The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

Keywords: คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

เกณฑก์ ารประเมิน

01 2 3 4 5

- ไม่มรี ะบบ - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก

- ไม่มีกลไก - ไมม่ ีการนา - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ

ระบบกลไกไปสู่ กลไกไปสู่การ กลไกไปส่กู าร กลไกไปสกู่ าร กลไกไปส่กู าร

การปฏบิ ตั /ิ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน ปฏิบตั /ิ ดาเนินงาน ปฏบิ ัติ/ ปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน

ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน

- ไมม่ ีแนวคดิ - มีการประเมนิ - มกี ารประเมิน - มกี ารประเมนิ - มกี ารประเมนิ

ในการกากบั กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ

ติดตามและ

ปรับปรุง

- ไม่มขี ้อมลู - ไม่มกี ารรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรุง/ - มกี ารปรบั ปรุง/ - มกี ารปรับปรงุ /

หลกั ฐาน พัฒนาระบวนการ พัฒนากระบวน พัฒนากระบวน พฒั นากระบวนการ

การจากผลการ การจากผลการ จากผลการประเมนิ

ประเมิน ประเมิน

- มผี ลจากการ - มีผลจากการ

ปรบั ปรงุ เห็น ปรับปรุงเห็นชัดเจน

ชดั เจนเป็น เป็นรปู ธรรม

รูปธรรม - มแี นวทางปฏบิ ตั ิที่

ดโี ดยหลักฐานเชิง

ประจักษ์ยนื ยันและ

กรรมการผ้ตู รวจ

ประเมินสามารถให้

เหตผุ ลอธบิ ายการ

เป็นแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี

ได้ชัดเจน

46 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ช้ที ่ี 4.2 คุณภาพอาจารย์

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ปจั จัยนาเขา้

คาอธบิ ายตัวบ่งชี้
การส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารยต์ ้องทาให้อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตรมคี ุณสมบตั ิท่เี หมาะสมและ

เพยี งพอ โดยทาให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสตู รมคี วามรู้ ความเชี่ยวชาญทางสาขาวชิ าท่เี ปดิ สอน และ
มปี ระสบการณด์ ้านปฏบิ ัติการในสถานประกอบการทเ่ี หมาะสมกบั การผลติ บณั ฑติ อนั สะทอ้ นจาก
วฒุ ิการศึกษา ตาแหน่งทางวิชาการ และความกา้ วหน้าในการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างต่อเน่ือง
ประเดน็ ในการพิจารณาตวั บง่ ชน้ี ี้จะประกอบด้วย

- ร้อยละของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่มี ปี ระสบการณ์ดา้ นปฏิบัติการในสถานประกอบการ
- รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร

ร้อยละของอาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่ีมปี ระสบการณ์ด้านปฏบิ ัติการในสถานประกอบการ
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการเป็นการจัดการการศึกษา

ระดับอุดมศึกษาท่ีต้องการบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในการทางานร่วมกับสถานประกอบการท่ีเกิด
ประโยชน์กับสถานประกอบการหรือมีผลงานทางวิชาการประเภทการพัฒนาเทคโนโลยีหรืองานสร้างสรรค์
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรม เพ่ือปฏิบัติพันธกิจสาคัญในการผลิตบัณฑิต
สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ดังนั้น หลักสูตรจึงควรมีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีประสบการณ์
ดา้ นปฏิบัติการในสถานประกอบการทีเ่ พยี งพอและเหมาะสมกับสาขาวชิ าของหลักสูตรน้ัน ๆ

เกณฑ์การประเมนิ
โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรทมี่ ีประสบการณ์ด้านปฏิบัตกิ ารในสถาน

ประกอบการเป็นคะแนนระหว่าง 0-5 เม่อื คะแนนเต็ม 5 คะแนน = ร้อยละ 80 ขึน้ ไป

สตู รการคานวณ
1. คานวณคา่ ร้อยละของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรท่ีมปี ระสบการณ์ด้านปฏิบตั กิ ารในสถานประกอบการ

= จานวนอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รท่ีมีประสบการณด์ า้ นปฏบิ ตั ิการในสถานประกอบการ
จานวนอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รทั้งหมด

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 47

2. แปลงค่าร้อยละท่ีคานวณได้ในขอ้ 1 เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5
= คา่ ร้อยละของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรท่มี ีประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัติการในสถานประกอบการ

หมายเหตุ : ไมน่ ับอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรทีม่ าจากสถานประกอบการ

รอ้ ยละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร
ผลงานทางวชิ าการเปน็ ขอ้ มูลท่สี าคัญในการแสดงใหเ้ ห็นวา่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้สร้างสรรค์

ขึ้นเพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาการและการพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานที่มีคุณค่าสมควร
ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่และนาไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาชีพและการแข่งขันของประเทศ ผลงานทางวิชาการ
อาจอยู่ในรูปแบบของบทความวิจัย บทความวิชาการ งานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ งานวัตกรรม งานที่ได้รับ
การจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะต้องเผยแพร่ผลงานทางวิชาการผ่านเวที
วิชาการ วารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ที่ 1 หรือ 2 ตามประกาศของ ก.พ.อ.ทุกปีการศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ
คา่ ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรที่กาหนดให้

เปน็ คะแนนเต็ม 5 คะแนน = รอ้ ยละ 20 ขน้ึ ไป

สูตรการคานวณ
1. คานวณค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร

= ผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร
จานวนอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสตู รทั้งหมด

2. แปลงคา่ ร้อยละทีค่ านวณได้ในขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
= ค่ารอ้ ยละผลรวมถว่ งน้าหนกั ผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลักสูตร

48 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

การกาหนดคณุ ภาพของผลงานทางวิชาการ (ตามประกาศของ กพอ.)

ค่านา้ หนัก ระดบั คณุ ภาพ

0.20 - บทความวิจยั หรอื บทความวชิ าการฉบบั สมบูรณ์ท่ตี พี มิ พ์ในรายงานสบื เน่ืองจากการประชุมวชิ าการระดับชาติ

0.40 - บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการฉบบั สมบรู ณท์ ตี่ พี ิมพ์ในรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติทไ่ี ม่อยู่ในฐานข้อมลู ตามประกาศ ก.พ.อ. แตส่ ถาบันนาเสนอสภา

สถาบนั อนุมตั ิและจดั ทาเปน็ ประกาศให้ทราบเปน็ การทว่ั ไป

- ผลงานที่ไดร้ บั การจดอนสุ ิทธิบัตร

0.60 - บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการท่ีตีพิมพใ์ นวารสารวิชาการท่ปี รากฏในฐานข้อมลู TCI กล่มุ ที่ 2

0.80 - บทความวิจัยหรอื บทความวิชาการทต่ี ีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาติทีไ่ ม่อยู่ในฐานขอ้ มลู ตาม

ประกาศ ก.พ.อ. แตส่ ถาบันนาเสนอสภาสถาบนั อนมุ ัติและจดั ทาเปน็ ประกาศให้ทราบเปน็ การทว่ั ไป (ซง่ึ ไม่

อยใู่ น eall’s list) หรือตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลมุ่ ท่ี 1

1.00 - บทความวิจัยหรอื บทความวิชาการทต่ี พี มิ พใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาติทป่ี รากฏในฐานขอ้ มลู ระดบั

นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ.

- ผลงานไดร้ ับการจดสิทธิบัตร

- ผลงานวิชาการรบั ใช้สงั คมทไี่ ดร้ บั การประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวิชาการแลว้

- ผลงานวจิ ัยทีห่ นว่ ยงานหรอื องคก์ รระดบั ชาติวา่ จ้างใหด้ าเนนิ การ

- ผลงานคน้ พบพนั ธุพ์ ชื พันธุส์ ัตว์ ทีค่ น้ พบใหมแ่ ละไดร้ ับการจดทะเบียน

- ตาราหรือหนังสอื หรอื งานแปลทไี่ ดร้ บั การประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวิชาการแลว้

- ตาราหรอื หนงั สอื หรอื งานแปลทผี่ ่านการพิจารณาตามหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแต่ไมไ่ ด้

นามาขอรบั การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการ

*หมายเหตุ : บทความที่ตีพมิ พใ์ นรายการสบื เนื่องจากการประชุมวชิ าการต้องเปน็ ฉบับสมบรู ณ์ (Full

Paper) และการตีพิมพต์ อ้ งเป็นฉบบั สมบูรณซ์ งึ่ สามารถอย่ใู นรูปแบบเอกสารหรอื สอ่ื

อเิ ล็กทรอนิกส์

การกาหนดคณุ ภาพงานสร้างสรรค์ ดังนี้

คา่ น้าหนกั ระดบั คุณภาพ

0.20 สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรค์ทมี่ ีการเผยแพรส่ ู่สาธารณะในลกั ษณะใดลกั ษณะหนึ่งหรอื ผา่ นส่อื เลก็ ทรอนิกส์

Online

0.40 ส่ิงประดิษฐ์ หรืองานสรา้ งสรรคท์ ไ่ี ดร้ บั การเผยแพร่ในระดบั สถาบนั

0.60 สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสรา้ งสรรค์ที่ไดร้ บั การเผยแพร่ในระดับชาติ

0.80 สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรคท์ ีไ่ ดร้ บั การเผยแพรใ่ นระดับความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ

1.00 ส่งิ ประดษิ ฐ์ หรอื งานสรา้ งสรรค์ที่ได้รบั การเผยแพร่ในระดับภมู ิภาคอาเซยี นนานาชาติ

*หมายเหตุ : ผลงานตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการทีม่ อี งคป์ ระกอบไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน โดยมคี นภายนอก

สถาบนั รว่ มพิจารณา

คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 49

ตวั บ่งช้ีท่ี 4.3 ผลทีเ่ กิดกบั อาจารย์
ชนิดของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์
คาอธิบายตัวบ่งช้ี

ผลการประกันคุณภาพ ต้องนาไปสู่การมีอัตรากาลังอาจารย์ที่มีจานวนเหมาะสมกับจานวนนักศึกษา
ที่รับเข้าในหลักสูตร อัตราคงอยู่ของอาจารย์สูง และอาจารย์มีความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรในการ
รายงานการดาเนินงานตามตัวบง่ ชีน้ ใ้ี ห้อธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดาเนนิ งาน ในประเดน็ ต่อไปน้ี

- การคงอยูข่ องอาจารย์
- ความพงึ พอใจและความไม่พึงพอใจของอาจารย์
ในการประเมินเพื่อทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
ท้งั หมดท่เี กดิ กับอาจารย์

