The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ok_หนังสืออนุสรณ์_คณะแพทย์ ม.สยาม_5ม.ค.66-compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by medsiam2563, 2023-01-17 09:40:51

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ok_หนังสืออนุสรณ์_คณะแพทย์ ม.สยาม_5ม.ค.66-compressed

Keywords: ๑๒ ปี,คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม บรรณาธิการแถลง รองศาสตราจารย(พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช ประธานอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๒๕๖๕ นักษัตร เปนชื่อของรอบเวลา ซึ่งกําหนดโดยใชสัตวเปนเครื่องหมายในปนั้น ๆ ปแรกคือ ปชวด มีหนูเปน เครื่องหมาย และปสุดทายคือ ปกุน มีหมูเปนเครื่องหมาย ปนักษัตรเปนปตามปฏิทินสุริยคติไทย และชาติอื่น ๆ ใน ตะวันออก เชน จีน เวียดนาม เปนตน กําหนด ๑๒ ป เปน ๑ รอบ เรียก ๑๒ นักษัตร ในอดีตมักมีการเฉลิมฉลอง เมื่อเจานายหรือขาราชการชั้นผูใหญ มีอายุครบ ๖ รอบนักษัตร ในป พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีอายุครบ ๑ รอบนักษัตร นับวาเปนโอกาส อันเปนมงคล จึงเปนที่มาของหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เพื่อเปนสวนหนึ่ง ของการเฉลิมฉลอง และสื่อสารใหบุคคลตาง ๆ ทั้งในและนอกคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หนังสืออนุสรณเลมนี้ ประกอบไปดวย สารแสดงความยินดีของบุคคลสําคัญตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคณะ แพทยศาสตร ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร การดําเนินกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกคณะ แพทยศาสตร ผลงานที่โดดเดนของบัณฑิตแพทย และนักศึกษาแพทยทั้งทางดานวิชาการ และบริการสังคม นอกจากนี้ยังมีบทความพิเศษตาง ๆ จากผูทรงคุณวุฒิ ผมในนามของคณะผูจัดทําขอกราบขอบพระคุณทาน ผูเขียนทุกทานเปนอยางยิ่ง ในการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามเลมนี้ ไดรับความรวมมือเปน อยางดีจากบุคลากรทั้งภายในและภายนอกคณะแพทยศาสตร และที่สําคัญที่สุดหนังสืออนุสรณฯ เลมนี้จะ เกิดขึ้นไมไดเลย หากผมไมไดรับความรวมมือรวมใจอยางแข็งขันของทุกคนในคณะอนุกรรมการจัดทําหนังสือ อนุสรณ ๑๒ ปคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ผมขอกราบขอบพระคุณทุกทานมา ณ ที่นี้ ดวยใจจริง ความดีความงามอันเกิดจากหนังสืออนุสรณเลมนี้ ขอจงดลบันดาลใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แหงนี้จงเจริญงอกงาม มีอายุยืนนานสืบตอไปอีกหลาย ๆ รอบนักษัตร เพื่อสรางประโยชนใหแกประเทศชาติและ ประชาชนชาวไทยสืบไป


สารแสดงความยินดีครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ...................................................................................... ๑ ศาสตราจารยเกียรติคุณ แพทยหญิงสมศรี เผาสวัสดิ์ นายกแพทยสภา ..................................................................................................... ๒ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ................................................................................. ๓ ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ........................................................................... ๔ - ๙ ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ....................................................... ๑๐ นายแพทยศักดา อัลภาชน ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา .................................................................... ๑๑ นายแพทยสุรชัย แกวหิรัญ ผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร .................................................................... ๑๒ แพทยหญิงสิริรัตน ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา .............................. ๑๓ แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร .................... ๑๔


บทความพิเศษ คณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี รองคณบดี อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ผูชวยคณบดีฝายนโยบายและแผน ...................... ๑๕ – ๒๒ หลักสูตรนั้นสําคัญไฉน ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๒๓ – ๓๐ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย (พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช บรรณาธิการ ............. ๓๑ – ๔๓ เทคนิคการเรียนในชั้นคลินิก ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ........................................................ ๔๔ - ๕๐ การจัดการเรียนการสอนในชั้นคลินิกของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในโรงพยาบาลพระนั่งเกลา จากอดีตถึงปจจุบัน แพทยหญิงสิริรัตน ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา ........................... ๕๑ – ๕๓ เรียนใหเปน (หมอ) ผูชวยศาสตราจารยดร.อภิชัย ชูปรีชา สาขาสรีรวิทยา ................................... ๕๔ – ๕๖ เพชรเจียระไน จากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม อาจารย ดร.ณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย สาขาสรีรวิทยา อาจารย ดร.ธิดารัตน เนติกุล สาขาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา ...................... ๕๗ – ๖๗ ความในใจของศิษยเกาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นายแพทยปริรัตน ภพลือชัย .................................................................................. ๖๘ – ๖๙ นายแพทยปริย ตะวิชัย .......................................................................................... ๗๐ แพทยหญิงกชพร ไวทยกุล ..................................................................................... ๗๑ – ๗๒ ความในใจของนักศึกษาแพทย ป ๖ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นักศึกษาแพทยศุภณัฐ งามเสงี่ยม ........................................................................ ๗๓ นักศึกษาแพทยณัฐดิษฐ เจียนจิตเลิศ ................................................................... ๗๔


ความในใจของนายกสโมสรนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นักศึกษาแพทยจตุรวิทย จันทะบุตร ..................................................................... ๗๕ เรียนรูอดีตแลวคิดพัฒนาปจจุบัน เพื่อมุงมั่นสูอนาคต ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๗๖ – ๘๔ ความสําคัญของการใชรางอาจารยใหญในวงการแพทย(Role of body donors in medical fields) ศาสตราจารยนายแพทยธันวา ตันสถิต ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๘๕ – ๘๗ COVID-19 กับการเปลี่ยนแปลงของวงการสาธารณสุขไทย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม ......................................................................... ๘๘ – ๑๐๗ เลาดวยภาพ ๑๒ ป แหงความทรงจํา ............................................................................. ๑๐๘ – ๑๘๖ รายนามคณะอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ............................................................................. ๑๘๗


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ผมขอแสดงความชื่นชมยินดี เนื่องในโอกาสคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งเกิดจากกลุมแพทยที่มีประสบการณสูงทั้งดานการเรียนการสอน ในโรงเรียนแพทยชั้นนําของประเทศ และประสบความสําเร็จอยางสูงในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่ตระหนัก ถึงปญหาการขาดแคลนแพทยทั้งในภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะมีการเคลื่อนยายผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมอยางไรพรมแดน จึงไดรวมกันขอเปด ดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตอสภามหาวิทยาลัยสยาม เพื่อมุงผลิตบัณฑิตแพทยใหเปนผูมีปญญา มีความรู มีทักษะและเจตคติที่ดีตอการใหบริการสุขภาพแบบองครวม รองรับและเตรียมพรอมการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้น แพทยเปนหัวใจสําคัญของระบบสุขภาพ มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการใหบริการสุขภาพ ไมวาจะเปน การสงเสริมสุขภาพ การควบคุมปองกันโรค การตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษาการฟนฟูสุขภาพ ตลอดจนการให คําปรึกษาแนะนําดานการแพทยและสาธารณสุข ในการผลิตแพทย จึงจําเปนตองมีการพัฒนาองคความรูและ กาวทันเทคโนโลยีทางการแพทยตาง ๆ เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สังคม และสถานการณ ความกาวหนาของโรคในภาวะปจจุบัน ผมหวังเปนอยางยิ่งวา ดวยความรูความสามารถ และความสมัครสมาน สามัคคีของคณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตรทุกทาน จะชวยเสริมสรางทักษะและพัฒนามาตรฐานการ เรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเปาหมายในการผลิตบัณฑิตแพทยที่มีคุณภาพ สูสังคมไทย ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทานเคารพนับถือ โปรดดลบันดาลประทานพรใหคณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และผูเกี่ยวของ ทุกทาน ประสบความสุข ความเจริญ มีกําลังกาย กําลังใจ กําลังสติปญญาที่เขมแข็ง เพื่อรวมกันขับเคลื่อน การแพทยและการสาธารณสุขไทยใหมีความเจริญยิ่งขึ้นสืบไป ๑


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากนายกแพทยสภา ศาสตราจารยเกียรติคุณ แพทยหญิงสมศรี เผาสวัสดิ์ นายกแพทยสภา (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓, ๒๕๖๔-๒๕๖๕) ในนามของแพทยสภา ขอแสดงความยินดีกับทานคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ทานปจจุบัน ศาสตราจารยคลินิกนายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ ที่ดําเนินการตอเนื่องเรื่องการศึกษา แพทยศาสตรของคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม มาไดอยางมีมาตรฐานอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน นับ ได ๑๒ ป ในฐานะสวนตัวกอนจะมารับตําแหนงนายกแพทยสภา ไดมีโอกาสรับรูและรับทราบเรื่องการดําเนินการ กอตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และเคยไดรับเชิญมาเปนประธานคณะกรรมการหลักสูตรการศึกษา แพทยศาสตรของมหาวิทยาลัยสยาม เปนกรรมการมูลนิธิมหาวิทยาลัยสยาม และรวมดําเนินการจัดหาอาจารยผู มีประสบการณจากแพทยสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ มาสอนในวิชาเวชจริยศาสตรใหกับ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๒ ในระยะเริ่มตน เนื่องจากแพทยสมาคมฯ มีโครงการแนะแนวนักศึกษาแพทยและแพทย ประจําบานในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งมีอาจารยผูมีประสบการณและเปน ผูทรงคุณวุฒิอยูหลายทานมารวมเปนวิทยากร เมื่อมาอยูในฐานะนายกแพทยสภา ไดมีโอกาสเห็นความกาวหนาและพัฒนาการของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มาโดยตลอด ในโอกาสที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีการกอตั้งมาครบ ๑๒ ป ขอแสดงความชื่นชมยินดีและหวังเปนอยางยิ่งวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จะเปนคณะแพทยที่มี ความเจริญรุงเรืองและมีพัฒนาการที่กาวหนาทั้งดานคุณภาพและมาตรฐานยิ่ง ๆ ขึ้นไป ชวยผลิตบุคลากร ทางการแพทยที่มีคุณภาพ มาชวยดูแลสุขภาพของประชาชนชาวไทยใหมีชีวิตที่ดีตลอดไป ๒


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม “คณะแพทยศาสตร” เปนอีกหนึ่งในความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยสยามในการสรางแพทยที่ดี มีคุณภาพใหแกสังคม ซึ่งถือเปนการเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในการจัดการศึกษาเพื่อสรางแพทยที่มีคุณภาพเพื่อประโยชนของเพื่อนมนุษย ใชการเรียนการ สอนที่มุงเนนการปฏิบัติและการประยุกตความรู โดยจัดการเรียนการสอนในชั้นปรีคลินิกที่มหาวิทยาลัยสยาม และในชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี มหาวิทยาลัยสยามเปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ ที่ไดรับอนุญาตจากแพทยสภาใหจัดการศึกษาดังกลาว และเปนการอนุญาตครั้งแรกในรอบ ๒๐ ป การเริ่มตนของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดฝาฟนอุปสรรคนานัปการ แตเมื่อไดทราบวา นักศึกษาแพทยรุนแรกจากมหาวิทยาลัยสยามสอบใบประกอบวิชาชีพแพทยไทย (NLE) ไดถึงรอยละ ๙๕.๒๔ และมีจํานวน ๔ คนที่อยูใน Percentile ที่ ๘๐-๑๐๐ เมื่อเทียบกับคณะแพทยศาสตร ทุกแหงของประเทศ ความ เหนื่อยดังกลาวก็เปลี่ยนเปนความปติ ซึ่งตองขอบคุณทานคณบดีผูกอตั้ง ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี พรอมดวยคณาจารยและนักศึกษารุนแรกทุกคนที่ไดสรางชื่อเสียงและความเชื่อมั่นใหกับคณะ แพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม ภายใตการนําของ ศาสตราจารยคลินิก นายแพทย สุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร ทานปจจุบัน ไดนําคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ผานการประเมินในระบบ EdPEx และการประเมิน รับรองสถาบันและหลักสูตรตามมาตรฐานสากล TWC.WFME.BME Standard (2021) โดยมีระยะเวลาการ รับรองจนถึงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๗๑ ซึ่งนับวาเปนมหาวิทยาลัยเอกชนเพียง ๒ แหง ที่ไดรับสถานภาพ ดังกลาว พรอมกันนี้ Multirank ไดจัดอันดับเปน ๑ ใน ๒๕ ของคณะแพทยศาสตรที่มีการดําเนินการดีเดนระดับ นานาชาติ ดานการวัดและประเมินผล ประจําป ๒๐๒๑ จึงนับวาพลังแหงความสามัคคีของทุกคนทุกฝาย รวมทั้งโรงพยาบาลธนบุรีที่ไดใหการสนับสนุนมูลนิธิ คณะแพทยศาสตรอยางตอเนื่องตั้งแตแรกกอตั้ง สงเสริมใหประเทศไทยไดมีแหลงศึกษาดานแพทยศาสตรที่มี คุณภาพและพรอมที่จะพัฒนาและสรางเครือขายของการศึกษา การวิจัยและนวัตกรรมสูระดับนานาชาติตาม ยุทธศาสตร Re-inventing ของมหาวิทยาลัยสยาม ในโอกาสที่สําคัญนี้ จึงขออวยพรใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดสถิตสถาพรและสามารถ ผลิตแพทยที่มีคุณภาพ เพื่อรับใชสังคมตามเจตนารมณของการกอตั้งสืบตอไป ๓


