The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าที่พลเมืองม4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongsak, 2019-09-21 03:25:36

หน้าที่พลเมืองม4

หน้าที่พลเมืองม4

100 ค่มู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาทีพ่ ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

44. วฒั นธรรมไ​ทย​ไดร บั ​อทิ ธพิ ลม​ าจาก​ขอ ใ​ด 50. วฒั นธรรมไ​ทย​หลัง พ.ศ. 2475 เปลี่ยน-
ก วัฒนธรรมจ​ีน แปลงไ​ปอ​ยา งไร
ข วัฒนธรรมอ​นิ เดยี
ค วัฒนธรรมต​ ะวนั ตก ก ไดร ับ​อิทธพิ ลจ​าก​กระแส​โลกาภิวตั น
ง ถกู ​ทกุ ข​อ ข มี​การ​รับ​วัฒนธรรม​ตะวันตก​มา​อยาง​
45. ขอ ใ​ดเ​ปน ว​ฒั นธรรมท​ างภ​ าษาแ​ ละว​รรณคด​ี
รวดเร็ว
ของ​ไทย ค ไดรับ​ผลกระทบ​จาก​เทคโนโลยี​อยาง​
ก อาหาร​ไทย
ข พทุ ธศาสนา ใหญหลวง
ค กริ ิยา​ทา ทาง ง ไดรับ​ผลกระทบ​อยาง​มาก​จาก​ระบอบ​
ง บานเรือนไ​ทย
46. ขอ​ใดเ​ปนว​ฒั นธรรม​ทางว​ัตถุ ทุนนิยม​เสรี
ก ตมยำ​กุง 51. วัฒนธรรม​ไทย​ใน​ชวงหลัง​สงครามเย็น​มี​
ข กฎหมาย
ค คริสตศาสนา ลกั ษณะอ​ยา งไร
ง ประเพณล​ี อยกระทง ก ม​วี ัฒนธรรม​ท่ี​เรยี บงา ย
47. ส่งิ ​ใดเ​ปนว​ัฒนธรรมท​ างจิตใจ ข ไดร บั ผ​ ลกระทบ​จากโ​ลกาภวิ ตั น​อ ยา งมาก
ก อาวธุ ค วัฒนธรรม​สวนใหญเ​ก่ียวขอ งก​ บั
ข เสื้อผา ​ เกษตรกรรม
ค ศลี ธรรม ง วัฒนธรรม​ด้ังเดมิ ​เร่ิม​เปลีย่ น​เปน​
ง ยารักษาโรค วฒั นธรรม​เมอื ง
48. วฒั นธรรมไ​ทย​ม​คี วามส​ำคัญอ​ยา งไร 52. การ​อนุรกั ษ​วัฒนธรรมไ​ทย​ควร​ปฏิบัติ​
ก ชว ย​ธำรง​ความเ​ปน​ไทย อยา งไร
ข ชว ย​ใหช​าต​ิไทยม​ เ​ี อกลกั ษณ ก ไมเ​ผยแพรใ​หผ​ อู น่ื ร​ู
ค สรางค​ วามเ​จรญิ ​แกช​าตไิ​ทย ข เกบ็ รกั ษาไ​วอ​ยาง​มิดชิด
ง ถูก​ทุก​ขอ ค หา ม​ปรบั ปรุงห​ รือเ​ปล่ยี นแปลง
49. วัฒนธรรม​ไทย​กอน พ.ศ. 2475 เปนไป​ ง ปลูกฝง​ใหค​ น​รุนหลัง​เห็น​ความ​สำคัญ​

ใน​ลกั ษณะ​ใด ของว​ฒั นธรรม
ก มี​ความเ​ปนเ​มืองอ​ยาง​มาก 53. ใคร​จำเปน​ตอง​ไดรับ​การ​ปลูกฝง​จิตสำนึก​
ข เปน แ​บบว​ถิ ชี​วี ติ ​เกษตรกรรม
ค เกี่ยวพนั ​กับก​ ระแส​โลกาภวิ ตั น ในก​ าร​อนุรักษว​ัฒนธรรม​ไทย
ง เลียนแบบ​วัฒนธรรม​ตะวันตก​อยาง​ ก เด็ก
ข นักเรียน
แพรหลาย ค นกั ก​ ารเมือง
ง คนใน​สงั คม​ทุก ๆ คน
54. วัฒนธรรม​ทาง​ครอบครัว​ของ​ไทย​ใน​ขอ​ใด​

ที่​ตา งจ​ากว​ัฒนธรรมส​ากลม​ าก​ท่สี ุด
ก การเ​คารพพ​ อ แม
ข ความ​ซ่อื สัตย​สจุ ริต
ค การส​ อนใหพ​ ่งึ ตนเอง
ง การใ​หค​ วาม​สำคัญกบั ​การศ​ กึ ษา

ค่มู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนาท่ีพลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 101