50 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563

เกณฑ์การประเมนิ

01 2 3 4 5
- ไม่มีการ - มกี ารรายงาน - มีการรายงาน - มีการรายงาน - มีการรายงาน - มกี ารรายงานผล
รายงานผลการ ผลการดาเนิน ผลการดาเนนิ ผลการดาเนิน ผลการดาเนนิ การดาเนนิ การครบ
ดาเนนิ การ การเป็นบางเร่ือง การครบทุกเรือ่ ง การครบทุก การครบทุก ทุกเรอ่ื งตาม
ตามคาอธิบายใน เรื่องตาม เร่ืองตาม คาอธบิ ายในตัวบง่ ชี้
ตวั บ่งชี้ คาอธบิ ายใน คาอธบิ ายใน
ตวั บง่ ชี้ ตัวบง่ ชี้ - มีแนวโนม้ ผลการ
- มีแนวโน้มผล - มีแนวโนม้ ผล ดาเนนิ งานท่ีดีข้นึ ใน
การดาเนนิ งาน การดาเนินงาน ทุกเรอ่ื ง
ท่ีดขี ้นึ ในบาง ที่ดขี ึน้ ในทุก - มีผลการดาเนิน
เร่อื ง เร่ือง งานทีโ่ ดดเด่นเทียบ
เคียงกบั หลกั สตู รนนั้
ในสถาบนั กลุม่ เดียว
กันโดยมหี ลกั ฐาน
เชิงประจักษ์ยนื ยัน
และกรรมการ
ผูต้ รวจประเมิน
สามารถใหเ้ หตผุ ล
อธบิ ายวา่ เปน็ ผล
การดาเนิน งานที่
โดดเด่นอยา่ งแท้จริง

คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 51

52 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

องคป์ ระกอบท่ี 5
หลกั สูตร การเรียนการสอน

การประเมนิ ผูเ้ รยี น

คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 53

2.5 องค์ประกอบท่ี 5 หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมินผเู้ รียน
แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดสอนต้องผ่านการพิจารณาความสอดคล้องจากสานักงาน

ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี แต่ผู้บริหารต้อง
รับผิดชอบในการควบคุมกากับการบริหารจัดการหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรควรมีบทบาทหน้าท่ีในการบริหารจัดการ 3 ด้านที่สาคัญ คือ (1) สาระของ
รายวิชาในหลักสูตร (2) การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน (3) การประเมินผู้เรียน ระบบ
ประกนั คุณภาพในการดาเนินการหลักสตู รประกอบดว้ ย หลกั สตู ร การเรยี นการสอน และการประเมินผู้เรียน
เพ่ือให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิตามที่คณะกรรมการมาตรฐานอุดมศึกษา และประกาศ
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศึกษาระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือ
สายปฏิบัติการ พ.ศ.2562 กาหนด ตัวบ่งชี้ในการประเมินต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดรายวิชา
ที่มเี นือ้ หาท่ที นั สมัยตอบสนองความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมทันความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา รวมท้ังการวางระบบผู้สอนและอาจารย์ท่ีปรึกษาซ่ึงต้องเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญ
ประสบการณ์และมีคุณสมบตั เิ หมาะสมในการพัฒนานักศึกษาให้เต็มศักยภาพ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ทเี่ นน้ นักศึกษาเป็นสาคญั และส่งเสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

การประกนั คณุ ภาพหลักสตู รในองคป์ ระกอบนี้พิจารณาได้จากตวั บง่ ชดี้ งั ต่อไปน้ี
ตัวบ่งชี้ท่ี 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร
ตัวบง่ ช้ที ่ี 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน
ตัวบง่ ชี้ที่ 5.3 การประเมินผูเ้ รยี น
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 5.4 ผลการดาเนนิ งานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ

54 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563

ตวั บง่ ชีท้ ี่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ
คาอธบิ ายตวั บ่งชี้

แม้ทุกหลักสูตรที่สถาบันการศึกษาเปิดให้บริการต้องผ่านการพิจารณาความสอดคล้องจากสานักงาน
ปลดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และมีการปรับปรุงทุก 5 ปี แล้ว ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรต้องมีการออกแบบหลักสูตร ควบคุมกากับการจัดการรายวิชาต่าง ๆ ให้มีเน้ือหาท่ีทันสมัย
สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและความก้าวหน้าทางวิทยาการท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
มีการบริหารจัดการการเปิดรายวิชาต่าง ๆ ท้ังวิชาบังคับและวิชาเลือกที่สอดคล้องกับความต้องการของ
นกั ศกึ ษาและความต้องการของสถานประกอบการเป็นสาคัญ

ในการร ายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้นี้ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดา เนินงาน
อยา่ งนอ้ ยใหค้ รอบคลุมประเด็นตอ่ ไปนี้

- การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวชิ าในหลักสูตร
- การปรับปรุงหลกั สตู รให้ทันสมัยตามความกา้ วหน้าในศาสตรส์ าขานน้ั ๆ
ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใดให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดา เนินงาน
ทั้งหมดท่ีทาให้หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและความต้องการของ
ประเทศ

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 55

เกณฑก์ ารประเมิน

01 2 3 4 5

- ไม่มรี ะบบ - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก

- ไม่มีกลไก - ไมม่ ีการนา - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ

ระบบกลไกไปสู่ กลไกไปสู่การ กลไกไปส่กู าร กลไกไปสู่การ กลไกไปส่กู าร

การปฏบิ ตั /ิ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน ปฏิบตั /ิ ดาเนินงาน ปฏิบตั /ิ ปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน

ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน

- ไมม่ ีแนวคดิ - มีการประเมนิ - มกี ารประเมิน - มีการประเมนิ - มกี ารประเมนิ

ในการกากบั กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ

ติดตามและ

ปรับปรุง

- ไม่มขี ้อมลู - ไม่มกี ารรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรุง/ - มกี ารปรับปรงุ /

หลกั ฐาน พัฒนาระบวนการ พัฒนากระบวน พัฒนากระบวน พัฒนากระบวนการ

การจากผลการ การจากผลการ จากผลการประเมนิ

ประเมิน ประเมนิ

- มผี ลจากการ - มีผลจากการ

ปรบั ปรงุ เห็น ปรับปรุงเห็นชัดเจน

ชดั เจนเป็น เปน็ รปู ธรรม

รูปธรรม - มแี นวทางปฏบิ ตั ิที่

ดโี ดยหลักฐานเชิง

ประจักษ์ยนื ยันและ

กรรมการผ้ตู รวจ

ประเมินสามารถให้

เหตผุ ลอธบิ ายการ

เปน็ แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี

ได้ชัดเจน

56 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ชีท้ ่ี 5.2 การวางระบบผสู้ อนและกระบวนการจดั การเรยี นการสอน

ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ

คาอธิบายตัวบ่งช้ี
หลกั สตู รตอ้ งให้ความสาคญั กับการวางระบบผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ

และความเช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน และเป็นความรู้ท่ีทันสมัยของอาจารย์ท่ีมอบหมายให้สอนในวิชานั้น ๆ
เพอ่ื ให้นักศกึ ษาได้รับความรปู้ ระสบการณ์ และได้รับการพัฒนาความสามารถจากผู้รู้จริง ต้องให้ความสาคัญ
กับการกาหนดโครงงาน การกาหนดอาจารย์ที่ปรึกษาท่ีเหมาะสมกับโครงงาน และให้นักศึกษาได้รับโอกาส
และการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพต้องสามารถให้
คาปรึกษาต้ังแต่กระบวนการพัฒนาหัวข้อจนถึงการทาโครงงาน และการเผยแพร่ผลงานวิจัย จนสาเร็จ
การศกึ ษา

กระบวนการเรียนการสอนสาหรับยุคศตวรรษที่ 21 ต้องเน้นการพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ตาม
โครงสร้างหลักสูตรท่ีกาหนด และได้รับการพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ คุณธรรมจริยธรรม ทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะทางภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ทักษะการทางานแบบมีส่วนร่วม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการดูแลสุขภาพ
การเรยี นการสอนสมยั ใหมต่ ้องใชส้ ือ่ เทคโนโลยี และทาให้นักศกึ ษาเรียนรู้ได้ตลอดเวลา และในสถานที่ใดก็ได้
ผู้สอนมหี นา้ ท่เี ปน็ ผอู้ านวยความสะดวกใหเ้ กิดการเรียนรู้ และสนบั สนนุ การเรยี นรู้เปน็ ตน้

ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบง่ ชน้ี ี้ ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนนิ งาน
ในอยา่ งน้อยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ต่อไปนี้

- การกาหนดผูส้ อน
- การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ แผนการฝึกและการจัดการเรียนการ
สอนทั้งในสถานศึกษาและในสถานประกอบการ
- การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีท่ีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ต้องดาเนินการ
ดงั นี้

1) สภาบันการอาชีวศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคีโดยความ
ร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กาหนด

2) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานท่ี ครุภัณฑ์ คณาจารย์
และบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละลักษณะการผลิตและ
การพฒั นาผู้เรยี น

คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 57

3) สถาบนั การอาชวี ศึกษาตอ้ งกาหนดวธิ กี ารพฒั นาคุณภาพการจัดการอาชวี ศกึ ษาและการจดั การ
เรียนการสอนเพ่อื พฒั นาคณุ ลักษณะใหต้ รงตามศักยภาพของผู้เรียน และระดับคุณวุฒิของแต่ละประเภทวิชา
และสาขาวิชา

4) สถาบันการอาชวี ศึกษาต้องจัดการเรยี นการสอนที่เน้นการเรยี นรู้สกู่ ารปฏิบตั โิ ดยให้ผูเ้ รียนจัดทา
โครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชีพที่สอดคลอ้ งกับสาขาวิชาที่เรียน

5) สถาบันการอาชวี ศึกษาตอ้ งสง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะแกนกลางและ
สมรรถนะวชิ าชพี ปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม ระเบียบวินัย ปลูกฝังจิตสานึกและจิตอาสา เสริมสร้าง
การเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทานุบารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมการดารงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่มในการบริการวิชาการ วิชาชีพ หรือทา
ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม

- การควบคุมหัวข้อโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ และการแต่งต้ังอาจารย์ที่ปรึกษาให้สอดคล้อง
กบั โครงงานของผ้เู รยี น

ในการประเมินเพื่อให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
ทั้งหมดท่ีทาให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน การจัดการเรียนการ
สอนที่เนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ ก่อใหเ้ กิดผลการเรียนรู้บรรลตุ ามเปา้ หมาย

58 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563

เกณฑ์การประเมิน

01 2 3 4 5

- ไม่มีระบบ - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก

- ไมม่ กี ลไก - ไมม่ กี ารนา - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ - มีการนาระบบ - มกี ารนาระบบ

ระบบกลไกไปสู่ กลไกไปสกู่ าร กลไกไปสูก่ าร กลไกไปสู่การ กลไกไปส่กู าร

การปฏิบตั /ิ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน ปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน ปฏิบัติ/ ปฏิบัติ/ดาเนนิ งาน

