The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน้าที่พลเมืองม4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narongsak, 2019-09-21 03:25:36

หน้าที่พลเมืองม4

หน้าที่พลเมืองม4

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ท่พี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 45

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6

ป​ ญั หาทางสังคม

สาระท่ ี 2 หนาทพ่​ี ลเมือง​วัฒนธรรม
และการดำเนินชวี ิตในสงั คม ​ช้นั มัธยมศึกษา​ปท​ ่ี 4–6 เลม 1
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 การเปลีย่ นแปลงและ
การพฒั นาทางสงั คม เวลา 2 ชั่ว​โมง

1.​ ​ส​ าระสำคญั

​ปญั หาสังคม​เป็นส​ ภาวะห​ รือส​ ถานการณท์​ ่ี​มผี​ ลกระทบต​ อ่ ค​ น​จำนวนม​ าก​ใน​สังคม ​ดงั น​ ้ันจ​ึงจ​ำเป็น​
ต้อง​รบี แ​กไ้ ข ​​

​2.​ ตัวช​​ว้ี ัด​ชว่ ง​ชั้น

​• ​วิเคราะห์​ความ​สำคัญ​ของ​โครงสร้าง​ทางสังคม ​การ​ขัดเกลา​ทางสังคม ​และ​การ​เปล่ียน​แปลง​
ทางสังคม (​​ส ​2.​1​​ม​ .​4​–​6​​/2​​)​

​3.​ ​จดุ ประสงค์ก​ ารเ​รียนรู้

​1.​​ อธิบาย​เก่ียวกับป​ ญั หา​ทางสังคมไ​ด้ ​(​K)​​
​2​.​ มค​ี วามส​ น​ใจ​ศกึ ษา​เกีย่ วกบั ป​ ัญหาท​ างสังคม (​​A​)​
​3​. ​วเิ คราะห์​เกี่ยวกบั ป​ ัญหาท​ างสังคม (​​P​)​

4​​. ​ก​ ารว​ดั ​และป​ ระเมนิ ผ​ ลการเรียน​รู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดานท​ กั ษะ/กระบวนการ (P)
1.​​ซกั ถาม​ความร​้เู ร่อื ง ​​ แล​ะคา นิยม (A) • ประเมินพฤตกิ รรมในการ
​​​ป​ ญั หาท​ างสังคม
2​.​​​ตรวจผ​ ลงาน/ก​ จิ กรรม • ประเมินพฤติกรรมในการ ทำงานเปน็ รายบุคคลและ
​​​​เ​ปน็ รายบคุ คล​หรือเ​ป็นกลมุ่ ทำงานเป็นรายบุคคลในดา้ น เป็นกลุ่มในดา้ นการสื่อสาร
ความมวี ินยั ความใฝเ่ รียนรู้ การคดิ การแกป้ ัญหา ฯลฯ
ฯลฯ

5​ .​ สาระ​การเ​รียนรู้

​•​ ปัญหา​ทางสังคม
​​​​ 1.​ ความห​ มายข​อง​ปญั หาท​ างสงั คม
​​​​ 2.​​ ปญั หาท​ ี่ส​ ำคญั ​ของส​ ังคม​ไทย

46 ค่มู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ทพี่ ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

​6​.​ ​แนวทางบ​ ูรณาการ ​
​ภาษาไทย ê ​ฟงั ​พูด ​อ่าน ​เขียน เ​กยี่ วกบั ป​ ญั หาท​ างสงั คม
​ศิลปะ ​ ​ê ​ทำ​แผน่ พับ​เกีย่ วกบั ป​ ญั หาท​ างสงั คม​ของไ​ทย
​7.​ ​กระบวนการจ​ัดการ​เรียนรู้ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​

ข​น้ั ​ท่ ี 1 ​นำ​เข้าสู่​บทเรียน
1​.​ ค​ ร​ูแจง้ ​ตัวช​ว​ี้ ดั ช​ว่ งช​ั้น​และ​จดุ ประสงค​ก์ าร​เรยี นรใ​ู้ ห​้นักเรียนท​ ราบ
​2.​ ครู​ให้​นักเรียน​ดู​ภาพ​เด็ก​เร่ร่อน ​ภาพ​เด็ก​นักเรียน​ไม่มี​หนังสือ​เรียน ​แล้ว​ซักถาม​นักเรียน​ว่า
​เป็นภ​ าพ​เก่ียวกับอ​ะไร น​ ักเรยี นช​ว่ ยก​ ัน​ตอบ ครสู​ รปุ ​เพื่อเ​ชือ่ มโยงเ​ข้าสู่​เน้ือหา​ท​่จี ะเ​รยี น

ข​้ัน​ท่ ี 2 กิจก​ รรมการ​เรียนรู้
​3​.​ ครส​ู นทนา​กบั น​ ักเรยี นเ​​ก่ยี วกับป​ ญั หา​ทางสงั คม
​4.​ ​ให้​นักเรียน​แบ่งกลุ่ม ​กลุ่ม​ละ ​4​–​6​​คน ​แต่ละ​กลุ่ม​สำรวจ​ใ​น​ชุมชน​ของ​ตน​เองว่า​มี​ปัญหา​ทาง
สงั คม​อะไรบ​ ้าง แ​ลว้ บ​ นั ทึกล​ ง​ในแ​บบ​สำรวจ
5​. ครู​ให้​นักเรียน​ทำ​ใบ​งาน​ท่ี ​1​​เรื่อง ​ปัญหา​ทางสังคม​ของ​ไทย ​จาก​น้ัน​ครู​ให้​นักเรียน​บันทึก​
ความรูท​้ ่​ไี ด​ล้ ง​ใน​แบบ​บันทกึ
​6​. ในขณะ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​นักเรียน ​ให้​ครู​สังเกต​พฤติกรรม​ใน​การ​ทำงาน​และ​การ​นำเสนอ
ผ​ ลงานข​อง​นักเรยี นต​ าม​แบบป​ ระเมินพ​ ฤตกิ รรมใ​น​การท​ ำงาน​เปน็ ร​ายบุคคล​หรือเ​ปน็ กลุม่

ข​นั้ ท​ ่ี 3 ฝึกฝน​ผู้เรียน
7.​ ครู​ใหน​้ ักเรียนท​ ำ​กจิ กรรม​ทเ่​ี ก่ยี วกับป​ ัญหา​ทางสังคม ​แล้ว​ช่วย​กัน​เฉลย​คำ​ตอบ ​
​8​.​ ให้​นักเรียน​เขียน​บทความ​เกี่ยวกับ​ปัญหา​ทางสังคม​ใน​ปัจจุบัน​นำ​ผลงาน​ของ​ทุกคน​มา​จัด​
ปา้ ย​นเิ ทศ​แล้ว​เยบ็ ​รวมเลม่

ข​ั้นท​ ี ่ 4​ น​ ำไปใ​ช้
9​. ครู​แนะนำ​ให้​นักเรียน​ค้นคว้า​ความรู้​เพิ่มเติม​เรื่อง​ปัญหาสังคม​แล้ว​นำมา​ทำเป็น​แผ่นพับ​
เพื่อ​เผย​แพร่​ความรู้ ​

​ขน้ั ท​ ่ี 5​ สรปุ
1​0​. ​ครู​และ​นักเรียน​ร่วม​กัน​สรุปความ​รู้เร่ือง ​ปัญหา​ทางสังคม ​โดย​อาจ​ให้​นักเรียน​สรุป​เป็น​แผน​ที่​
ความคดิ
8​ ​. กิจกรรมเ​สนอแ​ นะ
​ ​ครใ​ู ห​้นักเรียนร​ว่ ม​กันศ​ กึ ษาป​ ัญหา​ทางสังคม​เพม่ิ เตมิ เ​พอื่ น​ ำเสนอผ​ ลงานใ​น​ช้ันเรยี น
9​​. สอื่ /​แหล่งการ​เรียนรู้

​1​.​ ภาพ​เดก็ ​เร่รอ่ น ภ​ าพ​เดก็ น​ ักเรยี นไ​ม่มีห​ นงั สือเ​รียน
​2​.​ แ​บบ​สำรวจ​เรื่อง​ปญั หาสังคมใ​นช​มุ ชน ​
​3.​ ​ใบง​านท่ี 1 เ​ร่ือง ​ปญั หาท​ างสงั คมของไทย​

คู่มอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ท่พี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 47
4.​​ ส่อื ​การ​เรียนรู้ ห​ น้าท​ ี่​พลเมอื ง ​วฒั นธรรม แ​ละ​การ​ดำเนนิ ​ชีวติ ​ในส​ งั คม สมบรู ณ​์แบบ ​ม.​4​–​​6​
เล่ม ​1​​บรษิ ัท ส​ ำนกั พมิ พ​์วฒั นาพ​ านชิ ​จำกัด
​ ​5.​ หนงั สอื ​เรยี น ​รายวชิ า​พน้ื ฐาน ​หนา้ ​ท​พ่ี ลเมอื ง ​วฒั นธรรม ​และ​การ​ดำเนนิ ​ชวี ติ ​ใน​สงั คม ม.​​4​–​6​​
เล่ม 1​​​บริษทั ส​ ำนักพมิ พว์​ฒั นา​พานิช จ​ำกดั
​ 6.​ แบบฝ​ กึ ​ทกั ษะ รายวชิ า​พน้ื ฐาน หนา้ ​ทพ​่ี ลเมอื ง ว​ฒั นธรรม แ​ละ​การ​ดำเนนิ ช​วี ติ ​ใน​สงั คม ม.​4​–​6​​
เล่ม 1​​บ​ ริษทั ส​ ำนกั พิมพ์ว​ัฒนา​พานชิ จ​ำกัด

10​ .​ บันทึกห​ ลงั ​การ​จดั การเ​รียนรู้ ​

1. ความ​ สำเรจ็ ​ในการจัดการเ​รียนร​ู ลงชอ่ื /​ ผสู อน
แนวทางการพัฒนา​ /
2. ปญหา/อุปสรรคใ​นการจดั การเ​รียนร​ู

แนวทาง​แกไ ข​
3. สิ่ง​ทีไ่ มไ ดป ฏิบตั ต​ิ าม​แผน

เหตุผล
4. การ​ปรบั ป​ รงุ แผนการจ​ัดการเ​รยี นรู

48 คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาท่ีพลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 7

แ​ นว​ทางการ​แก้ ไข​ปญั หาแ​ ละพ​ ฒั นา​ทางสงั คม

สาระท่ี 2 หนาทพ​่ี ลเมอื ง​วฒั นธรรม
และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม ​ชั้นมัธยมศกึ ษา​ป​ท ่ี 4–6 เลม 1
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 การเปลีย่ นแปลงและ
การพัฒนาทา​งสังคม เวลา 1 ชวั่ ​โมง

1​. ​สาระสำคญั

​สงั คมไ​ทยม​ ก​ี ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงจ​ากอ​ดตี ห​ ลายป​ ระการ เ​ชน่ ก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงโ​ครงสรา้ งข​องป​ ระชากร​
โครงสรา้ งท​ างสงั คม แ​ละก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงข​องว​ฒั นธรรมแ​ละพ​ ฤตกิ รรม แ​ละจ​ากก​ ารเ​ปลยี่ นแ​ปลงเ​หลา่ น​ี้
ได้​ก่อ​ให้​เกิด​ปัญหา​ทางสังคม​ขึ้น​หลาย​ประการ ​ซึ่ง​สมาชิก​ใน​สังคม​ทุกคน​จะ​ต้อง​ร่วม​กัน​หา​แนว​ทาง
การ​แก้ไข ซ​่งึ จะต​ ้องช​ว่ ย​กันท​ ำใ​นท​ ุก​ระดบั ท​ ง้ั ร​ะดับ​บคุ คล ส​ ังคม ​และ​ประเทศชาติ ​ทงั้ น​้ีการ​พฒั นา​สงั คม
ของ​ไทยน​ ั้น​จะย​ ึดแ​ผนพ​ ฒั นาเ​ศรษฐกจิ แ​ละ​สงั คม​แห่งชาต​ิเป็นแนวทาง​ในก​ าร​พัฒนา ​