55. การ​บริหาร​จัดการ​องคความรู​ดาน​ศาสนา 60. หากเ​รา​ไมย อมรับค​ วามแ​ ตกตา งท​ าง​
ศิลปะ และว​ัฒนธรรม​มีว​ิธกี าร​อยา งไร วฒั นธรรมจ​ะส​ง ผลอ​ยา งไร
ก ทำใหเ กดิ ​การ​แตกแยก
ก ใชเ​ทคโนโลยี​ท่ี​ทันสมัย​ใน​การ​อนุรักษ​ ข ทำใหว​ฒั นธรรม​กา วหนา ​ขึน้
วัฒนธรรม ค ทำใหว​ฒั นธรรม​เปน เ​อกลกั ษณ
ง ทำใหว​ัฒนธรรม​ท่​ดี ข​ี องช​าตสิ ูญ​หายไป
ข จัด​กจิ กรรมเ​ชดิ ชวู​ัฒนธรรมท​ ่​ีเปน​ 61. พลเมืองด​ ​ีคอื อ​ะไร
เอกลกั ษณข​องช​าติ ก ผทู​ ี่​มช​ี อื่ เสียง
ค สงเสริม​ใหค​ นใน​ชุมชน​มี​สวนรวม​และ​ ข ผท​ู ีม​่ ี​ฐานะ​ร่ำรวย
ค ผทู​ ี่​ม​ีคน​ยกยอ งน​ บั ถือ
รว มด​ ำเนนิ การด​ วยต​ นเ​อง ง ผทู​ ี่​ม​คี วาม​รับผิดชอบต​ อ ส​ งั คม​และ​
ง สง เสรมิ ใ​หม​ ก​ี ารนำห​ ลกั ธรรมท​ างศ​ าสนา​ ศลี ธรรม
62. ใครเ​ปน ​พลเมอื งด​ ี
มา​ใชใ​นก​ าร​ดำเนินช​วี ติ ก ตุยเ​ลี้ยง​สรุ าเ​พอ่ื น
56. วัฒนธรรม​ญ่ีปุน​ใน​ขอ​ใด​ที่​คลายคลึง​กับ​ ข เอกเ​ปนผ​ ูนำ​ชุมชน
ค กงุ ไ​มเ คย​ทำ​ผดิ กฎหมาย
วัฒนธรรมไ​ทย​มากท​ ่ีสดุ ง ปน​บำเพ็ญตน​เปน​ประโยชน​ตอ​สังคม​
ก ตรงตอ เวลา
ข ระลกึ บ​ ญุ คณุ และ​ชวยเหลือ​ผท​ู ่​ีเดือดรอนเ​สมอ
ค ทำงาน​เปน​ทมี 63. การ​ปฏิบัติตน​เปน​พลเมือง​ดี​มี​ความ​สำคัญ​
ง แยกแยะ​เร่ือง​งานก​ ับเ​ร่ืองส​ ว นตัว
57. ขอ ใ​ดเ​ปน ล​กั ษณะข​องว​ฒั นธรรมไ​ทยท​ ต​่ี า ง​ อยางไร
ก สงั คม​เกดิ ส​ นั ตสิ ุข
จากว​ัฒนธรรมส​ ากล ข ม​ีชอื่ เสียงใ​นส​ ังคม
ก เชือ่ มน่ั ใ​นต​ น​เอง ค คนใน​สังคม​นยิ มชมชอบ
ข เช่ือ​ใน​พรหมลิขติ ง ไดร​ับคำส​ รรเสรญิ ​เยนิ ยอ
ค เชอ่ื ใ​น​หลกั เ​หตุผล 64. ใครไ​ม​ป ฏิบัติต​ ามกฎหมาย
ง เชอ่ื ​ใน​ความเ​ทาเทยี มก​ นั ​ของม​ นษุ ย ก ​จมุ ไ​มไ​ปว​ัด​ในว​ันพระ
58. วฒั นธรรมใ​ดข​องไ​ทยท​ ต​ี่ า งจ​ากว​ฒั นธรรม​ ข เกงซ​อ้ื เ​หลาไ​ป​ดื่ม​ใน​วดั
ค นอ ยใ​สร​องเทาแตะไ​ปโ​รงเรยี น
สากลแ​ ละถ​ อื เปน อ​ปุ สรรคข​องก​ ารป​ กครอง​ ง ออ ไ​มส​ วมห​ มวกนิรภัย​ขณะข​บั ​รถยนต
ในร​ะบอบป​ ระชาธิปไตย 65. ใคร​ตอง​ปฏิบัติ​ตาม​ระเบียบ​ของ​กรุงเทพ-
ก ระบบไ​พร
ข ความ​มเี​หตุผล มหานคร
ค ความเ​ทาเทียมก​ นั ก คนท​ ที่ ำงาน​ในก​ รุงเทพมหานคร
ง การ​ประนปี ระนอม ข คนท​ ี​ม่ ​ีภูมลิ ำเนา​อยใู​น​กรงุ เทพมหานคร
59. ขอ ใ​ดไ​มใ ช ว​ธิ กี ารเ​ลอื กร​บั ว​ฒั นธรรมส​ากล​ ค คนท​​เ่ี รยี นห​ นงั สอื ​อยใู ​น​กรงุ เทพมหานคร
อยางม​ วี​จิ ารณญาณ ง ถูก​ทุกข​อ
ก การ​เขา สูโ​ลกแ​หงอ​นาคต
ข การ​ทำใหเกดิ ค​ วามส​ มดลุ
ค การ​ทำใหเกดิ ค​ วามแ​ตกตา ง
ง การ​เรียนรดู​ ว ยต​ นเ​อง​ตลอด​เวลา

102 คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนาทพ่ี ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

66. ลูก​จะแ​ สดง​ความก​ ตญั ​ตู อ ​พอ แมเ​ ม่อื ใด 71. เมอื่ เ​พอ่ื นม​ค​ี วามค​ ดิ เหน็ ต​า งจ​ากเ​รา เราควร
ก เมอ่ื ​ทาน​แกช รา ป​ ฏิบตั อ​ิ ยา งไร
ข เมื่อ​ทาน​เจบ็ ปว ย
ค เมอ่ื ​ทาน​เดือดรอน ก เดิน​หนี
ง ไดท​ ุกเวลา​และท​ ุกโ​อกาส ข เหน็ ดวย​กบั ค​ วามคิด​เพือ่ นท​ นั ที
67. การ​เนรเทศ​ผู​ท่ี​มี​สัญชาติ​ไทย​ออกนอก ค บอกวา ​ความคดิ ​ของเ​ราถ​ ูกตองท​ ี่สดุ
ง รับฟง​ความ​คิดเห็น​ของ​เพ่ือน​แลว​นำมา​
ประเทศ​เปนการ​ละเมิด​สิทธิ​และ​เสรีภาพ​
ในข​ อใ​ด คิด​เปรียบ​เทียบกับ​ความเห็น​ของ​เรา​
ก เสรีภาพใ​น​เคหสถาน ดวย​เหตุผล
ข เสรีภาพ​ใน​การส​ ือ่ สาร 72. ขอ​ใด​ไมใช ​วัตถุ​ประสงค​ของ​การ​รับฟง​
ค เสรภี าพใ​นก​ ารเ​ดนิ ทางแ​ละก​ ารเ​ลอื กถ​ นิ่ ​ ความค​ ิดเห็น​ของ​ผอู น่ื
ท่ีอยู ก นำ​ขอมลู ​มา​ตัดสินใจ
ง สิทธิ​ใน​ครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง ข สราง​ความ​เขา ใจท​ ่ีถ​ กู ตอง
ขอมูล​สวนบุคคล และ​ความ​เปนอยู​ ค สนอง​ความ​ตองการข​อง​ตน​เอง
สวนตวั ง ประสาน​ความ​ตอ งการข​องท​ งั้ 2 ฝาย
68. นายว​รี ะ​สนทิ ก​ บั น​ าย​อทุ ยั ​มาก วันหนง่ึ ​นาย​ 73. เม่ือ​ได​ขอ​สรุปจาก​การ​รับฟง​ความ​คิดเห็น​
อุทัย​ไมอยู​บาน นาย​วีระ​จึง​ปน​รั้ว​เขาไป​ใน​ แลว​ควร​นำไปท​ ำอ​ะไร
บาน​ของ​นาย​อุทัย​เพื่อ​ไป​เอา​หนังสือ​ที่​ตน​ ก นำไปใชป​ ระกอบการต​ ดั สินใจ
ลืม​ไว กรณี​น้ี​นาย​วีระ​จะ​กระทำ​ได​หรือไม ข เกบ็ ไ​วใ​นทม​่ี ดิ ชิด ไมต​ อ งใ​สใจ
เพราะอะไร ค นำไป​เผยแพรใ​หผ​ ทู ​ ี่​ไมเ​หน็ ดวยอ​าน
ก ได เพราะ​สนิท​กับน​ ายอ​ุทยั ง นำไป​วิเคราะห​วา​มี​ขอ​ใด​บาง​ที่​ตน​ไม​
ข ได เพราะไ​มไดเ​ขาไปข​โมยส​ ิง่ ของ​ใด ๆ เหน็ ดว ย
ค ไมได เพราะ​เปนการ​ละเมิด​เสรีภาพ​ใน​ 74. ใครม​ ีค​ วามร​ับผิดชอบ
เคหสถานข​องน​ ายอ​ทุ ัย ก ตอ​มน​ ำ​ขยะใ​น​บา น​ไปท​ งิ้ ไ​วข​า งถนน
ง ไมได เพราะ​หาก​นาย​อุทัย​กลับมา​เห็น​ ข เอ​ปลอย​น้ำเสีย​ที่​ยัง​ไมไดบ​ ำบัด​ลง​ใน​
อาจจะท​ ำใหท​ ะเลาะกนั ไ​ด แมน ำ้
69. การ​เกณฑ​แ รงงานส​ามารถท​ ำได​ใ น​กรณใ​ี ด ค แวว​ใชว​ัตถุดิบ​ที่​มี​คุณภาพ​ใน​การ​ปรุง
ก เมื่อ​มีก​ าร​เลือกตั้ง​ใหม อาหารข​าย​แกล​ ูกคา
ข เม่อื ​มภี​ ัยพบิ ตั ส​ิ าธารณะ ง ปยุ ใ​สส​ ารบ​ อแรกซล​ งใ​นผ​ ลไมด​ องท​ ต​่ี น​
ค เมอ่ื ​ม​วี นั สำคญั ​ทาง​ศาสนา ทำ​ขาย​เพอ่ื ใหก​ รอบแ​ละ​นา ​รบั ประทาน
ง สามารถท​ ำไดใ​น​ทกุ ๆ กรณี 75. หาก​ปจจุบัน​นักเรียน​มีอายุ 17 ป จะ​มี​
70. เมื่อท​ ำผดิ เ​รา​จะ​ตองป​ ฏิบตั ิตนอ​ยา งไร สวนรวม​ใน​การ​เลือกตั้ง​ใน​ทองถิ่น​ได​
ก ใหผ​ อู น่ื ​แกไ ข อยา งไร
ข ยอมรับแ​ละห​ า​ทางแก ก ไปใ​ชส​ ทิ ธิ​เลือกตงั้
ค โยน​ความ​ผดิ ​ใหก​ ับผ​ อู ื่น ข รณรงคก​ ารเ​ลือกตงั้
ง ปลอ ยไวเ​ฉย ๆ ไมต​ องส​ นใจ ค ลงสมคั ร​รับ​เลือกต้ัง
ง สมัครเปน ​คณะกรรมการ​การเ​ลอื กต้งั