ดาเนินงาน ดาเนินงาน

- ไมม่ ีแนวคิด - มีการประเมนิ - มีการประเมิน - มกี ารประเมนิ - มีการประเมิน

ในการกากบั กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ

ติดตามและ

ปรบั ปรงุ

- ไมม่ ีข้อมูล - ไมม่ ีการรบั ปรุง/ - มกี ารปรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรงุ / - มีการปรับปรุง/

หลกั ฐาน พัฒนาระบวนการ พัฒนากระบวน พฒั นากระบวน พฒั นากระบวนการ

การจากผลการ การจากผลการ จากผลการประเมิน

ประเมนิ ประเมนิ

- มผี ลจากการ - มผี ลจากการ

ปรบั ปรงุ เหน็ ปรับปรุงเหน็ ชดั เจน

ชดั เจนเปน็ เปน็ รูปธรรม

รปู ธรรม - มีแนวทางปฏิบัตทิ ี่

ดีโดยหลักฐานเชิง

ประจักษย์ ืนยนั และ

กรรมการผู้ตรวจ

ประเมนิ สามารถให้

เหตผุ ลอธิบายการ

เป็นแนวปฏิบตั ิท่ดี ี

ไดช้ ัดเจน

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 59

ตัวบ่งช้ีที่ 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ กระบวนการ

คาอธบิ ายตวั บ่งชี้
การประเมินนักศึกษามีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ คือ การประเมินผลนักศึกษาเพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศ

ที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงการเรียนการสอนของผู้สอน และนาไปสู่การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
(Assessment for learning) การประเมินท่ีทาให้นักศึกษาสามารถประเมินตนเองเป็น และมีการนาผลการ
ประเมินไปใช้ในการพัฒนาวิธีการเรียนของตนเองใหม่จนเกิดการเรียนรู้ (Assessment as learning) และ
การประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาท่ีแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Assessment of
learning) การประเมินส่วนใหญ่จะใช้เพ่ือจุดมุ่งหมายประการหลัง คือ เน้นการได้ข้อมูลเกี่ยวกับสัมฤทธิผล
การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาการจดั การเรยี นการสอนจงึ ควรสง่ เสริมให้มีการประเมิน เพอื่ จดุ มุ่งหมายสองประการ
แรกด้วย ทั้งน้ี ความเหมาะสมของระบบประเมินต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดเกณฑ์การประเมินมีการ
กากับให้มีการประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic assessment) มีการใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายให้ผล
การประเมนิ ทีส่ ะทอ้ นความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานในโลกแหง่ ความเป็นจริง (Real world) และมีวิธีการให้
ขอ้ มูลป้อนกลับ (Feedback) ท่ีทาให้นักศึกษาสามารถแก้ไขจุดอ่อนหรือเสริมจุดแข็งของตนเองได้ให้ผลการ
ประเมินท่ีสะท้อนระดับความสามารถที่แท้จริงของนักศึกษา ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีนี้
ให้อธบิ ายกระบวนการหรอื แสดงผลการดาเนินงานอยา่ งนอ้ ยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ต่อไปนี้

- การประเมินผลการเรียนรูต้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติและทักษะปฏิบัติงาน
การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การประเมินสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ และการประเมินมาตรฐานด้าน
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล

- การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนักศึกษา
- การกากบั การประเมินการจดั การเรยี นการสอนและประเมินหลักสตู ร

ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
ทั้งหมดท่ีทาให้กระบวนการประเมินผู้เรียนตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน การใช้วิธีการประเมิน
ท่ีหลากหลาย มกี ารตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นทาให้ผลการเรยี นรบู้ รรลตุ ามเป้าหมาย

60 คู่มือการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563

เกณฑ์การประเมิน

01 2 3 4 5

- ไม่มีระบบ - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก

- ไมม่ กี ลไก - ไมม่ กี ารนา - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ - มีการนาระบบ - มกี ารนาระบบ

ระบบกลไกไปสู่ กลไกไปสกู่ าร กลไกไปสูก่ าร กลไกไปสู่การ กลไกไปสู่การ

การปฏิบตั /ิ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน ปฏบิ ตั ิ/ดาเนินงาน ปฏิบัติ/ ปฏบิ ตั /ิ ดาเนินงาน

ดาเนินงาน ดาเนินงาน

- ไมม่ ีแนวคิด - มีการประเมิน - มีการประเมิน - มกี ารประเมนิ - มีการประเมนิ

ในการกากบั กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ

ติดตามและ

ปรบั ปรงุ

- ไมม่ ีข้อมูล - ไมม่ ีการรบั ปรุง/ - มกี ารปรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรงุ / - มีการปรบั ปรงุ /

หลกั ฐาน พัฒนาระบวนการ พัฒนากระบวน พฒั นากระบวน พฒั นากระบวนการ

การจากผลการ การจากผลการ จากผลการประเมิน

ประเมนิ ประเมนิ

- มผี ลจากการ - มผี ลจากการ

ปรบั ปรงุ เหน็ ปรับปรงุ เห็นชัดเจน

ชดั เจนเปน็ เปน็ รปู ธรรม

รปู ธรรม - มีแนวทางปฏบิ ตั ิท่ี

ดีโดยหลักฐานเชงิ

ประจักษ์ยืนยันและ

กรรมการผู้ตรวจ

ประเมนิ สามารถให้

เหตผุ ลอธบิ ายการ

เปน็ แนวปฏิบัติที่ดี

ไดช้ ัดเจน

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 61

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 5.4 ผลการดาเนินงานหลักสตู รตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ

ชนดิ ของตัวบ่งช้ี ผลลพั ธ์

คาอธิบายตวั บ่งชี้
ผลการดาเนินงานของหลักสูตร หมายถึง ร้อยละของผลการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีการดาเนินงาน

ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศึกษาท่ีปรากฏในหลักสูตร (คอศ.1) หมวดท่ี 7 ข้อ 7 ที่หลักสูตรแต่ละ
หลักสูตรดาเนินงานได้ในแต่ละปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะเป็นผู้รายงานผลการดาเนินงาน
ประจาปีในแบบรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตร (คอศ.6)

เกณฑ์การประเมนิ

มกี ารดาเนินงาน

- รอ้ ยละ 100 ของตวั บ่งช้ผี ลการดาเนินงานทีร่ ะบไุ วใ้ นแต่ละปี มคี ่าคะแนนเทา่ กบั 5

- รอ้ ยละ 95.00-99.99 ของตวั บง่ ชีผ้ ลการดาเนนิ งานที่ระบไุ ว้ในแตล่ ะปี มคี า่ คะแนนเทา่ กบั 4.75

- รอ้ ยละ 90.00-94.99 ของตัวบ่งช้ีผลการดาเนินงานที่ระบุไวใ้ นแตล่ ะปี มีค่าคะแนนเท่ากบั 4.50

- ร้อยละ 80.01-89.99 ของตวั บ่งช้ีผลการดาเนินงานท่รี ะบุไวใ้ นแตล่ ะปี มคี ่าคะแนนเท่ากับ 4.00

- ร้อยละ 80 ของตวั บ่งชี้ผลการดาเนินงานทร่ี ะบุไวใ้ นแตล่ ะปี มีค่าคะแนนเทา่ กบั 3.50

- นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานท่ีระบไุ ว้ในแตล่ ะปี มีคา่ คะแนนเทา่ กบั 0

62 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

องค์ประกอบที่ 6
สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 63

2.6 องคป์ ระกอบที่ 6 สิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้
ในการดาเนนิ การบริหารหลักสูตร จะต้องมปี จั จัยทส่ี าคัญอีกประการหนึ่ง คือ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

ซึ่งประกอบด้วย ความพร้อมทางกายภาพ ความพร้อมด้านอุปกรณ์ ความพร้อมด้านเทคโนโลยี ความพร้อม
ด้านการใหบ้ ริการ เช่น หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ าร สถานประกอบการ ห้องทาวิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน
ห้องสมุด การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifi และอื่นๆ รวมทั้งการบารุงรักษาที่ส่งเสริม
สนบั สนุนให้นักศกึ ษาสามารถเรยี นรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ท่ีกาหนด
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาร่วมกับผลการประเมินความพึงพอใจของ
นักศึกษาและอาจารย์ ใหพ้ ิจารณาจากตวั บ่งชี้ตอ่ ไปน้ี

ตัวบง่ ชี้ท่ี 6.1 สง่ิ สนบั สนนุ การเรียนรู้
- ระบบการดาเนินงานของหลกั สูตรกบั สถานประกอบการโดยมีสว่ นร่วมของอาจารย์

ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรเพื่อใหม้ ีสิ่งสนบั สนุนการเรยี นรู้
- จานวนสิง่ สนบั สนุนการเรยี นรทู้ ีเ่ พยี งพอและเหมาะสมต่อการจดั การเรียนการสอน
- สถานประกอบการ
- กระบวนการปรบั ปรงุ ตามผลการประเมินความพงึ พอใจของนักศกึ ษาและอาจารยต์ ่อ

สิง่ สนับสนนุ การเรยี นรู้

64 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 6.1 สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้

ชนิดของตัวบ่งช้ี กระบวนการ

คาอธบิ ายตวั บ่งช้ี
ความพร้อมของส่ิงสนับสนุนการเรียนการสอนมีหลายประการ ได้แก่ ความพร้อมทางกายภาพ เช่น

ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ สถานประกอบการ ที่พักนักศึกษาในสถานประกอบการ ความพร้อมของอุปกรณ์
เทคโนโลยี และส่ิงอานวยความสะดวกหรือทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน
ห้องสมุด หนังสือ ตารา ส่ิงพิมพ์วารสาร ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น แหล่งเรียนรู้ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ
สิ่งสนับสนุนเหล่าน้ี ต้องมีปริมาณเพียงพอ และมีคุณภาพพร้อมใช้งาน ทันสมัย โดยพิจารณาการดาเนินการ
ปรบั ปรุงพฒั นาจากผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์

ในการรายงานการดาเนินงานตามตัวบ่งช้ีน้ี ให้อธิบายกระบวนการหรือแสดงผลการดาเนินงานอย่าง
น้อยให้ครอบคลุมประเดน็ ต่อไปน้ี

- ระบบการดาเนนิ งานของหลกั สตู รกับสถานประกอบการโดยมสี ่วนร่วมของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบ
หลกั สูตรเพื่อใหม้ ีส่งิ สนับสนนุ การเรยี นรู้

- จานวนส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรทู้ เ่ี พยี งพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอน
- สถานประกอบการ
- กระบวนการปรับปรงุ ตามผลการประเมินความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนนุ
การเรียนรู้

