The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ป้องกันการทุจริต 6

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Keywords: หลักสูตร ต้านทุจริต ป้องกัน

แผนการจัดการเรียนรู้

“รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกันการทุจริต”
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖

สาำ นักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
ร่วมกบั สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๖๑



แผนการจดั การเรียนรู้

“รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
ร่วมกับ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๖๑

แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”
ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖

พมิ พ์คร้ังท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
จ�ำนวนพมิ พ์ ๕,๘๗๔ เลม่

ผู้จัดพมิ พ ์ สำ� นักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ
รว่ มกบั สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

พิมพ์ท่ ี ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กดั สาขา ๔
๑๔๕ , ๑๔๗ ถ.เล่ยี งเมอื งนนทบุรี ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐
โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙ , ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕
E-mail : [email protected] www.co-opthai.com

คำ�นำ�

ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่๓(พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔)
ได้กำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๑ สรา้ งสังคมทีไ่ มท่ นต่อการทจุ รติ ประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ ๑ ปรับฐาน
ความคดิ ทุกช่วงวยั ตั้งแตป่ ฐมวยั เปน็ ตน้ ไปใหส้ ามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม กลยทุ ธท์ ี่ ๒ สง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบและกระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมเพอื่ ตา้ นทจุ รติ กลยทุ ธท์ ่ี ๓
ประยกุ ตห์ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เครอ่ื งมอื ต้านทจุ รติ และกลยทุ ธท์ ี่ ๔ เสรมิ พลงั การมสี ว่ นรว่ ม
ของชุมชน และบูรณาการทุกภาคส่วนเพื่อต่อต้านการทุจริต จากกลยุทธ์ที่ ๑ คณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จึงได้มีคำ�สั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
จดั ทำ�หลกั สตู รหรือชุดการเรียนร้แู ละสื่อประกอบการเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกันการทจุ ริต ซ่ึงประกอบดว้ ย
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการให้การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขึ้น เพ่ือศึกษา วิเคราะห์ และ
รวบรวมข้อมูล กำ�หนดแนวทางและขอบเขตในการจัดทำ�หลักสูตร ยกร่างและจัดทำ�เนื้อหาหลักสูตร
หรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ รวมท้ังพิจารณาให้ความเห็นเพิ่มเติม กำ�หนดแผน
หรือแนวทางการนำ�หลักสูตรไปใช้ในหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และดำ�เนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ
ป.ป.ช. มอบหมาย
คณะอนุกรรมการจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ด้านการ
ปอ้ งกนั การทจุ รติ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งชดุ หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา : Anti-Corruption Education ประกอบดว้ ย
๕ หลกั สูตร ดงั น ้ี ๑. หลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน (รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกนั การทุจริต) ๒. หลกั สตู ร
อุดมศึกษา (วยั ใส ใจสะอาด “Youngster with Good Heart”) ๓. หลกั สูตรตามแนวทางรบั ราชการ
กลุ่มทหารและตำ�รวจ ๔. หลักสูตรสร้างวิทยากรผู้นำ�การเปล่ียนแปลงสู่สังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต
และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพ่ือการรู้คิดต้านทุจริต ชุดหลักสูตรดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการนำ�ไปทดลองใช้
เพ่ือปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สำ�หรับการใช้ในกลุ่มเป้าหมายต่อไป นอกจากน้ี
คณะอนกุ รรมการจดั ทำ�หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรดู้ า้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ
ยงั ไดค้ ดั เลอื กสอื่ การเรยี นรจู้ ากแหลง่ ตา่ งๆ ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ รวม ๕๐ ชนิ้ เพอ่ื ใชใ้ นการเรยี นรู้
ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ เมื่อวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑
โดยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องนำ�หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ และให้กระทรวงศึกษาธิการ
เร่งดำ�เนินการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เพ่ือนำ�หลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัด
การเรียนการสอนของสถานศึกษา

รำยวิชำเพิ่มเติมกำรป้องกันกำรทุจริต ส�ำหรับหลักสูตรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน จัดท�ำขึ้น
โดยอนุกรรมกำรด้ำนกำรศึกษำ ในคณะอนุกรรมกำรจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดกำรเรียนรู้และส่ือประกอบ
กำรเรยี นรู้ ดำ้ นกำรป้องกนั กำรทจุ ริตและกล่มุ ผทู้ รงคุณวุฒิด้ำนกำรศกึ ษำ สำระกำรเรยี นรู้ประกอบด้วย
(๑) กำรคดิ แยกแยะระหวำ่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม (๒) ควำมอำยและควำมไมท่ น
ตอ่ กำรทจุ รติ (๓) STRONG : จติ พอเพยี งตำ้ นทจุ รติ (๔) พลเมอื งและควำมรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ตอ่ เนอ่ื งกนั
ตัง้ แตร่ ะดับปฐมวยั ระดบั ประถมศกึ ษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย
คณะกรรมกำร ป.ป.ช. หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยวิชำเพ่ิมเติมกำรป้องกันกำรทุจริต
ส�ำหรับหลกั สตู รกำรศกึ ษำขั้นพน้ื ฐำน ในชดุ หลกั สูตรต้ำนทจุ ริตศกึ ษำ (Anti-Corruption Education)
จะน�ำเข้ำสู่ระบบกำรศึกษำ เพื่อเป็นกลไกระยะยำวในกำรปลูกฝังวิธีคิดป้องกันกำรทุจริตให้แก่ผู้เรียน
อย่ำงเปน็ อัตโนมัติ เพอ่ื รว่ มกันสรำ้ งประเทศไทยใสสะอำด ไทยทง้ั ชำตติ ำ้ นทุจริต

พลต�ำรวจเอก
(วชั รพล ประสำรรำชกิจ)
ประธำนกรรมกำร ป.ป.ช.
๓๐ พฤศจกิ ำยน ๒๕๖๑

สารบัญ

หนา้
โครงสร้างรายวชิ า ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๑
หนว่ ยท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒
หน่วยที่ ๒ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ ๓๐
หน่วยที่ ๓ STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทุจริต ๗๐
หน่วยที่ ๔ พลเมืองกบั ความรับผิดชอบต่อสังคม ๘๗
ภาคผนวก
คำ�สั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ เรือ่ ง แต่งตั้งคณะอนกุ รรมการ ๑๒๖
จดั ทำ�หลกั สตู ร หรือชดุ การเรยี นรูแ้ ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทุจรติ
รายชอ่ื คณะทำ�งานจัดทำ�หลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และสอื่ ประกอบการเรียนรู้ ๑๒๙
ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ ริต กล่มุ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
รายชื่อคณะบรรณาธกิ ารกิจหลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสื่อประกอบการเรียนร้ ู ๑๓๒
ดา้ นการปอ้ งกันการทจุ รติ กลุ่มการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน
รายชื่อคณะผูป้ ระสานงานการจัดทำ�หลักสูตรหรือชดุ การเรยี นร้แู ละสอ่ื ประกอบการเรยี นรู้ ๑ ๓๔
ด้านการป้องกันการทุจริต กลุ่มการศึกษาขั้นพื้นฐานสำ�นักงาน ป.ป.ช.



โครงสร้างรายวชิ า ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖

ล�ำ ดบั หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง จ�ำ นวน
ชวั่ โมง
๑. การคิดแยกแยะระหวา่ ง ๑. ความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทจุ ริต (โลก) ๑๒
ผลประโยชน์สว่ นตนและ ๑.๑ หลักการแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทุจริต
ผลประโยชนส์ ่วนรวม ๑.๒ เก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการ ๘
ทจุ รติ ๘
- ผลจากการกระทำ� ไมท่ �ำให้ตนเองและผู้อืน่ เดอื ด ๑๒
รอ้ น ๔๐
- การกระทำ� สอดคลอ้ งกับคณุ ธรรม
๒. ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม (โลก)
๒.๑ ความแตกตา่ งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผล
ประโยชน์สว่ นรวม ท่ีส่งผลตอ่ ประเทศชาติและสงั คมโลก
๓. การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม (โลก)
๓.๑ การขัดกันทเ่ี กิดข้ึนระหวา่ งบุคคล สงั คม ประเทศ
ชาติ และสงั คมโลก
๔. กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการทุจริต
๔.๑ พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. ผลประโยชน์ทับซอ้ น (โลก)
๕.๑ กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๕.๒ รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น (โลก)

๒. ความละอายและความไมท่ นต่อ ๑. ความละอายและความไม่ทนต่อ การทจุ รติ
การทุจริต ๒. แนวทางการแก้ปัญหาและวิธกี ารปฏบิ ตั ิ

๓. STRONG : จติ พอเพยี ง ๑. STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต
ต้านทจุ ริต ๒. จิตพอเพยี งตา้ นทจุ รติ

๔. พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบ ๑. ความเปน็ พลเมืองไทย กับความเป็นพลเมืองโลก
ต่อสงั คม ๒. พลเมอื งท่ีมคี วามรบั ผิดชอบต่อการป้องกัน การทุจรติ
๓. พลเมืองท่ีมคี วามรับผิดชอบต่อการป้องกัน การทุจริต
๔. ความเปน็ พลเมืองไทยท่สี มบูรณ์

รวม

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 1

หนว่ ยที่ ๑

การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

แผนการจัดการเรียนรู้

หนว่ ยที่ ๑ ชื่อหน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรื่อง ความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทจุ รติ (โลก) เวลา ๒ ช่วั โมง
๑. ผลการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจรติ ได้
๒.๒ นกั เรยี นสามารถแยกแยะความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทุจรติ ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) หลกั การการแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ ริต
๒) การแยกแยะระหว่างจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
- ผลจากการกระท�ำไมท่ ำ� ใหต้ นเองและผอู้ ื่นเดือดร้อน
- การกระท�ำสอดคล้องกับคุณธรรม
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค/์ ค่านยิ ม
มงุ่ มั่นในการทำ� งาน

2 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”

๔. กิจกรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู/้ ข้ันตอนการจัดประสบการณ์
ชัว่ โมงท่ี ๑
๑. ให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ “ความหมายและความส�ำคัญของคุณธรรม จริยธรรม (หน้าที่
พลเมอื งฯ)”
ครตู ั้งคำ� ถามดงั น้ี
๑.๑ เน้ือหาของคลิปวดิ ีโอเกย่ี วกบั เรอื่ งอะไร
๑.๒ คุณธรรม/จริยธรรม หมายถงึ อะไร เหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร
๑.๓ คณุ ธรรม/จรยิ ธรรม มคี วามสำ� คญั อยา่ งไร ในระดบั ตนเอง โรงเรยี น ชมุ ชน ประเทศ
และระดบั โลก
ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั สรปุ
คณุ ธรรมคอื หลักของความดคี วามงาม ความถูกต้อง
จรยิ ธรรมคือ การปฏิบตั ิตนเพอื่ ให้เกดิ คุณธรรม
ความส�ำคัญของคุณธรรม จริยธรรมคือ เป็นสิ่งถูกต้อง ดีงาม ที่ทุกคนควรปฏิบัติ
ทั้งในระดบั สงั คม ประเทศชาติ โลก
๒. ให้นักเรียนดูคลปิ วิดีโอ “หนงั ส้ัน เรื่องการทจุ ริต”
ครตู ้ังค�ำถามดงั น้ี
๒.๑ จากคลิปวดิ ีโอมีการกระท�ำผดิ ทางจริยธรรมมากน้อยแค่ไหน อยา่ งไร
๒.๒ การทจุ รติ มคี วามสำ� คญั อยา่ งไรและกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาตอ่ สงั คม ประเทศชาตแิ ละโลก
อย่างไร
ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุป ไดว้ ่า
การทจุ ริต คอื การปฏิบตั ิหรือละเวน้ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เพอ่ื ประโยชนท์ ่มี ิควร
ไดโ้ ดยชอบส�ำหรับตนเองหรือผ้อู ่นื
ความสำ� คญั ของการทจุ รติ คอื พฤตกิ รรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเดอื ดรอ้ น แกต่ นเอง และผอู้ นื่
ชัว่ โมงที่ ๒
๓. แบง่ นกั เรยี นเปน็ ๔ กลุ่ม กลุม่ ละเทา่ ๆ กนั รว่ มสมั มนา ดงั นี้
กลุม่ ที่ ๑ และ ๒ ใหร้ ะบุถงึ การกระท�ำท่ีส่อื ถึงเร่อื ง จรยิ ธรรม เชน่ ประเทศไทยส่งอาหาร
ให้ผู้ประสบภยั นำ้� ท่วมในอเมริกา
กลุ่มที่ ๓ และ ๔ ให้ระบุถึงการกระท�ำที่ส่ือถึงเร่ืองการทุจริต เช่น บริษัท เลห์แมน
บราเธอรส์ ต้องลม้ ละลาย เนือ่ งจากใช้เทคโนโลยที างบญั ชีเพื่อบดิ เบือนข้อมูลทางการเงนิ
โดยเขียนข้อความท่ีระบุลงในกระดาษฟลิปชาร์ท เป็นการแยกแยะระหว่างจริยธรรม
กบั การทจุ ริต

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 3

๔. ใหน้ ักเรยี นกลุ่ม ๑,๒ และ ๓,๔ รว่ มกนั เลือกการกระทำ� ท่ีซ�้ำ/คลา้ ยกนั มานำ� เสนอ
๕. ครูและนักเรียนช่วยกันชว่ ยกันสรุปหลกั การแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
- จริยธรรมเปน็ ผลจากการกระท�ำไมท่ ำ� ใหต้ นเองและผู้อ่นื เดอื ดร้อน ซ่งึ เป็นการกระท�ำ
สอดคล้องกบั หลกั คุณธรรม ส่วนการทจุ รติ เป็นการกระท�ำให้ตนเองและส่วนรวมเดอื ดรอ้ น
๔.๒ ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลิปวิดีโอ “ความหมายและความส�ำคัญของคุณธรรม จริยธรรม (หน้าท่ีพลเมืองฯ)”
(https://www.youtube.com/watch?v=u1kIHk7VGhg)
๒) คลิปวิดีโอ “หนังสั้น เร่ืองการทุจริต” - YouTube (https://www.youtube.com/
watch?v=8ZGdHVb1RYw)
๓) กระดาษฟลิปชารท์
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
- ตรวจผลงานการแยกแยะระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ
- สังเกตพฤติกรรมมุง่ มน่ั ในการทำ� งาน
๕.๒ เคร่อื งมือที่ใช้ในการประเมนิ
- แบบให้คะแนนการตรวจผลงานการแยกแยะระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ รติ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรมมุง่ ม่ันในการท�ำงาน
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมินการให้คะแนนระดับดีข้นึ ไป
- ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินพฤตกิ รรมระดบั ดีข้ึนไป
๖. บนั ทกึ หลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..............................................ครูผู้สอน
(..................................................)