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทยสภา อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในวาระเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๒ ปของการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หากทานใดได ทราบเรื่องราวในอดีตที่ผานมาตั้งแตเริ่มจัดตั้งคณะแพทยศาสตร การขอเปดหลักสูตรรับนักศึกษาแพทยรุนแรกที่ กวาจะสําเร็จไดก็ใชเวลานานอยางนอยถึง ๓ ปหลังกอตั้งคณะแพทยศาสตรใน มหาวิทยาลัยสยามไดแลว รวมทั้งการเกิดเหตุการณที่เปนอุปสรรคสําคัญในดานความยั่งยืนของการดําเนินงานของคณะแพทยศาสตรใน ระยะเวลาที่ขาพเจาเปนคณบดี ก็จะเห็นวา เราฟนฝาผานวิกฤติสําคัญถึง ๓ เรื่อง ไดแก เรื่องการใหแพทยสภา รับรองหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย อนุมัติใหเปดรับนักศึกษาไดและเรื่องความยั่งยืนในการดําเนินการอยาง ตอเนื่องของคณะแพทยศาสตร การทราบเหตุการณทั้ง ๓ เรื่องนี้ จะทําใหวาระที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนินการมาไดครบ ๑๒ ป เปนเรื่องที่นาจะแสดงความยินดีจริงๆ จึงขอเลาเรื่องยอนหลังใน การฟนฝาแกไขเหตุการณสําคัญทั้ง ๓ เรื่องนี้ มาใหทราบกอนจะแสดงความยินดี ขอเริ่มตนจากจุดที่ผมรับปากเขามาเปนคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เริ่มจากวัน หนึ่งอาจารยทานหนึ่งที่เคยทํางานรวมกันกับขาพเจามานานมาก ไดขอนัดพบและขอคุยกันในเรื่องที่สําคัญ ที่ลานหนาศาลาศิริราช ๑๐๐ ป ขางศาลาพระราชานุสาวรีย สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก ทานบอกขาพเจาวา “ใหผมชวยทําอะไรใหทานอยางหนึ่งคือ ใหมาเปนคณบดี คณะแพทยศาสตร ให ดวย” ขาพเจาตอบทานไปวา “อาจารยมาเปนเองซิ แลวผมจะชวยอยูเบื้องหลังให” อาจารยก็ตอบวา “งานผม เต็มตัวหมดแลว ไมสามารถมาทําได ใหอาจารยใชตําแหนง ศ. ๑๑ และความเปนที่ยอมรับในแวดวงวิชาการเขา มาชวย ทําใหหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทยเปนที่ยอมรับของคณะกรรมการจากแพทยสภาสักที เรื่องนี้คางอยู นานมากแลว ....... (แลวทานยังพูดอะไรตอไปอีก).........” ผมก็ยังงงนิด ๆ วา ทําไมแพทยสภาจึงยังไมอนุมัติ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้ง ๆ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใชตนแบบหลักสูตรมาจากคณะ แพทยศาสตรศิริราช แตดวยความนับถืออาจารยทานนั้นขาพเจาจึงรับปากทานไป แลวตอมามหาวิทยาลัยสยาม ก็มาทาบทามและแตงตั้งใหขาพเจาในตําแหนงรักษาการคณบดีไปกอน (แตทํางานเทียบเทาคณบดี) เมื่อขาพเจา รับปากแลว ตอมาไมนาน มีการประชุมของผูบริหารของมหาวิทยาลัยสยาม กับคณะกรรมการแพทยสภา ๕ ทาน ในการอนุมัติหลักสูตรของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เนื่องจากขาพเจาเพิ่งรับปากจะมาเปนคณบดี จึงไมไดไปพบคณะกรรมการของแพทยสภาในการประชุมครั้งนั้น ขาพเจามาทราบในภายหลังวาในการประชุม ครั้งนั้น กรรมการจากแพทยสภาก็ยังไมใหหลักสูตรของ มหาวิทยาลัยสยามผานอีก จึงไดมีการนัดการประชุมอีก ๔


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ครั้งซึ่งจะใหขาพเจาไปพบกับคณะกรรมการ ๕ ทานของแพทยสภาใหได ในการประชุมครั้งนี้ ขาพเจาจึงไปแสดง ตัวและคณะกรรมการขอใหขาพเจามี commitment ที่จะนําคณะแพทยไปตอใหไดแมจะมีอุปสรรค (ที่มองไม เห็น) มากมายสําหรับคณะแพทยที่เปดใหม กอนจะเริ่มประชุมครั้งนี้สัก ๕ นาทีในขณะที่ขาพเจากําลังจะจอด รถอยูขางลางของตึกสํานักงานปลัดกระทรวงเพื่อขึ้นไปที่สํานักงานแพทยสภาชั้น ๗ กรรมการทานหนึ่งโทรมา หาและถามวา “ขาพเจาจะมาเปนคณบดีแนหรือไม? และจะมาพบกับกรรมการไหม?” พรอมกับยํ้าวา “พี่ตอง มาพบนะ หลักสูตรจึงจะผานได” ขาพเจาจึงพอจะเขาใจไดวา กสพท. และแพทยสภาตองการคณบดีแบบใด อยากจะฝากเรื่องอะไรบางอยางในการพัฒนาหลักสูตร และบังเอิญกรรมการ ๕ ทานของแพทยสภาที่มาดู หลักสูตรของมหาวิทยาลัยสยาม ก็เปนกรรมการที่รูจักขาพเจาดีมากอยูแลวทั้งนั้น มี ๒ ทานที่เคยทํางานดวยกัน มานานตั้งแตสมัยที่ขาพเจาเปนกรรมการและนายกสมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย (ขาพเจาเปนนายก สมาคมนี้นานมากที่สุด อยูถึง ๔ วาระ) กรรมการที่เหลือบางทานก็เปนเพื่อนรุนเดียวกับขาพเจาตอนเขาเรียน แพทยที่จุฬา กรรมการจากแพทยสภาทุกทานทราบดีวาขาพเจาเคยมาทํางานชวยแพทยสภาโดยไมคิด คาตอบแทนมากอนดวย การที่ขาพเจามาประชุมดวยตนเองและชี้แจงหลักสูตรในการประชุมครั้งนี้ คณะกรรมการจึงใหผานพรอมกับใหคําแนะนําอีกมากมาย (ที่สําคัญใหแกไขระบบการเรียนเปน system-based approach ที่ทันสมัยกวา) ซึ่ง ศ.กิตติคุณ นพ.เฉลิม วราวิทย ไดนํามาปรับหลักสูตรและเรงใหเปดหลักสูตรรับ นักศึกษาแพทยปที่ ๑ ในป พ.ศ. ๒๕๕๖ เลย สวนคําถามในใจของขาพเจาที่อยากจะรูคําตอบมากเลยใน ขณะนั้นคือวา นักศึกษาแพทยที่มาเรียนที่ มหาวิทยาลัยสยาม จะเรียนจนจบและสอบไดใบประกอบวิชาชีพ เวชกรรมในสัดสวนมากเหมือนของคณะแพทยเกาแกหรือไม? ซึ่งขาพเจาตองใชเวลานานถึง ๖ ปตามที่กําหนด ไวในหลักสูตรในการติดตามหาคําตอบในเรื่องนี้ ขณะนี้ปญหาวิกฤติในเรื่องแรกคือ การใหแพทยสภารับรอง หลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย และใหเปดรับนักศึกษาได ก็แกไขไดสําเร็จและผานไปแลว ในหลักสูตรแพทยศาสตรนั้น สวนประกอบที่สําคัญที่สุดคือสถาบันผลิตแพทยทางคลินิก ซึ่งตอนแรก ไดโรงพยาบาลตํารวจมาเปนสถาบันฝกสอนทางคลินิกและไดรับความรวมมืออยางเต็มที่และดีมากจาก นายแพทยใหญ (สบ ๘) พลตํารวจโทนายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ (ยศในขณะนั้น) รวมถึงการทํา early clinical exposure และการสอนแบบ system-based approach ซึ่งเราวางแผนใหอาจารยแพทยทางคลินิก ของโรงพยาบาลตํารวจมารวมสอนดวยตั้งแตในปที่ ๑ ทําใหเรายายสํานักงานไปตั้งในโรงพยาบาลตํารวจ เพื่อ จัดทําตึกเรียนในชั้นปรีคลินิกในโรงพยาบาลตํารวจเลย แตขาพเจาก็รับรูถึงความไมแนนอนของโรงพยาบาล ตํารวจที่จะมาเปนสถาบันหลักใหเรียนในชั้นคลินิกจนกวาจะถึงเวลาที่นักศึกษาแพทยจะมาเรียนจริง ๆ โดยเฉพาะในปที่ ๔-๕ และ ๖ เมื่อพลตํารวจโทนายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ หมดวาระนายแพทยใหญ นายแพทยใหญทานตอมายังยืนยันวา จะสอนใหในชั้นคลินิกเทานั้น ในที่สุดขาพเจาไดตัดสินใจทําจดหมายให นายแพทยใหญทานใหมยืนยันการเปนสถาบันผลิตแพทยให มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งตอมา กรมตํารวจไดตอบ กลับมาในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และแจงในที่ประชุมแพทยสภาวา โรงพยาบาลตํารวจไมมีอํานาจที่ จะรับนักศึกษาแพทยจาก มหาวิทยาลัยสยาม มาเรียนทางปรีคลินิกและคลินิกได (แจงใหทราบเปนทางการในป พ.ศ. ๒๕๕๙ ทําใหแพทยสภาตองสั่งให มหาวิทยาลัยสยาม งดรับนักศึกษาแพทยชั่วคราว หากไมสามารถแกไข ปญหานี้ใหสําเร็จลงดวยดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็จะมีนักศึกษาแพทยเพียง ๓ รุนที่รับมาเรียน ๕


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แลว และจะตองกระจายนักศึกษาแพทยไปเรียนตอทางคลินิกที่คณะแพทยศาสตรอื่น ๆ สวนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามก็ตองปดตัวเองไป กลายเปนเรื่องวิกฤติเรื่องที่ ๒ ที่ตองรีบแกไข ทามกลางความเรงรีบในการแกไขปญหาในการหาโรงพยาบาลใหนักศึกษาแพทยปที่ ๓ ไดเรียนตอใน ชั้นคลินิก แมขาพเจานําเรื่องนี้เขาหารือขอความชวยเหลือในการประชุม กสพท. ในวันถัดมาก็ยังไมไดรับคําตอบ ในการแกไขปญหา ทุกฝายทั้ง กสพท. แพทยสภา ทบวงมหาวิทยาลัย และผูปกครอง ไดเขามาชวยขาพเจาใน แกไขปญหาเรงดวนนี้เพราะนักศึกษาแพทยกําลังจะขึ้นเรียนชั้นคลินิกในอีก ๖ เดือนขางหนา ขาพเจาตอง ประชุมกับผูปกครองในวันเสารหลายครั้ง ปรึกษากับกรรมการแพทยสภา กสพท. ทบวงมหาวิทยาลัย คณบดี ทานอื่น ๆ เพื่อเรงรีบหาทางออกที่เหมาะสมที่สุด แตก็ยังไมไดคําตอบที่เหมาะสม ทามกลางความสับสนและ ขาวลือที่อาจจะตองปดคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นักศึกษาแพทยบางรายก็รีบออกจาก มหาวิทยาลัยสยาม ไปเรียนตอที่อื่นบาง ในที่สุดขาพเจาไดอาศัยความสัมพันธสวนตัวกับหลายฝาย รวมทั้ง ศ.พญ.สมศรี เผาสวัสดิ์และศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ที่บังเอิญเราทั้งสามทานไดมาพบกันในบายวันเสารที่ตึก ๗๒ ปในโรงพยาบาลศิริราช เพื่อมาเยี่ยมผูปวย VIP ทานหนึ่ง ขาพเจาจึงไดคุยถึงทางเลือกทางหนึ่งที่เราคิดวา เหมาะสมที่สุด และวิธีการที่จะทําให กสพท. และแพทยสภา ยอมรับใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาล ฝกสอนทางคลินิกแทนโรงพยาบาลตํารวจ เริ่มจาก นพ.วิรุฬห พรพัฒนกุล ผูอํานวยการ รพ.พระนั่งเกลา ในขณะ นั้นไดเห็นชอบดวยแลวทั้งโดยสวนตัวและผานการลงมติจากองคกรแพทยของโรงพยาบาล ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ไดตอบตกลงที่จะสงรองคณบดีไปชวยประเมินศักยภาพของโรงพยาบาลพระนั่งเกลาอยางไมเปน ทางการใหกอน ที่จริงคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลไดสงนักศึกษาแพทยปที่ ๖ ไปหมุนเวียนที่โรงพยาบาล พระนั่งเกลาอยูนานหลายปแลว เมื่อทีมรองคณบดีฝายการศึกษาไปประเมินก็พบวา โรงพยาบาลพระนั่งเกลามี ศักยภาพที่จะรับนักศึกษาแพทยไดทั้งชั้นในโรงพยาบาลเดียวแลวในตนเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ฟาประทานให การแกไขปญหาทั้งหมดนี้จบลงอยางเบ็ดเสร็จในการประชุมที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ซึ่งมี กรรมการจาก กสพท. แพทยสภา คณบดีคณะแพทยศาสตรตาง ๆ และปลัดกระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้น นายแพทยโสภณ เมฆธน มารวมประชุมในเรื่องสําคัญเรื่องอื่น แตบังเอิญมีเวลาวางนานพอ ศ.นพ.อาวุธ ศรีศุกรี เลขาธิการ กสพท. จึงไดชวนคณบดี กรรมการแพทยสภา มาคุยถึงการแกไขปญหาของ ม.สยาม ดวย (ตอนเย็น ศ.นพ.อาวุธ ศรีศุกรี มาบอกกับขาพเจาเปนการสวนตัววา วันนี้พวกเรามาคุยกันถึงการแกไขปญหาของ มหาวิทยาลัยสยามทั้งนั้นเลย และคณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลก็ไดเลาเรื่องที่สงรองคณบดีไป ประเมินศักยภาพมาใหทราบดวย) ในวันเวลาและในสถานที่เดียวกัน ขาพเจาไดพบนายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและเรียนถามเรื่องการขอใชโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาลฝกสอนทาง คลินิกดวย ทานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเห็นชอบเรื่องการใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลามาเปนสถาบันผลิตแพทย ใหมหาวิทยาลัยสยามดวย แลวในการประชุมแพทยสภาครั้งตอไปในเดือนธันวาคม ขาพเจาก็นําเสนอทางเลือก ๓ วิธีซึ่งรวมวิธีการใชโรงพยาบาล พระนั่งเกลามาแทนโรงพยาบาลตํารวจดวย การประชุมของแพทยสภาครั้งนี้ กรรมการแพทยสภาไดถามคณบดีจากคณะแพทยศาสตรตาง ๆ เชน ศิริราช จุฬา รามาธิบดี ธรรมศาสตร และ ผูแทนผูอํานวยการ รพ.พระมงกุฎเกลาฯ วาจะใหการรับรองและยืนยันวา จะชวยใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปน สถาบันหลักในการเรียนทางคลินิกไดไหม ซึ่งมีคณบดีและผูแทนคณบดีจํานวน ๕ คณะ ใหการรับรองและยินดี ชวยเหลือใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันการเรียนการสอนทางคลินิกใหมหาวิทยาลัยสยามตอไป ทั้งนี้ ๖


