The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by larpsetthi, 2023-03-16 18:48:49

รัชกาลที่3

aw_เนื้อใน รัชกาลที่3

๙๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ศิลปกรรม และวรรณกรรม รัชกาลนี้เปนยุคแหงการสรางและปฏิสังขรณวัดวาอารามและพระบรมมหาราชวัง ไดรับการ บูรณะและกอสรางอยางขนานใหญ นับไดวาการชางศิลปกรรมไทยในรัชกาลนี้ไดเจริญกาวหนา สูงสุดในสมัยกรุงรัตนโกสินทร สถาปตยกรรมและจิตรกรรม สถาปตยกรรมในยุคนี้มีอิทธิพลของศิลปะการชางแบบจีน เขามาปะปนอยูมาก เห็นไดจาก วัดวาอารามตางๆ เชน วัดราชโอรสาราม วัดพระเชตุพนฯ วัดสุทัศนฯ วัดบวรนิเวศฯ ฯลฯ เหตุที่ศิลปะการชางของจีนเขามาสูประเทศไทยมากในรัชกาลที่ ๓ เนื่องจากทรงคบคาสมาคม กับบรรดาชาวจีนเปนจํานวนมากอยางใกลชิดมาตั้งแตครั้งยังมิไดเสวยราชย ประกอบกับทรงมีพระ ราชหฤทัยนิยมศิลปะจีนอยูมาก ศิลปะการกอสรางที่นับวาเพิ่งมีครั้งแรกในรัชกาลนี้ คือ การประดิษฐยอดซุมและยอดปราสาท เปนรูปทรงมงกุฎ เชนยอดมณฑป ยอดซุมประตู ยอดหอระฆังฯลฯ ถือกันวาเปนแบบอยางศิลปกรรม ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรโดยเฉพาะงานประดับมุก และลายรดนํ้า ชางในรัชกาลนี้ทําไดยอดเยี่ยม ไมแพยุคใดๆ เชน บานประตูพระอุโบสถวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งดานนอกประดับมุกเปนลายภาพเรื่อง รามเกียรติ์ ดานในเขียนลายรดนํ้าเปนรูปพัดพระราชาคณะตางๆ นับเปนฝมือชางยอดเยี่ยมชิ้นเอก ในรัชกาลนี้ 3_edit.indd 99 20-Feb-13 11:30:11 PM


๑๐๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สถาปตยกรรมจําพวกสถูปหรือปรางคที่สําคัญเชน พระปรางควัดอรุณฯ ซึ่งไดชื่อวาเปนพระ ปรางคที่มีรูปทรงสงาไดสวนสัดงดงามที่สุด เปนที่รูจักของชาวตางประเทศที่มาเยือนเมืองไทย เปน ศรีสงาแกบานเมืองทุกสมัยจนทุกวันนี้ และมีพระสมุทรเจดียที่สมุทรปราการ พระมหาเจดียสอง องคในวัดพระเชตุพนฯ ซึ่งทรงขนานนามวา พระมหาเจดียดิลกธรรมนิทานและพระมหาเจดียมุนี ปตตบริขาร เปนตน กั้บมีพระสถูปแบบแปลกที่ไมเคยสรางขึ้นในสมัยใด คือ สําเภาวัดยานนาวา และโลหะปราสาทที่วัดราชนัดดา ซึ่งโปรดใหสรางตามแบบอยางที่เคยมีอยูในลังกา สําเภาวัดยานนาวา โปรดใหสรางพระเจดีย มีฐานเปนสําเภาขนาดเทาสําเภาจริงๆ ดวยทรง พระราชดําริวาตอไปภายหนาเรือสําเภา(แบบจีน-ไทย) จะสูญไป ผูใดอยากดูมาดูไดที่วัดคอกกระบือ ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนชื่อใหมตามที่พระราชทานใหวา “วัดยานนาวา” การที่ทรงสรางพระสถูปแบบแปลกๆ เนื่องจากทรงเห็นวาพระเจดียตางๆ มีสรางกันมากแลว สมควรที่จะสรางพระสถูปแปลกๆ ขึ้นมาบาง ภาพจิตรกรรมฝาผนังในรัชกาลที่ ๓ ที่นับวางดงามเปนเยี่ยม จะดูไดจากในพระวิหารหลวง และพระอุโบสถวัดสุทัศนฯ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามวิหารพระพุทธไสยาสนและพระ อุโบสถ วัดพระเชตุพนฯ และที่วัดราชโอรสารามฯลฯ 3_edit.indd 100 20-Feb-13 11:30:21 PM


๑๐๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ปฏิมากรรม รัชกาลที่ ๓ โปรดใหสรางพระพุทธรูปขนาดใหญจํานวนมาก เชน พระพุทธตรีโลกเชษฐ วัด สุทัศน พระเสรฐตมมุนี วัดราชนัดดา พระพุทธมหาโลกาภินันท วัดเฉลิมพระเกียรติ นนทบุรี พระพุทธ ไตรรัตนนายก วัดกัลยาณมิตร พระพุทธไสยาสน วัดพระเชตุพนฯ พระพุทธรูปฉลองพระองคทรง สรางพระพุทธนิรมิตเปนพระฉลองพระองครัชกาลที่ ๒ และพระพุทธรังสฤษดิ์สําหรับพระองค และที่ สําคัญมากคือ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกกับพระพุทธเลิศหลานภาลัย ประดิษฐานในพระอุโบสถพระ ศรีรัตนศาสดาราม พระพุทธรูปทั้งสองนี้เปนพระพุทธรูปยืน ทรงเครื่องตน อยางพระเจาจักรพรรดิ ลงยาราชาวดีสูง ๖ ศอก หลอดวยทองสัมฤทธิ์เปนแกนในแลวหุมดวยทองคํา อันเปนเหตุใหเรียก พระนามรัชกาลที่ ๑ และที่ ๒ ตามพระพุทธรูปสององคนี้แตนั้น เปนตนมา แทนที่จะเรียกกันกอน หนานั้นวา “แผนดินตน”และ “แผนดินกลาง”ตามลําดับ ทรงเห็นวาถาเปนเชนนั้น รัชกาลพระองค จะปนแผนดินปลาย จึงโปรดใหเรียกพระนามรัชกาลที่ ๑ และที่ ๒ ตามนามพระพุทธรูปที่ทรงสรางขึ้นสององคนี้ นอกจากนั้นยังไดทรงสรางพระพุทธรูปปางตางๆ ขึ้นอีกรวม ๔๐ ปางดวยกัน ประติมากรรม การสรางรูปยักษใหญยืนถือตะบองนาเกรงขามดวยฝมือประณีตงดงามตามวัดตางๆ เชน ที่วัดพระแกว และวัดอรุณฯ มีการนิยมนํารูปสลักตัวตุกตาหินมาประดับไวตามสถานที่ตางๆ เปน ฝมือชางจีน มีทําเปนรูปตัวคนแบบงิ้ว เปนรูปสิงโตฯลฯ ตุกตาหินเหลานี้จะปรากฏอยูทั่วไปตาม พระอารามตางๆ ที่ทรงสรางและปฏิสังขรณ เชน วัดพระเชตุพนฯ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัด พระแกว) และในพระบรมมหาราชวัง เปนตน วรรณกรรม วรรณคดีสมัยรัชกาลที่ ๓ ไดเจริญสืบเนื่องมาจากสมัยรัชกาลที่ ๒ กวีในรัชกาลนี้จึงเปนกวีสืบ ตอมาจากรัชกาลกอน รัชสมัยนี้มีเหตุการณสําคัญที่สงเสริมการกวีใหเจริญงอกงามคือ การจารึกวิชา การที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กําเนิดการพิมพและหนังสือพิมพตลอดจนการชําระวรรณคดี กําเนิดการพิมพและหนังสือพิมพ แตเดิมวรรณคดีของไทยจะเขียนในใบลานหรือสมุดขอย (สมุดไทย) ตอมา พ.ศ. ๒๓๗๑ รอยเอกเจมส โลว ชาวอังกฤษคิดหลอตัวพิมพอักษรไทยขึ้นเพื่อ พิมพตามแบบยุโรป พ.ศ ๒๓๘๑ หมอสอนศาสนาชื่อหมอบรัดเลย ชาวอเมริกันไดนําแทนพิมพและ ตัวพิมพภาษาไทยเขามาในกรุงเทพฯ ไดรับจางพิมพประกาศเรื่องหามสูบฝนและนําฝนเขาประเทศ จํานวน ๙,๐๐๐ ฉบับใน พ.ศ. ๒๓๘๒ เปนเอกสารสิ่งพิมพราชการฉบับแรกชื่อ บางกอกรีคอรเดอร แตคนไทยไมนิยมจึงตองเลิกลมในปตอมา การชําระวรรณคดีไดโปรดใหทําขึ้นตอเนื่องมาจากการจารึกวิชาการที่วัดพระเชตุพนฯ เพื่อ ใหเปนแหลงความรูของประชาชน โดยไดโปรดใหนักปราชญ ราชบัณฑิตชวยกันชําระตรวจสอบและ เลือกสรรตําราตางๆ ที่สมควรเผยแพรแลวใหชางจารึกลงบนแผนศิลา วรรณคดีที่มีการชําระไดแก สุภาษิตพระรวง โคลงพาลีสอนนอง โคลงโลกนิติ เปนตน 3_edit.indd 101 20-Feb-13 11:30:26 PM