4 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแยกแยะระหว่างจริยธรรมและการทุจรติ

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ /............. กล่มุ ท.่ี ......................

รายการประเมิน

ที่ กลมุ่ ที่ ความถกู ตอ้ ง การสอื่ สารชดั เจน มีความพรอ้ ม มีการใช้ รวม
ตรงตามประเด็น เขา้ ใจง่าย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกลุ่ม

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน

เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เท่ากับ ดมี าก
๓ คะแนน เทา่ กบั ดี ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๒ คะแนน เท่ากับ พอใช้
๑ คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรุง ๑๓ - ๑๖ ดมี าก

๙ - ๑๒ ดี

๕ - ๘ พอใช้

๑ - ๔ ปรับปรงุ

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 5

แบบสังเกตพฤตกิ รรม
“ม่งุ มั่นในการทาำ งาน”

คำาช้ีแจง ท�ำเครอื่ งหมำย � ในช่องทีต่ รงกับควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมิน

เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ อ้ มลู จำกกำรสังเกตตำมสภำพจริงของครผู สู้ อน)

เลขท่ี ช่อื - สกลุ ต้งั ใจและรับผดิ ชอบ ทาำ งานด้วยความเพยี ร รวม
ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ีการงาน พยายาม และอดทนเพอื่ ให้
งานสาำ เร็จตามเป้าหมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน

เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กบั ดีมำก
๓ คะแนน เท่ำกบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เทำ่ กบั ปรบั ปรงุ ๗ - ๘ ดมี ำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรับปรุง

ลงชื่อ.................................................ครผู ู้ประเมิน
(.................................................)
................/................/...............
6 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกนั การทจุ รติ ”

แผนการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๖
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๒ เรือ่ ง ผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม (โลก) เวลา ๒ ช่ัวโมง
๑. ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ นักเรียนสามารถบอกหลักการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวมได้
๒.๒ นักเรียนสามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) หลกั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๒) ความแตกต่างระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ท่ีส่งผลต่อ
ประเทศชาตแิ ละสังคมโลก
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) ความสามารถในการฟัง พูด และเขียน
๒) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
๓.๓ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค/์ คา่ นยิ ม
ม่งุ มนั่ ในการท�ำงาน
๔. กิจกรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้/ขั้นตอนการจัดประสบการณ์
ช่วั โมงที่ ๑
๑. ให้นกั เรยี นดูคลิปวดิ ีโอ “กาฝาก” สอื่ การเรยี นรู้ความแตกต่างระหวา่ งผลประโยชน์สว่ น
ตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และ คลิปวีดีโอ “คุณว่าใครชนะ” สื่อการเรียนรู้ความแตกต่างระหว่าง
ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ครูตง้ั คำ� ถามดังน้ี
๑.๑ เน้ือหาของคลิปวิดีโอเก่ยี วกับเรือ่ งอะไร และสะทอ้ นความคิดของนกั เรยี นอยา่ งไร
๑.๒ ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม หมายถึงอะไร
๑.๓ ผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม เป็นอย่างไร และมีความส�ำคัญ
ตอ่ ประเทศชาตแิ ละสงั คมโลกอยา่ งไร

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ 7

ครูและนกั เรียนช่วยกันสรปุ ได้วา่
๑) ผลประโยชน์สว่ นตน คือ การกระท�ำทสี่ ง่ ผลกับตนเองเทา่ นัน้
๒) ผลประโยชนส์ ว่ นรวม คอื การกระท�ำท่ีส่งผลกบั ผอู้ น่ื โดยท่วั ไป
ความสำ� คญั ของความแตกตา่ งระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม คอื
ไดเ้ รียนรกู้ ารกระท�ำใดมีผลกับใครและทำ� ใหใ้ ครเสียประโยชน์หรือไม่
๒. แบ่งนักเรียนเป็น ๒ กลมุ่ กลมุ่ ละเทา่ ๆ กนั คดิ บทบาทสมมติในหวั ขอ้ คือ “ผลประโยชน์
ส่วนตนหรือผลประโยชน์ส่วนรวม คุณเลือกอะไร” โดยใช้เวลา ๑๐ นาที
ช่วั โมงที่ ๒
๓. ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ แสดงบทบาทสมมติ
๔. ครูสังเกตพฤตกิ รรมการแสดงบทบาทสมมตขิ องนกั เรียน
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลักการความแตกต่างระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม ดังนี้
- หลักการ คือ ดทู ีล่ กั ษณะของผลประโยชน์ที่เกิดขึน้ ว่าเกิดกับใคร
๔.๒ สื่อการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑) คลปิ วิดโี อ “กาฝาก” สือ่ การเรียนรคู้ วามแตกต่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม (https://www.youtube.com/watch?v=EHF๙lTpTYkg)
๒) คลิปวิดีโอ “คุณว่าใครชนะ” สื่อการเรียนรู้ความแตกต่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชนส์ ว่ นรวม (https://www.youtube.com/watch?v=u๖L๗๔๙nfVWk)
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
- สังเกตการแสดงบทบาทสมมติผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
- สงั เกตพฤติกรรมมงุ่ มัน่ ในการท�ำงาน
๕.๒ เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ
- แบบใหค้ ะแนนการแสดงบทบาทสมมตผิ ลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมมุ่งม่ันในการทำ� งาน
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ
- ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ไดค้ ะแนนระดับดีขึ้นไป
- ผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดับดีขึ้นไป
๖. บนั ทกึ หลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..............................................ครูผสู้ อน
(..................................................)

8 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

แบบให้คะแนนการแสดงบทบาทสมมตผิ ลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ /............. กลมุ่ ที่.......................

รายการประเมนิ

ที่ กลมุ่ ที่ ความถูกต้อง การสื่อสารชัดเจน มีความพรอ้ ม มีการใช้ รวม
ตรงตามประเด็น เข้าใจง่าย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกล่มุ

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน











เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ
๔ คะแนน เท่ากบั ดมี าก
๓ คะแนน เทา่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เทา่ กบั พอใช้
๑ คะแนน เท่ากบั ปรับปรุง ๑๓ - ๑๖ ดีมาก

๙ - ๑๒ ดี

๕ - ๘ พอใช้

๑ - ๔ ปรบั ปรงุ

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ 9

แบบสังเกตพฤติกรรม
“มงุ่ มน่ั ในการทาำ งาน”

คาำ ช้ีแจง ท�ำเครอ่ื งหมำย � ในชอ่ งท่ตี รงกบั ควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมิน

เลขที่ ชือ่ - สกุล ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ทาำ งานด้วยความเพยี ร รวม
ในการปฏบิ ตั หิ น้าทก่ี ารงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเร็จตามเปา้ หมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน











เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เท่ำกบั ดี ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรับปรุง ๗ - ๘ ดีมำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรับปรงุ

ลงชอ่ื .................................................ครผู ปู้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............
10 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”

แผนการจัดการเรียนรู้

หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง การขดั กนั ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ เวลา ๒ ชัว่ โมง
ผลประโยชน์ส่วนรวม (โลก)

๑. ผลการเรยี นรู้
๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
นักเรยี นสามารถอธบิ ายการขดั กันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การขัดกันทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหว่างบคุ คล สังคม ประเทศชาติและสังคมโลก
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กิด)
๑) ความสามารถในการสอื่ สาร
๒) ความสามารถในการวเิ คราะห์
๓.๓ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์/ค่านิยม
มงุ่ มน่ั ในการท�ำงาน
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรียนร/ู้ ขนั้ ตอนการจดั ประสบการณ์
ชั่วโมงที่ ๑
๑. ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรอื่ ง การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
ครูตัง้ คำ� ถามดังนี้
๑.๑ ลกั ษณะการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมมขี นั้ ตอน
อย่างไร
๑.๒ การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมมผี ลกระทบอยา่ งไร
๒. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุป ไดว้ า่
การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐกระท�ำการใด ๆ ตามอ�ำนาจหน้าท่ีเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม
แต่กลับเข้าไปมสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียกบั กจิ กรรมท่เี อ้อื ประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองและพวกพ้อง ทำ� ให้การใชอ้ �ำนาจ
ไปทางทจุ ริต

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ 11

ชวั่ โมงท่ี ๒
๓. แบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน สัมมนา เร่ือง การขัดกันระหว่าง
ผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวมท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งบคุ คล สงั คม ประเทศชาติและสังคมโลก
และแนวทางแกไ้ ขปัญหา ลงในกระดาษฟลปิ ชารท์
๔. แต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรียนและน�ำผลงานไปติดท่ปี ้ายนเิ ทศในชนั้ เรียน
๕. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลักษณะการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชน์ส่วนรวม ดังน้ี
ลักษณะการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม คือ
เมอ่ื ผลประโยชนส์ ว่ นตนไปทำ� ใหเ้ กดิ ผลกบั สว่ นรวม แนวทางแกไ้ ขปญั หา คอื ปลกู ฝงั ใหค้ นเหน็ ประโยชน์
ส่วนรวมมากกวา่ ส่วนตัว
๔.๒ สอื่ การเรียนรู/้ แหลง่ การเรยี นรู้
๑) ใบความรูเ้ ร่อื ง การขดั กนั ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๒) กระดาษฟลิปชารท์
๓) ชน้ิ งาน
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
- ตรวจผลงานชิ้นงานการสัมมนา เรื่อง การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชน์ส่วนรวม
- สังเกตพฤติกรรมม่งุ มน่ั ในการทำ� งาน
๕.๒ เครอ่ื งมือท่ีใช้ในการประเมนิ
- แบบใหค้ ะแนนการตรวจชน้ิ งานการสมั มนา เรอื่ ง การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน
และผลประโยชนส์ ว่ นรวม
- แบบสงั เกตพฤติกรรมม่งุ มนั่ ในการทำ� งาน
๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน
- ผา่ นเกณฑ์การประเมินได้คะแนนระดับดีขนึ้ ไป
- ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ พฤตกิ รรมระดับดขี ้นึ ไป
๖. บันทกึ หลงั สอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..............................................ครูผู้สอน
(..................................................)

12 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทุจริต”

๗. ภาคผนวก

แบบให้คะแนนการตรวจช้นิ งานการสมั มนา
เรอ่ื ง การขัดกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ /............. กลุ่มที่.......................

รายการประเมนิ

ที่ กลุ่มท่ี ความถูกต้อง การส่ือสารชัดเจน มคี วามพรอ้ ม มกี ารใช้ รวม
ตรงตามประเด็น เขา้ ใจง่าย ในการน�ำเสนอ กระบวนการกลมุ่

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๖ คะแนน











เกณฑก์ ารใช้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ากบั ดมี าก
๓ คะแนน เท่ากบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๒ คะแนน เท่ากบั พอใช้
๑ คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรุง ๑๓ - ๑๖ ดมี าก

๙ - ๑๒ ดี

๕ - ๘ พอใช้

๑ - ๔ ปรบั ปรงุ

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ 13

แบบสงั เกตพฤติกรรม
“ม่งุ มัน่ ในการทำางาน”

คาำ ช้แี จง ท�ำเครอ่ื งหมำย � ในช่องทีต่ รงกบั ควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ

เกณฑ์การประเมิน (ใชข้ ้อมูลจำกกำรสงั เกตตำมสภำพจริงของครผู ูส้ อน)

เลขที่ ชื่อ - สกลุ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ทาำ งานด้วยความเพียร รวม
ในการปฏิบตั ิหน้าทกี่ ารงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเรจ็ ตามเป้าหมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน











เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรบั ปรงุ ๗ - ๘ ดีมำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรบั ปรงุ

ลงชือ่ .................................................ครผู ูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............