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณบดี คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลคือ ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ไดมารวมประชุมดวยตนเอง แลว ทานปลัดกระทรวง นพ.โสภณ เมฆธน ก็ไดมาเขาประชุมแพทยสภาดวยตนเองเชนกัน และยืนยันใหการรับรอง การมอบใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทยสภาจึงไดลงมติ เปนเอกฉันทเห็นชอบดวยกับการใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัยสยาม ทําให เราสามารถแกไขปญหาที่ยากยิ่งไดภายใน ๑ เดือนในดานความยั่งยืนของคณะแพทยที่จะดําเนินการตอไปได ทั้ง ๆ ที่บุคคลภายนอกมองวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามนาจะไปไมรอดและนักศึกษาเองตองแยก ออกไปเปนกลุมเล็ก ๆ ในสถาบันตาง ๆ ขาพเจาตองนําเสนอความกาวหนาในการแกไขปญหาเปนประจําทุก เดือนในการประชุมกรรมการแพทยสภา จนในที่สุดไมถึง ๑ ป แพทยสภาก็อนุมัติใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สามารถดําเนินการเปดรับนักศึกษาแพทยตอไปไดโดยไมตองมาเสนอขออนุมัติเปนแตละป อีก จึงถือวาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยังโชคดีมากที่สามารถยืนหยัดทํางานไดตอเนื่องในการผลิต แพทยตอไป ทั้ง ๆ ที่กอนหนานี้ หนทางการดําเนินงานตอของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยังมืดมน ยุงยากมากและมีอุปสรรคมากมายจริง ๆ หลังจาก รพ.ตํารวจยกเลิกความรวมมือในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ แตปญหาทุกอยางกลับมาคลี่คลายอยางฉับพลันจนหมดสิ้นในตนเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ในเวลา ๑ เดือนหลังเกิด ปญหานี้เอง แลวในที่สุด คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็สามารถดําเนินการมาตามปกติจนถึงทุกวันนี้ ตอนสุดทายก็มาถึงเรื่องวิกฤติเรื่องที่ ๓ คือ การรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) ที่แพทยสภาไดรับรองไวเพื่อใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนินการตอไปตามมาตรฐานสากล ขาพเจาในฐานะคณบดีไดขอรับผิดชอบในเรื่องนี้เต็มตัวอยูแลว เมื่อ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสยาม ยังไมไดรับการรับรองจากสถาบันรับรองมาตรฐาน การศึกษาแพทยศาสตร(สมพ.) ในครั้งแรก ก็ถึงเวลาที่ขาพเจาจะพิจารณาตนเอง (แมจะมีกรรมการจาก สมพ. โทรมาซักถาม/ทักทวงก็ตาม) นอกจากนี้ คําตอบที่รอคอยมานานถึง ๖ ป ในเรื่องอัตราการสอบผานและการได ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของนักศึกษาแพทยรุนที่ ๑ ขาพเจาก็ไดทราบคําตอบและรูสึกพอใจอยางมากกับ นักศึกษาแพทยรุนแรกแลว เมื่อหลักสูตรไมไดรับการรับรองตามเกณฑสากล คณะแพทยศาสตรจึงกลับไปใช หลักสูตรเดิมที่ขาพเจาเคยขอใหแพทยสภารับรองไว เพื่อรอใหทําหลักสูตรใหมแลวเสนอแพทยสภา และสมพ. อีกครั้ง เมื่อขาพเจาชวยหาคณบดีคนใหมไดแลวคือ ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ เพื่อ มาชวยทําหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับเกณฑสากลดังกลาว และเพื่อเสนอให สมพ. และแพทยสภารับรองตอไป ขาพเจาจึงไดลาออกจากคณบดีและไมไดเปนกรรมการแพทยสภาโดยตําแหนงคณบดีอีกตอไป จึงไดตัดสินใจลง สมัครรับเลือกตั้งเขาไปเปนกรรมการแพทยสภาและไดรับความไววางใจมากพอสมควร (ไดคะแนน ๖,๑๓๒ คะแนน มากเปนอันดับ ๔ จาก ๓๐ ทานที่ไดรับเลือก) ในการเลือกตั้งใหเปนกรรมการแพทยสภา ขาพเจาจึง ไดรับความไววางใจใหเขามาทํางานในดานวิชาการ ฝายฝกอบรมและสอบของแพทยสภา รวมทั้งการเขามาเปน ผูแทนแพทยสภาในคณะกรรมการสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร(สมพ.) ดวย เพื่อที่ขาพเจาจะ ไดติดตามการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยสยามไดดวย เมื่อคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยื่นหลักสูตรใหมผานแพทยสภาไปถึง สมพ. และกรรมการจาก สมพ. มาตรวจถึงในสถานที่ อยางเขมขนตามคําบอกเลาของคณาจารยเพื่อนําขอมูลกลับมาพิจารณาในการประชุม สมพ. แมวาบรรยากาศ การตรวจรับรองของกรรมการจาก สมพ. จะเขมขนอยางมาก แตในการประชุมของ สมพ. ถึงผลสรุปของความ ๗


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เห็นชอบซึ่งมีขาพเจาอยูในที่ประชุม สมพ. ดวย ที่ประชุมไดเห็นชอบใหรับรองทั้งหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย ของมหาวิทยาลัยสยาม ตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) เปนเอกฉันท การรับรองหลักสูตรใหม จึงเกิดขึ้นในวาระที่ขาพเจาเขาไปเปนกรรมการให สมพ. ในฐานะผูแทนจากแพทยสภา และขาพเจาก็เปนผูเสนอ เรื่องการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตแพทย มหาวิทยาลัยสยาม ตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) ในที่ประชุมของแพทยสภาในวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๕ และแลว แพทยสภาก็อนุมัติเห็นชอบใหการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัย สยามในที่สุดอีกดวย นับวา การฝาฟนแกไขเรื่องวิกฤติเรื่องที่ ๓ ของขาพเจาก็สําเร็จลงดวยดีแมจะไมไดเปน คณบดีแลวก็ตาม หากหลักสูตรใหมยังไมไดรับการรับรองอีกซึ่งไมนาจะเกิดขึ้นเมื่อขาพเจาเขาไปเปนกรรมการ สมพ. ดวย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็จะตองยุติการดําเนินการผลิตบัณฑิตแพทยอยางแนนอน จะเห็นไดวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดฝาฟนผานอุปสรรคขวากหนามสําคัญมา ๓ เรื่องจนสามารถตั้งตัวไดและมีอายุครบ ๑๒ ปแลว แตยังถือวาอยูในวัยที่จะเจริญเติบโตตอไปไดอีกมาก คณะ แพทยศาสตรจะเติบโตแข็งแกรงไดอยางยั่งยืน ตองมีอายุเกิน ๓๐ ปขึ้นไป ขาพเจาเคยริเริ่มทําอีกหนึ่งโครงการ ผลิตแพทยที่จะชวยแกไขปญหาขาดแคลนแพทยในชนบทแถวอีสาน ซึ่งเปนปรัชญาของการตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม วาจะชวยผลิตแพทยที่ยังขาดแคลนในชนบท (แถวอีสานขาดมากที่สุด) แตโครงการนี้ก็ถูก แชแข็งอยูที่สํานักปลัดกระทรวง ทั้ง ๆ ที่โรงพยาบาลศูนยขนาด ๗๐๐ เตียงแหงหนึ่งในอีสานเห็นชอบกับ โครงการนี้ในการที่จะเปนสถาบันหลักในการผลิตบัณฑิตแพทยแลว อยางไรก็ตาม ขาพเจาขอขอบคุณคณาจารยและเจาหนาที่ผูรวมงานหลายทานที่ชวยทํางานรวมทุกข รวมสุขใหคณะแพทยศาสตรเปนอยางดีในระยะเวลาที่ขาพเจาดํารงตําแหนงคณบดี รวมทั้งบุคคลสําคัญมากอีก ๑ ทานที่อยูเบื้องหลังและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล คือ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ที่ใหการ สนับสนุนการทํางานของทีมเราอยางเขมแข็งทุกครั้งที่ขาพเจาเขาไปพบและรายงานการดําเนินงานพรอมกับ เห็นชอบวิธีการแกไขปญหาอุปสรรคตาง ๆ ที่ขาพเจาเสนอใหตลอดมา ๘


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในโอกาสครบรอบ ๑๒ ปของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อฟนฝาอุปสรรคสําคัญตาง ๆ มาไดขาพเจาจึงขอแสดงความยินดีและหวังเปนอยางยิ่งวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จะ เจริญเติบโตอยางยั่งยืนมั่นคง กาวหนาตอเนื่อง ปราศจากอุปสรรคขวากหนามใด ๆ อีก สุดทายนี้ ขาพเจาขออวยพร แสดงความยินดี และหวังเปนอยางยิ่งวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สยามจะเจริญเติบโตกาวหนาในการผลิต “แพทยที่ดีและเกง” ใหประเทศไทยอยางยั่งยืนตลอดไป ๙


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากคณบดีคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สถาปนาขึ้นเมื่อ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๓ นับเปนคณะ ลําดับที่ ๑๓ ของมหาวิทยาลัยสยาม เปนสถาบันทางการแพทยที่จัดตั้งขึ้นเปนลําดับที่ ๒๑ ของประเทศ และเปน สถาบันผลิตแพทยสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ โดยมีความรวมมือในการผลิตแพทยรวมกับโรงพยาบาล พระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตนักศึกษาแพทยรุนที่ ๑ จนถึงปจจุบัน ในโอกาส ครบรอบ ๑๒ ป ผมขอแสดงความยินดีในความกาวหนาของคณะแพทยศาสตรแหงนี้ ที่ไดดําเนินภารกิจหลัก ดานการผลิตบัณฑิตแพทยที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม โดยมีการจัดการศึกษา การเรียนรู การสงเสริม วิชาการทางวิชาชีพแพทยและวิทยาศาสตรการแพทย รวมทั้งผลิตผลงานวิจัยทางการแพทยทั้งระดับชาติและ นานาชาติ เพื่อทําประโยชนแกสังคมมาอยางตอเนื่อง คณะแพทยศาสตร เปนคณะที่ไดรับการคาดหวังจากมหาวิทยาลัยและสังคมในการผลิตแพทยที่มี คุณภาพ มีความรูความสามารถทางวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมทางการแพทย เปนประโยชนแกสังคมโดยรวม เพื่อรวมแกไขปญหาขาดแคลนแพทยของประเทศ ผมขอขอบคุณคณะผูกอตั้งในความมีวิสัยทัศน มุงมั่นตั้งใจและ กลาตัดสินใจกอตั้งคณะแพทยศาสตร สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนเพิ่มขึ้นในประเทศไทย ดวยการบริหารจัดการที่ ตองฟนฝาปญหา อุปสรรคนานัปการจนผานมาไดถึงทุกวันนี้ที่หลักสูตรแพทยศาสตรและคณะ ไดรับการรับรอง ตามเกณฑมาตรฐานสากล TMC.WFME.BME Standard (2021) นับเปนจุดตั้งหลักที่สําคัญของคณะ แพทยศาสตร ที่ยังตองพัฒนาศักยภาพในทุก ๆ ดาน เพื่อวางรากฐานใหบุคลากร นักศึกษาและบัณฑิตแพทยให มีความรูความเชี่ยวชาญ มีความเปนผูนํา ใฝเรียนรูตลอดจนความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความเปนสากล เพื่อ พรอมที่จะรวมกันผลักดันคณะแพทยศาสตร ใหกาวเดินไปขางหนาไดอยางมั่นคงและยั่งยืน สามารถจัดการกับ ความทาทายในภาวะเปลี่ยนผานของสังคมโลกที่มีความผันผวน ไมแนนอน ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และการสาธารณสุข รวมทั้งสุขภาวะของประชาชนทั่วโลก ผมขอใหคณะแพทยศาสตรไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยยึดถือพระราชปณิธาน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก องคพระบิดาแหงวงการแพทยและดานสาธารณสุขที่ทรงขอใหทุกคนถือ ประโยชนสวนรวมเปนกิจที่หนึ่งในการดําเนินงานใด ๆ เพื่อประโยชนรวมกันของสังคมและมนุษยชาติ ๑๐


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา นายแพทยศักดา อัลภาชน ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) ขอแสดงความยินดีในการดําเนินงานครบรอบ ๑๒ ปของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามที่ไดเปด การเรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ผมไดเห็นความตั้งใจของอาจารยแพทยที่จะผลิตแพทยที่ มีคุณภาพเขาสูระบบ เนนนักศึกษาที่มีความมุงมั่นในการเรียน การพัฒนาตนเองที่จะเปนแพทยที่ดีใน อนาคต ขออวยพรใหผูที่ทําหนาที่ผลิตแพทย จงมีพลังในการพัฒนาการสอนตอไปและขอใหทุกทานมี สุขภาพแข็งแรงและมีความสุขในทุก ๆ ดาน ๑๑


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร นายแพทยสุรชัย แกวหิรัญ ผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร เนื่องในวาระครบรอบ ๑๒ ป ของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดเปดทําการเรียนการสอน หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ผมในนามผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร ขอแสดงความยินดีที่คณะ แพทยศาสตร ประสบความสําเร็จและเติบโตกาวหนามาจนถึงปจจุบัน ซึ่งตลอดระยะเวลาที่โรงพยาบาล กําแพงเพชรไดเปนสถาบันรวมผลิตแพทยในการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๖ ไดมองเห็นถึงความ มุงมั่นของมหาวิทยาลัยสยาม ในการดําเนินการผลิตแพทย ถือวาเปนสถาบันที่มีบทบาทสําคัญที่สามารถผลิต แพทยที่มีความรูความสามารถทางการแพทยมีจุดยืนที่ชัดเจนในการพัฒนาทางการศึกษาดานการแพทยให สอดคลองกับความตองการของการพัฒนาประเทศ และสังคมในปจจุบัน ตลอดจนมีสวนชวยเสริมสราง ความสามารถในการแขงขันดานการแพทยของประเทศไทยใหเทียบเทาในระดับสากลซึ่งจะสามารถทําประโยชน ใหกับสังคมและประเทศชาติในอนาคตไดอีกนานัปการ ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงดลบันดาลใหผูกอตั้ง คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณาจารยผูทรงคุณวุฒิ และบุคลากร เจาหนาที่ทุกทาน สามารถนําพา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศนที่ไดวางไวในทุกประการ และขอใหมีความ เจริญกาวหนาตลอดไป ๑๒


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา แพทยหญิงสิริรัตน ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา ในโอกาสครบรอบ ๑๒ ปแหงการสถาปนาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ขาพเจา ในฐานะผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกโรงพยาบาลพระนั่งเกลา ขอแสดงความยินดีและ ขออํานวยพรใหคณะผูบริหาร คณาจารยและบุคลากรคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีสุขภาพ กายใจที่แข็งแรงสมบูรณเพื่อเปนพลังในการขับเคลื่อนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ใหมีความ เจริญกาวหนาทางดานวิชาการและการสืบสานภารกิจตาง ๆ ของคณะฯ เพื่อประโยชนตอสังคมและ ประเทศชาติสืบไป ๑๓


