The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าที่พลเมืองม4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongsak, 2019-09-21 03:25:36

หน้าที่พลเมืองม4

หน้าที่พลเมืองม4

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู

หนาทพี่ ลเมอื ง

วฒั นธรรม และการดำเนินชวี ิตในสังคม
ม. 4-6 เลม 1

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 4–6
กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

• ออกแบบการเรยี นรูโดยใชมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชว งช้นั เปนเปาหมาย
• ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนนักเรียนเปน ศูนยกลาง
• ใชแนวคิด Backward Design ผสมผสานกบั แนวคดิ ทฤษฎีการเรียนรตู า ง ๆ

อยางหลากหลาย
• ออกแบบการเรยี นรูเพอ� พฒั นาสมรรถนะสำคัญของนกั เรยี นในการสอ� สาร การคิด

การแกป ญ หา การใชท ักษะชวี ติ และการใชเทคโนโลยี
• แบงแผนการจดั การเรยี นรเู ปน รายช่ัวโมง สะดวกในการใช
• มอี งคป ระกอบครบถวนตามแนวทางการจดั ทำแผนการจดั การเรียนรขู องสถานศึกษา
• นำไปพัฒนาเปนผลงานทางวชิ าการเพอ� เล�อนวิทยฐานะได

ผลติ และจดั จำหนา ยโดย บรษิ ทั สำนกั พิมพว ฒั นาพานชิ จำกัด

ว�ฒนาพานิช สำราญราษฎร

216–220 ถนนบำรุงเมือง แขวงสำราญราษฎร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
โทร. 02 222 9394 • 02 222 5371–2 FAX 02 225 6556 • 02 225 6557

email: [email protected]

2

¤ู‹Á×ͤร ู แผนการจัดการเรยี นรู ้ กÅÁ‹Ø Ê ารÐก ารเรียนร ู้Êั§¤ÁÈÖกÉา ÈาÊนา แÅÐ Çั²น¸รรÁ

หนา ทพ่ี ลเมอื ง

วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม ม. 4-6 เลม 1

ªé¹Ñ Á¸Ñ ÂÁÈ¡Ö ÉÒ»‚·Õè 4–6
µÒÁËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢¹éÑ ¾é¹× °Ò¹ ¾·Ø ¸ÈÑ¡ÃÒª 2551

B Ê§Ç¹Å¢Ô Ê·Ô ¸ìÔµÒÁ¡®ËÁÒÂ
ËŒÒÁÅÐàÁÔ´ ·Ó«éÓ ´Ñ´á»Å§ à¼Âá¾Ã‹
ÊÇ‹ ¹Ë¹èÖ§ÊÇ‹ ¹ã´ àǹŒ ᵨ‹ Ðä´ÃŒ ºÑ ͹ÞØ Òµ

ผ้เู ร ยี ºเ รยี §

´Ã.¾ÉÔ ³Ø ྪþѪáÅØ ÈÉ.º., ÈÈ.Á., ¡¨.´.
บÞØ รµั น ์ รอดµา ศÉ.บ.
พงÉศ์ ักดิ ì แ¤ลว้ เ¤รอื ศศ.บ. (เกียรµินิยม)

ºรร³า¸กÔ าร

สรØ ะ ดามาพงÉ์ กศ.บ., กศ.ม.

ISBN 978-974-18-5906-1
¾ÔÁ¾ท ่ี ºรÔÉทั âร§¾ÁÔ ¾Ç²ั นา¾านÔª จÓกัด นายเริงชยั จงพพิ ฒั นสØข กรรมการผ้จู ัดการ

ÊÍ่× การเรยี นรรู้ Ðดºั Á. µน้ –Á. »Åาย µาÁËÅกั ʵู รแกนกÅา§การÈกÖ Éา¢นéั ¾นé× °าน ¾ทØ ¸Èกั ราª 2551
• Ëนั§Ê×Íเรยี น (ȸ. ÍนØÞาµ) • แºº½ƒกทกั ÉÐ • ©ººั ÊÁºรู ³แ ºº • แผนÏ (CD)

รÐดัºÁั¸ยÁÈÖกÉาµ Íนµ ้น

หนังสอื เรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บบั สมบรู ³์แบบ • แผนÏ (CD) ¾รоทØ ¸ÈาÊนา Á. 1–3 .................. รศ. ดร.จรสั พย¤ั ¦ราชศักด ìิ และ¤³ะ
หนังสอื เรียน • แบบ½ƒ¡ทกั Éะ • ©บบั สมบูร³์แบบ • แผนÏ (CD) Ëน้าท¾่ี ÅเÁÍ× §Ï Á. 1–3................................. รศ.ธวชั ทนั โµภาส และ¤³ะ
หนังสอื เรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บับสมบูร³์แบบ • แผนÏ (CD) เÈรÉ°Èาʵร Á. 1–3................................... ดร.ขวัÞนภา สขØ ¤ร และ¤³ะ
หนงั สือเรยี น • แบบ½¡ƒ ทักÉะ • ©บบั สมบรู ³์แบบ • แผนÏ (CD) »รÐÇัµÈÔ าʵร Á. 1–3..............................รศ. ดร.ไพ±ูรย ์ มกี Øศล และ¤³ะ
หนังสอื เรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บบั สมบูร³์แบบ • แผนÏ (CD) ÀูÁÈÔ าʵร  Á. 1–3........................................ผศ.สมมµ สมบรู ³์ และ¤³ะ

รÐดºั Á¸ั ยÁÈÖกÉา µÍน»Åาย

หนังสอื เรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บับสมบรู ³แ์ บบ • แผนÏ (CD) ¾รоทØ ¸ÈาÊนา 1 Á. 4–6............... รศ. ดร.จรสั พย¤ั ¦ราชศักด ิì และ¤³ะ
หนงั สือเรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บบั สมบูร³์แบบ • แผนÏ (CD) ¾รоØท¸ÈาÊนา 2 Á. 4–6............... รศ. ดร.จรัส พย¤ั ¦ราชศักด ิì และ¤³ะ
หนังสือเรียน • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บบั สมบรู ³แ์ บบ • แผนÏ (CD) ¾รоทØ ¸ÈาÊนา 3 Á. 4–6............... รศ. ดร.จรสั พยั¤¦ราชศักด ิì และ¤³ะ
หนังสือเรยี น • แบบ½ƒ¡ทกั Éะ • ©บบั สมบรู ³แ์ บบ • แผนÏ (CD) Ëน้าท¾่ี ÅเÁÍ× §Ï Á. 4–6 เÅÁ‹ 1...................... รศ.ธวชั ทนั โµภาส และ¤³ะ
หนังสอื เรียน • แบบ½ƒ¡ทักÉะ • ©บบั สมบูร³แ์ บบ • แผนÏ (CD) Ëนา้ ท¾่ี ÅเÁ×Í§Ï Á. 4–6 เÅÁ‹ 2...................... รศ.ธวชั ทนั โµภาส และ¤³ะ
หนงั สือเรียน • แบบ½¡ƒ ทักÉะ • ©บับสมบรู ³แ์ บบ • แผนÏ (CD) เÈรÉ°Èาʵร  Á. 4–6................................... ดร.ขวÞั นภา สขØ ¤ร และ¤³ะ
หนงั สือเรยี น • แบบ½¡ƒ ทกั Éะ • ©บบั สมบูร³แ์ บบ • แผนÏ (CD) »รÐǵั ÈÔ าʵร Á. 4–6 เÅ‹Á 1...................รศ. ดร.ไพ±ูรย์ มกี Øศล และ¤³ะ
หนงั สอื เรยี น • แบบ½ƒ¡ทกั Éะ • ©บับสมบูร³์แบบ • แผนÏ (CD) »รÐÇัµÈÔ าʵร Á. 4–6 เÅ‹Á 2...................รศ. ดร.ไพ±รู ย์ มกี ศØ ล และ¤³ะ
หนังสือเรยี น • แบบ½ƒ¡ทกั Éะ • ©บับสมบรู ³์แบบ • แผนÏ (CD) ÀูÁÈÔ าʵร  Á. 4–6........................................ผศ.สมมµ สมบรู ³ ์ และ¤³ะ

3

คำนำ

¤ู่มอื ¤รู แผนการจัดการเรียนร ู้ Ëนา้ ท¾่ี ÅเÁÍ× § Dzั น¸รรÁ แÅСÒÃดÓเนÔนªีÇµÔ ã¹Êั§¤Á Á. 4–6
เÅÁ‹ 1 เลม่ นàี้ »¹š สอื่ การเรยี นรทู้ ¨ี่ ´Ñ ทÓขน้Ö เพอ่ื ãชเ้ ปน็ แนวทางãนการจดั การเรยี นรโู้ ดยยดÖ ËÅ¡Ñ ¡ÒÃÍÍกแºº
¡ÒÃจัดการเรียนรู้µÒÁแนǤÔด Backward Design ท่ีเน้นผู้เรียนเ»šนÈูนยกÅา§ (Child-centered)
µÒÁËÅÑ¡¡ÒÃเน้นผู้เรียนเ»šนÊÓ¤ัÞ ãห้นักเรียนมีส่วนร่วม㹡Ԩ¡ÃÃÁและกระบวนการเรียนรู้ สามาร¶
สร้างอง¤์¤วามรู้ได้ด้วยµ¹เอง ทั้งเป็นรายบؤ¤ลและ໚¹กลØ่ม บทบาทของ¤รูมีหน้าท่ีเอื้ออÓนวย¤วาม
สะดวกãห้นักเรียน»ÃÐʺผลสÓเรçจ โดยสร้างส¶านการ³์การเรียนรู้ทั้งã¹ห้องเรียนและนอกห้องเรียน
ทÓãห้นักเรียนสามาร¶เชื่อมโยง¤วามรู้ã¹กล่Øมสาระการเรียนรู้อื่น æ ได้ã¹àªÔ§บูร³าการด้วยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย เน้นกระบวนการ¤ิดวิเ¤ราะห์ สังเ¤ราะห์ และÊÃØ»¤วามรู้ด้วยµ¹เอง ทÓãห้นักเรียนได้รับ
การพฒั นาทง้ั ดา้ น¤วามร ู้ ด้าน¤³Ø ธรรม จริยธรรม และ¤า่ นิยมทีด่ ี และด้านทักÉะ/กระบวนการ นÓไปสู่
การอยรู่ ว่ มกนั ã¹สงั ¤มอยา่ งสันµิสขØ
การ¨´Ñ ·Ó¤ู่มือ¤รู แผนการจัดการเรยี นรู้ หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการ´Óà¹¹Ô ชีวิµã¹สงั ¤ม
เล่มน้ีได้¨Ñ´ทÓµามหลักสµู รแกนกลางการศกÖ Éาขนั้ พนื้ °าน พØทธศกั ราช 2551 «Ö่ง¤รอบ¤ลØมสาระหน้าที่
พลเมือง วัฒนธรรม และการ´Óà¹Ô¹ชีวิµã¹สัง¤ม ภายãนเล่มได้นÓเสนอแผนการจัดการเรียนรู้໚¹
รายช่ัวโมงµามหน่วยการเรียนรู้ เพ่ือãห้¤รูนÓไปãช้ã¹การจัดการเรียนรู้ได้สะดวกยิ่งขÖ้น นอกจากน้ีแµ่ละ
หน่วยการเรียนรู้ยังมีการวัดและ»ÃÐàÁÔ¹ผลการเรียนรู้ท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้าน¤วามรู้ ด้าน¤Ø³ธรรม
จรยิ ธรรม และ¤่านยิ ม และดา้ นทกั Éะ/กระบวนการ ทÓãหท้ ราบผลการเรยี นร้แู µล่ ะหนว่ ยการเรียนรขู้ อง
นกั เรียนได้ทันที
¤ู่มือ ¤รู แผนการ จัดการ เรียนรู้ หน้า ที่ พลเมือง วัฒนธรรม และ การ ดÓเนิน ชีวิµ ãน สัง¤ม เล่ม น้ี
นÓเสนอ เนอ้ื หา แบ่งเ ปน็ 3 µอน ¤ือ

µÍนท ่ี 1 ¤Óª แีé จ§ก ารจ ดั แ ผนการจ ดั การเ รยี นร ู้ ประกอบดว้ ยแ นวท างการã ชแ ้ ผนการจ ดั การเ รยี นร ู้
สัÞลักɳล์ กั ɳะก จิ ก รรมการ เรียนร้ ู การอ อกแบบ การเ รยี นร µู้ ามแ นว¤ิด Backward Design เท¤น¤ิ
และ วธิ กี ารจ ดั การ เรียนรู้–การว ัด และ ประเมนิ ผล µารางว ิเ¤ราะหม์ าµร°าน การ เรยี นร้ ู และ µัวช ้ วี ัด ชว่ งช ้ัน
กับ สาระ การ เรียนรãู้ น หนว่ ยก าร เรียนรู ้ และ โ¤รงสร้าง การแ บ่งเวลาร าย ชัว่ โมงã นก ารจ ัดการเ รยี นรู้
µÍนท่ี 2 แผนการ จัดการ เรียนรู้ ราย ª่ัÇâÁ§ ได้ เสนอ แนะแนว ทางการ จัดการ เรียนรู้ แµ่ละ หน่วย
การเ รยี นรã ู้ น สือ่ ก ารเ รียนร ู้ สมบูร³์แบบ และห นังสอื เ รียน รายวิชา พ้ืน°าน แบ่งเ ป็นแ ผน ย่อยร าย ช่ัวโมง
«งÖ่ แ ผนการจ ดั การเ รยี นรแ ู้ µล่ ะแ ผน มอ ี ง¤ป์ ระกอบ¤ รบ¶ว้ นµ ามแ นวท างการจ ดั ทÓแ ผนการจ ดั การเ รยี นร ู้
ของส ¶านศÖกÉา

µÍนที่ 3 เÍกÊาร/¤ÇาÁรู้เÊรÔÁÊÓËรัº¤รู ประกอบด้วยแบบทดสอบµ่าง æ และ¤วามรู้àÊÃÔÁ
ÊÓËÃºÑ ¤รู «Ö่งบันทÖกŧã¹แผน่ «ดี ี (CD) เพื่ออÓนวย¤วามสะดวกãห้¤รูãช้ã¹การ¨Ñ´¡¨Ô กรรมการเรียนรู้
¤มู่ ือ¤ร ู แผนการจัดการเรยี นร ู้ Ëนา้ ท¾ี่ ÅเÁ×ͧ Çั²น¸รรÁ แÅСÒÃดÓเนนÔ ªÇี µÔ ã¹Êั§¤Á Á. 4–6
เÅ‹Á 1 เลม่ น้ีไดอ้ อกแบบการเรียนรดู้ ว้ ยเท¤น¤ิ และวธิ ีการสอนอยา่ งหลากหลาย หวังว่า¨Ð໹š ประโยชน์
µ่อการ¹Óä»ประยกØ µã์ ชã้ ¹การจัดการเรียนรãู้ หเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนกั เรยี นµอ่ ไป
¤³Ðผจู้ ัดทÓ

4

สารบญั

ตอนท่ี 1 คำชี้แจงการจัดแผนการจัดการเรียนรู ......................................................1

G แนวทางการãชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ......................................................................... 2
G สัÞลกั ɳล์ ักɳะกิจกรรมการเรียนร.ู้ ....................................................................... 5
G การออกแบบการจัดการเรยี นรµู้ ามแนว¤ดิ Backward Design .................................... 6
G เท¤นิ¤และวธิ กี ารจดั การเรยี นรู–้ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร ู้ ..............................17
G µารางวิเ¤ราะหม์ าµร°านการเรียนรู้และ µัวชว้ี ดั ช่วงชั้นกับสาระการเรยี นรู้
ãนหนว่ ยการเรียนรู้......................................................................................................19
G โ¤รงสรา้ งการแบง่ เวลารายชั่วโมงãนการจดั การเรยี นรู้ ................................................20

ตอนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู ............................................................................21

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สังคม ................................................................................................... 22
ผังมโนทัศนเ์ ป้าหมายการเรยี นรแู้ ละขอบข่ายภาระงาน/ชนิ้ งาน............................................22
ผังการออกแบบการจดั การเรียนร ู้ หน่วยการ เรียน ร้ทู ี่ 1.....................................................23

แผนการจดั การเรียนรู้ที ่ 1 โ¤รงสร้างทางสัง¤ม .............................................................26
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 2 การจดั ระเบยี บทางสงั ¤ม......................................................29
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ ี 3 การขดั เกลาทางสัง¤ม...........................................................32
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4 ลกั ɳะสัง¤มไทย...............................................................35

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 การเปล่ียนแปลงและการพฒั นาทางสังคม ................................. 38
ผังมโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรียนรแู้ ละขอบข่ายภาระงาน/ช้ินง าน............................................38
ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนร ู้ท ่ี 2.....................................................39

แผนการจัดการเรยี นรู้ท ่ี 5 การเปลี่ยนแปลงทางสงั ¤ม....................................................42
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ป˜Þหาทางสัง¤ม..................................................................45
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี ่ 7 แนวทางการแกไ้ ขป˜Þหาและพัฒนาทางสงั ¤ม..........................48

5
ห นว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 วฒั นธรรม............................................................................................. 51
ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระงาน/ชิ้นง​าน............................................51
ผังการออกแบบการจดั การเรยี นร​ู้ หนว ยการเรยี นร​ูที่ 3.....................................................52
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 8 วฒั นธรรม..........................................................................55
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 9 วฒั นธรรมไทย....................................................................58
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 วัฒนธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากล.........................................61

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 พลเมอื งด.ี .......................................................................................... 65
ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบขา่ ยภาระงาน/ชิน้ ง​าน............................................65
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้ หนวยการเรยี นร​ทู ่ี 4.....................................................66
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 11 การเป็นพลเมืองด.ี ...............................................................68

6

ตอนที่ 1

คำชีแ้ จงการจดั แผนการจัดการเรียนรู้

สาระที่ 2

หน้าท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวติ ในสงั คม
กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

2 ค่มู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนาที่พลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

1. แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้

ค​ มู ือ​ครู แ​ผนการจ​ัดการ​เรียนรู ​หนา ท​ ​ี่พลเมอื ง ว​ัฒนธรรม แ​ละ​การ​ดำเนิน​ชีวติ ใ​น​สังคม ​ม.​​4​–6​​
เลม 1​​เ​ลม น​ ี้ จ​ดั ท​ ำขนึ้ เ​พอ่ื เ​ปน แ​นวทางใ​หค​ รใ​ู ชป​ ระกอบการจ​ดั การเ​รยี นรกู ​ ลมุ ส​าระก​ ารเ​รยี นรสู ​งั คมศกึ ษา​
ศาสนา แ​ละว​ฒั นธรรม ช​นั้ ม​ ธั ยมศกึ ษาป​ ท​ ่ี 4​–​6​​ต​ ามห​ ลกั สตู รแ​กนกลางก​ ารศ​ กึ ษาข​นั้ พ​ น้ื ฐาน พ​ ทุ ธศกั ราช​
2​5​5​1​​ซ่ึง​การ​แบง​หนวย​การ​เรียนรูส​ ำหรับ​จัดทำ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูร​าย​ชั่วโมง ​ใน​คูมือ​ครู ​แผนการ​
จดั การเ​รยี นรเู ​ลม น​ แ​้ี บง เ​นอื้ หาเ​ปน 4​​ห​ นว ย ส​ ามารถใ​ชค​ วบคกู ​ บั ส​ อื่ ก​ ารเ​รยี นรู ห​ นา ท​ พ​ี่ ลเมอื ง ว​ฒั นธรรม​
และ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ใน​สังคม ​สมบูรณ​แบบ ​ช้ัน​มัธยมศึกษา​ป​ท่ี ​4​–​6​​เลม ​1​​และ​หนังสือ​เรียน ​รายวิชา​
พ้ืนฐาน ​หนา​ท่ี​พลเมือง ​วัฒนธรรม ​และ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ใน​สังคม ​ช้ัน​มัธยมศึกษา​ป​ที่ ​4​–​6​​เลม ​1​​
ประกอบดวยห​ นว ย​การเ​รียนรู ด​ ังน้ี
​หนวย​การเ​รียนรูท​ ่ี 1​​ส​ ังคม ​
​หนวย​การเ​รยี นร​ทู ่ี ​2​ก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลง​และ​การพ​ ฒั นา​ทางสงั คม ​
​หนวย​การ​เรียนรท​ู ่ี ​3​​วฒั นธรรม ​
​หนวย​การเ​รียนรูท​ ี่ ​4​พ​ ลเมืองด​ ี ​​
​คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูเ​ลมนี้​ไดน​ ำเสนอ​รายละเอียด​ไวค​ รบถวน​ตาม​แนว​ทางการ​จัดทำ​
แผนการจ​ดั การเ​รยี นรู น​ อกจากนย​้ี งั ไ​ดอ​อกแ​บบก​ จิ ก​ รรมการเ​รยี นก​ ารส​อนใ​หน​ กั เรยี นไ​ดพ​ ฒั นาอ​งคค วามร​ู
สมรรถนะ​สำคัญ ​และ​คุณลักษณะ​อัน​พึงประสงค​ไวอ​ ยาง​ครบถวน​ตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​
ขั้น​พื้นฐาน ​พุทธศักราช ​2​5​5​1​​ครู​ควร​ศึกษา​คูมือ​ครู ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูน​ ้ี​ใหล​ ะเอียด​เพื่อ​ปรับ​ใช​
ใหส​ อดคลอ งกบั ​สภาพ​แวดลอ ม ​สถานการณ แ​ละ​สภาพข​องน​ กั เรียน ​
​ ​ใน​แตละ​หนวย​การ​เรียนรูจ​ะ​แบง​แผนการ​จัดการ​เรียนรูอ​ อก​เปนราย​ชั่วโมง ​ซ่ึง​มี​จำนวน​มาก​นอย
​ไมเ​ทา ก​ ัน ​ข้ึน​อยูก​ ับค​ วามย​ าวข​องเ​น้อื หาส​ าระ ​และใ​น​แตละ​หนวยก​ าร​เรยี นรมู ​ ​ีองคป ระกอบด​ งั นี้
​ ​1.​​ผ​ งั ม​ โนทศั นเ​ ปา หมายก​ารเ​รยี นรแ​ู ละข​อบขา ยภ​ าระง​าน แ​สดงข​อบขา ยเ​นอ้ื ห​ าก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรู ​
ทค่ี​ รอบคลุมค​ วามรู ท​ กั ษะ/ก​ ระบวนการ ค​ ณุ ธรรม จ​ริยธรรม ค​ านยิ ม ​และภ​ าระ​งาน/ช​ิน้ งาน
​ ​2​.​​กรอบ​แนวคิด​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​ตาม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n ​(​T​e​m​p​l​a​t​e​
​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​)​​​เปน​กรอบ​แนวคิด​ใน​การ​จัดการ​เรียนรูข​อง​แตละ​หนวย​การ​เรียนรู ​แบง​เปน ​3​​ขั้น​
ไดแ​ ก
​ขน้ั ​ที่ 1 ผ​ ลลัพธ​ปลายทางท​ ่ีต​ องการใ​หเ​กดิ ข​ึน้ กับ​นักเรียน
​ขั้นท​ ่ ี 2 ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู ​ซึ่ง​เปน​หลักฐาน​ท่ี​แสดงวา​นักเรียน​
ม​ีผลการเรยี น​รตู ​ าม​ท่ี​กำหนดไ​วอ​ยา ง​แทจรงิ ​
​ ​ ​ขนั้ ​ท ี่ 3​​ แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​จะ​ระบุ​วา​ใน​แตละ​หนวย​การ​เรียนรูแ​ บง​เปน​แผนการ​จัดการ​
เรยี นรูก​ ​แ่ี ผน ​และแ​ตละแ​ผนใ​ชเ วลาใ​น​การจ​ดั ​กิจกรรมก​ ่ชี​ั่วโมง
​ ​3​.​​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​ราย​ช่ัวโมง ​เปน​แผนการ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​กรอบ​แนวคิด​การ​ออก​แบบ​
การจ​ัดการเ​รียนรตู ​ ามแ​นวคิด B​ a​​c​k​wa​​rd​​​De​​s​ig​​n​ป​ ระกอบดว ย
​ ​ 3​​.1​ ชื่อ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​ประกอบดวย​ลำดับ​ที่​ของ​แผน ​ช่ือ​แผน ​และ​เวลา​เรียน ​เชน​
แผนการ​จดั การเ​รียนรูท​ ่ี 1​​​เรอื่ ง ​โครงสรา งท​ างสงั คม ​เวลา ​2​​ช่ัวโมง

คมู่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 3
​ ​ ​3​.2​ ​สาระสำคัญ ​เปน​ความคิด​รวบยอด​ของ​เน้ือหา​ท่ี​นำมา​จัดการ​เรียนรูใ​น​แตละ​แผนการ​
จดั การ​เรียนรู
​ ​ ​3​.​3 ​ตัว​ชี้​วัด​ชวง​ชั้น ​เปนตัว​ช้ี​วัด​ที่​ใชต​ รวจสอบ​นักเรียน​หลังจาก​เรียนจบ​เนื้อหา​ที่​นำเสนอ​ใน​
แตล ะแ​ผนการ​จดั การเ​รยี นรู ซ​งึ่ ​สอดคลองกบั ​มาตรฐาน​การ​เรยี นรูข​องห​ ลักสูตร
​ ​ ​3.​​4 จ​ดุ ประสงคก​ ารเ​รยี นรู เ​ปน ส​ว นท​ บ​่ี อกจ​ดุ ม​ งุ หมายท​ ต​ี่ อ งการใ​หเ​กดิ ขน้ึ แ​กน​ กั เรยี นภ​ ายหลงั ​
จาก​การ​เรียนจบ​ใน​แตละ​แผน ​ทั้ง​ในดาน​ความรู ​(​K​)​​ดาน​คุณธรรม ​จริยธรรม ​และ​คานิยม ​(​A​)​​ดาน​
ทักษะ/​กระบวนการ ​(​P​)​​ซ่ึง​สอดคลอง​สัมพันธกับ​ตัว​ชี้​วัด​ชวงช้ันและ​เน้ือหา​ใน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​
นั้น ​ๆ​
​ ​ ​3​.5​ การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู ​เปนการ​ตรวจสอบ​ผล​การ​จัดการ​เรียน​รูวา​หลังจาก
​จัดการ​เรียนรูใ​น​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูแ​ ลว ​นักเรียน​มี​พัฒนาการ ​มี​ผลสัมฤทธิ์​ทางการ​เรียน​
ตามเ​ปา หมายท​ คี่ าดหวงั ไ​วห​ รอื ไ​ม แ​ละม​ ส​ี งิ่ ท​ จ​ี่ ะต​ อ งไ​ดร บั ก​ ารพ​ ฒั นาป​ รบั ปรงุ ส​ง เสรมิ ใ​นดา นใ​ดบ​ า ง ด​ งั น​ นั้ ​
ใน​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูจ​ึง​ไดอ​ อก​แบบ​วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ใน​การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​
ดาน​ตาง ๆ​​ของ​นักเรียน​ไวอ​ยาง​หลากหลาย ​เชน ​การ​ทำ​แบบทดสอบ ​การ​ตอบ​คำ​ถาม​ส้ัน ​ๆ​​การ​ตรวจ​
ผลงาน ก​ารส​งั เกตพ​ ฤตกิ รรมท​ งั้ ท​ เ​ี่ ปน ร​ายบคุ คลแ​ละก​ลมุ โ​ดยเ​นน ก​ารป​ ฏบิ ตั ใ​ิ หส​อดคลอ งแ​ละเ​หมาะสมกบั ​
ตวั ช​ว​้ี ัด​และ​มาตรฐาน​การเ​รยี นรู
​วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ใน​การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูเ​หลาน้ี​ครู​สามารถ​นำไป​ใชป​ ระเมิน​
นกั เรยี นไ​ด ท​ ง้ั ใ​นร​ะหวา งก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรแู ​ละก​ ารท​ ำก​ จิ กรรมต​ า ง ๆ​ ​ต​ ลอดจนก​ ารนำค​ วามรไู ​ปใ​ชใ​นช​วี ติ ​
ประจำวัน
3.​​6 สาระ​การ​เรียนรู ​เปน​หัวขอยอย​ที่​นำมา​จัดการ​เรียนรูใ​น​แตละ​แผนการ​จัดการ​เรียนรู​
ซึง่ ส​ อดคลองกับส​ าระ​การเ​รยี นรแู​กนกลาง
​ ​ ​3.​​7 ​แนวทาง​บูรณาการ ​เปนการ​เสนอ​แนะ​แนว​ทางการ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรูใ​น​เรื่อง​ที่​เรียนรู ​
ของแ​ตล ะแ​ผนใ​หเ​ช่ือมโยงส​ มั พันธกับส​ าระก​ าร​เรยี นรูอ​่นื ๆ​ ​ไ​ดแ​ก ภ​ าษาไทย ค​ ณิตศาสตร ว​ิทยาศาสตร​
สุขศึกษา​และ​พลศึกษา ​ศิลปะ ​การ​งานอาชีพ​และ​เทคโนโลยี ​และ​ภาษา​ตางประเทศ ​เพ่ือ​ใหการ​เรียนรู​
สอดคลอง​และ​ครอบคลุมส​ ถานการณจ​รงิ ​
​ ​ ​3.​​8​ กระบวนการจ​ดั การเ​รยี นรู เ​ปน การเ​สนอแ​นวท​ างการจ​ดั ก​ จิ ก​ รรมการเ​รยี นรเู ​นอื้ หาใ​นแ​ตล ะ​
เรื่อง ​โดย​ใชแ​ นวคิด​และ​ทฤษฎี​การ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​ตาม​ความ​เหมาะสม ​ท้ังน้ี​เพื่อ​ใหค​ รู​นำไป​ใชป​ ระโยชน​
ในก​ ารว​างแ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นรไู ​ดอ​ยา งม​ ป​ี ระสทิ ธภิ าพ ซ​งึ่ ก​ ระบวนการจ​ดั การเ​รยี นรปู ​ ระกอบดว ย 5​​ข​น้ั ​
ไดแ​ ก
ขน้ั ​ที่ ​1 นำเ​ขา สูบ​ ทเรยี น ​
​ ​ ​ขน้ั ท​ ่ ี ​2 ​กิจก​ รรมการเ​รยี นรู
​ ​ ​ข้ันท​ ี่ ​3 ฝก ฝนผ​ ูเรียน
​ ​ ​ขนั้ ​ที่ ​4​ นำไปใ​ช
​ ​ ​ ​ข้ันท​ ี่ 5​ สรุป
​ ​ ​3​.​9 ​กิจกรรม​เสนอ​แนะ ​เปน​กิจกรรม​เสนอ​แนะ​สำหรับ​ใหน​ ักเรียน​ไดพ​ ัฒนา​เพิ่มเติม​ในดาน​
ตาง ​ๆ​​นอกเหนือ​จาก​ที่​ไดจ​ัดการ​เรียนรูม​ า​แลว​ใน​ชั่วโมง​เรียน ​กิจกรรม​เสนอ​แนะ​มี ​2​​ลักษณะ ​คือ​
กิจกรรม​สำหรับ​ผูท​ ่ี​มี​ความ​สามารถ​พิเศษ​และ​ตองการ​ศึกษา​คนควา​ใน​เนื้อหา​นั้น ​ๆ​​ใหล​ ึกซ้ึง​กวางขวาง​
ยงิ่ ขึ้น ​และก​ จิ กรรม​สำหรบั ก​ ารเ​รยี นรใู ​หค​ รบต​ าม​เปา หมาย ​ซง่ึ ​มล​ี ักษณะ​เปน การซ​อ ม​เสรมิ

4 คมู่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนาทพี่ ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1
​ ​ ​3.​​1​0​ ​ส่ือ/​แหลง​การ​เรียนรู ​เปน​รายช่ือ​สื่อ​การ​เรียนรูท​ ุก​ประเภท​ท่ี​ใชใ​น​การ​จัดการ​เรียนรู
​ซึ่ง​มี​ท้ัง​ส่ือ​ธรรมชาติ ​ส่ือ​สิ่งพิมพ ​สื่อ​เทคโนโลยี ​และ​สื่อ​บุคคล ​เชน ​หนังสือ ​เอกสาร​ความรู ​รูปภาพ​
เครอื ขาย​อนิ เทอรเนต็ ว​ีดทิ ัศน ป​ ราชญ​ชาวบาน เ​ปน ตน
​ ​ ​3​.​11​​ ​บนั ทกึ ห​ ลงั ก​ารจ​ดั การเ​รยี นรู เ​ปน ส​ว นท​ ใ​ี่ หค​ รบ​ู นั ทกึ ผ​ ลก​ ารจ​ดั การเ​รยี นร​วู า ป​ ระสบค​ วาม​
สำเร็จ​หรือ​ไม ​มี​ปญหา​หรือ​อุปสรรค​อะไร​เกิดข้ึน​บาง ​ไดแ​กไข​ปญหา​และ​อุปสรรค​นั้น​อยางไร ​สิ่ง​ที่​ไมได​
ปฏบิ ตั ต​ิ าม​แผน​มอ​ี ะไร​บา ง ​และข​อเสนอ​แนะส​ ำหรับ​การป​ รับปรุง​แผนการจ​ัดการ​เรียนรคู​ ร้งั ต​ อไป
​นอกจากน้​ียัง​อำนวยค​ วามส​ ะดวก​ใหค​ รู โ​ดยจ​ัดทำแ​บบทดสอบ​ตาง ​ๆ​​และ​ความรูเ​สริม​สำหรับค​ รู​
บนั ทึก​ลง​ในแ​ผน​ซีดี (​​CD​ )​​ป​ ระกอบดว ย
​1​. ​แบบทดสอบ​กอน​เรียน​และ​หลัง​เรียน ​เปน​แบบทดสอบ​เพื่อ​ใชว​ัด​และ​ประเมินผล​นักเรียน
​กอน​การ​จัดการ​เรยี นรแู ​ละ​หลัง​การจ​ดั การเ​รียนรู
​ ​2.​ ​แบบทดสอบ​ปลายภาค ​เปน​แบบทดสอบ​เพ่ือ​ใชว​ัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูป​ ลายป ​3​​ดาน​
ไดแ​ก ​
​ ​ ​2.​​1​ ด​ านค​ วามรู ม​ แี​บบทดสอบท​ ง้ั ท​ เ่ี​ปน แ​บบป​ รนยั ​และแ​บบ​อัตนยั
​ ​ ​2​.​2​ ด​ าน​คณุ ธรรม จ​รยิ ธรรม แ​ละ​คานยิ ม ​เปนตาราง​การป​ ระเมิน
​ ​ ​2​.​3​ ดานท​ กั ษะ/ก​ ระบวนการ เ​ปนตารางก​ าร​ประเมิน
​ ​3​.​ ​ใบ​งาน แ​ บบ​บนั ทึก ​และ​แบบ​ประเมิน​ตาง ​ๆ​​
​ ​4​. เอกสาร/​ความร​เู สริมส​ำหรบั ค​ รู เ​ปน การ​นำเสนอ​ความรูใ​น​เรอ่ื งต​ า ง ​ๆ​แ​กค​ รู เ​ชน ​
​ ​ ​4.​1​ ​มาตรฐานก​ ารเ​รยี นรู ​ตวั ช​ว้ี​ัดช​วง​ช้นั แ​ละ​สาระ​การ​เรยี นรแู ​กนกลาง ​กลุม ​สาระ​การเ​รียนรู​
สังคมศึกษา ​ศาสนา แ​ละ​วัฒนธรรม ​
​ ​ ​4​.2​​ โ​ครงงาน ​(P​ r​o​​je​​ct​​​W​o​rk​​)​
​ ​ ​4.​​3​ แฟม ส​ ะสมผ​ ลงาน (​​Po​​r​tf​o​​l​io​​)​
​ ​ ​4​.​4 ​ผงั ​การอ​อกแ​บบก​ ารจ​ัดการ​เรยี นรตู ​ าม​แนวคิด ​Ba​c​k​w​ ​ar​​d​D​ e​s​i​​gn​​
​ ​ ​4.​​5 ​รูป​แบบ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูร​าย​ช่ัวโมง​ที่​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แนวคิด
​B​ac​​kw​ ​ar​​d​​D​e​si​g​​n​
ครค​ู วรศ​ กึ ษาแ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นรเู ​พอ่ื เ​ตรยี มการส​อนอ​ยา งม​ ป​ี ระสทิ ธภิ าพ จ​ดั ก​ จิ กรรมใ​หน​ กั เรยี น​
ไดพ​ ฒั นา​ครบท​ กุ ​สมรรถนะส​ ำคญั ท​ ่ีก​ ำหนดไ​วใ​นห​ ลกั สตู ร ก​ ลาวค​ อื ส​ มรรถนะ​ใน​การ​สอื่ สาร ก​ าร​คดิ ​การ​
แกปญหา ​การ​ใชท​ ักษะ​ชีวิต ​และ​การใ​ชเ​ทคโนโลยี ​รวมถ​ ึงค​ ณุ ลกั ษณะอ​ันพ​ งึ ประสงคต​ าม​หลกั สูตร ​และ​
กิจกรรม​เสนอ​แนะ​เพื่อ​การ​เรียนรูเ​พิ่มเติม​ใหเ​ต็ม​ตาม​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​แตละคน ​ซ่ึง​ไดก​ ำหนด​ไวใ​น​
แผนการ​จัดการเ​รียนรนู ​ ้​ีแลว
​นอกจากนค​ี้ รส​ู ามารถป​ รบั ปรงุ แ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นรใู ​หส​อดคลอ งกบั ส​ภาพค​ วามพ​ รอ มข​องน​ กั เรยี น​
และส​ถานการณเ​ ฉพาะหนา ไ​ด ซ​ง่ึ จ​ะใ​ชเ​ปน ผ​ ลงานเ​พอ่ื เ​ลอ่ื นว​ทิ ยฐานะไ​ด แ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นรนู ​ ไ​้ี ดอ​ำนวย​
ความส​ ะดวกใ​หค​ รู โ​ดยไ​ดพ​ มิ พโ​ ครงสรา งแ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นรทู ​ อ​่ี อกแ​บบก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรตู ​ ามแ​นวคดิ ​
Ba​c​​k​w​ar​d​​D​ ​es​i​g​​n​ใ​หค​ รเู​พิ่มเติม​เฉพาะ​สวน​ทคี​่ รู​ปรับปรงุ เ​องไ​วด​ วยแ​ลว ​