14 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”

ใบความรู้
เร่ือง การขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม

ความสัมพันธ์ระหว่าง “การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม”
“จริยธรรม” และ “การทุจริต
การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การท่ีเจ้าหน้าที่
ของรัฐกระท�ำการใด ๆ ตามอ�ำนาจหน้าท่ีเพื่อประโยชน์ส่วนรวม แต่กลับเข้าไปมีส่วนได้ส่วนเสีย
กบั กิจกรรม หรือการดำ� เนินการท่เี อ้ือผลประโยชน์ให้กบั ตนเองหรอื พวกพอ้ ง ท�ำให้การใช้อ�ำนาจหน้าท่ี
เป็นไปโดยไมส่ จุ รติ กอ่ ใหเ้ กิดผลเสียตอ่ ภาครฐั
จริยธรรม เป็นกรอบใหญ่ทางสังคมท่ีเป็นพ้ืนฐานของแนวคิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่าง
ผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
รปู แบบของการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมมีได้หลายรูปแบบ ไม่จ�ำกัด
อยู่เฉพาะในรูปแบบของตัวเงิน หรือทรพั ย์สนิ เทา่ น้นั แตร่ วมถงึ ผลประโยชน์อื่น ๆ ที่ไมไ่ ด้อยใู่ นรปู แบบ
ของตวั เงนิ หรอื ทรัพยส์ ินดว้ ย ทง้ั น้ี John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจ้ ำ� แนกรปู แบบของ
การขัดกันระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ออกเป็น ๗ รปู แบบ คือ
๑) การรับผลประโยชน์ตา่ ง ๆ (Accepting benefits) เชน่ การรบั ของขวญั จากบริษัทธุรกจิ
บริษัทขายยาหรืออุปกรณ์การแพทย์สนับสนุนค่าเดินทางให้ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีไปประชุมเร่ือง
อาหารและยาท่ีต่างประเทศ หรือหน่วยงานราชการรับเงินบริจาคสร้างส�ำนักงานจากธุรกิจที่เป็นลูกค้า
ของหนว่ ยงาน หรือแมก้ ระท่งั ในการใช้งบประมาณของรฐั เพือ่ จัดซอ้ื จัดจา้ งแลว้ เจ้าหน้าทไี่ ด้รบั ของแถม
หรือประโยชน์อืน่ ตอบแทน เป็นตน้
๒) การท�ำธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) หมายถึง
สถานการณท์ ผี่ ดู้ �ำรงตำ� แหนง่ สาธารณะ มีส่วนได้เสียในสญั ญาทที่ ำ� กบั หน่วยงานทีต่ นสงั กัด ตวั อย่างเชน่
การใช้ต�ำแหน่งหน้าที่ท�ำให้หน่วยงานท�ำสัญญา ซื้อสินค้าจากบริษัทของตนเอง หรือจ้างบริษัทของตน
เป็นที่ปรึกษา หรือซ้ือท่ีดินของตนเองในการจัดสร้างส�ำนักงาน สถานการณ์เช่นน้ีเกิดบทบาทที่ขัดแย้ง
เช่น เป็นทัง้ ผู้ซอื้ และผู้ขายในเวลาเดียวกนั

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 15

๓) การท�ำงานหลงั จากออกจากต�ำแหนง่ หนา้ ทส่ี าธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ (Post -employment)
หมายถงึ การทีบ่ คุ คลลาออกจากหน่วยงานของรฐั และไปท�ำงานในบรษิ ัทเอกชนทีด่ �ำเนินธรุ กิจประเภท
เดียวกัน เช่น ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีขององค์การอาหารและยา ลาออกจากงานราชการและไปท�ำงาน
ในบริษัทผลิตหรือขายยา หรือผู้บริหารกระทรวงคมนาคมหลังเกษียณออกไปท�ำงานเป็นผู้บริหารของ
บรษิ ทั ธรุ กจิ สอื่ สาร
๔) การท�ำงานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบนี้
มไี ด้หลายลกั ษณะ เช่น ผู้ด�ำรงตำ� แหน่งสาธารณะตงั้ บริษัทด�ำเนนิ ธุรกิจ ทีเ่ ป็นการแข่งขันกบั หนว่ ยงาน
หรือองค์การสาธารณะที่ตนสังกัด หรือการรับจ้างเป็นท่ีปรึกษาโครงการ โดยอาศัยต�ำแหน่งในราชการ
สรา้ งความนา่ เชอ่ื ถอื วา่ โครงการของผวู้ า่ จา้ งจะไมม่ ปี ญั หาตดิ ขดั ในการพจิ ารณาจากหนว่ ยงานทที่ ป่ี รกึ ษา
สังกัดอยู่ หรือในกรณีท่ีเป็นผู้ตรวจสอบบัญชีของกรมสรรพากร ก็รับงานพิเศษเป็นท่ีปรึกษาหรือ
เปน็ ผทู้ ำ� บัญชใี ห้กบั บริษัทที่ตอ้ งถกู ตรวจสอบ
๕) การรขู้ อ้ มลู ภายใน (Inside information) หมายถงึ สถานการณท์ ผี่ ดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ สาธารณะ
ใช้ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลภายในเพ่ือประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่ามีการตัดถนนผ่านบริเวณใด
ก็จะเข้าไปซ้ือที่ดินนั้นในนามของภรรยา หรือทราบว่าจะมีการซ้ือขายท่ีดินเพ่ือท�ำโครงการของรัฐ
กจ็ ะเขา้ ไปซอ้ื ท่ีดินนน้ั เพอ่ื เก็งก�ำไรและขายให้กบั รฐั ในราคาท่สี ูงข้นึ
๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพ่ือประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s
property for private advantage) เช่น การนำ� เคร่ืองใช้สำ� นักงานตา่ ง ๆ กลบั ไปใชท้ ี่บ้าน การน�ำ
รถยนตร์ าชการไปใชใ้ นงานส่วนตวั
๗) การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตงั้ เพอ่ื ประโยชนท์ างการเมอื ง (Pork - barreling)
เช่น การทรี่ ัฐมนตรีอนุมตั ิโครงการไปลงพื้นที่หรอื บา้ นเกิดของตนเอง หรอื การใช้งบประมาณสาธารณะ
เพือ่ หาเสยี ง
เมื่อพิจารณา “ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม พ.ศ. ....” ตามมาตรา ๕
๘) การใช้ต�ำแหน่งหน้าท่ีแสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรือ
อาจจะเรียกว่าระบบอุปถัมภ์พิเศษ เช่น การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ใช้อิทธิพลหรือใช้อ�ำนาจหน้าที่ท�ำให้
หน่วยงานของตนเข้าท�ำสญั ญากับบริษัทของพ่นี อ้ งของตน
๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอ่ืน
(influence) เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์แกต่ นเองหรือพวกพ้อง เช่น เจ้าหน้าท่ีของรฐั ใชต้ �ำแหนง่ หนา้ ทข่ี ่มขู่
ผู้ใต้บงั คับ บัญชาใหห้ ยดุ ท�ำการตรวจสอบบริษัทของเครอื ญาติของตน
16 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

ดังน้ัน จึงสามารถสรุปรูปแบบของการกระท�ำที่เข้าข่ายเป็นการขัดกันระหว่างผลประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม (Conflict of Interests) เป็น ๙ รปู แบบ ดงั นี้

๑ การรบั ผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting benefits)
๒ การท�ำธรุ กจิ กับตนเอง (Self-dealing) หรอื เป็นค่สู ัญญา (Contracts)
๓ การท�ำงานหลังจากออกจากต�ำแหนง่ หนา้ ท่สี าธารณะ หรือหลงั เกษียณ

(Post - employment)

๔ การท�ำงานพิเศษ (Outside employment or moonlighting)
๕ การร้ขู ้อมลู ภายใน (Inside information)
๖ การใช้ทรพั ย์สนิ ของราชการเพือ่ ประโยชนธ์ รุ กิจส่วนตัว

(Using your employer’s property for private advantage)

๗ การน�ำโครงการสาธาณะในเขตเลอื กตง้ั เพ่อื ประโยชนท์ างการเมือง
(Pork - barreling)

๘ การใชต้ �ำแหน่งหน้าทแ่ี สวงหาประโยชน์แก่เครอื ญาตหิ รอื พวกพ้อง
(Nepotism)

๙ การใชอ้ ิทธพิ ลเข้าไปมผี ลต่อการตัดสินใจของเจา้ หนา้ ที่รฐั หรือหน่วยงานของรัฐอืน่
(Influence)

ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ 17

แผนการจดั การเรยี นรู้

หนว่ ยท่ี ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๔ เรอื่ ง กฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การทุจริต เวลา ๒ ชวั่ โมง

๑. ผลการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ นักเรียนสามารถบอกประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) ได้
๒.๒ นกั เรยี นสามารถอภปิ รายประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔ ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑)
๒) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร
๒) ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์
๓.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/ค่านยิ ม
มงุ่ มั่นในการท�ำงาน
๔. กิจกรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนร/ู้ ขั้นตอนการจัดประสบการณ์
ช่ัวโมงท่ี ๑
๑. แบ่งนักเรียนออกเปน็ ๔ กลุ่ม กลมุ่ ละเท่า ๆ กนั ใหน้ ักเรยี นค้นหากฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง
กบั การทจุ ริต ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) แล้วสรุปข้อมูลทไ่ี ดล้ งสมุดบนั ทกึ
ชั่วโมงที่ ๒
๒. นักเรียนสัมมนาวิเคราะห์ข้อมูลจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔ แล้วเขียนผังความคิดจากข้อมูลที่ได้ลง
ในกระดาษฟลิปชารท์

18 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

๓. นำ� เสนอผลงาน เรอื่ งกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การทจุ รติ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑
(๑) และ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรา ๔ จากกระดาษฟลปิ ชารท์
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการทุจริต ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑ (๑) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔
- นักเรียนยกตัวอย่างแนวทางการแก้ปัญหาการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับ
การทจุ รติ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในชีวติ ประจำ� วันหรือเหตุการณ์ท่นี กั เรียนเคยพบเห็นมา
๔.๒ สอ่ื การเรยี นร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้
๑) หอ้ งสมดุ
๒) อินเทอรเ์ น็ต
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
- ตรวจผลงานการเขยี นผงั ความคิด
- สงั เกตพฤติกรรมมงุ่ มนั่ ในการท�ำงาน
๕.๒ เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ
- แบบใหค้ ะแนนการตรวจผลงานแผนผงั ความคิด
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมมุง่ มัน่ ในการท�ำงาน
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สิน
- ผ่านเกณฑก์ ารประเมินได้คะแนนระดับดีข้ึนไป
- ผา่ นเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมระดับดีขึน้ ไป
๖. บันทกึ หลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..............................................ครูผูส้ อน
(..................................................)

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ 19

๗. ภาคผนวก

แบบให้คะแนนการตรวจผลงานผังความคิดวิเคราะห์ข้อมลู จาก
พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ

พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๔

ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ /............. กลุ่มท่.ี ......................

ค�ำชแ้ี จง ทำ� เครอ่ื งหมาย � ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑก์ ารประเมนิ

เลขที่ ชือ่ - สกุล สรปุ ความรคู้ รบถว้ น เช่อื มโยงความรู้กับ รูปแบบเป็นไปตาม รวม
ถูกตอ้ งทุกประเดน็ ประสบการณ์ของตน หลักการท�ำแผนผัง
ได้ถูกตอ้ งตามล�ำดับ
ความคิด

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน











เกณฑ์การใชค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เท่ากบั ดมี าก
๓ คะแนน เท่ากบั ดี ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
๒ คะแนน เท่ากบั พอใช้
๑ คะแนน เทา่ กับ ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๒ ดมี าก

๗ - ๙ ดี

๔ - ๖ พอใช้

๑ - ๓ ปรับปรงุ

ลงชอื่ .................................................ครูผปู้ ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............
20 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกนั การทุจริต”

แบบสังเกตพฤติกรรม
“มงุ่ มัน่ ในการทำางาน”

คำาชแ้ี จง ท�ำเคร่ืองหมำย � ในช่องทีต่ รงกับควำมเป็นจรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ

เกณฑ์การประเมิน (ใช้ขอ้ มูลจำกกำรสงั เกตตำมสภำพจรงิ ของครผู ู้สอน)

เลขท่ี ชื่อ - สกุล ต้ังใจและรบั ผิดชอบ ทำางานดว้ ยความเพยี ร รวม
ในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ีการงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเรจ็ ตามเป้าหมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน











เกณฑ์การใช้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ
๔ คะแนน เทำ่ กบั ดีมำก
๓ คะแนน เทำ่ กับ ดี ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ำกับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกบั ปรับปรงุ ๗ - ๘ ดมี ำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรับปรุง

ลงชือ่ .................................................ครูผูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............

ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ 21

แผนการจัดการเรยี นรู้

หน่วยที่ ๑ ชอื่ หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เร่อื ง ผลประโยชนท์ ับซ้อน (โลก) เวลา ๔ ช่ัวโมง

๑. ผลการเรยี นรู้
มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ นกั เรยี นสามารถบอกกฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นและเสนอแนวทางแกป้ ญั หา
ผลประโยชนท์ ับซอ้ นได้
๒.๒ นกั เรยี นสามารถบอกลกั ษณะของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นและรปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นได้
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) กฎหมายที่เก่ียวข้องกบั ผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๒) รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (โลก)
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
๑) ความสามารถในการส่ือสาร
๒) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์
๓.๓ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค/์ คา่ นิยม
มุ่งมนั่ ในการท�ำงาน
๔. กิจกรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขนั้ ตอนการเรียนรู้/ข้นั ตอนการจดั ประสบการณ์
ช่ัวโมงท่ี ๑
๑. แบง่ นกั เรียนออกเปน็ ๔ กลมุ่ กลุม่ ละเทา่ ๆ กนั ใหน้ ักเรยี นศึกษากฎหมายทเี่ กยี่ วกบั
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (โลก) มหี วั ขอ้ ยอ่ ย คอื ลกั ษณะการเกดิ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ความคดิ ของคนทม่ี สี ว่ น
เก่ียวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ผลกระทบจากผลประโยชน์ทับซ้อน และแนวทางการแก้ไขปัญหา
แลว้ สรุปข้อมลู ทีไ่ ดล้ งสมุดบันทึก
ชั่วโมงท่ี ๒
๒. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสัมมนารปู แบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น (โลก) แล้วเขียนผงั ความคิด
จากข้อมูลท่ีไดล้ งในกระดาษฟลปิ ชารท์
๓. น�ำเสนอผลงาน เร่อื ง ผลประโยชนท์ ับซอ้ น (โลก) จากกระดาษฟลิปชารท์

22 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะของผลประโยชน์ทับซ้อน (โลก) และแนวทาง
การแกไ้ ข
- ลกั ษณะของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น คอื ตา่ งฝา่ ยตา่ งไดผ้ ลประโยชนเ์ ออ้ื กนั แตม่ บี างฝา่ ย
เสียประโยชนท์ ่ไี ด้รับความเดอื ดร้อน
- แนวทางการแก้ไข คอื ต้องปรบั ความคดิ จากคดิ ฐาน ๑๐ เปน็ ฐาน ๒ โดยครทู บทวน
ความร้เู ดิมการคิดฐาน ๑๐ และ ฐาน ๒ ใหน้ ักเรยี นเพิม่ เตมิ
- นกั เรยี นยกตวั อยา่ งแนวทางการแกป้ ญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทเี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจำ� วนั
หรือเหตกุ ารณท์ นี่ กั เรียนเคยพบเหน็ มา
ชว่ั โมงท่ี ๓
๕. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อนมาคนละ ๓ แบบ
ครูต้ังคำ� ถามดังนี้
๕.๑ จงยกตวั อยา่ ง รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน
๕.๒ รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทมี่ ผี ลเสยี มากทส่ี ดุ คอื รปู แบบใดและเพราะเหตใุ ด
จงึ เป็นเชน่ นนั้
ครูและนักเรียนร่วมกันสรปุ ไดว้ ่ารปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน คือ ช่องทางการเกิด
ผลประโยชนท์ ับซ้อน มี ๗ รูปแบบ
๖. แบง่ นกั เรยี นออกเป็น ๒ กลุ่ม กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน คดิ บทบาทสมมติใช้เวลาแสดง ๑๐ นาที
ในหวั ขอ้ คอื “การปอ้ งกนั ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในรปู แบบตา่ งๆ” (กลุม่ ละ ๒ – ๓ รูปแบบ)
ชว่ั โมงท่ี ๔
๗. ให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติทีละกลุ่ม แล้วให้กลุ่มท่ีไม่ได้แสดงวิเคราะห์กลุ่มที่แสดง
ตามแบบประเมินการแสดงบทบาทสมมติ
๘. ครูและนักเรยี นช่วยกนั วเิ คราะหแ์ ละสรุปรปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อนและแนวทาง
การแก้ไขปญั หา
๘.๑ รูปแบบของผลประโยชน์ทับซ้อน คือ ช่องทางการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน
มี ๙ รปู แบบ
๘.๒ แนวทางการแก้ไขปัญหา คือ การก�ำหนดคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์หรือคุณสมบัติ
ต้องห้าม การเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับทรัพย์สิน หน้ีสินและธุรกิจของครอบครัวให้สาธารณะทราบ
การกำ� หนดขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ทิ างจรยิ ธรรม ขอ้ กำ� หนดเกย่ี วกบั การทำ� งานหลงั พน้ ตำ� แหนง่ ในหนา้ ทท่ี างราชการ
๔.๒ สอื่ การเรยี นร้/ู แหล่งการเรียนรู้
๑) กฎหมายทเี่ ก่ียวกบั “ผลประโยชน์ทับซ้อน”
๒) ใบความรูเ้ รอื่ ง รปู แบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
๓) กระดาษฟลิปชาร์ท

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ 23

๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมิน
- ตรวจผลงานการเขยี นผงั ความคดิ
- สังเกตพฤตกิ รรมมงุ่ ม่นั ในการท�ำงาน
๕.๒ เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการประเมิน
- แบบประเมินผลงานแผนผงั ความคิด
- แบบสังเกตพฤตกิ รรมมงุ่ มัน่ ในการทำ� งาน
๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน
- ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ไดค้ ะแนนระดบั ดีข้ึนไป
- ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ พฤติกรรมระดับดขี ึน้ ไป
๖. บันทึกหลังสอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..............................................ครผู ู้สอน
(..................................................)

24 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

แบบให้คะแนนการตรวจผลงานแผนผงั ความคิดผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (โลก)

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ /............. กลุ่มที่.......................

ค�ำชีแ้ จง ทำ� เครอ่ื งหมาย � ลงในชอ่ งคะแนนตามเกณฑ์การประเมนิ

เลขที่ ชอ่ื - สกุล สรุปความรคู้ รบถว้ น เชื่อมโยงความร้กู บั รูปแบบเปน็ ไปตาม รวม
ถกู ตอ้ งทกุ ประเด็น ประสบการณข์ องตน หลักการท�ำแผนผัง
ได้ถูกต้องตามล�ำดบั
ความคดิ

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑๒ คะแนน











เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เทา่ กับ ดีมาก
๓ คะแนน เท่ากบั ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๒ คะแนน เท่ากับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ากบั ปรบั ปรุง ๑๐ - ๑๒ ดมี าก

๗ - ๙ ดี

๔ - ๖ พอใช้

๑ - ๓ ปรับปรงุ

ลงชอ่ื .................................................ครผู ้ปู ระเมิน
(.................................................)
................/................/...............

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ 25

แบบสงั เกตพฤติกรรม
“ม่งุ มัน่ ในการทำางาน”

คาำ ช้แี จง ท�ำเครอ่ื งหมำย � ในช่องทีต่ รงกบั ควำมเปน็ จรงิ ตำมเกณฑก์ ำรประเมนิ

เกณฑ์การประเมิน (ใชข้ ้อมูลจำกกำรสงั เกตตำมสภำพจริงของครผู ูส้ อน)

เลขที่ ชื่อ - สกลุ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ทาำ งานด้วยความเพียร รวม
ในการปฏิบตั ิหน้าทกี่ ารงาน พยายาม และอดทนเพื่อให้
งานสำาเรจ็ ตามเป้าหมาย

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๘ คะแนน











เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
๔ คะแนน เท่ำกับ ดมี ำก
๓ คะแนน เทำ่ กบั ดี ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ
๒ คะแนน เทำ่ กับ พอใช้
๑ คะแนน เท่ำกับ ปรบั ปรงุ ๗ - ๘ ดีมำก

๕ - ๖ ดี

๓ - ๔ พอใช้

๑ - ๒ ปรบั ปรงุ

ลงชือ่ .................................................ครผู ูป้ ระเมนิ
(.................................................)
................/................/...............

26 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”

ใบความรู้ เรอ่ื ง รูปแบบของผลประโยชน์ทับซอ้ น

รูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น แบง่ ออกเปน็ ๗ รูปแบบ ไดแ้ ก่
๑. การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting benefits) คือ การรบั สินบน หรือรบั ของขวญั หรือ
ผลประโยชน์ในรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีไม่เหมาะสมและมีผลต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เช่น หน่วยงาน
ราชการรับเงินบริจาคสร้างส�ำนักงานจากนักธุรกิจหรือบริษัทธุรกิจท่ีเป็นคู่สัญญากับหน่วยงาน การใช้
งบประมาณของรัฐเพ่ือจัดซ้ือจัดจ้างแล้วเจ้าหนา้ ทีไ่ ด้รับของแถมหรอื ผลประโยชน์อื่นตอบแทน
๒. การทำ� ธรุ กจิ กบั ตวั เอง (Self - dealing) หรอื เปน็ คสู่ ัญญา (Contracts) หมายถึง สถานการณ์
ที่เจา้ หน้าที่ของรฐั มสี ว่ นได้เสียในสัญญาทท่ี �ำกับหนว่ ยงานทต่ี นสังกดั เช่น การใชต้ �ำแหนง่ หน้าทท่ี ี่ท�ำให้
หน่วยงานท�ำสญั ญาซ้ือสนิ คา้ จากบริษทั ของตนเอง หรือจา้ งบริษัทของตนเองเปน็ ทปี่ รกึ ษา หรอื ซื้อทีด่ นิ
ของตนเองในการจดั สร้างสำ� นกั งาน
๓. การท�ำงานหลังจากออกจากต�ำแหน่งสาธารณะหรือหลังเกษียณ (Post - employment)
หมายถงึ การทบ่ี ุคลากรออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทำ� งานในบริษทั เอกชนทด่ี ำ� เนินธุรกจิ ประเภท
เดยี วกับท่ตี นเองเคยมอี ำ� นาจควบคมุ ก�ำกบั ดแู ล
๔. การทำ� งานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) เชน่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ตง้ั บรษิ ทั
ดำ� เนนิ ธรุ กจิ ทเี่ ปน็ การแขง่ ขนั กบั หนว่ ยงานหรอื องคก์ รสาธารณะทต่ี นสงั กดั หรอื การรบั จา้ งเปน็ ทปี่ รกึ ษา
โครงการ โดยอาศยั ต�ำแหนง่ ในราชการสรา้ งความนา่ เชอื่ ถือวา่ โครงการของผู้วา่ จา้ งจะไม่มีปญั หาติดขัด
ในการพิจารณาจากหน่วยงานทีต่ นสงั กัดอยู่
๕. การรบั รขู้ อ้ มลู ภายใน (Inside information) หมายถงึ สถานการณท์ ผี่ ดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ สาธารณะ
ใช้ประโยชน์จากการรู้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนเอง เช่น ทราบว่าจะมีการตัดถนนไปตรงไหน
ก็รีบไปซื้อที่ดินโดยใส่ชื่อภรรยา หรือทราบว่าจะมีการซื้อท่ีดินเพื่อท�ำโครงการของรัฐก็รีบไปซ้ือท่ีดิน
เพ่อื เกง็ กำ� ไรและขายใหก้ บั รฐั ในราคาทีส่ ูงข้นึ
๖. การใช้ทรัพย์สินของหน่วยงานเพ่ือประโยชน์ของธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s
property for private advantage) เชน่ การนำ� เครอื่ งใชส้ ำ� นกั งานตา่ ง ๆ กลบั ไปใชท้ บ่ี า้ น การนำ� รถยนต์
ในราชการไปใช้เพือ่ งานส่วนตวั
๗. การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพื่อประโยชน์ในทางการเมือง (Pork - belling)
เช่น การท่ีรัฐมนตรีอนุมัติโครงการของกระทรวงไปลงในพื้นที่หรือบ้านเกิดของตนเอง หรือการใช้
งบประมาณสาธารณะเพ่ือการหาเสยี งเลือกตัง้
เมอ่ื พจิ ารณา “รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยความผดิ เกย่ี วกบั การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน์
สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. ....” ตามมาตรา ๕ จะมีอกี ๒ รปู แบบ คอื

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ 27

๘. การใช้ต�ำแหน่งหน้าที่แสวงหาประโยชน์แก่เครอื ญาตหิ รอื พวกพ้อง (Nepotism) หรืออาจจะ
เรยี กว่าระบบอปุ ถัมภ์พเิ ศษ เช่น การท่ีเจา้ หนา้ ที่ของรัฐ ใช้อิทธพิ ลหรือใช้อ�ำนาจหนา้ ทที่ ำ� ให้หนว่ ยงาน
ของตนเขา้ ท�ำสัญญากับบริษทั ของพ่นี ้องของตน
๙) การใชอ้ ทิ ธพิ ลเขา้ ไปมผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจของเจา้ หนา้ ทร่ี ฐั หรอื หนว่ ยงานของรฐั อน่ื (influence)
เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเองหรอื พวกพอ้ ง เชน่ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ใชต้ ำ� แหนง่ หนา้ ทข่ี ม่ ขผู่ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา
ให้หยุดทำ� การตรวจสอบบรษิ ัทของเครือญาตขิ องตน
จากรปู แบบประเภทตา่ ง ๆ ของปญั หาความขดั แยง้ กนั ในประโยชนส์ ว่ นตวั และประโยชนส์ ว่ นรวม
จะเห็นว่าโอกาสความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดปัญหามีสูงมากเพราะปัญหาดังกล่าวมีขอบเขตครอบคลุม
พฤตกิ รรมทเ่ี ขา้ ข่ายความขดั แย้งอย่างกวา้ งขวาง ดงั นนั้ กลไกหรอื เครอื่ งมือสว่ นใหญท่ ี่ใช้ในการจดั การ
กบั ปญั หา ความขัดแย้ง ของผลประโยชนส์ ว่ นตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม คอื การมีหลกั คณุ ธรรมและ
จรยิ ธรรม ในการทำ� งานของบคุ คลสาธารณะ รวมถงึ การมกี ฎหมายทส่ี ามารถครอบคลมุ ถงึ การกระทำ� ผดิ
เกี่ยวกบั ผลประโยชน์ทับซ้อนทกุ รปู แบบ
28 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

แผนภาพรูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน

การรับประโยชน์ตา่ งๆ รับของขวญั /เงินสนบั สนนุ /
(Accepting benefits) เงนิ บริจาคจากลูกค้าของหน่วยงาน

การทำ� ธุรกจิ กับตวั เอง (Self-dealing) มสี ว่ นไดเ้ สียในสัญญา
หรือเปน็ ค่สู ัญญา (Contracts) ท่ีท�ำกบั หน่วยงานตน้ สังกัด

การทำ� งานหลงั จากออกจากตำ� แหน่ง ลาออกจากหนว่ ยงานเพ่ือไปท�ำงานในหน่วย
สาธารณะหรอื หลังเกษยี ณ งานท่ดี �ำเนนิ ธุรกิจประเภทเดียวกัน
(Post-employment)