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สารจากผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร ดิฉัน แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาล กําแพงเพชร ขอแสดงความยินดีและขอสงความปรารถนาดีมายัง คณะผูบริหารและบุคลากรที่เกี่ยวของ ทุกทานดวยความจริงใจอยางยิ่ง ในโอกาสที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่เปดการเรียนการ สอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและไดบริหารจัดการคุณภาพทางการศึกษาที่มีมาตรฐานเปนที่ประจักษ สูสังคมมาครบ ๑๒ ป ขอเปนกําลังใจแกคณะผูบริหาร คณาจารย และผูเกี่ยวของทุกทานในการปฏิบัติ หนาที่เพื่อบริหารจัดการและพัฒนาการเรียนการสอน ภายใตกระแสความเปลี่ยนแปลงทั้งทางดานกระแส สังคม และสถานการณโรคระบาด เพื่อนําทางไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคกร สุดทายนี้ ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทานเคารพนับถือ โปรดดลบันดาลประทานพรใหทุกทาน มีพละกําลังที่เขมแข็ง มีกําลังกาย กําลังใจที่ดี ประสบความสุข ความเจริญกาวหนา ประสบความสําเร็จในชีวิต นําพาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ใหดําเนิน กิจการไปดวยความเสถียรมั่นคง รุงเรืองสืบไป ๑๔


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี รองคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ผูชวยคณบดีฝายนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๑. จุดกําเนิดคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามเกิดจากกลุมแพทยที่มีประสบการณสูงทั้งดานการเรียนการสอน ในโรงเรียนแพทยชั้นนําของประเทศและประสบความสําเร็จอยางสูงในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทานเหลานี้ มีประสบการณตรงเกี่ยวกับปญหาการขาดแคลนแพทยที่มีคุณภาพทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งเมื่อประเทศไทยเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเต็มรูปแบบในป พ.ศ. ๒๕๕๘ การเคลื่อนยายผู ประกอบวิชาชีพตาง ๆ โดยเฉพาะผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะสามารถเคลื่อนยายไดอยางไรพรมแดน รวมถึง จะมีการเคลื่อนยายผูปวยเขามารับบริการทางการแพทยในประเทศมากขึ้น รัฐจึงตองเตรียมความพรอม โดยเฉพาะจํานวนบุคลากรทางการแพทยที่มีความสามารถและเพียงพอที่จะกระจายไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของ ประเทศเพื่อรองรับและตอบสนองการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในเร็ววัน มหาวิทยาลัยสยาม ในฐานะ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงตระหนักถึงการมีสวนรวมในการแกปญหาและพัฒนาประเทศในดานการ ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสูสังคมมายาวนาน โดยในระยะเริ่มแรกประมาณเดือนตุลาคม ๒๕๕๒ นายแพทยบุญ วนาสิน ประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) มอบให รองศาสตราจารย ดร.เสาวณียรัตนพานี อดีต รองอธิการบดีฝายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม รองผูอํานวยการฝาย การแพทยโรงพยาบาลธนบุรี ประสานและดําเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใหสําเร็จ ภายใน ๓ ป เมื่อรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และ อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดรับมอบนโยบาย จากนายแพทยบุญ วนาสิน มาแลว จึงไดเริ่มดําเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร และสรางหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิตใหเปนไปตามเกณฑการขอเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามประกาศ แพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ เรื่อง เกณฑวาดวยการขอเปดดําเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดย ไดรับความกรุณาจากศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย มาเปนที่ปรึกษา โดยนายแพทยบุญ วนาสิน ไดกําชับใหดําเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตรใหเปนโรงเรียนแพทยชั้นนําในระดับสากล เพื่อผลิต บัณฑิตแพทยที่มีความรูความสามารถและมีความรับผิดชอบสูง ทั้งนี้การดําเนินการตาง ๆ ในระยะเริ่มตน จะตองประสานงานกับฝายตาง ๆ ใหเปนไปตามเกณฑที่แพทยสภากําหนด ไดรับความอนุเคราะหจาก รองศาสตราจารยนายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชย รองประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) ใหการ ๑๕


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สนับสนุนการประสานงานกับฝายตาง ๆ นอกจากนี้นายแพทยบุญ วนาสิน ยังไดสนับสนุนการกอตั้งคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามทั้งดานทรัพยากรบุคคล อาคารสถานที่และทรัพยากรสนับสนุนทางดาน การศึกษา โดยในระยะเริ่มแรก (ตั้งแตเดือนตุลาคม ๒๕๕๒) อนุญาตใหใชอาคารชิโนรสเปนสํานักงานชั่วคราว ของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งขณะนั้น บริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) ไดใชเปนอาคาร อบรม รวมทั้งนายแพทยบุญ วนาสิน ไดเริ่มกอตั้งมูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใหอีกดวย ๒. การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และ อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดรับมอบจาก นายแพทย บุญ วนาสิน ใหไปดําเนินการจัดตั้งโรงเรียนแพทย ใหแลวเสร็จภายใน ๓ ป จึงไดศึกษาเกณฑการขอเปด ดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามประกาศแพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ เรื่อง เกณฑวาดวยการขอเปด ดําเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ที่ไดกําหนดเกณฑไว ๑๕ ขอ (ขณะนั้นยังคงเปนฉบับราง) จะ ขอเลาเฉพาะประเด็นที่สําคัญ พอสังเขปดังนี้ เกณฑขอที่ ๑. คุณสมบัติของมหาวิทยาลัยที่จะเปดดําเนินการหลักสูตร ๑.๑ เปนมหาวิทยาลัยที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง มีการจัดการศึกษาระดับ ปริญญาที่มีหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๑.๒ มีปณิธานและพันธกิจระบุไวชัดเจนวามุงผลิตแพทยที่มีความรูความสามารถตามเกณฑ มาตรฐานผูประกอบวิชาชึพเวชกรรม แพทยสภา และคุณสมบัติสอดคลองกับความตองการ และระบบสุขภาพ ของประเทศฯ ๑.๓ มีระบบบริหารงานที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาใหบรรลุตามปณิธานฯ มหาวิทยาลัยสยาม มีคุณสมบัติครบตามเกณฑที่แพทยสภากําหนด ดังนั้นอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และรองศาสตราจารยดร.เสาวณีย รัตนพานี ในนาม นายแพทยบุญ วนาสิน ขอเขาพบอธิการบดี(ดร.พรชัย มงคลวนิช) เพื่อหารือการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร อธิการบดีเห็นชอบในหลักการ หลังจากที่ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีเห็นชอบในหลักการใหเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตร บัณฑิตได รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม จึงไดจัดทํากรอบแนวคิด (concept Paper) เพื่อขออนุมัติเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตอสภามหาวิทยาลัยสยามใน คราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อวันพุธที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ และที่ประชุมใหความเห็นชอบใหดําเนินการ เปดหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต “จึงถือวาวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ของทุกปเปนวันคลายวันสถาปนาคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม” พรอมทั้งไดแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาการเปดดําเนินการหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิตในการประชุมคราวเดียวกัน ซึ่งประกอบดวย ๑) ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษา ๒) รองศาสตราจารยแพทยหญิงยุพิน ไทยพิสุทธิกุล ที่ปรึกษา ๓) ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยเกษม เสรีพรเจริญกุล ที่ปรึกษา ๔) ศาสตราจารยนายแพทยวิเชียร ทองแตง ประธานกรรมการ ๑๖


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๕) รองศาสตราจารยนายแพทยไพโรจน อาจแยมสรวล รองประธานกรรมการ ๖) ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยมนูญ ไพบูลย กรรมการ ๗) ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยวิโรจน ไวยวุฒิ กรรมการ ๘) รองศาสตราจารยนายแพทยวิบูล สุนทรพจน กรรมการ ๙) รองศาสตราจารยนายแพทยชัยยศ ธีรผกาวงษ กรรมการ ๑๐) ผูชวยศาสตราจารยดร.นิ่มนวล ศรีจาด กรรมการ ๑๑) รองศาสตราจารยแพทยหญิงยุวดี เลี่ยวไพรัตน กรรมการและเลขานุการ ๑๒) รองศาสตราจารยดร.เสาวณีย รัตนพานี กรรมการและผูชวยเลขานุการ ๑๓) คุณสุดจิตร เมืองเกษม กรรมการและผูชวยเลขานุการ ใหคณะกรรมการพิจารณาการเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต มีอํานาจหนาที่ พิจารณาหลักสูตร โดยตองรักษามาตรฐานทางวิชาการและสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา แลวใหคณะวิชาดําเนินการเสนอหลักสูตรที่จะเปดดําเนินการ เพื่อขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ตามความใน มาตรา ๓๔(๖) แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ สั่ง ณ วันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ โดย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย นายกสภา มหาวิทยาลัยสยาม คณะกรรมการพิจารณาการเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ไดประชุมนัดแรกครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ๒๕๕๓ และเรงดําเนินการจัดทําหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตทันที โดย มอบใหรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ไปทําการรางหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตหลักสูตรใหม ขณะเดียวกัน รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ก็ตองรวมกันดําเนินการ ประสานสวนตาง ๆ เพื่อใหไดขอกําหนดครบตามเกณฑแพทยสภาคูขนานไปกับการจัดทําหลักสูตร ขอกําหนด ตามเกณฑที่สําคัญไดแก ก. หากเปนมหาวิทยาลัยเอกชนจะตองไมแสวงหากําไร จะตองตั้งมูลนิธิหรือกองทุน เพื่อใหมีทุน สํารองเพียงพอในการดําเนินการในระยะยาว และตองมีผูแทนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ แพทยสภาเปนกรรมการมูลนิธิหรือกองทุนโดยตําแหนง นายแพทยบุญ วนาสิน ประธานบริษัทโรงพยาบาล ธนบุรีจํากัด (มหาชน) จึงริเริ่มกอตั้งมูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ตามใบสําคัญแสดงการจด ทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ ทะเบียนเลขที่ กท ๒๒๔๖ ใหไว ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ และมีประธานมูลนิธิฯ ทาน แรกคือ ศาสตราจารยนายแพทยอํานวย อุนนะนันทประธานมูลนิธิฯ ทานปจจุบัน คือ พล.อ.อ. ชลิต พุกผาสุก องคมนตรี ๑๗


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ข. สถาบันพี่เลี้ยง ในระยะเริ่มแรก (ประมาณ ๗ ป) มหาวิทยาลัยที่ขอเปดดําเนินการหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต ควรทําขอตกลงเปนลายลักษณอักษรกับมหาวิทยาลัยที่มีประสบการณในการดําเนินการ เปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตมาแลวไมนอยกวา ๒๐ ป ใหชวยทําหนาที่เปนที่ปรึกษา/ชวยเหลือ หรือเปนสถาบันพี่เลี้ยง โดยสถาบันพี่เลี้ยงควรพิจารณาใหอยูใกลเคียงกัน เพื่อสะดวกในการบริหารจัดการ จากการนําของรองศาสตราจารย นายแพทยชูเกียรติ อัศวณิชย รักษาการคณบดีคณะแพทยศาสตร และรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ไดรับความอนุเคราะหจาก พลโทนายแพทยสหชาติ พิพิธกุล เจากรมแพทยทหารบกที่เห็นความสําคัญในการผลิตแพทยจึงสนับสนุนให วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา เปนสถาบันพี่เลี้ยง ใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม โดยพลโทนายแพทยสหชาติ พิพิธกุล เจากรม แพทยทหารบก ไดทําบันทึกเสนอ ผูบัญชาการกองทัพบก (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) เรื่องขออนุมัติให วิทยาลัยแพทยศาสตร พระมงกุฎเกลา เปนสถาบันพี่เลี้ยงใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และไดรับอนุมัติจากกองทัพบก เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๔ ค. สถาบันรวมผลิตแพทย : โรงพยาบาลตํารวจกับมหาวิทยาลัยสยาม อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดประสานเพื่อจัดหาโรงพยาบาลที่มีศักยภาพทั้งในสวนที่ สังกัด กระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ เพื่อรวมเปนสถาบันรวมผลิตแพทยตามหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต และพบวา โรงพยาบาลตํารวจมีความพรอมและมีคุณสมบัติเปนไปตามเกณฑที่แพทยสภากําหนด อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี จึงประสานขอเขาพบ พลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ แพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาลตํารวจ เพื่อขอความอนุเคราะหใหโรงพยาบาลตํารวจเปนสถาบันหลักในการ ผลิตแพทยรวมกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จนบรรลุขอตกลงรวมกันในความรวมมือดังกลาว และ นําไปสูการลงนามในบันทึกขอตกลงเรื่องความรวมมือในการผลิตแพทยระหวางโรงพยาบาลตํารวจ และ มหาวิทยาลัยสยาม โดยพลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ แพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาลตํารวจ กับดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๓ ง. การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะทํางานรางหลักสูตรดําเนินการจัดทํารางหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ไดมอบให รองศาสตราจารยดร.เสาวณีย รัตนพานีกรรมการและผูชวยเลขานุการ ไปทําการรางหลักสูตรในแบบดั้งเดิม กลาวคือ เปนหลักสูตรแบบ subject based curriculum เสนอที่ประชุมคณะทํางานรางหลักสูตรเพื่อพิจารณา ที่ประชุมเห็นควรใหผูเชี่ยวชาญดานแพทยศาสตรศึกษาพิจารณาความเหมาะสมของหลักสูตรเสียกอน ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย เสนอใหขอความอนุเคราะหจาก ผูชวยศาสตราจารย ดร.นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน จากคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เปน ผูทรงคุณวุฒิใหความเห็นตอหลักสูตรที่รางขึ้น ผูชวยศาสตราจารยดร.นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน มี ความเห็นวา ควรปรับหลักสูตรใหเปนแบบ system- based curriculum จะเหมาะสมกวา แตที่ประชุมเห็นวา เมื่อไดจัดทําหลักสูตรจนแลวเสร็จ จึงควรนําเสนอสภามหาวิทยาลัย เพื่อสงใหแพทยสภารับรองหลักสูตรไดเมื่อ เสนอหลักสูตร ๑๘