​2.​ ต​ วั ช​ ้​ีวดั ช​ ว่ งช​ น้ั

• วิเคราะห์​ความ​สำคัญ​ของ​โครงสร้าง​ทางสังคม ​การ​ขัดเกลา​ทางสังคม ​และ​การ​เปลี่ยน​แปลง​
ทางสงั คม (​​ส ​2.​1​​ม​ .​​4–​6​​/2​)​​

3​ .​​ ​จุดประสงค์​การเ​รยี นรู้

1​.​ อธบิ ายความส​ ำคญั ​และ​ยกตัวอย่างแ​นวทางแ​กไ้ ข​ปญั หาแ​ละ​การ​พฒั นา​สงั คม​ได้ ​(​K)​​
​2.​​ เ​ห็นค​ ณุ ค่าแ​ละ​ความส​ ำคัญแ​นวทางแ​กไ้ ข​ปญั หาแ​ละ​การ​พฒั นา​สงั คม (​​A​)​
​3​. ม​สี ว่ นรว่ มใ​น​การแ​กไ้ ขป​ ญั หาแ​ละ​การพ​ ฒั นา​สงั คม (​​P)​​

4​ ​. ​การว​ ดั ​และป​ ระเมนิ ​ผลการเรียน​รู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดานท​ ักษะ/กระบวนการ (P)
และ​คา นยิ ม (A)

1. ทดสอบห​ ลัง​เรยี น • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ
2​​.​ซ​ักถาม​ความร​ู้เรือ่ ง แ​นวทาง ทำงานเป็นรายบุคคลในดา้ น ทำงานเปน็ รายบุคคลและ
การแ​ก้ไข​ปญั หา​และพฒั นา ความมวี ินัย ความใฝเ่ รยี นรู้ เปน็ กลุ่มในดา้ นการสือ่ สาร
ทางสังคม ฯลฯ การคดิ การแกป้ ัญหา ฯลฯ
3​​.​ต​ รวจ​ผลงาน/ก​ จิ กรรม
​​​เ​ป็น​รายบคุ คลห​ รอื เ​ปน็ กลมุ่

คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนาทพ่ี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 49

5​ .​ สาระ​การ​เรียนรู้

​ • แนว​ทางการแ​ก้ไขป​ ัญหาแ​ละ​พัฒนาทาง​สงั คม
1​.​ แ​นวท​ างการแ​กไ้ ขป​ ัญหา​ทางสงั คม
​​​​ ​2.​​ แนว​ทางการพ​ ัฒนา​สงั คม ​​​

6​ .​ ​แนวทาง​บรู ณาการ
​ภาษาไทย ê ฟงั ​พดู อา่ น เ​ขยี น​เกย่ี วกบั แ​นวทางแ​กไ้ ข​ปญั หา​และ​การ​พฒั นา​ทางสงั คม
​ศลิ ปะ ​ ê แสดงละคร​เกย่ี วกบั ​แนวทาง​แกไ้ ข​ปญั หา​และ​การ​พัฒนา​ทาง​ส​ ังคม

​7​.​ ก​ ระบวนการจ​ ดั การ​เรียนรู้

ข​้นั ​ที่ 1 นำ​เข้าส​ู่บทเรยี น
1.​​ ครู​แจ้ง​ตวั ​ชว​้ี ัดช​ว่ งช​ัน้ ​และ​จุดประสงคก​์ ารเ​รยี นรใ้​ู ห้​นักเรยี นท​ ราบ ​
​2​. ​ครส​ู นทนาก​ บั น​ กั เรยี นเ​กยี่ วกบั ข​า่ วก​ ารอ​บรมพ​ ฒั นาฝ​ มี อื แ​รงงาน แ​ลว้ ถ​ ามน​ กั เรยี นว​า่ เ​กย่ี วขอ้ ง​
กบั ​แนว​ทางการแ​ก้ไขป​ ญั หาแ​ละพ​ ฒั นา​ทา​งสงั คม​หรอื ไ​ม่ อ​ยา่ งไร ใ​หน้​ ักเรียน​ช่วย​กัน​ตอบ ​จาก​นน้ั ​คร​ูสรปุ ​
เพ่ือ​เช่ือมโยง​ไปส​ู่เนื้อหาท​ ่ีจ​ะ​เรยี น ​

​ข้นั ท​ ่ี ​2​ กิจ​กรรมการเ​รยี นรู้
​ ​3​.​ ครู​สนทนา​กับ​นักเรียน​เก่ียวกับ​แนว​ทางการ​แก้ไข​ปัญหา​และ​พัฒนาทาง​สังคม ​โดย​ใช้​ข้อมูล
​จ​ากส​ ื่อ​การเ​รยี นร้ต​ู า่ ง ​ๆ​​
​ 4​.​ ค​ รใู​ห​้นกั เรยี นแ​บ่งกลุม่ ​กลุ่ม​ละ ​4​–​6​​คน ​ศึกษา​และ​แสดงละครเ​ก่ยี วกับ​แนวทาง​ใน​การแ​ก้ไข​
ปญั หาแ​ละ​พฒั นาทางส​ งั คม ​
​5.​​ ค​ รู​ให้​นักเรียน​เขียน​เรียงความ​เรื่อง ​ถ้า​ฉัน​ได้​เข้าไป​มี​ส่วนร่วม​ใน​การ​พัฒนา​สังคม​จะ​มี​แนวทาง​
ใน​การ​พฒั นา​อย่างไร ​
​6.​​ ค​ ร​เู ลือก​ผลงาน​นำมาต​ ิด​ทปี่​ ้ายน​ เิ ทศแ​ลว้ ​ใหเ​้ จ้าของผ​ ลงานอ​อกมา​อภิปรายว​ิเคราะห์ใ​ห​้เพ่อื น ​ๆ​
ฟงั ​จากน​ ั้น​เพือ่ น ​ๆ​​แสดงค​ วาม​คดิ เหน็ ​
​ ​7.​​ ใ​นขณะป​ ฏบิ ตั ก​ิ จิ กรรมข​องน​ กั เรยี น ใ​หค​้ รส​ู งั เกตพ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ารท​ ำงานแ​ละก​ารน​ ำเสนอผ​ ลงาน​
ของน​ กั เรยี น​ตามแ​บบป​ ระเมนิ พ​ ฤตกิ รรมใ​นก​ าร​ทำงาน​เปน็ ร​ายบคุ คลห​ รอื เ​ปน็ กลมุ่

ข​้ัน​ท ่ี 3 ​ฝกึ ฝนผ​ ู้เรียน
​ ​8.​ ครู​ให้​นักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ที่​เกี่ยวกับ​แนว​ทางการ​แก้ไข​ปัญหา​และ​พัฒนาทา​ง​สังคม​และ​
แบบทดสอบก​ าร​วัดแ​ละป​ ระเมินผ​ ลการเรยี นร​้​ูประจำห​ นว่ ย​การเ​รียนรู้ แ​ลว ​ช่วยก​ ัน​เฉลย​คำ​ตอบ

​ขนั้ ท​ ่ี 4​ นำไป​ใช้
​9​.​ ค​ รู​แนะนำ​ใหน้​ กั เรยี นท​ ำ​แผน่ พับเ​กีย่ วกบั แ​นว​ทางการ​แก้ไข​ปัญหา​และพ​ ัฒนา​ทางสังคม
ไ​ปเ​ผย​แพร​ค่ วามรู้

ข​ัน้ ท​ ่ี 5​ ส​รุป
1​0​.​ คร​แู ละน​ กั เรยี นส​รปุ ความร​เู้ รอ่ื ง แ​นวท​ างการ​แกไ้ ขป​ ญั หา​และ​พฒั นาท​ างสงั คมเ​ปน็ ​แผนท​​ค่ี วามคดิ
​1​1.​ ครใ​ู ห้​นกั เรยี นท​ ำแ​บบทดสอบห​ ลัง​เรยี นและชวยกนั ​เฉลย​คำตอบ​

50 ค่มู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนาที่พลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

​8.​ กจิ กรรมเ​สนอแ​ นะ

​ครใ​ู ห้​นักเรียนศ​ ึกษา​เร่อื ง แนวทางก​ ารแกไขป​ ญหา​และพ​ ฒั นาทาง​สงั คม ​แล้ว​นำ​ผล​มา​แลกเปลยี่ น
​เรียน​รูก​ นั ​ใน​ช้นั เรยี น

​9​. ส​ ื่อ/แ​ หลง่ ก​ าร​เรียนรู้

1.​​ แ​บบทดสอบ​ก่อนเ​รียน​และ​หลังเ​รียน
​2.​​​ข ่าว​เกีย่ วกบั ก​ ารอ​บรม​พฒั นาฝ​ มี อื ​แรงงาน
3.​​​ส อื่ ก​ ารเ​รียนรู้ ห​ น้าท​ ี่​พลเมือง ​วฒั นธรรม แ​ละ​การด​ ำเนนิ ​ชวี ิต​ในส​ งั คม สมบูรณ์​แบบ ม.​4​​–6​​
เล่ม ​1​​บรษิ ทั ส​ ำนักพิมพ์​วัฒนาพ​ านิช จ​ำกัด
​4​.​ ห​ นงั สอื ​เรยี น ​รายวชิ า​พน้ื ฐาน ​หนา้ ​ท​พ่ี ลเมอื ง ​วฒั นธรรม ​และ​การ​ดำเนนิ ​ชวี ติ ​ใน​สงั คม ม.​​4​–​6​
เล่ม ​1​บ​ ริษทั ส​ ำนักพิมพ​์วัฒนาพ​ านิช จ​ำกัด
​ ​5.​​ แ​บบฝ​ กึ ​ทกั ษะ รายวชิ า​พน้ื ฐาน หนา้ ท​ ​พ่ี ลเมอื ง ว​ฒั นธรรม แ​ละก​ าร​ดำเนนิ ช​วี ติ ใ​น​สงั คม ม​ .​​4–​6​
เ​ลม่ ​1​บ​ ริษัท ​สำนักพมิ พว์​ัฒนา​พานิช จ​ำกดั

1​ 0. บนั ทึกหลังการจัดการเรยี นรู้

1. ควา​มสำเร็จ​ในการจดั การเ​รยี น​รู ลงช่ือ /​ ผสู อน
แนวทางการพัฒนา​ /
2. ปญ หา/อุปสรรคใ​นการจดั การเ​รียนร​ู

แนวทาง​แกไข​
3. สง่ิ ​ท่ไี มไ ดป ฏิบตั ติ​ าม​แผน

เหตผุ ล
4. การ​ปรบั ป​ รุงแผนการจ​ดั การเ​รยี นรู

วัฒนธรรม 3

เวลา 4 ชัว่ โมง

ผงั มโนทัศนเปาหมายการเรียนรูและขอบขา ยภาระงาน/ช้ินงาน

ความรู

1. วฒั นธรรม
2. วฒั นธรรมไทย
3. การเปล่ียนแปลงและอนรุ กั ษวฒั นธรรมไทย
4. ความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
5. การเลอื กรบั วฒั นธรรมสากล

ภาระงาน/ชิน้ งาน Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁ คุณธรรม จรยิ ธรรม
และคานยิ ม
1. ทำแบบทดสอบ ทกั ษะ/กระบวนการ
2. การสบื คน้ ข้อมลู 1. มีวนิ ัย
3. การทำใบงาน 1. การส่อื สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้
2. การคดิ 3. รบั ผิดชอบ
3. การแก้ปญหา 4. รกั ความเปนไทย
4. การใชก้ ระบวนการกลุ่ม 5. มุ่งมนั่ ในการทำงาน
5. การใชเ้ ทคโนโลยี