การท�ำงานพเิ ศษ ตง้ั บรษิ ทั ดำ� เนินธุรกิจที่แขง่ ขนั
(Outside employment or moonlighting) หรือรับงานจากหน่วยงานตน้ สงั กัด

การรับรู้ขอ้ มลู ภายใน ใช้ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู ภายใน
(Inside information) เพือ่ ประโยชน์ของตนเอง
การใชส้ มบตั ขิ องหน่วยงานเพ่ือประโยชน์ น�ำทรัพยส์ ินของหนว่ ยงาน
ไปใช้ในงานสว่ นตัว
ของธุรกิจส่วนตัว
(Using your employer’s property

for private advantage)

การนำ� โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตัง้ รฐั มนตรอี นุมตั โิ ครงการไปลงในพื้นทต่ี นเอง
เพื่อประโยชน์ในทางการเมือง (Pork-belling) หรอื การใชง้ บสาธารณะ เพอื่ หาเสียง

การใช้ต�ำแหน่งหนา้ ทแ่ี สวงหาประโยชนแ์ ก่ เจ้าหน้าทีข่ องรฐั ใช้อทิ ธิพลหรือใชอ้ �ำนาจ
เครอื ญาติหรอื พวกพ้อง (Nepotism) หนา้ ทใี่ ห้หน่วยงานของตนเขา้ ทำ� สัญญากบั
การใช้อทิ ธพิ ลเข้าไปมีผลต่อการตัดสนิ ใจ
บริษัทพ่ีน้องของตน
ของเจา้ หน้าท่รี ัฐ หรือหนว่ ยงานของรัฐอ่นื เจ้าหน้าท่ีของรัฐใชต้ ำ� แหน่งหนา้ ที่ข่มขู่
(influence) ผใู้ ต้บงั คบั บัญชาให้หยดุ ท�ำการตรวจสอบ

บรษิ ัทของเครอื ญาติของตน

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ 29

หน่วยที่ ๒

ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต

แผนการจัดการเรียนรู้

หน่วยท่ี ๒ ชอื่ หน่วย ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ เวลา ๔ ชว่ั โมง
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ
๑.๒ ปฏิบตั ติ นเป็นผู้ละอายและไมท่ นตอ่ การทุจรติ ทุกรูปแบบ
๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำคัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นกั เรยี นสามารถอธิบายความหมาย รปู แบบ และสาเหตขุ องการทุจรติ ได้
๒.๒ นกั เรียนสามารถอธบิ ายความหมายของความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริตได้
๒.๓ นกั เรยี นสามารถยกตัวอยา่ งการปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ละอายและไม่ทนตอ่ การทุจริตได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) ความหมายของรปู แบบและสาเหตุของการทุจริต
๒) ความหมายของ “ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต”
๓) ตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการทุจริตที่เกิดข้ึนในประเทศไทยและส่งผลกระทบ
ตอ่ ต่างประเทศและโลก
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ ขึ้น)
๑) ความสามารถในการส่อื สาร
๒) ความสามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
๓.๓ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์/ค่านยิ ม
มุ่งมัน่ ในการทำ� งาน
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่ ๑
๑) นักเรียนดูคลปิ วิดโี อ เรื่อง Say no corruption Say, no to compromise ซ่ึงเป็น
การวาดภาพเพอ่ื สื่อถึงการทุจรติ ในรปู แบบต่าง ๆ

30 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกันการทุจริต”

๒) นักเรียนรว่ มกันอภิปรายสาเหตทุ ีท่ �ำให้คนเราต้องทุจรติ
๓) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสาเหตุที่แท้จริงของการทุจริตว่า “สาเหตุของการทุจริต
เกิดจากการที่คนขาดความละอายต่อการทุจรติ ” และ “ตัวเรายังทนต่อการทจุ รติ ของผู้อน่ื ได”้
๔) นักเรยี นแบง่ กลุม่ ออกเปน็ ๕ กลมุ่ ศึกษาใบความรู้ ๕ ฐาน (ฐานละ ๓ นาที รวม ๑๕
นาที แตล่ ะกลุ่มวนไปแต่ละฐาน) ดงั นี้
ใบความรู้ ฐานที่ ๑ ความหมายของการทจุ รติ
ใบความรู้ ฐานที่ ๒ รูปแบบของการทุจรติ
ใบความรู้ ฐานท่ี ๓ สาเหตขุ องการทจุ รติ
ใบความรู้ ฐานท่ี ๔ ความหมายของความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ
ใบความรู้ ฐานท่ี ๕ ตวั อย่างความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ
๕) นกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรู้เปน็ แผนผงั ความคดิ ลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ท
๖) ตัวแทนกลมุ่ น�ำเสนอแผนผงั ความคดิ ของตนเองหนา้ ชั้นเรียน ครูใหค้ ำ� แนะนำ� เพม่ิ เตมิ
๗) ตวั แทนกลุ่มน�ำแผนผังความคิดติดไวร้ อบหอ้ งเรยี น
ชว่ั โมงท่ี ๒
๘) ครูเชื่อมโยงตัวอย่างการทุจริตที่เป็นเร่ืองใกล้ตัวของนักเรียน คือ การทุจริตในการสอบ
โดยนักเรยี นดคู ลปิ วดิ ีโอจากเว็บไซตย์ ทู ปู เร่อื ง “๑๖ วิธโี กงข้อสอบสดุ เทพ ที่เหล่านกั เรียนจะตอ้ งคิดได้
ยังไงเนีย่ !!” (เวลา ๕ นาที)
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมพลังความคิด ประเด็น “การละอายและแสดงออกถึงการเป็น
ผูไ้ ม่ทนตอ่ การทุจริตในการสอบ” ซ่ึงแต่ละกลมุ่ จะมปี ระเดน็ ยอ่ ยทีแ่ ตกต่างกนั ดงั นี้
กลุ่มท่ี ๑ นักเรียนจะท�ำอย่างไร เม่ือรู้มาว่าเพื่อนในห้องส่วนใหญ่วางแผนจะทุจริต
ในการสอบและไดช้ วนให้นกั เรยี นเขา้ รว่ มกระบวนการทุจรติ ดว้ ย
กลมุ่ ท่ี ๒ นกั เรยี นจะทำ� อยา่ งไร เมอ่ื เพอ่ื นคนหนงึ่ ไมร่ ะมดั ระวงั ในการวางกระดาษคำ� ตอบ
ท�ำให้นักเรียนมองเห็นค�ำตอบของเพ่ือน นอกจากน้ีนักเรียนยังเห็นเพ่ือนคนอ่ืนแอบช�ำเลืองมองค�ำตอบ
ของเพือ่ นคนน้ันด้วย
กลุ่มท่ี ๓ นักเรียนจะท�ำอย่างไร เม่ือขณะท�ำข้อสอบ เพ่ือนสนิทแอบสะกิดนักเรียน
เพอ่ื ถามค�ำตอบ
กลุ่มที่ ๔ นักเรียนจะท�ำอย่างไร เมื่อนักเรียนเรียนไม่เข้าใจ และไม่ได้เตรียมตัวส�ำหรับ
การสอบ เมื่อถึงเวลาสอบ คุณครูคุมสอบต้องเข้าห้องน�้ำกะทันหัน คุณครูคุมสอบส�ำรองยังเดินทาง
มาไมถ่ งึ เพอ่ื นสนทิ ของนกั เรียนกลวั วา่ นักเรียนจะสอบตก จงึ ย่ืนกระดาษคำ� ตอบของตนมาใหล้ อก
กลุม่ ท่ี ๕ นกั เรียนจะทำ� อยา่ งไร เมื่อหมดเวลาสอบ นกั เรยี น และเพอ่ื น ๆ ส่วนใหญ่ยงั ท�ำ
ข้อสอบไม่เสรจ็ หวั หน้าหอ้ งจึงขอต่อเวลากบั ครูคมุ สอบ ประกอบกบั ครคู มุ สอบมีทา่ ทอี นุโลมให้ทำ� ตอ่ ได้
ให้แตล่ ะกล่มุ บนั ทกึ ผลการระดมพลงั ความคิดลงในใบกิจกรรม

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ 31

๑๐) ตวั แทนกลมุ่ นำ� เสนอผลการระดมพลงั ความคดิ หนา้ ชน้ั เรยี น กลมุ่ ละ ๓ นาที เมอ่ื จบ ๑ กลมุ่
ให้นกั เรียนกลุ่มอ่ืน ๆ เสนอความคดิ เห็นเพมิ่ เติมอกี ๓ นาที (๓๐ นาที)
๑๑) นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ความคิดประเด็น ความหมายรูปแบบ สาเหตุ
ของ “การทุจริต” ความหมายและตวั อยา่ งของ “ความไม่ทนและละอายตอ่ การทุจรติ ”
ช่วั โมงที่ ๓
๑๒) นกั เรียนชมคลปิ วดิ โี อรายงานข่าว “กกต. ใชย้ าแรงแก้ทุจรติ เลอื กตัง้ ” มีเนื้อหากล่าวถงึ
ร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส. ประเด็นโทษความผิดของผู้สมัคร ส.ส.
ทก่ี ระท�ำการทจุ ริตเลือกต้งั โดยมกี ารแบง่ โทษความผิดไว้ ๔ ระดบั คอื ใบเหลือง ใบส้ม ใบแดง และใบด�ำ
๑๓) นกั เรยี นตอบคำ� ถามคิดวิเคราะห์ ดังนี้
- การทจุ ริตการเลือกตงั้ ทางการเมอื งสง่ ผลตอ่ นักเรียน ประเทศ และโลกอยา่ งไรบา้ ง
- การแก้ปัญหาโดยแบ่งโทษความผิด เป็นการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ หรือปลายเหตุ
เพราะเหตใุ ด
- การปอ้ งกนั การทุจรติ การเลือกต้งั ท�ำได้อย่างไรบา้ ง
(หมายเหตุ ครอู าจใหน้ กั เรยี นคน้ ควา้ ค�ำตอบจากแหล่งข้อมลู อนื่ ๆ หรือคน้ คว้าเพิ่มเตมิ เก่ยี วกับ วธิ กี าร
ทุจริตการเลือกต้ังเพื่อให้นักเรียนคิดวิเคราะห์แนวทางการป้องกันการทุจริตการเลือกตั้งได้) จากน้ันครู
กลา่ วเชื่อมโยงเรอื่ งการป้องกันการทุจริตการเลือกต้งั โดยใช้ “การลงโทษทางสงั คม”
ช่ัวโมงที่ ๔
๑๔) นักเรยี นศกึ ษาใบความรูเ้ ร่อื ง “การลงโทษทางสังคม” แลว้ ตอบคำ� ถาม ดังนี้
- การลงโทษทางสังคม หมายถึงอะไร
- การลงโทษทางสงั คมมกี ีด่ ้าน อะไรบา้ ง และอธบิ ายพอสงั เขป
จากนนั้ ครูอธบิ ายเพิม่ เติม
๑๕) นักเรียนแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๕ กลุ่ม ค้นคว้า “ตัวอย่างการลงโทษทางสังคม” จากสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรอู้ ่นื ๆ เช่น หอ้ งสมุด แลว้ บนั ทกึ ลงในแบบบันทึกกจิ กรรมศกึ ษาค้นคว้า
๑๖) นักเรียนทุกกลุ่มน�ำเสนอผลการค้นคว้า หลังจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุป
การลงโทษทางสังคม
๔.๒ สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
๑) คลิปวดิ โี อ เรือ่ ง Say no corruption Say, no to compromise ซึ่งเปน็ การวาดภาพ
เพอ่ื สอ่ื ถึงการทจุ รติ ในรปู แบบต่าง ๆ (๓.๒๑ นาท)ี
๒) คลปิ วดิ โี อ หวั ขอ้ ๑๖ วธิ โี กงขอ้ สอบสดุ เทพ ทเี่ หลา่ นกั เรยี นจะตอ้ งกราบ คดิ ไดย้ งั ไงเนย่ี !!
(เวลา ๓.๑๙ นาที) “๑๖ วธิ โี กงขอ้ สอบสดุ เทพ ทเี่ หล่านักเรียนจะตอ้ งกราบ คิดไดย้ ังไงเน่ยี !!” (https://
www.youtube.com/watch?v=H14RYeFx3_E)
๓) ใบความรู้ ฐานที่ ๑ ความหมายของการทจุ ริต
๔) ใบความรู้ ฐานท่ี ๒ รปู แบบของการทจุ รติ
32 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทุจรติ ”

๕) ใบความรู้ ฐานที่ ๓ สาเหตขุ องการทจุ ริต
๖) ใบความรู้ ฐานท่ี ๔ ความหมายของความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ รติ
๗) ใบความรู้ ฐานที่ ๕ ตัวอยา่ งความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
๘) ใบกิจกรรมระดมพลังความคิดประเด็น “การละอายและแสดงออกถึงการเป็นผู้ไม่ทน
ต่อการทุจริตในการสอบ”
๙) ใบความรู้เรอ่ื ง “การลงโทษทางสังคม”
๑๐) แบบบันทกึ กจิ กรรมการศึกษาค้นควา้
๑๑) กระดาษฟลิปชาร์ท
๑๒) สีเมจิก
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
๑. ตรวจสอบผลงานการท�ำแผนผงั ความคดิ
๒. ตรวจสอบผลการระดมพลังความคิด “การละอายและแสดงออกถึงการเป็นผู้ไม่ทน
ต่อการทจุ ริตในการสอบ”
๓. สังเกตพฤตกิ รรม “มุ่งม่นั ในการท�ำงาน”
๕.๒ เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการประเมนิ
๑. แบบประเมนิ ผลงานแผนผงั ความคดิ
๒. แบบประเมนิ ผลการระดมพลังความคิด “การละอายและแสดงออกถงึ การเปน็ ผู้ไม่ทน
ตอ่ การทจุ ริตในการสอบ”
๓. แบบสังเกตพฤตกิ รรม “ม่งุ มั่นในการทำ� งาน”
๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ
- นกั เรยี นผา่ นการประเมนิ ทกุ กจิ กรรมรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จงึ จะถอื วา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ
- นกั เรยี นผา่ นการประเมินพฤตกิ รรม ระดบั ดขี ึ้นไปถอื ว่าผา่ น
๖. บันทึกหลงั สอน
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ..............................................ครูผู้สอน
(..................................................)