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไปที่แพทยสภาแลว แพทยสภาสงหลักสูตรกลับโดยไมมีการพิจารณา ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปด ดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต จึงมอบใหรองศาสตราจารยดร.เสาวณีย รัตนพานีกรรมการและ ผูชวยเลขานุการ ไปดําเนินการจัดทํารางหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามความเห็นของผูชวยศาสตราจารย ดร. นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน ผูทรงคุณวุฒิภายใตคําแนะนําของศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย จากนั้น ไดนําเสนอหลักสูตรแบบ system-based curriculum ตอที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณา การเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ที่ประชุมเสนอใหมีการวิพากษหลักสูตรโดยผูเชี่ยวชาญดาน แพทยศาสตรศึกษาจํานวน ๓ ทาน ไดแก ๑) ศาสตราจารยเกียรติคุณ พลโท แพทยหญิงวณิช วรรณพฤกษ ๒) รองศาสตราจารยนายแพทยกิจประมุข ตันตยาภรณ ๓) ผูชวยศาสตราจารยดร. นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน ผลคือผูเชี่ยวชาญทั้ง ๓ ทาน ใหความเห็นชอบ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ จึงนําเสนอสภามหาวิทยาลัยสยาม และสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ จ. การอนุมัติหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ - แพทยสภามีหนังสือที่ พส ๐๑๗/๗๗๗ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ แจงผลการพิจารณา รับรองหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหเปดรับนักศึกษาจํานวน ๔๘ คน นับเปน มหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ ของประเทศไทยที่ไดรับการรับรองหลักสูตรจากแพทยสภา - คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยสยาม อนุมัติหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕) เมื่อวันที่ ๑๔ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ - สํานักงานกรรมการการอุดมศึกษารับทราบหลักสูตร เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉ. เปดรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา ๒๕๕๖ โดยวิธีรับตรง เนื่องจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) รับทราบหลักสูตรเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จึงทําใหคณะแพทยศาสตรเขารวมรับนักศึกษาแพทยผานระบบของ กสพท. ไมทัน คณะ แพทยศาสตรจึงประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปที่สนใจสมัครเขาศึกษา ในคณะแพทยศาสตรรุนแรกโดยวิธีรับตรง ทั้งหมด ๔๘ คน และเปดภาคการศึกษาที่ ๑ ในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งเปนการเปด-ปด ภาคการศึกษาตามกลุมประเทศอาเซียน และจัดการเรียนการสอนชั้นปที่ ๑ ที่มหาวิทยาลัยสยาม โดยมี รองศาสตราจารย นายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชยเปนรักษาการคณบดี รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ทําหนาที่ในการบริหารงานทั้ง ดานวิชาการและการบริหารงานทั่วไป ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี เปนที่ปรึกษา ตอมา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี ดํารงตําแหนงคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ โดยมีศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทยดํารงตําแหนงรองคณบดีฝายคลินิก รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ดํารงตําแหนงรองคณบดีฝายปรีคลินิก และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ดํารงตําแหนงผูชวยคณบดีฝายบริหาร ๑๙


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๓. สํานักงานคณะแพทยศาสตร ชวง พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖ คณะแพทยศาสตรมีอาจารย และเจาหนาที่ ในระยะเริ่มตน ประกอบดวย รองศาสตราจารย ดร.วิจิตร รัตนพานี รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี อาจารยอัฉริยา สุวานิช สาขาสรีรวิทยา อาจารยอมรรัตน ศิรเตชวิวัฒน และ อาจารยวนิดา ณรงคศักดิ์ สาขากายวิภาคศาสตร และเจาหนาที่คือ นางสาววริศรา ดํารงผล ปฏิบัติงานที่สํานักงานชั่วคราว อาคารชิโนรส อาคารอบรมเลขที่ ๓ ถนนอิสรภาพ แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. ๒๕๕๖ พลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษแพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาล ตํารวจเล็งเห็นถึงความสําคัญของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ จึงไดใหความอนุเคราะหที่จอดรถของอาคาร บําบัดนํ้าเสีย ชั้น ๑๐ ใหคณะแพทยศาสตร ไปดําเนินการปรับปรุง/จัดสรางและตบแตงภายในใหเปนสํานักงาน ชั่วคราวของคณะแพทยศาสตร ประกอบดวยหองพักอาจารย หองประชุม หองสอนบรรยายและสอนปฏิบัติการ หองสันทนาการของนักศึกษาชาย-หญิง รวมทั้งหอพักนักศึกษาแพทยดวย นอกจากนี้ยังไดดําเนินการปรับปรุง อาคารอเนกประสงค ใหแลวเสร็จเพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนชั้นปรีคลินิกในตนปการศึกษา ๒๕๕๗ ซึ่ง ประกอบดวยหองปฏิบัติการ Gross Anatomy จํานวน ๑ หองที่สามารถบรรจุรางอาจารยใหญเพื่อการเรียนการ สอน ได ๘ ราง หองปฏิบัติการเกี่ยวกับการใชกลอง และหองปฏิบัติการชีวเคมี พรอมอุปกรณ ครุภัณฑ ประกอบการจัดการเรียนการสอน ครบถวน ป พ.ศ. ๒๕๕๗ มีการเปลี่ยนแปลงผูบริหารโรงพยาบาลตํารวจ คณะแพทยศาสตรไดรับแจง จากโรงพยาบาลตํารวจวาไมสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอนชั้นปรีคลินิกที่โรงพยาบาลตํารวจ เนื่องจากไม สอดคลองกับพันธกิจของโรงพยาบาลตํารวจ และไดมีจดหมายลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๗ ใหขนยายวัสดุ อุปกรณ ออกจากอาคารบําบัดนํ้าเสีย ชั้น ๑๐ ตอมา ไดมีจดหมายลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๗ ไมอนุญาตใหใช อาคารเอนกประสงคซึ่งเปนที่จัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติของชั้นปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร จึงไดยาย คณาจารย เจาหนาที่ วัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือทางวิทยาศาสตรมาปฏิบัติงานที่ชั้น ๑๔ อาคารเฉลิม พระเกียรติ ๑๙ มหาวิทยาลัยสยาม และไดสรางหองปฏิบัติการ Gross Anatomy ที่อาคารชิโนรส จนถึงปจจุบัน ๔. กระทรวงสาธารณสุข กับมหาวิทยาลัยสยาม แพทยใหญโรงพยาบาลตํารวจ เสนอเรื่องเขาที่ประชุมแพทยสภาวา ไมสามารถรับนักศึกษา แพทยรุนแรกของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งจะขึ้นเรียนชั้นปที่ ๔ ที่โรงพยาบาลตํารวจในเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ ได คณะแพทยศาสตรโดยการนําของคณบดี(ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี) พยายามชี้แจงกับผูบริหารสูงสุดของกรมตํารวจ และทําเรื่องผานรัฐบาลเพื่อขอใหทบทวน แตไมประสบ ความสําเร็จ แพทยสภาไดพยายามใหความชวยเหลือเพื่อใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามสามารถ จัดการเรียนการสอนตอไปได ตามหนังสือ ที่ พส ๐๑๒/๘๕๒ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ เรื่องรายงานความ คืบหนาการแกปญหาของคณะแพทยศาสตร กับโรงพยาบาลตํารวจ ขณะเดียวกันทีมบริหารไดพยายามติดตอ โรงพยาบาลตาง ๆ ที่มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔-๖ จํานวน ๔๘ คน ได ตามเกณฑแพทยสภา ในที่สุดไดรับความรวมมือ จากนายแพทยวิรุฬ พรพัฒนกุล ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา ๒๐


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งไดดําเนินการประสานสวนงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลา เปนแหลงฝกปฏิบัติของ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔-๖ ไดดวยความเรียบรอยและรวดเร็ว นําไปสูการทําบันทึกขอตกลงเรื่องความรวมมือใน การเปนหนวยงานฝกปฏิบัติงานระหวางมหาวิทยาลัยสยามกับกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙ โดย ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม กับ นายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวง สาธารณสุขในขณะนั้น จึงทําใหนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔ ปการศึกษา ๒๕๕๙ ซึ่งเปนนักศึกษาแพทยรุนแรกของ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดไปศึกษาและฝกปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลาครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ เปนตนมา ทั้งนี้คณะแพทยศาสตร ไดดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับบริบท ของโรงพยาบาลพระนั่งเกลา คือหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่เนนตอบสนอง ชุมชนเมืองตามบริบทของโรงพยาบาลพระนั่งเกลา และใหเริ่มใชกับนักศึกษาที่รับเขาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๐ เปนตนไป ตอมาไดมีการปรับปรุงบันทึกขอตกลง เรื่องความรวมมือในการเปนหนวยงานฝกปฏิบัติงาน ระหวางมหาวิทยาลัยสยาม กับกระทรวงสาธารณสุข ลงนามโดยพล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข นายกสภามหาวิทยาลัย สยาม กับนายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ ทําเนียบ องคมนตรี ในปพ.ศ. ๒๕๖๔ ภายใตการนําของศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดี ไดประสานกับโรงพยาบาลพระนั่งเกลา และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อทบทวนขอตกลงความรวมมือใหมี ความเปนปจจุบันมากขี้น จึงนําไปสูการลงนามในบันทึกขอตกลง เรื่อง ความรวมมือทางวิชาการเพื่อการ สนับสนุนการเปนโรงพยาบาลหลักในการผลิตแพทยของมหาวิทยาลัยสยาม ระหวาง กระทรวงสาธารณสุข กับ มหาวิทยาลัยสยาม โดย นายแพทยเกียรติภูมิวงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่งโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาลหลักใน การผลิตแพทยของมหาวิทยาลัยสยามสืบตอไป รวมทั้งไดมีการปรับปรุงหลักสูตรใหมอีกครั้งเพื่อใหเปนไปตาม มคอ. ๑ ของวิชาชีพแพทย และสอดคลองกับเกณฑ TMC.WFME.BME. Standards (2021) คือหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่มุงเนนการผลิตบัณฑิตที่มีลักษณะบัณฑิตพึงประสงคคือ PLAI : P = Professional, L = Leadership, A = Active Learning, Life-Long Learning, I = Internationalization ใหเริ่มใชกับนักศึกษาแพทยที่รับเขาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป ๕. กาวตอไปของคณะแพทยศาสตร ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษคณบดี มีความมุงมั่นที่จะพัฒนาคณะ แพทยศาสตรใหมีวัฒนธรรมองคกรเปนไปตามเกณฑคุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ (Education Criteria for Performance Excellence, EdPEx) 2021 คณะฯ ไดรับการตรวจประเมินตามเกณฑ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ เมื่อวันจันทรที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ และไดรับรายงานการตรวจ ประเมิน (Feedback Report) เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซึ่งทางคณะผูตรวจประเมินไมไดแจงคะแนน แตผลประเมินรวมอยูที่ประมาณ ๑๕๐ – ๒๐๐ นอกจากนี้ คณะแพทยศาสตรไดยื่นขอรับการตรวจประเมิน ระดับหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานสากลสําหรับแพทยศาสตรศึกษา, TMC.WFME.BME. Standards (2021) ๒๑


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และไดรับการตรวจประเมินทั้งที่คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลพระนั่งเกลา และโรงพยาบาลกําแพงเพชร ใน ระหวางวันที่ ๑๗-๒๐ มกราคม ๒๕๖๕ จากนั้น แพทยสภา มีหนังสือที่ พส ๐๑๒/๒๒๔๗ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เรื่อง แจงผลการตรวจประเมินหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปกติ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดังนี้ ๑. เห็นชอบรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปกติ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม (รับรองมาตรฐานถึงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๗๑) ๒. เห็นชอบรับรองสถาบัน ผานการประเมิน (รับรองมาตรฐานถึงวันที่ ๒๙ กุมพาพันธ ๒๕๗๑) และรับรองศักยภาพในการรับนักศึกษา ณ ปจจุบัน จํานวน ๔๘ คน โดยมีโรงพยาบาลพระนั่งเกลา เปนสถานฝกปฏิบัติทางคลินิกหลัก เราจะพรอมใจกันกาวอยางมั่นคงในนักษัตรที่ ๒ ************************************************************* ๒๒


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หลักสูตรนั้นสําคัญไฉน ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม The physician shall selflessly practice medicine for the sole benefit of the patient and shall avoid causing him harm. He shall do so with respect, integrity and compassion and without any form of prejudice. Dr. Howard Spiteri หลักสูตร “หลัก” เปนคํานาม หมายถึง ความสําคัญ หรือ แกน “สูตร” มาจากภาษาสันสกฤต ออก เสียงวา สู-ตระ (sū́tra) สองพยางค. ตรงกับภาษาบาลีวา สุตตะ (สุตฺต) ความหมายของคํานี้คือ เชือก หรือการ รอยดวยดาย หลักสูตร แปลมาจากคําศัพทภาษาอังกฤษ curriculum มีรากศัพทมาจากภาษาละติน "currere" มีความหมายวา "วิ่ง การวิ่ง" หลักสูตรจึงเปรียบเสมือนลูวิ่งหรือสนามวิ่งแขงที่ผูเรียนจะตองฟนฝาอุปสรรค ความ ยากของวิชาหรือประสบการณการเรียนรูตาง ๆ ที่กําหนดไว อารมสตรองไดใหคํานิยามหลักสูตรไววา "running sequence of course or learning experience". จุดมุงหมายของหลักสูตรแพทยศาสตรคือ ผลิตแพทยที่มี สมรรถนะดานการบริการ ดานการแพทยและสาธารณสุขแกชุมชน สังคมและบริบาลแกผูปวย ครอบครัวตาม มาตรฐานวิชาชีพ ฉะนั้นหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตจึงกอรปดวยประมวลรายวิชาและกิจกรรมการเรียน การ สอนแบบตาง ๆ เพื่อผูเรียนจะไดเรียนรูแลวนําความรูไปปฏิบัติการบริบาลผูปวยและครอบครัว บริการประชาชน ใหมีสุขภาวะที่สมบูรณดวยการยึดประชาชนเปนสําคัญ และดวยหัวใจความเปนมนุษยการบริการประชาชนตอง อยูบนฐานของความรูความเขาใจในวิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสุข การบริบาลผูปวยมิใชเพียงรักษาตาม อาการแตตองรักษาตนเหตุของปญหาซึ่งรวมถึง การฟนฟูสภาพ การปองกันโรคและการสรางเสริมสุขภาพ การ บริการประชาชนหรือการบริบาลผูปวยที่มีประสิทธิภาพตองอยูบนฐานความรวมมือระหวางแพทยกับผูปวย ครอบครัวและประชาชน หมายความวาการบริบาลผูปวย ครอบครัวและประชาชนแบบองครวมที่ประกอบดวย การดูแลรางกาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน ๒๓