52 คูม่ ือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หน้าทพี่ ลเมอื งฯ ม. 4–6 เลม่ 1

ผงั การออกแบบการจัดการเรียนรู้
หนวยการเรียนรทู้ ี่ 3
วัฒนธรรม

ขั้นที่ 1 ผลลัพธปลายทางท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้นึ กับนกั เรยี น

ตัวช้ีวดั ช่วงช้ัน
• วิเคราะหความจำเปนท่ีจะต้องมีการปรับปรุง เปล่ียนแปลง และอนุรักษวัฒนธรรมไทยและเลือก

รับวัฒนธรรมสากล (ส 2.1 ม. 4–6/5)

ความเขา้ ใจที่คงทนของนักเรียน คำ¶ามสำคÞั ที่ทำใหเ้ กิดความเข้าใจท่คี งทน
นักเรยี นจะเขา้ ใจวา่ ... 1. วฒั นธรรมมคี วามสำคญั อยา่ งไร
วัฒนธรรมเปนสิ่งท่ีมนุษยสร้างสรรคขึ้น 2. การเลือกรับวัฒนธรรมอย่างมีวิจารณญาณ
เพ่ือความเจริญงอกงามแก่หมู่คณะ มีลักษณะ มีประโยชนอ ย่างไร
เคลอื่ นไหว เปลยี่ นแปลง และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ส่วนวัฒนธรรมไทยมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง
ตามวฒั นธรรมตา่ งชาตทิ ห่ี ลงั่ ไหลเขา้ มาตามกระแส
โลกาภวิ ตั น จงึ จำเปน อยา่ งยง่ิ ทคี่ นไทยจะตอ้ งเลอื ก
รับและนำมาปรับใช้อย่างมีวิจารณญาณ รวมท้ัง
อนุรกั ษวัฒนธรรมไทยใหอ้ ยูค่ ่กู บั คนไทยตลอดไป

ความรู้ของนักเรียนที่นำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทกั ษะ/ความสามาร¶ของนักเรยี นทีน่ ำไปสู่ความ
นักเรียนจะรูว้ า่ ... เขา้ ใจท่ีคงทน นักเรียนจะสามาร¶...
1. คำสำคญั ไดแ้ ก่ วฒั นธรรม ภมู ธิ รรม ภมู ปิ ญ ญา 1. อธิบายความ หมาย และ ความ สำคัญ ของ
ปฏสิ มั พนั ธ วจั นภาษา อวจั นภาษา สทิ ธมิ นษุ ย- วัฒนธรรม
ชน อตั ตลขิ ติ 2. วิเคราะหความจำเปนที่จะต้องมีการเปล่ียน-
2. วัฒนธรรมเกิดจากกระบวนการอันซับซ้อน แปลงและอนุรักษว ฒั นธรรมไทย
ทางสังคมหรือกลุ่มชน โดยรวมเอามิติด้าน 3. วเิ คราะหค วามจำเปน ทมี่ กี ารเลอื กรบั วฒั นธรรม
จติ ใจ วตั ถุ ภมู ปิ ญ ญา และอารมณเ ขา้ ไวด้ ว้ ยกนั สากล
จนเปนเอกลักษณของสังคมน้นั ๆ วัฒนธรรม
มีความสำคัญ ได้แก่ เปนเคร่อื งสร้างระเบียบ
แก่สังคม ทำให้เกิดเอกภาพ เปนตัวกำหนด
รปู แบบของสถาบนั เปน เครอ่ื งมอื ชว่ ยแกป้ ญ หา
และสนองความต้องการของมนุษย ช่วยให้
ประเทศชาตเิ จรญิ กา้ วหนา้ และเปน เครอ่ื งแสดง
เอกลกั ษณข องชาติ

























พลเมืองดี 4

เวลา 2 ชัว่ โมง

ผังมโนทศั นเปาหมายการเรยี นรูแ ละขอบขา ยภาระงาน/ชิ้นงาน

ความรู

1. พลเมอื งดี
2. ลกั ษณะของพลเมืองดี

ภาระงาน/ชน้ิ งาน ¾ÅàÁÍ× §´Õ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม
และคานยิ ม
1. ทำแบบทดสอบ
2. การอภปิ ราย 1. มวี ินัย
3. การระดมความคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้
3. รบั ผดิ ชอบ
4. รักความเปน็ ไทย
5. มุง่ ม่ันในการทำงาน

ทักษะ/กระบวนการ

1. ¡ÒÃÊ×Íè ÊÒÃ
2. การคิด
3. ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ
4. การใชเ้ ทคโนโลยี
5. กระบวนการกลมุ่

66 คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา้ ท่พี ลเมอื งฯ ม. 4–6 เล่ม 1

ผงั การออกแบบการจัดการเรยี นรู้
หนวยการเรยี นรทู้ ี่ 4
พลเมอื งดี

ขนั้ ท่ี 1 ผลลัพธป ลายทางท่ีต้องการใหเ้ กดิ กับนกั เรยี น

ตัวชวี้ ัดช่วงชน้ั
• ปฏิบัติตนและมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติเพ่ือเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ

และสังคมโลก (ส 2.1 ม. 4–6/3)

ความเขา้ ใจทคี่ งทนของนกั เรียน คำ¶ามสำคัÞท่ีทำใหเ้ กิดความเขา้ ใจทีค่ งทน
นักเรยี นจะเข้าใจวา่ ... 1. การเป็นพลเมอื งดมี ีความสำคัญอยา่ งไร
การ ปฏิบัติตน เป็น พลเมือง ดีสามารถ 2. พลเมอื งดมี ลี ักษณะอย่างไร
กระทำไดด้ ้วยการเป็นคนดี มคี ุณธรรม จริยธรรม
และมีจิตสาธารณะ ซ่ึงจะเป็นประโยชนต่อสังคม
และประเทศชาติ

ความรู้ของนักเรียนท่ีนำไปสู่ความเข้าใจที่คงทน ทักษะ/ความสามาร¶ของนักเรยี นที่นำไปสู่ความ
นกั เรยี นจะรู้ว่า... เข้าใจทีค่ งทน นกั เรยี นจะสามาร¶...
1. คำสำคญั ไดแ้ ก่ พลเมอื ง อนรุ กั ษ จติ สาธารณะ 1. อธบิ ายลกั ษณะของพลเมืองดี
กติกาสังคม สิทธิ เสรีภาพ สิทธิส่วนบุคคล 2. บอกลกั ษณะของการเป็นพลเมืองดี
การมสี ว่ นรว่ ม โลจสิ ตกิ ส
2. พลเมืองดีต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมและ
ศลี ธรรม ตอ้ งมีสว่ นรว่ มกบั กจิ กรรมของชมุ ชน
มีความรู้ในเร่อื งการเมือง และต้องเป็นคนท่ีมี
อาชีพสุจริต ขยันขันแข็ง ประหยัด รู้จักพอ
ซ่ือสัตย และใช้ปญญาในการประกอบอาชีพ
และดำรงชวี ติ
3. การเป็นพลเมืองดีของประเทศไทยและของ
โลกน้นั จะต้องมีความรักในชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย มีความซ่อื สัตยสุจริต มีวินัย
ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามเปน็ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มคี วาม
มงุ่ มน่ั ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย และเปน็
ผู้มีจิตสาธารณะ นอกจากน้ีการเป็นพลเมืองดี
ยงั จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ นหลายประการทส่ี ำคญั ไดแ้ ก่
การ เคารพ กฎหมาย และ กติกาของ สังคม

คู่มือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ท่พี ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 67

การ​เคารพส​ทิ ธเ​ิ สรภี าพ​ของต​ น​เองและบ​ คุ คลอน่ื
การ​มี​เหตุผล​และ​รับฟง​ความคิดเห็น​ของ​ผูอ่นื
การ​ม​คี วาม​รบั ผดิ ชอบ​ตอ ตน​เอง ชมุ ชน ประเทศ
ชาติ และ​สังคม​โลก การ​เขารวม​กิจกรรม​ทาง​
การเมือง​การ​ปกครอง การ​มี​สวนรวม​ใน​การ​
ปอ งกนั และ​แกไ ข​ปญ หา​ของประเทศ และ​การ​มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

ข้ันที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรซู้ งึ่ เปน็ หลักฐานท่แี สดงวา่ นักเรยี นมีผลการเรียนรู้
ตามทก่ี ำหนดไว้อย่างแท้จรงิ

1. ภาระง​าน​ทน​ี่ ักเรยี น​ตอ งป​ ฏิบัติ
1.1 เลา ​ประสบการณเ​ กย่ี วกบั ค​ ณุ ลกั ษณะข​องพ​ ลเมืองด​ ี

1.2 ระดม​ความคดิ เ​กย่ี วกับค​ ุณลักษณะข​อง​พลเมืองด​ ี

2. วธิ กี ารและเครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2.1 วธิ ีการประเมินผลการเรยี นรู้ 2.2 ​เครือ่ งมอื ​ประเมนิ ผ​ ลการเรยี น​รู
​ ​ 1) การทดสอบ 1)​ แบบทดสอบ​กอ นเ​รียน​และห​ ลังเ​รียน
​ ​ 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรม 2)​ แบบป​ ระเมินผ​ ลงาน/กิจกรรม​
เป็นรายบคุ คลหรือเป็นกลุ่ม เป็นรายบคุ คล​และ​เปนกลมุ
​ ​ 3) การประเมนิ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ​ 3)​ แบบป​ ระเมนิ ด​ าน​คุณธรรม จริยธรรม
​ และค่านยิ ม ​และค​ า นิยม
​ ​ 4) การประเมนิ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 4)​ แบบป​ ระเ​มนิ ด​ าน​ทกั ษะ/กระบวนการ

3. สง่ิ ทม่ี งุ่ ประเมนิ
3.1 ความเข้าใจ 6 ด้าน ไดแ้ ก่ การอธบิ าย ช้แี จง การแปลความและตีความ การประยกุ ต์ ดัดแปลง

และนำไปใช้ การมีมมุ มองที่หลากหลาย การใหค้ วามสำคญั และใส่ใจในความรสู้ ึกของผอู้ ่ืน
​ และการรจู้ กั ตนเอง
3.2​ ทกั ษะ/กระบวนการ เชน่ การสอ่ื สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใ​ชเ ทคโนโลยี กระบวนการกลมุ่
​ 3.3 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม เช่น รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่ือสัตย์สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู
อยู่อย่างพอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทำงาน รักค​ วามเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ

ขั้นท​ ่ี 3 แผนการจ​ัดการเ​รยี นรู เวลา 2 ชวั่ โมง
แผนการ​จดั การ​เรียนรทู ​ ี่ 11 การเปนพ​ ลเมือง​ดี

68 คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาทพี่ ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 11

การเปน พลเมอื งดี

สาระที่ 2 หนาท่ีพ​ ลเมือง​วฒั นธรรม
และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม ​ช้ันมัธยมศึกษา​ปท​ ี่ 4–6 เลม 1

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 พลเมอื งด ี เวลา 2 ชัว่ ​โมง

1. สาระสำคญั

พลเมือง​ดี คือ ผูท​ ี่​มี​ความ​รับผิดชอบ​ตอ​สังคม​และ​ศีลธรรม มี​สวน​รวมกับ​กิจกรรม​ของ​ชุมชน
และม​ คี วามรูใ​นเ​รือ่ งก​ ารเมอื ง นอกจากน้ี​ยัง​ตอ งม​ ​สี ำนกึ ​ตอ ​สว นรวมห​ รือ​จิตส​ าธารณะ โดย​การร​บั ผดิ ชอบ​
ตอสา​ธาร​ณ​สมบัติ​และ​ทรัพยากร​ธรรมชาติ ทำ​กิจกรรม​เพื่อ​สังคม​ที่​เปน​ประโยชน​รวมกัน​ของ​สวนรวม
รวมทงั้ ​รับรแู​ละ​ตระหนักถึงป​ ญหาท​ เ่​ี กิดขน้ึ ​ในส​ ังคม​และม​ ี​การ​แกไข​รว มกนั