คูม่ ือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ท่ีพลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 103

76. การ​แกปญหา​ของ​ประเทศ​ใน​ขั้น​ของ​การ​ 79. ขอ​ใด​เปนการ​มี​สวน​รวมทาง​การเมือง​การ​
กำหนด​นโยบาย​และ​วางแผน​เปน​หนาที่​ ปกครอง​ท่ี​ไมถ ูกตอ ง
ของ​ใคร
ก วารี​ขบั รถพ​ าพ​ อท​ ี่​ตาบอด​ไป​เลอื กตง้ั
ก รัฐบาล ข เดก็ ​นกั เรยี นร​ว ม​สงั เกตการณ​ก าร​เลอื กตง้ั
ข ขาราชการ ค ชาวบาน​ไปใ​ชส​ ิทธิ​เลือกต้งั ใ​น​เวลา
ค นกั ​การเมือง 08.00 น.
ง ทกุ ​ภาคส​ ว นในส​ ังคม ง นกั ก​ ารเมอื งจ​ดั ง​านเลย้ี งใ​หแ​กห​ วั คะแนน
77. เราจ​ะแ​ กไ ขป​ญ หาว​กิ ฤตการณด​ า นท​ รพั ยากร​
​ใน​คนื ​กอ นว​ัน​เลอื กตง้ั
ธรรมชาตไ​ิ ดอ​ยา งไร 80. เม่ือ​มี​เหตุการณ​ภัยพิบัติ​ตาง ๆ เกิดขึ้น​
ก ไมใ​ชท​ รพั ยากรท​ ใ่​ี ชแ ลว​หมดไป
ข ใชใ​หเ​กดิ ป​ ระสิทธภิ าพน​ อยที่สุด ในประเทศ ใน​ฐานะ​ที่​เปน​พลเมือง​ดี​ของ​
ค หมุนเวยี น​ทรัพยากรม​ าใ​ชอ​กี ครัง้ สังคมค​ วรป​ ฏิบัตติ นอ​ยา งไร
ง ใชท​ รัพยากรใ​หห​ มดเ​ปน ไปท​ ลี ะ​อยา ง ก ไมต​ องใ​สใจ
78. ใครม​ ค​ี ุณธรรมใ​นดา น​การ​พฒั นา​สังคม ข ติดตาม​ขาวต​ ลอดเ​วลา
ก นดิ ​ตรงตอ เวลา ค ใหค​ วาม​ชวยเหลือ เชน บริจาค​ส่ิงของ
ข ปอม​เชอื่ ฟง​พอแม เปน อ​าสาสมคั ร
ค พิมร​กั ษาส​ าธารณประโยชน ง ไมค​ วร​เขาไป​ยุง เพราะ​อาจจะ​กอ​ความ​
ง เอม​ไมย​ งุ ​เก่ียวกับอ​บายมขุ ท​ ้งั ปวง วนุ วาย​แกเ​จาหนาที​ท่ ี่​ปฏบิ ตั ง​ิ าน​อยู

ตอนที่ 2 ตอบคำถาม

1. การจ​ัด​ระเบียบส​ ังคม​มคี​ วามส​ ำคญั ​อยา งไร
การ​จัด​ระเบียบ​สังคม​เปนการ​ทำให​สังคม​เกิด​ความ​มี​ระเบียบ​เรียบรอย มี​ความ​มั่นคง และ​สมาชิก​ของ​
สังคม​สามารถ​ใชชีวิต​ของ​ตน​อยู​ใน​สังคม​ได​อยาง​สงบสุข ดังน้ัน​การ​จัด​ระเบียบ​สังคม​จึง​มี​ความ​สำคัญตอ​
ทกุ ​สังคม เพราะ​หากไ​มม ​ีการ​จดั ​ระเบียบส​ งั คม สงั คม​กจ​็ ะ​ไมส​ ามารถด​ ำเนนิ อ​ยหู​ รอื ค​ งสภาพอ​ยไู​ด 


2. การข​ัดเกลา​ทางสังคม​คอื อ​ะไร มคี​ วามส​ ำคัญ​อยา งไร
การ​ขัดเกลา​ทางสังคม คือ กระบวนการ​ท่ี​คน​เรียนรู​และ​ซึมซับ​บรรทัดฐาน​และ​คานิยม​ของ​สังคม​จาก​การ​
สั่งสอน​หรือ​บอก​กัน​โดย​ตรง และ​จาก​การ​สังเกต​ของ​ตน​เอง เพื่อ​ปรับตัว​ให​สามารถ​อยู​รวมกับ​ผูอื่น​ใน​สังคม​
ไดอ​ยา งเ​หมาะสม เปน สมาชกิ ​ท่​ีดข​ี องส​ ังคม รวมทั้งเ​พ่ือพ​ ัฒนาบ​ คุ ลกิ ภาพข​อง​ตนเ​อง
การ​ขดั เกลา​ทางสงั คมม​ คี​ วาม​สำคัญเ​นือ่ งจากเ​ปนส​ ิ่งช​ว ยใ​หค​ นป​ รบั ตวั แ​ละป​ ฏบิ ตั ​ติ ามบ​ รรทดั ฐาน​ทส่ี​ ังคม​
กำหนด​ไว

104 คูม่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ทีพ่ ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
3. ระบบเ​ศรษฐกจิ ​ไทยห​ ลังจาก​การท​ ำ​สนธสิ ัญญา​เบาวร​ งิ เ​ปลีย่ นแปลงไ​ปอ​ยางไร

