเจดียที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัวทรง สราง พระเจดียดานซายและขวาของพระเจดียใหญ พระเจาบรมวงศเธอกรมหมื่นอุดมรัตนราษีทรง สราง เปนพระเจดียเหลี่ยมยอมุมไมสิบสองขนาดเทากันทั้งสององค หอระฆัง อยูดานหนาพระอาราม นอกกําแพงแกว ดานหนาพระอุโบสถเปนอาคารรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ๒ ชั้น กออิฐถือปูน ลักษณะแบบสถาปตยกรรมจีน สรางพรอมกับพระอาราม หอไตร อยูมุมกําแพงขณะตนใกลกับหอระฆัง เปนตึกกออิฐถือปูน ๒ ชั้น มีชอฟาใบระกา ผนังชั้นลาง เจาะเปนชองหนาตางมีบานปดไมเปนชั้นบนระเบียงรอบ พนักระเบียงเปนกําแพงกรุกระเบื้องปรุ ซุม ประตูหนาตางชั้นบนเปนปูนปนลงรักปดทองลายเครือเถาดอกพุดตาน บานประตูหนาตางเขียนสี ภาพทวารบานแบบจีน หนาบันเปนลายปูนปนดอกพุดตาน เปนอาคารที่สรางพรอมกับพระอาราม นอกจากสิ่งกอสรางที่กลาวมาแลว กลุมกุฏิเสนาสนะคณะ ๑,๒ และ ๓ (เดิมเรียกวาคณะ ตน คณะกลาง และคณะสุด) ศาลาลอย ศาลาราย และซุมประตูกําแพงหนาพระอารามลวนเปนสิ่ง กอสรางตามแบบสถาปตยกรรมไทยโบราณที่มีคุณคาควรแกการอนุรักษ โดยเฉพาะซุมประตูกําแพง กรมศิลปากรไดขึ้นทะเบียนวัดมหรรณพาราม เปนโบราณสถานสําคัญของชาติ โดยประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เลม ๖๖ ตอนที่ ๖๔ วันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๙๒ 3_edit.indd 79 20-Feb-13 11:27:52 PM


๘๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ตั้งอยูแขวงจักรวรรดิ เขตสัมพันธวงศ เปนพระอาราม หลวงชั้นโท ชนิดวรมหาวิหาร วัดจักวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร เปนวัดโบราณ มีมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี เดิมเปนวัดราษฎร ชื่อวัดนายปลื้ม (อาจเปนชื่อผูสรางวัด) เปลี่ยนเรียกวัดสามปลื้มในสมัยกรุง รัตนโกสินทร ซึ่งสันนิษฐานวา อาจเปนนางสามคนรวมกันสรางวัด หรือเพราะอยูใกลสามเพ็ง จึง เพี้ยนเปนสามปลื้ม และมีคลองสามปลื้มผานริมวัดนี้ดวย (คลองสามปลื้มแยกจากแมนํ้าเจาพระยา ตรงปลายสะพานยาวดานใตซึ่งเปนทางเขาวัด ไปออกคลองโองอางทางขางวัดบพิตรพิมุขทางหนึ่ง ไปออกคลองมหานาคอีกทางหนึ่ง) ปจจุบันยังคงเหลือถาวร วัตถุของเดิมคือ วิหารเกาดานตะวัน ออก ภายในประดิษฐานพระปาเลไลย ประมาณพุทธศักราช ๒๓๖๒ เจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห ตนตระกูลสิงหเสนี) ครั้งเปน เพียงนายสิงห เพราะถูกถอดออกจากราชการ ตําแหนงพระยาเกษตรรักษ ไดถอยแพอันเปนที่อยู อาศัยจากหนาบานเจาพระยานิกรบดินทร (โต กัลยาณมิตร) ที่เรียกวาตึกขาว ฝงธนบุรี เขามาอยู ที่ปลายสะพานยาว ปากคลองสามปลื้ม แลวเริ่มบูรณปฏิสังขรณวัดสามปลื้มขึ้นใหมทั้งพระอาราม 3_edit.indd 80 20-Feb-13 11:27:59 PM


๘๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ในพระพุทธศักราช ๒๓๖๗ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระ นั่งเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาบดินทรเดชากลับเขารับราชการ และ พระราชทานบรรดาศักดิ์เปนพระยาราชสุภาวดี กับพระราชทานที่บานของเจาพระยมราช (อิน) ซึ่งขาดผูสืบตระกูลเปนบานรกรางวางเปลามานานใหเปนที่อยูอาศัยของทาน (ตอมาเจาพระยา บดินทรเดชา ยกบานนี้ใหเปนวัด ชื่อ วัดชัยชนะสงคราม เพื่อเปนอนุสรณถึงการที่ทานเปนแมทัพ ไปรบกบฏเวียงจันทน และทําสงครามกับญวนไดชัยชนะ) เจาพระยาบดินทรเดชา จึงไดนอมเกลาฯ ถวายวัดนี้เปนพระอารามหลวง ไดรับพระราชทานนามใหมวา วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร ในพุทธศักราช ๒๓๗๐ เจาพระยาบดินทรเดชา ไดพระบางจากนครเวียงจันทน เขามา นอมเกลาฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยู หัวพระราชทานใหนํามาไวที่วัดจักรวรรดิราชาวาส ทานจึงสรางวิหารขึ้นประดิษฐานพระบาง ตั้งอยู ทางดานตะวันตกของพระอุโบสถ ขณะนั้น (พระอุโบสถหลังนี้ปจจุบันเปนวิหารตั้งอยูระหวางวิหาร พระบางและวิหารเกาดานตะวันออก) ครั้นเมื่อ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎา บดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินมาพระราชทานผาพระกฐิน ไดทอดพระเนตรเห็น วิหารพระบางสูงกวาพระอุโบสถ จึงมีกระแสพระราชดํารัสสราง เจาพระยาบดินทรเดชา จึงสรางพระอุโบสถขึ้นใหมทางดานเหนือของพระอุโบสถเดิม พระอุโบสถเดิมกลายเปนพระวิหาร มาจนปจจุบันนี้ พุทธศักราช ๒๔๐๙ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ได พระราชทานพระบางกลับไปประดิษฐานที่นครหลวงพระบาง แลวโปรดเกลาฯ ใหอัญเชิญ “พระ นาก”ซึ่งมีพระพุทธลักษณะคลายพระบางจากหอในพระบรมมหาราชวัง มาประดิษฐานไวในวิหาร แทนพระบาง และยังคงอยูจนบัดนี้ นอกจากนี้เจาพระยาบดินทรเดชายังไดสรางปูชนียวัตถุสําคัญไว อีกสิ่งหนึ่ง คือ พระพุทธปรางค เมื่อประมาณพุทธศักราช ๒๓๗๐ และไดขุดสระ สรางหอไตรลงไว ในสระเยื้องหนาพระอุโบสถ (บริเวณสระจระเขในปจจุบัน) การปฏิสังขรณและการกอสรางถาวรวัตถุและปูชนียวัตถุในวัด ไดกระทําตอมาโดยตลอด ปจจุบันวัดจักรวรรดิราชาธิวาสมีสิ่งสําคัญในพระอาราม ดังนี้ พระอุโบสถ หลังคาแบบจีน เปนมุขลด ๒ ชั้น ประดับลายปูนปนรูปเทพนม ๔ องค ลอมดวยลายเครือเถา ตอนลางแบงเปน ๔ ชอง ประดับลายปูนปนรูปเตา วัว สิงห พญานาค และไก อันเปนสัญลักษณ หมายถึงพระพุทธเจา ๕ องคในภัทรกัปนี้ ลวดลายติดกระเบื้องลายคราม ไขราพื้นชาดเขียนลายทอง ซุมประตูหนาตางประดับลายปูนปนเถาดอกพุดตาน ซุมจระนําดานหนาพระอุโบสถประดิษฐาน พระพุทธรูปยืนหลอสําริดปางรําพึง ลักษณะถายแบบจากพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย พระอุโบสถตั้ง บนฐานยกพื้นฐานสิงห มีระเบียงรอบและมุขหนาหลัง เสาหานรอบระเบียง ๒๘ ตน เสามุขดาน หนาอีก ๔ ตน เสาและหัวเสาทรงสี่เหลี่ยม ลูกกรงระเบียงเปนลายดอกไมโปรงในกรอบเปนชองๆ เคลือบสีเขียว มีบันไดขึ้น ๔ บันได ที่ขางมุขหนาและมุขหลัง 3_edit.indd 81 20-Feb-13 11:28:04 PM