คมู่ ือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนาท่พี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 5

2. สญั ลกั ษณ์ลกั ษณะกิจกรรมการเรียนรู้

​คมู ือ​ครู ​แผนการจ​ัดการ​เรียนรู ห​ นา ท​ ​พี่ ลเมือง ​วัฒนธรรม ​และ​การ​ดำเนนิ ​ชวี ติ ใ​น​สังคม ม​ .​​4–​6​​
เลม 1​​เ​ลม น​ ส​้ี ามารถใ​ชค​ กู ​ บั ส​อ่ื ก​ ารเ​รยี นรู ห​ นา ท​ พ​่ี ลเมอื ง ว​ฒั นธรรม แ​ละก​ ารด​ ำเนนิ ช​วี ติ ใ​นส​งั คม ส​มบรู ณ​
แบบ ​ม.​​4​–​6​​เลม ​1​​และ​แบบ​ฝก​ทักษะ ​หนา​ท่ี​พลเมือง ​วัฒนธรรม ​และ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ใน​สังคม​
ม.​​4​–​6​​เลม ​1 ​ซึ่ง​ทุก​เลม​ไดก​ ำหนด​สัญลักษณ​กำกับ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูไ​วท​ ุก​กิจกรรม​เพื่อ​ชวย​ใหค​ รู​
และ​นกั เรยี น​ทราบล​ กั ษณะ​ของ​กจิ กรรมน​ นั้ ​ๆ​เ​พอื่ ​การ​จดั ​กิจกรรมใ​หบ​ รรล​ุเปาหมาย ส​ ญั ลักษณ​ลักษณะ​
กจิ ​กรรมการเ​รยี นรมู​ ด​ี ังนี้ ​​

โครงงาน เ​ปน​กิจกรรมท​ ่​มี ุง​พฒั นาการ​คิด ​การ​วาง​แผน แ​ละ​การ​แกป ญ หา

การ​พัฒนา​กระบวนการ​คิด ​เปน​กิจกรรม​ใหน​ ักเรียน​ทำ​เพื่อ​พัฒนา​กระบวนการ​คิด
ด​ า น​ตาง ​ๆ​

การป​ ระยกุ ตใ​ ชใ​ นช​วี ติ ป​ ระจำวนั เ​ปน ก​ จิ กรรมใ​หน​ กั เรยี นน​ ำค​ วามรแู ​ละท​ กั ษะไ​ปป​ ระยกุ ต​
ใชในช​ีวิตป​ ระจำวนั ใ​หเ​กดิ ​ประโยชน​ส งู สดุ

การ​ทำประโยชน​ให​สังคม ​เปน​กิจกรรม​ใหน​ ักเรียน​ปฏิบัติ​ใน​การ​ทำประโยชน​เพื่อ​สังคม​
เพอ่ื ก​ ารอ​ยรู ว มก​ ันใ​นส​ งั คม​อยางม​ ีค​ วาม​สขุ

​การ​ปฏิบัติ​จริง/​ฝก​ทักษะ ​เปน​กิจกรรม​ใหน​ ักเรียน​ไดป​ ฏิบัติ​จริง​หรือ​ฝก​ปฏิบัติ​เพ่ือ​เกิด​
ทักษะอัน​จะ​ชวย​ใหการ​เรียนรูเ​ปนไปตาม​เปาหมาย​อยาง​สมบูรณ​และ​เกิด​ความ​เขา​ใจ​
ทคี่​ งทน

การ​ศึกษา​คนควา/​สืบคน ​เปน​กิจกรรม​ใหน​ ักเรียน​ศึกษา​คนควา​หรือ​สืบคน​ขอมูล​จาก​
แหลง ​การเ​รยี นรตู​ า ง ๆ​ ​เ​พอ่ื ​สรา งอ​งคความรูด​ ว ยต​ นเ​องจ​น​เกิดเ​ปนนสิ ยั

การส​ำรวจ เ​ปน ก​ จิ กรรมใ​หน​ กั เรยี นส​ำรวจร​วบรวมข​อ มลู เ​พอื่ น​ ำมาศ​ กึ ษา ว​เิ คราะห ห​ าเหตุ​
หา​ผล ฝ​ ก​ความเ​ปน ผ​ ูร​อบคอบ ​

ทักษะก​ ารพ​ ูด ​เปน ก​ ิจกรรมใ​หน​ กั เรียนไ​ดพ​ ฒั นา​ทักษะก​ ารพ​ ูด​ประเภทต​ า ง ​ๆ​

ทักษะก​ ารเ​ขียน ​เปน ก​ จิ กรรม​ใหน​ ักเรียน​ไดพ​ ฒั นา​ทกั ษะก​ าร​เขียน​ประเภทต​ าง ​ๆ​

กิจกรรม​สำหรับ​กลุม​พิเศษ ​เปน​กิจกรรม​สำหรับ​ใหน​ ักเรียน​ใชพ​ ัฒนาการ​เรียนรูเ​พิ่มเติม​
เพอ่ื ​การพ​ ฒั นาใ​หเ​ตม็ ต​ าม​ศกั ยภาพ ​

​กิจกรรม​สำหรับ​ซอม​เสริ​ม ​เปน​กิจกรรม​สำหรับ​ใหน​ ักเรียน​ใชเ​รียน​ซอม​เสริม​เพ่ือ​ใหเ​กิด​
การเ​รยี นรตู​ ามตวั ​ชว้ี​ดั ชวงชน้ั

6 คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาท่พี ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

3. การออกแบบการจัดการเรยี นรตู้ ามแนวคิด Backward Design

​การ​จัดการ​เรียนรูห​ รือ​การ​สอน​เปนงาน​ท่ี​ครู​ทุกคน​ตอง​ใชก​ ลวิธี​ตาง ​ๆ​​มากมาย​เพ่ือ​ใหน​ ักเรียน
​สน​ใจ​ที่​จะ​เรียนรูแ​ ละ​เกิดผล​ตาม​ที่​ครู​คาดหวัง ​การ​จัดการ​เรียนรูจ​ัด​เปน​ศาสตร​ท่ี​ตอง​ใชค​ วาม​รูความ​
สามารถต​ ลอดจนป​ ระสบการณอ​ ยา งม​ าก ค​ รบ​ู างคนอ​าจจ​ะล​ ะเลยเ​รอื่ งข​องก​ ารอ​อกแ​บบก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรู ​
หรือ​การ​ออก​แบบ​การ​สอน ​ซ่ึง​เปนงาน​ท่ี​ครู​จะ​ตอง​ทำ​กอน​การ​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​การ​ออก​แบบ​
การจ​ดั การเ​รยี นรทู ​ ำอ​ยา งไร ท​ ำไมจ​งึ ต​ อ งอ​อกแ​บบก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรู ค​ รท​ู กุ คนผ​ า นก​ ารศ​ กึ ษาแ​ละไ​ดเ​รยี นรู ​
เก่ียวกับ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูม​ า​แลว ​ในอดีต​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูจ​ะ​เริ่มตน​จาก​การ​
กำหนด​จุดประสงค​การ​เรียนรู ​การ​วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรู ​การ​ดำเนินการ​จัดการ​เรียนรู ​และ​การ​วัด​
และป​ ระเมนิ ผ​ ลการเรยี นร​ู ป​ จ จบุ นั ก​ ารเ​รยี นรไู ​ดม​ ก​ี ารเ​ปลย่ี นแ​ปลงไ​ปตามส​ ภาพแ​วดลอ ม เ​ศรษฐกจิ แ​ละ​
สงั คม ร​วมท​ งั้ ก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงด​ า นว​ทิ ยาศาสตรแ​ ละเ​ทคโนโลยท​ี เ​ี่ ขา มาม​ บ​ี ทบาทต​ อ ก​ ารเ​รยี นรขู ​องน​ กั เรยี น​
ซ่ึง​นักเรียน​สามารถ​เรียนรูไ​ดจ​าก​ส่ือ​และ​แหลง​การ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​ที่​มี​อยูร​อบตัว ​ดัง​น้ัน​การ​ออก​แบบ​การ​
จัดการ​เรียนรูจ​ ึง​เปน​กระบวนการ​สำคัญ​ที่​ครู​จำเปน​ตอง​ดำเนินการ​ใหเ​หมาะสมกับ​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​
แตละบุคคล
​วิก​กินส​และ​แมกไท ​นักการ​ศึกษา​ชาว​อเมริ​กัน​ไดเ​สนอ​แนวคิด​เกี่ยวกับ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​
เรยี นรู ซ​ง่ึ เ​ขาเ​รยี กวา B​ a​c​k​w​ a​r​d​​D​ e​s​i​g​n​​ซ​งึ่ เ​ปน การอ​อกแ​บบก​ ารจ​ดั การเ​รยี นรทู ​ ค​่ี รจ​ู ะต​ อ งก​ ำหนดผ​ ลลพั ธ​
ปลายทาง​ที่​ตองการ​ใหเ​กิด​ขึ้นกับ​นักเรียน​กอน ​โดย​เขา​ทั้งสอง​ใหช​ื่อวา ​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน ​(​E​n​d​u​r​i​n​g​
​U​n​d​e​r​s​t​a​n​d​i​n​g​)​​เม่ือ​กำหนด​ความ​เขา​ใจ​ท่ี​คงทน​ไดแ​ ลว ​ครู​จะ​ตอง​บอก​ใหไ​ดว​าความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน
​ของ​นักเรียน​น้ี​เกิด​จาก​อะไร ​นักเรียน​จะ​ตอง​มี​หรือ​แสดง​พฤติกรรม​อะไร​บาง ​ครู​มี​หรือ​ใชว​ิธีการ​วัด​อะไร​
บาง​ที่​จะ​บอกวา​นักเรียน​มี​หรือ​แสดง​พฤติกรรม​เหลา​น้ัน​แลว ​จาก​นั้น​ครู​จึง​นึก​ถึง​วิธีการ​จัดการ​เรียนรู​
ที​จ่ ะท​ ำใ​หน​ ักเรียน​เกดิ ค​ วามเ​ขาใ​จ​ที​่คงทนต​ อ ไป

แ​ นวคดิ ​B​ac​​kw​ ​a​rd​​​D​es​​ig​​n​
​Ba​c​​kw​ ​a​r​d​​D​es​​ig​n​​​เปนการอ​อก​แบบก​ าร​จัดการ​เรยี นรทู​ ​ีใ่ ชผ​ ลลัพธป​ ลายทาง​เปนหลกั ซ​่ึงผ​ ลลพั ธ​
ปลาย​ทางนี้​จะ​เกิด​ข้ึนกับ​นักเรียน​ก็ตอเมื่อ​จบ​หนวย​การ​เรียนรู ​ทั้งนี้​ครู​จะ​ตอง​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรู​
โดยใ​ชก​ รอบค​ วามคดิ ท​ เ​ี่ ปน เ​หตเ​ุ ปน ผลม​ ค​ี วามส​ มั พนั ธก​ นั จ​ากน​ นั้ จ​งึ จ​ะล​ งมอื เ​ขยี นแ​ผนการจ​ดั การเ​รยี นร​ู
ขยาย​รายละเอยี ดเ​พิ่มเตมิ ใ​หม​ ีค​ ณุ ภาพแ​ละ​ประสทิ ธภิ าพ​ตอไป
​กรอบ​ความคิด​หลัก​ของ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูโ​ดย ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​​มี​ขั้นตอน​หลัก​
ทส​่ี ำคัญ ​3​​ขั้นตอน ​คอื
​ ​ขนั้ ​ที่ 1​​ก​ ำหนดผ​ ลลพั ธ​ปลายทาง​ทตี่​ อ งการ​ใหเ​กดิ ข​ึน้ กับน​ ักเรียน
​ ​ข้ัน​ท่ี ​2​​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูซ​ึ่ง​เปน​หลักฐาน​ที่​แสดงวา​นักเรียน​มี​ผล
การเรียน​รูต​ าม​ทกี่​ ำหนดไ​วอ​ยา งแ​ทจรงิ
​ ​ขัน้ ​ที่ ​3​​วาง​แผนการจ​ัดการ​เรียนรู

คูม่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ที่พลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 7
ข้นั ​ท่ี 1​​ก​ ำหนด​ผลลพั ธป​ ลายทางท​ ่ต​ี อ งการ​ใหเ​ กดิ ​ขน้ึ กบั น​ ักเรยี น
​กอน​ที่​จะ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ใหเ​กิด​ขึ้นกับ​นักเรียน​น้ัน ​ครู​ควร​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​
ตอไปน้ี
​1.​​ นักเรยี น​ควรจ​ะ​มคี วามรู ค​ วามเ​ขาใ​จ ​และ​สามารถ​ทำ​ส่ิงใ​ด​ไดบ​ าง ​
​ ​2.​​ เ​นอ้ื หาส​ าระใ​ดบ​ า งท​ ม​ี่ ค​ี วามส​ ำคญั ตอ ก​ ารส​ รา งค​ วามเ​ขา ใ​จข​องน​ กั เรยี น แ​ละค​ วามเ​ขา ใ​จท​ ค​ี่ งทน​
(​En​​du​​ri​​ng​​​U​n​de​r​​st​​an​​d​in​g​​)​​ท่ค​ี รู​ตอ งการจ​ดั การ​เรยี นรูใ​หแ​กน​ ักเรยี นม​ อี​ะไร​บา ง
​ ​เมอื่ ​จะต​ อบค​ ำ​ถามส​ ำคญั ​ดังกลาว​ขา งตน ใ​หค​ รนู​ ึก​ถงึ เ​ปา หมาย​ของก​ าร​ศกึ ษา ม​ าตรฐาน​การ​เรยี นรู ​
ดาน​เนื้อหา​ระดับชาต​ทิ ่ี​ปรากฏ​อยูใ​น​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ข้ัน​พื้นฐาน ​พุทธศักราช ​2​5​5​1​​รวม​ท้ัง​
มาตรฐานก​ารเ​รยี นรรู ​ะดบั เ​ขตพ​ น้ื ท​ ก​่ี ารศ​ กึ ษาห​ รอื ท​ อ งถนิ่ ก​ารท​ บท​ วนความค​ าดหวงั ข​องห​ ลกั สตู รแ​กนกลาง​
การ​ศึกษา​ข้ัน​พื้นฐาน ​เน่ืองจาก​มาตรฐาน​แตละ​ระดับ​จะ​มี​ความ​สัมพันธกับ​เนื้อหา​สาระ​ตาง ​ๆ​​ซึ่ง​มี​ความ​
แตกตาง​ลดหล่ัน​กัน​ไป ​ดวย​เหตุนี้​ข้ัน​ท่ี ​1​​ของ ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​​ครู​จึง​ตอง​จดั ​ลำดับ​ความ​สำคัญ​และ​
เลือกผ​ ลลัพธป​ ลายทาง​ของน​ ักเรียน ซ​งึ่ ​เปน​ผลการเรยี นร​ูท​ เี่ กิด​จากค​ วาม​เขา ​ใจท​ ค​ี่ งทนต​ อไป

​ ​ความเ​ขา ใ​จท​ ี​่คงทนข​อง​นกั เรยี น
​ ​ความ​เขา​ใจ​ท่ี​คงทน​คือ​อะไร ​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​เปน​ความรูท​ ี่​ลึกซ้ึง ​ไดแ​ ก ​ความคิด​รวบยอด​
ความส​มั พนั ธ แ​ละห​ ลกั การข​องเ​นอื้ หาแ​ละว​ชิ าท​ น​่ี กั เรยี นเ​รยี นรู ห​ รอื ก​ ลา วอ​กี นยั หนงึ่ เ​ปน ค​ วามรทู ​ อ​่ี งิ เ​นอ้ื หา​
ความรูน​ ้ี​เกิดจ​าก​การส​ ะสม​ขอ มูลต​ า ง ​ๆ​​ของน​ ักเรยี น ​และ​เปนอ​งคความรูท​ ี่​นักเรยี นส​ รา งข้นึ ​ดวยต​ นเ​อง

​การเ​ขียน​ความ​เขา ใ​จท​ ี​ค่ งทน​ใน​การอ​อก​แบบ​การ​จดั การเ​รียนรู
​ ​ถา​ความ​เขา​ใจ​ที่​คงทน​หมาย​ถึง​สาระสำคัญ​ของ​สิ่ง​ที่​จะ​เรียนรูแ​ ลว ​ครู​ควร​จะ​รูวา​สาระสำคัญ​
หมาย​ถึง​อะไร ​คำ​วา ​สาระสำคัญ ​มาจาก​คำ​วา ​C​o​n​c​e​p​t​​ซ่ึง​นักการ​ศึกษา​ของ​ไทย​แปลเปน​ภาษาไทย​วา​
สาระสำคัญ ​ความคิด​รวบยอด ​มโนทัศน ​มโน​มติ ​และ​สังกัป ​แตก​ าร​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรูน​ ิยม​
ใชค​ ำว​า ​สาระสำคญั ​
​สาระสำคญั เ​ปน ข​อ ความท​ แ​่ี สดงแ​กน ห​ รอื เ​ปา หมายเ​กย่ี วกบั เ​รอ่ื งใ​ดเ​รอ่ื งห​ นง่ึ เ​พอ่ื ใ​หไ​ดข​อ สรปุ ร​วม​
และ​ขอ​แตกตาง​เก่ียวกับ​เร่ือง​ใด​เรื่อง​หนึ่ง ​โดย​อาจ​ครอบคลุม​ขอเท็จจริง ​กฎ ​ทฤษฎี ​ประเด็น ​และ​การ​
สรุปส​ าระสำคัญแ​ละข​อความท​ ม​ี่ ีล​ ักษณะ​รวบยอดอ​ยา ง​อน่ื
ประเภท​ของส​าระสำคัญ
​ ​1.​ ​ระดบั ​กวาง ​​(B​ ​r​o​ad​​C​ ​on​​ce​​p​t)​​
​ ​2​.​ ร​ะดับ​การน​ ำไปใ​ช ​​(O​ ​pe​​ra​​ti​​ve​​​Co​​nc​e​p​​t​​หรือ F​​un​c​t​​i​on​a​​l​C​ ​on​c​e​p​t​​)​
​ ​ ตัวอยา งส​ าระสำคญั ​ระดับก​ วาง
​ – ​อำนาจอ​ธิปไตย ค​ ือ อ​ำนาจ​สงู สดุ ​ใน​การ​ปกครอง​ประเทศ
​ ต​ วั อยางส​ าระสำคญั ร​ะดับ​การนำไป​ใช
​ ​ – อำนาจ​อธิปไตย ​คือ ​อำนาจ​สูงสุด​ท่ี​ใชใ​น​การ​ปกครอง​ประเทศ ​แบง​เปน ​3​​อำนาจ ​ไดแ​ก​
อำนาจน​ ติ ิบญั ญัติ ​อำนาจบริหาร ​และอ​ำนาจ​ตุลาการ ​