ในการประเมินเพ่ือให้ทราบว่าอยู่ในระดับคะแนนใด ให้พิจารณาในภาพรวมของผลการดาเนินงาน
ทั้งหมดท่ีสะท้อนการจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่จาเป็นต่อการเรียนการสอน และส่งผลให้ผู้เรียน
สามารถเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธผิ ล

คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563 65

เกณฑก์ ารประเมิน

01 2 3 4 5

- ไม่มรี ะบบ - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มรี ะบบ กลไก - มีระบบ กลไก - มีระบบ กลไก

- ไม่มีกลไก - ไมม่ ีการนา - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มกี ารนาระบบ - มีการนาระบบ

ระบบกลไกไปสู่ กลไกไปสู่การ กลไกไปส่กู าร กลไกไปสกู่ าร กลไกไปส่กู าร

การปฏบิ ตั /ิ ปฏบิ ตั ิ/ดาเนนิ งาน ปฏิบตั /ิ ดาเนินงาน ปฏบิ ัติ/ ปฏิบตั ิ/ดาเนินงาน

ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน

- ไมม่ ีแนวคดิ - มีการประเมนิ - มกี ารประเมิน - มกี ารประเมนิ - มกี ารประเมนิ

ในการกากบั กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ

ติดตามและ

ปรับปรุง

- ไม่มขี ้อมลู - ไม่มกี ารรบั ปรุง/ - มีการปรบั ปรุง/ - มกี ารปรบั ปรุง/ - มกี ารปรับปรงุ /

หลกั ฐาน พัฒนาระบวนการ พัฒนากระบวน พัฒนากระบวน พฒั นากระบวนการ

การจากผลการ การจากผลการ จากผลการประเมนิ

ประเมิน ประเมิน

- มผี ลจากการ - มีผลจากการ

ปรบั ปรงุ เห็น ปรับปรุงเห็นชัดเจน

ชดั เจนเป็น เป็นรปู ธรรม

รูปธรรม - มแี นวทางปฏบิ ตั ิที่

ดโี ดยหลักฐานเชิง

ประจักษ์ยนื ยันและ

กรรมการผ้ตู รวจ

ประเมินสามารถให้

เหตผุ ลอธบิ ายการ

เป็นแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี

ได้ชัดเจน

66 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

บทท่ี 5
ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบนั

1. ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั สถาบัน

ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในระดบั สถาบัน ประกอบดว้ ย ผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ภายในระดบั หลกั สูตร และเพ่ิมเตมิ ในระดับสถาบัน จานวน 5 มาตรฐาน ประกอบด้วย ด้านผลลัพธ์ผู้เรียน
ด้านการวิจัยและนวัตกรรม ด้านการบริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย และด้านการ
บริหารจัดการ รวม 15 ตวั บง่ ช้ี รายละเอยี ดแสดงดังตารางกรอบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในระดับ
สถาบนั

2. กรอบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับสถาบนั

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เกณฑก์ ารพจิ ารณา

มาตรฐานท่ี 1 ด้านผลลัพธ์

ผู้เรียน 1.1 ผลการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รโดยรวม คา่ เฉลีย่ ของคะแนนประเมนิ ของ

เป็นบคุ คลท่ีมีความรู้ ความ ทกุ หลักสตู รทส่ี ถาบนั รับผิดชอบ

สามารถและความรอบรดู้ า้ นตา่ ง ๆ 1.2 คณุ ภาพบณั ฑิตตามกรอบมาตรฐาน ค่าเฉลย่ี ของคะแนนประเมิน
เป็นผรู้ ่วมสรา้ งสรรค์นวัตกรรม มี คุณภาพบัณฑิตจากผ้ใู ชบ้ ัณฑติ
คณุ วุฒิระดับอุดมศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. และผมู้ ีส่วนได้เสีย ทกุ หลักสูตรใน
ทักษะศตวรรษที่ 21 และเปน็ สถาบนั
2561 และเกณฑม์ าตรฐานคณุ วุฒิ
พลเมืองท่เี ข้มแขง็
อาชีวศึกษาระดบั ปริญญาตรสี าย
ประกอบด้วย 7 ตัวบง่ ชี้
เทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั กิ าร

พ.ศ.2562

1.3 ผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ นวตั กรรม และ รอ้ ยละของผลงานสง่ิ ประดิษฐ์

งานวิจัยของนักศกึ ษาและผสู้ าเรจ็ นวัตกรรม และงานวิจยั ของ

การศกึ ษา นักศึกษาและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

1.4 นักศึกษาทกุ หลักสตู รในสถาบันท่ี รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทกุ หลักสูตร

ประเมนิ มาตรฐานวชิ าชีพผ่านใน ในสถาบนั ทป่ี ระเมินมาตรฐาน

ครั้งแรก วิชาชีพผ่านในคร้งั แรก

คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563 67

มาตรฐาน ตัวบง่ ชี้ เกณฑก์ ารพจิ ารณา

มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นผลลัพธ์ 1.5 นักศกึ ษาทุกหลักสตู รในสถาบันทสี่ อบ รอ้ ยละของนกั ศึกษาทกุ หลักสูตร

ผู้เรียน (ตอ่ ) ผา่ นสมทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษ ในสถาบันทสี่ อบผา่ นสมิทธิภาพ

ระดับ B2 หรือเทียบเทา่ ทางภาษาอังกฤษ ระดบั B2 หรือ

เทียบเทา่

1.6 นักศกึ ษาทกุ หลกั สูตรในสถาบนั ทส่ี อบ รอ้ ยละของนักศกึ ษาทกุ หลกั สูตร

ผา่ นการประเมนิ มาตรฐานดา้ น ในสถาบันทสี่ อบผ่านการประเมิน

เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาตรฐานดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั

1.7 นกั ศกึ ษาท่ีเขา้ ร่วมกิจกรรมปลกู ฝัง ร้อยละของนกั ศกึ ษาทเ่ี ข้าร่วม

จติ สานกึ ตอ่ สาธารณะ เสริมสรา้ งการ กิจกรรมปลกู ฝงั จติ สานึกต่อ

เปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แขง็ สาธารณะ เสริมสร้างการเปน็

พลเมืองท่เี ขม้ แข็ง

มาตรฐานท่ี 2 ด้านการวจิ ยั และ 2.1 ระบบ กลไกการบรหิ ารและพฒั นา เกณฑม์ าตรฐาน 6 ข้อ

นวัตกรรม งานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการ

ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

2.2 เครือขา่ ยความรว่ มมือการสนบั สนุน เกณฑ์มาตรฐาน 5 ข้อ

งานวิจัยและผลงานทางวิชาการ

เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม

2.3 ผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ ร้อยละของผลงานทางวิชาการของ

ประจาสถาบัน อาจารยป์ ระจาสถาบนั

มาตรฐานที่ 3 ด้านการบรกิ าร 3.1 การบริการวชิ าการแก่สงั คม เกณฑ์มาตรฐาน 5 ข้อ

วชิ าการ

ประกอบดว้ ย 1 ตัวบง่ ช้ี

มาตรฐานท่ี 4 ดา้ น 4.1 ระบบและกลไกการทานบุ ารงุ ศาสนา เกณฑ์มาตรฐาน 5 ข้อ

ศลิ ปวัฒนธรรมและความเป็นไทย ศลิ ปวัฒนธรรมและความเป็นไทย

ประกอบด้วย 1 ตัวบ่งชี้

มาตรฐานท่ี 5 ด้านการบริหาร 5.1 การบริหารงาน ตามพนั ธกจิ เกณฑม์ าตรฐาน 6 ขอ้

จดั การ เอกลกั ษณ์ และอัตลักษณ์ของสถาบัน

ประกอบดว้ ย 3 ตัวบ่งชี้ 5.2 ความรว่ มมือกบั ภาคประกอบการ เกณฑ์มาตรฐาน 5 ขอ้

5.3 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา เกณฑ์มาตรฐาน 6 ข้อ

รวม 15 ตัวบ่งช้ี

68 คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

มาตรฐานท่ี 1
ด้านผลลพั ธ์ผู้เรียน

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563 69

2.1 มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นผลลพั ธผ์ เู้ รียน
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

จาเป็นตอ้ งมีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทีห่ ลากหลายเพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรทู้ งั้ ในด้านวชิ าการ วิชาชีพ
มีคุณลักษณะตามท่หี ลักสูตรกาหนด โดยทผ่ี สู้ าเร็จการศึกษาจะมีคุณสมบัติอย่างน้อย 3 ด้าน ดังน้ี 1) เป็น
บุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และความรอบรู้ในด้านต่าง ๆ ในการสร้างสัมมาอาชีพ ความมั่นคงและ
คุณภาพชวี ิตของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม มีทักษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ โดยเปน็ ผมู้ ีคุณธรรม ความ
เพยี ร มุ่งมั่น บากบั่น และยึดมนั่ ในจรรยาบรรณวชิ าชพี 2) เป็นผ้รู ว่ มสร้างสรรคน์ วตั กรรม มีทักษะศตวรรษ
ที่ 21 มีความสามารถในการบรู ณาการศาสตรต์ ่าง ๆ เพอื่ พฒั นาหรอื แกไ้ ขปัญหาสังคม มีคุณลักษณะการเป็น
ผู้ประกอบการ รเู้ ทา่ กนั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก สามารถสร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าให้กับ
ตนเอง ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ 3) เป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม ยึดมั่นใน
ความถกู ต้อง ร้คู ณุ ค่าและรกั ษค์ วามเปน็ ไทย รว่ มมือรวมพลังเพอ่ื สรา้ งสรรคก์ ารพฒั นาและเสรมิ สรา้ งสนั ตสิ ุข
อย่างยง่ั ยนื ท้ังในระดบั ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประชาคมโลก ซึ่งผลลัพธ์ในด้านผู้เรียนจะพิจารณาจาก
ตวั บง่ ช้ดี ังตอ่ ไปนี้

ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 ผลการบริหารจดั การหลักสตู รโดยรวม
ตวั บ่งชท้ี ี่ 1.2 คุณภาพบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2561 และ
เกณฑม์ าตรฐานคุณวฒุ ิอาชวี ศกึ ษาระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2562
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.3 ผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ นวัตกรรม และงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษาและผสู้ าเรจ็ การศึกษา
ตวั บง่ ชที้ ่ี 1.4 นักศึกษาทกุ หลักสตู รในสถาบันทป่ี ระเมินมาตรฐานวชิ าชพี ผา่ นในครงั้ แรก
ตวั บง่ ช้ที ี่ 1.5 นักศกึ ษาทุกหลกั สตู รในสถาบนั ทสี่ อบผา่ นสมทิ ธภิ าพทางภาษาองั กฤษระดบั B2
หรอื เทยี บเท่า
ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.6 นกั ศกึ ษาทุกหลกั สูตรในสถาบันทสี่ อบผ่านการประเมนิ มาตรฐานด้านเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.7 นักศึกษาทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมปลกู ฝงั จติ สานึกต่อสาธารณะ เสริมสรา้ งการเป็นพลเมอื ง
ท่เี ขม้ แขง็