เปลยี่ นจ​าก​ระบบเ​ศรษฐกจิ ​แบบพ​ อ​ยงั ชพี ไ​ป​เปนการผ​ ลติ เ​พอื่ ก​ าร​ตลาด มค​ี วามต​ อ งการ​เงนิ ทุนห​ มนุ เวยี น​
มากขึ้น กระบวนการผ​ ลิตแ​ละ​การ​จำหนาย​จะม​ ี​นายทุนแ​ละ​ผู​ประกอบการ​ทต่​ี องการ​ผลตอบแทน

4. ปญหาข​องผ​ พู ​ ิการใ​น​สงั คม​ไทยม​ ลี​ ักษณะอ​ยางไร
ผ​ูพกิ าร​ขาด​สาธารณปู โภค​พนื้ ฐานท​ เ​ี่ หมาะสม การ​ใหค​ วาม​ชวยเหลอื ข​องร​ัฐบาล​ยัง​ไมเ​หมาะสม เพียงพอ
รวมทัง้ ก​ ารข​าดโ​อกาสข​องผ​ ​ูพิการ ขาด​ความเ​สมอภาคใ​น​การป​ ระกอบ​อาชพี และ​ความ​มน่ั คงท​ าง​เศรษฐกจิ

5. วฒั นธรรม​มค​ี วามส​ ำคัญอ​ยางไร
1) เปน เ​คร่อื ง​สราง​ระเบยี บแ​กส​ ังคม
2) ทำใหเ กดิ ​ความ​เปน เ​อกภาพ
3) เปน​ตัวกำหนดร​ูปแบบข​องส​ ถาบนั
4) เปน​เคร่อื ง​ชวยแ​กปญหา​และ​สนองค​ วามต​ องการข​องม​ นุษย
5) ชว ย​ให​ประเทศชาตเิ​จรญิ ก​ าวหนา
6) เปนเ​ครือ่ ง​แสดง​เอกลักษณข​อง​ชาต ิ

6. วัฒนธรรม​ทางด​ า นค​ วาม​เช่อื แ​ละ​คา นยิ มข​องไ​ทย​แตกตา งจากว​ฒั นธรรมสากล​อยา งไร
วัฒนธรรม​ไทย​จะ​เชื่อ​ใน​เรื่อง​พรหมลิขิต เช่ือ​ใน​ประสบการณ เช่ือ​ใน​ความ​ไม​เทากัน​ของ​มนุษยยึดมั่น
​ระบบ​อาวุโส เสียสละ ประนีประนอม ตาง​จาก​วัฒนธรรม​สากล​ท่ี​เช่ือ​ใน​ตน​เอง ยึดหลัก​เหตุผล เชื่อ​ใน​ความ​
เทาเทียม​กนั ข​อง​มนษุ ย เคารพใ​น​สทิ ธิ​ของบ​ คุ คลอ่นื และย​ ดึ มนั่ ใ​นค​ วามย​ ตุ ิธรรม​ตามกฎหมาย

7. พลเมมี​คือวงาด​ม​ีม​ร​ีลับกั ผษิดณชอะ​อบย​ตาอง​สไรังคม​และ​ศีลธรรม ตอง​มี​สวน​รวมกับ​กิจกรรม​ของ​ชุมชน ตอง​มีความรู​ใน
​เร่ือง​การเมือง และ​จะ​ตอง​เปน​คน​ที่​มี​อาชีพ​สุจริต ขยัน​ขันแข็ง ประหยัด รูจัก​พอ ซ่ือสัตย และ​ใช​ปญญา​
ในก​ าร​ประกอบอ​าชพี ​และก​ ารด​ ำรงชวี ิต

8. ผูท​ ่ม​ี ี​ความ​รบั ผิดชอบจ​ะ​ตอง​ปฏิบัตติ นอ​ยางไร
1) ปฏบิ ตั ง​ิ านต​ าม​ข้ันต​ อนที่​วางแผนไ​ว 
2) ปฏิบตั ติ น​ตามกฎหมาย
3) ปฏบิ ตั ติ น​ตาม​สิทธ​ิและ​หนาท่ ี
4) รกั ษาสา​ธารณ​ ส​ มบัต​ิของ​ตนเ​อง ผูอ น่ื และ​สว นรวม
5) ยอมรับ​ผลก​ ารก​ ระทำ​ของต​ น สรปุ ผล คะแนน
​การป​ ระเมิน เต็ม ได้

ตอนที่ 1 ผู้ประเมนิ
ตอนท่ี 2

รวม

ลงชือ่

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาท่พี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 105

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค​ า นิยม

สำหรับ​คร​ูประเมิน​นกั เรียน

คำช​้แี จง สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นแลว้ ใส่คะแนนลงในตารางให้ตรงกบั ความเปน็ จริง​
คะแนน
รายการประเมิน พฤติกรรมการแสดงออก 321 หมายเหตุ

1. มวี นิ ัย 1. มกี ารวางแผนการทำงานและจดั ระบบการทำงาน 3 หมายถึง

2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ทำงานตามขนั้ ตอนต่าง ๆ ท่ีได้วางแผนไว้ นกั เรียนแสดง
3. ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ความเรยี บรอ้ ย หรอื คุณภาพของงาน พฤติกรรมน้นั
4. มีความกระตือรือร้นและสนใจท่ีจะแสวงหาความรู้ อย่างสม่ำเสมอ
5. ชอบสนทนา ซกั ถาม ฟัง หรอื อ่านเพ่อื ใหไ้ ดค้ วามรู้เพิม่ ข้ึน 2 หมายถงึ
นักเรยี นแสดง
6. มคี วามสขุ ที่ไดเ้ รียนรูใ้ นส่งิ ที่ตนเองตอ้ งการเรยี นรู้ พฤตกิ รรมน้นั

3. อยู่อย่าง 7. ใชจ้ า่ ยทรัพย์สนิ ของตนเอง เชน่ เงิน เสื้อผ้า สง่ิ ของ อยา่ งประหยัด เป็นครัง้ คราว
พอเพยี ง 8. ใช้น้ำ ไฟฟา้ และทรพั ยากรธรรมชาตอิ ่ืน ๆ อยา่ งประหยัดและค้มุ ค่า 1 หมายถึง
9. มสี ่วนร่วมในการดูแลและรกั ษาทรพั ย์สินของส่วนรวม
4. รักความเปน็ 10. ใช้ภาษาไทยได้อยา่ งถกู ตอ้ ง นักเรยี นแสดง
ไทย 11. ร้จู ักอ่อนน้อมถ่อมตนและมสี มั มาคารวะ พฤติกรรมน้ัน
น้อยครง้ั

12. มีส่วนร่วมในการเผยแพร่และอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม
ประเพณไี ทย

5. รักชาติ ศาสน์ 13. รว่ มกจิ กรรมทีส่ ำคญั เกย่ี วกบั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
กษตั รยิ ์

6. มจี ิตสาธารณะ 14. เสยี สละ มีนำ้ ใจ ร้จู ักเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ตอ่ ผ้อู น่ื

15. เห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าประโยชนส์ ว่ นตน

7. มคี วาม 16. ยอมรับผลการกระทำของตนเองทัง้ ทีเ่ ปน็ ผลดแี ละผลเสยี
รบั ผดิ ชอบ 17. ทำงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายใหส้ มบูรณ์ตามกำหนดและตรงต่อเวลา

8. ซือ่ สัตย์สุจริต 18. บันทกึ ข้อมูลตามความเป็นจรงิ และไมใ่ ช้ความคิดเห็นของตนเองไปเก่ยี วขอ้ ง