๘๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เขตพัทธสีมา บนพื้นกระเบื้องตั้งใบเสมาบนฐานกลีบบัว บริเวณมุมและกึ่งกลางดานแตละดาน ภายในพระอุโบสถ ผนังระหวางชองหนาตางเขียนภาพจิตรกรรมเรื่องทศชาติ เหนือขึ้นไปรูป เทพบุตร เทพธิดา และหมูพรหมถือเครื่องสักการะไปเฝาพระพุทธองค ผนังหุมกลองตรงขามพระ ประธานเขียนรูปเขาไกรลาส มีโคอุสุภราชพาหนะของพระอิศวร และรูปสัตวในปาหิมพานต เสา ภายในพระอุโบสถมีทั้งหมด ๑๐ ตน เขียนสีลายดอกไม พระประธาน เปนพระพุทธรูปหลอปดทองปางมารวิชัย เลียนแบบสุโขทัย ผนังบริเวณดาน หลังพระประธาน เขียนรูปซุมเรือนแกวรายลอมดวยเทพชุมนุม พระวิหาร มี ๓ หลัง วิหารหลังกลาง เดิมสรางเปนพระอุโบสถดังกลาวแลวลักษณะอาคารหลังคาลด ๒ ชั้น ชอฟา ใบระกา หางหงส เปนไมสลักลายหนาบันประดับรูปเทพพนม ไขราลงพื้นชาดสีเลือนจนไมเห็นเคา เดิมวาเขียนลายทองไวหรือไม ประตูหนาตางมีซุม ๒ ชั้น ประดับชอฟาใบระกา และนาคเบือนหนา บานประดับรูปเทพพนมลอยตัวออกมาเหมือนที่หนาบันมุข หัวเสารูปบัวจงกล ลวดลายทั้งหมดปด ทองลองชาดติดกระจกสี แตอยูในสภาพทรุดโทรมมาก มีระเบียงหนาหลังพระวิหารบนพื้นระเบียง หลังกอแทนประดิษฐานพระพุทธรูปสําริด ปางมารวิชัยฝมือชางทางลานชาง มีอักษรลาวตัวธรรม จารึก แตมีอักษรพมาปนอักษรสลักคอนขางลบเลือน ไมทราบประวัติที่มา ภายในพระวิหาร เพดานไม เขียนดาวทองบนพื้นชาด ขื่อเขียนลายทอง ผนังเขียนภาพ จิตรกรรม ซึ่งตอนลางๆ ลบเลือนแลวผนังระหวางชองหนาตางเขียนเรื่องพุทธประวัติ ผนังตอน บนแบงเปน ๒ แถวตามขวาง เขียนภาพซํ้า ภาพพระพุทธเจาในเรือนบุษบก มีพระสงฆอัครสาวก กระหนาบ ๒ ขาง ริมตั้งฉัตร ๕ ชั้น ผนังหุมกลองดานหนาพระประธาน เขียนเรื่องพระมาลัยไปไหว พระจุฬามณีเจดียบนสวรรค ผนังดานหลังพระประธานรูปสวรรคภูมิ 3_edit.indd 82 20-Feb-13 11:28:13 PM


๘๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระประธานเปนพระปูนปน ปดทอง ปางมารวิชัย สรางเลียนแบบสุโขทัย ฐานชุกชีปดทอง ประดับกระจก บนชั้นเบญจา มีอัครสาวกกระหนาบสองขางดานหนาพระประธาน ดานหลังพระพุทธ รูปกอซุมเรือนแกว ลวดลายปดทอง วิหารพระนาก ลักษณะสถาปตยกรรมประยุกตจากแบบจีนเหมือนพระอุโบสถ ตกแตงหนา บันดวยลวดลายปูนปนประดับกระเบื้องลายครามยกพื้นสูง มีบันไดทางมุขหนาและมุขหลัง เปน บันได ๒ ดานทอดขึ้นสูกึ่งกลางเหมือนเกย ผนังบันไดหนาประดับลายปูนปนติดกระเบื้องลายคราม รูปแมธรณีบีบมวยผม พระนาก เปนพระพุทธรูปยืน ปางหามสมุทร วิหารเกาหลังตะวันออก หนาบันประดับลายปูนปนรูปดอกไมนกยูง ติดกระเบื้องเคลือบสี ซุม ประตูฝงถวยกระเบื้องเคลือบ มีซุมจระนําประดิษฐานพระพุทธรูปปางหามพระแกนจันทน ภายใน วิหารประดิษฐานพระปาเลไลย เปนพระพุทธรูปหลอปดทอง มีรูปชางถวายนํ้า ลิงถวายรวงผึ้ง เขาพระพุทธฉายและถํ้าพระพุทธไสยาสน ตั้งอยูทางดานใตของวิหารเกาหลังตะวันออก กอเปนรูปเขามอกวางใหญ ตอนบนมีรูป พระพุทธฉาย สวนภายในถํ้าประดิษฐานพระพุทธไสยาสน และพระสังกัจจายน มณฑปพระพุทธบาท ตั้งอยูบนภูเขาจําลองดานหลังสระจระเข เปนมณฑปจัตุรมุขยอดปรางคลวดลายที่หนาบัน มุข ซุมเสามุข หนาบันและกรอบประตูหนาตางปดทองประดับกระจก ผนังประดับปูนปนลายหนา สิงห มีชานชาลารอบ ขอบชานตั้งศาลาราย ๔ ทิศ และตรงกึ่งกลางดานเหนือและใตอีก ๒ หลัง ซึ่ง มีหอระฆังกระหนาบสองขาง ภายในพระมณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาท และพระพุทธรูป หลอปดทองทางปาเลไลย พระพุทธปรางค สรางในสมัยพระพุฒาจารย (มา) เปนเจาอาวาส (พุทธศักราช ๒๔๔๓ – ๒๔๕๗) ตั้งอยูดาน เหนือของมณฑปพระพุทธบาท สูงจากพื้นดินถึงยอดนภศูล ๔๓.๔๕ เมตร มีฐานทักษิณ ๒ ชั้น ดาน เหนือดานใต และดานตะวันตกยาว ๒๑.๑๐ เมตร ดานใตยาว ๒๒.๑๐ เมตร มีระเบียงคดรอบฐาน ทักษิณยกเวนดานใตทั้ง ๒ ชั้น พระระเบียงชั้นสองสวนที่อยูตรงกับมุมหลังคาเปนรูปเกงจีน ราว ลูกกรงระเบียงที่ฐานทักษิณชั้นสองทางดานใตหลอปูนเคลือบสีเขียวลายแกวชิงดวงแบบจีน ฐาน พระปรางคเปนฐานสิงหครรภธาตุประกอบดวยซุมทิศประดิษฐานพระพุทธรูปยืน กลีบขนุนประดับ หินออน นภศูลมีฉัตรอยูยอดอีกชั้นหนึ่ง ศาลเจาพระยาบดินทรเดชา ศาลเจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สรางเสร็จในวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ เพื่อประดิษฐานรูปหลอของเจาพระยาบดินทรเดชา สมุหนายก ครั้งรัชกาลที่ ๓ ผูสําเร็จราชการ สงครามปองกันเขมรและญวน 3_edit.indd 83 20-Feb-13 11:28:19 PM


๘๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วัดสุนทรธรรมทาน วัดสุนทรธรรมทานมีฐานะเปนวัดราษฎร ตั้งอยูระหวางถนนนครสวรรคและถนนทางหลวง อยูในทองที่แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตพุทธาวาส สังฆาวาสมีถนนพะเนียงตัดผาน วัดสุนทรธรรมทานมีชื่อเดิมอยู ๒ ชื่อ คือ วัดแค และวัดสนามกระบือ กลาวกันวาเดิมชื่อ วัดแคนั้นมาจากสําเนียงชาวปกษใตซึ่งตั้งบานเรือนอยูในละแวกนี้ สวนที่เรียกวาวัดสนามกระบือนั้น เนื่องจากตั้งอยูในทองที่ซึ่งเดิมเปนทุงใหญ เรียกวา “สนามกระบือ” ครั้นถึงรัชกาลที่ ๓ พระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานที่บริเวณนี้ ใหเปนที่ตั้งบานเรือนของชาวไทยและอิสลามซึ่งถูกกวาดตอนมาจากภาค ใตเมื่อพุทธศักราช ๒๓๗๔ เรียกชนกลุมนี้วา “ไพรหลวงเกณฑบุญ” แลวฝกหัดใหทํางานชางปูน ชางศิลาของหลวงตอมา วัดสุนทรธรรมทาน เปนวัดที่มีมาแตสมัยโบราณ มีตํานานวาพระยาจาแสนยากร ไดพบพุทธ รูปจมอยูใตนํ้าที่บางคอแหลมโดยบังเอิญ ทอนบนมีเพียงแคใตพระอุระ ทอนลางเพียงโคนขา จึง นํามาเก็บไวที่บานของทานที่ตําบลสนามกระบือ ตอมากิตติศัพทความศักดิ์สิทธิ์ของพระพุทธรูป แพรหลายออกไป ทําใหทีผูมาขอนมัสการกันมาก พระยาจาแสนยากร จึงอุทิศบานซึ่งประดิษฐาน พระพุทธรูปใหเปนสํานักสงฆชั่วคราว ภายหลังจึงไดมีการสรางเปนวัดขึ้น ตอมาพระยาสมบัติยาภิ บาลไดถวายบานและที่ดินที่ตําบลสนามกระบือใหแกวัดอีก จึงมีอาณาบริเวณกวางขวางยิ่งขึ้น ถึง รัชกาลที่ ๓ พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นสุนทรธิบดี และพระธรรมทานาจารย (ผึ้ง) วัดสระเกศ รวมกันบูรณปฏิสังขรณ ในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจา อยูหัว ไดพระราชทานนามใหใหมวา “วัดสุนทรธรรมทาน” โดยนําพระนามของพระเจาบรมวงศ เธอ กรมหมื่นสุนทรธิบดี ผสมกับนามพระธรรมทานาจารย 3_edit.indd 84 20-Feb-13 11:28:25 PM