70 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.1 ผลการบรหิ ารจดั การหลกั สูตรโดยรวม

ชนิดของตวั บง่ ช้ี ผลลัพธ์

คาอธิบายตัวบ่งช้ี
ผลการบรหิ ารจดั การหลกั สตู รระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร ให้บณั ฑติ มีคุณภาพ

ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561 และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรี
สายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2562 สถาบันมีการดาเนินการประเมนิ คุณภาพหลักสตู รทกุ หลกั สูตร
ในสถาบันซ่งึ มีองค์ประกอบสาคญั ได้แก่ การกากับมาตรฐาน บัณฑิต นักศึกษา อาจารย์ หลักสูตรการเรียน
การสอน การประเมินผเู้ รยี น และสิ่งสนับสนนุ การเรยี นรู้ ซงึ่ ผลการดาเนนิ การของแตล่ ะหลักสูตรในสถาบัน
สามารถสะท้อนคณุ ภาพของบัณฑติ ในหลักสตู รท่สี ถาบันรบั ผิดชอบ

เกณฑ์การประเมนิ
คา่ เฉลยี่ ของคะแนนประเมินทกุ หลักสตู รทสี่ ถาบนั รับผิดชอบ จากคะแนนเตม็ 5

สตู รการคานวณ

คะแนนท่ไี ด้ = ผลรวมของค่าคะแนนประเมนิ ของทุกหลักสตู รในสถาบนั
จานวนหลกั สตู รทงั้ หมดท่สี ถาบนั รับผดิ ชอบ

หมายเหตุ
: หลกั สูตรทีม่ กี ารจัดการเรียนการสอน และมนี ักศกึ ษาตกค้าง แต่ยงั ไม่ไดร้ ับอนมุ ัติ
โดยคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ใหป้ ิดโดยสมบรู ณ์ ต้องนามาคานวณด้วย
: หลกั สูตรที่ไม่มกี ารจดั การเรียนการสอน แตย่ ังไมไ่ ดร้ บั อนมุ ัติโดยคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ใหป้ ิดโดยสมบรู ณ์ ตอ้ งนามาคานวณด้วย

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 71

ตัวบ่งชีท้ ี่ 1.2 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2561 และ
เกณฑ์มาตรฐานคณุ วุฒอิ าชีวศกึ ษาระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร
พ.ศ.2562

ชนิดของตวั บง่ ชี้ ผลลพั ธ์

คาอธบิ ายตัวบง่ ช้ี
การประเมินคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai

Qualifications Framework for Higher Education :TQF) และเกณฑม์ าตรฐานคณุ วุฒิอาชีวศึกษาระดับ
ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัติการ ได้มีการกาหนดคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์ตามทหี่ ลกั สตู ร
กาหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร (คอศ.1) ซึ่งครอบคลุมผลการเรียนรู้ 6 ด้าน คือ 1) ด้านคุณธรรม
จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รบั ผิดชอบ 5) ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การสือ่ สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) ด้าน
ทกั ษะการปฏิบตั งิ าน สาหรับตวั บง่ ช้นี จี้ ะเปน็ การประเมินคณุ ภาพบัณฑิตของผใู้ ชบ้ ณั ฑิต โดยใช้แบบประเมนิ
คณุ ภาพบัณฑิต ตามมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดบั

เกณฑ์การประเมนิ
คา่ เฉลย่ี ของคะแนนประเมินคณุ ภาพบณั ฑิตจากทกุ หลักสูตรทสี่ ถาบันรับผดิ ชอบ จากคะแนนเตม็ 5

สูตรการคานวณ

คะแนนทไ่ี ด้ = ผลรวมคะแนนฉลี่ยทไ่ี ดจ้ ากการประเมินคณุ ภาพบณั ฑติ จากทุกหลักสตู รที่สถาบันรบั ผิดชอบ
จานวนหลกั สูตรทงั้ หมดท่ีสถาบันรบั ผดิ ชอบ

72 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ช้ที ่ี 1.3 ผลงานส่งิ ประดิษฐ์ นวตั กรรม และงานวิจัยของนกั ศึกษาและผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา

ชนดิ ของตัวบง่ ชี้ ผลลัพธ์

คาอธบิ ายตวั บ่งชี้
การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั ิการ เป็นการผลติ และพัฒนากาลังคน

ระดับเทคโนโลยีท่ีเน้นการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาให้เป็นบุคคลที่มีความสามารถในการบูรณาการ
ศาสตร์เพอื่ พัฒนาหรอื แกป้ ัญหา มคี ุณลกั ษณะความเปน็ ผ้ปู ระกอบการ รเู้ ท่าทันการเปล่ียนแปลงของสังคม
และของโลก สามารถสร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าให้กับตนเองและชุมชนได้ และผู้สาเร็จการศึกษาจึงต้อง
ประมวลความร้แู ละทักษะต่าง ๆ เพ่ือจดั ทาผลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการใช้ความรู้อย่างเป็นระบบ
และเผยแพร่ใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ซ่งึ ผลงานอาจประกอบด้วยผลงานที่เป็นสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม
หรืองานวิจัย ตวั บ่งชนี้ ีจ้ ะเป็นการประเมินคุณภาพของผลงานของนักศึกษาหรือผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ
ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร

เกณฑ์การประเมนิ
แปลงคา่ รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานสงิ่ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรมหรอื งานวจิ ัยของนกั ศึกษา

และผสู้ าเร็จการศึกษา เป็นคะแนนระหวา่ ง 0-5 กาหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 50

สตู รการคานวณ
1. คานวณคา่ รอ้ ยละของผลรวมถ่วงน้าหนกั ของผลงานสง่ิ ประดิษฐ์ นวัตกรรมหรืองานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษาและ
ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาที่เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

= ผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์ นวตั กรรมหรอื งานวจิ ัยของนักศกึ ษาและผู้สาเร็จการศึกษา
จานวนผ้สู าเร็จการศึกษาท้ังหมด

2. แปลงคา่ รอ้ ยละท่คี านวณไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกับคะแนนเตม็ 5
= ร้อยละผลรวมถว่ งน้าหนกั ของสิง่ ประดิษฐ์ นวตั กรรมหรืองานวจิ ยั ท่ีเผยแพร่ตอ่ ผู้สาเร็จการศึกษา

คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 73

การกาหนดคณุ ภาพของผลงานทางวิชาการ ดงั น้ี

ค่านา้ หนกั ระดับคุณภาพ
0.20 - บทความฉบบั สมบรู ณ์ทตี่ พี ิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
0.40 - บทความฉบบั สมบรู ณ์ท่ตี ีพิมพใ์ นรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดบั นานาชาติ หรือใน
วารสารวิชาการระดบั ชาตทิ ไี่ ม่อยใู่ นฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. แตส่ ถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนมุ ัติและ
0.60 จดั ทาเป็นประกาศใหท้ ราบเป็นการท่ัวไป
0.80 - ผลงานท่ไี ด้รับการจดอนสุ ิทธิบตั ร
- บทความท่ีตพี ิมพใ์ นวารสารวชิ าการทป่ี รากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มท่ี 2
1.00 - บทความทต่ี ีพิมพใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไมอ่ ยใู่ นฐานขอ้ มลู ตามประกาศ ก.พ.อ. แต่สถาบัน
นาเสนอสภาสถาบันอนมุ ัติและจัดทาเปน็ ประกาศใหท้ ราบเปน็ การท่ัวไป หรอื ตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการท่ี
ปรากฏในฐานข้อมลู TCI กลมุ่ ที่ 1
- บทความที่ตพี มิ พ์ในวารสารวิชาการระดบั นานาชาตทิ ปี่ รากฏในฐานข้อมูลระดบั นานาชาตติ ามประกาศ
ก.พ.อ.
- ผลงานไดร้ ับการจดสิทธบิ ัตร

การสง่ บทความเพอ่ื พจิ ารณาคัดเลอื กใหน้ าเสนอในการประชมุ วชิ าการต้องสง่ เปน็ ฉบบั สมบูรณ์ (Full
Paper) และเม่อื ไดร้ ับการตอบรบั และตพี มิ พแ์ ลว้ การตพี มิ พ์ต้องตพี ิมพเ์ ป็นฉบบั สมบูรณซ์ ง่ึ สามารถอยูใ่ น
รูปแบบเอกสารหรอื ส่ืออเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้

74 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

การกาหนดคณุ ภาพงานสรา้ งสรรค์ ดงั นี้

คา่ น้าหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรคท์ ม่ี ีการเผยแพรส่ สู่ าธารณะในลักษณะใดลกั ษณะหนึ่งหรอื ผ่าน

สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ Online

0.40 สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรืองานสร้างสรรคท์ ่ไี ด้รบั การเผยแพรใ่ นระดบั สถาบัน

0.60 สิ่งประดิษฐ์ หรอื งานสร้างสรรคท์ ่ีได้รับการเผยแพร่ในระดบั ชาติ

0.80 สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสรา้ งสรรคท์ ี่ได้รับการเผยแพร่ในระดบั ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ

1.00 สิ่งประดิษฐ์ หรืองานสร้างสรรคท์ ไ่ี ดร้ ับการเผยแพรใ่ นระดบั ภมู ิภาคอาเซียนนานาชาติ

ผลงานสร้างสรรคท์ ุกช้ินตอ้ งผา่ นการพจิ ารณาจากคณะกรรมการท่มี ีองค์ประกอบไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คน
โดยมบี คุ คลภายนอกสถาบันร่วมพจิ ารณาดว้ ย

*หมายเหตุ :
1. ผลงานวจิ ยั ทมี่ ีช่ือนักศกึ ษาและอาจารยร์ ว่ มกัน และนับในตัวบง่ ชน้ี ีแ้ ล้วสามารถนาไปนับใน

ตวั บ่งช้ผี ลงานทางวิชาการของอาจารย์
2. ผลงานของนกั ศึกษาและผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาให้นับผลงานทุกช้ินที่มกี ารตีพิมพเ์ ผยแพรใ่ นปกี าร

ประเมินนน้ั ๆ
3. ในกรณีทไ่ี ม่มีผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาไม่พจิ ารณาในตัวบ่งชีน้ ี้

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 75

ตวั บ่งช้ที ่ี 1.4 นกั ศกึ ษาทุกหลักสูตรในสถาบันที่ประเมินมาตรฐานวิชาชีพผา่ นในครงั้ แรก