๑๐๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) บุคคลสําคัญ นักอุทกวิทยาของประเทศไทย ตามหลักฐานที่ปรากฏและรวบรวมไดจากประวัติศาสตรพบวา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ ของราชวงศจักรีเปนพระองคแรกที่ทรงใชสถิติทางอุทกวิทยา คือ ระดับนํ้า ของแมนํ้าเจาพระยา ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนขอมูลในการพยากรณสถานภาพทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย โดยมีบัญชาใหตั้งเสาระดับนํ้าเปนเสาหินเพื่อวัดระดับนํ้าสูงสุดของแตละป ซึ่ง จะอยูประมาณเดือน ๑๒ ของไทย หรือเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน จากคาระดับนํ้าสูงสุดนี้เอง สามารถพยากรณไดวา การทํานาของประเทศซึ่งสวนใหญทําอยูบริเวณทุงราบภาคกลางและจังหวัด 3_edit.indd 102 20-Feb-13 11:30:48 PM


๑๐๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) อยุธยาเปนศูนยกลางระดับนํ้าสูงสุดของแมนํ้าเจาพระยา จึงเริ่มมีสถิติตั้งแตป พ.ศ. ๒๓๗๔ (ค.ศ. ๑๘๓๑) เปนตนมา เหตุที่พระองคทานอยากทราบระดับนํ้าสูงสุดของแตละปก็เพื่อนํามาเตรียมรับ สถานการณทางเศรษฐกิจลวงหนา เพราะฤดูเก็บเกี่ยวจะทําเมื่อนํ้าลดประมาณเดือนธันวาคม – มกราคม อาจกลาวไดวา นอกจากเปนการเริ่มงานอุทกวิทยาของประเทศไทยแลว ยังเปนการเริ่ม ตนวิชาเศรษฐศาสตรของประเทศไทยดวย เสาระดับนํ้าที่พระราชทานตั้งขึ้นนี้ยังคงมีสถิติตอเนื่อง มาจนถึงปจจุบัน โดยกรมชลประทานเปนผูเก็บสถิติและใชประโยชนในปจจุบันยังใชในการพยากรณ นํ้าสูงสุดของกรุงเทพมหานครไดอีกดวย จึงสมควรยกยองและเทิดพระเกียรติของรัชกาลที่ ๓ วาเปน บิดา ผูใหกําเนิดงานอุทกวิทยาแกประเทศไทย กวีที่สําคัญ ๑. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชนิพนธ เรื่องเสภาขุนชาง ขุนแผน บางตอน เพลงยาวสังวาส สังขศิลปชัย บทกลอนเบ็ดเตล็ดไดแก บทสักวา เพลงยาวกลบท และกล อักษร เพลงยาวพระราชปรารภคราวจารึกที่วัดพระเชตุพนฯ ฯลฯ ๒. สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงนิพนธเรื่อง ปฐมสมโพธิกถา รายยาวมหาชาติ กฤษณาสอนนอง คําฉันท ฉันทดุษฎีสังเวยกลอมชางพัง รายทําขวัญนาค ตํารา ฉันทมาตราพฤติและวรรณพฤติ ตําราพิชัยสงคราม ลิลิตตะเลงพาย สรรพสิทธิ์คําฉันท สมุทรโฆษ คําฉันท ตอนปลาย เพลงยาวเจาพระยาฯลฯ ๓. กรมพระยาเดชาดิศร มีเรื่องโคลงโลกนิติ ทรงชําระและทรงนิพนธเพิ่มเติม โคลงนิราศ เสด็จไปทัพเวียงจันทน ฉันทกลอมพระเศวต และฉันทดุษฎีสังเวย ๔. กรมหลวงวงศาธิราชสนิท มีเรื่อง โคลงจินดามณี โคลงนิราศพระประธม โคลงนิราศ สุพรรณ กลอนกลบทจารึกในวัดพระเชตุพนฯ ๑ บาท คือ เพลงยาวกลบทสิงโตเลนหาง ๕. คุณพุม บุษบาทาเรือจาง กวีหญิงคนสําคัญมีผลงานสําคัญคือ เรื่องเพลงยาว เฉลิมพระเกียรติ (รัชกาลที่ ๓-๔) เพลงยาวฉลองสระนํ้าบางโขมด นิราศวังบางยี่ขัน บทสักวาตางๆ ๖. คุณสุวรรณ กวีหญิงมีชื่อเสียงดานการแตงสํานวนกลอนไพเราะและโลดโผนไมซํ้าแบบ ใคร มีผลงานที่สําคัญคือ เพลงยาวจดหมายเหตุเรื่องกรมหมื่นอัปสรสุดาเทพประชวร เพลงยาวเรื่อง หมอมเปดสวรรค บทละครเรื่องพระมะเหลเถไถ บทละครอุณรุทรอยเรื่อง ๗. พระมหามนตรี(ทรัพย) มีผลงานคือ บทละครเรื่องระเดนลันได เพลงยาววากระทบพระ มหาเทพ เพลงยาวจารึก วัดพระเชตุพน ๘. พระเทพโมลี (ผึ้ง) แตงแบบเรียนปฐมมาลา ๙. นายมี (หมื่นพรหมสมพัตสร) แตงเรื่องนิราศถลาง นิราศเดือน นิราศสุพรรณ (คํากลอน) นิราศพระแทนดงรัง เพลงยาว สรรเสริญพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 3_edit.indd 103 20-Feb-13 11:30:53 PM


๑๐๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) 3_edit.indd 104 20-Feb-13 11:31:05 PM


๑๐๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สถานที่สําคัญ พระบรมมหาราชวัง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยู หัว ทรงดําเนินนโยบายตอจากพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักรีบรมนาถ พระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลก ในการสรางและตกแตงพระนครใหงดงาม ทรงบูรณะและปฏิสังขรณพระบรม มหาราชวังและวัดวาอารามเสียใหม ตลอดจนมีการสรางโบสถวิหารการเปรียญเพิ่มขึ้นเปนจํานวน มาก สําหรับพระบรมมหาราชวังและบริเวณใกลเคียง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหบูรณะ ปรับปรุงพระบรมมหาราชวังชั้นนอก โดยทําโรงปนจารงรางเกวียนรอบพระระเบียงวัดพระ ศรีรัตนศาสดารามและแถวกําแพงดานตะวันออกตอเนื่องกันไป พระบรมมหาราชวังชั้นกลางทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหปฏิสังขรณพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท โดยซอมแซมเครื่องบน เปลี่ยน หลังคาซึ่งเดิมดาดดวยดีบุกเปนกระเบื้องเคลือบสี แลวปดทองใหม รื้อเครื่องบนพระที่นั่งพิมานรัต ยาซอมแซมใหม และปฏิสังขรณพระที่นั่งพลับพลาสูงหนาจักรวรรดิ ทําเปนผนังกออิฐ หลังคามุง กระเบื้องเคลือบ ประดับกระจก ชอฟา ใบระกาแกว และพระราชทานนามวา พระที่นั่งสุทธาสวรรย (ตอมาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนนามวา พระที่นั่งสุทไธสวรรย) สวนหอกลางนั้นเดิมเปนเครื่องไม ยอดมณฑป ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหทําเปนเครื่องกอชั้นลาง แตชั้นกลางและชั้นบนนั้นเปนฝาขัดแตะถือปูน และ เปลี่ยนยอดมณฑปเปนยอดเกี้ยว นอกจากนั้นประตูกําแพงพระบรมมหาราชวัง และประตูกําแพง พระนคร ซึ่งแตเดิมทําเปนประตูยอดมณฑป เครื่องไมทาดินแดง ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหรื้อ ใหมเปนประตูหอรบ วังเจานายสรางในรัชกาลที่ ๓ พระเจาลูกยาเธอในรัชกาลที่ ๓ ทรงเจริญพระชันษาทันไดออกจากวังในรัชกาลนั้นหมดทุก พระองค เปนแตออกวังตางคราวกัน พระเจาลูกยาเธอมีออกวังคราวแรก ๖ พระองค คือ ๑. สมเด็จกรมหมื่นมาตรยาพิทักษ สรางวังใหม ๒. พระองคเจาลักขณานุคุณ ไดพระราชทานวังถนนหนาพระลานริมประตูทาพระ ที่พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดเสด็จประทับอยูกอน ๓. กรมหมื่นเชษฐาธิเบนทร สรางวังใหม ๔. กรมหมื่นอมเรนทรบดินทร สรางวังใหม ๕. พระองคเจางอนรถ สรางวังใหม 3_edit.indd 105 20-Feb-13 11:31:10 PM