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ 33

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
ฐานที่ ๑ ความหมายของการทจุ ริต

๑.๑ การทจุ ริต
ปญั หำกำรทจุ รติ เปน็ ปญั หำทสี่ ำ� คญั ทงั้ ของประเทศไทยและประเทศอน่ื ๆ ทวั่ โลก ปญั หำกำรทจุ รติ
จะทำ� ใหเ้ กิดควำมเส่อื มในดำ้ นตำ่ ง ๆ เกิดขนึ้ ทง้ั สังคม เศรษฐกจิ กำรเมือง และนบั วันปญั หำดงั กลำ่ ว
ก็จะรุนแรงมำกข้ึน และมีรูปแบบกำรทุจริตที่ซับซ้อน ยำกแก่กำรตรวจสอบมำกขึ้น จำกเดิมท่ีกระท�ำ
เพยี งสองฝำ่ ย ปจั จบุ นั กำรทจุ รติ จะกระทำ� กนั หลำยฝำ่ ย ทงั้ ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ทำงกำรเมอื ง เจำ้ หนำ้ ทขี่ องรฐั
และเอกชน โดยประกอบด้วยสองสว่ นใหญ่ ๆ คือ ผู้ใหผ้ ลประโยชน์กบั ผู้รับผลประโยชน์ ซ่งึ ท้ังสองฝ่ำยนี้
จะมีผลประโยชน์ร่วมกัน ตรำบใดที่ผลประโยชน์สมเหตุสมผลต่อกัน ก็จะน�ำไปสู่ปัญหำกำรทุจริตได ้
บำงครงั้ ผทู้ ร่ี บั ผลประโยชน ์ กเ็ ปน็ ผใู้ หป้ ระโยชนไ์ ดเ้ ชน่ กนั โดยผรู้ บั ผลประโยชนแ์ ละผใู้ หผ้ ลประโยชน ์ คอื

๑. ผู้รับผลประโยชน์ จะเป็นเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ซึ่งมีอ�ำนำจหน้ำที่ในกำรกระท�ำ กำรด�ำเนินกำร
ตำ่ ง ๆ และรบั ประโยชน์จะเป็นไปในรปู แบบต่ำง ๆ เชน่ กำรจัดซ้ือจดั จำ้ ง กำรเรียกรบั ประโยชนโ์ ดยตรง
กำรกำ� หนดระเบยี บหรอื คุณสมบตั ทิ ่เี อ้ือต่อตนเองและพวกพ้อง

๒. ผู้ให้ผลประโยชน์ เช่น ภำคเอกชน โดยกำรเสนอผลตอบแทนในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น เงิน
สทิ ธพิ เิ ศษอนื่ ๆ เพอื่ จงู ใจใหน้ กั กำรเมอื ง เจำ้ หนำ้ ทขี่ องรฐั กระทำ� กำรหรอื ไมก่ ระทำ� กำรอยำ่ งใดอยำ่ งหนง่ึ
ในตำ� แหนง่ หนำ้ ที ่ ซ่งึ กำรกระทำ� ดังกล่ำวเป็นกำรกระท�ำที่ฝ่ำฝนื ต่อระเบยี บหรือผิดกฎหมำย เปน็ ตน้

๑.๑.๑ ทจุ ริต คืออะไร
ค�ำว่ำ ทุจริต มีกำรให้ควำมหมำยได้มำกมำย หลำกหลำย ขึ้นอยู่กับว่ำจะมีกำรให้
ควำมหมำยดังกล่ำวไว้ว่ำอยำ่ งไร โดยท่คี �ำว่ำทจุ ริตนั้น จะมีกำรใหค้ วำมหมำยโดยหน่วยงำนของรฐั หรอื
กำรใหค้ วำมหมำยโดยกฎหมำยซงึ่ ไมว่ ำ่ จะเปน็ กำรใหค้ วำมหมำยจำกแหลง่ ใด เนอื้ หำสำ� คญั ของคำ� วำ่ ทจุ รติ
กย็ งั คงมคี วำมหมำยทส่ี อดคลอ้ งกนั อย ู่ นน่ั คอื กำรทจุ รติ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มด่ ี มกี ำรแสวงหำหรอื เอำผลประโยชน์
ของสว่ นรวม มำเป็นของสว่ นตวั ทั้ง ๆ ท่ีตนเองไมไ่ ดม้ สี ิทธิในสงิ่ ๆ นัน้ กำรยดึ ถือ เอำมำดังกลำ่ วจึงถือ
เปน็ สิง่ ทผี่ ดิ ทั้งในแง่ของกฎหมำยและศลี ธรรม
ในแงข่ องกฎหมำยนนั้ ประเทศไทยไดม้ กี ำรกำ� หนดถงึ ควำมหมำยของกำรทจุ รติ ไวห้ ลกั ๆ
ในกฎหมำย ๒ ฉบับ คือ

ประมวลกฎหมายอาญา มำตรำ ๑ (๑) “โดยทจุ ริต” หมำยถึง “เพ่ือแสวงหำประโยชน์
ทม่ี ิควรได ้ โดยชอบด้วยกฎหมำยส�ำหรบั ตนเองหรอื ผ้อู นื่ ”

34 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
มาตรา ๔ “ทุจรติ ตอ่ หน้าที่” หมายความวา่ ปฏบิ ัติหรอื ละเวน้ การปฏิบัติอย่างใดในตำ� แหนง่ หรือหน้าที่
หรอื ปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน้ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งใดในพฤตกิ ารณท์ อี่ าจทำ� ใหผ้ อู้ น่ื เชอื่ วา่ มตี ำ� แหนง่ หรอื หนา้ ทที่ งั้ ทต่ี น
มิได้มีตำ� แหนง่ หรอื หนา้ ที่นัน้ หรอื ใช้อำ� นาจในตำ� แหน่งหรือหน้าที่ ทง้ั นี้ เพ่อื แสวงหาประโยชน์ทีม่ คิ วรได้
โดยชอบสำ� หรบั ตนเองหรอื ผอู้ น่ื หรอื กระทำ� การอนั เปน็ ความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ทร่ี าชการหรอื ความผดิ
ตอ่ ต�ำแหนง่ หนา้ ทีใ่ นการยุติธรรมตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตามกฎหมายอ่นื
นอกจากนี้ ค�ำว่าทุจริต ยังได้มีการบัญญัติให้ความหมายเอาไว้ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยระบุไว้ว่าทุจริต หมายถึง “ความประพฤติชั่ว คดโกง ฉ้อโกง”
ในคำ� ภาษาองั กฤษคำ� วา่ ทจุ รติ จะตรงกบั คำ� วา่ Corruption(คอรร์ ปั ชนั )โดยในประเทศไทยมกั มกี ารกลา่ วถงึ
ค�ำว่าคอร์รัปชันมากกว่าการใช้ค�ำว่าทุจริต โดยการทุจริตน้ีสามารถใช้ได้กับทุกที่ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน
ราชการ หน่วยงานของเอกชน หากเกิดกรณีการยึดเอา ถือเอาซึ่งประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม
ไม่คำ� นึง ถึงวา่ ส่ิง ๆ นั้นเปน็ ของของตนเอง หรือเป็นสิทธทิ ตี่ นเองควรจะได้มาหรอื ไม่แล้วน้นั ก็จะเรยี กได้
ว่าเป็นการทุจริต เช่น การทุจริตในการเบิกจ่ายเงิน ไม่ว่าจะเกิดข้ึนในหน่วยงานของรัฐหรือของเอกชน
การกระท�ำเช่นน้กี ็ถือเป็นการทุจริต
อยา่ งไรกต็ าม เนอ่ื งจากคอรร์ ปั ชนั มไิ ดเ้ กดิ เฉพาะในวงราชการเทา่ นน้ั ดงั นนั้ ในอกี มมุ หนง่ึ
คอรร์ ปั ชนั จงึ ตอ้ งหมายรวมถงึ การแสวงหาผลประโยชนข์ องภาคธรุ กจิ เอกชน ในรปู ของการใหส้ นิ บนหรอื
สิ่งตอบแทนแก่นักการเมืองหรือข้าราชการ เพื่อให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์ที่ตนเองอยากได้ในรูปแบบของ
การประมูล การสัมปทาน เปน็ ต้น รปู แบบเหลา่ นี้จะสามารถสร้างกำ� ไรใหแ้ กภ่ าคเอกชนเป็นจ�ำนวนมาก
หากภาคเอกชนสามารถเขา้ มาดำ� เนนิ งานได้ รวมถงึ การทเี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั มคี วามตอ้ งการทรพั ยส์ นิ หรอื
ประโยชน์อ่ืนนอกเหนือจากส่ิงท่ีได้รับตามปกติ เม่ือเหตุผลของทั้งสองฝ่ายสามารถบรรจบหากันได้
การทจุ ริตก็เกดิ ข้ึนได้
จากนิยามของการทุจริตคอร์รัปชันไม่เพียงแต่จะกินความถึงการทุจริตคอร์รัปชัน
ในระบบราชการเทา่ นน้ั แตย่ งั ครอบคลมุ ไปถงึ เรอ่ื งกจิ กรรมทางการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมในภาคเอกชน
อีกด้วย ซงึ่ อาจกล่าวได้วา่ การทุจรติ คอร์รัปชนั คือ การทจุ รติ และ การประพฤตมิ ิชอบของขา้ ราชการ
ดังนั้น การทุจริต คือ การคดโกง ไม่ซื่อสัตย์สุจริต การกระท�ำที่ผิดกฎหมาย เพื่อให้
เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน การใช้อ�ำนาจหน้าที่ในทางที่ผิดเพ่ือแสวงหาประโยชน์หรือให้ได้รับ
ส่ิงตอบแทน การให้หรือการรับสินบน การก�ำหนดนโยบายที่เอื้อประโยชน์แก่ตนหรือพวกพ้องรวมถึง
การทจุ ริตเชงิ นโยบาย

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ 35

ใบความรู้
ฐานที่ ๒ รปู แบบของการทจุ ริต

๑.๑.๒ รูปแบบการทจุ ริต
รปู แบบกำรทจุ รติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ สำมำรถแบง่ ได ้ ๓ ลกั ษณะ คอื แบง่ ตำมผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง แบง่ ตำม
กระบวนกำรท่ใี ช ้ และแบง่ ตำมลกั ษณะรปู ธรรม ดงั นีค้ ือ

๑) แบ่งตามผู้ท่ีเกี่ยวข้อง เป็นรูปแบบกำรทุจริตในเรื่องของอ�ำนำจและควำมสัมพันธ์
แบบอุปถัมภ์ระหว่ำงผู้ท่ีให้กำรอุปถัมภ์ (ผู้ให้กำรช่วยเหลือ) กับผู้ถูกอุปถัมภ์ (ผู้ท่ีได้รับกำรช่วยเหลือ)
โดยในกระบวนกำรกำรทุจริตจะม ี ๒ ประเภทคือ
(๑) กำรทุจริตโดยข้ำรำชกำร หมำยถึง กำรกระท�ำที่มีกำรใช้หน่วยงำนรำชกำร
เพอื่ มงุ่ แสวงหำผลประโยชนจ์ ำกกำรปฏบิ ตั งิ ำนของหนว่ ยงำนนน้ั ๆ มำกกวำ่ ประโยชนส์ ว่ นรวมของสงั คม
หรือประเทศ โดยลักษณะของกำรทจุ รติ โดยขำ้ รำชกำรสำมำรถแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภทยอ่ ย ดงั น้ี
ก) กำรคอร์รัปชันตำมนำ้� (corruption without theft) จะปรำกฏขึ้นเมอื่
เจ้ำหน้ำท่ีของรัฐต้องกำรสินบนโดยให้มีกำรจ่ำยตำมช่องทำงปกติของทำงรำชกำร แต่ให้เพ่ิมสินบน
รวมเขำ้ ไวก้ ับกำรจ่ำยคำ่ บริกำรของหนว่ ยงำนน้ัน ๆ โดยท่เี งินคำ่ บรกิ ำรปกตทิ ห่ี นว่ ยงำนน้นั จะต้องได้รบั
ก็ยังคงได้รับต่อไป เช่น กำรจ่ำยเงินพิเศษให้แก่เจ้ำหน้ำที่ในกำรออกเอกสำรต่ำง ๆ นอกเหนือจำก
ค่ำธรรมเนยี มปกติทตี่ ้องจำ่ ยอยู่แลว้ เปน็ ตน้
ข) กำรคอร์รัปชันทวนน�้ำ (corruption with theft) เป็นกำรคอร์รัปชัน
ในลกั ษณะทเี่ จำ้ หนำ้ ทข่ี องรฐั จะเรยี กรอ้ งเงนิ จำกผขู้ อรบั บรกิ ำรโดยตรง โดยทหี่ นว่ ยงำนนนั้ ไมไ่ ดม้ กี ำรเรยี ก
เกบ็ เงนิ คำ่ บรกิ ำรแตอ่ ยำ่ งใด เชน่ ในกำรออกเอกสำรของหนว่ ยงำนรำชกำรไมไ่ ดม้ กี ำรกำ� หนดใหต้ อ้ งเสยี
ค่ำใช้จ่ำยในกำรด�ำเนนิ กำร แตก่ รณนี ้มี ีกำรเรียกเก็บคำ่ ใช้จ่ำยจำกผทู้ ม่ี ำใชบ้ รกิ ำรของหนว่ ยงำนของรัฐ
(๒) กำรทจุ รติ โดยนักกำรเมือง (political corruption) เปน็ กำรใชห้ นว่ ยงำนของ
ทำงรำชกำรโดยบรรดำนกั กำรเมอื งเพอื่ มงุ่ แสวงหำผลประโยชนใ์ นทำงกำรเงนิ มำกกวำ่ ประโยชนส์ ว่ นรวม
ของสังคมหรือประเทศ โดยรูปแบบหรือวิธีกำรทั่วไปจะมีลักษณะเช่นเดียวกับกำรทุจริตโดยข้ำรำชกำร
แตจ่ ะเปน็ ในระดบั ท่สี งู กวำ่ เชน่ กำรทุจริตในกำรประมูลโครงกำรก่อสร้ำงขนำดใหญ ่ และมกี ำรเรียกรบั
หรือยอมจะรบั ทรัพย์สินหรอื ประโยชนต์ ่ำง ๆ จำกภำคเอกชน เปน็ ตน้