8 ค่มู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพี่ ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

​ แ​นวท​ างการ​เขียนส​ าระสำคัญ
​ ​1​.​ ใหเ​ขียน​สาระสำคัญ​ของ​ทุก​เรื่อง ​โดย​แยก​เปน​ขอ ​ๆ​​(​จำนวน​ขอ​ของ​สาระสำคัญ​จะ​เทากับ
​จำนวน​เรอื่ ง)​
​ ​2.​​ การเ​ขียน​สาระสำคญั ท​ ด​่ี ค​ี วรเ​ปน​สาระสำคญั ​ระดับก​ าร​นำไป​ใช
​ ​3.​​ สาระสำคัญ​ตอง​ครอบคลุม​ประเด็น​สำคัญ​ครบถวน ​เพราะ​หาก​ขาด​สวน​ใด​ไป​แลว​จะ​ทำ​ให​
นักเรยี น​รับส​ าระสำคัญท​ ่ผี​ ิดไ​ป​ทนั ที
​ ​4​. การ​เขียน​สาระสำคัญ​ที่​จะ​ใหค​ รอบคลุม​ประเด็น​สำคัญ ​วิธีการ​หน่ึง ​คือ ​การ​เขียน​แผนผัง​
สาระสำคัญ

ตัวอยา ง​การเ​ขยี นแ​ผนผังส​ าระสำคัญ​ โครงสรา้ ง
องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั
อำนาจหนา​ ที่
รูปแบบองค์กรปกครอง เทศบาล โครงสร้าง
ส่วนทอ้ งถ่นิ ของไทย องค์การบรหิ ารส่วนตำบล
อำนาจหน​าท่ี
เมอื งพทั ยา โครงสรา้ ง

กรงุ เทพมหานคร​ อำนาจหนา​ ท่ี
โครงสรา้ ง

อำนาจหน​า ท่ี
โครงสร้าง

อำนาจหน​าที​่

ส​าระสำคญั ข​องร​ปู แ​บบอ​งคก รป​ กครองส​ว นท​ อ งถน่ิ ข​องไ​ทย:​อ​งคก รป​ กครองส​ว นท​ อ งถน่ิ ข​องไ​ทย​
มี ​5​​รูป​แบบ ​คือ ​องคการ​บริหาร​สวน​จังหวัด ​เทศบาล ​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล ​เมืองพัท​ยา ​และ​
กรงุ เทพมหานคร แ​ตล ะร​ปู ​แบบจ​ะ​มโี​ครงสรางแ​ละ​อำนาจ​หนา ​ท​่เี ปน ของต​ น​เอง
​ ​5.​​ การ​เขียน​สาระสำคัญ​เก่ียวกับ​เรื่อง​ใด​ควร​เขียน​ลักษณะเดน​ที่​มองเห็น​ไดห​ รือ​นึกไดอ​ อกมา
เ​ปน​ขอ ​ๆ​​แ​ลว จ​ำ​แนกล​ กั ษณะ​เหลา​น้ัน​เปน ​ลักษณะ​จำเพาะ​และ​ลักษณะ​ประกอบ
​ ​6.​​ การเ​ขยี นข​อ ความท​ เ​่ี ปน ส​าระสำคญั ค​ วรใ​ชภ​ าษาท​ ม​่ี ก​ี ารข​ดั เกลาอ​ยา งด​ ี ​เ​ลย่ี งค​ ำท​ ม​ี่ คี วามหมาย​
กำกวม​หรอื ฟ​ ุมเฟอ ย ​

คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนาทพี่ ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 9

ต​ ัวอยา งก​ าร​เขียน​สาระสำคญั ​เรอื่ ง ​แมลง

แ​ มลง​ ลักษณะจำเพาะ ลักษณะประกอบ
มีสี – 3
มี 6 ขา 3 –
มพี ิษ – 3
ร้องได้ –
มปี ีก 3 3
ลำตวั เป็นปล้อง –
มีหนวดคลำทาง 2 เสน้ 3 –
เปนอาหาร​ได –​
ไมม​ ก​ี ระดกู สันหลัง 3 3
– –
3

​สาระสำคัญ​ของ​แมลง:​​แมลง​เปน​สัตว​ไมมี​กระดูก​สันหลัง ​ลำตัว​เปน ​3​​ปลอง ​มี ​6​​ขา ​มี​หนวด​
คลำ​ทาง 2​​​เสน ​ม​ปี ก ​2​​ปก ต​ ัวม​ ส​ี ​ีตาง​กัน บ​ างชนดิ ​รอ งไ​ด ​บางชนดิ ​ม​ีพษิ แ​ละ​บางชนดิ เ​ปนอ​าหาร​ได

ข​น้ั ​ท่ี ​2 กำหนดภ​ าระง​านแ​ ละก​ารป​ ระเมนิ ผ​ ลการเรยี นร​ซ​ู ง่ึ เ​ปน ห​ ลกั ฐานท​ แ​่ี สดงวา น​ กั เรยี นมผ​ี ลการเรยี นร​ู
ตาม​ทก่​ี ำหนดไ​วอ​ยา งแ​ ทจ ริง ​
​เมอ่ื ค​ รก​ู ำหนดผ​ ลลพั ธป​ ลายทางท​ ต​่ี อ งการใ​หเ​กดิ ข​นึ้ กบั น​ กั เรยี นแ​ลว ก​ อ นท​ จ​ี่ ะด​ ำเนนิ การข​นั้ ต​ อ ไป​
ขอ​ใหค​ รต​ู อบ​คำ​ถามส​ ำคัญ​ตอไปนี้ ​
​ – ​นักเรียน​มี​พฤติกรรม​หรือ​แสดงออก​ใน​ลักษณะ​ใด ​จึง​ทำ​ใหค​ รู​ทราบ​วา​นักเรียน​บรรลุ​ผลลัพธ​
ปลายทางต​ าม​ที่​กำหนดไ​วแ​ลว
​ ​– ​ครู​มี​หลักฐาน​หรือ​ใชว​ ิธีการ​ใด​ท่ี​สามารถ​ระบุ​ไดว​ า​นักเรียน​มี​พฤติกรรม​หรือ​แสดงออก​ตาม​
ผลลัพธป​ ลายทางท​ ี​่กำหนดไ​ว
​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​​เนน​ใหค​ รู​รวบรวม​หลักฐาน
​การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูท​ ี่​จำเปน​และ​มี​หลักฐาน​เพียงพอ​ที่​จะ​กลาว​ไดว​า ​การ​จัดการ​เรียนรูท​ ำ​ให​
นักเรียน​เกิด​ผลสัมฤทธิ์​แลว ​ไมใ​ชเ​รียน​แคใ​หจ​บ​ตาม​หลักสูตร​หรือ​เรียน​ตาม​ชุด​ของ​กิจ​กรรมการ​เรียนรู​
ท่ี​ครู​กำหนด​ไวเ​ทา​นั้น ​วิธีการ​ของ ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​​ตองการ​กระตุน​ใหค​ รู​คิด​ลวงหนา​วา ครู​ควร​จะ​
กำหนดแ​ละร​วบรวมห​ ลกั ฐานเ​ชงิ ประจกั ษอ​ะไรบ​ า งก​ อ นท​ จ​่ี ะอ​อกแ​บบห​ นว ยก​ ารเ​รยี นรู โ​ดยเฉพาะอ​ยา งยง่ิ ​
หลักฐาน​ดังกลาว​ควร​จะ​เปน​หลักฐาน​ท่ี​สามารถ​ใชเ​ปน​ขอมูล​ยอนกลับ ​​ท่ี​มี​ประโยชน​สำหรับ​ผูเรียน​และ​
ครู​ไดเ​ปน​อยาง​ดี ​นอกจากน้ี​ครู​ควร​ใชว​ิธีการ​วัด​และ​ประเมิน​แบบ​ตอเนื่อง​อยาง​ไมเ​ปนทางการ​และ​
เปน ทางการ ต​ ลอดร​ะยะเวลาท​ ค​ี่ รจ​ู ดั ก​ จิ ก​ รรมการเ​รยี นรใู ​หแ​กน​ กั เรยี น ซ​ง่ึ ส​อดคลอ งกบั แ​นวคดิ ท​ ต​ี่ อ งการ​
ใหค​ รทู​ ำการ​วัดแ​ละ​ประเมินผ​ ลการเรียนร​ูร​ะหวา ง​การจ​ดั ​กจิ ก​ รรมการ​เรียนรูท​ เ่​ี รียกวา ส​ อนไ​ปว​ัดผล​ไป

10 คมู่ ือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ท่ีพลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
​จงึ ก​ ลา วไ​ดว​า ข​นั้ น​ ค​ี้ รค​ู วรน​ กึ ถ​ งึ พ​ ฤตกิ รรมห​ รอื ก​ ารแ​สดงออกข​องน​ กั เรยี น โ​ดยพ​ จิ ารณาจ​ากผ​ ลงาน​
หรอื ช​น้ิ งานท​ เ​่ี ปน ห​ ลกั ฐานเ​ชงิ ประจกั ษ ซ​งึ่ แ​สดงใ​หเ​หน็ วา น​ กั เรยี นเ​กดิ ผ​ ลลพั ธป​ ลายทางต​ ามเกณฑท​ ก​่ี ำหนด​
ไวแ​ ลว ​และ​เกณฑ​ท่ี​ใชป​ ระเมิน​ควร​เปน​เกณฑ​คุณภาพ​ใน​รูป​ของ​มิติ​คุณภาพ ​(​R​u​b​r​i​c​s​)​​อยางไร​ก็ตาม​
ครู​อาจ​จะ​มี​หลักฐาน​หรือ​ใชว​ิธีการ​อ่ืน ​ๆ​​เชน ​การ​ทดสอบ​กอน​และ​หลัง​เรียน ​การ​สัมภาษณ ​การ​ศึกษา​
คน ควา ​การฝ​ ก​ปฏบิ ตั ขิ​ณะเ​รียนรปู ​ ระกอบดวยก​ ็ได

​การ​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู​ซ่ึง​เปน​หลักฐาน​ท่ี​แสดงวา​นักเรียน​มี​ผล
การ​เรยี นรูต​ ามผ​ ลลัพธป​ ลายทางท​ ี่​กำหนดไ​ว​แ ลว
​หลังจาก​ท่ี​ครู​ไดก​ ำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ใหเ​กิด​ข้ึนกับ​นักเรียน​แลว ​ครู​ควร​กำหนด​
ภาระง​านแ​ละว​ธิ กี ารป​ ระเมนิ ผ​ ลการเรยี นร​ู ซ​ง่ึ เ​ปน ห​ ลกั ฐานท​ แ​่ี สดงวา น​ กั เรยี นม​ ผ​ี ลการเรยี นร​ตู ​ ามผ​ ลลพั ธ​
ปลายทางท​ ี​่กำหนดไ​วแ​ลว
​ ​ภาระ​งาน ​หมาย​ถึง ​งาน​หรือ​กิจกรรม​ท่ี​กำหนด​ใหน​ ักเรียน​ปฏิบัติ ​เพื่อ​ใหบ​ รรลุ​ตาม​จุดประสงค​
การ​เรียนรู/​ตัว​ช้ี​วัด​ชวง​ชั้น/​มาตรฐาน​การ​เรียนรูท​ ่ี​กำหนด​ไว ​ลักษณะ​สำคัญ​ของ​งาน​จะ​ตอง​เปนงาน​
ท่ี​สอดคลองกับ​ชีวิตจริง​ใน​ชีวิต​ประจำวัน ​เปน​เหตุการณ​จริง​มากกวา​กิจกรรม​ท่ี​จำลอง​ข้ึน​เพื่อ​ใชใ​น​การ​
ทดสอบ ​ซึ่ง​เรียกวา ​งาน​ท่ี​ปฏิบัติ​เปนงาน​ที่​มีความหมาย​ตอ​ผูเรียน ​(​M​e​a​n​i​n​g​f​u​l​​T​a​s​k​)​​นอกจากนี้​งาน​
และ​กิจกรรม​จะ​ตอง​มี​ขอบเขต​ท่ี​ชัดเจน ​สอดคลองกับ​จุดประสงค​การ​เรียนรู/​ตัว​ช้ี​วัด​ชวงชั้น/​มาตรฐาน​
การเ​รียนรทู ​ ี่ต​ องการ​ใหเ​กดิ ข​นึ้ กบั น​ กั เรียน
​ ​ทั้งน้ี​เม่ือ​ไดภ​ าระ​งาน​ครบถวน​ตาม​ที่​ตองการ​แลว ​ครู​จะ​ตอง​นึก​ถึง​วิธีการ​และ​เครื่องมือ​ที่​จะ​ใชว​ัด​
และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูข​อง​นักเรียน​ซึ่ง​มี​อยูม​ ากมาย​หลายประเภท ​ครู​จะ​ตอง​เลือก​ใหเ​หมาะสมกับ​
ภาระง​านท​ นี่​ ักเรียน​ปฏิบตั ิ ​
​ ​ตัวอยาง​ภาระ​งาน​เร่ือง  โครงสราง​ทางสังคม ​รวม​ท้ัง​การ​กำหนด​วิธีการ​วัด​และ​ประเมิน​ผล
การเรยี น​รขู​อง​นักเรียนด​ งั ต​ าราง ​​

ตัวอยา่ ง ภาระงาน/ชิน้ งาน แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง โ​ครงสรางท​ างสังคม​

สาระท​ ่ี ​2​​:​​หนา​ทพ่ี​ ลเมือง ว​ฒั นธรรม ​และ​การด​ ำเนิน​ชวี ติ ใ​นส​งั คม
​มาตรฐาน ​ส ​2​.1​​:​​ ​เขา​ใจ​และ​ปฏบิ ัตติ นต​ าม​หนาท​ ข​่ี องก​ าร​เปนพ​ ลเมอื งด​ ี ​มค​ี านยิ ม​ทด​่ี ีงาม​และ​ธำรงรกั ษาป​ ระเพณีแ​ละว​ัฒนธรรมไ​ทย ดำรงชีวิตอ​ยูร วม​กันใ​น​
สังคม​ไทย​และส​ งั คมโ​ลกอ​ยางส​ ันตสิ ุข

จดุ ประสงค​ สาระการ​เรียนร​ู ภาระงาน/ การ​วัดแ​ ละป​ ระเมนิ ผ​ ล กิจกรรม​ สือ่ การเรียนร​ู
การเรยี น​ร​ู ชิ้น​งาน ว​ิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ การเรยี นร​ู 1. ภาพ​
การอภิปราย
• วเิ คราะห​ • โครงสราง 1. อภปิ ราย​ 1. ตรวจแ​บบ​ 1. แบบ​บันทึก​ เกณฑค​ ุณภาพ ครอบครวั
ความ​สำคัญ​ ​ทางสังคม เกย่ี วกับ​ บนั ทกึ ผ​ ลก​ าร​ ผลก​ าร​ 4 ระดบั และก​ ลมุ ​
ของ​โครงสรา ง​ 1. ความ​หมาย​ โครงสราง​ อภิปราย อภปิ ราย เพ่อื น คู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนาท่ีพลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 11
ทางสังคม การ​ ของ​โครง- สังคม 2. ตรวจ​ใบง​าน 2. ใบง​าน​เร่อื ง เกณฑ​คณุ ภาพ 2. แบบบ​ นั ทกึ ​ผล​
ขัดเกลา​ สราง​ทาง โครงสรา ง​ 4 ระดบั การ​อภิปราย
ทางสังคม สังคม ทางสังคม 3. ใบง​าน​เร่ือง
​ และก​ าร​ 2. ลกั ษณะ​ของ​ 3. สงั เกตก​ าร 3. แบบ​สงั เกต เกณฑ​คณุ ภาพ โครงสรา ง​
เปล่ยี นแปลง​ โครงสราง ท​ ำงาน​กลุม การ​ทำงาน 4 ระดับ ทางสังคม
ทางสังคม ​ทางสงั คม กลมุ
3. องคประ-
กอบ​ของ
​ โครงสรา ง
​ทางสังคม