๑๐๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ๖. กรมหมื่นภูมินทรภักดี สรางวัดใหม วังที่สรางใหม ๕ วัง สรางในที่แปลง ๑ ดานเหนือจดถนนเขตวัดพระเชตุพน ดานตะวันออก จดถนนสนามชัย ดานตะวันตกจดถนนมหาราชริมกําแพงพระนคร ดานใตถนนทั้ง ๒ นั้น ไปบรรจบ กันที่เปนชายธงตรงสะพานขามคลอง (ตลาด) คูเมืองเดิม วังทางตอนเหนือสรางเปนคู หลังวังจดกัน หันหนาวังออกถนนสนามชัย ๒ วัง หันหนาวังออกถนนมหาราช ๒ วัง วังที่สุดทางใตเปนวังเดียว ดวยรูปที่เปนชายธง ดังนี้ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๑ หันหนาออกถนนสนามชัย เปนวังเหนือ สรางพระราชทานกรมหมื่นเชษฐาธิเบน เสด็จอยูจน สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๕ พระราชทานเปนวังกรมหลวงอดิศรอุดมเดช ทีหลังเสด็จ ไปสรางวังอยูที่อื่น จึงโปรดฯ ใหซื้อวังนี้สรางสถานที่สําหรับราชการ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๒ เปนวังเหนือถนนมหาราช ตรงหลังวังที่ ๑ สรางพระราชทานกรมหมื่นอมเรนทรบดินทร ครั้น โปรดฯ ใหกรมหมื่นอมเรนทรบดินทรเสด็จไปประทับที่วังริมทองสนามชัยวังใต พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกลาเจาอยูหัว พระราชทานวังนี้แกพระองคเจาลํายอง เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๕ พระราชทานเปนวังของกรมหมื่นทิวากรวงศประวัติ (แตกรมหมื่นทิวากรฯ เสด็จอยู ในวังกรมหลวงอดิศรฯ ซึ่งเปนพระเชษฐารวมเจาจอมมารดาเดียวกัน หาไดสรางตําหนักขึ้นในวังนี้ ไม) ครั้นกรมหมื่นทิวากรฯ เสด็จไปสรางวังอยูที่อื่น และสิ้นพระชนมแลว จึงทําเปนสถานที่สําหรับ ราชการ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๓ หันหนาออกสนามชัย เปนวังกลาง สรางพระราชทานพระองคเจางอนรถ เสด็จอยูจน สิ้นพระชนม เมื่อรัชกาลที่๓ จึงพระราชทานพระองคเจาเปยก เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาล ที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๕ พระราชทานเปนวังกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ เสด็จอยูมาจนทําเปนสถาน ที่สําหรับราชการ วัยทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๔ เปนวังกลางทาง ที่หันหนาออกถนนมหาราช สรางพระราชทานกรมหมื่นภูมินทรภักดี เสด็จ อยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ หมอมเจาในกรมอยูตอมาจนสรางสถานที่สําหรับราชการ 3_edit.indd 106 20-Feb-13 11:31:15 PM


๑๐๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๕ อยูปลายที่ทางขางใต เขตวังจดถนนมหาชัย ดาน ๑ จดถนนมหาราช ดาน ๑ พวกจีนเรียก วังนี้วา “ซากั๊กวัง”หมายความวาวังที่ทางสามแพรง วังนี้เขาใจวาเดิมสรางพระราชทานสมเด็จกรม หมื่นมาตยาพิทักษ ครั้นตอมาทรงพระราชดําริเห็นวาคับแคบนัก จึงสรางวังพระราชทานใหมที่ ริมแมนํ้าเหนือปากคลองตลาด สวนวังที่ ๕ พระราชทานเปนที่ประทับของกรมหมื่นอุดมรัตนราษี สมเด็จกรมหมื่นมาตยาพิทักษ สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๓ หมอมเจาในกรมอยูตอมา ครั้นถึงรัชกาล ที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทานวังสมเด็จกรมหมื่นมาตยาพิทักษที่ปาก คลองตลาดแกกรมหมื่นอุดมฯ โปรดฯ ใหพระองคเจามงคลเลิศ กับหมอมเจาองคอื่นในสมเด็จกรม หมื่นมาตยาพิทักษมาอยูที่วังที่ ๕ พระองคเจามงคลเลิศสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ หมอมเจาฉาย เฉิด ซึ่งทรงสถาปนาเปนกรมหมื่นนฤบาลมุขมาตย เมื่อรัชกาลที่ ๕ เสด็จอยูตอมาจนสิ้นพระชนม แลวเชื้อสายอยูตอมาจนสรางเปนสถานที่สําหรับราชการ พระเจาลูกยาเธอในรัชกาลที่ ๓ เสด็จออกวังในสมัยเปนตอนกลาง ๖ พระองค ไดพระราชทาน วังเกา ซึ่งพระเจาลูกยาเธอสิ้นพระชนมบาง สรางวังใหมพระราชทานบาง มีรายพระนามดังนี้ ๑. กรมขุนราชสีหวิกรม เสด็จอยูวังถนนหนาพระลานที่ริมประตูทาพระ แทนพระองคเจา ลักขณานุคุณที่สิ้นพระชนม ๒. พระองคเจาเปยก เสด็จอยูวังที่ ๓ ทายวัดพระเชตุพนฯ แทนพระองคเจางอนรถซึ่ง สิ้นพระชนม ๓. กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ สรางวังใหม ๔. กรมหมื่นอุดมรัตนราษี เสด็จอยูวังที่ ๕ ทายวัดพระเชตุพนฯ แทนสมเด็จกรมหมื่นมาต ยาพิทักษ ซึ่งเสด็จยายไปอยูวังใหม ๕. พระองคเจาลํายอง เสด็จอยูวังที่ ๒ ทายวัดพระเชตุพนแทนกรมหมื่นอมเรนทรฯ ซึ่งเสด็จ ยายไปอยูวังอื่น ๖. พระองคเจาเฉลิมวงศ สรางวังใหม วังซึ่งสรางใหมในรัชกาลที่ ๓ ในตอนนี้ ๓ วัง สรางที่ริมแมนํ้าเคียงปอมมหาฤกษ (อันเปน โรงเรียนราชินีบัดนี้) ๒ วัง สรางที่ถนนริมสนามชัย ฟากตะวันออกวัง ๑ ดังนี้ วังริมแมนํ้าเหนือปอมมหาฤกษ เขตวังดานเหนือตอกับวังแรกของสมเด็จกรมพระยาเดชาดิศร ดานใตจดปอม สราง พระราชทานพระองคเจาเฉลิมวงศ ครั้นพระองคเจาเฉลิมวงศสิ้นพระชนม พระราชทานกรมหมื่น ภูบดีราชหฤทัย เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ พระราชทานเปนที่วังสมเด็จกรมพระยา เทวะวงศวโรปการ เสด็จพักอยูจนยายมาประทับวังใหมที่สะพานถาน ที่วังเดิมนั้นโปรดฯ ใหสราง เปนโรงเรียนสุนันทาลัย (คือโรงเรียนราชินีบัดนี้) 3_edit.indd 107 20-Feb-13 11:31:20 PM