๘๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) นับตั้งแตรัชกาลที่ ๔ เปนตนมาจนปจจุบันไดมีการบูรณะและสรางสิ่งตางๆ ในวัดเพิ่มขึ้น หลายครั้ง ทําใหสภาพของวัดสุนทรธรรมทานในอดีตและปจจุบันมีลักษณะตางกัน สิ่งสําคัญในพระอาราม พระอุโบสถ พระอุโบสถหลังเดิมมีสภาพทรุดโทรมมากเนื่องจากภัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทางวัดจึงขอให กรมศิลปากรออกแบบกอสรางพระอุโบสถใหม โดยพระพรหมพิจิตร เปนผูออกแบบอุโบสถ ลักษณะ พระอุโบสถเปนอาคารทรงไทย ตั้งอยูบนฐานสูง มีชานกําแพงแกวลอมรอบ มีมุขดานหนาและหลัง หลังคาลด ๓ ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบสี ติดชอฟาใบระกา หางหงส บานประตูหนาตางแกะสลักลงรักปดทอง เปนภาพพุทธประวัติตั้งแตเหลาเทพยดาทูลอัญเชิญพระ สันตดุสิตบรมโพธิสัตวใหไปอุบัติเปนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา จนกระทั่งถวายพระเพลิงพระพุทธ สรีระที่นครกุสินารา บานประตูหนาตางภายในเขียนภาพลายรดนํ้าเปนเทพทวารบาลทามกลางลาย กนก เมื่อสรางเสร็จแลว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินมาทรงประกอบพิธียกชอฟา ในวันที่ ๑๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๑๘ พระวิหารคด อยูทางซายมือของพระอุโบสถ มีลักษณะเปนอาคารทรงไทยตรีมุข หลังคาลด ๒ ชั้น มุง กระเบื้องเคลือบสี ติดชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบัน ๓ ดานปนเปนภาพพุทธประวัติปดทองลอง ชาดปางประสูติ ตรัสรู และปรินิพพาน ที่ผนังหุมกลองดานนอก มีภาพปูนปนทาสีเปนภาพวิถีชีวิต ของมนุษย ภายในพระวิหารคดตกแตงดวยดวงดาวปดทองลองชาด สรางเสร็จเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๕ วิหารหลวงพอบารมี ประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งมีคูกับวัดมาตั้งแตสมัยโบราณ ชนทั่วไปนับถือวาศักดิ์สิทธิ์และมี อภินิหาร เดิมประดิษฐานอยูที่โคนตนโพธิ์ใกลพระอุโบสถเกา ลักษณะวิหารเปนอาคารแบบไทยมี มุขหลังคาลด ๒ ชั้น ติดชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบันเปนลวดลายมีตัวหนังสือบอกวา “วิหาร หลวงพอบารมี”สรางเสร็จในพุทธศักราช ๒๕๑๔ หอระฆัง หอระฆังหลังเดิมมีสภาพทรุดโทรมมาก ระฆังก็แตกราว จึงไดสรางหอระฆังใหม เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๙๕ ศาสตราจารยหลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปทมจินดา) เปนผูออกแบบสรางดวย คอนกรีตเสริมเหล็ก เปนหอสูง ๒ ชั้น ชั้นบนเปนทรงมณฑปจัตุรมุข หลังคามุงกระเบื้องเคลือบสี ติด ชอฟา ใบระกา หางหงส และไดหลอระฆังขึ้นใหมในพุทธศักราช ๒๕๑๑ 3_edit.indd 85 20-Feb-13 11:28:31 PM


๘๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระสมุทรเจดีย การสรางพระสมุทรเจดียหรือที่นิยมเรียกกันวา พระเจดียกลางนํ้า เปนพระราชดําริของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงโปรดเกลาฯ ใหพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยู หัว เมื่อยังดํารงพระยศเปนพระเจาลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร และเจาพระยาพระคลัง มา ถมเกาะที่เมืองสมุทรปราการเพื่อใชเปนที่สรางเจดียและใหกรมหมื่นศักดิพลเสพคิดแบบเจดียถวาย ทรงขนานนามวา พระสมุทรเจดีย แตยังมิไดสรางพระองคก็เสด็จสวรรคต พ.ศ. ๒๓๗๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว จึงโปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาพระคลังเปน แมกองสราง เปนเจดียรูปไมสิบสองกับศาลา ๔ หลัง แลวพระองคเสด็จไปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ คนทั้งหลายพากันไปบูชาเปนการนักขัตฤกษประจําปในเดือน ๑๑ แรม ๘ คํ่า เสมอมา ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหบูรณะพระสมุทร เจดียเปลี่ยนรูปทรงเปนแบบเจดียกรุงเกา กอฐานขยายออกมา และเสริมสวนสูงขึ้นเปน ๓๘ เมตร ทํากําแพงและศาลารายใหมทั้ง ๔ ทิศ สรางวิหารขึ้น ๑ หลัง และหอระฆังรายรอบดังที่เปน ปจจุบันนี้ 3_edit.indd 86 20-Feb-13 11:28:38 PM


๘๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับตางประเทศ หลังจากที่ทรงมีกระแสพระราชดําริเกี่ยวกับผูสืบราชสมบัติแลว (วันอาทิตย เดือน ๓ ขึ้น ๘ คํ่า) ในวันอังคาร เดือน ๓ ขึ้น ๑๐ คํ่า พ.ศ. ๒๓๙๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวได โปรดเกลาฯ ใหพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) จางวางมหาดเล็กซึ่งเปนขุนนางคนสนิทเขาไป เฝาในพระที่ ทรงมีพระราชปรารภถึงเรื่องราวาตางๆ หลายเรื่อง ในตอนหนึ่งทรงมีพระราชกระแส ถึงแนวทางการติดตอกับตางประเทศในอนาคต ซึ่งปรากฏในกาลภายหลังวาไดเปนไปตามกระแส พระราชดําริทุกประการ “การศึกสงครามขางญาณขางพมาก็เห็นจะไมมีแลว จะมีอยูก็แตขางพวกฝรั่ง ใหระวังให ดี อยาใหเสียทีแกเขาได การงานสิ่งใดของเขาที่คิดควรจะเรียนเอาไว ก็ใหเอาอยางเขา แตอยาให นับถือเลื่อมใสไปทีเดียว...” ความสัมพันธกับพมา ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เปนสมัยสุดทายที่ไทยจะทําสงครามกับพมา หลัง จากไดสูรบกันมาประมาณ ๓๐๐ ป และสิ้นสุดเพราะพมาตองทําสงครามกับอังกฤษแลวตกเปน เมืองขึ้นหรืออาณานิคมของอังกฤษ 3_edit.indd 87 20-Feb-13 11:28:45 PM