12 คมู่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
​ ​ความเ​ขา​ใจ​ท่​คี งทนจ​ะเ​กดิ ขนึ้ ไ​ด น​ กั เรียนจ​ะ​ตอ งม​ ีค​ วาม​สามารถ ​6​ป​ ระการ ​ไดแ​ก
​ ​1​.​ ​การอ​ธบิ าย ช​แ​้ี จง เ​ปน ความส​ามารถท​ น​ี่ กั เรยี นแ​สดงออกโ​ดยก​ ารอ​ธบิ ายห​ รอื ช​แ​ี้ จงใ​นส​งิ่ ท​ เ​่ี รยี นรู ​
ไดอ​ยาง​ถูกตอง ​สอดคลอง ​มเี หตุมีผล ​และเ​ปน ระบบ
​ ​2.​​ ​การแ​ ปลความแ​ ละต​ คี วาม เ​ปน ความส​ามารถท​ น​ี่ กั เรยี นแ​สดงออกโ​ดยก​ารแ​ปลความแ​ละต​ คี วาม​
ไดอ​ยา งม​ คี วามหมาย ต​ รงประเด็น ก​ ระจาง​ชัด แ​ละท​ ะลุป​ รุโปรง
​ ​3​.​ ​การ​ประยุกต ​ดดั แ​ ปลง ​และ​การนำไป​ใช เ​ปน ความส​ ามารถท​ ่น​ี กั เรยี นแ​สดงออกโ​ดยก​ ารนำส​ ิ่ง
​ทไ​ี่ ดเ​รยี นรไู ​ปสกู ​ ารป​ ฏิบัต​ิไดอ​ยาง​มปี​ ระสทิ ธผิ ล ม​ ​ีประสทิ ธิภาพ แ​ละ​คลอง​แคลว ​​​
​ ​4.​​ การม​ ม​ี มุ มองท​ ห​ี่ ลากหลาย เ​ปน ความส​ามารถท​ น​ี่ กั เรยี นแ​สดงออกโ​ดยก​ ารม​ ม​ี มุ มองท​ น​ี่ า เ​ชอ่ื ถอื ​
เปนไปได ​มคี​ วามล​ กึ ซง้ึ ​แจมชัด แ​ละแ​ปลก​ใหม
​ ​5​.​ การ​ให​ความ​สำคัญ​และ​ใส​ใจ​ใน​ความรูสึก​ของ​ผูอื่น ​เปนความ​สามารถ​ที่​นักเรียน​แสดงออก​
โดย​การ​มี​ความ​ละเอียด​รอบคอบ ​เปดเผย ​รับฟง​ความ​คิดเห็น​ของ​ผูอื่น ​ระมัดระวัง​ท่ี​จะ​ไมใ​หเ​กิด​
ความก​ ระทบก​ ระเทือน​ตอ​ผอู ืน่ ​​​
​ ​6.​​ ​การ​รูจัก​ตน​เอง ​เปนความ​สามารถ​ที่​นักเรียน​แสดงออก​โดย​การ​มี​ความ​ตระหนัก​รู ​สามารถ​
ประมวลผลข​อมูล​จากแ​หลง​ทห่​ี ลากหลาย ป​ รับตวั ​ได ร​ูจักใ​ครค รวญ ​และ​ม​คี วาม​เฉลียวฉลาด ​​​
​นอกจากนห​้ี ลกั สตู รแ​กนกลางก​ ารศ​ กึ ษาข​นั้ พ​ น้ื ฐาน พ​ ทุ ธศกั ราช 2​5​5​1​​ไ​ดก​ ำหนดส​ มรรถนะส​ ำคญั ​
ของ​นักเรยี น​หลังจาก​สำเรจ็ ​การศ​ ึกษา​ตามห​ ลกั สูตร​ไว ​5​​ประการ ​ดังน้ี
​ 1​.​​ค​ วามส​ามารถใ​นก​ ารส​อ่ื สาร เ​ปน ความส​ ามารถใ​นก​ ารร​บั แ​ละส​ง สาร ม​ ว​ี ฒั นธรรมใ​นก​ ารใ​ชภ​ าษา​
ถายทอด​ความคิด ​ความ​รูความ​เขา​ใจ ​ความรูสึก ​และ​ทัศนะ​ของ​ตน​เอง ​เพ่ือ​แลกเปลี่ยน​ขอมูล​ขาวสาร​
และ​ประสบการณ ​อัน​จะ​เปน​ประโยชน​ตอ​การ​พัฒนา​ตน​เอง​และ​สังคม ​รวม​ทั้ง​การ​เจรจา​ตอรอง​เพื่อ​ขจัด​
และล​ ดป​ ญหาค​ วามข​ัดแ​ยงต​ าง ​ๆ​ก​ ารเ​ลอื กร​บั ห​ รือไ​มร บั ข​อมูลข​าวสารด​ ว ยห​ ลกั เ​หตผุ ลแ​ละค​ วามถ​ ูกตอง​
ตลอดจน​การ​เลือก​ใชว​ิธกี ารส​ ื่อสารท​ มี่​ ี​ประสทิ ธภิ าพ ​โดยค​ ำนึง​ถึงผ​ ลกระทบท​ ่ี​ม​ตี อต​ นเ​องแ​ละ​สงั คม
​ ​2​.​​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด ​เปนความ​สามารถ​ใน​การ​คิด​วิเคราะห ​การ​คิด​สังเคราะห ​การ​คิด​
อยาง​สรางสรรค ก​ ารค​ ดิ อ​ยา งม​ ว​ี ิจารณญาณ ​และ​การค​ ิด​อยา งเ​ปน ระบบ ​เพือ่ น​ ำไปสูก​ ารส​ ราง​องคความรู ​
หรือ​สารสนเทศ​เพื่อก​ าร​ตัดสนิ ใ​จเ​กี่ยวกบั ต​ น​เอง​และส​ ังคม​ไดอ​ยา ง​เหมาะสม
3​​.​ ความส​ามารถใ​นก​ ารแ​ กป ญ หา เ​ปน ความส​ ามารถใ​นก​ ารแ​กป ญ หาแ​ละอ​ปุ สรรคต​ า ง ๆ​ ​ท​ เ​่ี ผชญิ ​
ไดอ​ยา ง​ถูกตอ ง​เหมาะสม​บนพ​ ื้นฐาน​ของห​ ลกั เ​หตุผล ค​ ณุ ธรรมแ​ละ​ขอมูล​สารสนเทศ ​เขา ใ​จความ​สัมพนั ธ​
และก​ ารเ​ปล่ียน​แปลง​ของเ​หตุการณ​ต าง ​ๆ​​ใน​สังคม แ​สวงห​ าความรู ป​ ระยุกต​ความรูม​ า​ใชใ​นก​ าร​ปองก​ นั ​
และ​แกไข​ปญหา ​และ​มี​การ​ตัดสิน​ใจ​ท่ี​มี​ประสิทธิภาพ​โดย​คำนึง​ถึง​ผลกระทบ​ท่ี​เกิดข้ึน​ตอ​ตน​เอง ​สังคม​
และส​ ง่ิ แ​วดลอ ม
4​.​​ ความส​ามารถใ​นก​ ารใ​ชท​ กั ษะช​วี ติ เ​ปน ความส​ ามารถใ​นก​ ารนำก​ ระบวนการต​ า ง ๆ​ ​ไ​ปใ​ชใ​นก​ าร​
ดำเนิน​ชีวิต​ประจำวัน ​การ​เรียนรูด​ วย​ตน​เอง ​การ​เรียนรูอ​ ยาง​ตอเนื่อง ​การ​ทำงาน ​และ​การ​อยูรวม​กัน
​ในส​ ังคม ​ดวย​การ​สรางเสริม​ความส​ ัมพนั ธ​อันด​ ​ีระหวาง​บคุ คล ​การจ​ัดการ​ปญ หา​และค​ วาม​ขดั ​แยง ต​ า ง ​ๆ​​
อยา งเ​หมาะสม ก​ ารป​ รบั ตวั ใ​หท​ นั ก​ บั ก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงข​องส​งั คมแ​ละส​ภาพแ​วดลอ ม แ​ละก​ ารร​จู กั ห​ ลกี เลย่ี ง​
พฤติกรรมท​ ไ​่ี มพ​ ึงประสงค​ซึ่ง​จะ​สงผลกระทบ​ตอ ต​ น​เองแ​ละ​ผูอ น่ื

คู่มือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาทีพ่ ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 13
5​​. ค​ วามส​ามารถใ​นก​ ารใ​ชเ​ ทคโนโลยี เ​ปน ความส​ ามารถใ​นก​ ารเ​ลอื กแ​ละใ​ชเ​ทคโนโลยด​ี า นต​ า ง ๆ​ ​
มี​ทักษะ​กระบวนการ​ทาง​เทคโนโลยี ​เพ่ือ​การ​พัฒนา​ตน​เอง​และ​สังคม​ในดาน​การ​เรียนรู ​การ​สื่อสาร​
การท​ ำงาน ​การแ​กป ญหาอ​ยา งส​ รางสรรค ถ​ กู ตอง เ​หมาะสม ​และม​ ​ีคณุ ธรรม
​นอกจาก​สมรรถนะ​สำคัญ​ของ​นักเรียน​หลังจาก​สำเร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร​ท่ี​กลาว​แลว​ขางตน​
หลกั สตู รแ​กนกลาง​การศ​ กึ ษาข​ัน้ ​พนื้ ฐาน พ​ ุทธศักราช ​25​​5​1​ไ​ดก​ ำหนด​คุณลกั ษณะอ​นั พ​ งึ ประสงคเ​พือ่ ใ​ห​
สามารถ​อยูร​ว มกบั ผ​ อู ่นื ใ​น​สังคม​ไดอ​ยา ง​มค​ี วาม​สุข​ใน​ฐานะ​เปน ​พลเ​มอื งไทยแ​ละ​พลโลก ​ดงั นี้
​ ​1​. รัก​ชาติ ศ​ าสน ก​ ษตั ริย
​ ​2.​​ ซอื่ สัตย​สุจริต
​ ​3​.​ ม​ีวินัย
​ ​4.​​ ใ​ฝ​เรยี นรู
​ ​5.​​ อยูอ​ยางพ​ อเพียง
​ ​6.​​ มงุ มั่นใ​นก​ าร​ทำงาน ​
​ ​7.​​ ร​กั ​ความ​เปน ​ไทย ​
​ ​8.​​ ม​ ​ีจติ ส​ าธารณะ
​ดัง​นั้น​การ​กำหนด​ภาระ​งาน​ใหน​ ักเรียน​ปฏิบัติ ​รวม​ทั้ง​การ​เลือก​วิธีการ ​เครื่องมือ​วัด​และ​ประเมิน​
ผลการเรยี น​รูน​ น้ั ค​ รคู​ วรค​ ำนึงถ​ ึงค​ วามส​ ามารถ​ของน​ กั เรียน ​6​​ประการ​ตาม​แนวคิด B​ a​​c​kw​ ​a​rd​​​D​e​si​​gn​
​สมรรถนะ​สำคัญ ​และ​คุณลักษณะ​อัน​พึงประสงค​ของ​นักเรียน​หลังจาก​สำเร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร
​ที่​ไดก​ ลาว​ไวข​ างตน ​เพื่อ​ใหภ​ าระ​งาน ​วิธีการ ​และ​เครื่องมือ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูค​ รอบคลุม​
สงิ่ ท​ สี่​ ะทอนผ​ ลลพั ธ​ปลายทางท​ ต​่ี องการใ​หเ​กิดข​ึ้นกบั น​ กั เรยี น​อยางแ​ทจ รงิ
​ ​นอกจากน้ี​การอ​อกแ​บบก​ ารจ​ดั การ​เรยี นรตู ​ าม​แนวคดิ B​ a​​ck​w​ ​ar​d​​d​​es​​i​gn​​​ใน​ข้ันท​ ี่ ​2​น​ ้ี ค​ ร​จู ะ​ตอ ง​
คำนึง​ถึง​ภาระ​งาน ​วิธีการ ​เคร่ืองมือ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูท​ ่ี​มี​ความเ​ที่ยง​ตรง ​ความ​เชื่อถือ​ได​
มีป​ ระสิทธภิ าพ ​ตรง​กับส​ ภาพ​จรงิ ​มคี​ วามย​ ดื หยนุ แ​ละ​ใหค​ วาม​สบาย​ใจแ​กน​ กั เรียนเ​ปน สำคัญ
​​
​ข้ัน​ที่ 3​​ว​าง​แผนการ​จัดการ​เรยี นรู
​เม่ือ​ครู​มีความรูค​ วาม​เขา​ใจ​ท่ี​ชัดเจน​เกี่ยวกับ​การ​กำหนด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ที่​ตองการ​ใหเ​กิด​ขึ้นกับ​
นักเรียน ​รวม​ท้ัง​กำหนด​ภาระ​งาน​และ​การ​ประเมิน​ผลการเรียน​รูซ​่ึง​เปน​หลักฐาน​ท่ี​แสดงวา​นักเรียน​เกิด​
การ​เรียนรูต​ าม​ที่​กำหนด​ไวอ​ ยาง​แทจริง​แลว ​ขั้น​ตอไป​ครู​ควร​นึก​ถึง​กิจ​กรรมการ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​ที่​จะ​จัด​
ใหแ​ กน​ ักเรียน ​การ​ที่​ครู​จะ​นึก​ถึง​กิจกรรม​ตาง ​ๆ​​ท่ี​จะ​จัด​ใหน​ ักเรียน​ไดน​ ั้น ​ครู​ควร​ตอบ​คำ​ถาม​สำคัญ​
ตอไปน้ี
​ ​– ​ถา​ครู​ตองการ​จะ​จัดการ​เรียนรูใ​หน​ ักเรียน​เกิด​ความรูเ​กี่ยวกับ​ขอเท็จจริง ​ความคิด​รวบยอด​
หลกั การ แ​ละท​ กั ษะก​ ระบวนการต​ า ง ๆ​ ​ท​ จ​ี่ ำเปน ส​ำหรบั น​ กั เรยี น ซ​งึ่ จ​ะท​ ำใ​หน​ กั เรยี นเ​กดิ ผ​ ลลพั ธป​ ลายทาง​
ตาม​ที่ก​ ำหนด​ไว ร​วมท​ ั้ง​เกิดเ​ปน ความเ​ขา​ใจท​ ค่​ี งทน​ตอไป​นัน้ ​ครส​ู ามารถจ​ะ​ใชว​ธิ ีการง​า ย ​ๆ​​อะไร​บา ง ​
​ – กจิ ก​ รรมการเ​รียนรทู​ จี​่ ะ​ชวยเ​ปน​สื่อ​นำใ​หน​ กั เรียนเ​กิดค​ วามรูแ​ละ​ทกั ษะ​ท่​ีจำเปน ม​ อ​ี ะไรบ​ าง ​
​ – ส่ือ​และ​แหลง​การ​เรียนรูท​ ่ี​เหมาะสม​และ​ดี​ท่ีสุด ​ซ่ึง​จะ​ทำ​ใหน​ ักเรียน​บรรลุ​ตาม​มาตรฐาน​ของ​
หลกั สตู รม​ ี​อะไร​บาง

14 คูม่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ท่ีพลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1
​ –​ กิจ​กรรมการ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​ท่ี​กำหนด​ไวค​ วร​จัด​กิจกรรม​ใด​กอน​และ​ควร​จัด​กิจกรรม​ใด​
ภายหลงั
​ – กิจกรรม​ตาง ​ๆ​​ออก​แบบ​ไวเ​พื่อ​ตอบสนอง​ความ​แตกตาง​ระหวาง​บุคคล​ของ​นักเรียน​หรือ​ไม​
เพราะเ​หตุ​ใด
การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​เพ่ือ​ใหน​ ักเรียน​เกิด​ผลลัพธ​ปลายทาง​ตาม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​
​D​e​s​i​g​n​​นั้น ​วิก​กินส​และ​แมกไท​ไดเ​สนอ​แนะ​ใหค​ รู​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียนรูโ​ดย​ใชแ​ นวคิด​ของ​
W​HE​ R​ E​ ​TO​ ​(​​ไปท​ ี่ไหน)​​ซึ่ง​มรี​ายละเอยี ด​ดังน้ี
​W ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูท​ ่ี​จัด​ใหน​ ้ัน​จะ​ตอง​ชวย​ใหน​ ักเรียน​รูวา​หนวย​การ​เรียนรูน​ ี้​จะ​ดำเนิน​ไป​
ในท​ ศิ ทางใ​ด (​W​ h​e​r​e​)​​แ​ละส​ ง่ิ ท​ ค่ี าดหวงั ค​ อื อ​ะไร (​W​ h​a​t​)​​ม​ อ​ี ะไรบ​ า ง ช​ว ยใ​หค​ รทู​ ราบว​า น​ กั เรยี นม​ คี วามรู​
พื้นฐานแ​ละค​ วามส​ น​ใจ​อะไรบ​ า ง
​ ​H​ แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูค​ วร​ดึงดูด​ความ​สน​ใจ​นักเรียน​ทุกคน ​(​H​o​o​k​)​​ทำ​ใหน​ ักเรียน​เกิด
​ความ​สน​ใจ​ใน​สิ่งท​ จ​ี่ ะ​เรยี นรู (​​H​o​ld​​)​แ​ละ​ใชส​ ิง่ ​ท​ี่นกั เรยี น​สนใ​จเ​ปนแ​นวทาง​ใน​การจ​ดั การ​เรยี นรู
​ ​E​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูค​ วร​สงเสริม​และ​จัด​ให ​(​E​q​u​i​p​)​​นักเรียน​ไดม​ ี​ประสบการณ
​(​E​x​p​e​r​i​e​n​c​e​)​​ใน​แนวคิด​หลัก/​ความคิด​รวบยอด ​และ​สำรวจ ​รวม​ทั้ง​วินิจฉัย ​(​E​x​p​l​o​r​e​)​​ใน​ประเด็น​
ตาง ๆ​ ​​ทน​ี่ า​สน​ใจ
​ ​R​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูค​ วร​เปดโอกาส​ใหน​ ักเรียน​ไดค​ ิด​ทบทวน ​(​R​e​t​h​i​n​k​)​​ปรับ ​(​R​e​v​i​s​e​)​​
ความ​เขา ​ใจ​ใน​ความรแู ​ละ​งาน​ทป่​ี ฏบิ ัติ
​ ​E ​ ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูค​ วร​เปดโอกาส​ใหน​ ักเรียน​ไดป​ ระเมิน ​(​E​v​a​l​u​a​t​e​)​​ผลงาน​และ​สิ่ง​ท่ี​
เก่ยี วของก​ บั ​การเ​รียนรู
​ ​T ​แทน ​กิจ​กรรมการ​เรียนรูค​ วร​ออก​แบบ ​(​T​a​i​l​o​r​e​d​)​​สำหรับ​นักเรียน​เปน​รายบุคคล​เพื่อ​ให​
สอดคลองกบั ​ความต​ อ งการ ​ความส​ นใ​จ ​และ​ความ​สามารถ​ท่แ​ี ตกตาง​กนั ​ของ​นักเรยี น
​ ​O ​​แทน ​การ​จัด​กิจ​กรรมการ​เรียนรูต​ าง ​ๆ​​ใหเ​ปนระบบ ​(​O​r​g​a​n​i​z​e​d​)​​ตามลำดับ​การ​เรียนรู​
ของ​นักเรียน ​และ​กระตุน​ใหน​ ักเรียน​มี​สวนรวม​ใน​การ​สราง​องคความรูต​ ั้ง​แตเ​ริ่ม​แรก​และ​ตลอดไป ​ท้ังน้ี​
เพอ่ื ​การ​เรยี นรูท​ ​่ีมปี​ ระสทิ ธิผล
​อยางไร​ก็ตาม ​มี​ขอ​สังเกต​วา ​การ​วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ่ี​มี​การ​กำหนด​วิธีการ​จัดการ​เรียนรู​
การ​ลำดับ​บทเรียน ​รวม​ท้ัง​สื่อ​และ​แหลง​การ​เรียนรูท​ ่ี​เฉพาะ​เจาะจง​นั้น​จะ​ประสบ​ผลสำเร็จ​ไดก​ ็ตอเม่ือ​ครู​
ไดม​ ก​ี ารก​ ำหนดผ​ ลลพั ธป​ ลายทาง ห​ ลกั ฐาน แ​ละว​ธิ กี ารว​ดั แ​ละป​ ระเมนิ ผลท​ แ​ี่ สดงวา น​ กั เรยี นม​ ผ​ี ลการเรยี น​
รตู ​ ามท​ ก​ี่ ำหนดไ​วอ​ยา งแ​ทจ รงิ แ​ลว ก​ ารจ​ดั ก​ จิ ก​ รรมการเ​รยี นรเู ​ปน เ​พยี งส​อ่ื ท​ จ​ี่ ะน​ ำไปสเู ​ปา ห​ มายความส​ำเรจ็ ​
ท่ี​ตองการ​เทา​นั้น ​ดวย​เหตุน้ี​ถา​ครู​มี​เปาหมาย​ที่​ชัดเจน​ก็​จะ​ชวย​ทำ​ใหการ​วาง​แผนการ​จัดการ​เรียนรูแ​ ละ​
การ​จัดก​ ิจ​กรรมการเ​รยี นรสู ​ ามารถท​ ำใ​หน​ ักเรยี นเ​กิดผ​ ลสมั ฤทธต์​ิ าม​ท่ี​กำหนด​ไวไ​ด
​โดย​สรุป​จึง​กลา ว​ไดว​า ข​้นั น​ เี​้ ปน การค​ น หาส​ ื่อก​ ารเ​รียนรู แ​หลง​การ​เรียนรู ​และ​กิจก​ รรมการ​เรียนรู ​
ที​ส่ อดคลอ งเ​หมาะสมกบั น​ ักเรยี น ​กิจกรรมท​ ่​กี ำหนดข​้ึนค​ วรเ​ปนก​ ิจกรรมท​ จี​่ ะส​ ง เสริมใ​หน​ กั เรยี นส​ ามารถ​
สรางแ​ละ​สรปุ เ​ปน ​ความคิดร​วบยอดแ​ละ​หลักการ​ทสี่​ ำคญั ​ของส​ าระ​ทเี​่ รยี นรู ก​ อใ​หเ​กดิ ​ความ​เขา ใ​จท​ ี​่คงทน​
รวม​ทง้ั ค​ วามรสู กึ แ​ละ​คานิยมท​ ​ี่ดีไ​ปพ​ รอม ๆ​ ​ก​ บั ท​ กั ษะค​ วาม​ชำนาญ

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ท่พี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 15

​B​a​ck​w​ ​ar​d​​​De​s​​i​g​n​T​​e​m​pl​a​​t​e​
​ผงั ​การ​ออกแ​ บบ​การจ​ัดการเ​รียนรู
ห​ นว ยก​ ารเ​รียนรูท​ ่ี

ขน้ั ท่ี 1 ผลลพั ธป ลายทางที่ตอ งการใหเ กิดขึ้นกับนักเรียน
ตัวชวี้ ดั ชว งชน้ั

ความเข้าใจที่คงทนของนกั เรียน คำถามสำคัญทีท่ ำให้เกดิ ความเข้าใจที่คงทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า…
1. 1.
2. 2.
ความรูของนกั เรยี นท่นี ำไปสูความเขาใจท่ีคงทน ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรยี นท่นี ำไปสู่
นกั เรยี นจะรวู า… ความเขา้ ใจทค่ี งทน นกั เรยี นจะสามารถ...
1. 1.
2. 2.
3. 3.