2. ตวั ​ช้​วี ดั ช​ วง​ช้นั

• ปฏิบัติตน​และ​มี​สวนรวม​สนับสนุน​ใหผ​ ูอ่ืน​ประพฤติ​ปฏิบัติ​เพ่ือ​เปน​พลเมือง​ดี​ของ​ประเทศชาติ​
และส​ ังคม​โลก (ส 2.1 ม. 4–6/3)

3. จดุ ประสงค​การ​เรียนรู

1. บอกค​ วามส​ ามารถข​อง​ตนเ​อง​ในก​ ารท​ ำประโยชน​ตอ ​สงั คมแ​ละ​ประเทศชาติ (K)
2. ปฏบิ ัตติ น​ในส​ ิง่ ​ท​ีเ่ ปนป​ ระโยชนต​ อ​สงั คม​และ​ประเทศชาติ​ไดอ​ยางเ​หมาะสม (P)
3. ปฏิบัติตน​ดวยก​ ารแสดงออกถ​ ึง​การเ​คารพ​ในส​ ิทธิ​เสรีภาพข​อง​ตน​เองแ​ละผ​ ูอื่น (P)
4. เห็น​ความ​สำคัญ​ของ​การ​ทำประโยชน​ตอ​สังคม​และ​ประเทศชาติ รวมท้ัง​การ​เคารพ​ใน​สิทธิ
และ​เสรภี าพข​อง​ตน​เองแ​ละ​ผอู ื่น (A)

4. การว​ ดั แ​ ละป​ ระเมินผ​ ลการเรยี น​รู

ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา น​ทกั ษะ/กระบวนการ (P)
และ​คานยิ ม (A)

1. ทดสอบ​กอนเ​รียนและ • ประเมินพฤติกรรมในการ • ประเมนิ พฤติกรรมในการ
​หลงั เ​รียน ทำงานเปน็ รายบุคคลในดา้ น ทำงานเป็นรายบคุ คลและ
2. ซักถาม​ความร​ูเ รอ่ื ง ความมวี นิ ยั ความใฝเ่ รยี นรู้ เป็นกลุม่ ในดา้ นการสื่อสาร
พลเมอื งดี ฯลฯ
3.​ ตรวจผ​ ลงาน/กจิ กรรม การคดิ การแกป้ ัญหา ฯลฯ
​เปน​รายบคุ คล​หรอื ​เปนกลุม

5. สาระ​การเ​รยี นรู

1. การ​เปนพ​ ลเมือง​ดี
2. คณุ ลกั ษณะ​ของ​พลเมืองด​ ี

คู่มือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ทีพ่ ลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 69

6. แนวทาง​บูรณาการ ê ฟง พดู อาน เขยี น​เกยี่ วกับพ​ ลเมืองด​ ี
ภาษาไทย
การง​านอาชีพฯ ê คน​ขอ มูลเ​กี่ยวกับพ​ ลเมืองด​ ี

7. กระบวนการจ​ ัดการ​เรียนรู

ข้ัน​ที่ 1 นำ​เขา สูบ​ ทเรยี น
1. คร​ูแจง​ตัว​ชวี​้ ัดช​ว งช​นั้ ​และ​จุดประสงคก​ ารเ​รียนรใู​หน​ ักเรยี นท​ ราบ
2. คร​ูใหน​ ักเรียนท​ ำแ​บบทดสอบก​ อน​เรยี น
3. ครูใ​หน​ กั เรยี นด​ ภ​ู าพ​นักเรียนก​ ำลังช​วยกัน​ทำงาน จากน้ัน​ซกั ถาม​นักเรยี นว​า จาก​ภาพน​ กั เรียน​
คิดวา​เก่ียวของ​กับ​การ​เปน​พลเมือง​ดี​อยางไร นักเรียน​ชวยกัน​ตอบ จากน้ัน​ครู​อธิบาย​สรุป​เพื่อ​เช่ือมโยง​
ไปสูเ​นอ้ื หา​ทจี่ ะเ​รยี น

ขัน้ ท​ ่ ี 2 กิจ​กรรมการ​เรียนรู
4. ครู​อธิบายความห​ มายแ​ละค​ วามส​ ำคญั เ​ก่ียวกับพ​ ลเมอื งด​ ี
5. คร​ูใหน​ กั เรยี นย​ กตัวอยา งพ​ ลเมือง​ดี​ทีต่​ น​เองรจู กั จากนน้ั น​ ำมา​รว มกนั ​แสดง​ความ​คิดเห็น
6. คร​ูสนทนาก​ บั น​ กั เรียนเ​ก่ยี วกบั ค​ ณุ ลกั ษณะ​ของพ​ ลเมอื งด​ ี
7. ใหน​ ักเรียน​อาสาสมัคร 3–5 คน ออกมา​เลา​ประสบการณ​เก่ียวกับ​คุณลักษณะ​ของ​พลเมือง​ดี​
วา ​ม​ีอะไรบ​ าง ใ​หเ​พอื่ น​ฟงห​ นา ​ชัน้ เรียน แลวใ​หร​วมกัน​แสดง​ความ​คดิ เห็น​เกย่ี วกบั เ​รอ่ื งราวด​ ังกลา ว
8. ครใู​หน​ กั เรยี นแ​บงออกเ​ปน 6 กลมุ ชว ยกนั ร​ะดมค​ วามคดิ ​เก่ียวกบั ค​ ณุ ลกั ษณะข​อง​พลเมอื งด​ ี
ใน​หัวขอ ​ตอ ไปน้ี
กลุม​ท่ี 1 การเ​คารพก​ ฎหมายแ​ละ​กติกา​ของส​ ังคม
กลมุ ท​ ่ี 2 การเ​คารพส​ ิทธเ​ิ สรีภาพ​ของต​ นเ​องแ​ละบ​ ุคคลอนื่
กลมุ ท​ ี่ 3 การม​ ี​เหตผุ ล​และร​บั ฟงค​ วาม​คิดเห็นข​องผ​ ูอน่ื
กลุม ​ท่ี 4 การม​ ค​ี วามร​บั ผิดชอบ​ตอต​ นเ​อง ชมุ ชน ประเทศชาติ และ​สังคม​โลก
กลมุ ท​ ี่ 5 การเ​ขา รวมก​ ิจกรรมท​ างก​ ารเมอื งก​ ารป​ กครอง
กลมุ ​ท่ี 6 การม​ สี​ ว นรว ม​ในก​ ารป​ องกัน​และ​แกไขป​ ญ หา​ของป​ ระเทศ
จากน้ัน​ใหแ​ตละ​กลมุ ส​ ง​ตวั แทนอ​อกมาน​ ำเสนอ​และใ​หเ​พ่อื นก​ ลุม​อ่นื ​แสดง​ความ​คดิ เหน็
9. ในขณะ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​นักเรียน ใหค​ รู​สังเกต​พฤติกรรม​ใน​การ​ทำงาน​และ​การ​นำเสนอ​
ผลงาน​ของ​นกั เรยี น​ตามแบบป​ ระเมินพ​ ฤติกรรมใ​น​การท​ ำงาน​เปนร​ายบุคคล​หรอื เ​ปน กลมุ

ขั้น​ท ี่ 3 ฝก ฝน​ผเู รยี น
10. คร​ใู หน​ กั เรยี นท​ ำใ​บง​าน เรือ่ ง พลเมอื ง​ดี
11. ครู​ใหน​ ักเรียน​ทำ​กิจกรรม​ท่ี​เก่ียวกับ​การ​เปน​พลเมือง​ดี และ​แบบทดสอบ​การวัด​และ​การ​
ประเมนิ ​ผลการเรียนร​ปู ระจำห​ นวยการเ​รียนรู แลว ชว ยกนั ​เฉลย​คำ​ตอบ

ข้ันท​ ่ ี 4 นำไปใช
12. ครู​ใหน​ ักเรียน​สำรวจ​ตน​เอง​วา​ไดป​ ฏิบัติตน​เปน​พลเมือง​ดี​ใน​เร่ือง​อะไร​บาง แลว​นำมา​เลา​ให​
เพื่อน ๆ ฟง ห​ นาช​น้ั เรยี น

70 ค่มู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ทพี่ ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1
ขนั้ ​ท ่ี 5 สรุป
13. คร​แู ละ​นกั เรยี นร​วมกันส​ รปุ ความร​ูเร่ือง พลเมืองด​ ี โดยใ​หน​ ักเรยี น​สรุป​เปน แ​ผนท​ค่ี วามคดิ
14. ครใู​หน​ ักเรยี นท​ ำแ​บบทดสอบห​ ลัง​เรียนแ​ละ​ชวยกันเ​ฉลย​คำ​ตอบ

8. กิจกรรม​เสนอแนะ

ครู​ใหน​ ักเรียน​แบงกลุม กลุม​ละ 4–6 คน ศึกษา​คนควา​เพ่ิมเติม​เร่ือง​พลเมือง​ดี และ​นำ​ขอมูล​
มา​แลกเปลีย่ น​เรียนร​ูกนั ​ในช​ัน้ เรียน จากนัน้ ร​ว มกัน​อภิปรายแ​สดง​ความ​คดิ เห็น

9. ส่ือ/แหลงก​ าร​เรยี นรู

1. แบบทดสอบก​ อนเ​รียน​และ​หลงั เ​รยี น
2. ใบ​งาน เร่อื ง พลเมือง​ดี
3. แบบบ​ ันทกึ ก​ ารร​ะดมค​ วามคิด
4. ส่ือ​การเ​รียนรู หนาทพ่​ี ลเมือง วฒั นธรรม และ​การ​ดำเนนิ ​ชีวติ ​ในส​ ังคม สมบูรณแบบ ม. 4–6
เลม 1 บรษิ ทั สำนักพมิ พว​ ัฒนาพ​ านชิ จำกัด
5. หนังสอื ​เรยี น รายวชิ าพ​ นื้ ฐาน หนา ท่ี​พลเมือง วัฒนธรรม และ​การ​ดำเนิน​ชีวติ ใ​น​สงั คม ม. 4–6
เลม 1 บริษัท สำนกั พิมพ​วัฒนาพ​ านิช จำกดั
6. แบบฝ​ ก ​ทกั ษะ รายวชิ าพ​ น้ื ฐาน หนา ท​พ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และก​ าร​ดำเนนิ ช​วี ติ ใ​นส​งั คม ม. 4–6
เลม 1 บริษัท สำนักพิมพว​ัฒนาพ​ านชิ จำกัด

10. บันทึก​หลัง​การจ​ ัดการ​เรยี นรู

1. ควา​มสำเรจ็ ​ในการจดั การเ​รียนร​ู ลงช่อื /​ ผสู อน
แนวทางการพัฒนา​ /
2. ปญ หา/อุปสรรคใ​นการจัดการเ​รยี นร​ู

แนวทาง​แกไข​
3. สงิ่ ท​ ีไ่ มไดปฏิบตั ติ​ าม​แผน

เหตผุ ล
4. การ​ปรบั ป​ รงุ แผนการจ​ดั การเ​รียนรู

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ที่พลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 71

บนั ทึก​ขอความ​

72 คู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ที่พลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

บันทึก​ขอ ความ​

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ที่พลเมอื ง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 73

บนั ทึก​ขอความ​

74 คู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ที่พลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

บันทึก​ขอ ความ​

ตอนที่ 3

เอกสาร/ความรูเ้ สริมสำหรบั ครู
สาระท ี่ 2 หน้าที่พ ลเมือง วัฒนธรรม

และก าร ดำเนนิ ช วี ิตในส งั คม
กลุ่มสาระการ เรียน ร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และว ฒั นธรรม

