The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

Keywords: คู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันการอาชีวศึกษา 2563

96 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

มาตรฐานท่ี 5
ดา้ นการบริหารจดั การ

คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 97

2.5 มาตรฐานที่ 5 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
สถาบนั การอาชีวศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการบริหารจัดการโดยมีสภาสถาบันทาหน้าท่ีในการ

กากบั ดแู ลการทางานของสถาบันให้มปี ระสิทธภิ าพ สถาบันการอาชีวศกึ ษาจะต้องบริหารจัดการด้านต่าง ๆ
ให้มคี ุณภาพ เชน่ ทรพั ยากรบุคคล ระบบฐานข้อมลู การบรหิ ารความเส่ยี ง การบริหารการเปล่ียนแปลง การ
บรหิ ารทรัพยากรทง้ั หมดท่ีเหมาะสม สอดคล้องกบั บรบิ ทและอัตลักษณ์ของแต่ละสถาบันโดยมีรายละเอียด
ดังนี้

1) สถาบันการอาชีวศึกษามีการผลิตบัณฑิตท่ีเน้นการพัฒนาผู้เรียนแบบบูรณาการเพื่อให้มี
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ อบสนองยุทธศาสตร์ชาตแิ ละความต้องการท่ีหลากหลายของประเทศ ทง้ั ในด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สังคม สถานประกอบการทั้งภาครัฐและ
เอกชน

2) สถาบนั การอาชวี ศกึ ษามีการบริหารงานตามพนั ธกจิ และวสิ ยั ทัศน์ ตลอดจนมีการบริหารจัดการ
บุคลากรและทรพั ยากรการเรยี นรู้เปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล คานึงถึงความหลากหลายและความเปน็ อิสระ
ทางวชิ าการ มปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล ยดื หย่นุ คล่องตัว โปรง่ ใสและตรวจสอบได้

3) สถาบนั การอาชวี ศึกษามรี ะบบประกันคุณภาพ มกี ารติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ และพัฒนาการ
จัดการศึกษาระดับหลักสูตร และระดับสถาบันที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการกากับให้การจัด
การศกึ ษาและการดาเนนิ งานตามพันธกิจเปน็ ไปตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง
สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
มาตรฐานการอุดมศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสาย
ปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2562 มาตรฐานในด้านการบรหิ ารจดั การจะพิจารณาจากตัวบ่งชี้ 3 ตัวบ่งชี้ดงั น้ี

ตวั บง่ ชี้ท่ี 5.1 การบริหารงาน ตามพันธกจิ เอกลกั ษณ์ และอัตลักษณข์ องสถาบนั
ตัวบง่ ช้ีท่ี 5.2 ความร่วมมือกบั ภาคประกอบการ
ตวั บง่ ชี้ที่ 5.3 ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา

98 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ชี้ท่ี 5.1 การบรหิ ารงาน ตามพันธกิจ เอกลกั ษณ์ และอตั ลกั ษณ์ของสถาบัน

ชนดิ ของตัวบ่งชี้ กระบวนการ

คาอธิบายตัวบ่งชี้
สถาบนั การอาชีวศกึ ษามพี ันธกจิ หลกั คอื การจดั การเรียนการสอน การวิจยั และนวัตกรรม การบริการ

วชิ าการ การทานบุ ารงุ ศิลปวัฒนธรรมและความเปน็ ไทย สถาบันการอาชีวศึกษาจึงมุ่งส่งเสริมวิชาการและ
วิชาชีพให้มีความชานาญในการปฏิบัติการด้านเทคโนโลยี การสร้างสรรค์ส่ิงประดิษฐ์ การถ่ายทอดวิชาชีพ
และเทคโนโลยี ทานบุ ารุงศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรมและอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม รวมทงั้ ใหบ้ ริการวชิ าการและ
วิชาชพี แก่สังคม

เกณฑม์ าตรฐาน

1. พัฒนาแผนกลยทุ ธจ์ ากผลการวเิ คราะห์ SWOT กับวสิ ัยทัศนข์ องสถาบนั และพฒั นาไปสูแ่ ผน

กลยุทธท์ างการเงินและแผนปฏิบัติการประจาปตี ามกรอบเวลาเพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลตามตัวบง่ ชแี้ ละเป้าหมายของ

แผนกลยทุ ธ์

2. การกากบั ตดิ ตามสง่ เสริมสนบั สนุนใหท้ กุ หลกั สตู รดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ทางการเงนิ ทป่ี ระกอบ

ไปด้วยต้นทนุ ต่อหน่วยในแตล่ ะหลกั สูตร สัดสว่ นคา่ ใชจ้ า่ ยเพื่อพฒั นานกั ศึกษา อาจารย์ บคุ ลากร การจดั การ

เรยี นการสอนอยา่ งตอ่ เนื่อง เพือ่ วิเคราะห์ความคมุ้ คา่ ของการบรหิ ารหลกั สตู รประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลใน

การผลติ บณั ฑติ และโอกาสในการแขง่ ขนั

3. ดาเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ทเ่ี ป็นผลจากการวเิ คราะหแ์ ละระบุปจั จยั เส่ยี งทเี่ กิดจาก

ปจั จัยภายนอก หรอื ปจั จัยทไี่ มส่ ามารถควบคุมไดท้ ส่ี ง่ ผลตอ่ การดาเนนิ งานตามพันธกิจของสถาบนั และให้

ระดับความเสี่ยงลดลง

4. บรหิ ารงานด้วยหลกั ธรรมาภบิ าลอยา่ งครบถว้ นท้งั 10 ประการ ท่อี ธิบายการดาเนินงานอยา่ ง

ชดั เจน

5. การกากบั ตดิ ตามสง่ เสริมสนบั สนุนใหท้ กุ หน่วยงานในสถาบันมีการดาเนนิ การจดั การความรตู้ าม

ระบบ

6. การกากับติดตามผลการดาเนินงานตามแผนการบรหิ ารและแผนพฒั นาบุคลากรในสถาบัน

เกณฑ์การประเมิน

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ

1 ขอ 3 ขอ 4 ขอ 5 ขอ 6 ขอ

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 99

ตัวบ่งชที้ ี่ 5.2 ความร่วมมอื กับภาคประกอบการ

ชนิดของตัวบง่ ชี้ กระบวนการ

คาอธิบายตวั บง่ ช้ี
สถาบนั การอาชวี ศกึ ษามีความร่วมมอื กบั ภาคประกอบการ ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ด้านการ

จัดทาหลักสตู ร การจดั การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล โดยมุ่งเนน้ ผลติ ผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ
เทคโนโลยีให้มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิ
อาชีวศึกษาระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ

เกณฑ์มาตรฐาน
1. สถาบันมแี ผนการพัฒนาความรว่ มมอื จดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี ภายใต้ความรว่ มมือตามประกาศ

กระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคี
2. ดาเนนิ การจดั การศกึ ษาตามแผนการพัฒนาความรว่ มมือจดั การศึกษาระบบทวิภาคี
3. สถาบนั กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบคุณภาพในการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคตี ามแผนการพฒั นา

ความรว่ มมอื จดั การศกึ ษาระบบทวภิ าคี
4. สถาบันประเมนิ ผลการดาเนนิ การตามแผนการพฒั นาความรว่ มมือจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี
5. นาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรบั ปรุงหรอื พัฒนา แผนการพฒั นาความรว่ มมอื จัดการศกึ ษาระบบ

ทวภิ าคี

เกณฑ์การประเมนิ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนินการ มกี ารดาเนนิ การ มกี ารดาเนินการ

ตามขอ้ ตามขอ้ ตามข้อ ตามข้อ ตามขอ้
1 1-2 1-3 1-4 1-5

100 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

ตวั บง่ ช้ที ี่ 5.3 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ

คาอธบิ ายตัวบ่งช้ี
สถาบันการอาชีวศึกษามีหน้าที่ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งระดับหลักสูตรและสถาบัน

โดยมีการดาเนินการตั้งแต่การควบคุมคุณภาพ การติดตามตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ
การพฒั นาตวั บง่ ชี้และเกณฑ์การประเมินจะม่งุ ไปท่ีระบบการประกนั คุณภาพการศึกษามากกว่าการประเมิน
คุณภาพเพื่อให้สามารถส่งเสรมิ สนบั สนุน กากบั ติดตามการดาเนินงานให้เป็นไปตามท่ีกาหนด สะท้อนการ
จัดการศึกษาอย่างมคี ุณภาพ

เกณฑม์ าตรฐาน
1. มรี ะบบและกลไกในการดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในสถาบนั ใหเ้ ป็นไปตามองคป์ ระกอบ

การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับหลกั สตู รและระดบั สถาบัน
2. มีการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ สนับสนนุ การดาเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในสถาบัน
3. กากบั ติดตามส่งเสรมิ สนบั สนุนใหท้ กุ หลักสูตรในสถาบนั มีการดาเนินงานด้านการประกนั คณุ ภาพ

ภายในตามระบบและกลไกทส่ี ถาบันกาหนด ประกอบดว้ ย การควบคุมคุณภาพ การตดิ ตามตรวจสอบ
คุณภาพ และการประเมินคณุ ภาพ

4. นาผลการประเมินคณุ ภาพภายใน ระดับหลักสตู รและระดบั สถาบัน เสนอต่อสภาสถาบนั เพ่อื
พิจารณาให้ข้อเสนอแนะ

5. นาผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากสภาสถาบันมาปรบั ปรงุ คณุ ภาพการจัดการศึกษาและ
การดาเนนิ งานให้มคี ณุ ภาพดขี นึ้ อยา่ งตอ่ เนื่อง

6. มผี ลการประเมินคณุ ภาพทกุ หลักสตู รผ่านองค์ประกอบท่ี 1 การกากับมาตรฐาน

เกณฑ์การประเมิน

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน
มีการดาเนินการ มีการดาเนนิ การ มีการดาเนนิ การ มีการดาเนินการ มกี ารดาเนินการ

ตามข้อ ตามขอ้ ตามข้อ ตามขอ้ ตามข้อ
1 1-3 1-4 1-5 1-6

คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 101

102 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

บทที่ 6
แนวทางการวิเคราะหแ์ ละสรปุ ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ต้องวางระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในของตนเองใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทและวสิ ัยทัศน์ของสถาบันฯ โดยพิจารณาเกณฑ์มาตรฐาน
การอุดมศึกษาที่เก่ยี วข้องในระดบั ชาติดว้ ยเพ่อื ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ขั้นต่าท่ีประเทศกา่ หนดและมุ่งสเู่ ป้าหมาย
จดุ เนน้ จุดเดน่ หรอื เอกลักษณ์ของสถาบัน