ชนดิ ของตวั บง่ ชี้ ผลลพั ธ์

คาอธิบายตัวบง่ ชี้
การวดั คณุ ภาพของผทู้ ีจ่ ะสาเร็จการศกึ ษาในด้านวิชาชพี จากหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยี

หรือสายปฏิบัติการ นักศึกษาต้องเข้ารับการทดสอบมาตรฐานวิชาชีพซึ่งต้องมีคุณสมบัติและคุณลักษณะ
ทีผ่ ่านกระบวนการจดั การเรียนการสอนวิชาชีพนั้น ๆ มีระดับความสามารถในการประกอบวิชาชีพท้ังด้าน
ความรู้ ทกั ษะ และเจตคตใิ นวชิ าชพี นัน้ ๆ การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี จะดาเนินการได้เมอ่ื ลงทะเบียนครบ
ทกุ รายวชิ ากอ่ นสาเรจ็ การศึกษา

เกณฑ์การประเมนิ
แปลงค่ารอ้ ยละของนักศึกษาทกุ หลักสูตรในสถาบนั ทปี่ ระเมินมาตรฐานวิชาชีพผา่ นในครัง้ แรก

เปน็ คะแนนระหวา่ ง 0-5 กาหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 100

สตู รการคานวณ
1. คานวณคา่ ร้อยละของนักศกึ ษาทกุ หลกั สูตรในสถาบนั ทป่ี ระเมินมาตรฐานวิชาชพี ผ่านในครั้งแรก

= จานวนนกั ศึกษาทกุ หลักสูตรในสถาบนั ทีส่ อบมาตรฐานวชิ าชีพผา่ นคร้งั แรก
จานวนนักศึกษาทง้ั หมดทเี่ ข้าสอบ

2. แปลงคา่ ร้อยละที่คานวณไดใ้ นขอ้ 1 เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5
= ค่ารอ้ ยละของนักศกึ ษาทกุ หลกั สูตรในสถาบนั ที่ประเมนิ มาตรฐานวิชาชีพผ่านในครง้ั แรก

76 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563

ตวั บ่งชที้ ี่ 1.5 นักศกึ ษาทุกหลักสูตรในสถาบันที่สอบผ่านสมทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษ ระดับ B2 หรือ
เทยี บเทา่

ชนิดของตวั บ่งชี้ ผลลพั ธ์

คาอธบิ ายตัวบง่ ชี้
สถาบันการอาชวี ศึกษาจัดให้มีการทดสอบสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ ตามประกาศคณะกรรมการ

การอุดมศกึ ษา เรอื่ ง นโยบายการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในสถาบันอุดมศึกษา โดยจัดให้นักศึกษา
ทุกคนทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษตามแบบทดสอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษาท่ีสถาบันสร้างขึ้นหรือ
แบบทดสอบมาตรฐานภาษาอังกฤษอื่น ๆ หรือที่เห็นสมควรจะนามาใช้วัดสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษ
(English Proficiency) โดยสามารถเทียบเคียงผลกับ Common European Framework of Reference
for Languages (CEFR) หรอื มาตรฐานอื่นท่เี ทยี บเท่า เช่น EF SET คะแนนระหว่าง 51–60 IELTS คะแนน
ระหว่าง 5.5-6.0 TOEIC (R&L) Total คะแนนระหว่าง 785–940 Cambridge English Scale คะแนน
ระหว่าง 160–179 TOEFL iBT คะแนนระหว่าง 72-94 Global Scale of English (Pearson) คะแนน
ระหวา่ ง 59–75 เพื่อใหท้ ราบระดบั ความสามารถของนกั ศกึ ษาแต่ละคน และให้สถาบันพิจารณานาผลการ
ทดสอบความร้ทู างภาษาอังกฤษบนั ทกึ ในใบรับรองผลการศึกษาหรือจัดทาเปน็ ประกาศนยี บัตร

เกณฑ์การประเมนิ
โดยการแปลงค่ารอ้ ยละของนักศกึ ษาทุกหลักสตู รในสถาบนั ทีส่ อบผ่านสมทิ ธิภาพทางภาษาองั กฤษ

ระดบั B2 หรือเทียบเท่า เปน็ คะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 40

สตู รการคานวณ
1. คานวณคา่ ร้อยละของนกั ศกึ ษาทกุ หลกั สูตรในสถาบันทส่ี อบผา่ นสมิทธิภาพทางภาษาองั กฤษ ระดบั B2
หรอื เทยี บเท่า

= จานวนนกั ศึกษาทกุ หลักสตู รในสถาบนั ที่สอบสมิทธิภาพทางภาษาองั กฤษผ่านเกณฑ์
จานวนนกั ศึกษาทเี่ ขา้ สอบทัง้ หมด

2. แปลงคา่ รอ้ ยละทีค่ านวณไดใ้ นขอ้ 1 เทียบกับคะแนนเตม็ 5

= คา่ รอ้ ยละของนักศึกษาทุกหลักสูตรในสถาบันท่สี อบผ่านสมทิ ธภิ าพทางภาษาองั กฤษระดบั หรือเทยี บเทา่

คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 77

ตัวบง่ ชีท้ ่ี 1.6 นกั ศกึ ษาทกุ หลักสูตรในสถาบันทีส่ อบผา่ นการประเมนิ มาตรฐานดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั

ชนิดของตัวบง่ ช้ี ผลลัพธ์

คาอธบิ ายตัวบง่ ชี้
สถาบนั จัดใหม้ ีการประเมนิ มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ได้กาหนดไว้ในการพัฒนากาลังคนด้าน

อาชีวศึกษา เกี่ยวกับทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ของคนในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยการเรียนรู้
สารสนเทศ (Information literacy) การเรียนรู้ส่ือ (media literacy) การรู้ ICT (ICT literacy) และใช้
เทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital Literacy) ซง่ึ เป็นทกั ษะในการนาเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยีดิจิทัลท่มี อี ย่ใู น
ปัจจบุ ัน นามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการสื่อสาร การปฏิบัติงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพื่อ
พัฒนากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กร ให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ทักษะดังกล่าว
ครอบคลุมความสามารถใน 4 มิติ ประกอบด้วย การใช้ (Use) ความเข้าใจ (Understand) การสร้าง
(Create) และการเข้าถงึ (Access) เทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้นักศึกษาทุกคนเข้า
ทดสอบความรู้ดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในภาคการศกึ ษาสดุ ท้ายกอ่ นสาเร็จการศึกษา ซ่ึงนักศึกษาจะต้องสอบ
ได้ไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 70 จึงจะถือวา่ สอบผา่ นมาตรฐานด้านเทคโนโลยดี ิจิทัลนนั้ ๆ

เกณฑก์ ารประเมิน
รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทุกหลักสตู รในสถาบนั ทส่ี อบผา่ นการประเมินมาตรฐานด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั

เปน็ คะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 100

สูตรการคานวณ
1. คานวณค่าร้อยละของนักศกึ ษาทุกหลักสูตรในสถาบนั ทสี่ อบผ่านการประเมินมาตรฐานด้านเทคโนโลยี
ดิจิทลั

= จานวนนกั ศึกษาทุกหลกั สตู รในสถาบันท่ีสอบผ่านการประเมนิ มาตรฐานดา้ นเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั
จานวนนักศึกษาท่ีเข้าสอบท้งั หมด

2. แปลงค่ารอ้ ยละท่ีคานวณไดใ้ นข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเต็ม 5

= คา่ รอ้ ยละของนักศึกษา"ทุกหลักสตู รในสถาบันท่ีสอบผ่านการประเมนิ มาตรฐานดา้ นเทคโนโลยดี ิจิทลั

78 คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ตัวบ่งชที้ ่ี 1.7 นักศกึ ษาทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมปลกู ฝงั จิตสานกึ ต่อสาธารณะ เสริมสรา้ งการเป็นพลเมอื ง
ทีเ่ ข้มแข็ง

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ ผลลพั ธ์

คาอธบิ ายตวั บง่ ชี้
สถาบันการอาชีวศึกษาส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ

ท่ีพึงประสงค์ของนักศึกษา เพื่อให้เป็นพลเมืองที่เข้มแข็งมีความกลา้ หาญทางจรยิ ธรรม ยึดมน่ั ในความถกู ตอ้ ง
ร้คู ณุ ค่า รักษค์ วามเป็นไทยรว่ มมอื รวมพลังเพ่ือสร้างสรรค์การพฒั นาและเสริมสร้างสันตสิ ุขอย่างย่ังยืน ท้งั ใน
ระดับครอบครัว ชุมชน และประชาคมโลก โดยจัดให้มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีปลูกฝังจิตสานึกต่อ
สาธารณะ เสรมิ สร้างการเปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แข็ง โดยทกุ กิจกรรมต้องมีวตั ถุประสงค์ งบประมาณ ระยะเวลา
กล่มุ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการและผลการประเมินกิจกรรม

เกณฑ์การประเมนิ
โดยการแปลงคา่ รอ้ ยละของนักศึกษาทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมปลกู ฝงั จติ สานกึ ตอ่ สาธารณะ เสรมิ สรา้ งการ

เปน็ พลเมอื งทีเ่ ขม้ แข็ง เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 กาหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 100

สูตรการคานวณ
1. คานวณคา่ ร้อยละของนกั ศกึ ษาที่เข้ารว่ มกิจกรรมปลูกฝงั จติ สานึกต่อสาธารณะ เสรมิ สรา้ งการเปน็
พลเมอื งทเี่ ข้มแขง็

= จานวนนักศกึ ษาทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรมปลกู ฝังจติ สานกึ ตอ่ สาธารณะเสริมสรา้ งการเปน็ พลเมืองทเี่ ขม้ แขง็
จานวนนกั ศึกษาระดับปริญญาตรีท้งั หมด

2. แปลงคา่ ร้อยละทคี่ านวณไดใ้ นข้อ 1 เทียบกบั คะแนนเตม็ 5
= คา่ รอ้ ยละของนกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมปลกู ฝังจิตสานึกตอ่ สาธารณะเสริมสรา้ งการเป็นพลเมอื งทเ่ี ข้มแขง็

คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 79

80 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

มาตรฐานท่ี 2
ดา้ นการวจิ ยั และนวตั กรรม

คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 81

2.2 มาตรฐานท่ี 2 ด้านการวิจัยและนวตั กรรม
สถาบันการอาชีวศกึ ษา มีผลงานวิจยั ท่ีเปน็ การสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ งานสร้างสรรค์