1. มาตรฐานการเรียนรู ตวั ช้วี ดั ชวงชน้ั และสาระการเรยี นรแู กนกลาง
หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ติ ในสงั คม ม. 4–6 เล่ม 1

2. โครงงาน (Project Work)
3. แฟม สะสมผลงาน (Portfolio)
4. ผงั การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคดิ Backward Design
5. รูปแบบแผนการจดั การเรียนร้รู ายชวั่ โมง
6. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน
7. แบบทดสอบปลายภาค
8. ใบงาน แบบบนั ทกึ และแบบประเมินตา่ ง ๆ

76 คู่มือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนาที่พลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัดชว่ งช้นั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสงั คม ม. 4–6

มาตรฐาน ส 2.1 เขา ใจแ​ละป​ ฏบิ ตั ติ นต​ ามห​ นา ทข​่ี องก​ ารเ​ปน พ​ ลเมอื งด​ ี มค​ี า นยิ มท​ ด​่ี งี าม และธ​ำรงรกั ษา​
ประเพณี​และ​วัฒนธรรม​ไทย ​ดำรงชีวิต​อยูร​วมกัน​ใน​สังคม​ไทย​และ​สังคม​โลก​อยาง​
สันติสขุ

ตัวช้วี ัดชว่ งชั้น สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

1. วเิ คราะหแ​ ละป​ ฏบิ ตั ติ นต​ ามกฎหมาย​ทเ​่ี กย่ี วขอ ง​ 1. กฎหมายแพง ​เกยี่ วกบั ต​ นเ​องแ​ละค​ รอบครัว
กบั ​ตน​เอง ครอบครวั ชมุ ชน ประเทศชาต​แิ ละ​ 2. กฎหมายแพง​เก่ียวกับ​นิติกรรมสัญญา เชน
สงั คมโ​ลก ซ้ือขาย ขายฝาก เชา​ทรัพย เชาซื้อ กูย​ ืมเงิน
จำนำ จำนอง
3. กฎหมายอาญา เชน ความ​ผิด​เก่ียวกับ​ทรัพย
ความผ​ ดิ เ​กี่ยวกบั ช​วี ติ ​และ​รา งกาย
4. กฎหมาย​อ่ืน​ที่​สำคัญ เชน รัฐธรรมนูญ​แหง​
ราชอาณาจักร​ไทย​ฉบับ​ปจจุบัน กฎหมาย​การ​
รบั ​ราชการทหาร กฎหมาย​ภาษีอากร กฎหมาย​
การ​คุมครองผ​ ูบรโิ ภค
5. ขอตกลง​ระหวาง​ประเทศ เชน ปฏิญญา​สากล​
วาดวย​สิทธิ​มนุษย​ชน กฎหมาย​มนุษยธรรม​
ระหวา ง​ประเทศ

2. วเิ คราะหค​ วามส​ มั พันธข​อง​โครงสราง​ 1. โครงสรางท​ างสงั คม
ทางสงั คม การข​ัดเกลาท​ างสงั คม และ​การ​ 1) การ​จดั ​ระเบยี บส​ งั คม
เปลีย่ นแปลง​ทางสังคม 2) สถาบนั ​ทางสังคม
2. การ​ขัดเกลา​ทางสงั คม
3. การเ​ปล่ียนแปลง​ทางสังคม
4. การแ​กป ญหาแ​ละ​แนว​ทางการ​พัฒนา​สงั คม

3. ปฏบิ ัตติ นแ​ละ​มส​ี ว น​สนับสนนุ ใ​หผ​ อู น่ื ​ • คุณลกั ษณะ​พลเมอื งด​ ​ีของป​ ระเทศชาติ​และ​
ประพฤตป​ิ ฏบิ ตั ​เิ พอ่ื ​เปน​พลเมือง​ดข​ี อง​ สงั คม​โลก เชน
ประเทศชาติ​และส​ งั คม​โลก 1) เคารพ​กฎหมายแ​ ละ​กติกา​สังคม
2) เคารพส​ทิ ธ​เิ สรภี าพ​ของ​ตนเ​องแ​ละ​บคุ คลอน่ื
3) มีเ​หตผุ ล รับฟงค​ วาม​คดิ เหน็ ​ของผ​ อู น่ื

คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 77

4) มค​ี วามร​บั ผดิ ชอบต​อ ต​ นเ​อง ชมุ ชน ประเทศ
ชาติ และ​สังคม​โลก

5) เขารว มก​ ิจกรรม​ทางก​ ารเมอื งก​ าร​ปกครอง
6) มี​สวนรวม​ใน​การ​ปองกัน แกไข​ปญหา​

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ​ปกครอง
สง่ิ แวดลอ ม
7) มค​ี ณุ ธรรมจ​รยิ ธรรมเ​ปน หลกั ใ​นก​ ารด​ ำเนนิ ​
ชวี ติ ​

4. ประเมนิ ส​ ถานการณส​ ิทธิ​มนษุ ยช​นใ​นประเทศ​ 1. ความ​หมาย ความ​สำคญั แนวคดิ และ​
ไทย และเ​สนอ​แนวทางพ​ ัฒนา หลักการ​ของส​ ิทธม​ิ นุษย​ชน
2. บทบาทข​อง​องคก รร​ะหวางป​ ระเทศใ​นเ​วทโ​ี ลก​
ท่มี​ ีผลตอ ป​ ระเทศไ​ทย
3. สาระสำคญั ​ของป​ ฏิญญา​สากลว​าดวย​สทิ ธิ​
มนษุ ย​ชน
4. บทบญั ญตั ข​ิ องร​ฐั ธรรมนญู ​แหง ร​าชอาณาจกั ร​
ไทยฉ​ บบั ​ปจจบุ ันเ​กี่ยวกับส​ ิทธ​ิมนษุ ยช​น
5. ปญ หา​สิทธม​ิ นษุ ย​ชน​ในประเทศ และแ​นว​ทาง
การ​แกป ญหา​และพ​ ฒั นา

5. ​วเิ คราะห​ความจ​ำเปน​ทีจ่ ะต​ องม​ ี​การป​ รับปรุง​ 1. ความ​หมาย​และ​ความ​สำคญั ​ของ​วฒั นธรรม
เปลย่ี นแปลง​และ​อนรุ ักษว​ฒั นธรรมไ​ทยแ​ละ​ 2. ลกั ษณะแ​ละ​ความ​สำคญั ​ของว​ฒั นธรรม​ไทย
เลือกร​ับว​ัฒนธรรมส​ ากล ท่​สี ำคัญ
3. การ​ปรบั ปรุงเ​ปลีย่ นแปลง​และอ​นุรกั ษ​วัฒน-
ธรรมไ​ทย
4. ความ​แตกตางร​ะหวาง​วฒั นธรรม​ไทยก​ ับ​
วัฒนธรรม​สากล
5. แนว​ทางการอ​นุรักษ​ว ฒั นธรรมไ​ทย​ท่ี​ดีงาม
6. วธิ กี าร​เลอื กร​บั ว​ฒั นธรรม​สากล

78 คมู่ อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนาทพ่ี ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1

มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจ​ระบบ​การเมือง​การ​ปกครอง​ใน​สังคม​ปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และ​ธำรงรักษา​ไว​
ซึ่งก​ าร​ปกครองร​ะบอบป​ ระชาธิปไตย​อนั ม​ ีพ​ ระมหากษัตริยท​ รงเ​ปนป​ ระมขุ

ตัวชวี้ ัดชว่ งช้นั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

1. วเิ คราะหป​ ญ หา​การเมอื ง​ทสี่​ ำคญั ใ​นประเทศ​ 1. ปญ หาก​ ารเมอื ง​ท่​ีสำคญั ​ทเ่ี​กิดข้นึ ​ภายใน​
จากแ​หลง ขอ มลู ​ตา ง ๆ ​พรอมท้ังเ​สนอ​แนว​ ประเทศ
ทางแกไ ข
2. สถานการณ​การเมอื งก​ าร​ปกครองข​องส​ ังคม​
ไทย

3. ​อทิ ธพิ ลข​อง​ระบบ​การเมืองก​ ารป​ กครองท​ ​่ีมี
ผลตอก​ าร​ดำเนนิ ​ชวี ติ

2. ​เสนอ​แนวทางท​ าง​การเมืองก​ าร​ปกครองท​ ี​่ 1. การ​ประสาน​ประโยชน​รวมกนั ​ระหวาง​ประเทศ
นำไปสูค​ วาม​เขาใจแ​ละก​ ารป​ ระสานป​ ระโยชน​ เชน การ​สรา งค​ วาม​สมั พนั ธ​ระหวา งไ​ทย​กบั ​
รว มกนั ​ระหวา ง​ประเทศ ประเทศ​ตา ง ๆ
2. การ​แลกเปล่ยี น​เพ่อื ช​ว ยเหลือแ​ละ​สง เสรมิ ​
ดาน​วัฒนธรรม การ​ศกึ ษา เศรษฐกิจ ​สังคม

3. ​วิเคราะหค​ วามส​ ำคญั แ​ละค​ วามจ​ำ​เปนท​ี่ตอ ง​ • การ​ปกครองต​ าม​ระบอบป​ ระชาธปิ ไตย​อนั ม​ ​ี
ธำรงรกั ษาไ​วซ​ง่ึ ​การป​ กครอง​ตามร​ะบอบ​ พระมหากษัตริยท​ รง​เปนป​ ระมขุ
ประชาธิปไตยอ​ันม​ พี​ ระมหากษัตรยิ ท​ รง​เปน​
ประมขุ 1) รปู แบบข​อง​รัฐ
2) ฐานะ​และ​พระร​าช​อำนาจ​ของ​พระมหา-

​กษตั ริย

4. ​เสนอ​แนวทาง​และ​มส​ี วนรว มใ​นก​ ารต​ รวจสอบ​ • การต​ รวจสอบ​การ​ใชอ​ำนาจ​รัฐต​ าม​
การ​ใชอ​ ำนาจร​ฐั รัฐธรรมนูญ​แหงร​าชอาณาจกั ร​ไทยฉ​ บบั ​
ปจ จุบัน ท่​มี ผี ลตอ​การ​เปล่ยี นแปลง​ทางสังคม
เชน การ​ตรวจสอบโ​ดย​องคกรอสิ ระ
การต​ รวจสอบโ​ดย​ประชาชน

2. โครงงาน (Project Work)

โครงงาน​เปนการ​จัดการ​เรียนรูท​ ี่​สงเสริม​ใหน​ ักเรียน​ไดล​ งมือ​ปฏิบัติ​และ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง
ตาม​แผนการ​ดำเนินงาน​ท่ี​นักเรียน​ไดจ​ัด​ขึ้น โดย​ครู​ชวย​ใหค​ ำ​แนะนำ​ปรึกษา กระตุน​ใหค​ ิด และ​ติดตาม​
การ​ปฏบิ ตั งิ​าน​จน​บรรลเ​ุ ปาหมาย โครงงานแ​บง ออกเ​ปน 4 ประเภท คือ
1. โครงงาน​ประเภทส​ ำรวจ รวบรวม​ขอมูล
2. โครงงาน​ประเภทท​ ดลอง คนควา
3. โครงงาน​ท​่เี ปนการศ​ กึ ษาค​ วามรู ทฤษฎี หลักการ​หรือแ​นวคดิ ​ใหม
4. โครงงาน​ประเภทส​ ่งิ ป​ ระดิษฐ