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ผมไดรับทุนจากองคการอนามัยโลกไปศึกษาวิชาศึกษาศาสตรระดับปริญญาโทที่ มหาวิทยาลัยอิลลินอยสประเทศสหรัฐอเมริกา วิชาบังคับหนึ่งวิชาคือ วิชาการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) ที่มีเนื้อหาสาระสําคัญสองเรื่อง คือ โครงสรางหลักสูตร และ หนาที่ของของหลักสูตร (Curriculum Structure and Curriculum Function) โครงสรางหลักสูตร มี ๓ แบบ คือ ๑) แบบรายวิชา (Subject-based Curriculum/Discipline-based Curriculum) ๒) แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) หลักสูตรแบบบูรณาการแบงเปนหลายสาขา เชน หลักสูตรระบบอวัยวะเปนฐาน (Organ Systems-based Curriculum), หลักสูตรปญหาเปนฐาน (Problem-based Curriculum), หลักสูตรวงจรชีวิตเปนฐาน (Life Cyclebased Curriculum) และ ๓)แบบสมรรถนะเปนฐาน (Competency-based Curriculum) หนาที่ของหลักสูตรแพทยศาสตรที่สําคัญ คือ พัฒนานักศึกษาแพทยแตละบุคคลใหมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ ๑) มีสมรรถนะวิชาชีพแพทยเพื่อการบริบาลผูปวยและครอบครัว ๒) มีความรูและความสามารถพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูปวย ครอบครัว และชุมชน ๓) มีความรับผิดชอบตอหนาที่และทํางานเปนทีม ๔) รักษาเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ (professionalism) ๕) เสนอความรูดานสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีทางการแพทยแกสังคม ๖) มีสมรรถนะการสื่อสาร การรวมมือการทํางานกับสหวิชาชีพ ๗) เก็บ รักษา ถายทอดมรดกทางวัฒนธรรม และดํารงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข ๑. หลักสูตรแบบรายวิชา ในป ค.ศ ๑๙๑๐ A. Flexner ไดรายงาน Medical Education in the United States and Canada แก Carnegie Foundation for the Advancement of Teaching ขอเสนอแนะที่สําคัญ คือ การเพิ่มวิชา วิทยาศาสตรและวิทยาศาสตรการแพทยไวในหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย John Hopkins เปนคณะแพทยศาสตรแหงแรกที่จัดหลักสูตรแบบนี้ไวในระดับปรีคลินิก ๒ ปแรก สาระสําคัญ ของหลักสูตรแบบรายวิชา คือ การจัดโครงสรางแยกไวในแตละรายวิชาที่มีเนื้อหาไมเกี่ยวของกันอยางเปนระบบ และตอเนื่องอยางเปนขั้นตอนจากงายไปยาก การจัดประสบการณการเรียนรู คือ ผูสอนเปนผูถายทอดความรู แกผูเรียนที่ไดจากตําราหรือความรูที่ถายทอดกันมาและความรูแฝงของผูสอน การเรียนการสอนไมเกี่ยวของกับ วิชาอื่น ผูเรียนจะทองจํา ทําความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชานั้น ๆ และแสดงวาตนมีความรูมากนอยเพียงไรดู ไดจากผลการสอบ การวัดและประเมินผลเนนที่องคความรูของผูเรียนที่จะใชความรูเปนเครื่องมือการประกอบ อาชีพในอนาคต ๒๔


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จุดเดนของหลักสูตรแบบรายวิชา ๑) หลักสูตรแบบรายวิชาสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพไวเปนจํานวนมาก ๒) ผูสอนจัดสาระเนื้อหาไวใหผูเรียนศึกษาอยางเปนระบบและครบถวนตามหลักสูตร ๓) การจัดการเรียนการสอนเริ่มจากองคความรูที่งายไปสูองคความรูที่ซับซอนและการจัดการเรียนการ สอนเปนไปอยางตอเนื่อง ๔) จุดมุงหมายของรายวิชา คือ การประยุกตความรูในวิชาตาง ๆ ไวเปนเครื่องมือการประกอบอาชีพ หลังจากการเรียนจบวิชานั้น จุดดอยของหลักสูตรแบบรายวิชา ๑) หลักสูตรเนนที่เนื้อหาวิชาการมากทําใหละเลยดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ๒) การจัดประสบการณการเรียนรูเนนการถายทอดความรูสูผูเรียนตามที่ปฏิบัติกันมา และยึดการเรียน การสอนแบบครูเปนสําคัญ (teacher center) ๓) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้อหาไมมีความสัมพันธกับวิชาอื่น ทําใหผูเรียนมองไมเห็น ความเชื่อมโยงระหวางเนื้อหาวิชาชัดเจน ๔) ผูเรียนไมทราบเปาหมายในการนําความรูไปประกอบวิชาชีพหรือไปใชทําอะไรชัดเจน ๒. หลักสูตรแบบบูรณาการ ปจจุบันความเขาใจในความหมายของคํา “บูรณาการ” ขึ้นอยูกับผูใชคํานี้วาจะนําไปใชในบริบทใด สืบ เนื่องมาจากหลักสูตรแบบรายวิชาระดับปรีคลินิกมีจุดดอย คือ ผูเรียนไมทราบเปาหมายในการนําความรูไป ประกอบวิชาชีพหรือไปใชทําอะไรและการเรียนการสอนมีความเชื่อมโยงระหวางวิชาไมชัดเจน ทําใหผูเรียนขาด แรงจูงใจในการเรียน เชน นักศึกษาแพทยศึกษาโครงสรางของรางกายที่ภาควิชากายวิภาคศาสตรกับการเรียน การทําหนาที่ของรางกายในภาควิชาสรีรวิทยา และเรียนการเปลี่ยนแปลงทาง เมแทบอลิซึม (metabolism) ของรางกาย ในวิชาชีวเคมี ซึ่งการเรียนรูในสามวิชานี้มีความสัมพันธกันมากในการดํารงชีวิตแตผูเรียนมองไมเห็น ชัดเจนมีผลใหผูเรียนไมมีแรงจูงใจในการเรียนรู ในกลางศตวรรษที่ ๒๐ มีนักการศึกษาและอาจารยแพทยที่ Case Western Reserve University School of Medicine ไดพัฒนาหลักสูตรระดับปรีคลินิกดวยการการบูร ณาการวิชาตาง ๆ ที่ใกลเคียงหรือสัมพันธกันมาจัดการเรียนการสอนใหขนานกัน หรือเรียงลําดับเนื้อหาวิชาให สัมพันธกัน และนํามาสอนพรอมกันดวยการจัดรวมกันเปนโมดูล (module) เรียกวา การบูรณาการในแนวราบ (horizontal integration) และ การนําเนื้อหาในวิทยาศาสตรคลินิกที่สัมพันธกับเนื้อหาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร การแพทย (ปรีคลินิก) และนํามาสอนพรอมกันดวยการจัดเปนโมดูล เรียกวา การบูรณาการในแนวตั้ง (vertical integration) ดังจะยกตัวอยางดังตอไปนี้ตัวอยาง การบูรณาการในแนวราบ คือ การนําเนื้อหาวิชา ทั้ง โครงสราง หนาที่ของวิชากายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา ชีวเคมีตั้งแตระดับโมเลกุล เซลล เนื้อเยื่อ อวัยวะมารวมกัน และจัดการเรียนการสอนรวมกันเปนโมดูล หรือการจัดเนื้อหารายวิชาจุลชีววิทยา ภูมิคุมกันวิทยา เภสัชวิทยา ๒๕


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม พยาธิวิทยามารวมกันไวในอีกหนึ่งโมดูล การจัดกลุมดังกลาวทําใหลดความซํ้าซอนในเนื้อหาสาระในแตละวิชา ผูเรียนเห็นความเชื่อมโยงของความรูจะชวยใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาวิชาตาง ๆ ดีขึ้น และตัวอยาง การบูรณาการในแนวตั้ง คือ การนําเนื้อหาในวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตรการแพทย (ปรีคลินิก) มา บูรณาการกับ วิทยาศาสตรคลินิกอันประกอบดวย การซักประวัติ การตรวจรางกาย การวินิจฉัยโรค การรักษา การสื่อสารมาจัดเปนโมดูลแลวนํามาจัดการเรียนการสอนควบคูกับโมดูลบูรณาการแนวราบ ในระดับคลินิกการ จัดหลักสูตรแบบบูรณาการแนวราบและแนวตั้งก็ทําเชนเดียวกันคือ การจัดโมดูลการเรียนการสอนดวยการรวม เนื้อหาวิชาที่ใกลเคียงกันมาไวดวยกันและมีเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตรการแพทยระดับคลินิกมารวมดวย เชน วิชา ออโธปดิกส จัดเนื้อหาวิชารังสีวิทยา เวชศาสตรฟนฟู วิสัญญีวิทยา เปนบูรณาการแบบแนวนอน แตเมื่อนําเนื้อ วิชากายวิภาคในระบบกลามเนื้อและกระดูก สรีรวิทยา เภสัชวิทยา และวิชาอื่น ๆ ทางปรีคลินิกมาประกอบเปน การเรียนการสอนสอนแบบบูรณาการแนวตั้ง ในทางปฏิบัติทุกรายวิชาในระดับคลินิกจะมีการบูรณาการทั้งสอง แบบในวิชานั้น ๆ และเปลี่ยนชื่อวิชาตามบริบทของแตละวิชา เชน Preoperative and Postoperative Care, Health and Disease of Adults and Elderlies คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามนําแนวคิด หลักสูตรระบบอวัยวะ (Organ System-based Curriculum) เปนหลักสูตร แบบบูรณาการ โครงสรางหลักสูตรประกอบดวยการนําความรู ทักษะ และ เจตคติ ที่มีความสัมพันธตั้งแตเริ่มตนจนสําเร็จการศึกษา อันเปนหลักการของหลักสูตรบูรณการแบบเกลียวสวาน (Integrated Spiral Curriculum) หลักสูตรแบบนี้เปนการนําองคความรู ทักษะและเจตคติมาประกอบรวมกัน ใหมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน มีผลลัพธการเรียนรูที่สอดคลองกันตลอดหลักสูตร และ จัดประสบการณการ เรียนรูใหหลากหลายตามความสามารถของผูเรียน การจัดการเรียนการสอนเริ่มตนดวยการทําความตกลง ระหวางผูสอนและผูเรียนดวยการสรางบรรยากาศการเรียนใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนตามจิตวิทยาการเรียนรู เชน ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) อัตถิภาวนิยม (Existentialism) พัฒนาการนิยม (Progressivism) การสราง ความรูนิยม/คอนสตรัคติวิสต (Constructivism) หลักการเรียนการสอนที่สําคัญคือ ผูสอนตองมีความเชื่อวา ไม เทากัน (การสอน ≠ การเรียน, teaching ≠ learning) การเรียนรูขึ้นอยูกับความรูเดิมของผูเรียนที่สัมพันธกับ ความรูใหมที่ไดรับ การจัดการเรียนการสอนตองใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอน ผูสอน เสนอแนะสิ่งที่ถูกและแกไขสิ่งที่ผิด ผูสอนจะตองเปนกัลยาณมิตรกับผูเรียน วิธีการเรียนการสอนจัดไดหลายแบบ เชน การเรียนการสอนแบบกลุมยอย การเรียนรูดวยการนําตนเอง การเรียนแบบโครงการและการทําวิจัย การ จัดประสบการณการเรียนรูดวยวิธีตาง ๆ จะชวยผูเรียนใหมีทักษะการคิดอยางวิจารณญาณ ความคิดริเริ่ม สรางสรรค การสื่อสารและการประเมินตนเอง ยังสงผลใหผูเรียนสรางความรูใหมที่มีความหมายดวยตนเองและ การนําความรูเอาไปปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมการประกอบอาชีพในอนาคตและสรางนิสัยการเรียนรูตลอด ชีวิต ๒๖


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จุดเดนของหลักสูตรแบบบูรณาการ ดานผูเรียน ผูเรียนได ๑) สรางความคิดวิจารณญาณ ความคิดริเริ่ม ความคิดสรางสรรค การตัดสินใจและการแกปญหา ๒) สรางทักษะการเรียนรูดวยการนําตนเองและการเรียนรูตลอดชีวิต ๓) สรางทักษะการเรียนรูรวมกัน (collaborative learning) ๔) เรียนรูวิชาชีพในระยะเริ่มตนแหงการเรียนรูและในสภาพความเปนจริง ๕) บูรณาการความรูแบบแนวราบระหวางวิชาวิทยาศาสตรการแพทย และบูรณาการแบบแนวดิ่ง ระหวางวิชาวิทยาศาสตรการแพทยและวิทยาศาสตรคลินิก ๖) เกิดแรงจูงใจในการเรียนรูเมื่อรูวาความรูที่เรียนนั้นมีประโยชนในปจจุบันและอนาคต ดานผูสอน ผูสอนจัดวิธีการเรียนการสอนไดหลากหลาย ใชเทคโนโลยีการศึกษาประกอบการสอนได เหมาะกับพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนในปจจุบัน จุดที่ควรระวังหรือปรับปรุง การจัดหลักสูตรบูรณาการตามระบบอวัยวะที่มีจุดที่ตองระวังดังนี้ ดานสื่อการเรียนการสอน ๑) การเรียนกายวิภาคศาสตรที่ตองเรียนจากอาจารยใหญอาจเกิดปญหาการเก็บรางอาจารยใหญไว คางป หรือการจัดหลักสูตรที่ยึดการผาชําแหละรางอาจารยใหญตามระบบเปนหลักอาจทําใหการ จัดหลักสูตรไมเปนไปตามลําดับ (alignment) ๒) ถาการจัดหลักสูตรมีปญหาการจัดหลักสูตรไมเปนไปตามลําดับจะทําใหผูเรียนมองภาพใหญไมชัด เชน การเรียนโรคเบาหวานและโรคแทรกซอนในระบบอื่นที่ยังไมไดเรียน เชน โรคแทรกซอนใน ระบบไต (Renal system) จะเปนเหตุให ผูเรียนมีความรูอยางผิวเผินที่เกี่ยวกับโรคแทรกซอน ระบบไตได ๓) การจัดเรียงระบบอาจเปนปญหาหากเรียงลําดับกอนหลังไวไมเหมาะ เชน เรียนเภสัชวิทยา AEC inhibitor ในระบบไต กอนเรียนสรีรวิทยาของหัวใจในระบบหัวใจหลอดเลือด (Cardiovascular system) อาจทําใหผูเรียนมีความเขาใจ preload and afterload ของหัวใจอยางผิวเผินได ๔) การใชเวลาในการเรียนการสอนในแตละคาบอาจใชเวลามากกวาที่กําหนดไวเนื่องจากผูเรียนบาง คนขาดความถนัดในกระบวนการเรียนรูในแบบนั้น ๆและอาจารยตองใชเวลานานมากกวาที่กําหนดไว ๕) การจัดการเรียนการสอนจะไมถูกใจผูเรียนหากชอบการเรียนแบบตั้งรับ (passive learning) ๒๗