ขัน้ ที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนร้ซู ึ่งเปน็ หลกั ฐานทแี่ สดงวา่ นกั เรยี นมผี ลการเรยี นรู้
ตามท่กี ำหนดไวอ้ ย่างแท้จรงิ
1. ภาระงานทน่ี ักเรียนตอ้ งปฏบิ ตั ิ

1.1
1.2

2. วิธกี ารและเครือ่ งมือประเมินผลการเรยี นรู้ ​
2.1 วธิ กี ารประเมินผ​ ลการเรยี น​รู 2.2 เคร่ืองมือประเมินผ​ ลการเรยี นร​ู
1)
2) 1)
2)
3. สิ่งทมี่ ุงป​ ระเมิน​
3.1​
3.2
3.3

ขั้นท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้

16 คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ท่ีพลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
​รปู ​แบบ​แผนการ​จดั การ​เรยี นรรู ​าย​ชว่ั โมง​จาก​การ​ออก​แบบ​การ​จดั การ​เรยี นรตู ​ าม​แนวคดิ ​B​a​c​k​w​ar​d​
D​ ​es​​ig​​n​เ​ขียน​โดยใ​ชร​ูป​แบบข​อง​แผนการจ​ดั การ​เรยี นรแู ​บบเ​รยี ง​หัวขอ ซ​่ึง​มี​รายละเอียดด​ งั น้ี
​ชื่อ​แผน.​.​.​(​ร​ะบุชอื่ แ​ละ​ลำดับ​ที​ข่ องแ​ผนการ​จดั การ​เรยี นรู)​
​ ​ชอ่ื เรอ่ื ง.​..​​​(ร​ะบุช​ือ่ เรอ่ื ง​ทจ่​ี ะ​ทำการจ​ัดการ​เรยี นรู) ​
​ ​สาระ​ท.่ี .​​.​​(ร​ะบส​ุ าระท​ ใ่​ี ชจ​ดั การเ​รียนร)ู ​
เวลา.​.​.​(​ร​ะบรุ​ะยะเวลาท​ ่ใ​ี ชใ​น​การจ​ดั การเ​รียนรูต​ อ 1​​​แผน)​
​หนวย​การเ​รียนร​ูท.ี่ .​.​​(​ร​ะบุช่ือแ​ละ​ลำดับท​ ข่​ี อง​หนว ย​การเ​รียนร)ู ​
​ ​ชนั้ ..​​.​​(​ระบช​ุ ้ันท​ ่​ีจดั การเ​รียนรู)​
​ ​สาระสำคัญ..​​.​(​เ​ขียนค​ วามคิดร​วบยอด​หรอื ม​ โนทศั น​ของห​ ัวเรอ่ื งท​ ี​่จะจ​ัดการ​เรียนรู) ​
​ ​ตวั ช​้ว​ี ัด​ชวง​ช้นั .​..​​​(ร​ะบต​ุ วั ช​ี​้วดั ช​ว ง​ชั้นท​ ่​ใี ชเ​ปนเ​ปา หมาย​ของแ​ผนการ​จัดการ​เรียนร)ู ​
​ ​จดุ ประสงคก​ ารเ​รยี นร.ู .​.​​ก​ ำหนดใ​หส​ อดคลอ งกบั ส​ มรรถนะส​ ำคญั แ​ละค​ ณุ ลกั ษณะอ​นั พ​ งึ ป​ ระสงค​
ของ​นักเรียน​หลังจาก​สำเร็จ​การ​ศึกษา​ตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน ​พุทธศักราช 2​5​5​1​
ซง่ึ ​ประกอบดว ย​ดา น​ความรู ​(​K​n​o​w​l​e​d​g​e​:​​K​)​​ดา น​คณุ ธรรม ​จรยิ ธรรม ​และ​คา นยิ ม ​(​A​f​f​e​c​t​i​v​e​:​​A​)​​และ​
ดาน​ทกั ษะ/ก​ ระบวนการ (​P​ e​​rf​o​​rm​ a​​n​ce​​:​​P)​​
​การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู.​.​.​​ระบุ​วิธีการ​และ​เคร่ืองวัด​และ​ประเมินผล​ที่​สอดคลอง​กับ​
จุดประสงคก​ าร​เรยี นรทู ​ ง้ั ​3​​ดาน
​สาระก​ ารเ​รียนรู..​.​​(​ร​ะบสุ​ าระ​และเ​นอื้ หา​ท่​ใี ชจ​ดั การ​เรยี นรู อ​าจ​เขยี น​เฉพาะ​หวั เรอ่ื งก​ ไ็ ด)​
​ ​แนวทาง​บรู ณาการ..​.​​(​​เสนอ​แนะแ​ละ​ระบุก​ จิ กรรมข​องก​ ลุม ส​ าระอ​ืน่ ​ท​่บี รู ณาการ​รว ม​กัน)​
​ ​กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู.​.​.​​กำหนด​ใหส​ อดคลองกับ​ธรรมชาติ​ของ​กลุม​สาระ​และ​การบูรณาการ​
ขาม​สาระ
​กิจกรรม​เสนอแ​ นะ..​​.​​(ร​ะบ​รุ ายละเอียดข​องก​ ิจกรรมท​ ีน​่ ักเรียนค​ วรป​ ฏบิ ัติเ​พ่ิมเติม)​
​ ​สื่อ/แ​ หลง​การเ​รียนร.ู .​​.​​(​ระบสุ​ อื่ ​อปุ กรณ ​และ​แหลง ​การ​เรยี นรทู ​ ​ใ่ี ชใ​น​การ​จดั การ​เรียนรู) ​
​ ​บันทึก​หลัง​การ​จัดการ​เรียนรู.​.​.​​(​ระบุ​รายละเอียด​ของ​ผล​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แผน​ท่กี ำหนด​ไว​
อาจน​ ำเสนอ​ขอ เดน​และข​อดอ ยใ​หเ​ปนข​อมูลท​ ่​สี ามารถ​ใชเ​ปน ส​ วนหน่งึ ​ของก​ าร​ทำว​จิ ยั ​ใน​ช้นั เรียนไ​ด) ​
​ใน​สวน​ของ​การ​เขยี น​การ​จัด​กจิ ​กรรมการ​เรยี นรูน​ ้ัน ​ใหค​ รู​ท​่ีเขียน​แผนการ​จดั การ​เรยี นรูน​ ำ​ขน้ั ตอน​
หลัก​ของ​เทคนิค ​วิธีการ​ของ​การ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่​เนน​ผูเรียน​เปน​ศูนยกลาง ​เชน ​การ​เรียน​แบบ​แกปญหา​
การ​ศึกษา​เปน​รายบุคคล ​การ​อภิปราย​กลุม​ยอย/​กลุม​ใหญ ​การ​ฝก​ปฏิบัติ​การ ​การ​สืบคน​ขอมูล ​ฯลฯ
ม​ าเ​ขียน​ใน​ขน้ั ​สอน โ​ดยใ​หค​ ำนงึ ถ​ ึงธ​รรมชาตข​ิ อง​กลมุ ส​ าระ​การเ​รยี นรู ​
​การ​ใชแ​นวคิด​ของ​การ​ออก​แบบ​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แนวคิด ​B​a​c​k​w​a​r​d​​D​e​s​i​g​n​​จะ​ชวย​ใหค​ รู​
มี​ความ​มั่นใ​จ​ใน​การจ​ดั การ​เรยี นรู ​และ​ใชแ​ผนการ​จดั การเ​รียนรูข​อง B​ ​ใน​การจ​ัดการ​เรียนรูไ​ดอ​ยา ง
​มปี​ ระสทิ ธภิ าพต​ อไป



























30 คู่มอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

6. แนวทางบ​ ูรณาการ
ภาษาไทย ê ฟงั พูด อา่ น เขยี น​เกยี่ วกบั ก​ ารจ​ัดร​ะเบยี บส​ งั คม
ศลิ ปะ ê ทำ​สมุดภาพ​ข่าว​เก่ียวกับ​นโยบาย​การ​จัด​ระเบียบ​สังคม​ของ​รัฐบาล
​ชดุ ปัจจุบนั
7. กระบวนการจ​ัดการ​เรียนรู้
ขนั้ ท​ ่ี 1 นำ​เข้าสู่​บทเรียน
1. ครู​แจง้ ​ตวั ช​วี​้ ดั ช​่วง​ชัน้ ​และ​จุดประสงคก์​ ารเ​รยี นรใ​ู้ ห้​นกั เรียนท​ ราบ
2. ครใ​ู หน​้ กั เรยี นด​ ภ​ู าพข​า่ วเ​กยี่ วกบั น​ กั เรยี นท​ ม​ี่ พ​ี ฤตกิ รรมไ​มเ​่ หมาะสมเ​ขา้ ร​บั ก​ารอ​บรมใ​นค​ า่ ยทหาร
ภาพข​า่ วเ​กยี่ วกบั ก​ ารป​ ระกาศส​ งครามก​ บั ย​ าเสพตดิ แลว้ ซ​กั ถามน​ กั เรยี นว​า่ เ​ปน็ ข​า่ วเ​กย่ี วกบั อ​ะไร น​ กั เรยี น​
ชว่ ยกัน​ตอบ ครสู​ รปุ เ​พอ่ื ​เช่ือมโยงเ​ขา้ ส​ู่เน้อื หาท​ ี่จะเ​รยี น

ขนั้ ​ท ี่ 2 กิจก​ รรมการ​เรยี นรู้
3. ครู​อธบิ ายเ​กยี่ วกับก​ ารจ​ดั ร​ะเบยี บส​ ังคม
4. ครู​สนทนา​กับ​นักเรียน​เก่ียวกับ​การ​จัด​ระเบียบ​สังคม​และ​ใหตอบ​คำ​ถาม​ใน​ประเด็น​ต่าง ๆ
เช่น
1) เหตุใดจ​ึง​ตอ้ ง​มก​ี ารจ​ัด​ระเบียบส​ ังคม
2) บรรทัดฐาน​เป็น​องค์ประกอบ​สำคัญท่ีสุด​ใน​การ​จัด​ระเบียบ​สังคม นักเรียน​เห็นด้วย​หรือไม่
เพราะเ​หตุใด
3) สังคม​มวี​ธิ ​ีควบคุมส​ มาชิกใ​ห้​ปฏิบัต​ิตาม​บรรทัดฐาน​ทางสังคมอ​ย่างไร
4) ยกตัวอย่าง​จารีต​และ​วิถีชาวบ้าน​ของ​สังคม​ไทย​ที่​ยังคง​หลงเหลืออยูใ​น​ปัจจุบัน​มา​อย่าง​ละ
3 ประการ
5) บทบาทท​ างสังคมม​ ี​ความส​ ัมพันธก์​ ับส​ ถานภาพ​ทางสงั คมอ​ยา่ งไร
6) เหตใุ ดจ​งึ ​ตอ้ งม​ ก​ี ารค​ วบคมุ ท​ างสงั คม
5. คร​ูสมุ่ ​นักเรยี น 4 คน ออกมาเ​ขยี นค​ ำ​ตอบค​ นละ 1 ขอ้ ความ บน​กระดาน
6. ครู​เฉลย​คำ​ตอบ จากนั้น​ให้​นักเรียน​ศึกษา​เร่ือง การ​จัด​ระเบียบ​สังคม จาก​สื่อ​การ​เรียนรู้ หรือ​
จากแ​หลง่ ก​ าร​เรียนรอู​้ นื่ ๆ
7. ครใ​ู หน​้ กั เรยี นแ​บง่ เ​ปน็ 2 ฝา่ ย จดั โ​ตว้ าทใ​ี นหวั ขอ การป​ ดิ ส​ถานบ​ รกิ ารม​ ผ​ี ลดต​ี อ่ ก​ ารจ​ดั ร​ะเบยี บ​
​ทางสงั คมจ​ริงห​ รือ
8. ครู​ดำเนิน​รายการ​โต้วาที และ​เร่ิม​โต้วาที เมื่อ​จบ​แล้ว​ครู​ชมเชย​ใน​การ​ทำ​กิจกรรม เสร็จ​แล้ว​
เปดิ โอกาส​ให้น​ ักเรียนซ​กั ถามข​อ้ ​สงสยั
9. ในขณะป​ ฏบิ ตั ก​ิ จิ กรรมข​องน​ กั เรยี น ใหค​้ รส​ู งั เกตพ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ารท​ ำงานแ​ละก​ารน​ ำเสนอผ​ ลงาน​
ของน​ ักเรยี น​ตามแบบป​ ระเมินพ​ ฤติกรรมใ​นก​ ารท​ ำงาน​เป็น​รายบคุ คล​หรือเ​ป็นกล่มุ

ขนั้ ​ท ่ี 3 ฝึกฝนผ​ ้เู รยี น
10. คร​ูให้น​ ักเรียนท​ ำส​ มุดภาพข​่าวเ​กีย่ วกับน​ โยบาย​การ​จดั ​ระเบยี บส​ ังคม​ของร​ฐั บาลช​ุด​ปัจจุบนั
11. ครใ​ู ห​้นักเรียนท​ ำ​กิจกรรมท​ ีเ​่ ก่ยี วกบั ก​ ารจ​ัด​ระเบียบท​ างสงั คม แลว้ ​ช่วยกนั เ​ฉลย​คำ​ตอบ

คู่มือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาท่พี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 31

ขนั้ ท​ ี่ 4 นำไปใช้
12. ให้​นักเรียน​เขียน​บทความ​เกี่ยวกับ​การ​จัด​ระเบียบ​ทางสังคม แล้ว​นำ​ผลงาน​ของ​ทุกคน​มา​จัด​
ปา้ ยน​ เิ ทศ
ขน้ั ท​ ี่ 5 สรุป
13. ครู​และ​นักเรียน​ร่วมกัน​สรุปความ​รู้เรื่อง การ​จัด​ระเบียบ​ทางสังคม โดย​อาจ​ให้​นักเรียน​สรุป​
เปน็ แ​ผนที่​ความคิด

8. กิจกรรม​เสนอแนะ

ครใู​ห​้นกั เรยี นร​่วมกนั ศ​ กึ ษาเร่อื งการจ​ัด​ระเบยี บท​ างสังคม เพอ่ื น​ ำเสนอผ​ ลงาน​ใน​ช้นั เรียน

9. สือ่ /แหล่งการ​เรียนรู้

1. แบบทดสอบ​กอ่ นเ​รยี นแ​ละ​หลงั เ​รียน
2. ภาพ​ข่าว​เกี่ยวกับ​นักเรียน​ท่ี​มี​พฤติกรรม​ไม่​เหมาะสม​ท่ีเข้า​รับ​การ​อบรม​ใน​ค่ายทหาร ภาพ​ข่าว​
เก่ียวกบั ​การ​ประกาศส​ งครามก​ บั ย​ าเสพตดิ
3. สือ่ ก​ ารเ​รยี นรู้ หน้าทพ​่ี ลเมือง วัฒนธรรม และ​การ​ดำเนนิ ​ชีวิต​ใน​สังคม สมบรู ณแ์ บบ ม. 4–6
เล่ม 1 บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์ว​ัฒนาพ​ านิช จำกัด
4. หนงั สือเ​รียน รายวชิ าพ​ ืน้ ฐาน หนา้ ท่​ีพลเมือง วัฒนธรรม และ​การ​ดำเนนิ ​ชีวติ ​ใน​สังคม ม. 4–6
เล่ม 1 บริษทั สำนกั พิมพ์ว​ัฒนาพ​ านิช จำกดั
5. แบบฝ​ กึ ท​ กั ษะ รายวชิ าพ​ น้ื ฐาน หนา้ ทพ่ี​ ลเมอื ง วฒั นธรรม และก​ ารด​ ำเนนิ ช​วี ติ ใ​นส​งั คม ม. 4–6
เล่ม 1 บริษัท สำนักพิมพ์ว​ฒั นาพ​ านิช จำกัด

10. บันทกึ ห​ ลัง​การจ​ัดการ​เรยี นร ู้

1. ควา​มสำเร็จ​ในการจดั การเ​รยี น​รู ลงชื่อ /​ ผูสอน
แนวทางการพัฒนา​ /
2. ปญหา/อุปสรรคใ​นการจดั การเ​รยี นร​ู

แนวทาง​แกไข​
3. ส่งิ ท​ ีไ่ มไ ดป ฏบิ ัตต​ิ ามแ​ผน

เหตผุ ล
4. การ​ปรบั ป​ รุงแผนการจ​ดั การเ​รยี นรู

32 คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ที่พลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3

การ​ขัดเกลาท​ างสังคม

สาระท่ ี 2 หนาที่​พลเมอื ง​วฒั นธรรม
และการดำเนินชีวติ ในสงั คม ​ชั้นมธั ยมศกึ ษา​ป​ท ่ี 4–6 เลม 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สังคม เวลา 1 ช่วั ​โมง

1. สาระสำคัญ

การ​ขัดเกลา​ทางสังคม​ทำให้​คน​ปรับตัว​และ​ปฏิบัติ​ตาม​บรรทัดฐาน​ที่​สังคม​กำหนด แบ่ง​เป็น 2 วิธี
คือ การข​ัดเกลา​ทางตรง และก​ ารข​ัดเกลาท​ างอ้อม

2. ตัว​ช​ีว้ ดั ช​่วงช​ั้น

• วิเคราะห์ค​ วาม​สำคัญ​ของ​โครงสร้าง​ทางสังคม การ​ขัดเกลา​ทางสังคม และ​การ​เปล่ียนแปลง​
ทางสังคม (ส 2.1 ม. 4–6/2)