๒) แบง่ ตามกระบวนการทใี่ ช้ ม ี ๒ ประเภท คอื (๑) เกดิ จำกกำรใชอ้ ำ� นำจในกำรกำ� หนด
กฎ กตกิ ำพน้ื ฐำน เชน่ กำรออกกฎหมำย และกฎระเบยี บตำ่ ง ๆ เพอื่ อำ� นวยประโยชนต์ อ่ กลมุ่ ธรุ กจิ ของตน
หรอื พวกพอ้ ง และ (๒) เกดิ จำกกำรใชอ้ ำ� นำจหนำ้ ทเี่ พอื่ แสวงหำผลประโยชนจ์ ำกกฎ และระเบยี บทดี่ ำ� รง
อยู่ ซึ่งมักเกิดจำกควำมไม่ชัดเจนของกฎและระเบียบเหล่ำนั้นที่ท�ำให้เจ้ำหน้ำที่สำมำรถใช้ควำมคิดเห็น
ของตนได ้ และกำรใช ้ ควำมคิดเห็นนั้นอำจไมถ่ กู ต้องหำกมีกำรใช้ไปในทำงท่ีผิดหรอื ไม่ยตุ ธิ รรมได้

36 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”

๓) แบง่ ตามลกั ษณะรูปธรรม มที ้งั หมด ๔ รปู แบบคอื
(๑) คอร์รปั ชนั จากการจดั ซือ้ จดั หา (Procurement Corruption) เช่น การจดั ซือ้
ส่ิงของในหนว่ ยงาน โดยมีการคดิ ราคาเพ่ิมหรอื ลดคณุ สมบตั ิแต่กำ� หนดราคาซ้อื ไว้เทา่ เดิม
(๒) คอรร์ ปั ชนั จากการใหส้ มั ปทานและสทิ ธพิ เิ ศษ (Concessionaire Corruption)
เชน่ การใหเ้ อกชนรายใดรายหนงึ่ เขา้ มามสี ทิ ธใิ นการจดั ทำ� สมั ปทานเปน็ กรณพี เิ ศษตา่ งกบั เอกชนรายอน่ื
(๓) คอร์รัปชันจากการขายสาธารณสมบัติ (Privatization Corruption) เช่น
การขายกิจการของรัฐวิสาหกิจ หรือการยกเอาที่ดิน ทรัพย์สินไปเป็นสิทธิการครอบครองของต่างชาติ
เปน็ ต้น
(๔) คอรร์ ัปชันจากการก�ำกบั ดูแล (Regulatory Corruption) เชน่ การก�ำกับดแู ล
ในหน่วยงานแลว้ ท�ำการทุจริตตา่ ง ๆ เปน็ ต้น
นักวิชาการท่ีได้ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการทุจริต ได้มีการก�ำหนดหรือแบ่งประเภทของ
การทุจริตเป็นรูปแบบต่าง ๆ ไว้ เช่น การวิจัยของรองศาสตราจารย์ ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ และคณะ
ได้แบ่งการทุจริตคอร์รัปชันออกเป็น ๓ รูปแบบ ได้แก่ ๑) การใช้อ�ำนาจในการอนุญาตให้ละเว้นจาก
การปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของรฐั เพ่ือลดต้นทนุ การทำ� ธุรกิจ ๒) การใช้อำ� นาจในการจัดสรรผลประโยชน์
ในรปู ของสง่ิ ของ และบรกิ าร หรือสทิ ธใิ หแ้ กเ่ อกชน และ ๓) การใช้อ�ำนาจในการสรา้ งอปุ สรรคในการ
ใหบ้ รกิ ารแกภ่ าคประชาชนและภาคธรุ กจิ เนอ่ื งจากเงนิ เดอื นและผลตอบแทนในระบบราชการตำ�่ เกนิ ไป
จนขาดแรงจูงใจในการทำ� งาน
นอกจากนี้ จากผลการสอบสวนและศึกษาเรื่องการทุจริต ของคณะกรรมการวิสามัญ
พิจารณาสอบสวนและศึกษาเรื่องเก่ียวกับการทุจริตของวุฒิสภา (วิชา มหาคุณ) มีการแบ่งรูปแบบ
การทุจรติ คอร์รปั ชันออกเป็น ๕ ประเภท ได้แก่
๑) การทุจริตเชงิ นโยบาย
เป็นรูปแบบใหม่ของการทุจริตท่ีแยบยล โดยอาศัยรูปแบบของกฎหมายหรือ
มตขิ องคณะรฐั มนตรี หรอื มตขิ องคณะกรรมการเปน็ เครอื่ งมอื ในการแสวงหาผลประโยชน์ ทำ� ใหป้ ระชาชน
ส่วนใหญ่เขา้ ใจผดิ ว่าเป็นการกระทำ� ทถ่ี ูกต้องชอบธรรม
๒) การทุจริตตอ่ ต�ำแหนง่ หนา้ ทีร่ าชการ
เปน็ การใชอ้ ำ� นาจและหนา้ ทใ่ี นความรบั ผดิ ชอบของตนในฐานะของเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั
เออ้ื ประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ หรอื กลมุ่ ใดกล่มุ หนง่ึ ปัจจบุ ันมกั เกิดจากความรว่ มมอื
กนั ระหว่างนักการเมือง พ่อค้าและขา้ ราชการประจำ�

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ 37

๓) การทจุ ริตในการจัดซอื้ จดั จ้าง
การทุจริตประเภทนี้จะพบได้ท้ังรูปแบบของการสมยอมราคา ตั้งแต่ขั้นตอน
การออกแบบ ก�ำหนดรายละเอียดหรือสเป็กงาน ก�ำหนดเงื่อนไข ค�ำนวณราคากลาง ออกประกาศ
ประกวดราคา การขายแบบ การรับและเปดิ ซอง การประกาศผล การอนมุ ัติ การท�ำสัญญาทุกขัน้ ตอน
ของกระบวนการจดั ซอื้ จัดจา้ ง ลว้ นมีช่องโหวใ่ ห้มีการทุจริตกันไดอ้ ย่างง่าย ๆ นอกจากน้ี ยังมีการทจุ ริต
ทม่ี าเหนอื เมฆ คอื การอาศยั ความเปน็ หนว่ ยงานราชการดว้ ยกนั จงึ ไดร้ บั การยกเวน้ และการไมถ่ กู เพง่ เลง็
แต่ความจริง ผลประโยชนจ์ ากการรบั งานและเงินท่ีได้จากการรับงานไมไ่ ดน้ �ำสง่ กระทรวงการคลงั
๔) การทจุ ริตในการใหส้ ัมปทาน
เป็นการแสวงหาหรือเอื้อประโยชน์โดยมิชอบจากโครงการหรือกิจการของรัฐ
ซึ่งรัฐได้อนุญาตหรือมอบให้เอกชนด�ำเนินการแทนให้ลักษณะสัมปทานผูกขาดในกิจการใดกิจการหน่ึง
เชน่ การทำ� สัญญาสมั ปทานโรงงานสุรา การท�ำสญั ญาสมั ปทานโทรคมนาคม เป็นต้น
๕) การทจุ รติ โดยการท�ำลายระบบตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ
เป็นการพยายามด�ำเนินการให้ได้บุคคลซึ่งมีสายสัมพันธ์กับผู้ด�ำรงต�ำแหน่ง
ทางการเมือง เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซ่ึงมีอ�ำนาจหน้าท่ีในการตรวจสอบ
การใช้อำ� นาจรฐั
38 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การป้องกนั การทุจริต”

ใบความรู้
ฐานท่ี ๓ สาเหตขุ องการทจุ ริต

๑.๑.๓ สาเหตทุ ี่ทาำ ให้เกิดการทจุ รติ
จำกกำรศึกษำวิจัยโครงกำรประเมินสถำนกำรณ์ด้ำนกำรทุจริตในประเทศไทยของ
รศ.ดร. เสำวนีย์ ไทยรุ่งโรจน์ ได้ระบุ เงื่อนไข/สำเหตุที่ท�ำให้เกิดกำรทุจริตคอร์รัปชันอำจมำจำก
สำเหตุภำยในหรอื สำเหตุภำยนอก ดังน้ี

(๑) ปจั จยั ส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ พฤตกิ รรมสว่ นตวั ของข้ำรำชกำรบำงคนที่เปน็ คนโลภมำก
เห็นแก่ได้ ไม่รู้จักพอ ควำมเคยชินของข้ำรำชกำรท่ีคุ้นเคยกับกำรท่ีจะได้ “ค่ำน้�ำร้อนน�้ำชำ” หรือ
“เงนิ ใต้โต๊ะ” จำกผู้มำตดิ ต่อรำชกำรขำดจติ สำ� นึกเพ่อื ส่วนรวม

(๒) ปจั จัยภายนอก ประกอบดว้ ย
๑) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ รำยได้ของข้ำรำชกำรน้อยหรือต�่ำมำกไม่ได้สัดส่วนกับ

กำรครองชีพท่ีสูงขึ้น กำรเติบโตของระบบทุนนิยมท่ีเน้นกำรบริโภค สร้ำงนิสัยกำรอยำกได้ อยำกม ี
เมื่อรำยไดไ้ มเ่ พียงพอก็ต้องหำทำงใชอ้ ำ� นำจไปทจุ ริต

๒) ด้านสงั คม ไดแ้ ก่ คำ่ นยิ มของสังคมทยี่ กยอ่ งคนมเี งนิ คนร่ำ� รวย และไม่สนใจ
ว่ำเงินนั้นได้มำอยำ่ งไร เกิดลทั ธเิ อำอย่ำง อยำกได้สง่ิ ท่คี นรวยมี เมื่อเงนิ เดือนของตนไม่เพยี งพอ กห็ ำโดย
วธิ มี ชิ อบ

๓) ดา้ นวฒั นธรรม ไดแ้ ก ่ กำรนยิ มจำ่ ยเงนิ ของนกั ธรุ กจิ ใหก้ บั ขำ้ รำชกำรทต่ี อ้ งกำร
ควำมสะดวกรวดเร็ว หรือกำรบรกิ ำรทด่ี กี ว่ำดว้ ยกำรลดตน้ ทนุ ท่จี ะตอ้ งปฏิบตั ติ ำมระเบยี บ

๔) ด้านการเมือง ได้แก่ กำรทุจริตของข้ำรำชกำรแยกไม่ออกจำกนักกำรเมือง
กำรร่วมมือของคนสองกลุ่มนี้เกิดขึ้นได้ในประเด็นกำรใช้จ่ำยเงินกำรหำรำยได้และกำรตัดสินพิจำรณำ
โครงกำรของรัฐ

๕) ด้านระบบราชการ ได้แก่
- ควำมบกพร่องในกำรบรหิ ำรงำนเปิดโอกำสใหเ้ กิดกำรทจุ ริต
- กำรใช้ดุลพินิจมำกและกำรผูกขำดอ�ำนำจจะท�ำให้อัตรำกำรทุจริต
ในหนว่ ยงำนสงู
- กำรที่ขั้นตอนของระเบียบรำชกำรมีมำกเกินไป ท�ำให้ผู้ที่ไปติดต่อ
ต้องเสียเวลำมำก จึงเกิดกำรสมยอมกนั ระหวำ่ งผ้ใู ห้กับผู้รับ
- กำรตกอยู่ใต้ภำวะแวดล้อมและอิทธิพลของผู้ทุจริตมีทำงเป็นไปได้ที่ผู้นั้น
จะทำ� กำรทุจรติ ดว้ ย