๑๐๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วังริมแมนํ้าใตปอมมหาฤกษ เขตวังดานใตจดปากคลองตลาด ดานเหนือจดปอมมหาฤกษสรางพระราชทานสมเด็จกรม หมื่นมาตยาพิทักษ เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนม ถึงรัชกาลที่ ๔ พระราชทานเปนวังของกรมหมื่น อุดมรัตนราษี ครั้นกรมหมื่นอุดมฯ สิ้นพระชนม หมอมเจาในกรมอยูตอมาจนสรางเปนโรงเรียน สุนันทาลัยในรัชกาลที่ ๕ วังถนนสนามชัย วังที่ ๓ แบงที่วังถนนสนามชัยที่ ๒ (คือวังที่สรางพระราชทานกรมหมื่นเสพสุนทรในรัชกาลที่ ๒) มา สรางเปนวังขึ้นอีกวัง ๑ หันหนาวังถนนสนามชัย ทรงขามฟากถนนกับวังที่ ๕ ทายวัดพระเชตุพนสราง พระราชทานกรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ เสด็จอยูมาจนถึงรัชกาลที่ ๕ โปรดฯ ใหเสด็จมาประทับ ที่วังถนนหนาพระลานริมทาชางแทนกรมขุนราชสีหวิกรม วังที่ ๓ นั้น พระราชทานกรมหลวงประ จักษศิลปาคมเสด็จอยูมา แลวถวายที่สรางโรงทหาร พระเจาลูกยาเธอรัชกาลที่ ๓ เสด็จออกวังเปนตอนหลัง ๔ พระองค สรางวังใหมพระราชทาน ทั้งนั้นคือ ๑. กรมขุนภูวนัยนฤเบนทราภิบาล ๒. กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ ๓. กรมขุนเจริญผลพูนสวัสดิ์ ๔. พระองคเจาจินดา วัง ๔ วังที่สรางตอนนี้ สรางที่ริมถนนเฟองนคร ๒ วัง สรางริมคลองสะพานถาน วัง ๑ สราง ที่ริมคลองคูเมืองเดิม ทางดานใตวัง ๑ ดังนี้ วังถนนเฟองนคร วังเหนือ หันหนาวังออกถนนเฟองนคร หลังวังจดคลองคูเมืองเดิม ที่วังอยูเขตดานใตของศาลาวาการ กระทรวงนครบาล (กระทรวงมหาดไทยปจจุบัน) เปนที่วังกรมขุนภูวนัยนฤเบนทราธิบาล เสด็จ ประทับอยูจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ หมอมเจาในกรมอยูตอมาจนสรางเปนศาลากระทรวง นครบาล วังถนนเฟองนคร วังใต ตอวังที่ ๑ ไปทางใต แตเขตวังทางดานใตเดิมถึงหนาพระอุโบสถวัดราชบพิตร เปนที่ประทับ ของกรมขุนเจริญผลพูนสวัสดิ์ ถึงรัชกาลที่ ๕ ทรงสรางตําหนักตึกพระราชทาน หันหนาวังกลับมา ออกถนนอัษฎางค เมื่อกรมขุนเจริญฯ สิ้นพระชนมแลว จึงสรางที่วาการกระทรวงโยธาธิการ 3_edit.indd 108 20-Feb-13 11:31:25 PM


๑๐๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วังริมคลองสะพานถาน อยูตรงที่สรางวัดราชบพิธ ที่วังเดิมหลังวัดจดคลองสะพานถาน หันหนาวังมาทางเหนือ เปน ที่ประทับของกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ เสด็จอยูมาจนรัชกาลที่ ๕ ตองการสรางวัดราชบพิธ จึงโปรดฯ ใหเสด็จกลับไปประทับที่วังทายวัดพระเชตุพน วังที่ ๓ วังคลองตลาด วังที่ ๒ วังคลองตลาดวังที่ ๑ เปนวังของกรมหมื่นสิทธิสุขุมการในกรมพระราชวังบวรฯ รัชกาล ที่ ๒ วังสีดาก็อยูริมคลองตลาดฝงเหนือ เขตตอวังที่ ๑ ไปจนเชิงสะพานชางทางปากคลอง สราง พระราชทานพระองคเจาจินดา ประทับอยูไมชาสิ้นพระชนมแตในรัชกาลที่ ๓ นั้น วังนี้หาปรากฏวา เจานายพระองคใดเสด็จอยูตอมาไม สงสัยวาวังที่ ๑ กับวังที่ ๒ ที่คลองตลาดนี้เดิมจะเปนวังพระองค เจาจินดาวังเดียว บางทีจะแบงที่พระราชทานกรมหมื่นสิทธิสุขุมการ ตอในรัชกาลที่ ๔ ก็อาจจะเปน ไดที่ ๒ วังดังกลาวทําเปนถนนราชินี ในรัชกาลที่ ๓ โปรดฯ ใหสรางวังใหมที่ริมถนนมหาชัยใกลประตูสะพานหัน ๓ วัง ดวยที่ตรง นั้นเปนทํานองดานตนทางที่จะไปสําเพ็ง ทรงพระราชดําริเห็นวาควรจะมีเจานายไปประทับอยูเปน ประธาน อยางเมื่อสมเด็จเจาฟากรมหลวงเทพหริรักษ เสด็จประทับอยูทางพระนครดานนั้นเหลือ รัชกาลที่ ๑ วัง ๓ วัง เดี๋ยวนี้รวมเปนวังบูรพาภิรมยวังเดียว แตเมื่อยังเปน ๓ วัง เจานายที่เสด็จ ประทับมีรายพระนามดังนี้ วังถนนมหาชัย วังเหนือ เปนที่ประทับของกรมหมื่นนเรนทรบริรักษ พระโอรสองคนอยของกรมหลวงนรินทรเทวี ซึ่งเปนพระเจานองนางเธอในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เดิมเสด็จอยูที่วังริมวัดโพธิ์ (พระเชตุพน) ครั้นจะขยายที่วัดเมื่อทําวิหารพระนอน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว จึง โปรดฯ ใหเสด็จไปประทับที่วังใหมที่ริมถนนมหาชัยวัง ๑ กรมหมื่นนเรนทรบริรักษ สิ้นพระชนมใน รัชกาลที่ ๓ เชื้อสายไดอยูตอมาจนรวมเปนบูรพาภิรมยเมื่อในรัชกาลที่ ๕ วังถนนมหาชัย วังกลาง อยูวังเหนือไปทางใต เปนที่ประทับของกรมหมื่นนรินทรเทพพระโอรสองคใหญของกรมหลวง นรินทรเทวี เสด็จยายไปจากวังริมวัดโพธิ์ กับกรมหมื่นนเรนทรบริรักษ และสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๓ ถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดฯ ใหกรมหมื่นภูบาลบริรักษเสด็จไป ประทับที่วังนี้ เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ จึงรวมที่สรางเปนวังบูรพาภิรมย 3_edit.indd 109 20-Feb-13 11:31:30 PM


๑๑๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วังถนนมหาชัย วังใต เขตตอวังกลางไปทางใต สรางพระราชทานสมเด็จกรมพระยาเดชาดิศร เสด็จอยูมาจน สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ หมอมเจาในกรมอยูตอมาจนสรางวังบูรพาภิรมยในรัชกาลที่ ๕ พระองคเจาลูกเธอ ในกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพยไดออกวัง ๙ พระองค คือ ๑. พระองคเจาสวาง ไดรับพระราชทานวังเหนือสะพานชางโรงสีพระองคเจาเนียม ๒. พระองคเจากําภู ไดพระราชทานวังที่ ๔ ริมสนามวังหนาที่พระองคเจานพเกา ๓. พระองคเจาอุทัย เสด็จอยูวังเดียวกับพระองคเจาสวางเพราะรวมจอมมารดาเดียวกัน ๔. กรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ์ สรางวังใหม ๕. เจาฟาอิศราพงศ ไดพระราชทานวังที่ริมปากคลองวัดชนะสงคราม ที่กรมขุนสุนทร ภูเบศร เสด็จอยูกอน ๖. พระองคเจานุช ไดพระราชทานวังสะพานเสี้ยววังที่ ๑ ที่พระองคเจาภุมริน เสด็จอยูกอน ๗. พระองคเจาแฉง เสด็จอยูวังเดียวกับพระองคเจาสวางเพราะรวมจอมมารดาเดียวกัน ๘. พระองคเจาเริงคนอง (ชายปอก) เดิมเสด็จอยูกับกรมหมื่นอานุภาพฯ แลวไดพระราชทาน ที่ในวังริมสนามวังหนาวังที่ ๑ ๙. พระองคเจาอินทวงศ สรางวังใหม วังเจานายวังหนาในรัชกาลที่ ๓ สรางใหม ๒ วัง เพราะกรมพระราชวังบวรฯ จะเลือกหาที่ อยางวังหลวงไมได ไดสรางในที่ซึ่งขึ้นอยูในกรมพระราชวังบวรฯ ดังนี้ วังถนนพระอาทิตย วังที่ ๒ ที่วังนี้อยูตอไปขางเหนือโรงพยาบาลทหาร เดิมเปนที่บานเสนาบดีวังหนา ครั้งรัชกาลที่ ๑ กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพยโปรดใหสรางวังกรมหมื่นอานุภาพพิศาลศักดิ์ เสด็จอยูมาจน สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ แลวกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญประทานเปนที่วังแกพระองคเจาวร วุฒิอาภรณลูกเธอ วังสะพานเสี้ยว วังที่ ๕ วังนี้อยูริมคลองหลอด ตรงวัดบุรณสิริขาม วาเดิมเปนที่บานพระยาพิชัยบุรินทรา เสนาบดี กรมเมืองวังหนา กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย ประทานใหเปนวังพระองคเจาอินทวงศ เสด็จอยูมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว พระราชทานให เปนวังกรมหมื่นพิศาลบวรศักดิ์ พระเจาลูกเธอ เสด็จอยูตอมาจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ ตอมา พระราชทานเปนวังพระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงประจักษศิลาคม วังเจานายที่สรางใหมในรัชกาลที่ ๓ วังเจานายฝายพระราชวังหลวง ๑๕ วัง วังเจานายฝาย พระราชวังบวร ๒ วัง รวมเปน ๑๗ วัง ดังกลาวมา 3_edit.indd 110 20-Feb-13 11:31:34 PM