การวางระบบการประกันคุณภาพจะต้องประกอบด้วย การควบคุม การตรวจสอบ และการ
ประเมินผลเพื่อน่าข้อมูลไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องและย่ังยืน ดังน้ันระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในดังกล่าวจะครอบคลุมระดับหลักสูตรและระดับสถาบัน โดยสถาบันต้องควบคุมให้มีการ
ด่าเนินงานตามระบบคุณภาพที่ก่าหนดและมีการตรวจสอบระบบคุณภาพเป็นระยะๆ โดยที่มีกลไกการ
ดา่ เนินงานอยา่ งชัดเจน เชน่ มีผูร้ บั ผิดชอบ มีผ้บู ริหาร ผเู้ กย่ี วข้อง ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี มีสว่ นรว่ ม เม่อื ครบ 1
ปีการศกึ ษาตอ้ งมกี ารประเมินผลการดา่ เนนิ งานตามระบบการประกันคุณภาพดังกล่าว เพ่ือน่าไปปรับปรุง
พฒั นาในปถี ดั ไป โดยส่านักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาจะพิจารณารายงานและจัดท่าประเด็นต่าง ๆ
ท่ตี อ้ งการให้มีการประเมนิ ผล และการตดิ ตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมไดจ้ ากหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือจากผู้มี
ส่วนไดส้ ว่ นเสียกบั สถานศกึ ษาแหง่ นน้ั ใหแ้ กส่ ่านักงานเพอื่ ใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ที่คณะกรรมการพัฒนาแนวทางการ
ประกันคุณภาพหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
ของส่านกั งานคณะกรรมการอาชีวศกึ ษา ไดจ้ ัดท่าขน้ึ โดยกา่ หนดให้รายงานผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ภายในระดับหลกั สูตร และรายงานผลการดา่ เนนิ การของหลักสตู ร (คอศ.6) เปน็ รายงานฉบับเดียวกันเพือ่ ลด
ความซ่้าซ้อนของการจัดท่ารายงานของสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาและสามารถรายงานผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนิกส์ในอนาคต

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน ท่ีคณะท่างานจัดท่ามาตรฐานการ
อาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.2561
ของสถาบันการอาชีวศึกษาจัดท่าข้ึนสอดคล้องกับการประกันคุณภาพ ระดับหลักสูตรและมาตรฐานการ
อุดมศกึ ษา และเกณฑ์มาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.
2562

คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563 103

1. การสรปุ ผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร มอี งค์ประกอบในการประกันคุณภาพการศกึ ษา

ภายใน จา่ นวน 6 องค์ประกอบ ดงั น้ี
องคป์ ระกอบท่ี 1 การก่ากบั มาตรฐาน
องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑติ
องค์ประกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา
องคป์ ระกอบที่ 4 อาจารย์
องคป์ ระกอบท่ี 5 หลักสตู ร การเรียนการสอน การประเมนิ ผู้เรยี น
องคป์ ระกอบที่ 6 ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้

องค์ประกอบที่ 1 การก่ากับมาตรฐานเป็นองค์ประกอบที่ต้องด่าเนินการให้เป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละเกณฑต์ ่าง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งมี 1 ตวั บง่ ชี้
หากผลการด่าเนินการไม่เป็นไปตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งถือว่าหลักสูตรนั้น “ไม่ได้มาตรฐาน” และมีค่า
คะแนนเป็น “ศูนย์” หากหลักสตู รนั้นมีผลการดา่ เนินการผ่านทกุ เกณฑถ์ อื ว่าเป็นไปตามมาตรฐานท่ีก่าหนด
และจะมกี ารประเมนิ คะแนนคณุ ภาพของหลกั สตู รในองค์ประกอบที่ 2-6 ดงั แสดงตามภาพต่อไปน้ี

ผลการประเมิน

ผ่านองคป์ ระกอบท่ี 1 ไมผ่ า่ นองค์ประกอบท่ี 1
คะแนนระดบั หลักสูตร = 0
ประเมินองค์ประกอบท่ี 2-6
คะแนนระดบั หลักสูตรเป็นคะแนนเฉลยี่

ของตวั บ่งช้ใี นองคป์ ระกอบท่ี 2-6

104 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

คะแนนรวมเฉล่ีย = คะแนนรวมของ ตัวบง่ ชี้
16

ซึ่งการแปลผลจะเปน็ การอธิบายว่า หมายถงึ หลักสูตรไมไ่ ด้มาตรฐาน
คะแนนระดบั หลักสูตร = 0 หมายถงึ หลักสูตรเป็นไปตามมาตรฐานและมรี ะดบั
คะแนนระดับหลกั สูตร = 0.01-5.00 คุณภาพตามคะแนนท่ีได้ดังน้ี

คะแนน ระดบั คุณภาพ
0.01 – 2.00 น้อย
2.01 – 3.00
3.01 -4.00 ปานกลาง
4.01 – 5.00 ดี

ดมี าก

แม้ว่าหลกั สูตรไม่ผา่ นองค์ประกอบท่ี 1 (การก่ากบั มาตรฐาน) ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และสถาบันต้อง
ประเมนิ ตวั บ่งชี้ขององค์ประกอบท่ี 2 ถงึ องคป์ ระกอบที่ 6 ด้วย เพื่อให้ทราบระดับการพัฒนาของหลักสูตร
ตนเองโดยการวเิ คราะห์ในรายละเอยี ดของปัจจยั น่าเขา้ กระบวนการ ผลลัพธ์ และรายองค์ประกอบโดยไม่
ต้องรายงานระดับคะแนนเฉลยี่ เพอ่ื เป็นการวเิ คราะห์ในเชิงคณุ ภาพในองค์ประกอบท่ี 2 ถงึ องคป์ ระกอบท่ี 6
เกี่ยวกับจดุ เดน่ และจุดทีค่ วรพัฒนาเพ่อื ยกระดับคุณภาพของหลักสตู รตอ่ ไปดังแสดงดังตารางตอ่ ไปน้ี

คู่มือการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563 105

ตารางการวิเคราะหค์ ุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลกั สูตร

องค์ คะแนน จานวน I P O คะแนน ผลการประเมิน
ประกอบที่ ผ่าน ตัวบ่งชี้ เฉลี่ย 0.01-2.00 ระดับคุณภาพ นอ้ ย
2.01-3.00 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
1 ไมผ่ ่านการประเมนิ 3.01-4.00 ระดับคุณภาพ ดี
2 คะแนน 5 - - 2.1,2.2, 4.01-5.00 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก

เฉลยี่ ของ 2.3,2.4, หลกั สูตรไม่ได้มาตรฐาน
ทกุ ตัวบ่งช้ี 2.5
3 ในองค์ 3 3.1,3.2 3.3
4 ประกอบที่ 3 4.2 4.1 4.3
5 2-6 4 5.1,5.2, 5.4
5.3
6 1 6.1
รวม 16 1 7 8

ผลการประเมนิ

ตวั อย่างรายงานผลการวเิ คราะห์จุดเดน่ และจุดทีค่ วรพฒั นา องคป์ ระกอบที่ 2-6

รายงานผลการวิเคราะหจ์ ุดเด่นและจดุ ท่คี วรพัฒนาองค์ประกอบท่ี 2-6
จุดเด่น
1.
2.
3.
จดุ ทค่ี วรพัฒนา
1.
2.
3.

106 คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

2. การสรปุ ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน
การประกันคุณภาพภายในระดับสถาบันจะสะทอ้ นผลการด่าเนินงานของผบู้ ริหารสถาบันในพันธกิจหลัก

ท้ัง 4 ด้าน รวมทั้งระบบการบรหิ ารจัดการของสถาบนั โดยแสดงเป็นค่าเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐาน และมีการ
วิเคราะหแ์ ยกเป็นปัจจัยนา่ เขา้ กระบวนการและผลลพั ธด์ ้วย เพือ่ ใหผ้ บู้ รหิ ารสถาบนั ได้น่าไปใช้เป็นข้อมูลใน
การปรับปรงุ พัฒนาตามตารางตอ่ ไปนี้

ตารางวเิ คราะห์ผลการประเมนิ ระดับสถาบนั

ผลการประเมนิ

จานวนตวั 0.01-1.50 การดา่ เนนิ งานต้องปรบั ปรงุ เรง่ ดว่ น
บ่งชี้ คะแนน 1.51-2.50 การดา่ เนนิ งานต้องปรบั ปรงุ
มาตรฐาน I P O เฉล่ีย 2.51-3.50 การดา่ เนนิ งานระดบั พอใช้

3.51-4.50 การดา่ เนนิ งานระดับดี

4.51-5.00 การดา่ เนินงานระดับดีมาก

17 1.1,1.2,1.3,1.4

,1.5,1.6,1.7

23 2.1,2.2 2.3

31 3.1

41 4.1

53 5.1,5.2,5.3

รวม 15 0 7 8

ผลการประเมิน

*ตวั บง่ ช้ีที่ 1.1 เปน็ ค่าคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมนิ ระดบั หลกั สูตรของทกุ หลักสตู ร

สถาบนั ควรวิเคราะหใ์ นเชิงคณุ ภาพเกีย่ วกบั จดุ เดน่ และจุดทค่ี วรพฒั นาในแตล่ ะมาตรฐานด้วยตาม
ตวั อย่างดังต่อไปนี้

ตวั อยา่ งรายงานผลการวิเคราะห์จดุ เด่นและจดุ ท่ีควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1-5
รายงานผลการวเิ คราะห์จดุ เด่นและจดุ ที่ควรพฒั นามาตรฐานท่ี 1-5
จุดเด่น
1.
2.
จดุ ท่ีควรพัฒนา
1.
2

คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 107

108 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ภาคผนวก ก

กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
พ.ศ.2561

คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563 109

เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก หน้า ๓ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

กฎกระทรวง

การประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ
มาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขอ้ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓

ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อม่ัน
ให้แก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศกึ ษา และบรรลเุ ปา้ ประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัดหรอื หนว่ ยงานท่กี ํากับดแู ล
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)
ขอ้ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ
ประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พร้อมท้ังจัดทําแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว้
จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการ
เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง
ให้แก่หน่วยงานต้นสงั กัดหรอื หน่วยงานท่ีกาํ กบั ดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจาํ ทุกปี

110 คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563

เล่ม ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก หนา้ ๔ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

เพื่อให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหน่ึงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหนว่ ยงานที่กาํ กับดูแลสถานศึกษามีหน้าท่ีในการให้คาํ ปรึกษา ช่วยเหลือ และ
แนะนําสถานศึกษา เพ่อื ให้การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างตอ่ เนอื่ ง

ขอ้ ๔ เมื่อได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓ แล้ว
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ
ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือจาก
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่สํานักงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คุณภาพภายนอก

ให้สํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะ
ให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาน้ัน ๆ เพ่ือให้
สถานศึกษาใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาต่อไป

ในการดําเนินการตามวรรคสอง สํานักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจาก
สํานกั งานดําเนนิ การประเมนิ ผลและตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาได้

ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกํากับดูแลสถานศึกษาน้ันติดตามผลการดําเนินการ
ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวรรคสอง เพ่ือนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ขอ้ ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารมีอํานาจตีความและวนิ ิจฉัยปัญหาอันเกี่ยวกับ
การปฏบิ ัติตามกฎกระทรวงนี้

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศิลป์

รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 111

เลม่ ๑๓๕ ตอนท่ี ๑๑ ก หนา้ ๕ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑
ราชกจิ จานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่แนวทางในการดําเนินการตามกฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการ
ประกันคุณภาพการศึกษาท่ีแท้จริง จึงส่งผลให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาท้ังภายในและภายนอก
ไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซํ้าซ้อนและคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติ ทําให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้าง
ภาระแก่สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีกํากับดูแล และ
หน่วยงานภายนอกเกินความจําเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
เพ่ือให้มีกลไกการปฏิบัติที่เอื้อต่อการดําเนินการตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับ และเกดิ ประสิทธภิ าพ
ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จงึ จาํ เป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