๘๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เหตุที่อังกฤษกับพมาทําสงครามกันเพราะพมาตองการปราบแควนเล็กๆ ตามชายแดน ที่เปนอิสระ เชน ยะไข มณีปุระ อัสสัม (อะหม) จิตตะเกิง และกาชา บางทีก็ลํ้าเขาไปในเขต อินเดียของอังกฤษพอไดโอกาสที่วางสงครามทางอื่นอังกฤษก็หันมาแกแคนพมา ไดรบกัน เปนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๖ ในอัสสัมและจิตตะเกิงซึ่งเปนที่ปาดง อังกฤษสูพมาไมไดจึง เปลี่ยนวิธีใหมโดยยกกองทัพเรือเขาตีเมืองยางกุงในพ.ศ. ๒๓๖๗ ยึดเมืองได ตั้งแตนั้นมาอังกฤษ ก็ทําสงครามกับพมาอยางจริงจังมาชวนไทยใหชวยกันรบพมาเพราะรูวาไทยเปนคูปรปกษกับ พมา ไทยพยายามพิจารณาหาความจริง ยังไมทันตอบรับก็สิ้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลัย ในรัชกาลที่ ๓ อังกฤษไดติดตอมาอีกเพราะการตียางกุงไดแลวก็ไดแตเมืองเปลา พมาได กวาดตอนผูคนและขนเสบียงอาหารไปหมดรุกคืบหนาไมไดและยังเกรงพมาจะยกทัพใหญมารบ และกองอังกฤษทางอินเดียจะมาชวยไมทัน อังกฤษไดมีหนังสือและสงคนเขามาหลายทาง โดยได สงปนคาบศิลามาถวายพันกระบอกเพื่อเปนสินนํ้าใจ และรับรองวาถาตกลงรบพมาแลวจะสงเครื่อง ศัตราวุธใหอีก ไทยพิจารณาปญหาเปนสองกรณีคือ จะรบโดยลําพังพรอมๆ กันไปกับอังกฤษ หรือจะรวม มือกับอังกฤษทําสงครามดวยกัน ในกรณีแรกเมื่อรบชนะอาจเกิดบาดหมางกับอังกฤษเวลาแบงปนเขตพมา ในกรณีหลัง มีความลําบากอยูที่วายังไมมีคนที่ประสานงานใหเกิดความเรียบรอยในการรบ แตในที่สุดก็เลือก เอากรณีหลังคือรวมมือกับอังกฤษและเกิดเรื่องไมกลมเกลียวจนกลายเปนความไมพอใจกันใน ภายหลัง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวโปรดฯ ใหเจาพระยามหาโยธาเปนแมทัพยก ไปชวยอังกฤษรบ พอไปถึงเมืองทวายและมะริด ปรากฏวาอังกฤษตีไดแลว เจาพระยามหา โยธาเปนเชื้อมอญไดขอรองมิใหอังกฤษทําอันตรายแกชาวมอญในดินแดนที่อังกฤษตีได อังกฤษ ก็ยอมตามและตกลงกันวาจะใหทัพไทยตีขึ้นไปทางเมืองตองอู สวนอังกฤษยกขึ้นไปทางแมนํ้า อิระวดี ตอมาเกิดเรื่องขึ้นทางเมืองมะริด คือพระยาชุมพรไดกวาดตอนผูคนมา ๔๐๐ เศษ ตาม ธรรมเนียมของผูชนะ แตทางอังกฤษไมยอม ขอใหไทยสงคืน ไทยไดสงคืนไป ๙๐ ที่เหลือไมสงโดย อางวาพวกเชลยเหลานั้นสมัครใจจะอยูกับไทย ในที่สุดกองทัพเรือไทยกับอังกฤษเกิดยิงกัน รัชกาล ที่ ๓ ทรงขัดเคืองโปรดใหเรียกกองทัพกลับ รัฐบาลอังกฤษที่อินเดียก็หมดความปรารถนาที่จะรวม มือกับไทย แตเชอรแคมปเบล แมทัพอังกฤษเห็นพมายังมีกําลังมาก จึงไดขอใหทางรัฐบาลอังกฤษ พยายามเริ่มเจรจากับไทย 3_edit.indd 88 20-Feb-13 11:28:50 PM


๘๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับลาว เจาอนุวงศผูครองเมืองเวียงจันทน ประเทศลาวเคยเปนเมืองขึ้นของไทย มาตั้งแตรัชกาล สมเด็จพระนารายณมหาราช คิดกบฏ โดยเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๘ เจาอนุวงศมาถวายพระเพลิงพระบรม ศพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลาฯ พิจารณาเห็นวากองทัพไทยออนแอ มีขาวลือไปถึงเวียงจันทน วาไทยกับอังกฤษวิวาทกัน เจาอนุวงศจึงยกทัพลงมากรุงเทพฯ เมื่อยกมาถึงนครราชสีมา พระยา นครราชสีมาและพระยาปลัดไปราชการเมืองขุขันธ เจาอนุวงศจึงเขายึดเมืองและกวาดตอน ครอบครัวชาวเมืองขึ้นไปเวียงจันทน เมื่อพระยาปลัดเมืองนครราชสีมาทราบขาวจึงแกลงสวามิภักดิ์ ตอเจาอนุวงศ คุณหญิงโมภรรยาพระยาปลัดอุบายใหพวกครัวที่ถูกกวาดตอนแยกกันเปนกลุมๆ ไป ทันกันที่ทุงสัมฤทธิ์ ไดตอสูฆาฟนชาวเวียงจันทนลมตายมากมาย พวกลาวที่เหลือแตกหนีไปแจงเจา อนุวงศ เจาอนุวงศไดขาววากองทัพกรุงเทพฯ กําลังยกมาจึงใหเลิกทัพกลับเมืองเวียงจันทน พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาคุณหญิงโม เปน “ทาวสุรนารี” พ.ศ. ๒๓๗๐ โปรดเกลาฯ ใหเจาพระยาราชสุภาวดีกลับไปทําลายเมืองเวียงจันทน พระยา พิชัยสงครามคุมพล ๓๐๐ ขามแมนํ้าโขงไปดูลาดเลาไดความวาเจาเมืองญวนใหขาหลวงพาเจาอนุวงศ และเจาราชวงศกลับมา ครั้นรุงขึ้นเจาอนุวงศและเจาราชวงศยกพวกเขาโจมตีทํารายทหารไทยลม ตายเปนอันมาก เจาพระยาราชสุภาวดีเห็นพวกเวียงจันทนตามมาไลฆาฟนถึงชายหาดหนาเมืองพัน พราว ก็ทราบวาเกิดเหตุราย จึงขอกําลังเพิ่มเติมจากเมืองยโสธร เจาอนุวงศใหกําลังรี้พลขามตาม มาและปะทะกับทัพไทยที่บานบกหวาน เจาอนุวงศสูไมไดจึงพาครอบครัวหนีไปพึ่งญวน ในที่สุด เจาอนุวงศกับครอบครัวก็ถูกจับสงมากรุงเทพฯ และโปรดเกลาฯ ใหเอาตัวเจาอนุวงศใสกรงเหล็ก ประจานไวหนาพระที่นั่งสุทไธสวรรย ตอมาเจาอนุวงศก็ถึงแกพิราลัย ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนางสาวเสริมสุข เธียรสุนทร 3_edit.indd 89 20-Feb-13 11:29:06 PM


๙๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) 3_edit.indd 90 20-Feb-13 11:29:15 PM


๙๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) เจาอนุวงศ...ชาวเวียงจันทนนับถือวาเปนผูกลาหาญและเปนวีรบุรุษของลาว ไดขนานนาม ใหมวาเจาอนุรุทราช แมจะกลาหาญแตขาดความสามารถในการสงครามจึงตองพายแพ ตลอดรัชกาล ที่ ๓ อํานาจของไทยในลาวมีอยูอยางมั่นคง หลังจากปราบกบฏเวียงจันทนแลว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ให สรางปอมเพิ่มเติมที่สมุทรปราการ เชน ปอมปกกา ปอมตรีเพชร ปอมเสือซอนเล็บ ปอมวิเชียรโชฎก ความสัมพันธกับญวนและเขมร สมัยรัชกาลที่ ๒ ไทยสูญเสียอํานาจในดินแดนเขมรไปเกือบหมด ยกเวนเมืองพระตะบอง และเสียมราฐ ญวนเขาไปมีอิทธิพลแทนที่ แตไทยก็พยายามรักษาไมตรีกับญวนเพราะกลัววาพมา จะเขามาซํ้าเติมไทย สมัยรัชกาลที่ ๓ ความสัมพันธกับญวนเสื่อมลงจนถึงขีดสุด ทรงตัดสินพระทัย ใชกําลังขับไลอิทธิพลญวนออกไปจากลาวและเขมร การสงครามยืดเยื้อเปนเวลากวาสิบปและไทย สามารถมีอํานาจในเขมรอีกครั้งหนึ่ง ครั้งกบฏเจาอนุวงศ ญวนไดใหความชวยเหลือและแผอํานาจเขาไปในลาวตอนเหนือ บาง สวนอยูใตอํานาจของไทย เราไดสงกองทัพไปขับไล มีการสูรบกันจนใน พ.ศ. ๒๓๗๗ สามารถขับไล ทหารญวนออกไปไดสําเร็จและตัดสินใจชวยกบฏญวนที่ไซงอนเพื่อตัดทอนอํานาจของญวน จากนั้น ก็ยกทัพใหญเขาเขมร โดยมีเจาพระยาบดินทรเดชาเปนแมทัพบกและเจาพระยาพระคลังเปนแมทัพ เรือและมีทัพลาวเขาสมทบ ทัพไทยรุกเขาไปในเขมร พระอุทัยราชากษัตริยเขมรหนีไปเมืองญวน ไทยยึดไดพนมเปญ แลวไปสมทบกันโจมตีญวนถึงไซงอนแตไมสามารถยึดไวไดจึงถอยกลับเขาแดนเขมร และถูกลอบ โจมตีตลอดเวลา จึงตัดสินใจยกกลับเขาเขตไทยหลังจากทําลายกําแพงเมืองพนมเปญ ญวนกลับมี อํานาจในเขมรอีก ไดปกครองอยางโหดรายจนเกิดความวุนวายระสํ่าระสายทั่วไป พ.ศ. ๒๓๘๐ รัชกาลที่ ๓ โปรดใหเจาพระยาบดินทรเดชานําทัพผสมระหวางไทย ลาวและ เขมรเขาตีที่มั่นของญวนไดหลายแหงและมีหนังสือไปถึงแมทัพญวนที่โพธิสัตว ทําอุบายขูวาไทยมี กําลังมากมายตามมา ถาญวนยอมแพทําสัญญาสงบศึกถอนตัวไปจะไมทํารายทหารหรือทรัพยสมบัติ และจะปลอยเชลยศึก แมทัพญวนยอมทําสัญญาสงบศึก ไทยจึงยึดเมืองโพธิสัตวไวได แตทหารญวน สวนใหญยังคงคุมอยูที่พนมเปญและกําปงธม พ.ศ. ๒๓๘๓ เมื่อเจาพระยาบดินทรเดชาซึ่งในขณะนั้นตั้งขัดตาทัพคอยระวังเหตุการณอยู ณ เมืองพระตะบอง จะไปทําศึกกับญวนเปนครั้งที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ ใหนักองดวงเจา นายเขมรซึ่งฝกใฝขางไทย และขณะนั้นอยูที่กรุงเทพฯ ออกไปชวยเจาพระยาบดินทรเดชาในราชการ ทัพดวย เพื่อวาเมื่อเสร็จสงครามแลว เจาพระยาบดินทรเดชาจะไดอภิเษกนักองดวงเปนกษัตริย เขมร เมื่อนักองดวงมากราบถวายบังคมลา รัชกาลที่ ๓ ไดพระราชทานพระบรมราโชวาทสั่งสอน นักองดวงหลายประการ และไดทรงมีพระราชกระแสถึงการชวยเหลือเมืองเขมรวา ทรงกระทําไป เพื่อกูเมืองเขมรไวไมใหพระพุทธศาสนาเสื่อมสูญ 3_edit.indd 91 20-Feb-13 11:29:20 PM