๑๑๑ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) วังบานหมอ วังบานหมอ ตั้งอยูเลขที่ ๑๒๘ ถนนอัษฎางค เขตพระนคร เมื่อพุทธศักราช ๒๓๗๔ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ไดเกิดไฟไหมวังกรมหมื่นสุนทรธิบดี ตลอดไปจนถึงบานหมอ นับเปนบริเวณ กวาง พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระพิพักษเทเวศร (พระองคเจากุญชร ตนราชสกุลกุญชร ในรัชกาล ที่ ๒) จึงทรงยายวังจากริมถนนพระพิพิธฟากเหนือ ตรงขามวัดพระเชตุพนฯ มาสรางใหมในที่วาง บริเวณไฟไหมนั้น เสด็จประทับจนสิ้นพระชนมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว จากนั้นหมอมเจาใหญ ซึ่งไดรับสถาปนาเปนพระองคเจาสิงหนาทราชดุรงค ฤทธิ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กับหมอม เจาในกรมพระพิทักษเทเวศร ทายาทในราชสกุลกุญชร ไดปกครองวังบานหมอตอมาเปนลําดับ คือ เจาพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน (หมอมราชวงศหลานกุญชร) พระยาเทเวศรวงศวิวัฒน (หมอมหลวง วราห กุญชร) และปจจุบันคือ หมอมหลวงแฉลม กุญชร ปจจุบันภายในบริเวณวังบานหมอ มีทองพระโรง ศาลาหนาทองพระโรง และเกงดานหลัง ทองพระโรง อันเปนสิ่งกอสรางแตแรกเริ่มที่เหลืออยู ทองพระโรง เปนทองพระโรงหลังคาชั้นเดียวแบบไทย หลังคาเครื่องไมมุงกระบื้องไทย ชอฟา นาคลํายอง หางหงส ออนชอยงดงาม มีหนากระดานคอสองคั่นระหวางหลังคากับลาดหลังคา ทองพระโรง ยกพื้นสูง ใตถุนกอปูนทึบ เจาะชองลมรูปรีตามแนวดิ่ง ดานสกัดของทองพระโรงดานที่หันออกถนน อัษฎางคมีเกยหินออน เพราะทานเจาของวังเคยวากรมชางกรมมา ดานหนาทองพระโรงหันสูทิศ เหนือ มีเฉลียงประกอบดวยราวลูกกรงยาวตลอด ทองพระโรงมีประตูหนาตาง แตงไมสลักลาย กรอบหนาตางแตงกรอบในตัดมุมมนนอยๆ กรอบนอกหักมุมฉาก สลักกรอบ เปนรองยาว กรอบลางแตงไมฉลุลายเถาดอกพุดตาน นับเปนสวนงามเดนของฝาดานนอก ภายในหองพระโรง เปนโถงยาว เฉพาะตอนในกั้นเปนหองในสําหรับพักกอนออกทองพระ โรง ขอบฝาหองตอนลางแตงไมสลักลายบานประตูสูหองในและบานประตูใหญสูเฉลียงหลัง เขียน สีรูปมานสองไข มีพวงมาลัยหอย กรอบบนสลักลายเถาพุดตานปดทองลองชาดกรอบประตูสลัก เปนรูปเกลียวเชือกชั้นหนึ่ง และแกะสลักลายอีกชั้นหนึ่ง กรอบลางประตูหนาตางดานในสลักลาย เถาไมดอกเชนกัน ภายในทองพระโรงตั้งที่บูชา พระเสลี่ยง ตั่ง ของเดิมลวนสรางดวยไมสลักลาย ปดทองประดับกระจก ผนังดานที่กั้นทองพระโรงกับเฉลียงหลังติดรูปเจาของวังตั้งแตพระองคแรก จนถึงพระยาเทเวศรวงศวิวัฒน หองในเก็บพระอัฐิของบรรพบุรุษของราชสกุลกุญชรตั้งแตพระเจา บรมวงศเธอกรมพระพิทักษเทเวศร 3_edit.indd 111 20-Feb-13 11:31:39 PM


๑๑๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) สถานีตํารวจนครบาลพระราชวัง สถานนีตํารวจนครบาลพระราชวัง ตั้งอยูตรงทางสามแพรง ซึ่งถนนมหาราชและถนน สนามไชยมาบรรจบกัน เขตพระนคร เดิมเปนที่ตั้งของวังเจานายในราชวงศจักรี เรียกวา “วังทาย วัดพระเชตุพน” แตชาวจีนเรียกวา “ซากั๊กวัง”หมายถึงวัง ณ ทางสามแพรง ปรากฏประวัติในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๒๖ ตํานานวังเกาวา เดิมคงจะเปนวังที่พระบาท สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว สรางพระราชทานพระเจา บรมวงศเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ ตอมาทรงพระราชดําริวาวังคับแคบเกินไป จึงสรางวังใหมที่ริม แมนํ้าเจาพระยาเหนือปากคลองตลาดพระราชทานแทน สวนวังทายวัดพระเชตุพนนี้ พระราชทาน ใหเปนที่ประทับของพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นอุดมรัตนราษี ครั้นถึงรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ไดพระราชทานวังที่ปากคลองตลาดแกพระเจาบรม วงศเธอกรมหมื่นอุดมรัตนราษี แลวทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระองคเจามงคลเลิศกับพระโอรส ธิดาองคอื่นๆ ในพระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษมาอยูที่วังทายวัดพระเชตุพน หลังจาก ที่พระองคเจามงคลเลิศสิ้นพระชนม พระเจาบรมวงศเธอ กรมหมื่นนฤบาลมุขมาตยไดประทับตอมา จนกระทั่งสิ้นพระชนม แลวมีทายาทอยูตอมา ภายหลังจึงเปลี่ยนเปนสถานที่ราชการ ตึกซึ่งเปนสวนหนึ่งของวังทายวัดพระเชตุพนซึ่งยังปรากฏอยูในปจจุบัน เปนตึกชั้นเดียว สราง ตามแบบสถาปตยกรรมของยุโรป ใชเปนตึกสวนหนาของที่ทําการสถานีตํารวจนครบาลพระราชวัง ซึ่งยายจากสถานที่ดั้งเดิมใน บริเวณตลาดทาเตียนมาในพุทธศักราช ๒๔๕๗ ปจจุบันอาคารหลังนี้อยูในสภาพคอนขางดีเนื่องจาก ไดรับการบูรณะอยูเสมอกรมศิลปากรไดประกาศขึ้นทะเบียนสถานีตํารวจนครบาลพระราชวัง เปน โบราณสถานสําคัญของชาติ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๙๔ ตอนที่ ๗๕ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ 3_edit.indd 112 20-Feb-13 11:31:46 PM


๑๑๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) กระทรวงพาณิชย กระทรวงพาณิชย ตั้งอยูบริเวณเนื้อที่ที่มีถนน ๓ สายผาน คือ ถนนสนามไชย ทางทิศตะวัน ออก ถนนมหาราช ทางทิศตะวันตก และถนนเศรษฐการ ทางดานเหนือ เขตพระนคร บริเวณที่ตั้งกระทรวงพาณิชยเคยเปนสถานที่ตั้งของวังพระเจาลูกเธอในรัชกาลที่ ๓ รวม ๔ วังคือ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๑ เปนวังเหนือ หันออกถนนสนามไชย พระบาทสมเด็จพระ รามาธิบดีศรีสินทรมหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางพระราชทานกรมหมื่นเชษฐา ธิเบนทร ประทับอยูจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ จึงพระราชทานเปนวังกรมหลวงอดิศรอุดมเดช ตอมาเสด็จไปสรางวังอยูที่อื่น จึงโปรดใหซื้อที่วังสรางสถานที่ราชการในรัชกาลที่ ๖ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๒ เปนวังเหนือหันออกถนนมหาราช สรางพระราชทานกรม หมื่นอมเรนทรบดินทร ครั้นโปรดใหกรมหมื่นอมเรนทรบดินทร เสด็จไปประทับที่วังริมทองสนามไชย วังใตแลว พระราชทานวังแกพระองคเจาลํายอง ประทับอยูจนสิ้นพระชนม ในรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาล ที่ ๕ พระราชทานเปนวังกรมหมื่นทิวากรวงศประวัติ ครั้นกรมหมื่นทิวากรวงศประวัติเสด็จไปสราง วังที่อื่นแลว จึงทําเปนสถานที่ราชการในรัชกาลที่ ๖ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๓ หันออกถนนสนามไชย สรางพระราชทานพระองคเจาอ นรถประทับอยูจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่๓ จึงพระราชทานพระองคเจาเปยก ประทับอยูมาจน สิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๔ ถึงรัชกาลที่ ๕ พระราชทานเปนวังกรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ เคย 3_edit.indd 113 20-Feb-13 11:31:54 PM