19. ไม่แอบอา้ งผลงานของผู้อืน่ วา่ เปน็ ของตน

20. เคารพหรือปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎ กติกา หรอื ระเบยี บของกลมุ่ ที่กำหนดไว้

คะแนนรวม
คะแนนเฉลย่ี

เกณฑก​ าร​ตดั สิน​คุณภาพ​

ชวงคะแนนเฉล​่ีย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การ​หา​คะแนน​เฉล่ียห​ าไดจ​ากก​ ารนำ​เอา​คะแนน​รวม​ใน
ระดบั คณุ ภ​าพ 3 = ดีมาก 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ แตล ะช​อ ง​มา​บวก​กัน แลว​หาร​ดว ย​จำนวน​ขอ จากนนั้ ​นำ​คะแนน​
เฉลี่ยท​ ​ี่ไดม​ า​เทียบกบั เ​กณฑก​ าร​ตัดสนิ ค​ ณุ ภาพ​และส​ รปุ ผลก​ าร​
สรปุ ผล​การป​ ระเมนิ (เขยี นเ​ครอื่ งหมาย 3 ลงใ​น  )​ ประเมนิ

ระดบั ​คณุ ภาพ​ 3 2 1
ท่ี​ได

106 คู่มอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทพี่ ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

ด้านทกั ษะ/กระบวนการ

สำหรับ​ครู​ประเมนิ ​นกั เรยี น

คำช​ี้แจง สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นแล้วใส่คะแนนลงในตารางใหต้ รงกบั ความเปน็ จริง​
คะแนน
รายการป​ ระเมนิ พฤติกรรมการแสดงออก 321 หมายเหตุ

1. การส่ือสาร 1. ใชว้ ิธกี ารสื่อสารในการนำเสนอขอ้ มลู ความรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3 หมายถึง
2. การใช้ 2. เลือกรับขอ้ มลู ความรดู้ ว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง นักเรยี นแสดง
3. ศึกษาค้นคว้าขอ้ มูลความรจู้ ากส่ือและแหลง่ เรียนรูต้ า่ ง ๆ ได้ดว้ ยตนเอง พฤตกิ รรมนน้ั
เทคโนโลยี 4. เลือกใช้เทคโนโลยใี นการศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มูลความรู้ได้อย่างถกู ตอ้ ง อย่างสมำ่ เสมอ
3. การคิด 2 หมายถงึ
เหมาะสมและมคี ณุ ธรรม นักเรยี นแสดง
4. การแกป้ ัญหา พฤติกรรมนัน้
5. สรปุ ความคดิ รวบยอดหรอื สาระสำคัญของเรื่องทศี่ กึ ษา เป็นครั้งคราว
6. แปลความ ตคี วาม หรือขยายความของคำ ขอ้ ความ ภาพ และสญั ลกั ษณ์ 1 หมายถงึ
นักเรยี นแสดง
ในเร่อื งทศ่ี ึกษา พฤติกรรมน้นั
นอ้ ยครงั้
7. วิเคราะหห์ ลกั การและนำหลกั การไปใชไ้ ด้อยา่ งสมเหตสุ มผล
8. ตง้ั คำถามหรือตง้ั สมมุตฐิ านต่อเรอื่ งทีศ่ กึ ษาอย่างมีระบบ
9. รวบรวมขอ้ มลู ความรูท้ ่เี กยี่ วข้องกบั เรือ่ งท่ีศกึ ษาจากส่ือและแหล่งการเรียนรู้

ต่าง ๆ

10. ตรวจสอบและประเมนิ ความถูกตอ้ งครบถว้ นของขอ้ มูลความรู้ท่ไี ดจ้ าก
การเก็บรวบรวม

11. นำขอ้ มลู ความรู้ท่ีไดจ้ ากการตรวจสอบและประเมินมาวิเคราะห์หรือแยกแยะ
เพื่อสะดวกในการทดสอบสมมุตฐิ าน

12. ทดสอบสมมุติฐานและสรปุ เปน็ หลักการดว้ ยภาษาของตนเองท่ีเข้าใจง่าย

13. นำข้อมูลความรทู้ ่ไี ด้ไปใชแ้ ก้ปัญหาตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในชีวติ ประจำวัน

5. ทกั ษะ 14. มสี ่วนรว่ มในการกำหนดเปา้ หมายการทำงานของกลุ่ม
กระบวนการ 15. ร่วมกันวางแผนและแบ่งหน้าที่การทำงานกับสมาชกิ ในกลุ่ม
กลุม่ 16. เป็นทั้งผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
17. ปฏบิ ัติหนา้ ทีต่ ามที่ได้รับมอบหมายดว้ ยความรับผดิ ชอบ

18. ช่วยลดข้อขัดแยง้ และแก้ปญั หาของกลมุ่ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

19. สรา้ งสรรค์ผลงานเสร็จทนั เวลาและมีคณุ ภาพ

20. ภูมใิ จและพงึ พอใจในผลงานและการทำงานกล่มุ

คะแนนรวม

คะแนนเฉล่ีย

เกณฑก​ าร​ตัดสิน​คณุ ภาพ​

ชวงคะแนนเฉล​ี่ย 2.34–3.00 1.67–2.33 1.00–1.66 หมายเหตุ การ​หา​คะแนน​เฉลย่ี ​หาไดจ​าก​การนำ​เอา​คะแนน​รวม​ใน
ระดับคุณภ​าพ 3 = ดีมาก 2 = พอใช้ 1 = ควรปรบั ปรงุ แตละ​ชอง​มา​บวก​กัน แลว​หาร​ดวย​จำนวน​ขอ จากน้ัน​นำ​คะแนน​
เฉล่ีย​ท่ี​ได​มา​เทียบกับ​เกณฑ​การ​ตัดสิน​คุณภาพ​และ​สรุปผล​การ​
สรุปผล​การ​ประเมิน (เขียนเ​ครือ่ งหมาย 3 ลง​ใน  )​ ประเมนิ

ระดับ​คุณภาพ​ 3 2 1
ท​่ไี ด

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หน้าที่พลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1 107

8. ใบงาน แบบบันทกึ และแบบประเมินตา่ ง ๆ

ใบงานที่ 1

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 1 เรื่อง โครงสรางทางสังคม เร่อื ง โครงสรา งทางสังคม

ตวั ช้วี ัดช่วงชั้น วเิ คราะหค วามสำคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลง
ทางสงั คม (Ê 2.1 ม. 4–6/2)

คำชแ้ี จง ตอบคำถาม
1. โครงสรา้ งทางสังคมหมายถึงอะไร
สว น ตาง æ ทป ี่ ระกอบ กนั เปน ระบบ ความ สมั พนั ธข  องส งั คมมนษุ ย 

2. ลักษณะของโครงสรา้ งทางสังคมประกอบดว้ ยอะไรบ้าง
1) มี การร วมกลมุ ของ คนในส งั คม
2) มี แนว ทางใน การ ปฏิบัติ อยาง เหมาะสม หรือ มี กฎเกณ± ระเบียบ แบบแผน เปนแนว ทางใน การ ยึดถือ
รว มกนั โดยย ดึ หลัก ประโยชน สูงสดุ ของ สงั คม
3) มจี ุดม งุ หมายใ นก ารป ฏบิ ัตก ิ จิ กรรมต าง æ ที่ ดี และ มี ความ เหมาะสม ทจ่ี ะน ำมา ใชก ับส ังคม นน้ั