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๓. หลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน (Competency-based Curriculum) เปนหลักสูตรที่เนนกระบวนการเรียนการสอนที่มุงหวังใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพ หลักการที่สําคัญของหลักสูตร คือยึดผูเรียนเปนสําคัญและสรางเสริมสมรรถนะใหเปนไปตามเปาหมาย ของหลักสูตร ความตองการของผูเรียน ผูสอนและสังคม และมิใชเปนการเรียนเพื่อมีความรูเทานั้นแตตองนําไป ปฏิบัติได แนวคิดหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน หลักสูตรแบบนี้จะเนนการเรียนการสอนเพื่อ ๑) พัฒนาศักยภาพของผูเรียนรายบุคคลตามความถนัดและศักยภาพของแตละบุคคล ๒) ใหผูเรียนเกิดสุขภาวะ (well-being) ทั้งในดานสุขภาพ ความฉลาดทางอารมณอยางสมดุลเพื่อใชใน การดํารงชีวิต การแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ในอาชีพ ชีวิตประจําวัน และการสรางประโยชน แกสังคม ๓) ใหผูเรียนยืดหยุนพรอมปรับตัว พัฒนาผูเรียนใหรูเทาทัน และสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง ของสภาพสังคม ๔) ใหผูเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การรวมมือประสานงาน ความสามารถในการรับและสงสาร การถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึกและทัศนะของตนเอง เพื่อการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม ๕) ใหผูเรียนมีความสามารถในการคิดตาง ๆ คือ การคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ ๖) ใหผูเรียนมีความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบน พื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม ๗) ใหผูเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิตในดานตาง ๆ คือ การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู ดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริม ความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล จุดเดนของหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน ๑) ลดวิธีการเรียนรูที่ไมจําเปนออก เชนการทองจําที่ไมจําเปน แตมุงเนนการพัฒนาปญญา ทักษะและ เจตคติ ๒) วัดและประเมินผลดวยการสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนที่แสดงใหเห็นถึงสมรรถนะหลัก (พฤติกรรม) ที่ตองปฏิบัติไดตามวิชาชีพและสมรรถนะวิชาชีพดานทักษะพิสัย (Entrust-able professional activities) ๓) ผูสําเร็จการศึกษามีความสามารถในการปรับตัว ประยุกตใช และตอยอดความรูในทักษะในระดับสูง ตอไป ๒๘


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๔) ผูสําเร็จการศึกษามีความรู ทักษะสอดคลองกับวิชาชีพตรงกับความตองการของตนเองและสังคมอัน จะสงผลดีถึงสถาบันหรือการประกอบวิชาชีพในอนาคต สิ่งทาทายการบริหารการศึกษาหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน ๑. มุงหวังความเปนเลิศดานคุณภาพ ผูบริหารการศึกษาควรมุงหวังความเปนเลิศดานคุณภาพที่ตอง ตระหนักรูในดานตาง ๆ ดังนี้ ๑.๑) มั่นใจไดอยางไรวามีการจัดการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรที่มีความสอดคลองกันตลอดหลักสูตร ๑.๒) ผูสอนมีความเขาใจในความเปนเลิศทางวิชาการตรงกันดวยจุดมุงหมายเดียวกันไดอยางไร ๑.๓) ผูบริหารการศึกษาจะตองปรับเปลี่ยนผูที่มีทัศนคติทํางานไปวัน ๆ ใหเปนการทํางานเพื่อความเปน เลิศดานคุณภาพไดอยางไร ๒. ขนาดของกลุมผูเรียน นักศึกษาในแตละชั้นปที่มีจํานวนมากจะทําใหการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนมี สมรรถนะทุกคนไดยาก ฉะนั้นการจัดกลุมผูเรียนเปนกลุมยอยมีขนาด ๘-๑๒ คนตอกลุมจะชวยใหผูเรียน และผูสอนมีปฏิสัมพันธกันมากขึ้นจะมีผลใหทุกคนเกิดการเรียนรูอยางลึกซึ้ง ๓. วัสดุอุปกรณการศึกษา หลักสูตรฐานสมรรถนะตองการใหผูเรียนมีความเปนเลิศดานคุณภาพ ผูบริหาร การศึกษาตองจัดวัสดุ อุปกรณการศึกษาใหพรอม การจัดหองเรียนแบบ “หองเรียนทันสมัย”(modern classrooms) พรอมดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยจะชวยใหการบริหารการศึกษาประสบความสําเร็จ ๔. การวัดและประเมินผลการปฏิบัติการ สิ่งที่ทาทายมากคือการวัดและประเมินผลการปฏิบัติการ การ พัฒนาเครื่องมือวัดผล วิธีการวัดผล ทักษะของผูวัดผลและการประเมินผล สถาบันการศึกษาควรจัด ประชุมปฏิบัติแกผูวัดผลในหัวขอตอไปนี้ ๔.๑) วิธีการประเมินผลลัพธการปฏิบัติการที่มีความตรงและความเที่ยง ๔.๒) วิธีการประเมินผูเรียนรายบุคคลโดยไมพึ่งเครื่องมือวัดผลการปฏิบัติการมาตรฐาน ๔.๓) วิธีการกําหนดเกณฑผลลัพธการปฏิบัติการและไมใหมีความแตกตางระหวางสถาบัน ๕. การสรางการยอมรับและความเขาใจกับผูใชบัณฑิต ผูใชบัณฑิตบางคนอาจไมเขาใจในปรัชญาของ หลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน สถาบันการศึกษาควรประชาสัมพันธใหผูใชผลผลิตวาบัณฑิตมีความพรอมใน การปฏิบัติงานเพื่อผูใชบัณฑิตจะไดเขาใจในสมรรถนะการทํางานของบัณฑิต ๖. การพัฒนาคณาจารยการพัฒนาอาจารยดานศึกษาศาสตรใหมีความรูความสามารถในการจัด ประสบการณการเรียนรูวิธีการประเมินผล การเตรียมความสามารถของผูสอนใหมีทักษะการจัด ประสบการณการเรียนทักษะการปฏิบัติการในแตละรายวิชา และการวัดผลดานอื่น ๆ เชน การสื่อสาร การวิเคราะหการแกปญหาเพื่อผูสอนจะไดนําไปวางแผนการศึกษาใหสมบูรณยิ่งขึ้น ๒๙


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ตามแนวคิดและวิสัยทัศนของนายแพทยบุญ วนาสิน ที่จะสรางโรงเรียนแพทยและผลิตบัณฑิตแพทยให มีสมรรถนะเปนเลิศทางวิชาชีพเทาเทียมอารยประเทศ จึงไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาลมาเปนกรรมการพัฒนาหลักสูตรและไดรับความรวมมือจากมหาวิทยาลัยสยามกอตั้งคณะแพทยศาสตรขึ้น ผูรับผิดชอบการพัฒนาหลักสูตรและการประสานงานในขณะนั้นคือ รองศาสตราจารยนายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชย, รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานีและอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม มหาวิทยาลัยสยามไดเสนอหลักสูตร แบบโครงสรางแบบรายวิชาแกแพทยสภา แตแพทยสภามีขอเสนอแนะใหปรับเปลี่ยนหลักสูตรโครงสรางแบบ รายวิชาเปนแบบบูรณาการ ผูรับผิดชอบจึงไดปรับปรุงโครงสรางหลักสูตรระดับปรีคลินิกเปนแบบบูรณาการ ระบบอวัยวะเปนฐานรวมกับหลักสูตรแบบรายวิชาคือวิชาการศึกษาทั่วไป วิชาวิทยาศาสตร และวิชาระบบ สุขภาพ พรอมกับการจัดหลักสูตรแบบสมรรถนะเปนฐานไวในระดับคลินิก ตลอดระยะเวลา ๑๒ ปที่ผานมา หลักสูตรแพทยศาสตรไดรับการปรับปรุงใหญเพื่อสรางเสริมจุดแข็ง ปรับปรุงจุดออนใหสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงกับกระบวนการบริหารการศึกษาในปการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ และ พ.ศ. ๒๕๖๕ การปรับปรุงทั้ง สองครั้งทางคณะฯ ไดคงโครงสรางหลักสูตรและหนาที่ของหลักสูตรไวเหมือนเดิมเพียงแตลดหนวยกิตและ ปรับปรุงเนื้อหาในบางวิชาใหเหมาะสมยิ่งขึ้นพรอมทั้งเพิ่มวิชาที่จะมีประโยชนแกนักศึกษาในอนาคต สิ่งที่ทาทาย คณาจารยมาก คือ ๑) คณาจารยที่คณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่งเกลารับทราบและเขาใจในปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ นโยบาย จุดมุงหมาย เปาหมาย วัตถุประสงค กิจกรรมที่คณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่งเกลา กําหนดไวและพรอมนําไปปฏิบัติมากนอยเพียงไร ๒) การพัฒนาหลักสูตรใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมทุกหกปควรสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง ของชาติ (มคอ. ๑) และตองสอดคลองกับมหาวิทยาลัย (มคอ. ๒) การพัฒนาหลักสูตรควรคิดนอกกรอบ เพื่อเปนผูนําในแพทยศาสตรหรือไม ๓) จะทําอยางไรในการสงเสริมคณาจารยทุกทานกําลังทําอยูคือพัฒนาหลักสูตรรายวิชา (มคอ. ๓,๔,๕,๖,๗) ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและ ๔) การบริหารการศึกษาในปจจุบันที่มีความสําคัญมากคือการบริหารการศึกษาใหเปนไปตามปณิธาน โครงสรางและหนาที่ของหลักสูตรบูรณาการทั้งแนวราบและแนวตั้ง ความรวมมือการบริหารจัดการศึกษา ระหวางอาจารยคณะแพทยศาสตรกับอาจารยโรงพยาบาลพระนั่งเกลาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให บรรลุตามพันธกิจของคณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่งเกลาดวยการเตรียมเนื้อหาตามเกณฑ มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา และเปนปจจุบันการจัดประสบการณการเรียนรู การ นํานวัตกรรมการศึกษามาเสริมการเรียนการสอนใหหลากหลาย การจัดหาวัสดุอุปกรณการศึกษา สถานที่ เรียน สภาพแวดลอม เพื่อสงเสริมการเรียนรูของนักศึกษาแพทย เพิ่มและพัฒนาวิธีการวัดและประเมินผล ใหสอดคลองกับศูนยประเมินและรับรองความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ ขอเสนอแนะของสหพันธแพทยศาสตรศึกษาโลก (World Federation Medical Education) และตอง มั่นใจไดวาผลลัพธการเรียนรูและสมรรถนะของบัณฑิตแพทยตรงตามคุณสมบัติของบัณฑิตแพทยตามที่ หลักสูตรกําหนดและบรรลุแนวคิดและวิสัยทัศนของนายแพทยบุญ วนาสิน ที่ใหการสนับสนุนคณะ แพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยามมาตลอด ๓๐


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย(พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช ประธานอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดรับความเห็นชอบรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๕ จากแพทยสภา เนื้อหาของหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดยยอ ซึ่งคัดมาจาก มคอ. ๒ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ ดังนี้ คือ ๑. การบริหารจัดการดานการจัดการเรียนการสอน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนินการจัดการเรียนการสอน เปนระดับ ดังนี้ ๑.๑ ระดับเตรียมแพทย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สวนใหญจัดการเรียนการสอนในชั้นปที่ ๑ โดยคณะศิลปศาสตร และคณะ วิทยาศาสตร รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กลุมวิชา ภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร กลุมวิชาสุนทรียศาสตรและพลศึกษา หมวดวิชาเฉพาะ ดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรที่จัดการเรียนการสอนในชั้นปที่ ๑ ไดแก รายวิชา หลักเคมีและเคมีอินทรียที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย รายวิชาหลักฟสิกสที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย รายวิชาหลักชีววิทยาที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย และรายวิชาหลักชีวเคมีที่จําเปนสําหรับ วิทยาศาสตรการแพทย และรายวิชาพฤติกรรมศาสตรและการพัฒนาสังคมดานจิตวิทยา คณะแพทยศาสตรเปน ผูดําเนินการจัดการเรียนการสอนเอง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยสยาม กํากับการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๑.๒ ระดับปรีคลินิก (ชั้นปที่ ๒ – ๓) หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย จัดการเรียนการสอนเองโดยคณะแพทยศาสตรสวน กลุมวิชาเฉพาะ ดานสงเสริมสมรรถนะที่เปนจุดเนนของสถาบัน ไดแก ดานบริหารจัดการ และภาวะผูนํา จํานวน ๔ หนวยกิต คณะบริหารธุรกิจ เปนผูจัดการเรียนการสอน ๓๑


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม การบริหารจัดการรายวิชา ดําเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการรายวิชา ภายใตการกํากับการ จัดการเรียนการสอนของคณะกรรมการบริหารการศึกษาระดับปรีคลินิก ที่ประกอบดวย คณบดี เปนที่ปรึกษา ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ เปนประธาน ประธานและรองประธานรายวิชาทุกรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ เปน กรรมการ ทําหนาที่กํากับการจัดการเรียนการสอนของกรรมการรายวิชา ทั้งในดานกลยุทธการสอน การวัดและ ประเมินผลการศึกษา ใหเปนไปตามนโยบายของคณะแพทยศาสตร และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สําหรับรายวิชาที่มีการเรียนการสอนเกี่ยวของกับการใชรางอาจารยใหญ ไดแก รายวิชาในระบบตาง ๆ เชน ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวของ ระบบกระดูกและกลามเนื้อ ระบบประสาท ระบบหายใจ และ ระบบอื่น ๆ จัดการเรียนการสอนโดยใชหองปฏิบัติการกายวิภาคศาสตรที่อาคารเลขที่ ๓ อาคารอบรม ถนน อิสรภาพ แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ๑.๓ ระดับคลินิก (ชั้นปที่ ๔ – ๖) หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาชีพเฉพาะทางการแพทยจัดการเรียนการสอน และฝกปฏิบัติงานที่ โรงพยาบาลพระนั่งเกลา และโรงพยาบาลในกลุมเครือขายบริการสุขภาพ ประกอบดวย โรงพยาบาลชุมชน ๕ แหง ไดแก โรงพยาบาลบางกรวย โรงพยาบาลบางใหญ โรงพยาบาลบางบัวทอง โรงพยาบาลไทรนอย และ โรงพยาบาลปากเกร็ด รวมถึงโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล โดยศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกโรงพยาบาลพระ นั่งเกลา รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน รวมกับคณะแพทยศาสตร สวนกลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตาม ความสนใจของผูเรียน รายวิชาในสาขาวิชาที่มีนักศึกษาแพทยเลือกลงทะเบียนเรียน สาขาวิชานั้นจะเปน ผูรับผิดชอบจัดการการเรียนการสอนรายวิชานั้น ๆ การฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๖ ศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกโรงพยาบาลพระนั่งเกลา รวมกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จะจัดนักศึกษาบางสวนใหไปปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลศูนยและ โรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามความเหมาะสมและบริบทตาง ๆ ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการรายวิชา ดําเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการรายวิชา ภายใตการกํากับการ จัดการเรียนการสอนของคณะอนุกรรมการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกที่ประกอบดวย ผูอํานวยการโรงพยาบาล พระนั่งเกลา คณบดีคณะแพทยศาสตร ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย เปนที่ปรึกษา ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก เปนประธาน รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายบริหาร เปนรองประธาน รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายการศึกษาและประเมิน รองผูอํานวยการศูนย แพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายพัฒนาอาจารย รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายประกันคุณภาพ รอง ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายวิจัย รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายกิจการ นักศึกษา และหัวหนาภาควิชาตาง ๆ เปนกรรมการ ทําหนาที่กํากับการจัดการเรียนการสอนของกรรมการ รายวิชา ทั้งในดานกลยุทธการสอน การวัดและประเมินผลการศึกษา ใหเปนไปตามนโยบายของคณะ แพทยศาสตร และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ๓๒