112 คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563

ภาคผนวก ข

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เรอ่ื ง มาตรฐานการอุดมศกึ ษา พ.ศ.2561

คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 113

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๙๙ ง หน้า ๑๙ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร

เรอ่ื ง มาตรฐานการอดุ มศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖1

ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) แผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มุ่งเน้นการพัฒนาคนและ
สังคมไทยให้เป็นรากฐานท่ีแข็งแกร่งของประเทศ มีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา และทักษะ
ศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณธรรมจริยธรรม เคารพกฎหมาย มีภาวะผู้นา รู้รักษ์คุณค่าความเป็นไทยและ
รู้บริบทสากล โดยมุ่งหวังให้การจัดการศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิต สร้างวิถีการเรียนรู้ของคนไทย
ใหเ้ ปน็ สงั คมแห่งการเรียนรสู้ ่กู ารร่วมกนั สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม เพอ่ื การพัฒนาคุณภาพชวี ิตและสงั คม

คณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงเห็นสมควรปรับปรุงมาตรฐานการอุดมศึกษาให้สอดคล้อง
ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ เพ่ือใช้เป็นกลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา

และระดับหน่วยงาน ในการส่งเสริมการประกันคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามหลักการข้างต้น
โดยมีการกากับติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มาตรฐานการอุดมศึกษา
จะครอบคลุมด้านผลลัพธ์ผู้เรียน การวิจัยและนวัตกรรม การบริการวิชาการแก่สังคม ศิลปวัฒนธรรม
และความเป็นไทย และการบริหารจัดการ ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน
โดยเน้นความรับผิดชอบต่อสังคมและสามารถตรวจสอบได้ ทั้งน้ี เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายสาคัญ คือ
การจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษามีคุณลักษณะของคนไทยท่ีสอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตร์ชาติ และเปน็ กาลังสาคญั ในการพัฒนาประเทศไทยสคู่ วามมัน่ คง ม่ังคงั่ และยง่ั ยนื

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา 16 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา ในคราวประชุมคร้ังที่ 8/2561 เม่ือวันที่ 13 มิถุนายน 2561 จึงออกประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธิการไว้ ดังต่อไปนี้

ขอ้ 1 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการน้ี เรียกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง

มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561”
ข้อ 2 ประกาศนี้ใหใ้ ช้บังคบั ต้ังแตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการอุดมศึกษา ลงวันที่

7 สิงหาคม 2549
ขอ้ 4 มาตรฐานการอุดมศกึ ษา ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ๕ ด้าน ดงั นี้
(1) มาตรฐานที่ ๑ ด้านผลลพั ธ์ผเู้ รียน

114 คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563

เล่ม ๑๓๕ ตอนพเิ ศษ ๑๙๙ ง หน้า ๒๐ ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๖๑
ราชกจิ จานเุ บกษา

(๑.๑) เปน็ บุคคลท่ีมคี วามรู้ความสามารถ และความรอบรู้ด้านตา่ ง ๆ ในการสร้างสมั มาอาชีพ

ความมั่นคงและคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต

โดยเปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรม ความเพยี ร มงุ่ มั่น มานะ บากบน่ั และยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชพี

(๑.๒) เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม มีทักษะศตวรรษที่ ๒๑ มีความสามารถในการ

บูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาสังคม มีคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการ

รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก สามารถสรา้ งโอกาสและเพิ่มมูลคา่ ให้กับตนเอง ชุมชน

สงั คม และประเทศ

(๑.๓) เป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง มีความกล้าหาญทางจริยธรรม ยึดมั่นในความถูกต้อง

รู้คุณค่าและรักษ์ความเป็นไทย ร่วมมือรวมพลังเพ่ือสร้างสรรค์การพัฒนาและเสริมสร้างสันติสุข

อย่างยั่งยนื ทง้ั ในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และประชาคมโลก

(2) มาตรฐานท่ี ๒ ดา้ นการวจิ ัยและนวตั กรรม
สถาบันอุดมศึกษามีผลงานวิจัยทีเ่ ปน็ การสร้างและประยุกตใ์ ช้องคค์ วามรใู้ หม่ สรา้ งสรรค์

นวัตกรรมหรือทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม
หรือส่ิงแวดล้อม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง
สถาบันอดุ มศกึ ษา องค์กรภาครฐั และเอกชนทงั้ ในและตา่ งประเทศ ผลงานวิจัยและนวตั กรรมตอบสนอง
ยุทธศาสตรช์ าติ ความตอ้ งการจาเปน็ ของสังคม ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และประเทศ ผลลัพธ์ของ
การวจิ ัยและนวตั กรรมมีผลกระทบสูงต่อการพัฒนาผู้เรียน การสร้างคุณภาพชีวิต หรือการสร้างโอกาส
มูลคา่ เพิ่ม และขดี ความสามารถของประเทศในการแข่งขันระดบั นานาชาติ

(3) มาตรฐานท่ี ๓ ดา้ นการบริการวิชาการ
สถาบันอดุ มศึกษาให้บรกิ ารวชิ าการเหมาะสม สอดคลอ้ งกับบรบิ ทและตอบสนองความต้องการ

ของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน โดยมี
การบรหิ ารจัดการท่ีประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ภาครัฐและภาคเอกชน ท้ังในและ
ต่างประเทศ และมีความโปร่งใส ชัดเจน และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ของการบริการวิชาการนาไปสู่
การเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ และความย่ังยนื ของผเู้ รยี น ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ

(4) มาตรฐานที่ ๔ ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรมและความเปน็ ไทย
สถาบันอุดมศึกษามีการจัดการเรียนรู้ การวิจยั หรือการบริการวิชาการซึ่งนาไปสู่การสืบสาน

การสรางความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ศิลปวัฒนธรรมท้ังของไทย
และต่างประเทศอย่างเหมาะสม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน ผลลัพธ์ของ
การจดั การด้านศิลปวัฒนธรรมทาให้เกดิ ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือการสร้างโอกาสและมูลค่าเพ่ิม
ใหก้ ับผ้เู รยี น ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 115

เล่ม ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๑๙๙ ง หน้า ๒๑ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

(5) มาตรฐานท่ี ๕ ดา้ นการบริหารจัดการ
(๕.๑) สถาบันอุดมศึกษามีหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการพัฒน าผู้เรียน

แบบบูรณาการเพ่ือให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและความต้องการ
ที่หลากหลายของประเทศ ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
สังคม สถานประกอบการ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน

(๕.๒) สถาบนั อดุ มศึกษามกี ารบริหารงานตามพันธกจิ และวสิ ยั ทัศนข์ องสถาบันอุดมศึกษา
ตลอดจนมีการบริหารจัดการบุคลากรและทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล คานึงถึง
ความหลากหลายและความเป็นอิสระทางวิชาการ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยืดหยุ่นคล่องตัว
โปรง่ ใสและตรวจสอบได้

(5.3) สถาบันอุดมศึกษามีระบบประกันคุณภาพ มีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน
และพัฒนาการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบันท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
มีการกากับให้การจัดการศึกษาและการดาเนินงานตามพันธกิจเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกัน
คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ และมาตรฐานอนื่ ๆ ท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกาหนด

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศิลป์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

116 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

ภาคผนวก ค

ประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานคุณวฒุ ิอาชวี ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยี

หรอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2562

คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 117

หน้า ๒๕ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

เร่ือง เกณฑม์ าตรฐานคุณวฒุ อิ าชวี ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ตั ิการ
พ.ศ. ๒๕๖๒

เพ่ืออนุวัตใิ หเ้ ปน็ ไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคณุ วุฒอิ าชีวศึกษาแหง่ ชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๒ จึงสมควรกาหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยี
หรือสายปฏิบัติการ เพื่อให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา
และสถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และ
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให้สามารถผลิตผู้สาเร็จการศึกษาที่มีคุณภาพ และเพ่ือประโยชน์
ตอ่ การรบั รองมาตรฐานคณุ วุฒิผู้สาเรจ็ การศกึ ษา

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๖ แห่งประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิ
อาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุมคร้ังที่ ๘/๒๕๖๑
เมอ่ื วนั ที่ ๒๗ ธนั วาคม ๒๕๖๑ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ ๑ ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน
คณุ วุฒิอาชีวศกึ ษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ. ๒๕๖๒”

ขอ้ ๒ ประกาศน้ีใหใ้ ช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวนั ประกาศเปน็ ตน้ ไป
ให้ใช้ประกาศนี้สาหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ

ทุกสาขาวิชาท่จี ะเปดิ ใหมแ่ ละหลกั สูตรเก่าทจ่ี ะปรับปรุงใหม่ของสถาบนั การอาชีวศกึ ษา
ข้อ ๓ ช่อื คณุ วฒุ ิการศึกษา “ปรญิ ญาเทคโนโลยีบัณฑิต” ใช้อกั ษรยอ่ “ทล.บ.”
ข้อ ๔ คุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ กาหนดให้

ผู้สาเรจ็ การศกึ ษามีคุณภาพครอบคลมุ อย่างนอ้ ย ๔ ดา้ น คอื
(๑) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ได้แก่ มีคุณธรรม จริยธรรม

จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพกฎหมาย
เคารพสิทธิของผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มีจติ สาธารณะและมีจิตสานกึ รักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม

(๒) ด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้ทางทฤษฎีและเทคโนโลยีเฉพาะทางอย่างกวา้ งขวางและเป็นระบบ
ในการพัฒนางานอาชพี

(๓) ด้านทักษะ ได้แก่ ทักษะในการคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และเปรียบเทียบปัญหา
ทกั ษะการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต

118 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

หน้า ๒๖ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง ราชกจิ จานุเบกษา

(๔) ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ได้แก่ ความสามารถ
ในการแก้ปัญหาท่ีซับซ้อนและเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา สามารถริเริ่ม ปรับปรุง วางแผนกลยุทธ์
ในการแก้ปญั หาท่ีซบั ซอ้ นและเป็นนามธรรมในการปฏบิ ัตงิ าน รวมท้ังวางแผนการบรหิ ารและการจัดการ
ในสาขาอาชพี

ข้อ ๕ วัตถุประสงค์ของการจัดการอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ
สายปฏิบัติการเป็นการจัดการศึกษาด้านวิชาชีพและยกระดับการศึกษาวิชาชีพของบุคคลให้สูงขึ้น
สอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ เปน็ ไปตามกรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ โดยเน้นการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ

เพ่ือพัฒนาสมรรถนะกาลังคนระดับเทคโนโลยี รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
และกิจนิสัยท่ีเหมาะสมในการทางาน ให้สอดคล้องกับความต้องการกาลังคนของตลาดแรงงาน ชุมชน
สังคม และสามารถประกอบอาชพี อสิ ระได้

ข้อ ๖ การจัดการศึกษาในระบบและระบบทวิภาคี ให้ใช้ระบบทวิภาค โดยกาหนดให้
๑ ปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคเรียน และใน ๑ ภาคเรียน มีระยะเวลาจัดการศึกษารวมการวัดผล
๑๘ สัปดาห์