3. นกั เรยี นคิดว่ากล่มุ เพ่อื นของนกั เรยี นจดั เปน กลุม่ สงั คมได้หรือไม่ เพราะอะไร
พิจารณา จาก คำต อบ ของน ักเรียน

4. สถาบันครอบครวั มหี นา้ ที่อะไรบ้าง
1) สรา ง สมาชิกใหมแ  กส  ังคม
2) เลี้ยงด ูสมาชกิ ใหม
3) ใหค วาม รัก ความ อบอนุ และก ำลังใจแ กส มาชกิ
4) อบรม ปลกู ½ง ร ะเบยี บ สงั คม แก ส มาชกิ
5) กำหนดส ถานภาพ และ บทบาท ของส มาชิก
6) หนา ที่อ่ืน æ เชน ปลกู ½งค ุณธรรม จริยธรรมแ กส มาชิก ถายทอด วฒั นธรรม แก ส มาชกิ

5. นกั เรยี นคดิ วา่ หากไม่มสี ถาบนั ศาสนาสังคมจะเปนอยา่ งไร
พจิ ารณา จากค ำ ตอบ ของน ักเรียน

ชอ่ื นามสกุล เลขท่ี ชน้ั
âรงเรียน

108 คูม่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้ ที่พลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1

ใบงานที่ 2

เร่ือง การขดั เกลาทางสังคม

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 3 เรอื่ ง การขดั เกลาทางสังคม

ตวั ชวี้ ัดชว่ งชนั้ วเิ คราะหค วามสำคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลง
ทางสงั คม (Ê 2.1 ม. 4–6/2)

คำช้ีแจง ตอบคำถาม
1. การขัดเกลาทางสงั คม หมายถึงอะไร
กระบวนการ ที่ คน เรียนรู และ ซึมซับ บรรทัดฐาน และ คานิยม ของ สังคม จาก การ สั่งสอน หรือ การ บอก กัน
โดย ตรง และ จาก การ สังเกต ของ ตน เอง เพื่อ ปรับตัว ให สามารถ ใชชีวิต รวมกับ คน อื่น ใน สังคม ได อยาง ถูกตอง
เหมาะสม และ พัฒนา ตนเ องใ หเ  ปนสมาชกิ ที ่ดีข อง สังคม รวมทง้ั เ พอ่ื พฒั นาบ คุ ลิกภาพ ของ ตนเ อง

2. เพราะเหตใุ ดจงึ ต้องมกี ารขัดเกลาทางสงั คมตลอดเวลา
á¹Ç¤ÓµÍº
จากก าร ทีส ่ งั คมม ล ี ักษณะ เปน พล วตั มก ี าร เปล่ยี นแปลงอ ย ูตลอดเ วลา ทำให คนจ ำเปนต องม ีก ารข ดั เกลา
ทางสงั คมอ ยต ู ลอดเ วลา เนอื่ งจากค นจ ะต อ งป รบั ตวั แ ละป ฏบิ ตั ต ิ ามบ รรทดั ฐานท ส ่ี งั คมก ำหนด เพอ่ื ใหส  ามารถ
อยูร วมกัน ไดอ ยาง สันติสุข

3. พอ่ แม่สอนลกู ให้เปนคนดี จดั เปนการขดั เกลาทางสังคมหรอื ไม่ เพราะอะไร
á¹Ç¤ÓµÍº
เปน เน่ืองจาก การ ที่ พอแม ส่ังสอน ลูก ให เปน คนดี เปนการ สอนให ลูก สามารถ ปรับตัว ให ใชชีวิต อยู รวมกับ
ผูอ่นื ไ ดอ ยา ง สนั ตสิ ขุ

กลมุ ที่ 4.
สมาชกิ กลมุ 5.
6.
1.
2.
3.

คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา้ ทีพ่ ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1 109

ใบงาน

เร่อื ง ปญหาสงั คมของไทย

แผนการจัดการเรียนรูท ี่ 6 เรอ่ื ง ปญ หาทางสงั คม

ตวั ช้ีวดั ชว่ งชนั้ วเิ คราะหค วามสำคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลง
ทางสงั คม (Ê 2.1 ม. 4–6/2)

คำชแี้ จง ตอบคำถาม
1. ปญ หาทางสงั คมมคี วามสำคญั อย่างไร
ปญหาสังคมเปน ปญหา ของ คน จำนวน มาก ใน สังคม หาก ปลอย ให มี มากขึ้น ก็ จะ ทำให คนใน สังคม ไมมี
ความ สุข ดังน้ัน สมาชิก ของ สังคม จึง ตอง รวมมือกัน แก ปญหาสังคม เพ่ือ ที่ สังคม นั้น จะ ได เปน สังคม อยู เย็น
เปนสุข

2. ปญ หาทางสงั คมของไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง
ปญหาสังคมข อง ไทย ม หี ลาย ประการ ไดแ ก
1) ปญหา ประชากร
2) ปญ หาข อง ผูพ กิ าร
3) ปญ หาส ขุ ภ าวะข องป ระชาชน ไทย
4) ปญหา ความ รูความ เขาใจข องป ระชาชน กลุม ต าง æ
5) ปญหา คา นิยม และก ารท ำงาน อาสาสมัคร
6) ปญหา ระบบ และค ุณภาพง าน สวสั ดกิ าร สังคม

3. นกั เรียนคดิ ว่าปญ หาทางสังคมของไทยในปจ จุบันเกดิ จากอะไรบ้าง
พิจารณา จาก คำ ตอบ ของ นักเรียน

4. ให้นักเรียนค้นหาข่าวเกย่ี วกบั ปญหาทางสงั คมของไทยแลว้ สรุป พร้อมท้งั เสนอวิธีแกไ้ ขปญ หาส้ัน ๆ
พิจารณา จากค ำต อบข องน ักเรียน

ชอื่ นามสกลุ เลขท่ี ชน้ั
âรงเรยี น

110 คู่มือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้ ทพี่ ลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1

ใบงาน

เรอื่ ง วฒั นธรรมไทย

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 9 เร่อื ง วัฒนธรรมไทย

ตวั ชวี้ ัดช่วงชั้น วิเคราะหความจำเปนที่จะต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและอนุรักษวัฒนธรรมไทย
และเลือกรับวัฒนธรรมสากล (Ê 2.1 ม. 4–6/5)

คำชแี้ จง ตอบคำถาม

1. ลักษวัฒณนะวธัฒรรนมธ ไทรรยม มไี ลทักยษณะ ผสมผสาน โดย มี วัฒนธรรม ด้ังเดิม เปนของ ตน เอง และ รับ วัฒนธรรม อื่น จาก
ภายนอก เขามา เพื่อใหเ  กิดป ระโยชนต อส วนรวม

2. วัฒนธรรมไทยช่วงหลังสงครามเย็นเปลี่ยนแปลงไปจากช่วงหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง
พ.ศ. 2475 อยา่ งไร
สงั คมไ ทยม ค ี วามส ลบั ซบั ซอ นย ง่ิ ขน้ึ ก วา เ ดมิ โดยป จ จยั ท ม ่ี ผ ี ลกระทบต อ ค วามเ ปน ไ ทยแ ละว ฒั นธรรมไ ทย
ไดแก โลกาภิวัตน ตลาดเสรี เทคโนโลยี สารสนเทศ และ สื่อมวลชน การเมือง ระหวาง ประเทศ วัฒนธรรม
ตางถิ่น อาชญากร ขามชาต ิ ความรู และเ ทคโนโลย ีทุนนิยมเ สร ี