ค่มู ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ทพ่ี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 79
การ​เรียนรดู ​ วยโ​ครงงานม​ ข​ี น้ั ตอน​ดงั นี้
1. กำหนด​หัวขอ​ท่ีจะ​ศึกษา นักเรียน​คิด​หัวขอ​โครงงาน ซ่ึง​อาจ​ไดม​ าจาก​ความ​อยากรูอ​ ยาก​เห็น​
ของ​นกั เรยี น​เอง หรือไ​ดจ​ากก​ ารอ​า นหนงั สอื บทความ การ​ไป​ทัศนศึกษา​ดูงาน เปนตน โดย​นกั เรียนต​ อง​
ต้งั คำถาม​วา “จะศ​ กึ ษาอ​ะไร” “ทำไมต​ องศ​ ึกษา​เรื่องด​ ังกลา ว”
2. ศึกษา​เอกสาร​ท่ี​เกี่ยวของ นักเรียน​ศึกษา​ทบทวน​เอกสาร​ท่ี​เกี่ยวของ​และ​ปรึกษา​ครู หรือ​ผูท​ ่ี​มี
ความรูค​ วาม​เชย่ี วชาญ​ใน​สาขาน​ น้ั ๆ
3. เขียน​เคาโครง​ของ​โครงงาน​หรือ​สราง​แผนผัง​ความคิด โดย​ท่ัวไป​เคาโครง​ของ​โครงงาน
​จะป​ ระกอบดว ยห​ วั ขอต​ าง ๆ ดังนี้
1) ชอ่ื ​โครงงาน
2) ช่ือผ​ ูทำ​โครงงาน
3) ชอื่ ท​ ป่ี รึกษาโ​ครงงาน
4) ระยะเวลา​ดำเนินการ
5) หลกั การแ​ละ​เหตผุ ล
6) วตั ถปุ​ ระสงค
7) สมมุติฐานข​อง​การศ​ ึกษา (ในก​ รณที ี​เ่ ปน​โครงงาน​ทดลอง)
8) ขนั้ ตอนก​ ารด​ ำเนินงาน
9) ปฏิบัตโิ​ครงงาน
10) ผล​ที​่คาดวาจ​ะ​ไดร บั
11) เอกสารอ​างองิ /บรรณานุกรม
4. ปฏิบัติ​โครงงาน ลงมือ​ปฏิบัติ​งาน​ตาม​แผนงาน​ที่​กำหนด​ไว ใน​ระหวาง​ปฏิบัติ​งาน​ควร​มี​การ​
จดบันทึก​ขอมูล​ตาง ๆ ไวอ​ ยาง​ละเอียด​วา​ทำ​อยางไร ไดผล​อยางไร มี​ปญหา​หรือ​อุปสรรค​อะไร​และ​มี​
แนว​ทางแกไ ขอ​ยา งไร
5. เขยี นร​ายงาน เปน การร​ายงานส​รปุ ผลก​ ารด​ ำเนนิ งาน เพอื่ ใหผ​ อู น่ื ไ​ดท​ ราบแ​นวคดิ วธิ ด​ี ำเนนิ งาน
ผลท่ีไดร​ับ และ​ขอ​เสนอแนะ​ตาง ๆ เกี่ยวกับ​โครงงาน ซึ่ง​การ​เขียน​รายงาน​นี้​ควร​ใชภ​ าษา​ที่​กระชับ
เขา ​ใจงาย ชดั เจน และค​ รอบคลุม​ประเด็นท​ ​ศี่ ึกษา
6. แสดง​ผลงาน เปน​การนำ​ผล​ของ​การ​ดำเนินงาน​มา​เสนอ อาจ​จัด​ไดห​ ลาย​รูปแบบ เชน การ​จัด​
นทิ รรศการ การท​ ำเปน ส​อื่ ส​งิ่ พมิ พ สอื่ ม​ ลั ตม​ิ เี ดยี หรอื อ​าจน​ ำเสนอใ​นร​ปู ข​องก​ ารแ​สดงผ​ ลงาน การน​ ำเสนอ​
ดวยวาจา บรรยาย อภปิ รายก​ ลุม สาธิต

3​ ​. แ​ ฟม ส​ ะสมผ​ ลงาน (​​P​o​rt​f​​o​l​io​ )​​

แฟม​สะสม​ผลงาน หมายถึง แหลง​รวบรวม​เอกสาร ผลงาน หรือ​หลักฐาน เพื่อ​ใชส​ ะทอน​ถึง​
ผลสมั ฤทธิ์ ความ​สามารถ ทกั ษะ และพ​ ัฒนาการข​องน​ ักเรยี น มี​การจ​ดั ​เรยี บเรียงผ​ ลงาน​ไวอ​ยา งมรี ะบบ
โดยน​ ำค​ วามรู ความคดิ และก​ ารน​ ำเสนอม​ าผ​ สมผสานก​ นั ซง่ึ น​ กั เรยี นเ​ปน ผ​ คู ​ ดั เลอื กผ​ ลงานแ​ละม​ ส​ี ว นรว ม​

80 คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ หนา ที่พลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1
ใน​การ​ประเมิน แฟม​สะสม​ผลงาน​จึง​เปน​หลักฐาน​สำคัญ​ท่ีจะ​ทำใหน​ ักเรียน​สามารถ​มองเห็น​พัฒนาการ
ข​องต​ น​เอง​ไดต​ าม​สภาพจ​รงิ รวมท้งั ​เหน็ ​ขอบกพรอง และแ​นวท​ างใน​การ​ปรบั ปรุงแ​กไ ข​ใหด​ ีขนึ้ ​ตอไป
ลกั ษณะส​ำคญั ​ของ​การป​ ระเมนิ ผลโ​ดย​ใช​แฟม ส​ะสมผ​ ลงาน
1. ครู​สามารถ​ใชเ​ปน​เคร่ืองมือ​ใน​การ​ติดตาม​ความ​กาวหนา​ของ​นักเรียน​เปน​รายบุคคล​ไดเ​ปน​
อยา งด​ ี เนอื่ งจากม​ ผ​ี ลงานส​ะสมไ​ว ครจ​ู ะท​ ราบจ​ดุ เดน จดุ ดอ ยข​องน​ กั เรยี นแ​ตล ะคนจ​ากแ​ฟม ส​ะสมผลงาน
และส​ ามารถ​ตดิ ตาม​พัฒนาการไ​ดอ​ยาง​ตอเน่ือง
2. มุง​วัด​ศักยภาพ​ของ​นักเรียน​ใน​การ​ผลิต​หรือ​สราง​ผลงาน​มากกวา​การ​วัด​ความ​จำ​จาก​การ
ท​ ำแ​บบทดสอบ
3. วัด​และ​ประเมิน​โดย​เนน​ผูเรียน​เปน​ศูนยกลาง คือ นักเรียน​เปน​ผูว​างแผน ลงมือ​ปฏิบัติ​งาน
รวมทั้ง​ประเมิน​และ​ปรับปรุง​ตน​เอง ซึ่ง​มี​ครู​เปน​ผูช้ีแนะ เนน​การ​ประเมินผล​ยอย​มากกวา​การ​ประเมิน​
ผลรวม
4. ฝก​ใหน​ ักเรยี นร​จู ักก​ ารป​ ระเมนิ ต​ นเ​อง​และ​หา​แนวทาง​ปรับปรงุ พ​ ัฒนา​ตนเ​อง
5. ชวย​ใหน​ ักเรียน​เกิด​ความ​ม่ันใจ​และ​ภาคภูมิใจ​ใน​ผลงาน​ของ​ตน​เอง รูวา​ตน​เอง​มี​จุดเดน​
ใน​เร่ืองใ​ด
6. ชวย​ใน​การ​สื่อ​ความ​หมาย​เก่ียวกับ​ความรู ความ​สามารถ ตลอดจน​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน
​ใหผ ูท​ เ​่ี กยี่ วของ​ทราบ เชน ผูปกครอง ฝายแ​นะแนว ตลอดจน​ผบู รหิ ารข​องโ​รงเรียน
ข้นั ตอนก​ ารป​ ระเมินผล​โดยใ​ช​แฟม ส​ะสม​ผลงาน
การ​จัดทำ​แฟมส​ ะสม​ผลงานม​ ี 10 ขนั้ ตอน ซึง่ ​แตละ​ข้ันตอน​มี​รายละเอียด ดังน้ี
1. การ​วางแผน​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผลงาน การ​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผลงาน​ตอง​มี​สวนรวม​ระหวาง​ครู
นักเรยี น และ​ผปู กครอง
ครู การ​เตรียมตวั ​ของค​ รต​ู อ ง​เริ่มจาก​การ​ศกึ ษา​และ​วเิ คราะห​หลักสตู ร คมู อื ​ครู คำ​อธิบาย​รายวิชา
วิธีการ​วัด​และ​ประเมินผล​ใน​หลักสูตร รวมทั้ง​ครู​ตอง​มีความรูแ​ละ​เขาใจ​เกี่ยวกับ​การ​ประเมิน​โดย​ใชแ​ฟม​
สะสม​ผลงาน จงึ ​สามารถว​างแผน​กำหนดช​น้ิ งาน​ได
นกั เรยี น ตอ งม​ ค​ี วามเ​ขา ใจเ​กยี่ วกบั จ​ดุ ประสงคก​ ารเ​รยี นรู เนอื้ หาส​ าระ การป​ ระเมนิ ผลโ​ดยใ​ชแ​ฟม ​
สะสมผ​ ลงาน การม​ ส​ี ว นรว มใ​นก​จิ ก​รรมการเ​รยี นรู การก​ำหนดช​น้ิ งาน และบ​ ทบาทใ​นก​ารท​ ำงานก​ลมุ โดยคร​ู
ตองแ​จง ใ​หน​ ักเรยี น​ทราบล​ วงหนา
ผปู กครอง ตอ งเ​ขา มาม​ ส​ี ว นรว มใ​นก​ ารค​ ดั เลอื กผ​ ลงาน การแ​สดงค​ วามค​ ดิ เหน็ และร​บั รพู ​ ฒั นาการ​
ของ​นักเรียน​อยาง​ตอเน่ือง ดังน้ัน​กอน​ทำ​แฟม​สะสม​ผลงาน ครู​ตอง​แจง​ใหผ​ ูปกครอง​ทราบ​หรือ​ขอ​ความ​
รวมมือ รวมทัง้ ใ​หค​ วามรใู​นเ​ร่ืองก​ ารป​ ระเมินผลโ​ดย​ใชแ​ฟม ​สะสม​ผลงาน​แกผ​ ูป กครองเ​ม่ือม​ ​ีโอกาส
2. การร​วบรวมผ​ ลงานแ​ ละจ​ดั ร​ะบบแ​ ฟม ในก​ ารร​วบรวมผ​ ลงานต​ อ งอ​อกแบบก​ ารจ​ดั เกบ็ ห​ รอื แ​ยก​
หมวดหมูข​อง​ผลงาน​ใหด​ ี เพ่ือ​สะดวก​และ​งาย​ตอ​การนำ​ขอมูล​ออกมา​ใช แนว​ทางการ​จัด​หมวดหมูข​อง​
ผลงาน เชน
1) จดั แ​ยกต​ ามลำดับ​วนั แ​ละ​เวลาท​ ​่สี ราง​ผลงาน​ข้ึน​มา
2) จัด​แยก​ตาม​ความ​ซับซอน​ของ​ผลงาน เปนการ​แสดงถึง​ทักษะ​หรือ​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน
​ท​ี่มากข้นึ
3) จดั แ​ยกต​ ามว​ัตถป​ุ ระสงค เนือ้ หา หรือป​ ระเภท​ของผ​ ลงาน

คูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนา ท่พี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 81
ผลงาน​ที่อยูใ​น​แฟม​สะสม​ผลงาน​อาจ​มี​หลาย​เรื่อง หลาย​วิชา ดังนั้น​นักเรียน​จะ​ตอง​ทำ​เคร่ืองมือ​
ใน​การช​ว ย​คนหา เชน สารบัญ ดชั นเ​ี รอื่ ง จุด​สี แถบ​ส​ตี ิดไ​วท​ ีผ​่ ลงานโ​ดย​มร​ี หัสท​ ​ี่แตกตา งกัน เปน ตน
3. การ​คัดเลือก​ผลงาน ใน​การ​คัดเลือก​ผลงาน​นั้น​ควร​ใหส​ อดคลองกับ​เกณฑ​หรือ​มาตรฐาน
​ท่ี​โรงเรียน ครู หรือ​นักเรียน​รวมกัน​กำหนด​ข้ึน​มา และ​ผูค​ ัดเลือก​ผลงาน​ควร​เปน​นักเรียน​เจาของ​แฟม​
สะสมผ​ ลงาน หรอื ม​ ​สี วน​รวมกับค​ รู เพอ่ื น และผ​ ปู กครอง
ผลงาน​ท่​ีเลือก​เขาแฟม ส​ ะสมผ​ ลงาน​ควร​มล​ี ักษณะ​ดังน้ี
1) สอดคลอ งกบั ​เน้อื หาแ​ละว​ตั ถุ​ประสงคข​องก​ าร​เรยี นรู
2) เปน​ผลงาน​ชิ้นท​ ด​ี่ ที สี่ ดุ มีความหมายต​ อ น​ กั เรียนม​ าก​ทส่ี ุด
3) สะทอนใ​หเ​หน็ ถ​ งึ ​พัฒนาการข​องน​ กั เรียนใ​น​ทกุ ด​ าน
4) เปน ​สอ่ื ท​ จ่ี ะช​ว ย​ใหน​ กั เรยี นม​ ​โี อกาส​แลกเปลย่ี นค​ วามคดิ เ​หน็ กบั ค​ รู ผปู กครอง และ​เพอ่ื น ๆ
สว นจ​ำนวนช​น้ิ งานน​ น้ั ใ​หก​ ำหนดต​ ามค​ วามเ​หมาะสม ไมค​ วรม​ ม​ี ากเ​กนิ ไป เพราะอ​าจจะท​ ำใหผ​ ลงาน​
บางช​นิ้ ไ​มม​ ีความหมาย แตถ​ าม​ ​ีนอยเกินไปจ​ะ​ทำ​ใหการ​ประเมินไ​มม​ีประสทิ ธภิ าพ
4. การ​สรางสรรค​แฟม​สะสม​ผลงาน​ให​มี​เอกลักษณ​ของ​ตน​เอง โครงสราง​หลัก​ของ​แฟม​สะสม​
ผลงานอ​าจเ​หมอื นกนั แตน​ กั เรยี นส​ามารถต​ กแตง ร​ายละเอยี ดย​อ ยใ​หแ​ตกตา งกนั ตามค​ วามคดิ ส​รา งสรรค​
ของ​แตละบุคคล โดย​อาจ​ใชภ​ าพ สี สติ๊กเกอร ตกแตง​ใหส​ วยงาม​เนน​เอกลักษณ​ของ​เจาของ​แฟม​สะสม​
ผลงาน
5. การ​แสดง​ความ​คิดเห็น​หรือ​ความรูสึก​ตอ​ผลงาน ใน​ข้ัน​ตอนนี้​นักเรียน​จะ​ไดร​ูจัก​การ​วิพากษ​
วจิ ารณ หรอื ส​ ะทอนค​ วามคดิ เ​ก่ยี วกับผ​ ลงานข​องต​ นเ​อง ตวั อยา งข​อ ความ​ทใ​ี่ ชแ​สดง​ความรสู กึ ​ตอ ​ผลงาน
เชน
1) ไดแ​นวคิดจ​ากก​ ารท​ ำ​ผลงานช​้ิน​นม้ี​ า​จากไหน
2) เหตผุ ล​ทเ​่ี ลอื กผ​ ลงานช​ิน้ น​ ค้ี​ ืออ​ะไร
3) จดุ เดน แ​ละจ​ุดดอ ย​ของผ​ ลงานช​ิน้ ​นค​ี้ ือ​อะไร
4) รูส กึ พ​ อใจก​ บั ​ผลงานช​น้ิ น​ ม้​ี าก​นอ ยเ​พียงใด
5) ไดข​อ คดิ อ​ะไรจ​าก​การ​ทำผ​ ลงาน​ชน้ิ ​น้ี
6. การต​ รวจสอบค​ วามส​ามารถข​องต​ นเ​อง เปน การเ​ปด โอกาสใ​หน​ กั เรยี นไ​ดป​ ระเมนิ ค​ วามส​ามารถ​
ของ​ตน​เอง โดย​พิจารณา​ตามเกณฑ​ยอย ๆ ท่ี​ครู​และ​นักเรียน​ชวยกัน​กำหนด​ข้ึน เชน นิสัย​การ​ทำงาน
ทกั ษะท​ างสงั คม การท​ ำงานเ​สรจ็ ต​ ามร​ะยะเวลาท​ ก​่ี ำหนด การข​อค​ วามช​ว ยเหลอื เ​มอ่ื ม​ ค​ี วามจ​ำเปน เปน ตน
นอกจากนก​้ี ารต​ รวจสอบค​ วามส​ามารถต​ นเ​องอ​กี ว​ธิ ห​ี นงึ่ คอื การใ​หน​ กั เรยี นเ​ขยี นว​เิ คราะหจ​ ดุ เดน จดุ ดอ ย
ของต​ นเ​อง และส​ ่ิง​ทตี่​ อ ง​ปรับปรุงแ​กไ ข
7. การป​ ระเมนิ ผ​ ลงาน เปน ข​น้ั ต​ อนทส​่ี ำคญั เ​นอ่ื งจากเ​ปน การส​รปุ ค​ ณุ ภาพข​องง​านแ​ละค​ วามส​ามารถ​
หรอื พ​ ฒั นาการข​องน​ กั เรยี น การป​ ระเมนิ แ​บง ออกเ​ปน 2 ลกั ษณะ คอื การป​ ระเมนิ โ​ดยไ​มใ​หร​ะดบั ค​ ะแนน
และ​การป​ ระเมินโ​ดยใ​หร​ะดบั ค​ ะแนน
1) การป​ ระเมนิ โ​ดยไ​มใ​ หร​ ะดบั ค​ ะแนน ครก​ู ลมุ น​ ม​้ี ค​ี วามเ​ชอ่ื ว​า แฟม ส​ะสมผ​ ลงานม​ ไ​ี วเ​พอื่ ศ​ กึ ษา​
กระบวนการ​ทำงาน ศึกษา​ความ​คิดเห็น​และ​ความรูสึก​ของ​นักเรียน​ท่ี​มี​ตอ​ผลงาน​ของ​ตน​เอง ตลอดจน
​ดู​พัฒนาการ​หรือ​ความ​กาวหนา​ของ​นักเรียน​อยาง​ไมเ​ปนทางการ ครู ผูปกครอง และ​เพ่ือน​สามารถ​ให​

82 คูม่ ือครู แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา ทีพ่ ลเมืองฯ​ ม.  4–6 เลม 1
คำช​ีแ้ นะ​แกน​ กั เรียนไ​ด ซ่ึงว​ิธีการน​ ้​ีจะท​ ำใหน​ กั เรยี น​ไดเ​รยี นรแู ​ละ​ปฏบิ ตั งิ​าน​อยางเ​ต็มที่ โดย​ไมต​ องก​ งั วล​
วา​จะไ​ดค​ ะแนน​มากน​ อ ย​เทาไร
2) การ​ประเมนิ โ​ดยใ​หร​ะดับค​ ะแนน มที​ งั้ ​การป​ ระเมิน​ตาม​จดุ ประสงค​ก าร​เรียนรู การ​ประเมิน​
ระหวาง​ภาคเรียน และ​การ​ประเมิน​ปลาย​ภาค ซ่ึง​จะ​ชวย​ใน​วัตถุ​ประสงค​ดาน​การ​ปฏิบัติ​เปนหลัก
การ​ประเมิน​แฟม​สะสม​ผลงาน​ตอง​กำหนด​มิติ​การ​ใหคะแนน (scoring rubrics) ตามเกณฑ​ท่ี​ครู​และ​
นักเรียน​รวมกัน​กำหนด​ข้ึน การ​ใหร​ะดับ​คะแนน​มี​ท้ัง​การ​ใหคะแนน​เปนราย​ชิ้น​กอน​เก็บ​เขาแฟม​สะสม​
ผลงาน และ​การ​ใหคะแนน​แฟม​สะสม​ผลงาน​ท้ัง​แฟม ซ่ึง​มาตรฐาน​คะแนน​น้ัน​ตอง​สอดคลองกับ​
วัตถุ​ประสงค​การ​จัดทำ​แฟม​สะสม​ผลงาน และ​มุงเนน​พัฒนาการ​ของ​นักเรียน​แตละคน​มากกวา​การ​นำไป​
เปรยี บเ​ทยี บกบั ​บคุ คลอนื่
8. การ​แลกเปล่ียน​ประสบการณ​กับ​ผูอ่ืน มี​วัตถุ​ประสงค​เพ่ือ​เปดโอกาส​ใหน​ ักเรียน​ไดร​ับฟง​
ความค​ ดิ เหน็ จ​ากผ​ ทู ​ ม​่ี ส​ี ว นเ​กย่ี วขอ ง ไดแ ก เพอื่ น ครู และผ​ ปู กครอง อาจท​ ำไดห​ ลายร​ปู แบบ เชน การจดั
ป​ ระชุม​ในโ​รงเรียนโ​ดยเ​ชิญ​ผทู​ มี่​ ี​สวนเ​ก่ยี วขอ งม​ าร​วมกนั ​พจิ ารณาผ​ ลงาน การ​สนทนา​แลกเปลย่ี นร​ะหวา ง​
นกั เรยี น​กับ​เพื่อน การส​ ง ​แฟม ส​ ะสม​ผลงานไ​ปใ​หผ​ ทู​ ี่​มี​สว น​เกีย่ วของช​วยใ​หข​อ ​เสนอแนะ​หรือค​ ำ​แนะนำ
ใน​การ​แลกเปลี่ยน​ประสบการณ​นั้น​นักเรียน​จะ​ตอง​เตรียม​คำ​ถาม​เพื่อ​ถาม​ผูท​ ่ี​มี​สวน​เกี่ยวของ
ซึง่ ​จะเ​ปน ​ประโยชนใ​นก​ ารป​ รบั ปรุงง​านข​องต​ น​เอง ตัวอยางค​ ำ​ถาม เชน
1) ทา นค​ ดิ อ​ยางไร​กบั ผ​ ลงาน​ชิน้ น​ ้ี
2) ทานค​ ิดวาค​ วรป​ รับปรงุ ​แกไ ขส​ ว น​ใด​อกี บ​ าง
3) ผลงาน​ช้ินใ​ดท​ ี​ท่ านช​อบมากท​ สี่ ดุ เพราะอะไร
ฯลฯ
9. การ​ปรับ​เปล่ียน​ผลงาน หลังจากที่​นักเรียน​ได​แลกเปล่ียน​ความ​คิดเห็น และ​ไดร​ับคำ​แนะนำ​
จากผ​ ทู ​ ม​ี่ ส​ี ว นเ​กย่ี วขอ งแ​ลว จะน​ ำมาป​ รบั ปรงุ ผ​ ลงานใ​หด​ ขี นึ้ นกั เรยี นสาม​ ารถ​ นำผ​ ลงานท​ ด​่ี กี วา เ​กบ็ เ​ขา แฟม ​
สะสม​ผลงาน​แทน​ผลงาน​เดิม ทำใหแ​ ฟม​สะสม​ผลงาน​มี​ผลงาน​ที่​ดี ทันสมัย และ​ตรง​ตาม​จุดประสงค​
ใน​การ​ประเมนิ
10. การ​ประชา​สมั พนั ธผ​ ลงาน​ของ​นกั เรียน เปนการแ​สดง​นทิ รรศการผ​ ลงาน​ของน​ กั เรยี น โดย​นำ​
แฟม​สะสม​ผลงาน​ของ​นักเรียน​ทุกคน​มา​จัดแสดง​รวมกัน และ​เปดโอกาส​ใหผ​ ูปกครอง ครู และ​นักเรียน​
ท่ัว​ไปไดเ​ขา​ชม​ผลงาน ทำใหน​ ักเรียน​เกิด​ความ​ภาคภูมิใจ​ใน​ผลงาน​ของ​ตน​เอง ผูท​ ี่​เร่ิมตน​ทำ​แฟม​สะสม​
ผลงาน​อาจ​ไมต​ อง​ดำเนินการ​ทั้ง 10 ข้ัน​ตอนน้ี อาจ​ใชข​้ันตอน​หลัก ๆ คือ การ​รวบรวม​ผลงาน​และ​
การ​จัดร​ะบบแ​ฟม การค​ ดั เลือกผ​ ลงาน และ​การแ​สดง​ความ​คิดเห็นห​ รือค​ วามรสู ึก​ตอผ​ ลงาน