๑๑๔ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ทรงใชบริเวณวังเปนที่เก็บหนังสือหอสมุดหลวงของกรมอาลักษณอยูหลายป กรมหลวงบดินทร ไพศาลโสภณประทับอยูจนสิ้นพระชนม หมอมเจาในกรมอยูตอมา จนทําเปนสถานที่ราชการ วังทายวัดพระเชตุพนฯ วังที่ ๔ หันออกถนนมหาราช สรางพระราชทานกรมหมื่นภูมินทร ภักดี ประทับอยูจนสิ้นพระชนมในรัชกาลที่ ๕ หมอมเจาในกรมอยูตอมาจนสรางสถานที่ราชการ ในรัชกาลที่ ๖ สถานที่ตั้งที่วาการกระทรวงพาณิชยนั้น สรางบริเวณวังที่ ๑ วังที่ ๒ และวังที่ ๓ ดังกลาว แลวขางตน สวนบริเวณวังที่ ๔ สรางเปนที่ทําการศาลาแยกธาตุ ตอมาเปนกรมวิทยาศาสตร และ ปจจุบันเปนที่ตั้งของกรมทะเบียนการคา ตัวตึกที่ทําการกระทรวงพาณิชย สรางเสร็จเปดทําการในปพุทธศักราช ๒๔๖๕ ลักษณะ อาคารเปนตึก ๓ ชั้น รูปตัว E หันหนาออกมุมถนนเศรษฐการจรดถนนสนามไชย เสริมใหตัวอาคาร ซึ่งโองโถงประณีตงดงามอยูแลวใหงามสงายิ่งขึ้น รูปแบบอาคารเปนแบบสถาปตยกรรมตะวันตกที่ นิยมในยุครัชกาลที่ ๖ ประกอบดวยมุข ๓ มุข มุขกลางยื่นลํ้ากวาขุมขาง มีปกเชื่อมมุกทั้งสามเขาดวย กัน ความงามสงาของอาคารอยูที่เสาอิง ยาวตลอดผนังชั้น ๒ และชั้น ๓ เปนเสาเหลี่ยม หัวเสาแบบ Ionic ประยุกต ประกอบดวยเครื่องประดับตกแตงอาคาร เชนหูชางประดับลายปูนปนใตกันสาดชั้น ลาง ของมุขกลางรับกับซุมหนาตาง ตอนลางซึ่งแตงกรอบสี่เหลี่ยมมีซุมเปนกันสาด และมีหูชางยัน หนาตางชั้นสองแตงซุมรูปโคงประดับปูนปนหนาคนและพวงมาลัยโคงตามซุม มีเสาเหลี่ยมรับและ ตอนลางเปนลูกกรงโปรง เสาซุมระเบียงของปกชั้นสาม แตงเสากลมแบบ Ionic ผนังใตหลังคาเจาะ ชองรีในแนวนอนกรุกระจก ใตกันสาดหลังคาแตงปูนเปนแทงสี่เหลี่ยมเรียงรายและตอนหนาของ หลังคามุขกั้นราวลูกกรงโปรงรับกับชั้นสองของอาคาร บานประตูเหล็กของตัวตึก กึ่งกลางทําเปนแผนกลม เปนดวงตรารูปงูสองตัวพันไมไขวกัน ตอนบนมีปกสองขาง ติดอยูทั้ง ๒ บาน ขุนวิจิตรมาตราไดสันนิษฐานเกี่ยวกับความหมายของดวง ตรานี้ ไวในหนังสือประวัติการคาไทยวา “...เขาใจวาตรานั้นเปนไมเทากายสิทธิ์ที่เรียกวา เฮอเมส (Hermes) และชางโรมันเรียกวา เมอคิวริอุส (Mercurius) ตามประวัติขางกรีกวา เฮอเมสเปนโอรส ของเซอุสมหาเทพ เปนชางเทวดาเฉลียวฉลาดในเชิงประดิษฐตางๆ ...ที่สําคัญก็คือประดิษฐเครื่อง ชั่งตวงวัด เฮอเมสเปนที่เคารพบูชาของพอคาวานิชทั่วไป สวนชางโรมันนับถือวาเปนเทวดาแหง การพาณิชย และการคมนาคม เมื่อบานประตูเหล็กมีตราเครื่องหมายของเมอคิวริอุส หรือเฮอเมส ซึ่งเปนเทวดาแหงการคาขายติดอยูคูกัน ก็แสดงวาตึกนี้สรางสําหรับเปนที่วาการกระทรวงพาณิชย ถูกตรงตามตํานานโดยแท” อาคารกระทรวงพาณิชยไดรับการปฏิสังขรณซอมแซมใหอยูในสภาพดีมาตลอด และใน พุทธศักราช ๒๕๑๙ ไดเปลี่ยนหลังคาจากแบบกระเบื้องวาวเปนกระเบื้องลอยอยางในปจจุบัน 3_edit.indd 114 20-Feb-13 11:31:59 PM


๑๑๕ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) คลองแสนแสบ คลองแสนแสบเปนคลองที่ขุดตอจากคลองมหานาคไปทางใต ผานคลองบางกะป หัวหมาก บางขนาก ไปออกแมนํ้าบางปะกงที่จังหวัดฉะเชิงเทรา แบงชื่อเรียกเปน ๒ ชวง คื อคลองแสนแสบ ใต เริ่มจากคลองมหานาคตรงวัดบรมนิวาส ไปถึงหัวหมาก คลองตัน คลองแสนแสบเหนือ เริ่มจาก หัวหมาก ผานคลองสามเสนชวงปลาย (คลองตัน) ผานบางขนากไปออกแมนํ้าบางปะกง คลองแสน แสบใตนั้นสอบไมพบหลักฐานวาขุดขึ้นแตเมื่อใด แตจะอยูในชวงหลังจากขุดคลองมหานาคแลวใน รัชกาลที่ ๑ จนถึงกอนขุดคลองแสนแสบชวงปลาย (ซึ่งบางแหงเรียกคลองบางขวาก) ในรัชกาลที่ ๓ ซึ่งปรากฏในพระราชพงศาวดารวา เมื่อเดือนยี่ ขึ้น ๔ คํ่า คลองภาษีเจริญมารวมกันยาวประมาณ ๓.๕ กิโลเมตร มีคลองสําคัญที่ไหลเชื่อมตอดวยคือ คลองบานสมเด็จ คลองบางไสไก คลองสําเหร คลองบางนํ้าชน คลองบางสะแก และคลองถาน สองฝงคลองบางกอกใหญ มีวัดสําคัญตั้งอยูหลาย วัด ไดแก วัดกัลยาณมิตร วัดโมลีโลกยาราม วัดหงสรัตนาราม วัดสังขกระจาย วัดเวฬุราชิน วัดอิน ทาราม วัดจันทาราม วัดราชคฤห และวัดปากนํ้าภาษีเจริญ เปนตน เนื่องจากคลองบางกอกใหญ คลองบางกอกนอย และคลองบางขุนศรี เปนหลักฐานสําคัญ ทางโบราณคดี เกี่ยวกับเสนทางเดิมของแมนํ้าเจาพระยา เปนเสนทางคมนาคมทางนํ้าสําคัญเพราะ เชื่อมกับคลองอื่นๆ อีก และมีประโยชนตอการกสิกรรมของชาวไทยตั้งแตอดีตจนปจจุบัน ใน วันที่ ๑๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ รัฐบาลจึงไดตราพระราชกฤษฎีกา ใหใชพระราชบัญญัติ รักษาคลอง รัตนโกสินทรศก ๑๒๑ พุทธศักราช ๒๔๘๔ เพื่อสงวนรักษาสภาพและความสะอาด ของลําคลองอันเปนประโยชนแกสาธารณชนทั้งปวง และในพุทธศักราช ๒๕๑๐ คณะกรรมการ พิจารณาโครงการถนนและระบายนํ้าสําหรับพระนคร-ธนบุรี ไดเสนอเรื่องคลองที่สมควรอนุรักษ ไวแกคณะรัฐมนตรีพรอมกับรายชื่อคลอง ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดลงมติเห็นชอบตามขอเสนอเมื่อวันที่ ๑๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๐ คลองบางกอกใหญและคลองบางกอกนอย ก็เปนคลองที่อยูใน บัญชีคลองดานฝงธนบุรีดวย 3_edit.indd 115 20-Feb-13 11:32:05 PM