3. วิธีการอนุรักษว ัฒนธรรมไทยในท้องถนิ่ ของตนเอง
สงเสริม ให ประชาชน ใน ชุมชน ได เห็น ความ สำคัญ ของ ศิลป วัฒนธรรม มรดก ทาง ศิลป วัฒนธรรม และ
ภมู ิปญญา ทอ งถิ่นเ พอื่ น ำไปสก ู าร สบื สานแ ละ สรางสรรคต อไป

ชือ่ นามสกลุ เลขที่ ช้ัน
âรงเรียน

คูม่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา้ ที่พลเมอื งฯ ม. 4–6 เลม่ 1 111

ใบงาน

เรือ่ ง การเปน็ พลเมืองดี

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 11 เรอ่ื ง การเป็นพลเมอื งดี

ตวั ช้ีวัดช่วงช้นั ปฏิบัติตนและมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติเพ่ือเปนพลเมืองดีของ
ประเทศชาติและสงั คมโลก (Ê 2.1 ม. 4–6/3)

คำช้แี จง อา่ นข้อความแล้วตอบคำถาม พจิ ารณา จาก คำต อบข อง นักเรียน

เดก็ หญงิ 4 ขวบ เจอ 4 หมื่น สงคนื เจาของเงิน
เด็กหญิง 4 ขวบ พลเมืองดี เก็บกระเป‰าเงินได้ในห้องน้ำห้างดังย่านเมืองนนท พบเงินสดเกือบครึ่งหม่ืน
ลอตเตอรอ่ี กี หลายคู่ นา้ สาวพาขนึ้ โรงพกั แจง้ ตำรวจสง่ คนื เจา้ ของทนั ที เจา้ ของเงนิ เผยกเู้ งนิ ธนาคารมา ตอนแรกทเี่ งนิ
หายคดิ ว่าไม่ไดค้ ืนแน่ ดีใจท่สี ดุ ทคี่ นื ครบทุกบาททกุ สตางค
เม่ือเวลา 21.00 น. วันท่ี 6 กรกฎาคม 2551 ขณะท่ี ร.ต.ท. ณฐกร นบนอบ ร้อยเวรสภ. เมืองนนทบุรี
สาขายอ่ ยรตั นาธเิ บศร กำลังปฏบิ ตั ิหน้าทอี่ ย่บู นโรงพัก ได้มนี างสาวกาญจนา ทองสุข พนกั งานบริษทั เอกชนแหง่ หน่ึง
ได้พาเด็กหญิงธนาภรณหรือน้องเบนซ ปานวัด อายุ 4 ขวบ นักเรียนช้ันอนุบาล 2 โรงเรียนราชินีบน ย่านสามเสน
กรงุ เทพฯ ซง่ึ เปน หลานสาวเขา้ แจง้ ความตอ่ เจา้ หนา้ ทตี่ ำรวจ พรอ้ มมอบกระเปา‰ เงนิ สเี หลอื งใหเ้ ปน หลกั ฐานโดยระบวุ า่
เก็บได้จากหอ้ งน้ำห้างบก๊ิ ซี สาขาติวานนท ใหช้ ว่ ยติดตามหาเจ้าของด้วย
ตำรวจตรวจสอบภายในกระเปา‰ พบเงนิ รวมทง้ั สลากกนิ แบง่ รฐั บาล พรอ้ มบตั รประจำตวั ประชาชนของเจา้ ของ
กระเป‰าคอื นางละเมยี ด บุญเพช็ ร จากน้ันเจา้ หน้าทตี่ ำรวจไดต้ ิดต่อกับเจา้ ของเงนิ เพ่อื รบั เงนิ คนื
นางละเมียดกล่าวว่า เปนกระเป‰ารถเมล แต่วันน้ีไม่ได้ไปทำงานเพราะเปนวันหยุด ช่วงเย็นได้ไปเดินซื้อของ
ท่ีห้างดังกล่าวแล้วเข้าห้องน้ำ หลังจากทำธุระในห้องน้ำเสร็จแล้วก็ออกจากห้องน้ำทันที แต่ไม่หยิบกระเป‰าออกมา
เมื่อนึกได้กลับเข้าไปดูอีกทีก็หายไปแล้ว ตอนนั้นหมดหวังท่ีจะได้เงินคืนแล้ว จึงได้ไปแจ้งความท่ีโรงพัก สภ.เมือง
นนทบุรี สาขาทา่ น้ำนนท เพ่อื จะนำหลกั ฐานไปขอทำบตั รใหม่ สว่ นเงนิ ทก่ี ู้มาจากธนาคารเพ่ือนำไปใช้หนี้ทห่ี ยบิ ยมื มา
ปลูกบ้าน และยังน่ังคิดอยูว่ ่าจะหาเงนิ ทีไ่ หนมาใชห้ นี้ พอมเี พอ่ื นที่ทำงานโทรมาบอกวา่ มีคนเกบ็ เงินไดส้ ง่ คืนเจ้าหน้าที่
ตำรวจ ตนจงึ ได้รีบเดนิ ทางมาขอรบั เงินคืนด้วยความดใี จ เพราะไม่คดิ วา่ จะไดเ้ งนิ คนื แล้ว
ผสู้ อื่ ขา่ วรายงานวา่ หลงั ไดร้ บั เงนิ คนื นางละเมยี ดพยายามใหเ้ งนิ เปน สนิ นำ้ ใจแกน่ อ้ งเบนซ แตน่ างสาวกาญจนา
ซ่ึงเปน นา้ ไม่ขอรับกอ่ นจะแยกย้ายกันกลับบา้ น

ท่ีมา: หนังสือพิมพข ่าวสด วันที่ 7 กรกฎาคม 2551

1. จากขา่ วน้ีนักเรยี นรสู้ ึกอยา่ งไร

112 ค่มู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หน้าทพ่ี ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1
2. นกั เรยี นคิดวา่ การกระทำของนอ้ งเบนซถ อื ว่าเปน พลเมืองดีหรือไม่ อย่างไร

3. นักเรียนคิดว่าการกระทำของนอ้ งเบนซเ หมาะสมหรอื ไม่ อย่างไร

ชอ่ื นามสกุล เลขที่ ชั้น
âรงเรยี น

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หน้าที่พลเมืองฯ ม. 4–6 เลม่ 1 113

แ บบบ ันทึก การ สำรวจ

เรอื่ ง สภาพสงั คมและสถาบันสังคมในทองถิ่น

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4 เรอ่ื ง ลกั ษณะสังคมไทย

ตัวชี้วัดชว่ งชนั้ วิเคราะหความจำเปนท่ีจะต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและอนุรักษวัฒนธรรมไทย
และเลือกรับวฒั นธรรมสากล (Ê 2.1 ม. 4–6/5)

คำชแ้ี จง แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4–6 คน ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สำรวจสภาพสงั คมและสถาบนั สงั คมในทอ้ งถน่ิ
ของตนเองว่าเปน อยา่ งไรบา้ ง แลว้ บนั ทกึ ผล

ชอ่ื สมาชิก 1. 4.
2. 5.
3. 6.