สาหรับการจัดการศึกษาในรูปแบบอ่ืน สถาบันการอาชีวศึกษาหรือสถานศึกษา
จะต้องแสดงรายละเอียดเก่ียวกับระบบการศึกษานั้นให้ชัดเจน ประกอบด้วยการแบ่งภาคเรียน
ระยะเวลาการศึกษาในแต่ละภาคเรียน การคิดหน่วยกิตรายวิชา รวมทั้งการเทียบเคียงหน่วยกิต
ระบบดงั กลา่ วกับระบบทวิภาค

ข้อ ๗ การคดิ หนว่ ยกิต
(๑) รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ

๑๘ ชั่วโมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เท่ากับ ๑ หนว่ ยกติ
(๒) รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ๒ ช่ัวโมง

ต่อสปั ดาห์ หรอื ๓๖ ช่วั โมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกติ
(๓) รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ๓ ช่ัวโมง

ตอ่ สปั ดาห์ หรอื ๕๔ ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี ่าเท่ากบั ๑ หนว่ ยกิต
(๔) การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ช่ัวโมงต่อภาคเรียน

รวมเวลาการวัดผล มีคา่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกิต
(๕) การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า

๕๔ ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เท่ากับ ๑ หน่วยกิต
(๖) การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๕๔ ช่ัวโมงต่อภาคเรียน

รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากบั ๑ หน่วยกติ

คู่มอื การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563 119

หน้า ๒๗ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

ขอ้ ๘ จานวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา ให้มีจานวนหน่วยกิตรวมระหว่าง

๗๒ – ๘๒ หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาการศึกษา ๔ ภาคเรียน ทั้งนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน ๘ ภาคเรียน

สาหรับการลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลา และไม่เกิน ๑๒ ภาคเรียน สาหรับการลงทะเบียนเรียน

แบบไมเ่ ตม็ เวลา

กรณีหลักสูตรสาขาวิชาที่มีความจาเป็นต้องกาหนดจานวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลา

การศึกษาเกินกวา่ ทีก่ าหนด ให้นาเสนอขออนมุ ตั ิต่อคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเป็นกรณีไป

ขอ้ ๙ โครงสร้างหลักสูตร

(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการปรับตัว

และดาเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ เห็นคุณค่าของตนเองและการพัฒนาตน มีความใฝ่รู้ แสวงหา

และพัฒนาความรู้ใหม่ มีความสามารถในการใชเ้ หตผุ ล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ

มีทักษะในการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีคุณธรรม จริยธรรม

มนษุ ยสัมพนั ธ์ รวมถึงความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม รวมไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกิต

การจัดวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป สามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการ

ให้ครอบคลุมกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเพ่ือให้บรรลุจุดประสงค์ของหมวด

วชิ าศึกษาทั่วไป

ท้ังน้ี จานวนหน่วยกิตรวมของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเมื่อนับรวมกับรายวิชาที่ได้ศึกษามาแล้ว

ในระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง ตอ้ งไม่น้อยกว่า ๓๐ หนว่ ยกิต

(๒) หมวดวิชาเฉพาะ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาท่ีพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะวิชาชีพ มีความสามารถ

ในการคิด วิเคราะห์ วางแผน จัดการ ประเมินผล แก้ปัญหา ควบคมุ งาน สอนงาน และพัฒนางาน

โดยบูรณาการความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและความปลอดภัยเพ่ือประยุกต์

สู่อาชีพ รวมไม่น้อยกว่า ๔๘ หน่วยกิต โดยเป็นวิชาทางปฏิบัติการไม่น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต

และทางทฤษฎไี ม่นอ้ ยกว่า ๑๘ หน่วยกติ ประกอบด้วย ๓ กลมุ่ ดงั นี้

(ก) วชิ าเฉพาะพ้ืนฐาน ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘ หน่วยกิต

ประกอบด้วย กลุ่มวิชาพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า

๖ หนว่ ยกติ และวชิ าพ้ืนฐานทางเทคโนโลยี ไมน่ ้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต

ทั้งน้ี จานวนหน่วยกิตรวมของวิชาพ้ืนฐานเทคโนโลยีเมื่อนับรวมกับรายวิชาที่ได้ศึกษา

มาแล้วจากหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชัน้ สูง ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ

(ข) วิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ ้อยกวา่ ๒๑ หน่วยกติ

- กลุ่มวิชาเทคโนโลยีเฉพาะสาขา ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกติ

- กลมุ่ วชิ าโครงงาน ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกติ

120 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

หน้า ๒๘ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง ราชกิจจานุเบกษา

(ค) ฝึกประสบการณ์วิชาชพี
/บรู ณาการการเรียนรู้รว่ มการทางาน ไม่นอ้ ยกว่า ๓ หน่วยกิต

ท้งั นี้ ในกรณที จี่ ดั การศกึ ษาระบบทวิภาคีอาจยกเว้นการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพได้
(๓) หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยรายวิชาท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ
ตามความถนัดหรือความสนใจ จากหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
ในสถาบันการอาชีวศึกษา เพอ่ื การประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ่ รวมไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกติ
ข้อ ๑๐ การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดวิชาเฉพาะ
ประมาณ ๔๐ ต่อ ๖๐ ทง้ั นี้ ขึน้ อย่กู ับลักษณะหรอื กระบวนการจัดการเรยี นรู้ของแต่ละสาขาวชิ า
ข้อ ๑๑ การยกเว้นการเรียนรายวิชา สามารถทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หน่วยกิต
ตามหลักสูตร ตามระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการจัดการศึกษาและ
การประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สูตรปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัติการ
ขอ้ ๑๒ คุณสมบัติผู้เรียน เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.)
ในสาขาวชิ าที่ตรงกับสาขาวชิ าท่จี ะเข้าศกึ ษา

ขอ้ ๑๓ คณาจารย์และบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาหรือสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้อง ที่มีผล
ใช้บงั คับในปจั จุบนั

ข้อ ๑๔ การเรยี กชอื่ ปริญญา ใช้ช่ือปรญิ ญาตามพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยปริญญาในสาขาวิชา
อักษรย่อสาหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจาตาแหน่งของสถาบัน
การอาชวี ศกึ ษา

ข้อ ๑๕ การพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร

(๑) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องให้ความสาคัญกับการฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี
โดยร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอนตามหลักเกณฑ์ท่ีคณะกรรมการ
การอาชวี ศึกษากาหนด

(๒) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์

คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนในแต่ละ
ลกั ษณะการผลติ และการพฒั นาผูเ้ รยี น

(๓) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องกาหนดวิธีการพัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาและ
การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณลักษณะให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน และระดับคุณวุฒิของ
แตล่ ะประเภทวิชาและสาขาวิชา

(๔) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้สู่การปฏิบัติ โดยให้
ผูเ้ รยี นจัดทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพทสี่ อดคล้องกับสาขาวิชาทเ่ี รียน

คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 121

หน้า ๒๙ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง ราชกิจจานเุ บกษา

(๕) สถาบันการอาชีวศึกษาต้องส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถนะ
แกนกลางและสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย ปลูกฝังจิตสานึก
และจิตอาสา เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลกในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์
ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ทะนุบารงุ ศาสนา ศลิ ปะ
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ ส่งเสริมการดารงตน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และส่งเสริมให้ผู้เรียนทางานโดยใช้กระบวนการกลุ่ม
ในการบรกิ ารวชิ าการ วชิ าชีพ หรอื ทาประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน และสงั คม

(๖) สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาตอ้ งจัดใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี

(๗) การจัดการศึกษา การประเมินผลการเรยี น และการสาเร็จการศึกษา
(ก) การจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบ

กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรปริญญาตรี
สายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบตั กิ าร โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

(ข) การสาเร็จการศึกษา ต้องได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบถ้วนตามโครงสร้างท่ีกาหนด
ไว้ในหลักสูตร ได้คะแนนเฉล่ียสะสมไม่ต่ากว่า ๒.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนน และผ่านเกณฑ์
การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี

(๘) การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ให้สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษากาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรและ
การจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาท่ีเปิดสอน โดยมีองค์ประกอบในการประกันคุณภาพอย่างน้อย
๔ ดา้ น คือ

(ก) หลักสูตรที่ยดึ โยงกบั มาตรฐานอาชพี

(ข) อาจารย์ ทรพั ยากรและการสนบั สนุน
(ค) วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล
(ง) ผู้สาเร็จการศกึ ษา
ขอ้ ๑๖ เงอ่ื นไขการพฒั นาปรับปรงุ อนุมัติ และประกาศใช้หลกั สูตร
(๑) การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือ
สายปฏิบัติการ เป็นหน้าท่ีของสถาบันการอาชีวศึกษา โดยความเห็นชอบของสภาสถาบันการอาชีวศึกษา
และให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
ทค่ี ณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนด
(๒) การอนุมัติหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ให้เป็นหน้าที่ของ
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
(๓) การประกาศใช้และการปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
ให้ทาเปน็ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

122 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ พ.ศ.2563

หน้า ๓๐ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง ราชกจิ จานเุ บกษา

(๔) ระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรปริญญาตรี
สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ให้จัดทาเป็นระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

(๕) ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขึ้นทะเบียนหลักสูตรระดับปริญญาตรี
สายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ ารท่ไี ดร้ บั การอนุมัตแิ ละประกาศใช้

(๖) สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาสามารถพัฒนาหรือปรับปรุงรายวิชาหรือกลุ่มวิชา
เพม่ิ เตมิ ไดต้ ามเงอ่ื นไขของหลกั สตู ร โดยต้องรายงานใหส้ านักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาทราบ

(๗) ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษา และสถานศึกษา

จัดให้มกี ารประเมินการประกันคณุ ภาพของหลกั สูตรและการจัดการเรยี นการสอน เพือ่ นาไปสูก่ ารพัฒนา
หลักสูตรหรือการปรับปรุงหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเน่ือง อย่างน้อยทุก ๕ ปี สาหรับ
หลักสูตรที่เปิดสอนอยู่ก่อนวันท่ีประกาศนี้ใช้บังคับ ต้องปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับประกาศน้ี
ภายใน ๓ ปี นับแตว่ นั ทป่ี ระกาศนี้ใชบ้ ังคบั

ขอ้ ๑๗ ในกรณีท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามประกาศนี้ได้ หรือมีความจาเป็นต้องปฏิบัติ
นอกเหนือจากที่กาหนดไว้ในประกาศนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ทจี่ ะพจิ ารณาวินจิ ฉยั และใหถ้ อื เป็นที่สดุ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 8 มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖2
จรูญ ชูลาภ

ประธานกรรมการการอาชวี ศึกษา

คู่มือการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 123

124 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ภาคผนวก ง

ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เร่อื ง เกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รระดับปริญญาตรี

พ.ศ.2558

คู่มอื การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั ิการ พ.ศ.2563 125

เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๒ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

เร่ือง เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี
พ.ศ. ๒๕๕๘

โดยที่เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้ประกาศใช้มาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว
จึงมีความจําเป็นต้องมีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าวสําหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา
ที่เหมาะสมกับพลวัตของโลกท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมีเจตนารมณ์ให้เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ รองรับการบริหารจัดการหลักสูตรท่ีมีลักษณะที่แตกต่างตามจุดเน้น
ของสาขาวิชาการและวิชาชีพต่าง ๆ ตอบสนองการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลาดแรงงาน ความก้าวหน้าของศาสตร์และเทคโนโลยี รวมท้ังบริบททางสังคม
ทเ่ี ปล่ียนแปลงไป

ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคําแนะนํา
ของคณะกรรมการการอุดมศึกษา ในคราวประชุมคร้ังท่ี ๘/๒๕๕๘ เม่ือวันท่ี ๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
จึงออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘”
ดังต่อไปน้ี

๑. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารนี้เรียกว่า “เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘”
๒. ให้ใช้ประกาศกระทรวงน้ีสําหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชาท่ีจะเปิดใหม่
และหลักสูตรเก่าท่ีจะปรับปรุงใหม่ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน และให้ใช้บังคับตั้งแต่
วนั ถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป
๓. ให้ยกเลิก

๓.๑ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี
พ.ศ. ๒๕๔๘” ลงวันที่ ๒๑ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘

๓.๒ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “การจัดการศึกษาหลักสูตรระดับปริญญาตรี
(ต่อเนื่อง) ของสถาบนั อดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓” ลงวันท่ี ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓

๔. ในประกาศกระทรวงนี้
“อาจารย์ประจํา” หมายถึง บุคคลที่ดํารงตําแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบ
ตามพนั ธกิจของการอดุ มศกึ ษา และปฏิบัตหิ น้าท่เี ต็มเวลา

สําหรับอาจารย์ประจําท่ีสถาบันอุดมศึกษารับเข้าใหม่ตั้งแต่เกณฑ์มาตรฐานน้ีเริ่มบังคับใช้
ต้องมีคะแนนทดสอบความสามารถภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ท่ีกําหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการ
การอดุ มศึกษา เร่อื ง มาตรฐานความสามารถภาษาองั กฤษของอาจารย์ประจํา

126 คู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๓ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

“อาจารย์ประจําหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับ
สาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถ
เป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรท่ีอาจารย์ผู้นั้น
มคี ณุ วฒุ ิตรงหรอื สมั พนั ธ์กบั สาขาวิชาของหลกั สูตร

“อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสตู ร” หมายถงึ อาจารย์ประจําหลกั สตู รท่มี ีภาระหน้าทใี่ นการบริหาร
และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ต้ังแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล
และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจําหลักสูตรน้ันตลอดระยะเวลา
ที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้
ยกเว้น พหุวิทยาการหรือสหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหน่ึงหลักสูตร
และอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรสามารถซํ้าไดไ้ ม่เกิน ๒ คน

“อาจารยพ์ เิ ศษ” หมายถึง ผสู้ อนทไ่ี ม่ใช่อาจารย์ประจํา
๕. ปรัชญา และวตั ถุประสงค์

มงุ่ ให้การผลิตบณั ฑติ มีความสมั พันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ
ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพที่เป็นสากล
ให้การผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาอยู่บนฐานความเช่ือว่ากําลังคนที่มีคุณภาพต้องเป็นบุคคลท่ีมีจิตสํานึก
ของความเป็นพลเมืองดีที่สร้างสรรค์ประโยชน์ต่อสังคม และมีศักยภาพในการพึ่งพาตนเองบนฐาน
ภมู ปิ ัญญาไทย ภายใต้กรอบศีลธรรมจรรยาอันดีงาม เพื่อนําพาประเทศสู่การพัฒนาท่ีย่ังยืนและทัดเทียม
มาตรฐานสากล

ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกํากับส่งเสริมกระบวนการผลิตบัณฑิตที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน
ให้มีลักษณะของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สามารถดํารงตนอยู่ในสังคมพหุวัฒนธรรมภายใต้กระแส
โลกาภวิ ตั น์ ทม่ี กี ารส่ือสารแบบไร้พรมแดน มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสามารถในการปฏิบัติงานได้
ตามกรอบมาตรฐานและจรรยาบรรณที่กําหนด สามารถสร้างสรรค์งานท่ีเกิดประโยชน์ต่อตนเอง
และสังคม ทง้ั ในระดบั ท้องถิ่นและสากล โดยแบง่ หลักสูตรเปน็ ๒ กลุม่ ดงั นี้

๕.๑ หลักสูตรปริญญาตรที างวิชาการ แบ่งเปน็ ๒ แบบ ได้แก่
๕.๑.๑ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ ท่ีมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ท้ัง

ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เน้นความรู้และทักษะด้านวิชาการ สามารถนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์จรงิ ได้อย่างสร้างสรรค์

๕.๑.๒ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาการ ซ่ึงเป็นหลักสูตรปริญญาตรี
สําหรับผู้เรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถระดับสูง โดยใช้
หลักสูตรปกติที่เปิดสอนอยู่แล้ว ให้รองรับศักยภาพของผู้เรียน โดยกําหนดให้ผู้เรียนได้ศึกษา
บางรายวิชาในระดบั บณั ฑติ ศึกษาทเ่ี ปดิ สอนอยูแ่ ลว้ และสนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนได้ทําวิจัยทล่ี ุ่มลึกทางวิชาการ

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 127

เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๔ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

๕.๒ หลักสูตรปริญญาตรีทางวชิ าชีพหรือปฏิบตั กิ าร แบ่งเป็น ๒ แบบ ไดแ้ ก่
๕.๒.๑ หลักสูตรปรญิ ญาตรีทางวชิ าชีพหรอื ปฏิบัติการ ท่ีมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้

ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นความรู้ สมรรถนะและทักษะด้านวิชาชีพตามข้อกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพ
หรือมีสมรรถนะและทักษะด้านการปฏิบัติเชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชานั้น ๆ โดยผ่านการฝึกงาน
ในสถานประกอบการ หรอื สหกิจศึกษา

หลักสูตรแบบนี้เท่าน้ันที่จัดหลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเน่ือง) ได้ เพราะมุ่ง
ผลิตบณั ฑติ ทม่ี ที ักษะการปฏบิ ตั ิการอยูแ่ ล้ว ให้มคี วามรู้ดา้ นวชิ าการมากยิง่ ขน้ึ รวมทั้งได้รับการฝึกปฏิบัติ
ขัน้ สงู เพิม่ เตมิ

หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) ถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปริญญาตรี
และจะต้องสะท้อนปรัชญาและเน้ือหาสาระของหลักสูตรปริญญาตรีนั้น ๆ โดยครบถ้วน และให้ระบุคําว่า
“ตอ่ เนอ่ื ง” ในวงเล็บตอ่ ท้ายชอื่ หลักสูตร

๕.๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ซ่ึงเป็นหลักสูตร
สําหรับผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตท่ีมีความรู้ สมรรถนะทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการขั้นสูง
โดยใช้หลักสูตรปกติท่ีเปิดสอนอยู่แล้ว ให้รองรับศักยภาพของผู้เรียน โดยกําหนดให้ผู้เรียนได้ศึกษาบางรายวิชา
ในระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนอยู่แล้ว และทําวิจัยท่ีลุ่มลึกหรือได้รับการฝึกปฏิบัติข้ันสูงในหน่วยงาน
องคก์ ร หรือสถานประกอบการ

หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าทางวิชาการหรือทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
ต้องมีการเรียนรายวิชาระดบั บัณฑิตศึกษาไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ หน่วยกิต

๖. ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาค
การศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษา
ท่ีเปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้กําหนดระยะเวลาและจํานวนหน่วยกิตโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกัน
ได้กบั การศึกษาภาคปกติ

สถาบนั อุดมศึกษาท่ีจัดการศกึ ษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาค ใหถ้ ือแนวทางดังน้ี
ระบบไตรภาค
๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๓ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ

มรี ะยะเวลาศึกษาไม่น้อยกวา่ ๑๒ สปั ดาห์
โดย ๑ หน่วยกิตระบบไตรภาค เทียบได้กับ ๑๒/๑๕ หน่วยกิตระบบทวิภาค

หรอื ๔ หนว่ ยกิตระบบทวภิ าค เทียบได้กบั ๕ หนว่ ยกิตระบบไตรภาค
ระบบจตุรภาค
๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๔ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ

มรี ะยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ สปั ดาห์
โดย ๑ หน่วยกิตระบบจตุรภาค เทียบได้กับ ๑๐/๑๕ หน่วยกิตระบบทวิภาค

หรือ ๒ หน่วยกิตระบบทวภิ าค เทียบได้กบั ๓ หน่วยกติ ระบบจตรุ ภาค
สถาบันอุดมศึกษาท่ีจัดการศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษาน้ัน

รวมทงั้ รายละเอยี ดการเทียบเคยี งหนว่ ยกติ กับระบบทวภิ าคไว้ในหลักสตู รให้ชัดเจนดว้ ย

128 คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๕ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

๗. การคิดหน่วยกติ
๗.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ช่ัวโมง

ตอ่ ภาคการศึกษาปกติ ใหม้ ีคา่ เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิตระบบทวิภาค
๗.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาค

การศึกษาปกติ ใหม้ ีคา่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ ระบบทวภิ าค
๗.๓ การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ท่ีใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาค

การศึกษาปกติ ให้มคี า่ เท่ากบั ๑ หน่วยกิตระบบทวภิ าค
๗.๔ การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามท่ีได้รับมอบหมายท่ีใช้เวลา

ทําโครงงานหรือกิจกรรมน้ัน ๆ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ช่ัวโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
ระบบทวภิ าค

๘. จาํ นวนหนว่ ยกติ รวมและระยะเวลาการศึกษา
๘.๑ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี (๔ ปี) ใหม้ ีจํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๒๐ หน่วยกิต

ใช้เวลาศกึ ษาไม่เกิน ๘ ปกี ารศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน ๑๒ ปีการศึกษา
สําหรับการลงทะเบยี นเรยี นไมเ่ ต็มเวลา

๘.๒ หลักสตู รปรญิ ญาตรี (๕ ป)ี ให้มจี าํ นวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๑๕๐ หน่วยกิต
ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๑๐ ปีการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน ๑๕ ปี
การศกึ ษา สาํ หรับการลงทะเบยี นเรยี นไมเ่ ต็มเวลา

๘.๓ หลักสูตรปริญญาตรี (ไม่น้อยกว่า ๖ ปี) ให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า
๑๘๐ หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๑๒ ปีการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน
๑๘ ปีการศกึ ษา สําหรับการลงทะเบยี นเรยี นไม่เตม็ เวลา

๘.๔ หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเน่ือง) ให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต
ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน ๔ ปีการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่เกิน ๖ ปีการศึกษา
สําหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ท้ังนี้ ให้นับเวลาศึกษาจากวันที่เปิดภาคการศึกษาแรกท่ีรับเข้าศึกษา
ในหลกั สตู รนัน้

๙. โครงสรา้ งหลกั สูตร ประกอบด้วยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชา
เลือกเสรี โดยมสี ัดส่วนจํานวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ดังนี้

๙.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง หมวดวิชาท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
ให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม
และธรรมชาติ ใส่ใจต่อความเปล่ียนแปลงของสรรพสิ่ง พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง ดําเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม
พร้อมใหค้ วามชว่ ยเหลอื เพ่อื นมนษุ ย์ และเปน็ พลเมืองทีม่ ีคณุ ค่าของสังคมไทยและสังคมโลก