3. จุดประสงค์​การเ​รยี นรู้

1. อธิบายความห​ มาย ความส​ ำคัญ และ​วธิ กี าร​ขัดเกลา​ทางสงั คมไ​ด้ (K)
2. เห็นค​ ณุ คา่ แ​ละ​ความส​ มั พันธ์ข​องก​ ารข​ัดเกลา​ทางสังคม (A)
3. วเิ คราะห์แ​ละร​ว่ มกนั อ​ภิปราย​เกย่ี วกบั ค​ ุณคา่ ​และ​ความ​สำคญั ​ของก​ าร​ขัดเกลา​ทางสังคม (P)

4. การ​วัดแ​ละป​ ระเมนิ ​ผลการเรียนร​ู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดาน​ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. ซักถามความรเู้ รือ่ ง แล​ะคานิยม (A) • ประเมนิ พฤติกรรมในการ

การขัดเกลาทางสงั คม • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเป็นรายบุคคลและ
2. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ทำงานเป็นรายบคุ คลในด้าน เป็นกล่มุ ในด้านการสอื่ สาร
ความมีวินยั ความใฝ่เรียนรู้ การคดิ การแก้ปญั หา ฯลฯ
เป็นร​ายบุคคลหรอื เป็นกลุ่ม ฯลฯ

5. สาระ​การ​เรียนรู้

• การ​ขัดเกลา​ทางสงั คม
1. ความห​ มายแ​ละ​ความ​สำคญั ​ของก​ าร​ขัดเกลา​ทางสงั คม
2. ประเภทข​อง​การข​ดั เกลาท​ างสังคม
3. วธิ กี ารข​ดั เกลาท​ างสังคม

คูม่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาทพ่ี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 33

6. แนวทางบ​ รู ณาการ ê ฟงั พูด อ่าน เขียน เกี่ยวกบั การขัดเกลาทางสงั คม
ภาษาไทย
การ​งานอาชีพฯ ê สบื คน้ ​ข้อมูลเ​กยี่ วกบั ก​ าร​ขัดเกลา​ทางสังคม
7. กระบวนการจ​ดั การ​เรียนรู้

ข้ันท​ ่ี 1 นำ​เข้าสู่​บทเรียน
1. คร​ูแจง้ ​ตัว​ชวี​้ ดั ช​ว่ ง​ชัน้ ​และ​จดุ ประสงคก์​ าร​เรียนรใ้​ู ห้​นกั เรยี นท​ ราบ
2. ครู​ซักถาม​นักเรียน​ว่าการ​อยู่​ร่วมกัน​ใน​สังคม​จำเป็น​ต้อง​มี​การ​ปรับตัว​เข้าหา​กัน​หรือไม่ เพราะ​
เหตุใด โดย​ครู​สุ่ม​เลือก​นักเรียน 4–6 คน ออกมา​ตอบ​คำ​ถาม และ​ให้​นักเรียน​คน​อ่ืน ๆ เสริม​ความรู้​
เพม่ิ เติม​จากท​เ่ี พอ่ื นพ​ ูด จากนนั้ ​ครสู​ รุป​เพอ่ื ​เชอื่ มโยง​เขา้ สูเ​่ น้อื หาท​ ีจ่ ะ​เรยี น

ขั้นท​ ่ี 2 กิจก​ รรมการเ​รียนรู้
3. ครู​อธิบาย​เก่ียวกับ​การ​ขัดเกลา​ทางสังคม แล้ว​สุ่ม​เลือก​นักเรียน​ออกมา​แสดง​ความคิด​เห็นว่า
ถา้ ​ไมม่ ี​การข​ดั เกลา​ทางสังคม​จะท​ ำใหส​้ งั คมเ​ป็น​อยา่ งไร
4. ครส​ู รปุ ​คำต​ อบ​และอ​ธิบายเ​พ่ิมเตมิ พร้อมทง้ั ช​มเชย​ให้กำลงั ใจน​ กั เรียนท​ ต​่ี อบ​คำ​ถาม
5. ครู​ให้​นักเรียน​แบ่งกลุ่ม กลุ่ม​ละ 4–6 คน ศึกษา​ข้อมูล​เรื่อง การ​ขัดเกลา​ทางสังคม โดย​ให้​
แตล่ ะก​ ลุม่ ​ช่วยเหลือ​และใ​หค้​ วามร​ู้กนั ​ในก​ ล่มุ แลว้ ​บนั ทกึ ข​อ้ มูลล​ งใ​นแ​บบ​บนั ทึกค​ วามรู้
6. คร​ูให้​นักเรียนท​ ำ​ใบง​านเ​รือ่ ง การ​ขัดเกลาท​ างสังคม
7. ในขณะป​ ฏบิ ตั ก​ิ จิ กรรมข​องน​ กั เรยี น ใหค​้ รส​ู งั เกตพ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ารท​ ำงานแ​ละก​ารน​ ำเสนอผ​ ลงาน​
ของน​ กั เรียน​ตามแบบป​ ระเมินพ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ าร​ทำงานเ​ปน็ ​รายบคุ คล​หรือเ​ป็นกล่มุ

ขน้ั ท​ ่ ี 3 ฝกึ ฝนผ​ ้เู รยี น
8. คร​ูใหน​้ ักเรียนท​ ำ​กิจกรรมเ​กย่ี วกับก​ าร​ขัดเกลาท​ างสงั คม และ​ชว่ ยกันเ​ฉลย​คำ​ตอบ

ขั้นท​ ี่ 4 นำไปใช้
9. ครู​ใหน​้ ักเรียนน​ ำค​ วามร​เู้ รื่องก​ าร​ขัดเกลา​ทางสังคม​ไปป​ ระยกุ ตใ์​ช​้ใน​ชีวติ ​ประจำวนั

ข้ันท​ ี่ 5 สรุป
10. คร​ูและ​นักเรยี นร​่วมกันส​ รุปความร​ู้เร่อื ง การข​ดั เกลา​ทางสงั คม โดย​ให​น้ ักเรียน​สรุป​เปน็ แ​ผนท่ี​
ความคดิ
8. กจิ กรรมเ​สนอแนะ
ครใ​ู ห้​นกั เรียนศ​ กึ ษาค​ น้ ควา้ เ​พิ่มเติม​เรอื่ ง การข​ดั เกลา​ทางสงั คม แลว้ ​นำมา​จัดท​ ำเป็นร​ายงาน
9. ส่อื /แหลง่ ก​ าร​เรียนรู้
1. ใบ​งานเ​รอื่ ง การขัดเกลาท​ างสงั คม
2. แบบบนั ทึกค​ วามรู
3. สือ่ ก​ ารเ​รียนรู้ หน้าทพี​่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และก​ าร​ดำเนิน​ชวี ิต​ใน​สงั คม สมบรู ณ์แบบ ม. 4–6
เลม่ 1 บริษัท สำนักพมิ พว์​ัฒนาพ​ านิช จำกัด

34 ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ท่ีพลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
4. หนงั สอื ​เรียน รายวิชาพ​ ืน้ ฐาน หนา้ ท​่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และ​การด​ ำเนิน​ชีวิต​ใน​สงั คม ม. 4–6
เลม่ 1 บริษัท สำนักพิมพว์​ฒั นาพ​ านิช จำกัด
5. แบบฝ​ กึ ท​ กั ษะ รายวชิ าพ​ น้ื ฐาน หนา้ ที่พ​ ลเมอื ง วฒั นธรรม และก​ ารด​ ำเนนิ ช​วี ติ ใ​นส​ งั คม ม. 4–6
เล่ม 1 บรษิ ัท สำนกั พิมพ์ว​ฒั นาพ​ านิช จำกดั

10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

1. ควา​มสำเร็จ​ในการจัดการเ​รยี นร​ู ลงชอ่ื /​ ผสู อน
แนวทางการพัฒนา​ /
2. ปญหา/อปุ สรรคใ​นการจัดการเ​รียนร​ู

แนวทาง​แกไ ข​
3. สิง่ ​ทไ่ี มไดป ฏบิ ัตต​ิ าม​แผน

เหตุผล
4. การ​ปรับป​ รุงแผนการจ​ดั การเ​รียนรู

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ท่พี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 35

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4

ลักษณะสงั คมไทย

สาระที่ 2 หนาทพี่​ ลเมอื ง​วัฒนธรรม
และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม ​ชนั้ มธั ยมศกึ ษา​ปท​ ี่ 4–6 เลม 1
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สงั คม เวลา 1 ช่วั ​โมง

1. สาระสำคญั

สงั คมไ​ทยเ​ปน็ ส​งั คมท​ ม​ี่ ช​ี วี ติ ค​ วามเ​ปน็ อยร​ู่ ว่ มกนั ม​ าย​ าวนาน มว​ี ฒั นธรรม ขนบธ​รรมเนยี มป​ ระเพณี
และ​ภาษา​เป็น​เอกลักษณ์ข​อง​ตน​เอง ซึ่ง​ประกอบด้วย​การ​เคารพ​และ​เทิดทูน​พระมหากษัตริย์ คน​ไทย​
ส่วนใหญน​่ บั ถอื พ​ ระพุทธศาสนา มขี​นบธ​รรมเนยี ม​ประเพณที​ ​่ีเป็นว​ถิ ​ีชีวิต​ร่วมกนั ​ใน​สงั คม และ​สงั คม​ไทย​
มี​ค่านิยม​ทางสังคม​ร่วมกัน เป็น​สังคม​เกษตรกรรม มี​โครงสร้าง​แบบ​หลวม ๆ มี​การ​แบ่ง​ชนช้ัน​กัน
สถาบนั สงั คม​ของไทย​ที่ส​ ำคญั ​ประกอบดว้ ย​สถาบัน​ครอบครัว สถาบนั ​การ​ศกึ ษา สถาบนั ศาสนา สถาบนั ​
เศรษฐกิจ และ​สถาบนั ​การเมอื งก​ าร​ปกครอง

2. ตัวช​้ีว​ดั ช​ว่ งช​้นั

• วิเคราะห์ค​ วาม​สำคัญ​ของ​โครงสร้าง​ทางสังคม การ​ขัดเกลา​ทางสังคม และ​การ​เปลี่ยนแปลง​
ทางสงั คม (ส 2.1 ม. 4–6/2)

3. จดุ ประสงค์ก​ ารเ​รยี นรู้

1. อธบิ าย​ลกั ษณะ​ท่ัวไป​ของส​ งั คมไ​ทย​ได้ (K)
2. เหน็ ​คณุ ค่าแ​ละ​ความส​ ำคญั ​ของ​ลักษณะท​ วั่ ไปข​อง​สังคม​ไทย​และ​สถาบันสังคม​ของไทย (A)
3. อภิปราย​เกี่ยวกบั ล​ กั ษณะท​ ัว่ ไปข​อง​สงั คมไ​ทย​และ​สถาบันสังคมของ​ไทย (P)

4. การ​วัดแ​ละป​ ระเมินผ​ ลการเรียนร​ู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา นท​ กั ษะ/กระบวนการ (P)
1. ทดสอบหลังเรียน และ​คานยิ ม (A) • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ
2. ซกั ถามความรเู้ ร่ือง
• ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบคุ คลและ
ลักษณะสงั คมไทย ทำงานเป็นรายบุคคลในดา้ น เป็นกลมุ่ ในด้านการสื่อสาร
3. ตรวจผลงาน/กจิ กรรม ความมีวนิ ยั ความใฝเ่ รยี นรู้ การคิด การแกป้ ญั หา ฯลฯ
ฯลฯ
เป็นรายบุคคลหรอื เปน็ กลมุ่

36 คมู่ ือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ที่พลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

5. สาระ​การ​เรยี นรู้

• ลกั ษณะส​ งั คมไ​ทย
1. ลกั ษณะท​ ั่วไปข​องส​ ังคม​ไทย
2. สถาบนั สงั คมของไ​ทย

6. แนวทางบ​ ูรณาการ
ภาษาไทย ê ฟงั พดู อ่าน เขียน เก่ยี วกับล​ ักษณะ​สงั คม​ไทย
ศิลปะ ê จัด​ปา้ ยน​ ิเทศเ​กีย่ วกับล​ กั ษณะส​ ังคม​ไทยแ​ละ​สถาบนั สังคม​ของ​ไทย

7. กระบวนการจ​ดั การ​เรยี นรู้
ขั้นท​ ่ี 1 นำ​เข้าสู่​บทเรียน
1. ครู​แจ้ง​ตวั ช​วี​้ ดั ช​ว่ งช​น้ั แ​ละ​จุดประสงคก์​ าร​เรียนรใ้​ู ห้​นกั เรยี นท​ ราบ
2. ครู​ให้​นักเรียน​ดู​ภาพ​การ​แต่งงาน​ของ​คน​ไทย ภาพ​การ​ประกอบ​อาชีพ แล้ว​ร่วมกัน​แสดง​
ความ​คดิ เหน็ คร​ูอธิบายส​ รปุ ​เพอื่ ​เช่อื มโยงเ​ขา้ ส่​ูเนอื้ หาท​ ่จี ะเ​รยี น

ขนั้ ท​ ี่ 2 กิจก​ รรมการ​เรียนรู้
3. ครส​ู นทนาก​ ับน​ ักเรียนเ​กีย่ วกบั ล​ ักษณะส​ งั คม​ไทย
4. ให้​นักเรียน​แบ่งกลุ่ม กลุ่ม​ละ 4–6 คน ให้​แต่ละ​กลุ่ม​สำรวจ​สภาพสังคม​และ​สถาบันสังคม
ใ​น​ท้องถิ่น​ของต​ นเ​อง​ว่าเ​ปน็ อ​ยา่ งไรบ้าง แลว้ บ​ นั ทกึ ​ผล
5. ครู​ให้​นักเรียน​แต่ละ​กลุ่ม​นำ​ผล​การ​สำรวจ​มา​ร่วมกัน​อภิปราย​แสดง​ความ​คิดเห็น​และ​วิเคราะห์​
วา่ ป​ ัจจัยใ​ด​ทท​่ี ำใหส​้ ังคม​มี​การเ​ปลีย่ นแปลง
6. ครู​สนทนาก​ บั น​ กั เรียนเ​กีย่ วกับล​ กั ษณะ​ทั่วไปข​องส​ ังคมไ​ทย
7. ครู​ให้​นักเรียน​แบ่ง​เป็น 2 กลุ่ม จัด​อภิปราย​โต้วาที​ใน​ญัตติ “ถ้า​เป็นไปได้​อยาก​อยู่​ใน​สังคม
ชนบทม​ ากกว่า​สังคมเมอื ง”
8. ครู​บอกก​ ติกาข​อง​การแ​ขง่ ขนั โ​ต้วาที
9. ครู​ให้​แต่ละ​กลุ่ม​ส่ง​ตัวแทน​ออกมา​โต้วาที เม่ือ​จบ​แล้ว​รวบรวม​คะแนน​และ​ให้รางวัล​แก่​ฝ่าย
ท​ ี่​ชนะ แล้วค​ ร​อู ธิบายเ​พ่ิมเตมิ
10. ในขณะป​ ฏบิ ตั ก​ิ จิ กรรมข​องน​ กั เรยี น ใหค​้ รส​ู งั เกตพ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ารท​ ำงานแ​ละก​ารน​ ำเสนอผ​ ลงาน​
ของ​นกั เรียน​ตามแบบป​ ระเมนิ พ​ ฤติกรรมใ​น​การท​ ำงาน​เป็นร​ายบุคคล​หรอื เ​ป็นกลุม่

ข้ัน​ที่ 3 ฝกึ ฝน​ผ้เู รียน
11. ครู​ให้​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​เก่ียวกับ​ลักษณะ​สังคม​ไทย​และ​แบบทดสอบการ​วัด​และ​ประเมินผล
การเ​รียน​รปู​ ระจำห​ น่วยก​ ารเ​รียนรู้ และช​ว่ ยกันเ​ฉลย​คำ​ตอบ

ขั้น​ที่ 4 นำไปใช้
12. ครู​ให้​นกั เรียนย​ กตัวอย่าง​สถาบนั สังคมของ​ไทย
13. ครู​ให้​นักเรียน​จัด​ป้าย​นิเทศ​เร่ือง ลักษณะ​สังคม​ไทย​และ​สถาบันสังคม​ของ​ไทย เพ่ือ​เผยแพร่​
ความรู้

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทีพ่ ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 37

ข้นั ท​ ่ี 5 สรปุ
14. คร​แู ละ​นกั เรียนร​ว่ มกันส​ รุปความร​ู้เรอื่ ง ลักษณะ​สังคม​ไทย โดย​ให้​จดั ​ทำเปน็ ร​ายงาน
15. คร​ูให​้นกั เรยี นท​ ำ​แบบทดสอบห​ ลัง​เรียน​และ​ช่วยกนั ​เฉลย​คำ​ตอบ

8. กิจกรรมเ​สนอแนะ

ครใ​ู ห​้นกั เรยี นศ​ กึ ษาค​ น้ คว้าเ​พิ่มเติม​เรือ่ ง ลักษณะส​ งั คม​ไทย แล้ว​นำมา​จัด​ทำเป็น​รายงาน

9. สือ่ /แหล่งก​ าร​เรียนรู้

1. ภาพ​การแ​ตง่ งาน​ของค​ น​ไทย ภาพก​ ารป​ ระกอบอ​าชีพ
2. แบบทดสอบก​ ่อนเ​รียน​และห​ ลัง​เรยี น
3. สื่อก​ ารเ​รยี นรู้ หน้าทพ​่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ใน​สังคม สมบรู ณแ์ บบ ม. 4–6
เลม่ 1 บริษัท สำนกั พิมพ์ว​ฒั นาพ​ านชิ จำกัด
4. หนงั สือ​เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน หนา้ ท​ี่พลเมอื ง วฒั นธรรม และ​การด​ ำเนนิ ​ชวี ิต​ในส​ งั คม ม. 4–6
เล่ม 1 บรษิ ทั สำนกั พิมพ์ว​ฒั นาพ​ านชิ จำกดั
5. แบบฝ​ กึ ท​ กั ษะ รายวชิ าพ​ น้ื ฐาน ห​ นา้ ทพ​ี่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และก​ ารด​ ำเนนิ ช​วี ติ ใ​นส​งั คม ม. 4–6
เล่ม 1 บริษทั สำนกั พิมพว์​ฒั นาพ​ านชิ จำกดั

10. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

1. ความ​ สำเรจ็ ​ในการจดั การเ​รียนร​ู ลงชื่อ /​ ผูส อน
แนวทางการพฒั นา​ /
2. ปญ หา/อปุ สรรคใ​นการจดั การเ​รียนร​ู

แนวทาง​แกไ ข​
3. สิง่ ท​ ่ไี มไดปฏิบตั ติ​ ามแ​ผน

เหตผุ ล
4. การ​ปรับป​ รงุ แผนการจ​ัดการเ​รยี นรู

2การเปล่ยี นแปลง

และพัฒนาทางสงั คม
เวลา 4 ชว่ั โมง

ผังมโนทัศนเปา หมายการเรยี นรแู ละขอบขา ยภาระงาน/ชนิ้ งาน

ความรู

1. การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม
2. ปัญหาสังคม
3. แนวทางการแก้ไขปญั หาและพฒั นาสังคม