๑๑๖ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) จังหวัดกาญจนบุรี เมืองกาญจนบุรีในปจจุบันเปนเมืองใหม สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๔ โดย ยายจากเมืองกาญจนบุรีเกาที่บานทาเสา หางขึ้นไปทางเหนือประมาณ ๑๗ กิโลเมตร ปจจุบันรอง รอยที่ตั้งเมืองเกาปรากฏอยูนอยมาก กาญจนบุรีนับวาเปนเมืองเพชรนํ้าหนึ่งของการทองเที่ยว ในภาคตะวันตก ภูมิประเทศสวนใหญเปนปาเขาและที่ราบสูง โดยเฉพาะบริเวณชายแดนติดตอ กับพมายังคงสภาพปาดงดิบที่อุดมสมบูรณ มีแหลงโบราณคดียุคกอนประวัติศาสตร เปนเมือง หนาดานที่สําคัญยิ่งของกรุงศรีอยุธยา เปนแหลงประวัติศาสตรที่มีชื่อเสียงทั่วโลก เปนดินแดนที่ รวบรวมธรรมชาติไวดวยกัน ไมวาจะเปนแหลงแร อัญมณี แมนํ้าที่สวยงาม และนํ้าตกอันลือชื่อ สม กับเปนดินแดนแหง “แควนโบราณ ดานเจดีย มณีเมืองกาญจน สะพานขามแมนํ้าแคว แหลง แรนํ้าตก”กาญจนบุรี เปนจังหวัดชายแดนดานตะวันตกของประเทศไทย เปนดินแดนที่เปนแหลง อารยธรรมสมัยกอนประวัติศาสตร แหลงทองเที่ยวที่สําคัญและยังเปนเขตเศรษฐกิจที่มีความสําคัญ ตอประเทศไทยเปนอยางยิ่ง 3_edit.indd 116 20-Feb-13 11:32:12 PM


๑๑๗ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) บรรณานุกรม กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๑, กรุงเทพฯ : โรงพิมพกรมการศาสนา, ๒๕๒๖. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. แนวพระราชดําริเการัชกาล, กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว , ๒๕๒๗. เจดียสําคัญในเมืองไทย,พิมพครั้งที่ ๗ คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๓๙. เลียบวัดใกลวัง, กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพราว, ๒๕๔๒. กรมศิลปากร, จดหมายเหตุการอนุรักษกรุงรัตนโกสินทร, จัดพิมพเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป, ๒๕๒๕. โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร, กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) ๒๕๓๘. (กรมศิลปากร จัดพิมพเนื่องในมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จ พระราชดําเนินทรงบําเพ็ญกุศล พระราชพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐาน ณ พระเจดียบุษบกโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร วันจันทรที่ ๒๗ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๓๘). กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร. วัดสําคัญกรุงรัตนโกสินทร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพยูไนเต็ดโปรดักชั่น จํากัด, ๒๕๒๕. (คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป จัดพิมพเปนที่ระลึกเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป : พุทธศักราช ๒๕๒๕). โบราณสถานและอนุสาวรียกรุงรัตนโกสินทร. จัดพิมพเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป, ๒๕๒๕. จิตรกรรมไทยประเพณี. (หนังสือชุดที่ ๐๐๑ เลม ๑ จิตรกรรมฝาผนังในประเทศไทย) กองโบราณคดี, ๒๕๓๓. กองจดหมายเหตุแหงชาติ, จดหมายเหตุการอนุรักษ กรุงรัตนโกสินทร,กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิชย, ๒๕๒๕. อุทยานประวัติศาสตรเมืองสิงห, หนังสือนําชมอุทยานประวัติศาสตรเมืองสิงห, กรุงเทพฯ : คัมปาย อิมเมจจิ้ง,มปป. จารึกตํารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, กรุงเทพฯ : อาทิตยโพรดักสกรุป, ๒๕๔๕. งานพระเมรุมาศสมัยกรุงรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ ๒๕๒๘. กรมศิลปากร,ชางตน สัตวมงคลแหงพระจักรพรรดิ, กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้ง,๒๕๓๙. กองแกว วีระประจักษ : กรมศิลปากร, จารึกตํารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร, กรุงเทพฯ : อาทิตยโพรดักสกรุป, ๒๕๔๕. คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป, ประวัติศาสตรกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๓ พ.ศ. ๒๓๒๕ –พ.ศ. ๒๓๙๔ เลม ๑. กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ,๒๕๒๕. คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป, พระมหากษัตริยในพระบรมราชจักรีวงศกับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : ชวนการพิมพ, ๒๕๒๕. คณะสงฆวัดพระเชตุพน, ตํานานเรื่องวัตถุสถานตางๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงสถาปนา, กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งฯ , ๒๕๔๔. 3_edit.indd 117 20-Feb-13 11:32:17 PM


๑๑๘ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) คุรุสภา, องคการคาของ, หนังสือชุดภาพกรุงรัตนโกสินทณสองรอยป, กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๒๕. โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย, ชางราชพาหนะ, กรุงเทพฯ : สตารปริ้นท, ๒๕๔๒. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลม ๑ -๕. พิมพเนื่องในมหามงคลพระเกียรติวันพระบรมราชสมภพครบ ๒๐๐ ป พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว พ.ศ. ๒๕๓๐. ชยันต พิเชียรสุนทร. คําอธิบายตําราพระโอสถพระนารายณ. โดย ชยันต พิเชียรสุนทร แมนมาส ชวลิต และวิเชียร จีรวง ศ,กรุงเทพฯ : อมรินทร และมูลนิธิภูมิปญญา, ๒๕๔๔. ชมนาด เสวิกุล, ประวัติชีวิตและผลงานของสุนทรภู, ฉบับสมบูรณ กรุงเทพฯ : อํานวนสาสน, ๒๕๓๓. ดนัย ไชยโยธา, รศ. (บรรณาธิการ), ร. ๓ พระมหากษัตริยไทยทรงครองใจไทยทั้งชาติ, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร,๒๕๔๓. ดนัย ไชยโยธา, รศ. ประวัติศาสตรไทย : ยุคกรุงธนบุรีถึงกรุงรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร,๒๕๔๖. ตํารายาศิลาจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม(วัดโพธิ์) พระนคร. กรุงเทพฯ : โรงเรียนแพทยแผนโบราณ, ๒๕๐๐. ถนอม อานามวัฒน, ความสัมพันธระหวางไทย เขมร ญวน ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุ สภา, ๒๕๑๖. ถนอม อานามวัฒน และคณะ,ประวัติศาสตรไทย (พิมพครั้งที่ ๓). กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ, ๒๕๒๘. แถมสุข นุมนนท, ประวัติศาสตรไทย. นครปฐม : ภาควิชาประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๓. แถมสุข นุมนนท, ยังเกิรกรุนแรก กบฏ ร.ศ. ๑๓๐. กรุงเทพฯ : กองเกียรติการพิมพ, ๒๕๒๒. ทิพากรวงศ, เจาพระยา.พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓ เลม ๒, พระนคร : คุรุสภาลาดพราว,๒๕๐๔. ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, เจาพระยา. พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๓.กรมศิลปากร. ๒๕๓๘. ทวีศักดิ ลอมลิ้ม, ความสัมพันธระหวางไทยกับมลายูในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน. กรุงเทพมหานคร : แพรพิทยา, ๒๕๑๖. เทพชู ทับทอง, กรุงเทพฯ ในอดีต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๐. ธีรชัย ธนาเศรฐ : ปฐมกาลแหงกรุงรัตนโกสินทร, ธนบรรณจัดจําหนาย, สิงหาคม ๒๕๓๖. ธนาคารกรุงเทพฯ , พระกฐินพระราชทาน ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๗, กรุงเทพฯ : เรือนแกว การพิมพ, ๒๕๔๗. ธนากิต, วีรบุรุษ วีรสตรี และบุคคลสําคัญในประวัติศาสตร, กรุงเทพฯ : ปรามิด, ๒๕๔๕. ธนาคารกรุงเทพ : กฐินพระราชทาน ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ, ๒๕๔๗. น ณ ปากนํ้า, ประเพณีไทยตางๆ. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๒๕. นคร พันธุณรงค, ประวัติศาสตรไทยสมัยกรุงธนบุรี และรัตนโกสินทร (พิมพครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร : พิฆเณศร, ๒๕๑๖. บุนนาค พยัคฆเดช, ประวัติเจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี),พิมพครั้งที่ ๓, (อนุสรณในงานฉลองอนุสาวรียรูปหลอ เจาพระยาบดินทรเดชา ๒๔ มิถุนายน ๒๕๒๑). ประสงค สุขุม, ๑๕๐ ป จากกุฎีจีนถึงประมวญ.กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, มปป. ประกายทอง ศรีสุข, ม.ร.ว. และคณะ (แปล), สังคมไทยสมัยตนรัตนโกสินทร พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๔๑๖.โรงพิมพพิฆเนศ, ๒๕๒๑. 3_edit.indd 118 20-Feb-13 11:32:21 PM