สถาบนั อดุ มศึกษาอาจจัดวชิ าศึกษาท่ัวไปในลักษณะจาํ แนกเปน็ รายวิชาหรือลักษณะ
บูรณาการใด ๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเน้ือหาวิชาท่ีครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์
ภาษาและกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วนท่ีเหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป โดยใหม้ จี าํ นวนหนว่ ยกติ รวมไม่น้อยกวา่ ๓๐ หนว่ ยกิต

คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 129

เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๖ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

อนึ่ง การจดั วชิ าศกึ ษาทั่วไปสาํ หรบั หลักสตู รปรญิ ญาตรี (ต่อเน่ือง) อาจได้รับการยกเว้น
รายวิชาท่ีได้ศึกษามาแล้วในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงหรือระดับอนุปริญญา ทั้งนี้ จํานวนหน่วยกิต
ของรายวิชาท่ีได้รับการยกเว้นดังกล่าว เมื่อนับรวมกับรายวิชาท่ีจะศึกษาเพ่ิมเติมในหลักสูตรปริญญาตรี
(ต่อเนื่อง) ต้องไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ หนว่ ยกิต

๙.๒ หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชาพ้ืนฐานวิชาชีพและวิชาชีพ
ทมี่ ุง่ หมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ โดยใหม้ ีจาํ นวนหน่วยกติ รวม ดงั น้ี

๙.๒.๑ หลักสตู รปริญญาตรี (๔ ป)ี ทางวิชาการ ให้มีจํานวนหน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะ
รวมไมน่ ้อยกวา่ ๗๒ หน่วยกติ

๙.๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) ทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ให้มีจํานวน
หน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไม่น้อยกว่า ๗๒ หน่วยกิต โดยต้องเรียนวิชาทางปฏิบัติการตามที่
มาตรฐานวิชาชีพกําหนด หากไม่มีมาตรฐานวิชาชีพกําหนดต้องเรียนวิชาทางปฏิบัติการไม่น้อยกว่า
๓๖ หนว่ ยกิต และทางทฤษฎีไมน่ ้อยกว่า ๒๔ หน่วยกติ

หลกั สตู ร (ต่อเนือ่ ง) ใหม้ ีจาํ นวนหน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไม่น้อยกว่า
๔๒ หน่วยกติ ในจํานวนนั้นต้องเป็นวิชาทางทฤษฏีไมน่ อ้ ยกว่า ๑๘ หน่วยกิต

๙.๒.๓ หลักสูตรปริญญาตรี (๕ ปี) ให้มีจํานวนหน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวม
ไม่นอ้ ยกวา่ ๙๐ หนว่ ยกติ

๙.๒.๔ หลักสูตรปริญญาตรี (ไม่น้อยกว่า ๖ ปี) ให้มีจํานวนหน่วยกิตหมวดวิชา
เฉพาะรวมไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๘ หน่วยกิต

สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดหมวดวิชาเฉพาะในลักษณะวิชาเอกเด่ียว

วิชาเอกคู่ หรือวิชาเอกและวิชาโทก็ได้ โดยวิชาเอกต้องมีจํานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต

และวิชาโทต้องมจี ํานวนหน่วยกิตไมน่ ้อยกว่า ๑๕ หนว่ ยกติ ในกรณีที่จัดหลักสูตรแบบวิชาเอกคู่ต้องเพ่ิม

จํานวนหน่วยกิตของวิชาเอกอีกไม่น้อยกว่า ๓๐ หน่วยกิต และให้มีจํานวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า

๑๕๐ หนว่ ยกิต

สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้า ผู้เรียนต้องเรียนวิชาระดับ

บัณฑิตศกึ ษาในหมวดวิชาเฉพาะไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หนว่ ยกติ

๙.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามท่ี

ตนเองถนัดหรือสนใจ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี

โดยให้มีจาํ นวนหน่วยกติ รวมไม่นอ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกติ

สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถ ที่สามารถวัดมาตรฐานได้

ท้ังนี้ นักศึกษาต้องศึกษาให้ครบตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และเป็นไป

ตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสู่การศึกษาในระบบ และแนวปฏิบัติที่ดี

เก่ยี วกบั การเทียบโอน ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

130 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๗ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

๑๐. จาํ นวน คุณวุฒิ และคณุ สมบัติของอาจารย์
๑๐.๑ หลักสูตรปรญิ ญาตรีทางวิชาการประกอบด้วย
๑๐.๑.๑ อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิขั้นตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า

หรือมีตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และต้องมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ
ปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งต้ัง
ใหบ้ ุคคลดํารงตาํ แหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลงั

๑๐.๑.๒ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิและคุณสมบัติเช่นเดียวกับ
อาจารยป์ ระจําหลักสูตร จํานวนอย่างนอ้ ย ๕ คน

กรณีท่ีหลักสูตรจัดให้มีวิชาเอกมากกว่า ๑ วิชาเอก ให้จัดอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิและคุณสมบัติตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาท่ีเปิดสอนไม่น้อยกว่า
วิชาเอกละ ๓ คน

กรณีที่มีความจําเป็นอย่างยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารย์
ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู รทม่ี ีนั้นใหค้ ณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาพจิ ารณาเปน็ รายกรณี

๑๐.๑.๓ อาจารย์ผู้สอน อาจเป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษที่มีคุณวุฒิ
ขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือมีตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาน้ันหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน
หรือในสาขาวชิ าของรายวิชาท่สี อน

ในกรณีท่ีมีอาจารย์ประจําท่ีมีคุณวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
และทําหน้าที่อาจารย์ผู้สอนก่อนท่ีเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘
จะประกาศใช้ ให้สามารถทาํ หน้าที่อาจารยผ์ ้สู อนต่อไปได้

ในกรณีของอาจารย์พิเศษอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโท
แต่ทั้งนี้ต้องมีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทํางานที่เกี่ยวข้องกับวิชา
ที่สอนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยป์ ระจําเป็นผูร้ ับผิดชอบรายวิชาน้นั

๑๐.๒ หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ และหลักสูตรปริญญาตรี
(ตอ่ เนือ่ ง) ประกอบด้วย

๑๐.๒.๑ อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเท่า
หรือมีตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และต้องมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา
และเป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล
ดํารงตําแหนง่ ทางวชิ าการอยา่ งนอ้ ย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยี ้อนหลงั

สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ ที่เน้นทักษะ
ด้านวิชาชีพตามข้อกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพ อาจารย์ประจําหลักสูตรต้องมีคุณสมบัติเป็นไป
ตามมาตรฐานวิชาชพี นนั้ ๆ

คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563 131

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หน้า ๘ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

กรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนท่ีไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา
หากจาํ เป็น บุคลากรท่ีมาจากหน่วยงานน้ันอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโทและผลงานทางวิชาการ
แต่ต้องมีคุณวุฒิขั้นต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทํางานในหน่วยงานแห่งนั้น
มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ ปี

๑๐.๒.๒ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร มีคุณวุฒิและคุณสมบัติเช่นเดียวกับ
อาจารยป์ ระจาํ หลกั สตู ร จํานวนอย่างน้อย ๕ คน

ในกรณีของหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการที่เน้นทักษะ
ด้านการปฏิบัติเชิงเทคนิคในศาสตร์สาขาวิชาน้ัน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย ๒ ใน ๕ คน
ต้องมีประสบการณ์ในด้านปฏิบัติการ โดยอาจเป็นอาจารย์ประจําของสถาบันอุดมศึกษา หรือเป็น
บุคลากรของหน่วยงานที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาซ่ึงมีข้อตกลงในการผลิตบัณฑิตของหลักสูตรนั้นร่วมกัน
แต่ทง้ั นี้ต้องไม่เกิน ๒ คน

กรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนท่ีไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา
หากจําเป็น บคุ ลากรที่มาจากหน่วยงานน้ันอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโทและผลงานทางวิชาการ
แต่ต้องมีคุณวุฒิข้ันต่ําปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทํางานในหน่วยงานแห่งน้ัน
มาแล้วไมน่ ้อยกว่า ๖ ปี

กรณีที่หลักสูตรจัดให้มีวิชาเอกมากกว่า ๑ วิชาเอก ให้จัดอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิและคุณสมบัติตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอนไม่น้อยกว่า
วิชาเอกละ ๓ คน และหากเป็นปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการท่ีเน้นทักษะด้านการปฏิบัติ
เชงิ เทคนคิ ในศาสตรส์ าขาวชิ าน้นั ต้องมีสดั สว่ นอาจารยท์ ่มี ีประสบการณ์ในด้านปฏบิ ตั ิการ ๑ ใน ๓

กรณีท่ีมีความจําเป็นอย่างย่ิงสําหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน ทางสถาบันอุดมศึกษาต้องเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารย์
ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตรทม่ี ีนัน้ ใหค้ ณะกรรมการการอดุ มศึกษาพิจารณาเปน็ รายกรณี

๑๐.๒.๓ อาจารย์ผู้สอน อาจเป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษท่ีมีคุณวุฒิข้ันตํ่า
ปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือมีตําแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน
หรอื ในสาขาวชิ าของรายวิชาทีส่ อน

ในกรณีท่ีมีอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และทําหน้าท่ี
อาจารย์ผสู้ อนกอ่ นทีเ่ กณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ จะประกาศใช้ ให้สามารถ
ทาํ หน้าที่อาจารย์ผสู้ อนตอ่ ไปได้

สําหรับกรณีร่วมผลิตหลักสูตรกับหน่วยงานอ่ืนที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา
หากจําเปน็ บุคลากรท่ีมาจากหน่วยงานนั้นอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโทและผลงานทางวิชาการ
แต่ต้องมีคุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทํางานในหน่วยงานแห่งนั้น
มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่า ๖ ปี

132 คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หน้า ๙ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

ในกรณีของอาจารย์พิเศษอาจได้รับการยกเว้นคุณวุฒิปริญญาโท
แต่ทั้งน้ีต้องมีคุณวุฒิข้ันตํ่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า และมีประสบการณ์การทํางานที่เก่ียวข้องกับวิชา
ท่ีสอนมาแล้วไม่น้อยกว่า ๖ ปี ทั้งนี้อาจารย์พิเศษต้องมีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยป์ ระจาํ เป็นผรู้ บั ผดิ ชอบรายวิชานั้น

สําหรับหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการที่เน้นทักษะ
ด้านวิชาชีพตามข้อกําหนดของมาตรฐานวิชาชีพ อาจารย์ผู้สอนต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน
วชิ าชีพนัน้ ๆ

๑๑. คุณสมบตั ิของผ้เู ขา้ ศกึ ษา
๑๑.๑ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี ๕ ปี และไม่น้อยกว่า ๖ ปี) จะต้องเป็นผู้สําเร็จ

การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
๑๑.๒ หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) จะต้องเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงหรือเทียบเท่า หรือระดับอนุปริญญา (๓ ปี) หรือเทียบเท่า ในสาขาวิชา
ทตี่ รงกับสาขาวิชาทจ่ี ะเข้าศกึ ษา