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ ๖ 39

- การรวมอำ� นาจ ระบบราชการมลี กั ษณะทร่ี วมศนู ย์ ทำ� ใหไ้ มม่ รี ะบบตรวจสอบ
ท่ีเป็นจรงิ และมปี ระสทิ ธภิ าพ
- ตำ� แหนง่ หนา้ ทใี่ นลกั ษณะอำ� นวยตอ่ การกระทำ� ผดิ เชน่ อำ� นาจในการอนญุ าต
การอนมุ ตั จิ ดั ซอ้ื จดั จา้ ง ผปู้ ระกอบการเอกชนมกั จะยอมเสยี เงนิ ตดิ สนิ บนเจา้ หนา้ ทเ่ี พอื่ ใหเ้ กดิ ความสะดวก
และรวดเรว็
- การทข่ี า้ ราชการผใู้ หญท่ จุ รติ ใหเ้ หน็ เปน็ ตวั อยา่ งแลว้ ไมถ่ กู ลงโทษขา้ ราชการ
ช้ันผู้น้อย
จึงเลียนแบบกลายเป็นความเคยชิน และมองไม่เห็นว่าการกระท�ำเหล่านั้นจะเป็น
การคอร์รัปชนั หรอื มีความสับสนระหว่างสนิ นำ�้ ใจกับคอร์รัปชนั แยกออกจากกนั
๖) กฎหมายและระเบียบ ได้แก่
- กฎหมายหลายฉบับทใ่ี ช้อยู่ยังมี “ชอ่ งโหว”่ ท่ีท�ำให้เกดิ การทจุ ริตทด่ี ำ� รงอยู่ได้
- การทจุ รติ ไมไ่ ดเ้ ปน็ อาชญากรรมใหค้ กู่ รณที ง้ั สองฝา่ ย หาพยานหลกั ฐานไดย้ าก
ยิ่งกว่าน้ัน คู่กรณีท้ังสองฝ่ายมักไม่ค่อยมีฝ่ายใดยอมเปิดเผยออกมา และถ้าหากมีฝ่ายใดต้องการ
ท่ีจะเปิดเผยความจริงในเรื่องนี้ กฎหมายหม่ินประมาทก็ยับย้ังเอาไว้ อีกทั้งกฎหมายของทุกประเทศ
เอาผดิ กบั บคุ คลผใู้ หส้ นิ บนเทา่ ๆ กบั ผรู้ บั สนิ บน จงึ ไมค่ อ่ ยมผี ใู้ หส้ นิ บนรายใดกลา้ ดำ� เนนิ คดกี บั ผรู้ บั สนิ บน
- ราษฎรท่ีรู้เห็นการทุจริตก็เป็นโจทย์ฟ้องร้องมิได้เน่ืองจากไม่ใช่ผู้เสียหาย
ยิ่งกวา่ นั้น กระบวนการพิจารณาพิพากษายังยงุ่ ยากซับซอ้ นจนกลายเป็นผลดีแก่ผ้ทู ุจริต
- ขั้นตอนทางกฎหมายหรือระเบียบปฏิบัติยุ่งยาก ซับซ้อน มีข้ันตอนมาก
ทำ� ให้เกดิ ชอ่ งทางให้ขา้ ราชการหาประโยชน์ได้
๗) การตรวจสอบ ได้แก่
- ภาคประชาชนขาดความเข้มแข็ง ท�ำให้กระบวนการต่อต้านการทุจริต
จากฝา่ ยประชาชนไม่เขม้ แข็งเทา่ ทคี่ วร
- การขาดการควบคุมตรวจสอบ ของหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบหรือ
ก�ำกบั ดูแลอยา่ งจริงจงั
๘) สาเหตุอน่ื ๆ
- อทิ ธพิ ลของภรรยาหรอื ผหู้ ญงิ เนอื่ งจากเปน็ ผใู้ กลช้ ดิ สามอี นั เปน็ ตวั การสำ� คญั
ท่ีสนับสนุนและสง่ เสริมให้สามีของตนทำ� การทุจริตเพือ่ ความเป็นอยูข่ องครอบครัว
- การพนนั ทำ� ให้ข้าราชการทเ่ี สยี พนันมแี นวโน้มจะทุจริตมากขึน้
40 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

ใบความรู้
ฐานที่ ๔ ความหมายของความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ

๑.๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
กำรสร้ำงสังคมที่ไม่ทนต่อกำรทุจริต เป็นกำรปรับเปลี่ยนสภำพสังคมให้เกิดภำวะ “ที่ไม่ทนต่อ
กำรทุจริต” โดยเร่ิมต้ังแต่กระบวนกำรกล่อมเกลำทำงสังคมในทุกช่วงวัย เพ่ือสร้ำงวัฒนธรรมต่อต้ำน
กำรทุจรติ และปลูกฝงั ควำมพอเพียง มวี นิ ยั ซื่อสัตยส์ ุจริต ควำมเป็นพลเมอื งด ี มีจิตสำธำรณะ ผ่ำนทำง
สถำบนั หรอื กลมุ่ ตวั แทนทท่ี ำ� หนำ้ ทใี่ นกำรกลอ่ มเกลำทำงสงั คม เพอื่ ใหเ้ ดก็ เยำวชน ผใู้ หญ ่ เกดิ พฤตกิ รรม
ทีล่ ะอำยตอ่ กำรกระท�ำควำมผิด กำรไม่ยอมรบั และต่อตำ้ นกำรทุจรติ ทกุ รปู แบบ

๑.๒.๑ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ คืออะไร
คำ� ว่ำ “ควำมละอำย” และ “ควำมไม่ทน” ไดม้ กี ำรใหค้ วำมหมำยไว้ ดังน้ี
พจนำนุกรมรำชบัณฑิตยสถำน ให้ควำมหมำยของค�ำว่ำละอำย หมำยถึง กำรรู้สึกอำย
ทจ่ี ะทำ� ในส่ิงทีไ่ ม่ถกู ไม่ควร เชน่ ละอำยทจี่ ะทำ� ผดิ ละอำยใจ
ควำมละอำย เป็นควำมละอำยและควำมเกรงกลัวต่อสิ่งที่ไม่ดี ไม่ถูกต้อง ไม่เหมำะสม
เพรำะเหน็ ถงึ โทษหรอื ผลกระทบทจ่ี ะไดร้ บั จำกกำรกระทำ� นนั้ จงึ ไมก่ ลำ้ ทจ่ี ะกระทำ� ทำ� ใหต้ นเองไมห่ ลงทำ�
ในสง่ิ ทีผ่ ดิ นนั่ คือ มคี วำมละอำยใจ ละอำยต่อกำรท�ำผิด
พจนำนุกรมรำชบัณฑิตยสถำน ให้ควำมหมำยของค�ำว่ำ ทน หมำยถึง กำรอดกล้ันได้
ทนอยไู่ ด้ เช่น ทนดำ่ ทนทุกข ์ ทนหนำว ไมแ่ ตกหกั หรอื บุบสลำยงำ่ ย
ควำมอดทน คอื กำรรจู้ กั รอคอยและคำดหวงั เปน็ กำรแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ควำมมน่ั คงแนว่ แน่
ต่อสง่ิ ทร่ี อคอย หรือสิง่ ที่จูงใจใหก้ ระทำ� ในสิง่ ทไี่ มด่ ี ไม่ทน หมำยถึง ไมอ่ ดกลัน้ ไม่อดทน ไม่ยอม
ดังนั้น ควำมไม่ทน หมำยถึง กำรแสดงออกต่อกำรกระท�ำที่เกิดข้ึนกับตนเอง บุคคล
ทเี่ กยี่ วข้องหรือสงั คม ในลกั ษณะที่ไม่ยนิ ยอม ไม่ยอมรบั ในสิ่งที่เกดิ ข้นึ ควำมไม่ทนสำมำรถแสดงออกได้
หลำยลกั ษณะ ทง้ั ในรปู แบบของกรยิ ำท่ำทำงหรอื ค�ำพูด
ควำมไมท่ นตอ่ กำรทจุ รติ หรอื กำรกระทำ� ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ตอ้ งมกี ำรแสดงออกอยำ่ งใดอยำ่ งหนงึ่
เกิดข้นึ เช่น กำรแซงควิ เพ่อื ซือ้ ของ กำรแซงคิวเป็นกำรกระทำ� ที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ผถู้ กู แซงคิวจงึ ต้องแสดงออก
ให้ผู้ท่ีแซงคิวรับรู้ว่ำตนเองไม่พอใจ โดยแสดงกิริยำหรือบอกกล่ำวให้ทรำบ เพ่ือให้ผู้ที่แซงคิวยอมท่ีจะ
ต่อท้ำยแถว กรณีนี้แสดงให้เห็นว่ำผู้ที่ถูกแซงคิว ไม่ทนต่อกำรกระท�ำที่ไม่ถูกต้อง และหำกผู้ท่ีแซงคิว
ไปต่อแถวกจ็ ะแสดงใหเ้ หน็ วำ่ บุคคลน้ันมีควำมละอำยต่อกำรกระทำ� ทีไ่ มถ่ กู ตอ้ ง เป็นต้น

ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที ่ ๖ 41

ความไม่ทนต่อการทจุ รติ บคุ คลจะมีความไม่ทนต่อการทจุ รติ มาก - นอ้ ย เพียงใด ขึน้ อยู่
กบั จติ สำ� นกึ ของแตล่ ะบคุ คลและผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จากการกระทำ� นน้ั ๆ แลว้ มพี ฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมา
ซึ่งการแสดงกริยาหรอื การกระท�ำจะมหี ลายระดบั เช่น การวา่ กลา่ วตกั เตอื น การประกาศใหส้ าธารณชน
รับรู้ การแจ้งเบาะแส การร้องทุกข์กล่าวโทษ การชุมนุมประท้วงซ่ึงเป็นข้ันตอนสุดท้ายท่ีรุนแรงท่ีสุด
เนือ่ งจากมกี ารรวมตัว ของคนจ�ำนวนมาก และสร้างความเสยี หายอย่างมากเช่นกัน
ความไม่ทนของบคุ คลตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ รอบตัวทสี่ ่งผลในทางไมด่ ีตอ่ ตนเองโดยตรง สามารถ
พบเห็นได้ง่าย ซ่ึงปกติแล้วทุกคนมักจะไม่ทนต่อสภาวะแวดล้อมท่ีไม่ดีและส่งผลกระทบต่อตนเองแล้ว
มกั จะแสดงปฏิกิริยาออกมา แต่การทีบ่ คุ คลจะไม่ทนตอ่ การทุจริตและแสดงปฏกิ ิริยาออกมานน้ั อาจเปน็
เรอ่ื งยาก เนอ่ื งจากปจั จบุ นั สงั คมไทยมแี นวโนม้ ยอมรบั การทจุ รติ เพอื่ ใหต้ นเองไดร้ บั ประโยชนห์ รอื ใหง้ าน
สามารถด�ำเนินต่อไปสู่ความส�ำเร็จ ซึ่งการยอมรับการทุจริตในสังคมไม่เว้นแม้แต่เด็กและเยาวชน และ
มองวา่ การทุจรติ เปน็ เร่อื งไกลตัวและไม่มผี ลกระทบกบั ตนเองโดยตรง
๑.๒.๒ ลกั ษณะของความละอายและความไมท่ นต่อการทุจริต
ลักษณะของความละอายสามารถแบง่ ได้ ๒ ระดบั คือ ความละอายระดับตน้ หมายถงึ
ความละอาย ไม่กล้าท่ีจะท�ำในส่ิงที่ผิด เน่ืองจากกลัวว่าเม่ือตนเองได้ท�ำลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หากถูก
จับได้จะไดร้ ับ การลงโทษ หรือไดร้ ับความเดอื ดร้อนจากสิง่ ทีต่ นเองได้ทำ� ลงไป จึงไมก่ ล้าที่จะกระท�ำผิด
และในระดับที่สองเป็นระดับที่สูง คือ แม้ว่าจะไม่มีใครรับรู้หรือเห็นในส่ิงท่ีตนเองได้ท�ำลงไป ก็ไม่กล้า
ท่ีจะท�ำผิด เพราะนอกจากตนเองจะได้รับผลกระทบแล้ว ครอบครัว สังคมก็จะได้รับผลกระทบตามไป
ดว้ ย ทงั้ ชื่อเสียงของตนเองและครอบครวั กจ็ ะเสื่อมเสยี บางคร้ังการทจุ รติ บางเรือ่ งเป็นส่งิ เล็ก ๆ น้อย ๆ
เชน่ การลอกข้อสอบ อาจจะไม่มใี ครใส่ใจหรือสงั เกตเหน็ แตห่ ากเป็นความละอายขน้ั สูงแลว้ บคุ คลนั้น
กจ็ ะไมก่ ลา้ ท�ำ
สำ� หรบั ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ จากความหมายทไ่ี ดก้ ลา่ วมาแลว้ คอื เปน็ การแสดงออก
อย่างใดอย่างหน่ึงเกิดขึ้น เพ่ือให้รับรู้ว่าจะไม่ทนต่อบุคคลหรือการกระท�ำใด ๆ ท่ีท�ำให้เกิดการทุจริต
ความไม่ทนต่อการทุจริตสามารถแบ่งระดับต่าง ๆ ได้มากกว่าความละอาย ใช้เกณฑ์ความรุนแรง
ในการแบ่งแยก เช่น หากเพ่ือนลอกข้อสอบเรา และเราเห็นซ่ึงเราจะไม่ยินยอมให้เพ่ือนทุจริตในการ
ลอกขอ้ สอบ เรากใ็ ชม้ อื หรอื กระดาษมาบงั สว่ นทเ่ี ปน็ คำ� ตอบไว้ เชน่ นกี้ เ็ ปน็ การแสดงออกถงึ การไมท่ นตอ่
การทจุ รติ นอกจาก การแสดงออกดว้ ยวธิ ดี งั กลา่ วทถี่ อื เปน็ การแสดงออกทางกายแลว้ การวา่ กลา่ วตกั เตอื น
ตอ่ บคุ คลทีท่ จุ ริต การประณาม การประจาน การชมุ นุมประท้วงถือวา่ เป็นการแสดงออกซ่งึ การไม่ทนต่อ
การทุจริตท้ังส้ิน แต่จะแตกต่างกันไปตามระดับของการทุจริต ความตื่นตัวของประชาชน และ
ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการทุจริต โดยท้ายบทน้ีได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษาท่ีมีสาเหตุมาจากการทุจริต
ทำ� ให้ประชาชนไม่พอใจและรวมตัวตอ่ ต้าน
42 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การป้องกันการทจุ ริต”


Click to View FlipBook Version