สิ่งประดษิ ฐ์ และนวัตกรรมหรือทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาทีเ่ ช่อื มโยงกบั สภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรมหรอื
สิ่งแวดล้อม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของแต่ละสถาบัน มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันก าร
อาชวี ศึกษา องค์กรภาครฐั และเอกชน ผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ สิง่ ประดษิ ฐ์ และนวัตกรรมหรอื ทรัพย์สิน
ทางปัญญา ท่ีตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ความต้องการของชุมชน สังคม และประเทศชาติ สามารถสร้าง
โอกาส มูลค่าเพมิ่ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ได้ ซ่ึงมาตรฐานดา้ นการวิจยั และนวัตกรรมจะพจิ ารณาจากตวั บ่งชี้
ดงั ตอ่ ไปนี้

ตัวบง่ ช้ที ี่ 2.1 ระบบ กลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและ
นวตั กรรม

ตวั บ่งช้ีท่ี 2.2 เครือข่ายความร่วมมือการสนับสนุนงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและ
นวตั กรรม

ตัวบ่งชีท้ ี่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาสถาบัน

82 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.1 ระบบ กลไกการบรหิ ารและพัฒนางานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ เทคโนโลยี
และนวตั กรรม

ชนดิ ของตวั บ่งช้ี กระบวนการ

คาอธบิ ายตวั บ่งช้ี
สถาบันการอาชวี ศกึ ษามกี ารบริหารจดั การงานวิจัยและผลงานทางวชิ าการ สง่ิ ประดษิ ฐง านสรา งสรรค

และนวตั กรรมทมี่ ีคุณภาพ มีการประยกุ ตใชองคความรใู หม การสรางสรรคนวตั กรรมหรือ ทรัพยส ินทางปญ ญา
ท่เี ชอ่ื มโยงกับสภาพเศรษฐกจิ สงั คม หรอื สง่ิ แวดลอ ม โดยมีแนวทางการดาํ เนินงาน ที่เปน ระบบและมีกลไก
สงเสริมสนับสนนุ ครบถว น เพอื่ ใหส ามารถดาํ เนินการไดต ามแผนท่กี าํ หนดไว ทั้งการ สนับสนุนดานการจัดหา
แหลงทนุ วิจัยและการจดั สรรทุนวจิ ยั จากงบประมาณของสถาบนั ใหก ับบคุ ลากร สงเสรมิ พัฒนาสมรรถนะ
แกอาจารย การสนับสนนุ ทรัพยากรท่จี ําเปนซงึ่ รวมถึงทรพั ยากรบคุ ล ทรพั ยากร การเงนิ เครอ่ื งมือ อปุ กรณท่ี
เก่ียวขอ งตา ง ๆ ตลอดจนจัดระบบสรางขวญั กาํ ลงั ใจแกอ าจารยอ ยางเหมาะสม มีระบบและกลไกเพ่ือชว ยใน
การคมุ ครองสทิ ธ์ขิ องงานวิจัยหรือผลงานทางวชิ าการ สง่ิ ประดษิ ฐ งานสรา งสรรค และนวตั กรรมทส่ี ามารถ
นาํ ไปใชประโยชนได

เกณฑ์มาตรฐาน
1. มีระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารงานวจิ ัยท่ีสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการบรหิ ารงานวจิ ัยหรือ

ผลงานทางวชิ าการ เทคโนโลยี นวัตกรรมและสงิ่ ประดิษฐ์
2. สนับสนุนพนั ธกจิ ดา้ นการวิจยั หรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี นวัตกรรมและสง่ิ ประดิษฐ์

ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
2.1 ห้องปฏิบัติการหรอื หอ้ งปฏิบัติงานสรา้ งสรรค์ หรือหน่วยวิจัย หรือศูนย์เคร่ืองมือ หรือศูนย์

ให้คาปรึกษา (Co-Learning Space) และสนบั สนนุ การวิจัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี นวัตกรรม
และสิ่งประดษิ ฐ์

2.2 ห้องสมุดหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลสนับสนุนการวิจัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี
นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์

2.3 ส่ิงอานวยความสะดวกหรือการรักษาความปลอดภัยในการวิจัยหรือการผลิตผลงานทาง
วชิ าการ เทคโนโลยี นวัตกรรมและส่ิงประดษิ ฐ์ เชน่ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบรักษาความปลอดภัย
ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร

2.4 กิจกรรมวิชาการที่ส่งเสริมงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ร่วมกับภาคประกอบการ เช่น
การจดั ประชมุ วิชาการ การจดั แสดงผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี นวัตกรรมและสงิ่ ประดิษฐ์

3. จดั สรรงบประมาณเพอ่ื เปน็ ทุนวิจัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี นวตั กรรมและสิ่งประดิษฐ์

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563 83

4. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี
นวตั กรรมและสงิ่ ประดษิ ฐ์ ในการประชุมวชิ าการหรอื การตีพิมพใ์ นวารสารระดับชาตหิ รอื นานาชาติ

5. มีการพฒั นาสมรรถนะอาจารยแ์ ละนักวจิ ัยมีการสรา้ งขวญั และกาลังใจตลอดจนยกยอ่ งอาจารย์
และนักวิจยั ทม่ี ีผลงานวจิ ัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี นวัตกรรมและสง่ิ ประดิษฐ์ ดเี ด่น

6. มีระบบและกลไก เพ่ือช่วยในการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยี
นวตั กรรมและส่ิงประดิษฐ์

เกณฑ์การประเมนิ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
มกี ารดาเนินการ มีการดาเนินการ
3 - 4 ขอ 5 ขอ 6 ขอ
1 ขอ 2 ขอ

84 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.2 เครือข่ายความรว่ มมือการสนับสนุนงานวจิ ยั และผลงานทางวชิ าการ เทคโนโลยี
และนวตั กรรม

ชนดิ ของตวั บง่ ชี้ กระบวนการ

คาอธิบายตัวบง่ ช้ี
สถาบันการอาชีวศกึ ษามกี ารสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือการสนับสนนุ งานวิจยั และผลงานทางวชิ าการ

เทคโนโลยีและนวัตกรรม งานสร้างสรรค์ ระหว่างสถาบันกับภาคประกอบการ ท้ังในประเทศหรือ
ต่างประเทศอยา่ งต่อเน่อื ง

เกณฑม์ าตรฐาน
1. สถาบันจัดทาแผนส่งเสรมิ ความร่วมมือ การสนบั สนนุ งานวจิ ัยและผลงานทางวชิ าการ เทคโนโลยี

และนวตั กรรมระหว่างสถาบนั กับภาคประกอบการ ท้ังในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ
2. สถาบันสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื การสนับสนุนงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและ

นวัตกรรมระหวา่ งสถาบนั กับภาคประกอบการ ท้งั ในประเทศหรอื ตา่ งประเทศ
3. สถาบันดาเนินการพฒั นางานวจิ ัย และผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม กับเครือขา่ ย

ความรว่ มมือระหวา่ งสถาบันกบั ภาคประกอบการ ท้ังในประเทศหรือต่างประเทศ
4. สถาบันประเมินความสาเร็จของความร่วมมือการสนับสนุนงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ

เทคโนโลยีและนวตั กรรมระหวา่ งสถาบันกับภาคประกอบการ ทงั้ ในประเทศหรือต่างประเทศ
5. นาผลการประเมินตามข้อ 4 มาปรับปรุงพฒั นาความรว่ มมอื การสนับสนุนงานวจิ ัยและผลงานทาง

วชิ าการเทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวา่ งสถาบนั กับภาคประกอบการ ท้งั ในประเทศหรือตา่ งประเทศ

เกณฑก์ ารประเมิน

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มีการดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มกี ารดาเนนิ การ

ตามข้อ ตามขอ้ ตามข้อ ตามข้อ ตามขอ้
1 1-2 1-3 1-4 1-5

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563 85

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2.3 ผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจาสถาบนั

ชนิดของตวั บง่ ช้ี ผลลพั ธ์

คาอธิบายตัวบ่งชี้
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาสถาบันซึ่งได้แก่ งานวิจัย งานสร้างสรรค์ ส่ิงประดิษฐ์และ

นวัตกรรมต่าง ๆ ทไี่ ด้สร้างสรรค์ขนึ้ เพอ่ื แสดงให้เหน็ ถึงความกา้ วหน้าทางวชิ าการและวชิ าชพี และการพัฒนา
องค์ความรอู้ ย่างต่อเน่อื ง เป็นผลงานทีม่ ีคุณค่า สมควรส่งเสรมิ ใหม้ ีการเผยแพร่และนาไปใช้ประโยชน์ท้ังเชิง
วชิ าชพี และการแขง่ ขันของประเทศ ผลงานทางวิชาการดังกลา่ วอยใู่ นรูปของบทความวิจัยหรือบทความทาง
วิชาการที่ตีพมิ พ์ในรายงานจากการประชุมวชิ าการระดบั ชาติ หรือระดับนานาชาติ ตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการ
ท่ีปรากฏในฐานข้อมูล TCI หรือ Scopus หรือตามประกาศ ก.พ.อ.หรือระเบียบคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษา วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
2563 หรือนาเสนอในเวทสี รา้ งสรรค์ต่าง ๆ รวมถึงผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตรหรือสิทธิบัตร หรือเป็น
ผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมท่ีผ่านการประเมินตาแหน่งทางวิชาการแล้ว ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือ
องคก์ รระดบั ชาติว่าจ้างให้ดาเนินการ ตาราหรือหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตามเกณฑ์การขอตาแหน่งทาง
วชิ าการแลว้

เกณฑก์ ารประเมนิ
โดยการแปลงค่ารอ้ ยละของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาสถาบันเปน็ คะแนนระหวา่ ง 0-5

กาหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 20

สตู รการคานวณ
1. คานวณค่ารอ้ ยละของผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจาสถาบนั

= ผลรวมถว่ งน้าหนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารยป์ ระจาสถาบนั
จานวนอาจารยป์ ระจาสถาบนั ทัง้ หมด

2. แปลงคา่ รอ้ ยละทีค่ านวณได้ในข้อ 1 เทยี บกบั คะแนนเตม็ 5

= ร้อยละผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ประจาสถาบัน

86 คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

การกาหนดคุณภาพของผลงานทางวชิ าการ (ตามประกาศของ กพอ.)