๙๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ...ถาพระองดวงออกไปถึงเจาพระยาบดินทรเดชาฯ แลว ก็ใหฟงบังคับบัญชาเจาพระยา บดินทรเดชาฯ ใหชอบดวยราชการจงทุกประการ จะอยูใกลอยูไกลประการใดก็อยาทําใจสูงลวง บังคับบัญชา กลัวเกรงเจาพระยาบดินทรเดชาฯ ใหเสมอเปนอารมณ ตั้งใจทําราชการฉลองพระ เดชพระคุณสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยสัตยสุจริต จงมีจิตกตัูรูพระเดชพระคุณวาองคอิ่มคิดกบฏ ประทุษรายแลว พระองคดวงเปนนองพระองคอิ่ม ไมทําลายลางเสียเหมือนดังญวนกระทํากับองค อิ่ม ยังทรงพระมหากรุณาเมตตาชุบเลี้ยงพระองคดวงใหเปนเจานายสืบเชื้อวงศกษัตริยเมืองเขมร ตอไป สิ่งไรที่ชั่วที่ผิดอยาประกอบไวในสันดาน อยากําเริบ อยาโลภ กลาใหเกินประมาณ สุกแลว จึงหอม งอมแลวจึงหวาน เจาพระยาบดินทรเดชาฯ จะจัดแจงเหมือนโพธิสัตวใหเปนเมืองใหญ ใหเมืองเขมรทั้งปวง ขึ้นกับเมืองโพธิสัตวใหนักองดวงเปนเจานายครอบครองเขมรอยูในเมืองโพธิสัตวนั้น เจาพระยา บดินทรเดชาฯ จะปรึกษาหารือดวยจะตั้งแตงพระยาพระเขมรผูใหญผูนอยตามตําแหนงประการ ใดก็ใหพระองคดวงไถถามไลเลียงพระยาพระเขมรทั้งปวงใหเห็นพรอมกันวา ผูใดมีชาติมีสกุล มีสติ ปญญาการศึกสงครามเขมแข็ง จัดเอามาใหเจาพระยาบดินทรเดชาฯ ตั้งแตงเปนที่พระยาพระเขมร ผูใหญผูนอยตามลําดับกัน และเขมรถือชาติถือสกุลตามสกุลผูใหญผูนอย ถาจะตั้งแตงพระยาพระ เขมรสืบไป ก็อยาใหลุอํานาจแตโดยใจวาคนผูนี้เปนพวกมาแตกอน ผูนี้มิไดเปนพวกมาแตกอน ให พิเคราะหดูชาติดูสกุลและคนมีความชอบ ควรจะใชไดอยางไรก็ใหตั้งแตงตามสมควร ใหผูนอยกลัว ผูใหญเปนลําดับกันอยาถือผูนอยใหขามเกินผูใหญ อยาเห็นแกหนาเกรงใจบุคคล อยาหูเบาใจเบา พระยาเขมรจะมีความโทมนัส พระยาพระเขมรนับถือยกยองพระองคดวงเปนเจานายแลว พระองค ดวงก็ตองนับถือคารวะพระยาพระเขมรผูใหญผูนอยตามสมควร เอาเนื้อเอาใจพระยาพระเขมรใหดี รสวาจาก็ใหออนหวาน ใหเปนที่นิยมนับถือกับพระยาพระเขมร ภาพจิตรกรรมเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย แหงพระบรมราชจักรีวงศ โดยนายวิทย พิณคันเงิน 3_edit.indd 92 20-Feb-13 11:29:36 PM


๙๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) พระองคดวงสติปญญาอายุอานามก็เปนผูใหญแลวจะตริการใด ก็ใหรอบคอบทําใจใหเสมอ อยากอปรไปดวยฉันทาโทสาโมหาภยาคติ ตั้งตัวใหเที่ยงธรรม ทําใหคมคาย ใหพระยาพระเขมร กลัวอํานาจ อยาใหหมิ่นประมาทได กลัวนั้นมีอยู ๓ ประการ กลัวอาชญาประการ๑ กลัวบุญกลัว วาสนากลัวสติปญญานั้น ทั้งรักทั้งกลัว เขมรผูใดผิด กระทําโทษตามผิดนั้นก็ใหหยิบยกโทษผิด ออกใหเห็น อยาใหผูอื่นติเตียนวากระทําโทษคนหาผิดมิได จะพิพากษาตัดสินกิจสุขทุกขอาณา ประชาราษฎรประการใด ก็ใหเปนยุติเปนธรรมใหสอดสองจนรอบคอบ อยาใหพระยาพระเขมรทํา ขมเหงเบียดเบียนฉออาณาประชาราษฎรใหไดความเดือดรอน นายก็อยาใหเบียดเบียนบาว บาวจะ ไดมีใจรักนาย นายไพรจะไดพรอมมูล ชวยกันรักษาบานเมือง...(๑) รัชกาลที่ ๓ โปรดใหเจาพระยาบดินทรฯ นําตัวนักองดวงไปปกครองเขมรที่เมืองอุดงฤๅชัย ใน พ.ศ. ๒๓๘๔ มีขุนนางและประชาชนชาวเขมรมาเขาดวยเปนอันมาก ญวนไดกอตั้งนักองคอิ่ม เปนผูปกครองเขมรที่พนมเปญเปนการแขงขันกับฝายไทย แตชาวเขมรไมยอมไปเขากับนักองอิ่ม เพราะเกลียดญวนที่มีนโยบายกลืนชาติเขมรตลอดเวลา ญวนเห็นทีจะเสียเปรียบไทยจึงถอยจาก พนมเปญลงไปทางใต ไทยจึงยึดพนมเปญไว เขมรจึงแบงเปนสองภาค คือภาคเหนือไทยปกครอง สวนภาคใตเปนของญวน พ.ศ. ๒๓๘๕ ไทยตองการขับไลญวนออกจากภาคใตของเขมรจึงยกทัพบกทัพเรือไปโจมตี ทางบกประสบความสําเร็จ สวนทางเรือไมสามารถเอาชนะญวนได จึงตองถอยกลับทั้งทัพบกทัพ เรือ การรบระหวางไทยกับญวนหยุดไปชั่วคราว ตอมาเกิดขาดแคลนอาหารและเกิดโรคระบาดในกองทัพและยังเกิดกบฏในตังเกี๋ย ทหารญวน สวนใหญจึงกลับไปปราบกบฏ อํานาจของญวนคลอนแคลนมากในปลายป พ.ศ. ๒๓๘๖ ปลายป พ.ศ. ๒๓๘๗ ญวนเริ่มสงทหารและเรือรบเขาเขมร รัชกาลที่ ๓ โปรดใหเจาพระ ยาบดินทรฯ ยกทัพเขาไปใน พ.ศ. ๒๓๘๘ ทัพไทยกับญวนรบกัน ทัพญวนแตกพายหนีลงใตและ พยายามกลับมาแกมืออีกหลายครั้งแตไมสําเร็จ ขณะนั้นฝรั่งเศสเริ่มรุกรานญวน ญวนจึงตัดสินใจ สงบศึกกับไทยในพ.ศ. ๒๓๙๐ ทําใหอิทธิพลของไทยในเขมรมีมากขึ้นกวาสมัยรัชกาลที่ ๒ จนเสมอ กันกับญวนอีกครั้งหนึ่ง พ.ศ. ๒๓๙๑ รัชกาลที่ ๓ โปรดใหขาหลวงแทนพระองคไปประกอบพิธีราชาภิเษกนักอง ดวง สถาปนาใหเปนสมเด็จพระหริรักษรามาธิบดีกษัตริยเขมร ทางญวนก็แตงตั้งนักองดวงใหมียศ ตามแบบญวน กษัตริยเขมรตองสงบรรณาการมาถวายกษัตริยทุกปและถวายกษัตริยญวนทุกสามป ไทยปกครองเขมรแบบประเทศราช ไมตองการผนวกดินแดนมาเปนสนหนึ่งของไทย ตองการ ใหเขมรปกครองกันเองเปนรัฐกันชนระหวางไทยกับญวนเพื่อความปลอดภัยของไทย ดวยเหตุนี้ทําให เขมรสวนใหญหันกลับมาทางฝายไทยเพราะไมตองการกลับไปอยูใตการปกครองของญวน (๑) บุนนาค พยัคฆเดช, ประวัติเจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี), พิมพครั้งที่ ๓, (อนุสรณในงานฉลองอนุสาวรีย รูปหลอ เจาพระยาบดินทรเดชา ๒๔ มิถุนายน ๒๕๒๑). 3_edit.indd 93 20-Feb-13 11:29:41 PM