๑๑.๓ หลักสูตรปริญญาตรีแบบก้าวหน้าท้ังทางวิชาการ และทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ
ตอ้ งเปน็ ผสู้ าํ เร็จการศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า โดยมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า
๓.๕๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรอื เทียบเทา่ และมผี ลการเรยี นในหลกั สตู รปรญิ ญาตรีแบบก้าวหน้า
ไม่น้อยกว่า ๓.๕๐ ทุกภาคการศึกษา อน่ึง ในระหว่างการศึกษาในหลักสูตรแบบก้าวหน้า หากภาคการศึกษาใด
ภาคการศึกษาหน่ึงมีผลการเรียนตํ่ากว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า จะถือว่า
ผเู้ รยี นขาดคุณสมบตั ใิ นการศกึ ษาหลกั สตู รแบบก้าวหน้า

๑๒. การลงทะเบียนเรียน ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต และไม่เกิน ๒๒ หน่วยกิต
ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน
๙ หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา และจะสําเร็จ
การศกึ ษาได้ ดังน้ี

๑๒.๑ หลักสูตรปริญญาตรี (๔ ปี) สําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๖ ภาคการศึกษาปกติ
สาํ หรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่ก่อน ๑๔ ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียน
ไมเ่ ต็มเวลา

๑๒.๒ หลักสูตรปริญญาตรี (๕ ปี) สําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๘ ภาคการศึกษาปกติ
สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่ก่อน ๑๗ ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียน
ไมเ่ ต็มเวลา

๑๒.๓ หลักสูตรปริญญาตรี (ไม่น้อยกว่า ๖ ปี) สําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๑๐ ภาค
การศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่ก่อน ๒๐ ภาคการศึกษาปกติ สําหรับ
การลงทะเบยี นเรียนไมเ่ ต็มเวลา

คู่มอื การประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 133

เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หน้า ๑๐ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา

๑๒.๔ หลักสูตรปริญญาตรี (ต่อเนื่อง) สําเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน ๔ ภาคการศึกษาปกติ
สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไม่ก่อน ๘ ภาคการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเรียน
ไมเ่ ตม็ เวลา

สําหรับการลงทะเบยี นเรียนในภาคฤดรู อ้ น ให้ลงทะเบียนเรยี นได้ไมเ่ กิน ๙ หนว่ ยกติ
หากสถาบันอุดมศึกษาใดมีเหตุผลและความจําเป็น การลงทะเบียนเรียนที่มี
จํานวนหน่วยกิตแตกต่างไปจากเกณฑ์ข้างต้นก็อาจทําได้ แต่ท้ังน้ีต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐาน
และคณุ ภาพการศึกษา ท้ังน้ี ต้องเรยี นใหค้ รบตามจาํ นวนหนว่ ยกิตตามทรี่ ะบไุ วใ้ นหลักสูตร
๑๓. เกณฑ์การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา ให้สถาบันอุดมศึกษากําหนดเกณฑ์การวัดผล
เกณฑ์ข้ันต่ําของแต่ละรายวิชา และเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร โดยต้องเรียนครบ
ตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ตํ่ากว่า ๒.๐๐ จากระบบ
๔ ระดับคะแนนหรอื เทยี บเท่า จงึ ถือวา่ เรียนจบหลกั สตู รปริญญาตรี
สถาบันอุดมศึกษาที่ใช้ระบบการวัดผลและการสําเร็จการศึกษาท่ีแตกต่างจากนี้ จะต้องกําหนด
ใหม้ คี า่ เทียบเคียงกนั ได้
๑๔. ช่ือปริญญา สถาบันอุดมศึกษาที่มีการตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา
และอักษรย่อสําหรับสาขาวิชาไว้แล้ว ให้ใช้ช่ือปริญญาตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาน้ัน ในกรณีท่ี
ปริญญาใดยังมิได้กําหนดชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกา หรือกรณีที่สถาบันอุดมศึกษาใดไม่มีการตราพระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสําหรับสาขาวิชา ให้ใช้ช่ือปริญญาตามหลักเกณฑ์การกําหนด
ช่ือปริญญา ตามทสี่ ํานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด
๑๕. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร
โดยมีองคป์ ระกอบในการประกนั คณุ ภาพอยา่ งน้อย ๖ ด้าน คือ
(๑) การกํากบั มาตรฐาน
(๒) บณั ฑติ
(๓) นักศกึ ษา
(๔) อาจารย์
(๕) หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผเู้ รยี น
(๖) สงิ่ สนบั สนนุ การเรียนรู้
๑๖. การพัฒนาหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย โดยมีการประเมิน
และรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรทุกปีการศึกษา เพื่อนําข้อมูลท่ีได้ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
เป็นระยะ ๆ อย่างน้อยตามรอบระยะเวลาของหลักสตู ร หรือทุกรอบ ๕ ปี

134 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563

เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๑๑ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา

๑๗. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้ หรือมีความจําเป็นต้องปฏิบัติ
นอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในประกาศน้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีจะพิจารณา
และให้ถอื คาํ วนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการการอุดมศกึ ษานัน้ เป็นทส่ี ดุ

ประกาศ ณ วนั ที่ ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 135

136 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563

ภาคผนวก จ

เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ระดบั หลักสูตร



คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร พ.ศ.2563 137

138 คู่มอื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ.2563 แบบประเมนิ หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิตสาขา................................(หลักสูตรใหม พ.ศ...../หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ.....) สถานศกึ ษา..................................สถาบัน..................

องคป ระกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐาน

ตวั บง ช้ีท่ี 1.1 การบรหิ ารจัดการหลักสตู รตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอื่ ง เกณฑม าตรฐานหลักสตู รระดบั ปริญญาตรี พ.ศ.2558

1. จาํ นวนอาจารยผูรับผิดชอบหลกั สตู ร /อาจารยประจาํ หลักสตู ร/ อ า จ า ร ย ผู ส อ น

ที่ ชื่อ-สกลุ ชอื่ ปรญิ ญาและสาขา สถาบนั ท่สี าํ เรจ็ การศึกษา ผลงานทางวิชาการและ ประสบการณใ นดานการปฏบิ ัตกิ าร
การเผยแพร ในสถานประกอบการ

(ช่อื สถานประกอบการ/ระยะเวลา)

หมายเหตุ : มกี ารเปล่ียนแปลงอาจารย และแนบมติสภาฯ

คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 139 2. จาํ นวนอาจารยผ สู อน ช่ือปริญญาและสาขา สถาบนั ทีส่ าํ เร็จการศึกษา
ที่ ช่ือ-สกลุ

หมายเหตุ : มกี ารเปลีย่ นแปลงอาจารย และแนบมตสิ ภาฯ

สรุปผลการกาํ กบั มาตรฐาน ผา น ไมผาน

เกณฑก ารประเมิน
1. จาํ นวนอาจารยผ รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร
2. คณุ สมบตั อิ าจารยผ รู ับผิดชอบหลักสตู ร
3. คุณสมบตั อิ าจารยป ระจาํ หลกั สตู ร
4. คุณสมบัตอิ าจารยผ สู อน
5. การปรบั ปรุงหลกั สตู รตามรอบระยะเวลาทีก่ าํ หนด

ผลการประเมินตัวบง ชี้ 1.1 กาํ หนดไวเ ปน ผา น และ ไมผ า น หากไมผ านเกณฑข อใดขอหนึง่ ถือวาหลกั สูตรไมไ ดม าตรฐานและผลเปน ไมผ า น (คะแนนเปนศูนย)

แบบประเมินหลกั สูตรเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขา..........................................
(หลักสตู รใหม พ.ศ........../หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ............)

สถานศึกษา........................................สถาบัน..................................

องคป ระกอบท่ี 2 บณั ฑติ

ตวั บงชี้ท่ี 2.1 คุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง ชาติ

2.1.1 จํานวนนกั ศึกษาทสี่ าํ เรจ็ การศึกษาทง้ั หมด .................... คน

การไดง านทาํ ในสถานประกอบการ หนวยงาน ประกอบอาชพี อสิ ระ ศึกษาตอ ยงั ไมไ ดทํางาน
ราชการ
จํานวน
รอยละ
จาํ นวน
รอ ยละ
จํานวน
รอ ยละ

*หมายเหตุ : จํานวนบณั ฑิตท่ีไดรับการประเมนิ ไมนอ ยกวารอ ยละ 30

140 คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563

ขอมลู บัณฑิตท่ีถูกประเมิน
ช่อื - สกุล .............................................................
วทิ ยาลัย...............................................................
สาขาวชิ า.............................................................

แบบสอบถาม

ผใู ชบณั ฑติ ท่มี ตี อ การปฏบิ ัติงานของบณั ฑติ หลักสตู ร.............................

สถาบันการอาชีวศกึ ษา..................................................

คําชแ้ี จง

 แบบสอบถามน้ี สาํ หรับผบู ังคบั บัญชาที่กํากับ ดูแลการทํางานของบคุ คลท่ีถูกประเมิน เปนผูป ระเมนิ การปฏบิ ตั ิงาน และ

คณุ ลักษณะบัณฑิตของสถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 1 ท่ีสาํ เร็จการศกึ ษา รุนปการศึกษา........... (รหัส......)

มี 3 ตอน ประกอบดวย ตอนท่ี 1 ขอมูลทว่ั ไปของผตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผูใชบัณฑติ ท่ีมตี อการ

ปฏบิ ัติงานของบัณฑติ สถาบนั การอาชีวศกึ ษา........................................................... และตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะความตองการ

คณุ ลกั ษณะฃองบัณฑติ จากผูใชบ ัณฑติ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเ พอ่ื วดั ระดบั ความพึงพอใจของผใู ชบ ัณฑิตที่มีตอการปฏบิ ตั ิงานของ

บัณฑติ สถาบันการอาชวี ศึกษา................................................. และเพือ่ ทราบความตองการคุณลักษณะบัณฑติ จากผูใชบัณฑติ

 การวิเคราะหข อ มูล เปน การวิเคราะหในภาพรวม ซึง่ ไมม ีผลกระทบตอทา น จึงขอความอนุเคราะหตอบตามความเปนจริง

เพราะจะเปน ประโยชนอ ยางยิ่งตอการพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถาบันการอาชวี ศึกษา.............................................................

ตอนท่ี 1 ขอ มูลท่วั ไป

โปรดเขียนตอบ และ/หรอื ทําเคร่อื งหมาย  ในชอง  ทต่ี รงกับความเปน คิดเห็นของทานมากท่ีสุด

1. ชือ่ หนวยงาน.........................................................................................................................................................

ที่อยู.....................................................................................................................................................................

โทรศพั ท...............................................โทรสาร............................................E-mail………………….…………………..

2. ตําแหนง ของผตู อบแบบสอบถาม

 1. ผูอ าํ นวยการ  2. ผูจดั การ  3. หัวหนาฝาย  4. ผบู ังคับบญั ชาชน้ั ตน

 5. เจาของกิจการ  6. อ่ืนๆ (โปรดระบุ)................................................................................

3. ลกั ษณะของหนวยงาน

 1. หนว ยงานราชการ  2. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ

 3. หนว ยงานเอกชน  4. ธนาคาร / สถาบันการเงนิ

 5. อื่น ๆ (โปรดระบ)ุ .....................................................................................................