ภาระงาน/ชนิ้ งาน ¡ÒÃáทàÅ»าÐงžสÂÕè งั²Ñ¹คá¹ม»Òŧ คุณธรรม จรยิ ธรรม
และคา นิยม
1. ทÓแบบทดสอบ ทักษะ/กระบวนการ
2. การอÀÔปรายแสดง 1. มีวนิ ัย
1. การสèอ× สาร 2. ใ½เ† รียนรู
ความคดิ เห็น 2. การคิด 3. รบั ผดÔ ªอบ
3. บันทÖกผลการสÓรวจ 3. การแกไ ขปัญหา 4. รกั ความเปน็ ไทย
4. การแสดงละคร 4. การใช้กระบวนการกลมุ่ 5. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
5. การใชเ้ ทคโนโลยี

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าท่ีพลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1 39

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้
หนว ยการเรยี นรทู้ ่ี 2

การเปลยี่ นแปลงและการพัฒนาทางสงั คม

ขั้นท่ี 1 ผลลพั ธปลายทางที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้นกับนักเรยี น

ตวั ชว้ี ดั ช่วงช้ัน
• วเิ คราะหค์ วามสำคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม

(ส 2.1 ม. 4–6/2)

ความเข้าใจทค่ี งทนของนักเรียน คำ¶ามสำคัÞทท่ี ำใหเ้ กิดความเขา้ ใจท่คี งทน
นกั เรียนจะเข้าใจวา่ ... 1. การเปล่ียนแปลงทางสังคมมีผลต่อสถาบัน
1. การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมเปน็ การปรบั เปลย่ี น สงั คมอย่างไร
ระเบียบองค์กรทางสังคม ท้ังด้านสถาบันหรือ 2. ปญั หาสงั คมเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ย่างไร
แบบแผนของบทบาททางสังคม 3. การแกไ้ ขปญั หาสงั คมทำไดอ้ ย่างไร
2. ปัญหาสังคมมีผลกระทบต่อส่วนรวม ดังน้ัน
สมาชิกทุกคนจะต้องช่วยกันแก้ไขเพ่ือท่ีจะได้
อยู่รว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งสงบสุข
3. แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมจะต้องทำใน
ทกุ ระดบั ทง้ั ระดบั บคุ คล สงั คม และประเทศชาติ
ส่วน แนว ทางการ พัฒนา สังคม ของ ไทย จะ
ดำเนินการ ตาม แผน พัฒนา เศรษฐกิจ และ
สังคมแห่งชาติ

ความรู้ของนักเรียนท่ีนำไปสู่ความเข้าใจท่ีคงทน ทักษะ/ความสามาร¶ของนักเรยี นทนี่ ำไปส่คู วาม
นกั เรียนจะรวู้ ่า... เข้าใจท่ีคงทน นักเรยี นจะสามาร¶...
1. คำสำคญั ไดแ้ ก่ นวตั กรรม สนธสิ ญั ญาเบาวร์ งิ 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการ
ทุนนิยม กระบวนทัศน์ เศรษฐกิจพอเพียง เปลี่ยนแปลงทางสงั คม
ธรรมาภบิ าล 2. วิเคราะหเ์ กยี่ วกบั ปัญหาทางสงั คม
2. การเปลยี่ นแปลงทางสงั คมเปน็ การปรบั เปลยี่ น 3. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
ระเบยี บองค์กรทางสงั คม ทั้งดา้ นสถาบนั หรือ สงั คม
แบบแผนของบทบาททางสงั คม ซง่ึ การเปลย่ี น-
แปลงทางสังคมเกิดจากปัจจัยภายใน ปัจจัย
ภายนอก รปู แบบของการเปลยี่ นแปลงทางสงั คม
การเปลย่ี นแปลงทางสงั คมไทย

40 คูม่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาที่พลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

3. ปัญหาสังคม​มี​ผลกระทบต่อส่วนรวม ดังนั้น​
สมาชิก​ทุกคน​จะ​ต้อง​ช่วยกันแก้ไข​เพ่ือที่จะ​ได้​
อยร​ู่ ว่ มกนั ใ​นส​งั คมไ​ดอ้ ยา่ งส​งบสขุ ปญั หาสงั คม
ที่​สำคัญ​ได้แก่ ปัญหาประชากรไทย ปัญหา
​ผู้​พิการ​ในสังคม​ไทย ปัญหา​สุข​ภาวะ​ของ​
ประชาชน​ไทย ปัญหา​ความ​รู้ความ​เข้าใจ​เร่ือง​
สิทธิ​ของประชาชน​กลุ่ม​ต่าง ๆ ปัญหา​ค่านิยม​
และ​การทำงาน​อาสาสมัคร ปัญหา​ระบบ​และ​
คุณภาพงาน​สวัสดิการ​สังคม

4. แนว​ทางการ​แก้ไข​ปัญหาสังคม​จะ​ต้อง​ทำ​ใน​ทุก
ระดับ​ทั้ง​ระดับ​บุคคล สังคม และ​ประเทศชาติ
สว่ นแ​นวท​ างการพ​ ฒั นาส​งั คมข​องไ​ทยจ​ะดำเนนิ
การ​ตาม​แผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคมแห่ง
ชาติ ไดแ้ ก่ ความต​อ งการพ​ ฒั นาส​งั คม การพฒั นา
​สงั คม​ของ​ประเทศไ​ทย

ขน้ั ที่ 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ซง่ึ เป็นหลักฐานทแี่ สดงว่านักเรยี นมีผลการเรียนรู้
ตามท่ีกำหนดไว้อยา่ งแทจ้ ริง

1. ภาระง​าน​ทนี​่ กั เรียน​ตองป​ ฏิบัติ
1.1 เลน่ เกมต​ อบค​ ำ​ถามเ​ก่ยี วกับก​ ารเ​ปลีย่ นแปลงท​ างสงั คม

1.2 สำรวจ​ปญั หาสงั คม​ในช​มุ ชน
1.3 แสดงละคร​เก่ยี วกับแ​นว​ทางในก​ ารแ​กไ้ ขป​ ญั หา​และ​พัฒนาส​ งั คม

2. วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2.1 วธิ ีการประเมินผลการเรียนรู้ 2.2 ​เคร่อื งมอื ป​ ระเมิน​ผลการเรียนร​ู
​ ​ 1) การทดสอบ 1)​ แบบทดสอบก​ อนเ​รียนแ​ละ​หลัง​เรยี น
​ ​ 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2)​ แบบป​ ระเมิน​ผลงาน/กิจกรรม
เป็น​รายบุคคลหรอื เป็นกลุม่ เป็นรายบคุ คล​และ​เปน กลุม
​ ​ 3) การประเมินด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ​ 3)​ แบบ​ประเมนิ ด​ า น​คุณธรรม จริยธรรม
​ และคา่ นยิ ม ​และ​คานยิ ม
​ ​ 4) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 4)​ แบบ​ประ​เมิน​ดา น​ทกั ษะ/กระบวนการ

3. สง่ิ ทม่ี งุ่ ประเมนิ
3.1 ความเข้าใจ 6 ด้าน ไดแ้ ก่ การอธิบาย ชีแ้ จง การแปลความและตีความ การประยุกต์ ดัดแปลง

และนำไปใช้ การมมี มุ มองท่ีหลากหลาย การใหค้ วามสำคญั และใส่ใจในความรสู้ ึกของผู้อนื่
​ และการรู้จกั ตนเอง

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 41

3.2​ ทกั ษะ/กระบวนการ เชน่ การสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใ​ชเ ทคโนโลยี กระบวนการกลมุ่
​ 3.3 คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม เช่น รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตยส์ ุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู

อยอู่ ย่างพอเพียง มุ่งมนั่ ในการทำงาน รกั ค​ วามเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

ขนั้ ท​ ี่ 3 แผนการจ​ัดการเ​รียนรู เวลา 1 ชัว่ โมง
แผนการ​จดั การเ​รยี นรูท​้ ี่ 5 การเ​ปลี่ยนแปลงท​ างสังคม เวลา 2 ช่ัวโมง
แผนการ​จัดการ​เรียนร้ท​ู ่ี 6 ปัญหาท​ างสงั คม เวลา 1 ชั่วโมง
แผนการ​จัดการเ​รยี นรู้​ที่ 7 แนวท​ างการแ​ก้​ไขปญั หาแ​ละ​พฒั นา​ท​ างสงั คม

42 คูม่ อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ทพี่ ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 5

การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม

สาระท ่ี 2 หนาทพ​่ี ลเมือง​วัฒนธรรม
และการดำเนินชวี ิตในสังคม ​ช้นั มัธยมศกึ ษา​ปท​ ี่ 4–6 เลม 1
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 การเปลี่ยนแปลงและ
การพฒั นาทางสังคม เวลา 1 ชว่ั ​โมง

1.​ ​สาระสำคญั

​การ​เปล่ียน​แปลง​ทางสังคม​เป็น​กระบวนการ​เปล่ียน​แปลง​ของ​ระบบ​ความ​สัมพันธ์​ของ​องค์การ​
ทางสังคม ​โดย​ให้​ความ​สำคัญกับ​ขนาด​ของ​องค์การ​ทางสังคม ประเภท​ของ​องค์การ​ทางสังคม ลักษณะ​
ของอ​งค์การ​ทางสงั คม ร​วม​ท้งั ​สถานภาพแ​ละ​บทบาท ​

2​​. ​ตวั ​ช​วี้ ดั ช​ว่ ง​ชัน้

​• วิเคราะห์​ความ​สำคัญ​ของ​โครงสร้าง​ทางสังคม ​การ​ขัดเกลา​ทางสังคม ​และ​การ​เปลี่ยน​แปลง​
ทางสังคม (​ส​ ​2.​​1​ม​ .​​4​–6​​/2​)​​

3​.​ ​จดุ ประสงค์​การ​เรียนรู้

​1.​ ​อธิบายความห​ มายแ​ละค​ วามส​ ำคัญ​ของ​การเ​ปลยี่ นแ​ปลง​ทางสงั คมไ​ด้ (​​K​)​
2​.​ ตระหนักแ​ละ​เห็นค​ วามส​ ำคญั ​ของ​การ​เปล่ยี น​แปลง​ทางสังคม (​​A​)​
3​. ​วิเคราะหก​์ ารเ​ปลีย่ น​แปลงท​ างสงั คม​ได้ ​(​P)​​

4​​. ​การ​วดั แ​ละ​ประเมนิ ​ผลการเรียน​รู้

ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา นท​ กั ษะ/กระบวนการ (P)
และ​คานยิ ม (A)

1. ​ทดสอบก​ ่อนเ​รยี น • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ
2​​.​ ซักถาม​ความ​ร้เู รอื่ ง ​ ทำงานเปน็ รายบคุ คลในด้าน ทำงานเป็นรายบคุ คลและ
​​​​การเ​ปลยี่ นแ​ปลง​ทางสงั คม ความมวี นิ ยั ความใฝ่เรียนรู้ เป็นกลุม่ ในดา้ นการส่อื สาร
3​.​ ​ตรวจผ​ ลงาน/ก​ ิจกรรม ฯลฯ การคดิ การแกป้ ัญหา ฯลฯ
​​​เป็นร​ายบคุ คล​หรอื เ​ปน็ กลมุ่

5​ ​. ​สาระ​การเ​รียนรู้

​•​ การ​เปลี่ยนแ​ปลง​ทางสังคม
​1​.​ ความห​ มาย​ของก​ ารเ​ปล่ียน​แปลง​ทางสงั คม
2.​ ปจั จัย​ท​ีท่ ำ​ให้เ​กดิ ก​ ารเ​ปลีย่ น​แปลง​ทางสังคม
​ ​​​3​.​​ รูป​แบบ​ของก​ ารเ​ปลีย่ น​แปลง​ทางสังคม

คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ทพ่ี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 43

6​.​ ​แนวทางบ​ รู ณาการ ê ​ฟงั ​พูด ​อา่ น ​เขียน เ​กี่ยวกับก​ ารเ​ปล่ยี น​แปลงท​ างสงั คม
​ภาษาไทย

​สขุ ศกึ ษาฯ​​ ê ​เล่นเกม​ตอบค​ ำ​ถาม​เกย่ี วกบั ก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงท​ างสังคม

​7.​ ​​กระบวนการ​จดั การ​เรยี นรู้

​ขั้นท​ ี่ ​1 ​นำ​เขา้ ส​ู่บทเรยี น
1​.​ ค​ ร​ูแจ้ง​ตัวช​ว้ี​ัดช​่วง​ชัน้ แ​ละ​จุดประสงค​์การเ​รยี นรใู​้ ห้​นกั เรียนท​ ราบ

​2​.​ ค​ รู​เกริ่น​นำ​ถึง​เรื่อง​การ​เปล่ียน​แปลง​ทางสังคม ​แล้ว​ถาม​นักเรียน​ว่า​สังคม​ในอดีต​น้ัน​แตก​ต่าง

กับส​ ังคมป​ ัจจุบัน​อย่างไร เพ่อื ใ​หไ​้ ด้​ขอ้ สรุป​ท่ี​จะเ​ชอ่ื มโยงเ​ข้าสเู ​น้ือหา​ท่ีจ​ะเ​รยี น

ข​ัน้ ท​ ่ี 2 ​กจิ ก​ รรมการเ​รยี นรู้
3.​ ครสู​ นทนา​กับน​ ักเรยี นเ​กี่ยวกับก​ าร​เปลี่ยน​แปลงท​ างสงั คม ​

​4.​​ ค​ รูอ​ธบิ ายเ​ร่อื ง​การเ​ปลย่ี นแ​ปลง​ทางสังคม ​

5.​​ ครู​ให้​นักเรียน​แบ่งกลุ่ม ​กลุ่ม​ละ ​3​–​5​​คน ​เล่นเกม​มุม​สนทนา ​แล้ว​ให้​นักเรียน​กลุ่ม​ต่าง ​ๆ​

ไป​นง่ั ท​ ม​่ี มุ ​ตา่ ง ๆ​ ​​ของห​ อ้ งเรียน ​ใหน​้ ักเรยี นแ​ตล่ ะก​ ลมุ่ ช​ว่ ยก​ นั ​คดิ ​คำ​ตอบจ​าก​คำ​ถาม​ที่ก​ ำหนด​ให้ ​เช่น

​1​)​ การเ​ปลี่ยนแ​ปลงท​ างสังคม​หมายความว่า​อย่างไร ​

​ ​​​2​)​​ ปัจจัย​ใดบ​ า้ งท​ ท​่ี ำใ​หเ้​กิด​การเ​ปลี่ยน​แปลงท​ างสงั คม

​ ​​​3​​)​ ก​ ารเ​กิด​แผ่นดินไหวจ​ดั ​เปน็ การเ​ปลยี่ น​แปลงท​ างสังคม​ได​้หรอื ​ไม่ อ​ย่างไร

​ ​​​4​)​ ​อะไรท​ ท​ี่ ำ​ใหเ​้ กิดก​ ารเ​ปล่ยี นแ​ปลง​ทางสังคม​ไทย ​

​คร​แู ละน​ ักเรยี นร​่วมกับเ​ฉลย​คำต​ อบ

6. ในข​ณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมข​องนกั เรยี น ใหค​ รส​ู งั เกตพฤตก​ิ รรมใ​นการท​ ำง​านแ​ละก​ารนำเสนอผ​ ลงาน​

ของนักเรยี น​ตามแบบป​ ระเมินพ​ ฤตกิ รรมใ​นการท​ ำ​งาน​เปนรายบ​ ุคคล​หรอื เ​ปนกลมุ

​ข้ัน​ท ่ี ​3​ ฝ​ กึ ฝน​ผเู้ รยี น
7​.​ คร​ูให้น​ ักเรยี นท​ ำ​กจิ กรรมท​ ี่​เกย่ี วกบั ก​ ารเ​ปล่ยี นแ​ปลง​ทางสงั คม แ​ละ​ช่วย​กนั ​เฉลยค​ ำ​ตอบ

ข​น้ั ​ที ่ ​4 ​นำไป​ใช้
​8.​​ ค​ รู​แนะนำ​ให้​นักเรียน​สืบค้น​ข้อมูล​เก่ียวกับ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทางสังคมภาย​ใน​ท้องถ่ิน​ของ​ตน​

นำมา​เผยแ​พรค​่ วามรู้

ข​น้ั ท​ ี ่ ​5​ ส​รุป
9​. ครู​และ​นักเรียน​ร่วม​กัน​สรุปความ​รู้เรื่อง ​การ​เปล่ียน​แปลง​ทางสังคม ​โดย​ให้​นักเรียน​สรุป​เป็น​

แผน​ทค​่ี วามคิด

​8.​ ​​กิจกรรม​เสนอ​แนะ
ครู​ใหน​ ักเรียน​ศึกษา​เพ่ิมเติม​เก่ียวกับ​เวลา ​การ​เปล่ียน​แปลง​ทางสังคม ​แลว​นำ​ผล​มา​แลก​เปล่ี​ยน​

เรยี น​รกู ันใ​น​ช้นั เรยี น

44 คูม่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาทพ่ี ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

9​​.​ ส่ือ/​แหลง่ การเรยี นรู้

​1​.​ แ​บบทดสอบก​ ่อนเ​รียนแ​ละ​หลงั เ​รยี น
​2.​ ​สื่อ​การ​เรยี นรู้ ห​ น้าท​ ​พ่ี ลเมือง ว​ัฒนธรรม แ​ละ​การด​ ำเนนิ ​ชีวิต​ในส​ ังคม สมบูรณ์​แบบ ม​ .​​4–​6​
เ​ลม่ ​1​​บรษิ ัท ส​ ำนกั พมิ พ​์วัฒนาพ​ านชิ จ​ำกัด
​ ​3​.​​หนงั สอื ​เรยี น ​รายวชิ า​พน้ื ฐาน ​หนา้ ​ท​พ่ี ลเมอื ง ​วฒั นธรรม ​และ​การ​ดำเนนิ ​ชวี ติ ​ใน​สงั คม ม.​​4​–​6​​
เลม่ ​1​บ​ ริษทั ส​ ำนกั พิมพ​ว์ ฒั นาพ​ านชิ ​จำกัด
​4.​​ แ​บบฝ​ กึ ท​ กั ษะ รายวชิ า​พน้ื ฐาน หนา้ ท​ พ​่ี ลเมอื ง ​วฒั นธรรม ​และก​ ารด​ ำเนนิ ช​วี ติ ​ใน​สงั คม ม.​​4–6​​
เ​ล่ม 1 บ​ ริษทั ส​ ำนักพมิ พว​์ ฒั นาพ​ านิช ​จำกดั

1​​0.​​บันทึก​หลงั ​การ​จดั การเ​รยี นร ู้ ​

1. ควา​มสำเร็จ​ในการจัดการเ​รียน​รู ลงช่ือ /​ ผูสอน
แนวทางการพฒั นา​ /
2. ปญ หา/อปุ สรรคใ​นการจดั การเ​รียนร​ู

แนวทาง​แกไข​
3. ส่ิง​ทไ่ี มไดปฏบิ ตั ต​ิ ามแ​ผน

เหตุผล
4. การ​ปรับป​ รุงแผนการจ​ดั การเ​รยี นรู


Click to View FlipBook Version