๙๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับจีน ในสมัยรัชกาลที่ ๓ มีชาวจีนอพยพเขาเมืองไทยมาก ประมาณกันวาราว ๑๕,๐๐๐ -๒๕๐,๐๐๐ คน สวนมากมาจากตอนใตของจีนเพราะเกิดขาดแคลนอาหารและความยุงยากทางการ เมือง ทําใหตองอพยพออกนอกประเทศมากขึ้น มาทําการคาขายเปนกรรมกร ทําการเพาะปลูก เปน เจาของโรงงาน ทอผา นํ้าตาล บางคนก็เขารับราชการในเมืองไทยไดเปนนายอากร (ผูรับผูกขาดภาษี อากร) แตไมมีบทบาททางการเมือง เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวขึ้นครองราชย โปรดเกลาฯ สงทูตไปเมืองจีน ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๘ แตงใหทูตานุทูตเชิญพระราชสาสน เครื่องราชบรรณาการตาม ธรรมเนียมออกมาจิ้มกอง ซึ่งจีนถือวาเปนธรรมเนียม รัฐบรรณาการของจีน ความสัมพันธกับหัวเมืองมลายู สมัยรัชกาลที่ ๓ หัวเมืองมลายู พยายามจะแยกตัวเปนอิสระอยูเสมอ ใน พ.ศ. ๒๓๗๔ มี เชื้อสายพระยาไทรบุรีคนเกา (ตนกู ปะแงรัน) เปนกบฏยกกําลังมาโจมตีและยึดไทรบุรีไว รัชกาลที่ ๓ โปรดใหทัพของนครศรีธรรมราชและพัทลุงไปปราบไดสําเร็จ อังกฤษไดสงเรือรบมาชวย ตามขอ ตกลงในการหยุดยั้งผูสนับสนุนพวกกบฏ ขณะเดียวกันหัวเมืองปตตานีกําเริบยกมาตีสงขลา โปรด ใหทัพทางกรุงเทพฯ ไปชวยแตกําลังไมพอ จึงทรงตองใหเจาพระยาพระคลังนําทัพใหญลงไปจาก กรุงเทพฯ โดยมีทัพของเจาพระยานคร (ศรีธรรมราช) เขาสมทบจึงปราบปตตานีไดสําเร็จ และ เตรียมตัวโจมตีกลันตันและตรังกานูซึ่งใหที่พักพิงแกพระยาปตตานี ตอมาทางกลันตันยอมออนนอม และสงตัวพระยาปตตานีมาใหลงโทษ หัวเมืองมลายูสงบไดเพียง ๖ ป เกิดกบฏขึ้นที่ไทรบุรีอีก สามารถยึดไทรบุรี เมืองตรัง กานูและสตูลไวได รัชกาลที่ ๓ โปรดใหเจาพระยาศรีพิพัฒนเปนแมทัพใหญ สมทบดวยทัพทาง นครศรีธรรมราชและสงขลาลงไปปราบไดสําเร็จ การกอกบฏของเมืองไทรบุรีแตละครั้งทําใหหัวเมืองมลายูพลอยเปนกบฏไปดวย ไทยไดคิด แกปญหาดังนี้ คือ ตั้งชาวมลายูขึ้นปกครองไทรบุรีเพราะถาใหคนไทยปกครองเรื่องยุงยาก ไมอาจ ยุติลงไดแตจะตองระมัดระวังในการเลือกสุลตานปกครองตองเปนคนที่ไววางใจไดและเปนที่เชื่อถือ เลื่อมใสของชาวไทรบุรี และเห็นควรแบงไทรบุรีออกเปนรัฐยอยสามรัฐ (ไทรบุรี กาปงสุ และปลิส) เพื่อตัดทอนกําลังมิใหรวมกันเปนปกแผนมั่นคง อํานาจของไทยในหัวเมืองมลายู ในตอนปลายรัชกาลที่ ๓ มั่นคงกวาแตกอนเปนอันมากเพราะ ทรงเปลี่ยนนโยบายใหมคือ แทนที่จะไมยอมรับรูอิทธิพลของอังกฤษดังในอดีต พระองคกลับผูกมิตร กับอังกฤษ สามารถทําใหอังกฤษรับรองสิทธิของไทยในมลายูและชวยไทยปราบกบฏในไทรบุรี ภาย หลังอังกฤษกับไทยทําสัญญาคาขาย ไทยอนุญาตใหอังกฤษเขามาตั้งที่ทําการคาขายในกรุงเทพฯ 3_edit.indd 94 20-Feb-13 11:29:46 PM


๙๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับอังกฤษ ปรากฏในชั้นหลังเมื่อมีกานไตสวนกันขึ้นวาฝายไทยผิด รัชกาลที่ ๓ จึงรับสั่งใหนําตัวพระยา ชุมพรเขามาประจําในกรุง การเจรจากับอังกฤษในระยะหลังคอนขางเรียบรอยเพราะอังกฤษพยายาม รักษาไมตรีในการขอความรวมมือเพื่อรบพมาแถมยังมีโครงการทําสัญญาการคาและพิจารณาชําระ สะสางปญหาเรื่องเขตแดนทางมลายูของอังกฤษ ไทยตัดสินใจที่จะรวมมือกับอังกฤษ โดยมีเจาพระยามหาโยธาเปนแมทัพ ยกไปทางเมืองเมาะ ตะมะซึ่งถูกอังกฤษยึดไวไดแลว เวลานั้นพมาจะสงทัพใหญจะมาตีเอาคืน กองทัพไทยสามารถตีทัพ พมาแตก ปองกันเมืองไวได การรบครั้งนี้เปนบทเรียนสําคัญทําใหไทยคิดไดวาการชวยอังกฤษรบตอ ไปคงจะตองเสียเลือดเนื้อมาก และไมไดอะไรเปนเครื่องตอบแทน ฉะนั้นกอนที่จะทําการตอไป ไทย จึงขอใหอังกฤษยกเมืองเมาะตะมะใหแกไทย ฝายอังกฤษไมยอมเพราะตองการไวเพื่อความสะดวก ในการคาขายในภายหนา สวนพวกมอญ ชาวเมาะตะมะยินดีจะขึ้นอยูกับไทย อังกฤษพยายามหา เจานายของมอญมาครองเมืองก็ไมสําเร็จ มาเกลี้ยกลอมเจาพระยามหาโยธาก็ไมตกลงดวย ฝายไทย ยืนกรานเด็ดขาดวาตองไดเมืองเมาะตะมะกอน จึงจะเคลื่อนทัพตอไป อังกฤษไมยอมจึงไมไดทําการ รบตอไปอีก อังกฤษตองรบไปฝายเดียวจนชนะเด็ดขาดในปลายป พ.ศ. ๒๓๖๘ เมื่อเสร็จสงคราม อังกฤษเสนอใหไทยรับเมืองทวายหรือเมาะตะมะเปนสินนํ้าใจในการเขา เปนสัมพันธมิตร แตไทยคิดไปถึงปญหาเรื่องเมืองไทรบุรีที่ยังคางอยู เกรงวาถารับเมืองเมาะตะมะ หรือทวายแลว อังกฤษจะมาขอเมืองไทรบุรีเปนการตอบแทน ไทยจึงไมยอมรับ เลยไมไดอะไรใน การชวยอังกฤษทําสงครามกับพมา แตยังคงไดเมืองไทรบุรีไว แตปนังก็ยังเปนของอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชย ใน พ.ศ. ๒๓๖๘ อังกฤษไดมาชวน ไทยใหชวยรบกับพมา ในดานการทูตอังกฤษไดสง รอยเอกเฮนรี เบอรนี เขามาเจรจาทางพระราช ไมตรี ใน พ.ศ. ๒๓๖๘ เปนผลสําเร็จ นอกจากทําความเขาใจเรื่องรบพมา เรื่องหัวเมืองมลายูและการ คาขายแลว ยังวาดวยการสมัครสมานขอพิพาทอันอาจบังเกิดระหวางกันอยางหนึ่ง วาดวยการปกปน เขตแดนแบงอาณาเขตเกาะสุมาตรากับลักษณะอันจําเปนเกี่ยวกับการสงผูรายขามแดนอีกอยางหนึ่ง ลอรดแอมเฮอรส อุปราชอังกฤษแหงอินเดีย ไดแตงตั้งให รอยเอก เฮนรี่ เบอรนี่ หรือที่คน ไทยในสมัยกอนเรียกวา “กะปตัน บารนี่” เขามาเปนทูตเจรจาทําสัญญาการคา เพื่อใหฝายไทยลด คาธรรมเนียมภาษีอากรที่เก็บจากเรือสินคาขาออกใหแนนอนและถือเปนหลักปฏิบัติสืบไป หนังสือ สัญญาทําขึ้นเปน ๔ ภาษา คือไทย อังกฤษ มลายู และโปรตุเกส คณะทูตอังกฤษไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวเมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๖๘ เฮนรี่ เบอรนี่ ไดกราบทูลถวายอักษรสาสน พรอมกับไดนอมเกลาฯ ถวายเครื่องราชบรรณาการ ผลของการทําสัญญาพระราชไมตรีนี้ทําใหอังกฤษสงเรือกําปนมาคาขายมากขึ้น พอคาอังกฤษคือ นาย โรเบิรต ฮันเตอร มาตั้งโรงงานที่บริเวณติดกับเขตยานที่อยูของพอคาชาวโปรตุเกสใกลกับโรงสวด (โบสถฝรั่ง) ซางตาครูส มีความชอบ ภายหลังโปรดใหนายฮันเตอรมีบรรดาศักดิ์เปน หลวงวิเศษภักดี 3_edit.indd 95 20-Feb-13 11:29:51 PM