คา่ นา้ หนัก ระดบั คุณภาพ
0.20 - บทความวิจยั หรือบทความวิชาการฉบับสมบรู ณ์ท่ีตพี มิ พใ์ นรายงานสืบเน่อื งจากการประชุมวิชาการ
0.40 ระดับชาติ
- บทความวิจยั หรือบทความวชิ าการฉบับสมบูรณ์ท่ีตพี มิ พ์ในรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการระดับ
0.60 นานาชาติ หรือในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีไม่อยูใ่ นฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. แต่สถาบันนาเสนอสภา
0.80 สถาบนั อนุมัตแิ ละจดั ทาเป็นประกาศใหท้ ราบเป็นการท่ัวไป
- ผลงานท่ไี ด้รบั การจดอนุสิทธิบัตร
1.00 - บทความวิจยั หรือบทความวชิ าการทต่ี ีพิมพใ์ นวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมลู TCI กลุ่มท่ี 2
- บทความวิจยั หรือบทความวิชาการที่ตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิ ี่ไม่อย่ใู นฐานข้อมลู ตาม
ประกาศ ก.พ.อ. แตส่ ถาบันนาเสนอสภาสถาบันอนุมตั ิและจดั ทาเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป (ซง่ึ ไม่
อยูใ่ น eall’s list) หรอื ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทีป่ รากฏในฐานข้อมลู TCI กลุ่มที่ 1
- บทความวิจยั หรือบทความวิชาการที่ตีพมิ พใ์ นวารสารวิชาการระดบั นานาชาตทิ ป่ี รากฏในฐานข้อมลู ระดบั
นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ.
- ผลงานได้รับการจดสิทธบิ ตั ร
- ผลงานสร้างสรรคด์ ้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที ไี่ ดร้ บั การประเมนิ ผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทาง
วิชาการแล้ว
- ผลงานวิชาการรบั ใช้สงั คมท่ีได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหนง่ ทางวิชาการแล้ว
- ผลงานวิจยั ที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาตวิ ่าจ้างใหด้ าเนนิ การ
- ผลงานคน้ พบพันธพ์ุ ืช พันธุ์สตั ว์ ทีค่ ้นพบใหม่และไดร้ ับการจดทะเบยี น
- ตาราหรอื หนังสอื หรืองานแปลที่ไดร้ ับการประเมินผ่านเกณฑ์การขอตาแหน่งทางวชิ าการแล้ว
- ตาราหรือหนงั สือหรืองานแปลทผี่ า่ นการพจิ ารณาตามหลักเกณฑ์การประเมนิ ตาแหน่งทางวิชาการแตไ่ ม่ได้
นามาขอรับการประเมินตาแหนง่ ทางวิชาการ

*หมายเหตุ : บทความทตี่ พี มิ พ์ในรายการสบื เน่ืองจากการประชุมวชิ าการตอ้ งเป็นฉบับสมบูรณ์ (Full
Paper) และการตีพมิ พ์ตอ้ งเป็นฉบบั สมบรู ณซ์ ง่ึ สามารถอยู่ในรปู แบบเอกสารหรือส่ือ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์

คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 87

การกาหนดคุณภาพงานสร้างสรรค์ ดังนี้

คา่ น้าหนัก ระดบั คุณภาพ

0.20 สิง่ ประดิษฐ์ งานสร้างสรรคท์ ม่ี ีการเผยแพรส่ สู่ าธารณะในลักษณะใดลักษณะหนง่ึ หรอื ผ่านสื่อ

อิเลก็ ทรอนิกส์ Online

0.40 ส่ิงประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรค์ทไี่ ดร้ ับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน

0.60 สง่ิ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ที่ไดร้ ับการเผยแพร่ในระดบั ชาติ

0.80 สิง่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรคท์ ี่ไดร้ ับการเผยแพรใ่ นระดับความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ

1.00 สง่ิ ประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรคท์ ี่ไดร้ ับการเผยแพรใ่ นระดบั ภมู ิภาคอาเซียนนานาชาติ

*หมายเหตุ : ผลงานตอ้ งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการทม่ี ีองค์ประกอบไมน่ ้อยกว่า 3 คน
โดยมีคนภายนอกสถาบันร่วมพจิ ารณา

88 คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

มาตรฐานท่ี 3
ดา้ นการบริการวิชาการ

คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 89

2.3 มาตรฐานท่ี 3 ด้านการบรกิ ารวชิ าการ
สถาบันการอาชีวศึกษาจัดให้มีการบริการวิชาการที่เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและตอบสนอง

ความตอ้ งการของท้องถ่ิน ชุมชน และสังคม ตามอัตลักษณ์ของแต่ละสถาบัน โดยการศึกษาความต้องการ
ของกลุ่มเป้าหมายมาจัดทาแผนบริการวิชาการทั้งการบริการวิชาการที่ทาให้เกิดรายได้ และการบริการ
วิชาการท่ีสถาบันจัดทาข้ึนเพื่อสร้างประโยชน์แก่ชุมชน และสังคม มีการบริหารจัดการท่ีประสานความ
ร่วมมือระหว่างสถาบันการอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและเอกเชน มีความชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบได้อันจะ
นาไปสคู่ วามเข้มแขง็ และความยง่ั ยืนของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ การให้บริการทาง
วิชาการนอกจากจะเปน็ การทาประโยชน์ใหก้ บั ชุมชนและสังคมแลว้ สถาบันยังได้รับประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
กล่าวคอื เพม่ิ พูนความรูแ้ ละประสบการณ์ของอาจารย์อันจะนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรและการบูรณาการ
เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านการจดั การเรียนการสอนและการวจิ ยั ในด้านการบริการวิชาการจะพิจารณาจากตัว
บง่ ชี้ 1 ตัวบง่ ช้ีดงั นี้

ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.1 การบริการวชิ าการแกส่ ังคม

90 คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

ตัวบง่ ช้ที ี่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สงั คม

ชนดิ ของตัวบง่ ชี้ กระบวนการ

คาอธิบายตัวบ่งชี้
สถาบันการอาชีวศึกษาดาเนินการบริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม สถาบันการอาชีวศึกษาควร

คานึงถึงกระบวนการในการใหบ้ รกิ ารวชิ าการแกส่ งั คม โดยการศึกษาความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายนามา
จัดทาแผนบรกิ ารวิชาการประจาปีทั้งการบริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคมเพ่ือสร้างประโยชน์แก่ชุมชน
และสังคม มกี ารประเมินความสาเร็จและนาผลมาปรบั ปรุงแผนงาน เพื่อพัฒนาด้านการบริการวิชาการและ
วชิ าชีพแกส่ งั คมอย่างตอ่ เนือ่ งและย่งั ยนื มีความชดั เจน โปรง่ ใส ตรวจสอบได้อันจะนาไปสู่ความเข้มแข็งและ
ความยั่งยืนของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ

เกณฑ์มาตรฐาน
1. กาหนดชุมชน หรอื องคก์ รเป้าหมายของการใหบ้ รกิ ารแกส่ ังคมโดยความรว่ มมอื ของหนว่ ยงาน

ตา่ ง ๆ ในสถาบนั
2. จัดทาแผนการบรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพโดยความมสี ่วนร่วมและสอดคล้องกับความต้องการของ

ชมุ ชนและสงั คม
3. ดาเนนิ งานโครงการบรกิ ารวชิ าการและวิชาชีพแก่สงั คมตามแผนทก่ี าหนด
4. ประเมินความสาเร็จของโครงการตามวัตถุประสงค์ของโครงการและชุมชนหรือองค์กรเป้าหมาย

ได้รับการพัฒนาและมคี วามเข้มแขง็ มหี ลกั ฐานปรากฏชดั เจน
5. นาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรุงแผนหรอื พัฒนาการใหบ้ รกิ ารวชิ าการสงั คม
6. องค์กรหรอื ชมุ ชนตามเป้าหมายมีการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งและย่งั ยืน

เกณฑก์ ารประเมิน

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนินการ

ตามขอ้ ตามข้อ ตามข้อ ตามขอ้ ตามขอ้
1 1-2 1-3 1-5 1-6

คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 91

92 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

มาตรฐานท่ี 4
ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและความเปน็ ไทย

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563 93

2.4 มาตรฐานท่ี 4 ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
สถาบันการอาชีวศึกษามีการจัดการเรียนรู้ การวิจัย หรือการบริการวิชาการซึ่งนาไปสู่การสืบสาน

สรา้ งสมความรู้และความเขา้ ใจในศลิ ปวฒั นธรรมและความเปน็ ไทย การปรับและประยุกตใ์ ช้ศิลปวฒั นธรรม
ไทยและวัฒนธรรมท้องถ่ินได้อย่างเหมาะสม ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย สร้างโอกาสและ
มลู คา่ เพม่ิ ใหก้ บั ผเู้ รยี น ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ ในมาตรฐานนี้พิจารณาจากตัวบ่งชี้ 1 ตวั บ่งชดี้ งั นี้

ตัวบ่งช้ีท่ี 4.1 ระบบและกลไกการทานุบารงุ ศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรมและความเป็นไทย

94 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563

ตวั บ่งชท้ี ่ี 4.1 ระบบและกลไกการทานุบารุงศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมและความเป็นไทย

ชนดิ ของตวั บง่ ช้ี กระบวนการ

คาอธิบายตัวบ่งชี้
สถาบนั การอาชีวศกึ ษาต้องมีนโยบาย แผนงาน โครงการ และการบริหารจัดการงานทานุบารุงศาสนา

ศลิ ปะ วฒั นธรรม และความเป็นไทยโดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อม บริบทและอัตลักษณ์ของสถาบัน รวมทั้งการ
อนุรักษ์ ฟนื้ ฟู สบื สาน เผยแพร่วัฒนธรรมไทย ภูมิปญั ญาท้องถ่ินตามจุดเน้นของสถาบัน อย่างมปี ระสิทธิภาพ
และประสิทธิผล ก่อให้เกิดความภูมิใจในความเป็นไทย หรือการสร้างโอกาสและมูลค่าเพ่ิมให้กับผู้เรียน
ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ

เกณฑ์มาตรฐาน
1. จดั ทาแผนดา้ นทานบุ ารงุ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมและความเป็นไทยและกาหนดตวั บง่ ชว้ี ัด

ความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงคข์ องแผน รวมทงั้ จัดสรรงบประมาณเพ่ือใหส้ ามารถดาเนินการไดต้ ามแผน
2. ดาเนนิ การตามแผนงาน โครงการด้านทานุบารุงศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย
3. ประเมินความสาเรจ็ ตามตวั บง่ ชี้ทวี่ ัดความสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์ของแผนด้านทานุบารุงศาสนา

ศลิ ปะ วัฒนธรรมและความเป็นไทย
4. นาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงแผนหรอื กจิ กรรมดา้ นทานบุ ารงุ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมและ

ความเปน็ ไทย
5. เผยแพร่องค์ความร้แู ละกจิ กรรมหรอื การบรกิ ารดา้ นทานบุ ารงุ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและความ

เป็นไทยตอ่ สาธารณชน และสรา้ งโอกาสและมลู ค่าเพมิ่ ให้กบั สังคม ชุมชน และประเทศชาติ

เกณฑ์การประเมนิ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มีการดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ

ตามข้อ ตามขอ้ ตามข้อ ตามข้อ ตามขอ้
1 1-2 1-3 1-4 1-5

คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 95


Click to View FlipBook Version