คู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ทพ่ี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 83
องคประกอบ​สำคญั ข​องแ​ ฟม ส​ะสม​ผลงาน ม​ีดังนี้

1. สวน​นำ ประกอบดวย
– ปก
– คำนำ
– สารบญั
– ประวตั สิ​ วนตวั
– จดุ ​มงุ หมายข​องก​ ารท​ ำ​แฟม
สะสม​ผลงาน

2. สวน​เนื้อหาของแ​ ฟม ประกอบดว ย
– ผลงาน
– ความ​คดิ เห็น​ท่ม​ี ีต​ อ​ผลงาน
– Rubrics ประเมนิ ผ​ ลงาน

3. สว นขอ มลู เ​พม่ิ เตมิ ประกอบดว ย
– ผล​การป​ ระเมนิ ​การ​เรียนรู
– การร​ายงาน​ความ​กาวหนา​โดย​ครู
– ความ​คิดเห็นข​อง​ผทู ​ ีม​่ ส​ี ว น​เกี่ยวขอ ง
เชน เพอ่ื น ผปู กครอง

84 ค่มู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หนา ท่พี ลเมอื งฯ​ ม.  4–6 เลม 1

4. ผงั การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Backward Design

ผังการออกแบบการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด Backward Design
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี

ขน้ั ท ่ี 1 ผลลพั ธปลายทางทต่ี องการใหเ กดิ ขน้ึ กับนกั เรียน

ตวั ช้วี ัดชว งช้ัน คำถามสำคัญที่ทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจท่ีคงทน
1​.
2. 1.
ความเขา้ ใจท่คี งทนของนกั เรยี น 2.
นกั เรียนจะเขา้ ใจว่า… ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนท่นี ำไปสู่ความ
1. เขา้ ใจทคี่ งทน นักเรยี นจะสามารถ...
2. 1.
ความรขู องนักเรยี นทน่ี ำไปสูค วามเขา ใจทีค่ งทน 2.
นกั เรียนจะรวู า … 3.
1.
2.
3.

ขนั้ ท่ ี 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ซึ่งเปน็ หลกั ฐานที่แสดงว่านักเรยี นมผี ลการเรยี นรู้
ตามท่ีกำหนดไวอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ

1. ภาระงานที่นักเรียนต้องปฏบิ ตั ิ
1.1
1.2

2. วิธีการและเคร่ืองมอื ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ​
2.1 วธิ กี ารประเมินผ​ ลการเรียนร​ู 2.2 เคร่ืองมอื ประเมนิ ผ​ ลการเรียนร​ู
1)
2) 1)
2)

3. สง่ิ ทม่ี งุ ​ประเมนิ ​
3.1​
3.2
3.3

ขนั้ ท่ ี 3 แผนการจดั การเรยี นรู้

คมู่ อื ครู แผนการจดั การเรียนรู้ หนาทพ่ี ลเมือง​ฯ ม.  4–6 เลม 1 85

5. รปู แบบแผนการจดั การเรยี นรู้รายชว่ั โมง

เม่ือ​ครู​ออกแบบ​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แนวคิด Backward Design แลว ครู​สามารถ​เขียน​แผน
การ​จัดการ​เรียนรูร​าย​ช่ัวโมง​โดย​ใชร​ูปแบบ​ของ​แผนการ​จัดการ​เรียนรูแ​ บบ​เรียง​หัวขอ ซึ่ง​มี​รายละเอียด​
ดังนี้
ชือ่ แ​ ผน...(ระบชุ ื่อแ​ละ​ลำดับทข​ี่ อง​แผนการจ​ดั การ​เรยี นร)ู
ชอื่ เร่ือง...(ระบช​ุ อ่ื เรื่องท​ ี่จะท​ ำการจ​ดั การ​เรยี นรู)
สาระ​ท่ี...(ระบส​ุ าระ​ทใ​่ี ชจ​ดั การเ​รียนรู)
ชน้ั ...(ระบุ​ช้ัน​ทจ​่ี ัดการ​เรยี นร)ู
หนว ย​การ​เรียนรูท​ ี.่ ..(ระบชุ ื่อแ​ละ​ลำดับทข​่ี อง​หนว ย​การเ​รียนรู)
เวลา...(ระบ​ุระยะเวลาท​ ี่​ใชใ​นก​ ารจ​ดั การ​เรียนรตู ​ อ 1 แผน)
สาระสำคัญ...(เขยี นค​ วามคดิ ร​วบยอดห​ รอื ม​ โนทศั น​ของห​ วั เร่อื งท​ จี่ ะจ​ัดการเ​รียนรู)
ตัวช​้​วี ดั ​ชว ง​ชน้ั ...(ระบต​ุ วั ​ชวี้​ัดช​ว งช​นั้ ​ท่ใ​ี ชเ​ปน​เปาหมาย​ของแ​ผนการ​จดั การเ​รียนร)ู
จุดประสงค​ก าร​เรียนรู...กำหนด​ใหส​ อดคลองกับ​สมรรถนะ​สำคัญ​และ​คุณลักษณะ​อัน​พึงประสงค​
ของ​นักเรียน​หลังจาก​สำเร็จ​การ​ศึกษา ตาม​หลักสูตร​แกนกลาง​การ​ศึกษา​ข้ัน​พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
ซึง่ ป​ ระกอบดวยด​ า นค​ วามรู (Knowledge: K) ดาน​คณุ ธรรม จริยธรรม และค​ านิยม (Affective: A) และ​
ดา นท​ ักษะ​กระบวนการ (Performance: P)
การ​วัด​และ​ประเมิน​ผลการเรียน​รู...(ระบุ​วิธีการ​และ​เครื่องมือวัด​และ​ประเมินผล​ที่​สอดคลองกับ​
จุดประสงคก​ ารเ​รียนรทู​ ้ัง 3 ดา น)
สาระก​ าร​เรียนร.ู ..(ระบสุ​ าระ​และเ​น้ือหา​ท​ใ่ี ชจ​ดั การเ​รียนรู อาจเ​ขยี น​เฉพาะห​ วั เรอ่ื งก​ ไ็ ด)
แนวทาง​บูรณาการ...(เสนอแนะแ​ละ​ระบ​กุ ิจกรรมข​องก​ ลมุ ​สาระอ​ืน่ ท​ ​บ่ี รู ณาการ​รว มกัน)
กระบวนการ​จัดการ​เรียนรู...(กำหนด​ใหส​ อดคลองกับ​ธรรมชาติ​ของ​กลุม​สาระ​และ​การ​บูรณาการ​
ขา ม​สาระ)
กิจกรรมเ​สนอแนะ...(ระบร​ุ ายละเอยี ด​ของ​กิจกรรมท​ น​ี่ ักเรียน​ควร​ปฏบิ ัตเ​ิ พมิ่ เติม)
สือ่ /แหลง​เรยี นรู...(ระบสุ​ อื่ อุปกรณ และแ​หลง ​เรียนรทู​ ใ่ี​ชใ​น​การจ​ัดการ​เรยี นรู)
บันทึก​หลัง​การ​จัดการ​เรียนรู...(ระบุ​รายละเอียด​ของ​ผล​การ​จัดการ​เรียนรูต​ าม​แผนท่ีกำหนด​ไว
อาจ​นำเสนอ​ขอ เดนแ​ละข​อดอ ยใ​หเ​ปน ​ขอมลู ท​ สี่​ ามารถ​ใชเ​ปน ส​ วนหนึง่ ข​อง​การท​ ำ​วจิ ยั ​ใน​ชัน้ เรยี น​ได

86 คู่มอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู้ หน้าทพี่ ลเมืองฯ ม. 4–6 เล่ม 1

6. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น

แบบ ทดสอบก อ่ นเ รยี น และห ลงั เรยี น

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สังคม

คำชแ้ี จง เลือกคำตอบทถี่ ูกตอ งทสี่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว

1. แบบแผนความสมั พนั ธร ะหวา งองคป ระกอบ 5. สถาบันใดมีหนาที่อบรมปลูกฝงระเบียบ
ตา ง ๆ ของระบบสงั คมเปน็ ความหมายของ ทางสังคมแกสมาชกิ
อะไร ก สถาบันศาสนา
ก ช่วงชน้ั ทางสงั คม ข สถาบันการศึกษา
ข รูปแบบทางสงั คม ค สถาบนั ครอบครวั
ค โครงสรา้ งทางสงั คม ง ถูกทุกข้อ
ง การเปล่ยี นแปลงทางสังคม
6. สถาบันสังคมใดท่ีเก่ียวของกับแบบแผน
2. ขอ ใดไมใชลกั ษณะโครงสรา งทางสงั คม การสนองความตองการปจจัยพื้นฐานท่ี
ก เคล่อื นไหวเปล่ียนแปลงไมไ่ ด้ จำเปน็ ของมนุษย
ข มกี ารรวมกลุ่มของคนในสงั คม ก สถาบันศาสนา
ค มจี ดุ มงุ่ หมายในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ข สถาบนั เศรษฐกิจ
ง มีแนวทางในการปฏิบตั อิ ยา่ งเหมาะสม ค สถาบันการศกึ ษา
ง สถาบนั การเมอื งการปกครอง
3. ขอใดเปน็ กลมุ สงั คม
ก กลมุ่ คนที่โดยสารบนรถไฟ 7. รัฐสภามีความเก่ียวของกับสถาบันสังคม
ข กลมุ่ นกั เรยี นทีเ่ รียนอย่ใู นหอ้ งเดยี วกนั ในขอใดมากทีส่ ุด
ค กลุ่มคนท่ีกำลังซ้ือของอยู่ในห้างสรรพ- ก สถาบนั ศาสนา
สนิ ค้า ข สถาบันเศรษฐกจิ
ง กลุ่มคนท่ียืนรอรถประจำทางบริเวณ ค สถาบนั การศึกษา
ปา ยรถประจำทาง ง สถาบันการเมืองการปกครอง

4. ขอใดกลาวถกู ตอง 8. การทำใหสังคมเกิดความเป็นระเบียบ
ก สถาบันสงั คมมลี ักษณะเปนรูปธรรม เรียบรอย มคี วามมนั่ คงเพ่ือใหส มาชิกของ
ข สถาบนั สงั คมเกดิ จากการยอมรบั รว่ มกนั สังคมใชชีวิตของตนอยูในสังคมไดอยาง
ของสมาชิกในสงั คม สงบสขุ เป็นความหมายของอะไร
ค สถาบนั สงั คมเกดิ จากการเช่ือมโยง ก ช่วงชน้ั ทางสงั คม
บรรทัดฐานตา่ ง ๆ ของสงั คม ข การจดั ระเบียบสังคม
ง สถาบันสังคมเกิดขึ้นเพ่ือสนองความ ค ความเหล่ือมล้ำทางสงั คม
ต้องการของสมาชกิ ในอกี สังคมหนึ่ง ง การเปลยี่ นแปลงทางสังคม
















Click to View FlipBook Version