๙๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ความสัมพันธกับอเมริกา เดิมพวกมิชชันนารีอเมริกันแบบเพรสไบทีเรียน (คือแบบที่สอนคริสตศาสนาของอเมริกันใน ประเทศไทยปจจุบันนี้) ไดมาตั้งคณะสอนศาสนาในเมืองจีน ไดทราบวามีชาวจีนไดเขามาอยูในเมือง ไทยเปนอันมาก และมีทางคมนาคมไปมากับเมืองไทยไดสะดวก พวกมิชชันนารีอเมริกันรุนแรก ดัง กลาวนามมาแลวขางตนก็ชวนนักเดินทางมายังประเทศไทย เมื่อพ.ศ. ๒๓๗๑ และไดขออนุญาต ตอรัฐบาลไทยที่จะอยูสอนศาสนาคริสตังแกชาวจีนก็ไดรับอนุญาตตามประสงค ในชั้นแรกพวกมิช ชันนารี รูแตภาษาจีน และมีหนังสือที่สอนก็เปนภาษาจีนไมสามารถจะสอนไทยได จึงเปนแตชวย รักษาไขเจ็บใหแกคนไทย คนไทยจึงเรียกวาหมอ อันเปนมูลเหตุใหคนไทยเรียกพวกมิชชันอเมริกัน ไมวาจะเปนแพทยหรือมิใชแพทยวา “หมอ”ทั้งนั้น นอกจากสอนศาสนาคริสต ยังนําสิ่งอันเปนคุณประโยชนมาเผยแผใหคนไทยไดมีความรูหลาย อยาง เชนการพิมพหนังสือไทยในปจจุบัน ชาวอเมริกันเปนผูริเริ่มนําเขามาเปนครั้งแรก ประเทศสหรัฐอเมริกาไดเริ่มมีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๓ (ค.ศ. ๑๘๓๒) ประธานาธิบดี แอนดรูว แจ็คสัน (Andrew Jackson) แหงสหรัฐอเมริกา ไดสงมร. เอ็ดมันด โรเบิรตส (Edmund Roberts) เปนทูตเขามาขอทําสัญญา การคาขายกับไทยและไดตกลงทําหนังสือสัญญาเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ ไดใหสัตยาบัน และทําพิธีแลกเปลี่ยนเมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๗๙ หนังสือสัญญาการคาขายที่ทํากับ สหรัฐอเมริกาครั้งแรกนั้น ก็เปนทํานองเดียวกับหนังสือสัญญาที่ไดทํากับประเทศอังกฤษครั้ง เฮนรี เบอรนี เปนทูตเขามาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๙ คือตนรัชกาลที่ ๓ ขอสําคัญแหงสัญญานั้นก็คือ อเมริกาและ อังกฤษยอมใหไทยเก็บคาปากเรือ ซึ่งบรรทุกสินคาเขามาขายตามขนาดเรือ คิดเปนวาละ ๑,๗๐๐ บาท ถาเปนเรือเปลาอับเฉาเขามาเก็บวาละ ๑,๕๐๐ บาท ฝายเรายอมวาถาไดเก็บคาปากเรือเชน วาแลว จะไมเก็บภาษีอากรอยางอื่นจากสินคาอีก ซึ่งนับตั้งแตนั้นมา มิตรภาพระหวางไทยกับ สหรัฐอเมริกาก็เริ่มวางรากฐานอยางมั่นคง กอนที่รัฐบาลทั้งสองจะไดทําสัญญาทางการคาตอกัน เมื่อพ.ศ. ๒๓๗๕ ดังกลาวมาแลวนั้น ประชากรระหวางประเทศทั้งสองไดมีบทบาทความสัมพันธกันมาแลว คือมิชชันนารีอเมริกาเปน ชาติแรกที่นําคริสตศาสนาลัทธิโปรเตสตันตเขามาเผยแผในเมืองไทย คณะมิชชันนารีพวกแรกที่มา ถึงเมืองไทยชื่อ มร. ทอม ลิน มร. มาชาลส คุตสลัฟ (C. Gutzlaff) (คนไทยเรียกหมอกิศลับ) และ เรเวอรน เอบิล ถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๓๗๑ นับเปนครั้งแรกที่ชาวอเมริกัน ไดเหยียบพื้นแผนดินไทย แตคณะมิชชันนารีคณะแรกนี้มาโดยมิไดรับคําสั่งจากสมาคมการศาสนา แหงสหรัฐอเมริกา ครั้นเมื่อพิจารณาเห็นวาประเทศไทยเปนสถานที่เหมาะแกการประดิษฐานคริสต ศาสนา จึงไดแจงขาวไปยังสมาคมการศาสนาพรอมทั้งออกความเห็นใหจัดสงมิชชันนารีเขามาสอน ศาสนาในเมืองไทย ดวยเหตุนี้มิชชันนารีอเมริกันรุนที่ ๒ อันมีเรเวอรเรนดยอน เตเลอริโยนส กับ ภรรยา และเวอรเรนต วิลเลียมดิน ซึ่งเปนมิชชันนารีติสตบอตก็เดินทางมาสูประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๖ และรุนที่ ๓ อันเปนมิชชันนารีบอดคอมมิชั่นเนอร ฟอรโฟเรนซ ซึ่งมีเรเวอร เรนด รอบินสัน 3_edit.indd 96 20-Feb-13 11:29:55 PM