4. งานท่ีบัณฑติ ปฏิบตั อิ ยู ตรงหรอื สอดคลองกับสาขาที่สําเรจ็ หรือไม

 1. ตรงสาขา  2. ไมตรงสาขา

5. การเปล่ียนสถานภาพการทํางานหลังสําเร็จการศึกษา

 1. คงเดมิ

 2. เปล่ียนไป โดยมีเงนิ เดือนเพมิ่ ขึ้น

 3. อื่นๆ (โปรดระบ)ุ ..................................................................................................

6. เงนิ เดือนหรือคา จา งทไ่ี ดร ับ

 1. ตา่ํ กวา 10,000 บาท  2. 10,000 - 14,999 บาท  3. 15,000 ข้นึ ไป

7. หนวยงานทานตองการบัณฑิตสาขาวิชาใดมากที่สดุ โปรดระบุ เรยี งตามลําดบั มากไปหานอ ย

1. ............................................................................. 2. ..............................................................................

คู่มือการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ พ.ศ.2563 141

-2-

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจของผูใชบ ัณฑติ ทีม่ ีตอ การปฏบิ ตั งิ าน
โปรดทาํ เคร่อื งหมาย ลงในชองทต่ี รงกบั ระดับความพงึ พอใจของทานทม่ี ตี อการปฏบิ ตั งิ านของบัณฑติ สถาบนั การ
อาชีวศึกษา..........................................................

ระดับความพงึ พอใจ

รายการ มาก มาก ปาน นอย นอ ย
ทีส่ ดุ กลาง ที่สุด

1. ดา นคุณธรรมจรยิ ธรรม

1.1 มคี วามเขา ใจ และซาบซง้ึ ในวัฒนธรรมไทย

1.2 คิดเห็นเชงิ บวกเกยี่ วกับระบบคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1.3 มพี ฤติกรรมเสยี สละ
1.4 มคี วามซื่อสัตย สจุ รติ
1.5 มีวนิ ยั เคารพกฎระเบยี บ ขอ บังคับตา งๆ ขององคก รและสังคม
1.6 มีภาวะความเปน ผนู ํา และมีภาวะความเปน ผตู าม ท่ีดี
1.7 เคารพสิทธิ เคารพในคุณคา และศักดศิ์ รขี องความเปน มนษุ ยข องผูอ ื่น

และรับฟง ความคิดเห็นของผูอ่ืน
1.8 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวชิ าชพี
1.9 มีความเขาใจเกยี่ วกบั บริบททางสงั คมของวชิ าชพี
1.10 มีความรบั ผดิ ชอบตอตนเองและสังคม รวมถงึ รบั ผดิ ชอบในฐานะ

ผูป ระกอบวชิ าชพี
2. ดานความรู

2.1 มคี วามรพู ้ืนฐานดา นคณติ ศาสตร วิทยาศาสตรเ ทคโนโลยี และสามารถ
ประยตุ กใชก บั งานดานเทคโนโลยแี ละวิชาชพี

2.2 มคี วามรู ความเขา ใจเกยี่ วกบั หลกั การสาํ คญั ทงั้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิของสาขาวชิ า
ที่สําเร็จการศึกษามา

2.3 มคี วามรูใ นวิธีการการใชอปุ กรณ เคร่ืองมอื ในการทํางาน
2.4 มคี วามรใู นการบูรณาการหลักการในศาสตรอนื่ ๆกับความรูดา นเทคโนโลยี

เชน โปรแกรมคอมพิวเตอร เปน ตน
2.5 มคี วามสามารถใชความรแู ละทกั ษะในสาขาวิชาทส่ี ําเร็จการศกึ ษามา

ประยกุ ตแ กป ญ หาในการปฏบิ ตั งิ านจริง
3. ดา นทักษะทางปญญา

3.1 มคี วามคดิ อยา งมีวิจารณญาณที่ดี
3.2 แสวงหาความรู และสามารถสรางสรรคง านใหมๆ เสมอ
3.3 มกี ระบวนการคดิ เปนระบบ สามารถเสนอแนะและใหเหตุผลเพ่อื การตดั สินใจได
3.4 มคี วามสามารถในการแกป ญ หาเฉพาะหนาไดอยา งเหมาะสม

142 คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั กิ าร พ.ศ.2563

ระดับความพึงพอใจ

รายการ มาก มาก ปาน นอ ย นอ ย
ท่ีสุด กลาง ที่สุด

3.5 สามารถนาํ ความรไู ปประยุกตใ ชในสถานการณใหมไ ด

4. ดานทกั ษะความสัมพันธร ะหวางบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ

4.1 สามารถสนทนา สอื่ สาร ดวยกาใชภ าษาไทย ภาษาตางประเทศ
รวมทงั้ การใชเทคโนโลยีชว ยในการสอ่ื สาร กบั กลุมคนทห่ี ลากหลาย

4.2 สามารถเสนอแนวทางในการแกปญหาทงั้ ปญหาสว นตัวและสว นรวม
และลงมือแกปญ หาน้นั บรรลผุ ลสําเร็จ

4.3 วางแผนพฒั นาตนเองดานวชิ าชีพ และไดพ ฒั นาตนเองอยา งตอเนอ่ื ง

4.4 มคี วามรกั องคกร รู เขา ใจบทบาทหนาท่ี ความรบั ผดิ ชอบของตนเอง
และของเพ่อื นรวมงาน วางตัวและปฏบิ ัตงิ านกบั ผูอ ื่นไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

4.5 มจี ิตสาํ นกึ ความรับผดิ ชอบดา นความปลอดภยั การรกั ษาสภาพแวดลอ ม
การใชพ ลงั งานอยา งประหยดั คมุ คาในการทํางาน

5. ดานทักษะการวิเคราะหเชงิ ตวั เลข การส่ือสารและการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

5.1 มีทักษะในการใชค อมพิวเตอร สาํ หรบั การทํางานไดเ ปน อยางดี

5.2 สามารถประยุกตใ ชท ักษะการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลขและเชงิ สถติ ิในการปฏบิ ตั งิ าน

5.3 สามารถประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทนั สมยั ไดอ ยา ง
เหมาะสม มีประสิทธภิ าพ

5.4 มที ักษะในการสื่อสาร การนาํ เสนอขอมูลทงั้ ทางวาจาและลายลกั ษณอักษร
การเลือกใชส ือ่ ในการนําเสนออยา งเหมาะสม

5.5 สามารถใชเ ครื่องมอื คาํ นวณและเครอื่ งมือทางเทคโนโลยปี ระกอบการทํางาน

6. ดานทักษะการปฏิบตั งิ าน

6.1 มีทักษะในการใชเคร่ืองมอื อปุ กรณในงานอาชพี ไดเปนอยา งดี

6.2 สามารถวเิ คราะหปญ หา และสามารถแกป ญหาในการปฏิบัตงิ าน

6.3 สามารถประยุกตใ ชเ ทคโนโลยมี าใชในการดาํ รงชพี

6.4 ปฏบิ ตั งิ านโดยเนน กระบวนการ ตามรูปแบบการทาํ วิจยั หรอื โครงงาน

ตอนท่ี 3 ขอเสนอแนะทส่ี ถานประกอบการประสงคจะใหบณั ฑติ ของสถาบนั การอาชวี ศึกษามีคณุ สมบัตเิ พม่ิ เตมิ
1. ดานคุณธรรมจริยธรรม ...........................................................................................................................................
2. ดา นความรู ………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. ทักษะทางปญ ญา …………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ทกั ษะความสัมพันธร ะหวา งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ …………………………………………………………………………..
5. ทักษะการวิเคราะหเ ชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ……………………………………………….
6. ทักษะการปฏิบตั งิ าน .............................................................................................................................................
ขอขอบคณุ ทใี่ หค วามรวมมอื ในครง้ั นี้

คู่มอื การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563 143

ตัวบงชีท้ ่ี 2.2 รอ ยละของนักศึกษาที่สอบมาตรฐานวิชาชพี ผา นในคร้ังแรก

จาํ นวนนกั ศึกษาทั้งหมดของหลกั สตู ร ..........................คน
จํานวนนกั ศกึ ษาทส่ี อบมาตรฐานวิชาชีพผานในครงั้ แรก จํานวน ........................คน

ตัวบงชี้ท่ี 2.3 รอยละของนกั ศึกษาทีส่ อบผานสมิทธภิ าพทางภาษาองั กฤษ ระดับ B2 หรอื เทยี บเทา

จํานวนนกั ศึกษาทง้ั หมดของหลกั สูตร ..........................คน
จํานวนนกั ศกึ ษาที่สอบสมทิ ธภิ าพทางภาษาอังกฤษ ระดบั B2 หรอื เทยี บเทา จาํ นวน ........................คน

ตัวบงชี้ที่ 2.4 รอยละของนักศกึ ษาทีส่ อบผา นมาตรฐานดานเทคโนโลยดี ิจทิ ลั

จํานวนนักศึกษาทั้งหมดของหลกั สูตร ..........................คน
จํานวนนกั ศึกษาทส่ี อบผานมาตรฐานดา นเทคโนโลยีดิจทิ ัล จํานวน ........................คน

ตัวบง ชท้ี ี่ 2.5 รอ ยละของบณั ฑิตปริญญาตรีทไ่ี ดงานทาํ หรอื ประกอบอาชพี อสิ ระภายใน 1 ป

จาํ นวนนกั ศกึ ษาทง้ั หมดของหลกั สตู ร ..........................คน
จํานวนนกั ศกึ ษาของหลกั สตู รทต่ี อบแบบสอบถาม .....................คน

- จํานวนนักศกึ ษาทม่ี งี านทาํ จํานวน.......................คน
- จํานวนนักศกึ ษาท่ปี ระกอบอาชพี อสิ ระ จํานวน.......................คน
- จาํ นวนนกั ศึกษาที่ไดเ ล่ือนตาํ แหนงหรอื ไดร บั เงินเดือนเพ่ิมขน้ึ จํานวน ..................... คน

(กรณมี งี านทาํ กอ นเขา ศึกษาภายใน 1 ป สําเรจ็ การศกึ ษา) จํานวน.......................คน
- จํานวนนกั ศกึ ษาทีไ่ มม ีงานทํา

หมายเหตุ : ตอ งไมนบั ซ้าํ
: จาํ นวนบัณฑติ ทต่ี อบแบบตอบรับตองไมนอยกวารอยละ 70 ของผูสาํ เร็จการศึกษา
เก็บขอมลู การไดง านทาํ ภายใน 1 ป หลังสาํ เรจ็ การศึกษา

144 คู่มือการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดบั ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร พ.ศ.2563

แบบประเมินหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑิตสาขา..........................................
(หลกั สตู รใหม่ พ.ศ........../หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ............)

สถานศึกษา........................................สถาบนั ..................................

องคป์ ระกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา

ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.1 การรับนกั ศกึ ษา
1. การรับนักศึกษา สดั ส่วนการรับ และกระบวนการรับ (เขียนบรรยายอธิบายขั้นตอนการดาเนินการสงิ่ ท่ที าตาม
บริบทของแตล่ ะหลกั สตู ร)

2. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นเข้าศกึ ษา (เขียนบรรยายอธบิ ายข้นั ตอนการดาเนินการสงิ่ ท่ีทาตามบรบิ ท
ของแตล่ ะหลักสตู ร)

คู่มอื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัตกิ าร พ.ศ.2563 145


Click to View FlipBook Version