114 คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา้ ที่พลเมอื งฯ ม. 4–6 เลม่ 1

แบบบ ันทึกก าร สำรวจ

แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 เรื่อง ปญหาสังคมในชุมชน เรือ่ ง ปญหาทางสังคม

ตวั ช้วี ัดช่วงชนั้ วเิ คราะหค วามสำคญั ของโครงสรา้ งทางสงั คม การขดั เกลาทางสงั คม และการเปลย่ี นแปลง
ทางสงั คม (Ê 2.1 ม. 4–6/2)
คำช้แี จง แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–6 คน ให้แต่ละกลุ่มสำรวจในชุมชนของตนเองว่ามีปญหาทาง
สงั คมอะไร อยา่ งไรบ้าง แล้วบนั ทึกผล

กลมุ ที่ 4.
สมาชกิ กลุม 1. 5.
6.
2.
3.

คู่มอื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าทีพ่ ลเมืองฯ ม. 4–6 เลม่ 1 115

แ บบบ นั ทกึ ระดมความคิด

เรอื่ ง พลเมอื งดี

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 11 เรือ่ ง การเป็นพลเมอื งดี

ตวั ชี้วดั ชว่ งช้ัน ปฏิบัติตนและมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติเพื่อเปนพลเมืองดีของ
ประเทศชาติและสงั คมโลก (Ê 2.1 ม. 4–6/3)

คำชี้แจง แบ่งนักเรียนออกเปน 5 กลุ่ม ช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเปน
พลเมอื งดีในประเด็นที่กำหนดให้ แล้วบันทกึ ผล

1. การเคารพกฎหมายและกติกาสังคม

2. การเคารพสิทธแิ ละเสรีภาพของตนเองและบคุ คลอ่นื

3. การมเี หตุผลและรบั ฟงความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื

4. การมีความรบั ผิดชอบต่อตนเอง ชมุ ชน ประเทศชาติ และสงั คมโลก

5. การเขา้ รว่ มกิจกรรมทางการเมอื งการปกครอง

6. การมีส่วนร่วมในการปองกันและแก้ไขปญ หาของประเทศ

กลุมท่ี 5.
สมาชิกกลมุ 1. 6.
7.
2. 8.
3.
4.

116 คมู่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา้ ทีพ่ ลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1

แ บบ บนั ทึกความรู้

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ เรอื่ ง

1. สรุปความรูท้ ี่ได้รับ

2. สรุปแนวคิดใหมท่ ไ่ี ด้รับ

3. การนำไปใช้ประโยชน

ชอ่ื นามสกลุ เลขท่ี ชั้น
âรงเรยี น

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้ ท่ีพลเมอื งฯ ม. 4–6 เลม่ 1 117

แ บบ บันทกึ ผ ลการอ ภปิ ราย

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ เรือ่ ง

แบบบนั ทกึ ผลการอภปิ ราย

กลุมที่ 5.
สมาชิกกลุม 1. 6.
7.
2. 8.
3.
4.

118 คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา้ ทีพ่ ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1

ตัวอยา่ งแบบประเมนิ ทักษะการเขียนเรียงความ

เร่อื ง

ช้ัน วนั ที่ เดือน พ.ศ.

รายการประเมนิ สรปุ ผล

เลขที่ ชื่อ–สกุล การเน้นประโยคแรก (5 คะแนน) ผาน ไมผาน
ประโยคหลักใ ้หแนวคิดห ัลกท่ีสำ ัคญ
ต่อย่อห ้นา (5 คะแนน)
เ ีขยนประโยค ่ทีสมบูร ณ
(5 คะแนน)
คำสะกดผิดพลาดไม่เ ิกน 5 คำ
(5 คะแนน)
ส ุรปอย่างมีเหตุผล (6 คะแนน)
ลาย ืมอ ่อานออก (4 คะแนน)

รวมคะแนน (30 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑการประเมิน
ได้คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้นึ ไปถือวา่ ผ่าน

1 เลขท่ี ชอื่ –สกุล ช้นั เรื่อง
2
3 การปรากฏตัว (3 คะแนน) วันท่ี เดือน ตัวอยา่ งแบบประเมินทกั ษะการพดู
4 การเร่ิมเร่อื ง (3 คะแนน)
5
6 การออกเสียงและจงั หวะ (4 คะแนน)
7 การลำดบั เน้ือหา (5 คะแนน)
8 บคุ ลิกทา่ ทาง (2 คะแนน)
9 การใช้ถอ้ ยคำเหมาะสม (3 คะแนน)
10 ความเรา้ ใจ (2 คะแนน)
11 ความสนใจของผู้ฟง (2 คะแนน)
12 คุณคา่ ของเรอื่ งท่ีพูด (3 คะแนน)
13 การสรปุ ที่เหมาะสม (3 คะแนน)
14
15 รวมคะแนน (30 คะแนน)
16
เกณฑก ารประเมนิ
ได้คะแนนร้อยละ 50 ขนึ้ ไปถือว่าผา่ น

รายการประเมิน คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้ ท่พี ลเมอื งฯ ม. 4–6 เลม่ 1 119

พ.ศ.

ผาน ไมผา น สรุปผล

120 คมู่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา้ ทพี่ ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1

ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ผลงาน/กจิ กรรมเปนรายบุคคล

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรอื่ ง เดือน พ.ศ.
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี วันที่ รายการประเมนิ สรปุ ผล
ชน้ั

เลขท่ี ช่ือ–สกุล ความ ูถก ้ตองของผลงาน/กิจกรรม ผาน ไมผ า น
(6 คะแนน)
ุจดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (4 คะแนน)
ความ ิคดริเ ่ิรมสร้างสรร ค
(3 คะแนน)
รูปแบบการนำเสนอผลงาน (4 คะแนน)
การนำไปใ ้ชประโยชน
(3 คะแนน)

รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน (ตัวอยาง)
ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไปถือว่าผ่าน หรืออาจใชเ้ กณฑเ ปน ระดับคณุ ภาพ 4, 3, 2, 1 ดงั นี้
18–20 คะแนน = 4 (ดมี าก)
14–17 คะแนน = 3 (ด)ี
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรงุ )

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา้ ท่พี ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1 121

ตวั อย่างแบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเปนกลมุ่

ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรอื่ ง เดือน พ.ศ.
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี วันที่ สรปุ ผล
ชั้น
กลมุ ท่ี

รายการประเมนิ

เลขท่ี ชอื่ –สกลุ ความถูกต้องของผลงาน/กิจกรรม ผา น ไมผ า น
(6 คะแนน)
ุจดเ ่ดนของผลงาน/ ิกจกรรม (6 คะแนน)
ความ ิคดริเ ่ิรมส ้รางสรร ค (3 คะแนน)
ูรปแบบการนำเสนอผลงาน (3 คะแนน)
การนำไปใ ้ชประโยช น (2 คะแนน)

รวมคะแนน (20 คะแนน)

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑการประเมิน (ตัวอยา ง)
ได้คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไปถอื วา่ ผ่าน หรอื อาจใชเ้ กณฑเปน ระดับคณุ ภาพ 4, 3, 2, 1 ดังน้ี
18–20 คะแนน = 4 (ดีมาก)
14–17 คะแนน = 3 (ด)ี
10–13 คะแนน = 2 (พอใช)
0–9 คะแนน = 1 (ควรปรับปรงุ )
























Click to View FlipBook Version