๙๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) กับภรรยา เรเวอรเรนด เอส. ยอนสัน กับภรรยา และหมอ ดี.บี. บรัดเล กับภรรยาก็มาถึงประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๘ ภายหลังทั้งสองคณะหลังนี้รวมเปนคณะเดียวกันมีชื่อวา อเมริกันบอด คอมมิชชั่น เนอรฟอรโฟเรนซมิชชั่น (เรียกยอๆ วา A. B.C .F. M) พ.ศ. ๒๓๗๖ สหรัฐอเมริกาไดเขามาทําสัญญาทางพระราชไมตรีเชนเดียวกับอังกฤษ มีสัญญา วาดวยความ เสมอภาคที่ชาวอเมริกันจะเขามาทําการคาขายในเมืองไทย แตไทยยังไมอนุญาตใหตั้ง สถานกงสุล ในการพิมพหนังสือไทยนั้น ผูประดิษฐตัวพิมพเปนชาวอังกฤษคือ รอยเอก เจมส โลว ผูเขา มาเรียนภาษาไทยจนแตกฉานสามารถแตงหนังสือไวยากรณไทยเปนภาษาอังกฤษออกเผยแพร จากสิงคโปรในพ.ศ. ๒๓๗๙ มาตั้งที่สําเหรฟากธนบุรีเรียกวา โรงพิมพหมอบรัดเลย นอกจากพิมพ หนังสือไทยออกเผยแพรแลว ยังไดนําวิธีการปลูกฝปองกันไขทรพิษในพ.ศ. ๒๓๘๐ รวมไปถึงการ ใชยาสลบและการผาตัดตามวิธีศัลยกรรมแผนปจจุบัน การฉีดยาการตั้งโรงพยาบาลรักษาโรคที่ เพชรบุรีและเชียงใหม เมื่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช พวกหมอสอนศาสนา (มิชชันนารี) ไดแสดงความ เต็มใจชวยเหลือเปนอันดี ดานวิทยาศาสตรไดเริ่มเผยแพรเขามาพรอมกับวิชาดาราศาสตร ซึ่งรัชกาลที่ ๔ ทรงสนพระทัย มากมาแตครั้งดํารงพระยศเปนพระเจานองยาเธอขณะทรงผนวช ดานการตอเรือและการทหารเรือ ไทยไดรับการถายทอดความรู มีคนสําคัญสนใจศึกษา เชน พระบาทสมเด็จพระปนเกลาฯ ทรงศึกษาวิชาดาราศาสตรการเดินเรือและวิชาชางกลจน สามารถสรางปนใหญและเรือกลไฟได สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ครั้งเปนหลวงนาย สิทธิ์) สามารถตอกําปนแบบฝรั่งสําเร็จ นอกจากใชคาขายแลวยังดัดแปลงเปนเรือรบ รัชกาลที่ ๓ มีพระบรมราชโองการใหตอเรือของหลวงทุกลําแบบฝรั่ง (กําปน) ทั้งหมด แตก็ยังไมทรงลืมสําเภา ทรงเกรงวาจะลดนอยลงจนไมเหลือใหเห็น จึงโปรดสรางเรือสําเภาทรงเกรงวาจะลดนอยลงจน ไมเหลือใหเห็น จึงโปรดสรางเรือสําเภาแบบจีนไวเปนที่ระลึกที่เหนือบานทวายในวัดที่ชื่อวา วัด ยานนาวา ตอมา พ.ศ. ๒๓๙๓ รัฐบาลอเมริกันแตงใหนายโยเซฟ บัลเลสเตีย (Joseph Balestier) มากับเรือชื่อ Plymouth เปนทูตเขามาขอแกไขสัญญา ซึ่งนายเอ็ดมันด โรเบิรตส ไดทําไวเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวก็ทรงโปรดใหจัดการตอนรับเหมือนเชนที่เคยตอนรับ ทูตอเมริกันครั้งกอน แตการเจรจาไมเปนที่ตกลง เพราะโยเซฟ บัลเลสเตีย ตองการถวายสาสนของ ประธานาธิบดีตอพระเจาแผนดินโดยตรง วิธีการเชนนี้ขัดกับราชประเพณีไทย การมีลามแปลนั้น ไมสูจะไดความหมายถูกตองแนนอนนัก อยางไรก็ตามสาเหตุก็หาไดเปนอุปสรรคขัดขวางมิตรภาพ ระหวางประเทศทั้งสองไม แตมิทันที่จะเปดการเจรจากันใหม ก็พอดีพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาฯ เสด็จสวรรคต การทูตระหวางประเทศทั้งสองจึงหยุดชะงักลงชั่วระยะหนึ่ง นอกจากการสอนศาสนาอันเปนวัตถุประสงคสวนใหญแลว คณะมิชชันนารีอเมริกันยังได นําเอาวิทยาการแผนใหมมาชวยเสริมสรางความเจริญแกบานเมืองไทย ซึ่งพอจะสรุปเปนหัวขอ ยอๆ ไดดังนี้ 3_edit.indd 97 20-Feb-13 11:30:00 PM


๙๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ๑. ไดทําการรักษาโรครวมทั้งจําหนายจายแจกยาตางๆ ใหแกราษฎรไทยและจีน นอกจากนี่ ยังไดทําการศัลยกรรมตามแผนปจจุบันอีกดวย ซึ่งนับวาเพิ่งมีเปนครั้งแรกในประเทศไทย (ดูประชุม พงศาวดารภาคที่ ๑๒ ตอนที่วาดวยจดหมายเหตุหมอบรัดเลย) ๒. สอนวิชาการแพทยใหแกคนไทย เชนวิธีการปลูกฝ ดังปรากฏในจดหมายเหตุหมอบรัดเลย วา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว มีรับสั่งใหหมอหลวงไปหัดปลูกฝกับพวกมิชชันนารี เปนตน ๓. หมอบรัดเลยไดปลูกฝปองกันไขทรพิษใหแกคนไทยในกรุงเทพฯ เริ่มตั้งแต ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๓๘๖ เปนตนมา เปนครั้งแรกที่มีการปลูกฝในประเทศไทย(๑) ๔. การสอนอุตสาหกรรมการตอเรือแบบฝรั่งใหแกไทย ซึ่งทําใหเราไดมีเรือกําปนอยางฝรั่ง เปนครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๘ ซึ่งสมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) เมื่อครั้งยัง เปนหลวงนายสิทธิ์ ไดตอที่จันทบุรี แลวสงเขามาถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อ ไดทอดพระเนตรก็โปรดฯ พระราชทานชื่อวา เรือเทพโกสินทร และเรือระบิลบัวแกว แลวมีรับสั่ง ใหตอเพิ่มเติมขึ้นอีก ๑๐ ลํา (ดูตํานานเรือรบไทย พระนิพนธสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ) ๕. ใหกําเนิดการพิมพและหนังสือพิมพ เพราะการพิมพหนังสือก็ไดชาวอเมริกันเปน บูรพาจารย โดยมิชชันนารี รอบินสัน ซื้อเครื่องพิมพอักษรไทยที่พันโท เยมสโลว (ชาวอังกฤษ) เปน ผูประดิษฐคิดขึ้นมาจากสิงคโปร และไดนําเครื่องพิมพอักษรไทยมาตั้งใชในกรุงเทพฯ เปนครั้งแรก เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๓๗๘(๒) หนังสือพิมพ “บางกอกรีคอเดอร”(The Bangkok Recorder) ซึ่งหมอบรัดเลยจัดทําขึ้น เปนหนังสือพิมพขาวภาษาไทย เมื่อ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๘๗ ซึ่งเปนหนังสือพิมพฉบับแรกใน ประเทศไทย(๓) หาอานไดที่หอสมุดแหงชาติ แตฉบับที่มีอยูเปนฉบับที่ออกครั้งหลัง คือ พ.ศ. ๒๔๐๘ ในรัชกาลที่ ๔) ๖. เปนอาจารยสอนภาษาอังกฤษใหแกคนไทย ขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู หัวยังทรงผนวชอยู ก็ไดศึกษาภาษาอังกฤษจากมิชชันนารีอเมริกัน ชื่อ เชสสี คัสเวล ซึ่งพระองคทรง มีความรูภาษาอังกฤษใชการไดเปนคนแรกในเมืองไทย นอกจากนี้ก็มีเจานายพระองคอื่นไดทรงศึกษา ภาษาอังกฤษอีก เชน พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งยังเปนกรมขุนอิศเรศรังสรรค ทั้งยังทรงศึกษาวิชาทหารอยางฝรั่งอีก ดังมีเรื่องราวปรากฏอยูในจดหมายเหตุของพวกมิชชันนารี อเมริกัน ซึ่งหมอบรัดเลยไดพิมพไวในหนังสือบางกอกคาแลนดา วาในสมัยนั้นมีไทย ๕ คน ที่เรียน วิชาความรูของพวกฝรั่งจากพวกอเมริกันไดเปนอยางยอดเยี่ยม คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัวเมื่อยังทรงผนวชอยู ทรงศึกษาวิชาทางภาษาพระองค ๑ พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจา อยูหัว ทรงศึกษาทางวิชาทหารพระองค ๑ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ทรงศึกษาวิชาแพทยพระองค ๑ สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริวงศ ตั้งแตยังเปนหลวงนายสิทธิ์ศึกษาวิชาตอเรือกําปนองค ๑ นายโหมด อมาตยกุล ศึกษาวิชาชางกลคน ๑ หมอบรัดเลยกลาววา นายโหมด อมาตยกุล มีความ สามารถคิดทําเครื่องมือกลึงเกลียวไดเอง ซึ่งพวกอเมริกันเห็นวาเปนอัศจรรย (1) ประชุมพงศาวดารภาคที่ ๑๒ (๒) ดูสิ่งแรกในเมืองไทย เรื่องหนังสือพิมพในหมวดเบ็ดเตล็ด, สงวน อั้นคง. 3_edit.indd 98 20-Feb-13 11:30:04 PM


Click to View FlipBook Version