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๒. หลักสูตร ๒.๑ จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๒๔๔ หนวยกิต ๒.๒ โครงสรางหลักสูตร จัดทําโครงสรางหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาแพทยศาสตร พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบดวย ๒.๒.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา ๓๓ หนวยกิต ๑) ใหเรียนแตละกลุมวิชาตามที่กําหนด จํานวน ๑๘ หนวยกิต ดังนี้ - กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ๓ หนวยกิต - กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ๙ หนวยกิต - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ๓ หนวยกิต - กลุมวิชาพลศึกษา สุขศึกษา และสุนทรียศาสตร ๓ หนวยกิต ๒) ใหเลือกเรียนรายวิชาในกลุมวิชาตาง ๆ ไดอีกไมนอยกวา ๑๕ หนวยกิต ๒.๒.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา ๒๐๕ หนวยกิต ประกอบดวย ๑) กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ๑๑ หนวยกิต ๒) กลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ๖๘ หนวยกิต ๓) กลุมวิชาเฉพาะทางการแพทย ๑๑๒ หนวยกิต ๔) กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมสมรรถนะที่เปนจุดเนนของสถาบัน หรือสงเสริมศักยภาพตามความสนใจของผูเรียน ไมนอยกวา ๑๔ หนวยกิต ๒.๒.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต ๓๓


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๓. แผนการศึกษา ปการศึกษาที่ ๑ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๑๒๐ หลักเคมีและเคมีอินทรียที่จําเปนสําหรับ วิทยาศาสตรการแพทย (Essential Chemistry and Organic Chemistry for Medical Sciences) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๐-๑๒๑ หลักฟสิกสที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย (Essential Physics for Medical Sciences) ๒ ๒ ๐ ๔ ๑๐๑-๒๐๑ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) ๓ ๒ ๒ ๕ ๑๐๑-๒๐๔ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (Daily Life English) ๓ ๒ ๒ ๕ ๑๐๑-๓๐๑ ทักษะดิจิทัลสําหรับศตวรรษที่ ๒๑ (Digital Literacy for 21ST Century) ๓ ๒ ๒ ๕ ๑๐๑-๔๐๑ ชีวิต สุขภาวะ และการออกกําลังกาย (Life, Well-Being and Sports) ๓ ๒ ๒ ๕ xxx-xxx กลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ๓ X X X รวม ๑๙ X X X ๓๔


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๑ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๑๒๒ หลักชีววิทยาที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย (Essential Biology for Medical Sciences) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๑๒๓ หลักชีวเคมีที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย (Essential Biochemistry for Medical Sciences) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๐-๑๒๔ พัฒนาการทางพฤติกรรมและจิตสังคม (Behavioral Science and Psychosocial Development) ๑ ๑ ๐ ๒ ๑๐๑-๑๐๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sufficiency Economy Philosophy for Sustainable Development) ๓ ๓ ๐ ๖ ๑๐๑-๑๐๘ หลักตรรกศาสตรและทักษะการคิดเพื่อการ เรียนรู ตลอดชีวิต (Principles of Logics and Thinking Skills for Lifelong Learning ) ๓ ๒ ๒ ๕ ๑๐๑-๒๐๕ ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาทางวิชาการ (English for Academic Study) ๓ ๒ ๒ ๕ xxx-xxx กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ๓ ๒ ๒ ๕ xxx-xxx เลือกเสรี ๑ ๓ X X X รวม ๒๒ X X X ๓๕


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๒ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๒๒๐ หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๑ (Principles of Medical Sciences 1) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๒๒๑ หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๒ (Principles of Medical Sciences 2) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๒๒๒ หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๓ (Principles of Medical Sciences 3) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๒๒๓ ระเบียบวิธีวิจัยและเวชศาสตรเชิงประจักษ (Research Methodology and EvidenceBased Medicine) ๓ ๒ ๒ ๕ XXX-XXX กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ๓ ๒ ๒ ๕ XXX-XXX กลุมวิชาพลศึกษา สุขศึกษาและสุนทรียศาสตร ๓ ๒ ๒ ๕ รวม ๒๑ X X X ปการศึกษาที่ ๒ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๒๒๔ ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวของ (Integumentary System) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๐-๒๒๕ ระบบกระดูกและกลามเนื้อ (Musculoskeletal System) ๔ ๒ ๔ ๖ ๒๔๐-๒๒๖ ระบบประสาท ๑ (Nervous System 1) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๒๒๗ ระบบประสาท ๒ (Nervous System 2) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๐-๒๒๘ ระบบหายใจ ๑ (Respiratory System 1) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๐-๒๒๙ ระบบหายใจ ๒ (Respiratory System 2) ๓ ๒ ๒ ๕ รวม ๒๐ X X X ๓๖


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๓ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๓๒๐ ระบบโลหิตวิทยา (Hematopoietic and Lymphoreticular Systems) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๓๒๑ ระบบหัวใจหลอดเลือด ๑ (Cardiovascular System 1) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๐-๓๒๒ ระบบหัวใจหลอดเลือด ๒ (Cardiovascular System 2) ๒ ๑ ๒ ๓ ๒๔๐-๓๒๓ ระบบทางเดินอาหารและโภชนาการ (Gastrointestinal System and Nutrition) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๓๒๘ ระบบสุขภาพและเวชศาสตรปองกัน (Health System and Preventive Medicine) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๕-๓๓๐ หลักการบริหารจัดการและการจัดการเชิงกลยุทธ สําหรับนักศึกษาแพทย (Management Principle and Strategic Management for Medical Students) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๕-๓๓๑ ภาวะผูนําสําหรับนักศึกษาแพทย (Leadership for Medical Students) ๒ ๒ ๐ ๔ รวม ๒๐ ๑๕ ๑๐ ๓๕ ๓๗


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๓ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๒ หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๐-๓๒๔ ไตและระบบปสสาวะ (Renal and Urinary System) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๓๒๕ ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๐-๓๒๖ ระบบสืบพันธุและระยะปริกําเนิด (Reproductive System and Perinatal Period) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๐-๓๒๗ เวชจริยศาสตรและการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (Medical Ethics and Medical Professionalism) ๒ ๑ ๒ ๓ ๒๔๐-๓๒๙ บทนําเวชศาสตรคลินิก (Introduction to Clinical Medicine) ๔ ๒ ๔ ๖ XXX-XXX เลือกเสรี ๒ ๓ X X X รวม ๒๐ X X X ๓๘


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๔ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๑-๔๑๑ ทฤษฎีทางอายุรศาสตร ๑ (Theory in Medicine 1) ๔ ๔ ๐ ๘ ๒๔๑-๔๑๒ การปฏิบัติงานทางอายุรศาสตร ๑ (Practice in Medicine 1) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๑-๔๑๓ ทฤษฎีทางจิตเวชศาสตร ๑ (Theory in Psychiatry 1) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๒-๔๑๑ ทฤษฎีทางศัลยศาสตร ๑ (Theory in Surgery 1) ๔ ๔ ๐ ๘ ๒๔๒-๔๑๒ การปฏิบัติงานทางศัลยศาสตร ๑ (Practice in Surgery 1) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๓-๔๑๑ ทฤษฎีทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Theory in Obstetrics and Gynecology 1) ๓ ๓ ๐ ๖ ๒๔๓-๔๑๒ การปฏิบัติงานทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Practice in Obstetrics and Gynecology 1) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๔-๔๑๑ ทฤษฎีทางกุมารเวชศาสตร ๑ (Theory in Pediatrics 1) ๓ ๓ ๐ ๖ ๒๔๔-๔๑๒ การปฏิบัติงานทางกุมารเวชศาสตร ๑ (Practice in Pediatrics 1) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๘-๔๑๑ รังสีวิทยาคลินิก (Clinical Radiology) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๙-๔๑๑ เวชศาสตรชุมชน และ เวชศาสตรครอบครัว ๑ (Community Medicine and Family Medicine 1) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๑) ๒ X X X รวม ๓๘ X X X ๓๙


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๕ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวย ตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๑-๕๑๑ ทฤษฎีทางอายุรศาสตร ๒ (Theory in Medicine 2) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๑-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางอายุรศาสตร ๒ (Practice in Medicine 2) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๑-๕๑๓ จิตเวชศาสตร ๒ (Psychiatry 2) ๒ ๑ ๒ ๓ ๒๔๑-๕๑๔ เวชศาสตรฉุกเฉิน ๑ (Emergency Medicine 1) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๒-๕๑๑ ทฤษฎีทางศัลยศาสตร ๒ (Theory in Surgery 2) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๒-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางศัลยศาสตร ๒ (Practice in Surgery 2) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๒-๕๑๓ ศัลยศาสตรออรโธปดิกส ๑ (Orthopedics 1) ๔ ๓ ๒ ๗ ๒๔๒-๕๑๔ วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) ๒ ๑ ๒ ๓ ๒๔๓-๕๑๑ ทฤษฎีทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Theory in Obstetrics and Gynecology 2) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๓-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Practice in Obstetrics and Gynecology 2) ๒ ๐ ๔ ๒ ๒๔๔-๕๑๑ ทฤษฎีทางกุมารเวชศาสตร ๒ (Theory in Pediatrics 2) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๔-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางกุมารเวชศาสตร๒ (Practice in Pediatrics 2) ๒ ๐ ๔ ๒ ๒๔๖-๕๑๑ จักษุวิทยา (Ophthalmology) ๒ ๑ ๒ ๓ ๒๔๖-๕๑๒ โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) ๒ ๒ ๐ ๔ ๒๔๗-๕๑๑ นิติเวชศาสตร ๑ (Forensic Medicine 1) ๓ ๒ ๒ ๕ ๔๐


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวย ตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๙-๕๑๑ เวชศาสตรชุมชน และเวชศาสตรครอบครัว ๒ (Community Medicine and Family Medicine 2) ๓ ๒ ๒ ๕ ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๒) ๒ X X X ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๓) ๒ X X X รวม ๔๒ X X X ๔๑


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ปการศึกษาที่ ๖ รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา หนวยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒๔๑-๖๑๑ เวชปฏิบัติอายุรศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Medicine 1) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๑-๖๑๒ เวชปฏิบัติอายุรศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Medicine 2) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๑-๖๑๓ เวชศาสตรฉุกเฉิน ๒ (Emergency Medicine ๒) ๒ ๐ ๔ ๒ ๒๔๒-๖๑๑ เวชปฏิบัติศัลยศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Surgery 1) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๒-๖๑๒ เวชปฏิบัติศัลยศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Surgery 2) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๒-๖๑๓ ศัลยศาสตรออรโธปดิกส ๒ (Orthopedics 2) ๒ ๐ ๔ ๒ ๒๔๓-๖๑๑ เวชปฏิบัติสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Clinical Clerkship in Obstetrics and Gynecology 1) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๓-๖๑๒ เวชปฏิบัติสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Clinical Clerkship in Obstetrics and Gynecology) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๔-๖๑๑ เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Pediatrics 1) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๔-๖๑๒ เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Pediatrics 2) ๓ ๐ ๖ ๓ ๒๔๗-๖๑๑ ประสบการณคลินิกนิติเวชศาสตร (Clinical Experience in Forensic Medicine) ๒ ๐ ๔ ๒ ๒๔๙-๖๑๑ เวชศาสตรชุมชนและเวชศาสตรครอบครัว ๓ (Community Medicine and Family Medicine 3) ๔ ๐ ๘ ๔ ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๔) ๒ X X X ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๕) ๒ X X X รวม ๔๒ X X X ๔๒


๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๔. การเตรียมนักศึกษาสําหรับการสอบเพื่อรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หลักสูตรไดจัดใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบระบบเปนฐาน (System-based approach) มี การบูรณาการโดยใชหลัก Spiral curriculum และบูรณาการมาตรฐานการเรียนรูทั้งแบบแนวนอน (Horizontal integration) และแบบแนวตั้ง (Vertical integration) ซึ่งจะทําใหนักศึกษาสามารถเชื่อมโยงองคความรูระดับ วิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐานที่นําไปประยุกตกับความรูทางคลินิก และการบูรณาการแบบแนวตั้งของ วิทยาศาสตรการแพทยคลินิกรวมกับวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน ขณะเดียวกันมีการสรางแรงจูงใจและ กระตุนใหนักศึกษาเตรียมพรอมในการสอบตลอดทั้งป โดยการสรางระบบทดสอบความกาวหนา (Progress test) บนระบบออนไลนใหนักศึกษาไดฝกฝนตนเองอยางสมํ่าเสมอ เพื่อนําไปสูการประเมินผลรวมการเรียนรู (Summative assessment) รวมทั้งมีการติดตามความกาวหนาระหวางเรียนและใหขอมูลปอนกลับเพื่อการ พัฒนา (Formative assessment) นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๓ จะตองเขาสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๑ ผูที่มีผลการสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๑ ผานเกณฑที่กําหนด จึงจะสามารถขึ้นไปเรียนในชั้นปที่ ๔ ได และยังถือเปนการเตรียมความพรอมของ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๓ ในการเขาสอบเพื่อรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ขั้นตอนที่ ๑ ดวย สําหรับนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๕ จะตองเขาสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ หากสอบไมผานตามเกณฑที่ กําหนด จะถือวาไมผานเกณฑการสําเร็จการศึกษา จะตองสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ จนผานเกณฑ จึงจะเปน ผูสําเร็จการศึกษาและไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้งนี้ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีหลักเกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ดังนี้ คือ ๑) ตองเรียนรายวิชาตาง ๆ ครบตามหลักสูตร ไมมีรายวิชาใดที่ยังติดสัญลักษณI หรือสัญลักษณP ๒) สําเร็จการศึกษาชั้นปที่ ๖ มีเกรดเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๒.๐๐ และเปนไปตามประกาศของคณะ แพทยศาสตรมหาวิทยาลัยสยาม ๓) ตองมีผลการสอบรวบยอดขั้นตอนที่ ๒ ผานเกณฑที่กําหนด ๔) ไมมีหนี้สินใด ๆ ตอมหาวิทยาลัย ๕) มีคุณสมบัติตามขอบังคับมหาวิทยาลัยสยาม วาดวยการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต พิจารณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะเสนอขออนุมัติใหไดรับปริญญาของมหาวิทยาลัยสยาม อนึ่ง นับตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป นักศึกษาทุกคนจะตองสอบผานการสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ ผานตามเกณฑที่กําหนด หากสอบไมผานจะตองทําการสอบจนกวาจะผาน จึงจะสามารถสําเร็จ การศึกษาไดปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตได ๔๓


Click to View FlipBook Version