๑๑๙ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) ประยูร อุลุชาฏะ, วัดกับชีวิตไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๓๒. ประวัติวัดโมลีโลกยาราม. จากแถลงการคณะสงฆ รวบรวมโดยคําสั่งสมเด็จพระสังฆราชเจาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕. จัดพิมพเปน อภินันทนาการ ในงานยกชอฟาพระอุโบสถวัดโมลีโลกยาราม ในอุปถัมภของกองทัพเรือ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๑๘. ประยุทธ สิทธิพันธ, สามวัง. กรุงเทพมหานคร : ปริทัศนศาสตร, ๒๕๑๙. ปริศนา ตรีทอง ,ความสัมพันธระหวางไทยและประเทศราชในหัวเมืองลานนาไทยสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ปริญญานิพนธ กศ.ม.(ประวัติศาสตร) ๒๕๑๖. พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ, สืบสานตํานานบางกอก.กรุงเทพฯ : สํานักพิมพมิติใหม, ๒๕๓๘. พระบริหารเทพธานี, ประวัติชาติไทย เลม ๒. กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ. ๒๕๑๗. พันธลักษณ, มรดกโลกในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพบานหนังสือ ๑๙, ๒๕๔๗. พระราชปุจฉาในชั้นกรุงรัตนโกสินทร ตั้งแตรัชกาลที่ ๑ – รัชกาลที่ ๕ เลม ๒. พระนคร : คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๑๓. พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร ฉบับหอสมุดแหงชาติ, พระนคร : คลังวิทยา, ๒๕๐๖. ภารดี มหาขันธ, รัตนโกสินทรยุคปรับปรุงประเทศ พ.ศ. ๒๓๙๔ – ๒๔๗๕. ชลบุรี : ภาควิชาประวัติศาสตร คณะสังคม ศาสตรมศว. บางแสน, ๒๕๒๔. มหาดไทย, กระทรวง. มหาดไทยชวนรู ๒๕๓๙. กรุงเทพฯ : สยามศิลป, ๒๕๓๘. มหาดไทย, กระทรวง ประวัติมหาดไทย ภาคที่ ๓ ตอนที่ ๑ มหาดไทย, ๒๕๑๐. วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยา ประวัติศาสตรโบราณคดี ๒๕๑๔. วชิรญาณวโรรส, สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยา, ประวัติศาสตรและโบราณคดี. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑. (พิมพในงานมหาสมณานุสรณครบ ๕๐ ป) วรรณิภา ณ สงขลา, : จิตรกรรมไทยประเพณี. กองโบราณคดีกรมศิลปากร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย, ๒๕๓๓. วรรณิภา ณ สงขลา, จิตรกรรมฝาผนังประเทศไทย, เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่องการอนุรักษจิตรกรรมฝาผนัง หอ สมุดวชิราวุธานุสรณ, ๒๕๒๗. เอกสารอัดสําเนา. วุฒิชัย มูลศิลป, รศ. และกนกวลี ชูชัยยะ. หนังสือเรียนสังคมศึกษาประวัติศาสตรชาติไทย. บริษัท ตนออ ๑๙๙๙ จํากัด, ๒๕๔๓. วารี อัมไพรวรรณ, พระราชประวัติพระมหากษัตริยและพระบรมราชินีแหงราชวงศจักรี, กรุงเทพฯ : ภัทรินทร, ๒๕๔๑. วิทูล วิจิตรวาทการ, ตนรัตนโกสินทร, กรุงเทพฯ : สรางสรรคบุคส, ๒๕๔๒. ศิริวรรณ คุมโห, พระราชประวัติพระมหากษัตริย ๙ รัชกาล, กรุงเทพฯ : เดอะบุคส, ม.ป.ป. ศูนยมรดกโลกขององคการยูเนสโก, เรื่องนารูมรดกโลก, กรุงเทพฯ : มปป. ส.พลายนอย, เลาเรื่องบางกอก. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๓๕. สงวน อั้นคง, ทางสัมพันธไมตรีระหวางประเทศไทยกับนานาประเทศ แพรพิทยา, ๒๕๐๘. สมใจ นิ่มเล็ก. จําหลักหินในงานสถาปตยกรรมเอกลักษณไทย. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๐). -.สถาปตยกรรมแบบพระราชนิยมในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว. เอกลักษณไทย. ปที่ ๑ ฉบับที่ ๕ (๒๕๒๐). 3_edit.indd 119 20-Feb-13 11:32:26 PM


๑๒๐ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓) -.ประวัติวัดสําคัญทางพุทธศาสนา ตอน ๒. โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๒๕. สนั่น เมืองวงษ. ประวัติศาสตรไทยสมัยธนบุรี – รัตนโกสินทร,สงขลา : มงคลการพิมพ, ๒๕๒๒. สมบัติ จําปาเงิน, รูเรื่องเมืองบางกอก. กรุงเทพฯ : บริษัท ตนออแกรมมี่ จํากัด. ๒๕๓๙. สมบัติ จําปาเงิน, รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระมหาเจษฎาราชเจา, กรุงเทพฯ : ๒๐๒๐ เวิลด มีเดีย, ๒๕๔๒. สมพงษ เกรียงไกรเพชร, ปูชนียสถานโบราณวัตถุไทย, กรุงเทพฯ : แพรพิทยา, ๒๕๑๘. สุทธิลักษณ อําพันวงศ, ชางไทย. พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ : มติชน, ๒๕๔๐. สกุณี ณัฐพูลวัฒน คลองและเสนทางเดินเรือในอดีต, กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมปญญาไทย, ๒๕๔๑. สิริ เปรมจิตต, จิตตสอาด ศรียงค. พระบรมราชจักรีวงศ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเสาวภาค, ๒๕๑๔. บัญญัติธง พุทธศักราช ๒๔๖๐. ในประชุมกําหมายประจําศก. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเดลิเมล, ๒๔๗๗. เสถียร ลายลักษณ, ประชุมกฎหมายประจําศก เลม ๔. สุภา พื้นนาค, พระราชประวัติ ๙ รัชกาล. พิมพครั้งที่ ๔, กรุงเทพฯ : อักษรวัฒนา, ๒๕๔๒. สําราญ วังศพาห, ตําราจารึกวัดราชโอรส และพระโอสถพระนารายณ. ม.ป.ส., ๒๕๒๒. หอสมุดแหงชาติ, จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๕๘ เรื่องที่๑. จ.ศ. ๑๒๐๖, และเลขที่ ๔๗, ๓๔. อนุมานราชธน, พระยา ตํานานศุลกากร กรมสารบรรณทหารเรือ, ๒๕๐๖. อนุมานราชธน, พระยา (ยง เสถฐียรโกเศศ), เรื่องเจดีย. พระนคร : ไทยพิทยา, ๒๕๐๔. (งานพระราชทานเพลิงศพ ขุน สารทรัพยประเสริฐ). อุดม เชยกีวงศ, ประวัติเจดียและโบราณสถาน. กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, ๒๕๔๗. อุดม เชยกีวงศ, ประวัติศาสตรไทยจากครูแสตมป. กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, ๒๕๔๖. อุดม เชยกีวงศ, การเมืองในประวัติศาสตรไทย. กรุงเทพฯ มหานคร : บรรณกิจ, ๒๕๑๗. อุดม เชยกีวงศและคณะ, ประวัติศษสตรชาติไทย. กรุงเทพฯ : แสงดาว, ๒๕๔๘. อุดม เชยกีวงศ, อนุสาวรียวัด สะพาน คลอง ถนน. กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, ๒๕๔๙. -,วันสําคัญ, กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, ๒๕๔๙. -,พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว, กรุงเทพฯ : ภูมิปญญา, ๒๕๕๐. อุดม ประมวลวิทย, ๕๐ กษัตริยไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, ๒๕๑๗. 3_edit.indd 120 20-Feb-13 11:32:30 PM


Click to View FlipBook Version